Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณะนาม

การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณะนาม

Published by WorkPaper UpdateWork, 2019-10-04 00:40:33

Description: งานวิจัยในหลักสูตร

Search

Read the Text Version

การพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 แวววิไล จาปาศักด์ิ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เสนอเป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษา หลักสูตรปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา มถิ นุ ายน 2560 ลิขสทิ ธ์ิเป็ นของมหาวิทยาลัยนเรศวร

อาจารย์ที่ปรึกษาและหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ได้พิจารณา การศึกษาค้นคว้ าด้วยตนเอง เรื่อง “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3” เหน็ สมควรรับเป็ นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ของมหาวิทยาลยั นเรศวร …….…….…….…………………………………….. (ดร. พิชญาภา ยวงสร้อย) อาจารย์ที่ปรึกษา ……..……………………………………………... (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รุจโรจน์ แก้วอไุ ร) หวั หน้าภาควชิ าเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา มถิ นุ ายน 2560

ประกาศคุณูปการ การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองฉบบั นีส้ าเร็จอย่างสมบรู ณ์โดยได้รับความกรุณาอย่างยิ่ง จากทา่ น ดร.พิชญาภา ยวงสร้อย อาจารย์ท่ีปรึกษา โดยให้คาปรึกษาถ่ายทอดความรู้ แนวคิด ให้คาแนะนา และให้แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ จนสามารถ ดาเนินการวิจัยได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยความเรียบร้ อย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี ้ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาเสียสละเวลา ให้ความอนุเคราะห์ใน การตรวจสอบแก้ไขเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู และให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะตา่ งๆ จนทา ให้การศกึ ษาค้นคว้าครัง้ นีเ้สร็จสมบรู ณ์ ขอขอบพระคณุ ผู้อานวยการโรงเรียน คณะครู และนักเรียน โรงเรียนบ้านชายเคือง สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 2 ท่ีได้ให้ความชว่ ยเหลือและให้ความ อนเุ คราะห์ในการทดลองเก็บรวบรวมข้อมลู การศกึ ษาค้นคว้าในครัง้ นีเ้ป็นอยา่ งดี คณุ คา่ และประโยชน์อนั พงึ มีจากการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองฉบบั นี ้ ผ้วู ิจยั ขอมอบและ อุทิศแด่พระคุณของบิดา มารดา บูรพาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกๆ ท่าน ท่ีให้การศึกษาอบรม สงั่ สอนให้สตปิ ัญญาและคณุ ธรรมอนั เป็นเคร่ืองชีน้ าความสาเร็จในชีวิต แวววไิ ล จาปาศกั ด์ิ

ช่ือเร่ือง การพฒั นาหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 ผู้ศกึ ษาค้นคว้า แวววไิ ล จาปาศกั ดิ์ ท่ปี รึกษา ดร.พชิ ญาภา ยวงสร้อย ประเภทสารนิพนธ์ การศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง กศ.ม. สาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 2560 คาสาคัญ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์, ลกั ษณนาม บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนและหลงั เรียนด้วย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ซึ่งดาเนินการตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา 3 ขัน้ ตอน คือ 1) สร้ างและหาประสิทธิภาพ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ 2) เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 3) ประเมินความพึงพอใจของท่ีมี ต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบ้านชายเคือง อาเภอบงึ สามคั คี จงั หวดั กาแพงเพชร ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2559 จานวน 27 คน ซงึ่ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการ วิจัย ได้แก่ 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม 2) แบบประเมินคุณภาพหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ 3) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบประเมินความพึงพอใจของ นกั เรียน การวเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้คา่ เฉล่ีย ( X ) คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบ คา่ t – test แบบ Dependent ผลการศกึ ษาค้นคว้า พบวา่ 1) ผลการสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลกั ษณนาม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก ( X = 4.44, S.D. = 0.52) และนาไปทดสอบกับนักเรียน มีประสิทธิภาพ 81.06 / 82.84 ซ่ึงสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80

2) นักเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสงู กว่าก่อน เรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ที่ระดบั .05 3) นักเรียนมีระดับความพึงพอใจที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก ที่สดุ ( X = 4.51, S.D. = 0.53)

Title THE DEVELOPMENT OF ELECTRONICS BOOK ENTITLED “NOUN CLASSIFIERS” Author IN THAI LANGUAGE FOR PRATHOMSUKSA 3 STUDENT Advisor Waewwilai Champasak Academic Paper Pichayapha Yuangsoi, Ph.D. Independent Study M.Ed in Educational Technology and Keywords Communications, Naresuan University, 2017 Electronics Book, Noun classifiers ABSTRACT The purposes of this study were 1) to create and find out the efficiency of electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student to attain standard criteria of 80/80, 2) to compare the learning achievement of the students before and after learning with electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student, 3) to study the satisfaction of the student towards learning with electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student, followed by 3 steps of research and development (R&D) process 1 ) to create and find out the efficiency of electronics book 2 ) to compare the learning achievement 3 ) to assess the student’s satisfaction towards learning with electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student. The samples in this study were 27 students of Prathomsuksa 3 at Banchaikueng School, Amphoe Bueng Samakkhi, Kamphaengphet Province by Purposive sampling. The instruments of this study were 1) Electronics book entitled noun classifiers 2) The efficiency assessment form of electronics book 3) The achievement test 4) The satisfaction questionnaire of the students. The data were analyzed statistically using mean ( X ), standard deviation (S.D.) and t-test Dependent. The results of this study revealed as the following; 1) The efficiency of electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student was at high level ( X = 4.44, S.D. = 0.52) The efficiency was 81.06 / 82.84 that corresponded to 80/80 set criteria.

2) Post-test learning achievement of students who learnt via electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student was higher than pre-test with statistically significant level .05 3) The students’ satisfaction towards learning with electronics book entitled noun classifiers in Thai language for Prathomsuksa 3 student was at highest level in general ( X = 4.51, S.D. = 0.53)

สารบญั บทท่ี หน้า 1 บทนา…………………………………………………………….……...…..…… 1 ความเป็ นมาของปัญหา…………………...............…………….......……… 1 จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา……………………….........…..…….......……… 5 ขอบเขตของงานวิจยั …...…………………….........……………....…...…… 5 นิยามศพั ท์เฉพาะ….......…………………….........…………….......……… 6 สมมตุ ฐิ านของการวจิ ยั ……………………….........……………....…...…… 7 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง.................................................................. 8 เอกสารท่ีเก่ียวข้องกบั หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย...……........….........………....…………...… 9 เอกสารที่เก่ียวข้องกบั ภาษาไทย….....……….........……………...………… 14 เอกสารที่เก่ียวข้องกบั ลกั ษณนาม......……….........………………………… 23 เอกสารที่เกี่ยวข้องกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK)…………………... 34 การประเมนิ หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์......……….........……………...………… 47 เอกสารท่ีเกี่ยวกบั ทฤษฎีการเรียนรู้และจติ วิทยา………………………........ 61 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้องทงั้ ในและตา่ งประเทศ................................ 68 3 วธิ ีดาเนินการวิจัย........................................................................................ 79 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง……………………….........………........……… 79 เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจยั .....………………….........…………….......……… 79 การสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศกึ ษาค้นคว้า……………………….........….. 80 การเก็บรวบรวมข้อมลู ……………………….........……………....……...… 91 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ่ีใช้ในการวิจยั ………………………...........… 93

สารบัญ (ต่อ) บทท่ี หน้า 4 ผลการวจิ ัย…………………......…………………………………………......…… 98 ตอนที่ 1 ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 98 เร่ืองลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 105 สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3……………………...…......…………… 105 ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน ด้วยหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3……................................................… ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ที่มีตอ่ หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ……………….........…….…………… 5 บทสรุป............................................................................................................ 108 สรุปผลการวจิ ยั ……………………....…………….....................…….………. 108 อภิปรายผลการวิจยั ……………………………....………………...….………. 109 ข้อเสนอแนะ……………………………………....…………………....………. 112 บรรณานุกรม................................................................................................................. 113 ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………..... 121 ประวัตผิ ู้วจิ ัย………………………………………………………….……………................ 205

สารบญั ตาราง ตาราง หน้า 1 แสดงผลการประเมินคณุ ภาพด้านสว่ นนาของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ 99 เร่ืองลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน 100 ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 โดยผ้เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 ทา่ น….........................…… 101 102 2 แสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพด้านเนือ้ หาของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 103 เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน 104 ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 โดยผ้เู ช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น……............................. 105 106 3 แสดงผลการประเมินคณุ ภาพด้านภาษาของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 โดยผ้เู ช่ียวชาญ จานวน 5 ทา่ น………………............... 4 แสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพด้านการออกแบบกราฟิกและมลั ตมิ ีเดยี ของหนงั สือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่ืองลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 โดยผ้เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 ทา่ น…………………....….... 5 แสดงผลการประเมินคณุ ภาพด้านการออกแบบปฏิสมั พนั ธ์ของหนงั สือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่องลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 โดยผ้เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 ทา่ น……….....……….......... 6 แสดงลการประเมนิ คณุ ภาพด้านการออกแบบปฏิสมั พนั ธ์ของหนงั สือ อิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 โดยผ้เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 ทา่ น……...........……........... 7 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั เรียนด้วย หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 ………………………....…...…...….......... 8 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีตอ่ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3………………..………………………....…...…...…..........

สารบัญตาราง (ต่อ) ตาราง หน้า 9 แสดงผลการประเมนิ ประสิทธิภาพของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ือง ลกั ษณนาม 135 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3……..…… 157 161 10 แสดงคา่ ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ของข้อสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 166 เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3…….............................................................................. 11 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิระหวา่ งคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน โดย ใช้ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3................................................................ 12 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เร่ือง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3......................................................................................

สารบัญภาพ ภาพ หน้า 1 แสดงองค์ประกอบ ADDIE model………………………...…........................ 45 2 แสดงกรอบแนวคดิ ทางการวิจยั ………………………..…....…………….......... 78 3 แสดงขนั้ ตอนการสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม………..……...... 81 4 แสดงโครงสร้างหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์………………….........…....……............. 84 5 แสดงหน้าปกของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม.....…....…………....... 194 6 แสดงคานาของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม....………….................. 194 7 แสดงคาชีแ้ จงของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม....………….............. 195 8 แสดงสารบญั ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม.....…....…................. 195 9 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 1 ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 196 10 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยที่ 1 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 196 11 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยที่ 1 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 197 12 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 2 ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 197 13 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยท่ี 2 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 198 14 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยท่ี 3 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 198 15 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 3 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 199 16 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยที่ 4 ของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 199 17 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 4 ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 200 18 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 5 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 200 19 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยที่ 6 ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 201 20 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยที่ 6 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 201 21 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 7 ของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 202 22 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยที่ 8 ของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 202 23 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหนว่ ยท่ี 8 ของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม...... 203 24 แสดงเนือ้ หาบทเรียนหน่วยท่ี 8 ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรื่องลกั ษณนาม...... 203 25 แสดงบรรณานกุ รมของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม......................... 204 26 แสดงปกหลงั ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม................................. 204

บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็ นมำของปัญหำ “...การศกึ ษาเป็ นปัจจยั สาคญั ในการสร้างและพฒั นาความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของบุคคลสังคม และบ้านเมืองใดให้การศึกษาที่ดีแก่เยาวชนได้อย่างครบถ้วน ล้วนพอเหมาะกันทุกๆ ด้าน สังคมและบ้านเมืองนัน้ ก็จะมีพลเมืองม่ันคงของประเทศชาติไว้ และพฒั นาให้ก้าวหน้าตอ่ ไปได้โดยตลอด...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 (สานกั ราชเลขาธิการ, 2525, หน้า 234) พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ให้ความสาคญั กบั สื่อเพื่อการศกึ ษา โดยกาหนดไว้ในหมวด 9 เทคโนโลยีการศกึ ษา มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้มีการ ผลิตและพฒั นาแบบเรียนตารา หนงั สื่อทางวิชาการ ส่ือสิ่งพิมพ์อื่น วสั ดอุ ปุ กรณ์ และเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาอ่ืน และมาตรา 66 ผู้เรียนมิสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา เพ่ือให้มีความรู้และทกั ษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ในกระบวนการเรียนการสอนนนั้ ต้องมงุ่ ผ้เู รียนเป็ นสาคญั จดั การเรียน การสอนให้สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงในยคุ ปัจจบุ นั และเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมรอบๆ ตวั เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ มีความเข้าใจการเรียนการสอน เข้าใจเนือ้ หารายวิชาต่างๆ ได้ดีแล้ ว จาเป็ นต้องมีสื่อการสอนท่ีแตกต่างเพ่ือดึงดูดความสนใจให้เหมาะสมของแต่ละเนือ้ หา แต่ละ รายวิชา ส่ือการสอนมีบทบาทและความจาเป็ นอย่างมากในการเรียนการสอนและการแสวงหา ความรู้ของผ้เู รียน เพราะเป็ นเคร่ืองมือท่ีช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้ ผ้เู รียนเข้าถึงความรู้ ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกใช้ส่ือควรเลือกให้ มีความเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ วฒุ ิภาวะ และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของเด็ก ผ้สู อน ควรต้องศกึ ษาลกั ษณะของสื่อแตล่ ะชนิดเพ่ือเลือกให้สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ เนือ้ หาสาระ อีก ทงั้ เหมาะสมกบั การเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละช่วงวยั และในปัจจุบนั การสร้างส่ือการสอนต่างๆนนั้ ได้นาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ เข้ามาชว่ ยในการสร้างสื่อการสอน เพ่ือให้สื่อการเรียน การสอนนัน้ มีความน่าสนใจ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน มีความน่าสนใจของเนือ้ หา และ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้มากที่สุด การใช้สื่อท่ีผลิตจากเทคโนโลยีเป็ นการสร้ าง

2 ทางเลือกและความสนใจท่ีจะเรียนรู้ให้ผู้เรียนค้นคว้าด้วยตนเอง สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุก สถานที่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดให้กล่มุ สาระการ เรียนรู้ภาษาไทยเป็นกลมุ่ สาระท่ีสถานศกึ ษาต้องใช้เป็ นหลกั ในการจดั การเรียนการสอน ภาษาไทย เป็ นทกั ษะที่ต้องฝึ กฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้ และเพ่ือ นาไปใช้ในชีวิตจริง โดยผู้เรียนต้องมีความรู้ ทักษะและวฒั นธรรมการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร กระบวนการจดั การเรียนรู้ต้องสง่ เสริมให้ผ้เู รียนสามารถพฒั นาตามศกั ยภาพและเตม็ ตามศกั ยภาพ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง ผู้เรียนจะต้ องอาศัย กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยครูผ้สู อนสามารถออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยเลือกวิธีการ สอนและเทคนิคการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตาม เป้ าหมาย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 25 - 37) การเรียนรู้ภาษาไทยจะเน้นการเรียนรู้เพื่อ การส่ือสารกบั ผ้อู ่ืนให้มีประสทิ ธิภาพ ครูผ้สู อนจะต้องเปิดโอกาสให้นกั เรียนแสวงหาความรู้เพม่ิ เติม จากสิง่ ที่ได้เรียนในชนั้ เรียน ต้องสอนและให้เรียนรู้เพื่อพฒั นาความคดิ พฒั นาประสบการณ์เพราะ จะทาให้นักเรียนจดจาและนาความรู้มาสร้ างความคิดเป็ นของตนเองได้อย่างชาญฉลาดและ พฒั นาความคดิ ตนเองได้ ภาษาเป็ นส่ิงจาเป็ นที่มนุษย์ใช้ สาหรับการกระบวนการสื่อสาร กระบวนการส่ือ ความหมายทางธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ซึ่งเกิดขนึ ้ และพฒั นาไปตามวฒุ ิภาวะและสิ่งแวดล้อมรอบตวั มนุษย์จะจดจา สื่อสารภาษาใดได้ดีนนั้ ขึน้ อยู่กับกบั ความฝึ กฝนและเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม รอบๆ ตวั เป็นสาคญั โดยเฉพาะอย่างย่ิงภาษาไทยซง่ึ เป็ นภาษาประจาชาติและเป็นเอกลกั ษณ์ของ ชาตไิ ทยโดยขนึ ้ ชื่อว่าเป็นสมบตั ทิ างวฒั นธรรมอนั กอ่ ให้เกิดความเป็ นเอกภาพและเสริมสร้างบคุ ลิก ของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้ างความเข้าใจและ ความสมั พนั ธ์ที่ดีระหวา่ งบคุ คล ภาษาไทย เป็ นภาษาที่มีความสวยงามและมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกต่างจากภาษาอ่ืน มีคาลกั ษณนามเพื่อใช้บ่งบอกลกั ษณะของคานามส่ิงต่างๆ แตล่ ะประเภท และเพื่อขยายคานาม ของแตล่ ะประโยค พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ให้ความหมายของลกั ษณนาม ไว้ว่า คานามที่แสดงลกั ษณะของส่ิงต่างๆ เช่น เรียกคนว่า “คน” เรียกต้เู ย็นว่า “หลัง” เรียก แมวว่า “ตวั ” เรียกขลุ่ยว่า “เลา” เป็ นต้น คาลกั ษณนามนนั้ เป็ นคาชนิดหน่ึง ซึ่งมีลกั ษณะเด่น และลักษณะเฉพาะของภาษาไทย เพราะคาลกั ษณะนามทาหน้าที่ประกอบคาอื่นเพ่ือแสดงถึง ลกั ษณะของส่ิงๆ นนั้ ให้ชดั เจนขนึ ้ ลกั ษณนามต้องใช้ให้ถกู ต้องตามระเบียบของภาษาไทย หากใช้

3 ไม่ถูกต้องแล้วนนั้ คานามท่ีกล่าวถึงขึน้ มา จะแสดงลักษณะเป็ นคานามประเภทอื่น เม่ือพูดว่า “กลอน” อาจหมายถึง กลอนท่ีเป็ นคาประพันธ์หรือกลอนที่เป็ นกลอนประตู แต่ถ้าเราพูดว่า “กลอน 2 บท” กับ “กลอน 2 อนั ” คาลักษณนามช่วยทาให้คาท่ีมีหลายความหมายมีความ ชดั เจนขนึ ้ จากความสาคญั ดงั กล่าวลกั ษณนามเป็ นสิ่งสาคญั ท่ีผ้เู รียนต้องเรียนรู้เพ่ือนาไปใช้ในชีวิต จริงให้ถูกต้องตามหลกั การใช้ลกั ษณนามของภาษาไทย ผ้สู อนจึงควรให้ความสาคญั กับการใช้ ลกั ษณนามเป็นพิเศษ โดยหาวิธีเพมิ่ ประสบการณ์การเรียนรู้ของผ้เู รียนนอกเหนือจากการเรียนรู้ใน ชนั้ เรียน ควรมีการพฒั นาสื่อและรูปแบบการสอน รูปแบบการเรียนรู้เพ่ือกระต้นุ ความสนใจของ ผ้เู รียนและเพ่ือสง่ เสริมให้ผ้เู รียนใช้ลกั ษณนามให้ถกู ต้องตามหลกั ภาษา จากการที่ผ้วู ิจยั เป็ นครูผ้สู อนภาษาไทยในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ได้พบปัญหาใน การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน พบวา่ นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของนกั เรียน เร่ืองลกั ษณนาม ต่ากว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ซึ่งสถานศกึ ษาได้กาหนดให้ รายวิชาภาษาไทยของแต่ละสาระต้องมีเกณฑ์ผ่านการประเมินมากกว่าหรือเท่ากับร้ อยละ 60 ขึน้ ไป แต่ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนที่ได้ทดสอบมานัน้ ต่ากว่าเกณฑ์เป้ าหมาย แสดงให้เห็นว่า ปัญหาเรื่องการใช้ลักษณนามเป็ นปัญหาสาคญั ที่ต้องได้รับการแก้ไข จากการวิเคราะห์ปัญหา พบวา่ การตอบคาถาม การทากิจกรรมในบทเรียน และการทาใบงานเรื่องลกั ษณนามของนกั เรียน นัน้ นักเรียนยังคงใช้ลักษณนามตอบคาถามหรือเรียกถึงส่ิงต่างๆ ไม่ถูกต้อง นักเรียนยังคงมี ปัญหาในการใช้ลกั ษณนามที่ผิดหรือสบั สนวา่ ส่ิงตา่ งๆ เหล่านนั้ จะใช้คาลกั ษณนามใดถงึ จะถกู ต้อง และตรงกบั ความหมาย ดงั นนั้ จงึ สามารถสรุปความสาคญั ท่ีทาให้นกั เรียนใช้ลกั ษณนามไม่ถกู ต้อง ได้วา่ เนื่องจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจบุ นั ไม่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ของนกั เรียน เพราะ การเรียนการสอนของครูยงั เน้นเป็นแบบบรรยาย ไมม่ ีสื่อการสอนเพ่ือกระต้นุ และเร้าความสนใจให้ นกั เรียนสนใจที่จะศกึ ษาเนือ้ หาและวิธีการใช้คาลกั ษณนาม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-book (Electronic book) เป็ นสื่อประเภทหน่ึงในกลุ่ม ส่ิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ซ่ึงมีทัง้ วารสาร หนังสือพิมพ์ สารานุกรม ฯลฯ ลักษณะของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์จะมีทงั้ รูปแบบธรรมดาคือ มีข้อความและภาพเสมือนหนงั สือทว่ั ไป และแบบส่ือ หลายมิติโดยการเช่ือมโยงไปยงั ข้อความในหน้าอื่นๆ หรือเช่ือมโยงกับเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ตก็ได้ ทาให้ สะดวกในการใช้งานเพราะมีทัง้ เนือ้ หาที่เป็ นข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบ แอนิเมชน่ั และแบบวีดิทัศน์ และเสียงประเภทต่างๆ รวมถึงเสียงจากการอ่านข้อความในเนือ้ หา ด้วย (กิดานนั ท์ มลิทอง, 2548, หน้า 203) หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ได้เข้ามามีบทบาทมากขึน้ ด้วย

4 คณุ ลกั ษณะของหนงั สือ โดยเป็ นส่ือการเรียนการสอนอีกรูปแบบหนง่ึ ที่เหมือนกบั การอ่านหนงั สือที่ เป็ นหนังสือท่ีหาได้ทว่ั ๆ ไป แต่จะมีลักษณะพิเศษกว่าก็คือ สามารถเช่ือมโยงไปยงั เนือ้ หาตา่ งๆ ภายในเลม่ หนงั สือได้ง่ายขนึ ้ การจดั ระบบการนาเสนอเนือ้ หา สามารถใสภ่ าพและภาพเคลื่อนไหว เพื่อให้สามารถดงึ ดดู ความสนใจแก่ผ้เู รียนได้มากขนึ ้ มีการใส่เสียงเพ่ือสร้างความตื่นเต้นเร้าใจใน การเรียนรู้เนือ้ หาแตล่ ะบทเรียน มีการใส่วิดีโอสาหรับการบรรยายเนือ้ หาสาระเพ่ิมเตมิ มีกิจกรรม ที่เสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้เป็ นอย่างดี และสามารถสร้ างแบบทดสอบไว้สาหรับวัดความรู้ที่ ผ้เู รียนได้รับ พร้อมทงั้ ให้ผ้เู รียนสามารถอ่านและเรียนรู้เนือ้ หาในเลม่ ได้ตามความสนใจของแตล่ ะ คน อีกทงั้ ยงั สามารถให้ผ้เู รียนได้ฝึ กทกั ษะในการทาแบบทดสอบของแต่ละเนือ้ หา และสามารถ ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเองจากส่ือการเรียนการสอนนีไ้ ด้อีกด้วย จาก ค วาม สาม ารถข องเท คโน โลยี ใน ข้ างต้ น แล ะ จ าก ก ารเรี ย น ก ารส อน ใน ปั จ จุบัน ม่งุ เน้นให้ผ้เู รียนปฏิบตั ิจริงได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมต่างๆ และยดึ ผ้เู รียนเป็ นศนู ย์กลางการเรียนรู้ ผ้สู อนจงึ จาเป็นต้องหาวิธีการสอนท่ีทาให้ผ้เู รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าจากส่ิงตา่ งๆ ใกล้ๆ ตวั เพื่อนามาใช้ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจยั สนใจที่จะพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องลักษณนาม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ขึน้ เพื่อแก้ไขปัญหาและ ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขนึ ้ โดยการนาเอานวตั กรรมและเทคโนโลยี เข้ามาช่วยในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพฒั นาทกั ษะการใช้คาลกั ษณนาม พร้อมทงั้ สง่ เสริมให้นกั เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนและเร้าความสนใจท่ีจะเรียนรู้ ฝึ กฝน ให้นกั เรียนเกิดการอยากเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็ นการส่งเสริมพฒั นาความสามารถ เพิ่มพูนความรู้ ความจา ความเข้าใจเก่ียวกบั เรื่องลกั ษณนามให้ประสิทธิภาพมากยง่ิ ขนึ ้

5 จุดมุ่งหมำยของกำรศกึ ษำ 1. เพ่ือสร้างและหาประสทิ ธิภาพหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องลกั ษณนาม กล่มุ สาระการ เรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 โดยมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนและหลงั เรียนด้วยหนงั สือ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษา ปี ท่ี 3 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ท่ีมีต่อหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองลกั ษณนาม กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษา ปี ที่ 3 ขอบเขตของงำนวจิ ัย การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลกั ษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ผ้ศู กึ ษาได้แบง่ ขอบเขตเป็นด้านตา่ งๆ ดงั นี ้ 1. ขอบเขตด้ำนตัวแปร 1.1 ตวั แปรต้น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 1.2 ตวั แปรตำม 1) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ลกั ษณนาม 2) ความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มีตอ่ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรื่อง ลกั ษณนาม 2. ขอบเขตด้ำนแหล่งข้อมูล 2.1 ประชำกร ประชากรที่ใช้ ในการศึกษาครัง้ นี ้ คือ นักเรียนโรงเรียนบ้ านชายเคือง ตาบลวงั ชะโอน อาเภอบงึ สามคั คี จงั หวดั กาแพงเพชร สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา กาแพงเพชร เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2559 จานวน 237 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่ำง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรียนบ้านชายเคือง ตาบลวงั ชะโอน อาเภอบงึ สามคั คี จงั หวดั กาแพงเพชร สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา กาแพงเพชร เขต 2 ที่กาลงั เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จานวน 27 คน ได้มา โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

6 3. เนือ้ หำ เนือ้ หาของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ เร่ืองลกั ษณนาม จะประกอบไปด้วยเนือ้ หาจานวน 8 หนว่ ย ดงั นี ้ หนว่ ยที่ 1 ความหมายของคาลกั ษณนาม หนว่ ยท่ี 2 คาลกั ษณนามบอกชนิด หนว่ ยท่ี 3 คาลกั ษณนามบอกหมวดหมู่ หนว่ ยท่ี 4 คาลกั ษณนามบอกสณั ฐาน หนว่ ยท่ี 5 คาลกั ษณนามบอกจานวนและมาตรา หนว่ ยท่ี 6 คาลกั ษณนามบอกอาการ หนว่ ยที่ 7 คาลกั ษณนามซา้ ช่ือ หนว่ ยที่ 8 คาลกั ษณนามที่ควรรู้ 4. ระยะเวลำดำเนินกำร ระยะเวลาในการดาเนินงาน เริ่มตงั้ แตต่ ลุ าคม 2559 – มีนาคม 2560 นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ืองลักษณ นาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้วิจัยสร้ างขึน้ โดยมีเนือ้ หาแบ่ง หมวดหมลู่ กั ษณนามเป็ น 8 หน่วย ตามท่ีกาหนดไว้ในขอบเขตการวิจยั องค์ประกอบของหนงั สือ มีปก คานา คาชีแ้ จง สารบัญและเนือ้ หา ซ่ึงเนือ้ หาทงั้ หมดถูกดัดแปลงให้อยู่ในลักษณะของ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีนาเสนอผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็ นระบบออฟไลน์ ซึ่งคณุ ลกั ษณะของ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเช่ือมโยงไปยังเนือ้ หาต่างๆ ของหนงั สือ และได้แทรกภาพ เสียง ภาพเคล่ือนไหว เพ่ือเป็นองค์ประกอบของหนงั สือด้วย 2. ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 หมายถึง คณุ ภาพของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ ด้านกระบวนการ และผลลัพธ์ ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึน้ สาหรับนาไปใช้ ส่งเสริมการเรียนรู้และการใช้ ลักษณนาม ชนั้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 3 ทาให้นกั เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์ 80/80 ดงั นี ้ 80 ตวั แรก หมายถึง ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ซง่ึ คานวณจากร้อยละของคะแนน เฉล่ียจากการทาแบบทดสอบยอ่ ยท้ายกิจกรรม ซง่ึ มีคา่ ตงั้ แตร่ ้อยละ 80 ขนึ ้ ไป 80 ตวั หลงั หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ คานวณจากร้อยละของคะแนนเฉล่ีย จากคะแนนแบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียน ซงึ่ มีคา่ ตงั้ แต่ ร้อยละ 80 ขนึ ้ ไป

7 3. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบ เร่ืองลักษณนาม ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 โดยเป็ นข้อสอบประนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ โดยวดั พฤตกิ รรมความรู้และความคดิ (Cognitive Domain) 4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความคิดเห็นหรือความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลกั ษณนาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ซง่ึ วดั ได้ด้วยแบบวดั ความพงึ พอใจตอ่ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลกั ษณนาม ท่ีผ้วู จิ ยั พฒั นาขนึ ้ 5. ลกั ษณนาม หมายถึง คานามท่ีใช้บอกลกั ษณะของคานามสิ่งต่างๆ แตล่ ะประเภท และเพ่ือขยายคานามของแตล่ ะประโยคให้ชดั เจนขนึ ้ สมมตฐิ ำนของกำรวจิ ัย นักเรียนท่ีเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปี ที่ 3 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสงู กว่าก่อน เรียน

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง ในการการพฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทย สาหรับนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3 ผ้วู ิจยั ได้ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ที่ เกี่ยวข้อง ดงั นี ้ 1. เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1.1 สาระสาคญั ของหลกั สตู ร 1.2 คณุ ภาพผ้เู รียน 1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 2. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับภาษาไทย 2.1 ความสาคญั ของภาษาไทย 2.2 ลกั ษณะของภาษาไทย 2.3 วตั ถปุ ระสงคแ์ ละความสาคญั ของการสอนภาษาไทย 3. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับลักษณนาม 3.1 ความหมายของคาลกั ษณนาม 3.2 ที่มาของลกั ษณนาม 3.3 การจาแนกประเภทคาลกั ษณนาม 3.4 หน้าที่ของลกั ษณนาม 3.5 การใช้ลกั ษณนาม 4. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) 4.1 ความหมายของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) 4.2 ลกั ษณะและประเภทของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) 4.3 จดุ ประสงค์และประโยชน์ของหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4.4 องค์ประกอบของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 4.5 ขนั้ ตอนการพฒั นาหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์รูปแบบ ADDIE

9 5. การประเมินหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ 5.1 การประเมินองคป์ ระกอบ 5.2 การประเมินประสิทธิภาพ 5.3 การประเมนิ โดยใช้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 5.4 การประเมินความพงึ พอใจ 6. เอกสารท่ีเก่ียวกับทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยา 7. เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้องทงั้ ในและต่างประเทศ 7.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 7.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ 1. เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1.1 สาระสาคัญของหลักสูตร ภาษาไทยเป็ นเอกลักษณ์ของชาติเป็ นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็ น เอกภาพและเสริมสร้ างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเคร่ืองมือในการ ติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้ างความเข้าใจและความสัมพนั ธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้ างสรรค์ ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพให้มีความมน่ั คงทาง เศรษฐกิจ นอกจากนีย้ ังเป็ นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สนุ ทรียภาพ เป็นสมบตั ลิ า้ คา่ ควรแก่การเรียนรู้ อนรุ ักษ์ และสืบสานให้คงอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตอ่ ไป 1.2 คุณภาพผู้เรียน จบชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3  อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เร่ืองสัน้ ๆ และบทร้ อยกรองง่ายๆ ได้ ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน ตงั้ คาถามเชิงเหตุผล ลาดบั เหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบตั ิตามคาสง่ั คาอธิบาย จากเรื่องท่ีอ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนงั สือ อยา่ งสม่าเสมอ และมีมารยาทในการอา่ น

10  มีทกั ษะในการคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนบรรยาย บนั ทกึ ประจาวนั เขียน จดหมายลาครู เขียนเร่ืองเก่ียวกบั ประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและมีมารยาทในการ เขียน  เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ตงั้ คาถาม ตอบคาถาม รวมทัง้ พูดแสดง ความคิดความรู้สึกเก่ียวกับเร่ืองที่ฟังและดู พดู ส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพดู เชญิ ชวนให้ผ้อู ่ืนปฏิบตั ติ าม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพดู  สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา ความแตกตา่ งของคาและพยางค์ หน้าที่ของ คาในประโยค มีทกั ษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคา แตง่ ประโยคง่ายๆ แตง่ คา คล้องจอง แตง่ คาขวญั และเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ  เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ ในชีวิตประจาวนั แสดงความคดิ เหน็ จากวรรณคดีที่อา่ น รู้จกั เพลงพืน้ บ้าน เพลงกลอ่ มเดก็ ซงึ่ เป็น วฒั นธรรมของท้องถ่ิน ร้องบทร้องเลน่ สาหรับเดก็ ในท้องถ่ิน ทอ่ งจาบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ี มีคณุ คา่ ตามความสนใจได้ จบชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 6  อ่านออกเสียงบทร้ อยแก้วและบทร้ อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบาย ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองที่ อ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในค่มู ือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมทงั้ จบั ใจความสาคญั ของเรื่องท่ีอ่านและนาความรู้ความคิดจากเรื่องท่ีอ่านไปตดั สินใจแก้ปัญหาในการ ดาเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสยั รักการอา่ น และเห็นคณุ คา่ สิ่งท่ีอา่ น  มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคา แตง่ ประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาชดั เจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพ่ือพฒั นางานเขียน เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายสว่ นตวั กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดงความรู้สกึ และความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่าง สร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขียน  พดู แสดงความรู้ ความคดิ เก่ียวกบั เร่ืองที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเร่ืองที่ฟัง และดู ตงั้ คาถาม ตอบคาถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทงั้ ประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟัง และดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลาดบั ขัน้ ตอนเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือ ประเด็นค้นคว้าจากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล รวมทัง้ มี มารยาทในการดแู ละพดู

11  สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพงั เพยและสภุ าษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไท ย ใช้คาราชาศพั ท์และคาสภุ าพได้อย่างเหมาะสม แตง่ ประโยค แตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ และกาพย์ยานี 11  เข้าใจและเห็นคณุ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพืน้ บ้าน ร้ องเพลง พืน้ บ้านของท้องถิ่น นาข้อคดิ เหน็ จากเรื่องที่อา่ นไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง และทอ่ งจาบทอาขยาน ตามท่ีกาหนดได้ จบชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 3  อ่านออกเสียงบทร้ อยแก้วและบทร้ อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดงความคดิ เห็นและข้อโต้แย้งเก่ียวกบั เร่ืองที่อา่ น และเขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ ยอ่ ความ เขียนรายงานจากส่ิงที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างมีเหตผุ ล ลาดบั ความอยา่ งมีขนั้ ตอนและ ความเป็นไปได้ของเรื่องที่อา่ น รวมทงั้ ประเมนิ ความถกู ต้องของข้อมลู ท่ีใช้สนบั สนนุ จากเรื่องท่ีอา่ น  เขียนสื่อสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดบั ภาษาเขียนคาขวัญ คาคม คาอวยพรในโอกาสต่างๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อตั ชีวประวตั แิ ละประสบการณ์ตา่ งๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมคั รงาน เขียน วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้แย้งอย่างมีเหตผุ ล ตลอดจนเขียนรายงาน การศกึ ษาค้นคว้าและเขียนโครงงาน  พดู แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินสิ่งที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิด ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั พดู รายงานเรื่องหรือประเดน็ ท่ีได้จากการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งเป็ นระบบ มีศิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล นา่ เช่ือถือ รวมทงั้ มีมารยาทในการฟัง ดู และพดู  เข้าใจและใช้คาราชาศพั ท์ คาบาลีสนั สกฤต คาภาษาตา่ งประเทศอ่ืนๆ คาทบั ศพั ท์ และศพั ท์บญั ญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้ างของ ประโยครวม ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาที่เป็ นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็ นทางการ และแต่งบท ร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลงส่ีสภุ าพ  สรุปเนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคญั วิถีชีวิตไทย และคณุ คา่ ที่ได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทงั้ สรุปความรู้ข้อคิดเพ่ือนาไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง

12 จบชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 6  อ่านออกเสียงบทร้ อยแก้วและบทร้ อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้องและเข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองที่อา่ นได้ วิเคราะห์วจิ ารณ์เรื่องที่อา่ น แสดงความคิดเห็น โต้แย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตผุ ล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่งที่อ่าน สังเคราะห์ ประเมินคา่ และนาความรู้ความคดิ จากการอา่ นมาพฒั นาตน พฒั นาการเรียน และพฒั นาความรู้ ทางอาชีพ และ นาความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต มีมารยาทและมี นสิ ยั รักการอา่ น  เขียนสื่อสารในรูปแบบตา่ งๆ โดยใช้ภาษาได้ถกู ต้องตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ยอ่ ความ จากส่ือท่ีมีรูปแบบและเนือ้ หาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหาร ตา่ งๆ เขียนบนั ทกึ รายงานการศกึ ษาค้นคว้าตามหลกั การเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมลู สารสนเทศ ในการอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบตา่ งๆ ทงั้ สารคดีและบนั เทิงคดี รวมทงั้ ประเมิน งานเขียนของผ้อู ื่นและนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง  ตงั้ คาถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เรื่องที่ฟังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลือก เร่ือง ท่ีฟังและดู วิเคราะห์วตั ถปุ ระสงค์ แนวคดิ การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือของเรื่องที่ฟังและ ดู ประเมินส่ิงท่ีฟังและดแู ล้วนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีทกั ษะการพดู ในโอกาสต่างๆ ทงั้ ท่ีเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พดู แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคดิ ใหมอ่ ยา่ งมีเหตผุ ล รวมทงั้ มีมารยาทในการฟัง ดู และพดู  เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา อิทธิพลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใช้คาและ กล่มุ คาสร้างประโยคได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ แตง่ คาประพนั ธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉนั ท์ ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและใช้คาราชาศพั ท์และคาสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์ หลักการ สร้ างคาในภาษาไทย อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วเิ คราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสง่ิ พมิ พ์และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์  วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบือ้ งต้น รู้และเข้าใจลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพืน้ บ้ าน เชื่อมโยงกบั การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจาก วรรณคดีและวรรณกรรมไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง

13 1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ น สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อยา่ งมีประสิทธิภาพ สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดง ความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้ าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ เปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิ ของชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และ วรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนามาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง สรุปได้วา่ หลกั สตู รภาษาไทย เป็ นหลกั สตู รท่ีมีความสาคญั เพราะเป็ นหลกั สตู รที่สร้าง บคุ ลกิ ภาพของคนในชาตใิ ห้เกิดความเป็นไทย อีกทงั้ ยงั เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ตดิ ตอ่ ส่ือสารให้เกิดความ เข้าใจ และมีความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งบคุ คล สามารถนาไปใช้ในการงานหรือชีวิตประจาวัน เป็น พืน้ ฐานในการพฒั นาความรู้ ความคิดให้ทนั ต่อสถานการณ์ในปัจจุบนั และยงั เป็ นสิ่งท่ีแสดงถึง ภูมิปัญญาด้านวัฒนธรรมและประเพณีไทย การศึกษาหลักสูตรทาให้ผู้วิจัยได้เรียนรู้เก่ียวกับ สาระสาคญั ของหลกั สูตร คณุ ภาพผู้เรียน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเ รียนรู้ ภาษาไทย ที่จะนามาวิเคราะห์ในการออกแบบเนือ้ หา การประเมินผลการเรียนการสอน การ ออกแบบส่ือการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสมกบั นกั เรียน

14 2. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับภาษาไทย 2.1 ความสาคัญของภาษาไทย กรมวิชาการ (2545, หน้า 1) การสอนภาษาไทยในปัจจบุ นั ไม่เน้นการอ่านออกเขียนได้ เพียงอยา่ งเดียว แตจ่ ะเน้นการสอนภาเพื่อการสื่อสารกบั ผ้อู ื่นอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ภาษา ในการแก้ปัญหาในการดารงชีวิตและปัญหาของสงั คม เน้นการสอนภาษาในฐานะเคร่ืองมือของ การเรียนรู้ เพื่อให้ผ้เู รียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้นนั้ ไปพฒั นาตนเอง นอกจากนนั้ ยงั ต้องสอนภาษาเพ่ือพฒั นาความคิด คดิ ได้อย่างฉลาดและรอบคอบ ขณะเดียวกนั ต้องเน้นให้รักภาไทยในฐานะเป็ นวฒั นธรรมที่บรรพบรุ ุษได้สร้างสรรค์ในรูปแบบหลกั ภาษาซ่ึงเป็ น กฎเกณฑ์การใช้ภาษา ผู้เรียนต้องมีทักษะการใช้ภาษาได้ถูกต้องสละสลวยตามหลักภาษา ภาษาไทยมีความสาคญั และจาเป็ นที่คนไทยทุกคนต้องศึกษาและฝึ กฝนให้เกิดทักษะเพ่ือให้ สามารถดารงตนอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ดงั นี ้ 1. เป็ นเคร่ืองมือติดต่อสื่อสารทงั้ ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคดิ อารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการเร่ืองราวตา่ งๆ ระหวา่ งบคุ คลท่ีต้องการส่ือสารถึงกนั ไม่ว่าจะเป็ นการฟัง การอ่าน การดู การพดู และการเขียนล้วนต้องใช้ภาษาเป็ นเครื่องมือในการ สื่อสารทงั้ สนิ ้ 2. เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์อนั มีคา่ ของบรรพบรุ ุษได้มีการใช้ ภาษาเป็ นเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์นนั้ จากคนรุ่นหน่ึงสู้คนอีกรุ่นหน่ึง นอกจากนนั้ ภาษายงั เป็ นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ เป็ นเครื่องมือในการรับ และถ่ายทอดและสืบต่อวฒั นธรรม ค่านิยม คณุ ธรรมและจริยธรรมพึงประสงค์ให้เกิดกับผ้เู รียน เพื่อให้ผ้เู รียนได้เรียนรู้และประพฤตติ าม 3. เป็นเคร่ืองมือเสริมสร้างความเข้าใจอนั ดีตอ่ กนั กบั คนในสงั คมและในชาติ 4. เป็ นเคร่ืองมือสร้างเอกภาพของขาติ ภาษาไทยนนั้ เป็ นมาตรฐานท่ีคนไทยใช่ร่วมกัน ซง่ึ ทาให้คนในสงั คมรู้สกึ เป็นอนั หนงึ่ อนั เดียวกนั มีความรู้สกึ ผกู พนั กนั เป็นเชือ้ ชาตเิ ดียวกนั เป็ นหลงั สาคญั ให้คนไทยปรองดองกนั ร่วมมือกนั เพ่ือพฒั นาชาตไิ ทยให้เจริญก้าวหน้ามนั่ คงตอ่ ไป 5. เป็ นเคร่ืองมือช่วยจรรโลงใจ ธรรมชาติของมนุษย์ทุกเพศทกุ วยั ต้องการได้รับความ จรรโลงใจในชีวติ อย่เู สมอ ส่ิงท่ีช่วยจรรโลงในอันได้แก่ การฟังหรือการอ่าน ส่ือตา่ งๆ เช่น นิทาน นิยาย บทกวี สารคดี บนั เทิงคดี คาอวยพร สภุ าษิต เรื่องราวตา่ งๆ ส่ิงเหลา่ นีจ้ าเป็ นต้องอาศยั ภาษาเป็นสื่อทงั้ สนิ ้ คณาจารย์สมานมิตร (2547, หน้า 15) กล่าวว่า ภาษาไทยมีความสาคัญมากเป็ น เครื่องมือที่ใช่ในการติดตอ่ ส่ือสารระหว่างคนไทยทงั้ ชาติทาให้เกิดความสะดวก เกิดความเข้าใจ

15 ตรงกัน การมีภาษาใช้ร่วมกันระหว่างคนหมู่มากทาให้เกิดพลัง เกิดความรู้สึกเป็ นนา้ หนึ่งใจ เดียวกนั ภาษาไทยเป็ นเคร่ืองหมายแสดงความเป็ นชาตไิ ทยเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติ นอกจากนนั้ ยงั เป็นวฒั นธรรมประจาชาตอิ ยา่ งหนงึ่ ที่นา่ ภมู ใิ จและควรแกก่ ารรักษาไว้ สรุปได้วา่ ภาษาไทยมีความสาคญั ตอ่ การดารงชีวิตและความเป็ นเอกภาพของชาติไทย เพราะภาษาไทยเป็ นเคร่ืองมือท่ีใช้ตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งคนไทยด้วยกนั เกิดความหมาย เกิดความ เข้าใจเดียวกัน คนไทยจึงจาเป็ นต้องตระหนกั และเล็งเห็นถึงความสาคญั ของภาษาไทย ต้องทา ความเข้าใจ ศึกษาหลกั เกณฑ์ทางภาษา และฝึ กฝนให้มีทกั ษะเพ่ือนาไปใช้ในการสื่อสาร การ เรียนรู้ การเสริมสร้างความเข้าในอนั ดตี อ่ สงั คม 2.2 ลักษณะของภาษาไทย กรมวิชาการ (2545, หน้ า 6) ได้ สรุปลักษณะภาษาไทยไว้ คือ ภาษาไทยเป็ น ภาษาคาโดด หมายความวา่ ในการพดู การใช้ภาษาไทยจะมีคา เป็นหนว่ ยภาษาแทนความหมาย เมื่อต้องการจะส่ือความหมายใดก็นาคาที่มีความหมายนนั้ มาเรียงต่อกันเพื่อแทนความคิดหรือ เรื่องราวที่ต้องการสื่อออกไป โดยคานนั้ ๆ ไม่ต้องเปล่ียนแปลงรูปหรือผนั แปรเพื่อให้สอดคล้องกับ คาอื่นในลกั ษณะของความสมั พนั ธ์ทางไวยากรณ์ ในภาษาไทยคามีความสมั พนั ธ์กนั ด้วยตาแหนง่ และความหมาย เช่น เป็ นผ้กู ระทา เป็ นผ้รู ับการกระทา เป็ นอาการท่ีกระทา เป็ นต้น ตาแหน่ง และความหมายของความสมั พนั ธ์กบั หน้าท่ีของคานนั้ ด้วย หน้าที่ของคาในวลี ในประโยคหรือใน ข้อความจะเป็ นไปตามตาแหนง่ และความหมายท่ีปรากฏ เชน่ เป็ นประธาน เป็ นภาคแสดง เป็ น กรรม เป็ นส่วนขยาย หรือเป็ นส่วนเสริมอื่นๆ เมื่อจะสื่อภาษาออกเป็ นเสียงพดู ภาษาไทยมีเสียง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์เป็ นหน่วยภาษา ซึ่งจะประกอบกันตามกฎและระบบเสียง ภาษาไทยเป็ นคาและกล่มุ คา การออกเสียงคาและกล่มุ คาต้องเป็ นไปตามลกั ษณะของเสียง การ ประสมเสียง และการลงเสียงหนกั เบาของพยางค์ซงึ่ มีความหมายในภาษาไทย คณุ บรรจบ พนั ธุเมธา (2544, หน้า 2) ได้สรุปลกั ษณะภาษาไทยไว้ ดงั นี ้ 1. คาแตล่ ะคามีพยางคเ์ ดยี ว และไมม่ ีเสียงควบกลา้ 2. คาแต่ละคาถือเป็ นคาสาเร็จรูป เพราะมีความหมายสมบรู ณ์ใช้เข้าประโยคได้ทันที โดยไม่ต้องมีการตกแต่งหรือเปลี่ยนแปลงส่วนใดๆ ของคา เพื่อบอกความสมั พนั ธ์ระหว่างคาใน ประโยค 3. คาคาเดียวกันอาจมีหลายความหมาย ใช้ได้หลายหน้าท่ีโดยไม่ต้องเปล่ียนแปลงรูป คาเลย จะรู้ความหมายและหน้าท่ีได้ก็ด้วยดตู าแหนง่ ในประโยค

16 4. การเรียงลาดบั คามีความสาคญั ท่ีสุด เม่ือเข้าประโยคจะต้องเรียงคาตามตาแหน่ง หน้าที่ คาใดทาหน้าที่ใด หมายความอยา่ งไร ก็อยทู่ ่ีการเรียงลาดบั คา การเรียงคาที่ผิดตาแหนง่ ความหมายจะเปลี่ยนไปด้วย ประโยคของเราเรียงดงั นี ้ ผ้ทู า (คาขยาย) กริยา (คาขยาย) ผ้ถู กู (คาขยาย) ถ้ามีบรุ พบท บรุ พบทอยหู่ น้านามท่ีเกี่ยวข้องด้วย 5. เม่ือจะสร้ างคาใหม่หรือต้องการแสดงเพศ พจน์ของคานามหรือกาล มาลา ของ คากริยาอาจใช้คามาประกอบกนั เข้าข้างหน้าบ้าง ข้างหลงั บ้าง หรือประสมตามแบบคาประสม บ้าง 6. มีลักษณนามมากับคาขยายบอกจานวนนับในภาษาไทยคาขยายอยู่หลงั คานาม ลกั ษณนามตามหลงั คาขยายบอกจานวนนบั 7. มีระบบเสียงสูงต่า คาแต่ละคามีเสียงสูงต่า เสียงหนึ่งมีความหมายอย่างหนึ่ง หากเปล่ียนเสียงความหมายยอ่ มเปล่ียนไปด้วย 8. มีการใช้ราชาศพั ท์และภาษาสภุ าพตามฐานะของบคุ คล จงชยั เจนหตั ถการกิจ (2551, หน้า 6 – 10) ได้ให้ลกั ษณะของภาษาไทยไว้ ดงั นี ้ 1. ภาษาไทยเป็ นภาษาคาโดด (Isolating Language) คือ แต่ละคามีความหมาย สมบรู ณ์ในตวั เอง ใช่ได้อย่างอิสระ โดยไม่มีการเปล่ียนแปลงรูปศพั ท์ เพ่ือบอกเพศ พจน์ การก (การกระทา) และกาลเวลา เพราะภาษาไทยจะใช้คาอื่นมาประกอบหรือาจทราบได้จากบริบท หรือคาบางคาก็บอกเพศ และพจน์ในตวั เองอย่แู ล้ว ภาษาคาโดดส่วนใหญ่มกั จะมีพยางค์เดียว คาท่ีมีหลายพยางคก์ ็มีเป็นสว่ นน้อย 2. คาไทยแท้สว่ นมากมีพยางค์เดียว และมีความหมายสมบรู ณ์ในตวั เอง 3. คาไทยแท้มีตวั สะกดตรงตามมาตราตวั สะกด 4. ภาษาไทยเป็ นภาษาท่ีมีเสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ทาให้คาเกิดระดบั เสียงต่างกัน และทาให้ความหมายตา่ งกนั ไปด้วย 5. มีการสร้ างคา เพ่ือเพ่ิมความหมายให้มากขึน้ เช่น การประสมคา การซ้อนคา การสมาส การสนธิ การบญั ญตั ศิ พั ท์ การทบั ศพั ท์ การแผลงคา เป็นต้น 6. การเรียงคาในประโยค ระบบไวยากรณ์ภาษาไทยถือว่าการเรียงคาในประโยคมี ความสาคญั มาก ถ้าเรียงคาในตาแหนง่ ต่างๆ สลบั ที่กนั จะทาให้ความหมายเปลี่ยนไป เพราะคา ไทยบางคามีความหมายและทาหน้าท่ีได้หลายหน้าท่ี 7. คาขยายในภาษาไทยจะเรียงอย่หู ลงั คาท่ีถกู ขยายเสมอ ยกเว้น คาที่แสดงจานวน หรือปริมาณอาจอยหู่ น้าหรือหลงั ก็ได้

17 8. คาไทยมีลกั ษณนาม 9. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและมีจงั หวะในการพูด เพื่อกาหนดความหมายท่ี ต้องการ หากแบง่ วรรคผดิ หรือพดู เว้นจงั หวะผดิ ความหมายก็จะเปล่ียนแปลงไป 10. ภาษาไทยเป็ นภาษาท่ีมีการใช้คาให้เหมาะสมกบั ฐานะของบคุ คลและโอกาสซึ่งเป็น วฒั นธรรมทางภาษาอันละเอียดลออประการหนึ่ง คือ ระดบั พิธีการ ระดบั ทางการ ระดบั ก่ึง ทางการ ระดบั สนทนา ระดบั กนั เอง ประยูร ทรงศิลป์ (2553, หน้า 17 -25) ได้ให้ลกั ษณะของภาษาไทยไว้คือ ภาษาไทย เป็นลกั ษณะภาษาคาโดด คาสว่ นใหญ่ในภาษาเป็นคาพยางคเ์ ดียว อาจมีคาสองพยางค์ปะปนอยู่ บ้างแตเ่ ป็ นจานวนน้อยมาก คาทกุ คนเป็ นอิสระ สามารถนาไปเรียงเข้ารูปประโยคได้ทนั ทีโดยไม่ ต้องเปล่ียนแปลงรูปคาเพ่ือแสดงความสมั พนั ธ์กบั คาอ่ืนๆ ในประโยคและไม่วา่ คาจะปรากฏอย่ใู น สว่ นใดของประโยค คาจะมีรูปและเสียงคงเดมิ เสมอ หากต้องการจะบอกถึงเพศ พจน์ กาล ฯลฯ ที่แตกตา่ งออกไปก็จะใช้คาอ่ืนๆ เข้ามาประกอบ หรือสรุปลกั ษณะภาษาไทยได้ดงั นี ้ 1. คาในภาษาไทยสามารถนาไปประกอบเข้าเป็ นข้อความหรือประโยคได้ทนั ทีโดยไม่ ต้องเปล่ียนแปลงรูปคา หากต้องการแสดง เพศ พจน์ กาล มาลา วาจก จะต้องหาคาอื่นเข้ามา ประกอบเพ่ือบอกลกั ษณะนนั้ ๆ แทนการเปลี่ยนแปลงรูปคา อาจประกอบเข้าข้างหน้าหรือข้างหลงั คาเดมิ ก็ได้ 2. คาในภาษาไทยคาเดียวอาจมีหลายความหมายและทาหน้าที่ในประโยคได้หลาย หน้าท่ี การจะทราบความหมายของคานนั้ ๆ ต้องอาศยั บริบทหรือคาท่ีอยแู่ วดล้อมมาประกอบ 3. คาไทยแท้สว่ นใหญ่เป็ นคาพยางค์เดียว คาหลายพยางค์มกั เป็ นคาประสมและคายืม มาจากภาษาตา่ งประเทศ 4. การเรียงคาเข้าประโยคในภาษาไทยเรียงลาดับคาที่ทาหน้าท่ีเป็ นประธาน กริยา กรรม คาขยายอยหู่ ลงั คาท่ีถกู ขยาย โดยปกติจะเรียงไว้ตดิ กบั คาท่ีถกู ขยาย ยกเว้นคาขยายกริยา จะอยขู่ ้างหลงั ตดิ กบั กริยาหรือไมก่ ็ได้ 5. การเรียงลาดบั คาในประโยคเป็ นสิ่งท่ีสาคญั ท่ีสุด เม่ือเข้ารูปประโยคคาจะต้องอยู่ ตามตาแหน่งหน้าท่ี ถ้าสลับตาแหน่งคา ความหมายของประโยคจะเปล่ียนไปจากที่ต้องการ หรือเป็นลกั ษณะประโยคที่ไมใ่ ช้ในภาษา ไมส่ ่ือความหมาย 6. ภาษาไทยมีลกั ษณนามเป็ นจานวนมาก เม่ือมีคาวิเศษณ์บอกจานวนนบั หรือจานวน ประมาณจะมีลกั ษณนามตามหลงั เสมอ ลกั ษณนามทาให้เข้าใจลกั ษณะและเห็นภาพลกั ษณ์ของ คานามท่ีอยขู่ ้างหน้าได้ชดั เจน

18 7. ภาษาไทยมีระดบั เสียงสงู ตา่ หรือเสียงวรรณยกุ ตช์ ว่ ยแยกความหมายของคาให้ตา่ งกนั การเปล่ียนระดบั เสียงของคาแล้วทาให้ความหมายของคาเปล่ียนไปนนั้ ช่วยทาให้มีจานวนคาใน ภาษาเพมิ่ มากขนึ ้ ด้วย 8. ภาษาไทยมีการสร้ างคาขึน้ มาใช้ใหม่เพื่อให้เพียงพอแก่ความต้องการโดยวิธีการ ประสมคา การซ้อนคา การซา้ คา ทาให้เกิดเป็นคาประสม คาซ้อน คาซา้ 9. ภาษาไทยมีคาเลียนเสียงใช้เป็นจานวนมากเพ่ือชว่ ยในการสื่อความให้ชดั เจนและเป็ น ที่เข้าใจกนั ได้ดยี ิ่งขนึ ้ 10. ภาษาไทยมีคาพวกหนึ่งใช้ประกอบข้างท้ายคาอ่ืนเพื่อบอกถึงความสุภาพ ขอร้อง วิงวอน หรือแสดงความใกล้ชิดสนทิ สนม 11. ภาษาไทยมีคาขยายจาพวกหน่ึงซ่งึ ประกอบกบั คาอ่ืนบางคาแล้วชว่ ยให้ความรู้สึก ชว่ ยแสดงอาการ หรือสภาพให้เกิดความชดั เจนโดยไมม่ ีความหมายประจาคา 12. ภาษาไทยมีคาราชาศพั ท์และคาสภุ าพใช้ให้เหมาะสมตามฐานะของบคุ คลในสงั คม ด้วยเหตทุ ี่คนไทยเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ นบั ถืออาวโุ ส มีความเคารพผ้ทู ่ีเหนือกวา่ ทงั้ ชาติ วฒุ ิ คณุ วฒุ ิและวยั วฒุ ิ นอกจากจะแสดงด้วยกิริยามารยาทอนั นอบน้อมแล้ว ยงั ต้องใช้ภาษาให้ ถกู ต้องเหมาะสมอีกด้วย ในภาษาไทยมีการกาหนดการใช้ราชาศพั ท์ไว้เป็นแบบแผนอย่างละเอียด จนทาให้ดเู หมือนวา่ ราชาศพั ท์เป็นภาษาที่แตกตา่ งไปจากภาท่ีใช้กนั อยทู่ วั่ ๆ ไปในชีวิตประจาวนั ผอบ โปษะกฤษณะ (2538, หน้า 17 – 31) ได้แบง่ ลกั ษณะของภาษาไทยไว้ ดงั นี ้ 1. ภาษาไทยมีตวั อกั ษรเป็นของตนเอง 2. ภาษาไทยแท้เป็นภาษาท่ีมีพยางคเ์ ดยี ว 3. ภาษาไทยแท้มีตวั สะกดตามมาตรา 4. ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตาแหนง่ 5. คาเดียวมีความหมายหลายอยา่ ง 6. ภาษาไทยมีความประณีต มีคาที่มีความหมายเหมือนกันแต่มีความหมายเฉพาะ ตา่ งกนั 7. ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคา (Word – Order) 8. คาในภาษาไทยมีเสียงสมั พนั ธ์กบั ความหมาย 9. ภาษาไทยเป็ นภาษาดนตรี คือ มีการเปลี่ยนระดบั เสียงของคาหรือที่เรียกกันว่า วรรณยกุ ต์ 10. ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพดู มีจงั หวะ

19 11. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลกั ษณนาม 12. ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีมีระดบั ของคา 13. ภาษาไทยมีคาพ้องรูปและพ้องเสียง 14. ภาษาไทยมกั จะละบางคา 15. ภาษาพดู มีคาเสริมแสดงความสภุ าพ 16. การลงเสียงหนกั เบาทาให้หน้าท่ีของคาเปลี่ยนไป 17. มีการสร้างคา สนทิ ตงั้ ทวี (2528, หน้า 11 - 12) ได้แบง่ ลกั ษณะของภาษาไทยไว้ ดงั นี ้ 1. คาไทยแท้เป็ นคาพยางค์เดียว คาประเภทนีม้ ีความหมายท่ีผู้ฟังเข้าใจได้ทันที คาชนิดนีถ้ ือว่าเป็ นคาที่คนไทยแต่ดงั้ เดิมใช้กนั อย่เู ป็ นประจา มกั เป็ นคาท่ีใช้เรียกสิ่งตา่ งๆ ได้แก่ คานาม คากริยาที่สมั พนั ธ์เก่ียวข้องกบั มนษุ ย์และสตั ว์ หรือคาขยายท่ีใช้เป็นธรรมดาสามญั ทวั่ ไป 2. คาไทยแท้ไม่นิยมควบกลา้ เชน่ ใน กา คา แตต่ อ่ มาเม่ือได้รับคาภาษาสนั สกฤต และเขมรเข้ามาใช้ในภาษาไทยแล้ว เราได้นาเอาเสียงคาควบกลา้ มาใช้กบั คาของไทย จึงเป็ นเหตุ ให้คาไทยมีคาควบกลา้ อยมู่ าก 3. คาไทยมีระบบเสียงสูงต่า เสียงหนึ่งมีความหมายอย่างหน่ึง หากเปล่ียนเสียงไป ความหมายก็จะเปลี่ยนไปด้วย เสียงท่ีวา่ คอื เสียงวรรณยกุ ต์ ซง่ึ มีอยู่ 5 เสียง คือ สามญั เอก โท ตรี และจตั วา 4. คาไทยแท้ใช้ตวั สะกดตรงมาตรา 5. คาไทยแท้ไมม่ ีตวั การันต์ 6. คาไทยแท้ คาเดียวทาหน้ าทีหลายอย่าง หมายความว่า คาคาเดียวมีหลาย ความหมาย ใช้ได้หลายหน้าท่ีโดยไมต่ ้องเปลี่ยนแปลงรูปคาเหมือนกบั ภาษาในตระกลู ภาษามีวิภตั ิ ปัจจยั เราจะรู้ความหมายและหน้าท่ีได้ก็ด้วยดตู าแหนง่ ของคาในประโยค 7. คานามไมม่ ีเคร่ืองหมายแสดงเพศและพจน์เหมือนภาษาบาลีสนั สกฤต ถ้าต้องการจะ บอกเพศหรือพจน์ก็เตมิ คาบอกเพศหรือพจน์ไว้ข้างหลงั คานาม 8. คากริยาไมม่ ีเคร่ืองหมายแสดง กาล มาลา วาจก เหมือนภาษาบาลีสนั สกฤต ถ้า ต้องการจะบอกก็เตมิ คาเพิม่ เข้าไปอีก อาจจะนามาประกอบข้างหน้าบ้าง ข้างหลงั บาง 9. คาขยายนาม กริยา และวิเศษณ์อยขู่ ้างหลงั นาม กริยา และวิเศษณ์ 10. คาไทยมีลกั ษณนามอยหู่ ลงั คานาม โดยตามหลงั คาบอกจานวนนบั 11. มีคาบรุ พบทอยหู่ น้านามที่เกี่ยวข้อง

20 12. คาแตล่ ะคาภาษาไทยมีความสมบรู ณ์ในตวั เอง ใช้เข้าประโยคได้ทนั ที ไมต่ ้องมีการ ตกแต่งเปล่ียนคา เพื่อบอกความสัมพันธ์ระหว่างคาในประโยค คาแต่ละคาจึงถือว่าเป็ นคา สาเร็จรูป 13. ประโยคภาษาไทย ถ้าเรียงลาดับผิดท่ี ผิดตาแหน่งความหมายก็จะเปลี่ยนไป ดงั นนั้ เม่ือเข้าประโยคจะต้องเรียงคาตามตาแหนง่ หน้าท่ี 14. ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยอีกประการหน่ึงคือ มีคาราชาศพั ท์ และคาสภุ าพท่ี เหมาะกบั ฐานะบคุ คล สรุปได้วา่ ลกั ษณะของภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดเป็นภาษาที่มีพยางค์เดียวและไมม่ ีเสียง ควบกลา้ คาไทยแท้จะมีตวั สะกดตรงตามมาตรา และแตล่ ะคาจะมีความหมายในตวั เองหรือคา แต่ละคาอาจมีหลายความหมาย และมีระบบเสียงสูงต่ามีวรรณยุกต์ทาให้เกิดระดับเสียง พร้ อมทัง้ มีคาลักษณนามมาขยายคานามเรี ยกสิ่งต่างๆ เพื่อให้คาเหล่านัน้ มีความชัดเจนขึน้ อีกทงั้ ภาษาไทยมีคาสภุ าพที่คยุ กบั บคุ คลในแตล่ ะระดบั ฐานะและวยั วฒุ ิ 2.3 วัตถุประสงค์และความสาคัญความสาคัญของการสอนภาษาไทย สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย์ (2542, หน้า 20 – 22) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการสอน ภาษาไทยตามแนวคดิ ของแกรทวธู ล์และบลมู ดงั นี ้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนภาษาไทยตามแนวคิดของ แกรทวธู ล์ แกรนวูธล์ ได้วิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนและนามาใช้เป็ นแนวทางในการกาหนด วตั ถปุ ระสงค์การสอน ดงั นี ้ 1. ความรู้ (Knowledge) นักเรียนควรรู้เรื่องท่ีเรียนโดยจาช่ือบุคคล สถานท่ีและ เหตกุ ารณ์สาคญั ที่เก่ียวข้องได้ 2. ความเข้าใจ (Understanding) เมื่อเรียนจบแล้วควรเล่าเร่ืองย่อได้ถูกต้องบอก แนวคดิ ของเรื่องและเรียงลาดบั เร่ืองราวได้ถกู ต้อง 3. การนาไปใช้ (Application) ผ้เู รียนสามารถนาเรื่องราว เหตกุ ารณ์หรือข้อแนะนาที่ ได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั ได้ 4. การคิด (Thinking) เม่ือเรียนแล้วสามารถคิดวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ การปฏิบตั ิตนของ ตวั ละครการคดิ ในท่ีนีเ้ป็นการคิดอยา่ งมีเหตผุ ล คดิ วิจารณญาณ และคดิ สร้างสรรค์ สร้างจติ ภาพ ท่ีดงี ามให้เกิดขนึ ้ กบั ตนเอง

21 5. ทกั ษะทว่ั ไป (General Skills) เป็ นความชานาญในด้านทว่ั ไปท่ีเก่ียวข้องกบั เรื่องที่ เรียน เช่น การค้นหาหนังสือท่ีต้องการเรียน การใช้วิธีอ่านเฉพาะอย่างเพ่ือให้ได้ข้อมูลตามท่ี ต้องการลกั ษณะทา่ ทางในการอา่ น 6. เจตคติ (Attitude) เป็ นความรู้สึกที่เกิดขึน้ ทงั้ ก่อนเรียน ขณะเรียน และภายหลงั เรียน ความรู้สกึ นีจ้ ะมีตอ่ ผ้สู อน วธิ ีการสอน สื่อ รวมทงั้ การประเมินผล 7. ความสนใจ (Interest) เป็ นความรู้สึกที่แสดงให้เห็นทางสีหน้าท่าทางและแววตา เชน่ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ล ความกระตือรือร้นในการเรียน รวมทงั้ การค้นคว้าหา ความรู้ด้วยการศกึ ษาเพิม่ เตมิ 8. ความซาบซงึ ้ (Appreciation) เป็นความประทบั ใจ จนทาให้เกิดจนิ ตภาพสร้างสรรค์ ในเร่ืองที่เรียน ได้แก่ วรรณคดี วฒั นธรรม คาประพนั ธ์ร้อยแก้วและร้อยกรอง วตั ถปุ ระสงค์การสอนภาษาไทยตามแนวคดิ ของ บลมู แบง่ ออกเป็น วตั ถปุ ระสงค์ทางด้านความรู้ ลาดบั ขนั้ ของความรู้ที่ม่งุ ให้นกั เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านการเรียนภาษาไทย จากระดบั พืน้ ฐานไปสขู่ นั้ สงู สดุ มีดงั นี ้ ขนั้ ท่ี 1 ความรู้ (Knowledge) เป็นการวดั ความรู้ในเรื่องที่ผ้เู รียนได้เรียนมาโดยสามารถ จาเนือ้ เรื่อง ชื่อบคุ คล สถานที่ และส่ิงตา่ งๆ ท่ีอยใู่ นเนือ้ เรือง นอกจากนนั้ ยงั รวมไปถึงกฎทฤษฎี และหลกั การตา่ งๆ ที่อยใู่ นเนือ้ เร่ือง ในขนั้ นีเ้ป็นวตั ถปุ ระสงค์เบอื ้ งต้นท่ีมีระดบั การคิดตา่ สดุ ขนั้ ท่ี 2 ความเข้าใจ (Comprehension) เป็นการวดั ความเข้าใจในเนือ้ เร่ืองที่ได้เรียนมา โดยสามารถบอกหรือเล่าให้ผู้อ่ืนฟังได้ และสรุปเร่ืองย่อได้ นอกจากนัน้ ยังสามารถอธิบาน ความหมายของคา กลมุ่ คา ประโยค และข้อความ โดยใช้คาพดู ของตนเองเพ่ือส่ือสารให้เข้าใจได้ ด้วย ขนั้ ที่ 3 การประยกุ ต์ใช้ (Application) เป็ นการวดั การนาเร่ืองท่ีเรียนไปใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจาวนั ได้แก่ ถ้อยคา วิธีการ กฎ ทฤษฎี และแนวคดิ ขัน้ ที่ 4 การวิเคราะห์ (Analysis) เป็ นการวัดคุณลักษณะย่อยจากเรื่องท่ีอ่าน เช่น ลกั ษณะของตวั ละคร สิ่งของและสถานที่ นอกจากนนั้ ยงั สามารถเสนอแนวคดิ ย่อยอนั จะนาไปสู่ แนวคดิ ร่วมได้ ขัน้ ท่ี 5 การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็ นการวัดคุณสมบัติรวมของเหตุการณ์หรือ เร่ืองราวท่ีเรียนไปแล้ว นอกจากนนั้ ยงั เป็ นสรุปรวมแนวคิดเพื่อนาไปเปรียบเทียบกบั เรื่องอ่ืนๆ หรือ สานวนไทย สภุ าษิต คาพงั เพย

22 ขนั้ ที่ 6 การประเมินคา่ (Evaluation) เป็ นการวดั คณุ คา่ เหตผุ ล ข้อเท็จจริง และการ ทานายเหตกุ ารณ์ท่ีจะเกิดขนึ ้ วตั ถปุ ระสงค์ทงั้ 6 ขนั้ จะเรียงลาดบั การคิดพืน้ ฐานไปหาขนั้ สงู สดุ โดยการคิดขนั้ ที่ 1 – 3 คือ จา เข้าใจ และนาไปใช้เป็ นวตั ถุประสงค์ขนั้ พืน้ ฐาน (basic objectives) ส่วนขนั้ ที่ 4 – 6 คือวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินค่า เป็ นวตั ถปุ ระสงค์ขนั้ สูง (Ultimate objectives) การ กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ในแตล่ ะขนั้ จะแตกตา่ งกนั ไปทงั้ นีข้ นึ ้ อยกู่ บั วยั และระดบั ชนั้ ที่เกี่ยวข้องกบั ความ พร้อมของผ้เู รียน ทงั้ นีร้ ะดบั ประถมศกึ ษาจะเน้นวตั ถปุ ระสงค์ขนั้ พืน้ ฐานเป็ นหลกั สาคญั เพื่อฝึ กฝน ให้ผ้เู รียนมีความชานาญมากพอสาหรับการฝึกในขนั้ สงู ท่ีจะอยใู่ นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ทางจติ พิสยั จิตพิสยั เป็ นความรู้สึกนึกคิด เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึน้ ในขณะที่ทากิจกรรมการเรียนจึง จาเป็นต้องมีการประเมินเพื่อพฒั นา ผ้สู อนและผ้ทู ่ีเก่ียวข้องจะได้นาผลประโยชน์ในการพฒั นาการ เรียนการสอนวตั ถปุ ระสงค์ทางจติ พสิ ยั มี 5 ประการดงั นี ้ ประการที่ 1 การเป็นผ้รู ับที่ดี คือการท่ีผ้เู รียนยอมรับสถานการณ์ในห้องเรียนที่ผ้สู อนจดั ขนึ ้ และเร้าใจให้ผ้เู รียนเกิดความสนใจ ทาให้เกิดความรู้สึกที่ต้องการจะเรียน พฤติกรรมที่ผ้เู รียน แสดงออกคือ ความตงั้ ใจ ความสนใจ การมีสมาธิ ความอดทน และการยอมรับความแตกต่าง ของสมาชิกในห้องเรียน บางคนเรียนรู้ช้า บางคนเรียนรู้เร็ว ประการที่ 2 การเป็ นผ้ตู อบสนองท่ีดี คือ การที่ผ้เู รียนมีปฏิกิริยาตอบสนองในขณะท่ี เรียน ได้แก่ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง สง่ การบ้านตรงเวลา มีสว่ นร่วมในการอภิปราย เข้าร่วมกิจกรรม กบั เพ่ือน ประการท่ี 3 การเป็ นผู้เห็นคุณค่า คือการที่ผู้เรียนมีความซาบซึง้ ในเร่ืองท่ีเรียน มีเจตคตทิ ่ีดีและมีความสนใจนาเร่ืองราวท่ีได้รับจากการเรียนไปใชแ่ ก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั ประการท่ี 4 การทางานร่วมกับผู้อื่น คือการที่ผู้เรียนทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสขุ รู้จกั สทิ ธิและหน้าท่ีของตน เคารพกฎ ระเบยี บ ตลอดขนข้อตกลงของสงั คม ประการที่ 5 การเป็ นผ้มู ีคณุ ลกั ษณะส่วนตวั คือการท่ีผ้เู รียนมีความเช่ือมนั่ ใจตนเอง มีสตสิ มั ปชญั ญะทงั้ ในการเลน่ และการเรียน นอกจากนนั้ ยงั มีสขุ นสิ ยั และลกั ษณะนสิ ยั ที่ดี คณาจารย์สมานมติ ร (2547 : 19) ได้สรุปความสาคญั ของการสอนภาษาไทยไว้ ดงั นี ้ 1. ช่วยทาให้เกิดความเข้าใจในการติดต่อส่ือสารระหว่างคนในชาติให้มีความเข้าใจ ตรงกนั ทงั้ ด้านฟัง พดู อา่ น เขียน

23 2. ช่วยให้เกิดความรักในวฒั นธรรมของตนเอง ควรรักษาสืบทอดต่อไป และการสอน ภาษาไทยตอ่ คนไทยทาให้เกิดความรู้สกึ วา่ ภาษาของตนต้องหวงแหน ทาให้เกิดความสามคั คีของ คนในชาติ 3. การสอนภาษาไทยช่วยในด้านความเจริญงอกงามของนกั เรียน ทาให้นกั เรียนได้รับ ความเข้าใจ มีความเจริญงอกงามในด้านจิตใจอีกด้วย สามารถนาไปใช้ศกึ ษาวิชาในแขนงต่างๆ เป็ นเครื่องมือแสวงหาความรู้ในสรรพวิทยาการอ่ืนๆ และสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ เช่น นกั เขียน นกั แปล นกั หนงั สือพิมพ์ ครูสอนภาษาไทย นกั การเมือง เป็นต้น สรุปได้วา่ วตั ถปุ ระสงค์ในการเรียนการสอนภาษาไทย แบง่ ออกเป็น 2 ทางคือ ทางด้าน ความรู้ ได้แก่ ความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประเมินคา่ และทางด้านจิตพิสยั ได้แก่ การเป็ นผ้รู ับที่ดี การเป็ นผ้ตู อบสนองท่ีดี การเห็น คณุ คา่ การทางานร่วมกบั ผ้อู ื่น และการเป็ นผ้มู ีคณุ ลกั ษณะส่วนตวั ผ้สู อนควรจะจดั กิจกรรมให้ ผ้เู รียนเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในด้านความรู้และจิตพิสยั จึงจะถือว่าบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของการ สอนภาษาไทย 3. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับลักษณนาม 3.1 ความหมายของคาลักษณนาม คุณบรรจบ พันธุเมธา (2544, หน้า 160) ได้ให้ความหมายของลักษณนามไว้ว่า ลกั ษณนามคอื คาท่ีกาหนดขนึ ้ ไว้ใช้ท้ายคาคณุ ศพั ท์บอกจานวนนบั หรือประมาณ (บางทีไว้ข้างหน้า ก็มีและขยายคาคณุ ศพั ท์อื่นอนั ได้แก่ นี ้ นนั้ โน้น ก็มี) เพ่ือขยายคานามข้างหน้าบอกรูปลกั ษณะ และชนิดหรือประเภทของคาท่ีอย่ขู ้างหน้าคาบอกจานวนนบั ไปพร้อมกนั ช่วยทาให้คาท่ีมีหลาย ความหมายมีความหมายชดั ขนึ ้ เชน่ กา 3 ใบ กบั กา 3 ตวั นบั เป็นประโยชน์อีกอยา่ งหน่ึงของ ลกั ษณนาม จงชัย เจนหัตถการกิจ (2551, หน้า 10) ได้ให้ความหมายของลักษณะนามไว้ว่า ลกั ษณนามคือ นามที่บอกลกั ษณะของนามข้างหน้า ภาษาไทยมีลกั ษณนามที่ละเอียดมากแสดง ถึงวฒั นธรรมในการใช้ภาษา จงึ ควรใช้ให้ถกู ต้อง ผอบ โปษะกฤษณะ (2538, หน้า 24 – 25) ได้ให้ความหมายของลักษณนามไว้ว่า ลกั ษณนาม คือ นามท่ีบอกลกั ษณะของนามข้างหน้า ซึ่งเป็ นส่ิงที่เจ้าของภาษาควรจะรักษาไว้ และใช้ให้ถกู ต้อง ลกั ษณนามทาให้เราเข้าใจลกั ษณะมองเห็นภาพของนามข้างหน้า พระยาอุปกิตศิลปสาร (2545, หน้า 72 – 73) ได้ให้ความหมายของลักษณนามไว้ว่า ลกั ษณนาม เป็ นคานามท่ีใช้บอกลกั ษณะของสามานยนามอีกทีหนึ่ง เช่นคาเรียกพระว่า “รูป”

24 เรียกสตั ว์ว่า “ตวั ” เรียกเรือว่า “ลา” เป็ นต้น เหล่านีเ้ รียดว่า “ลกั ษณนาม” ตามธีมดาสามา นยนามในภาษาไทย จะเอาคาวิเศษณ์บางชนิดมาประกอบเข้าข้างท้ายห้วนๆ ว่า พระสอง ม้า สาม เรือเดียว ฯลฯ ดงั นีไ้ มไ่ ด้ ต้องมีคานามอีกจาพวกหนึ่งมาประกอบท้ายคาวิเศษณ์เหล่านนั้ จึงจะได้ความสมบรู ณ์ เช่น ตวั อย่างว่า พระสองรูป ม้าสามตวั เรือลาเดียว ดงั นี ้ คา รูป ตวั ลา เหลา่ นีเ้รียกวา่ ลกั ษณนาม และลกั ษณนามท่ีประกอบกบั คาวเิ ศษณ์นี ้ รวมกนั เป็นวลีประกอบ คาข้างหน้าอีกทีหน่ึง เช่น เรือลาหน่ึง ถูกเฆ่ียนสามยก ฯลฯ ดงั นีบ้ ทว่า ลาหนึ่ง ก็ดี สามยก ก็ดี เป็นวลี ทาหน้าที่เป็นบทวิเศษณ์ขยายคา เรือ และบท ถกู เฆี่ยน ตามลาดบั เอกรัตน์ อุดมพร (2554) ได้ให้ความหมายของลักษณนามไว้ว่า คานามที่แสดง ลกั ษณะของส่ิงตา่ งๆ สรุปได้ว่า คาลักษณนาม หมายถึง คาที่บอกลกั ษณะของนามอื่นๆ เช่น คน สตั ว์ ส่ิงของ โดยจะแสดงรูป ลกั ษณะ ขนาด จานวน ฯลฯ ของนามให้ชดั เจนยิ่งขนึ ้ 3.2 ท่มี าของลักษณนาม คณุ บรรจบ พนั ธุเมธา (2544, หน้า 162 - 163) ได้กาหนดว่าคาลกั ษณนามได้มาจาก คาตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. คานาม ลกั ษณนามสว่ นมากได้มาจากคานามในลกั ษณะตา่ งๆ กนั คอื ก. ที่กาหนดไว้เป็ นลกั ษณนามจาเพาะนามอย่างหนึง่ ๆ เช่น โขลง (สาหรับฝงู ช้าง) ครอก (สาหรับสตั ว์ท่ีออกมาพร้อมกนั ครัง้ หนง่ึ ๆ) แง่ง (สาหรับขงิ ) ข. ท่ีเป็ นคาอุปมา เช่น ปาก (พยาน) ปาก (แหอวน) หู (หมู ้งุ หหู ่วง) หวั (มนั เฝื อก ฝี ) หน้า (หนงั สือ ผ้า) แก้ม (มะม่วง) หลงั (เรือน) เรือน (นาฬกิ า) ค. ที่เป็ นการเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ทุ่ม (เสียงกลอง) โมง (เสียงฆ้อง) อึก (เสียงดม่ื นา้ ) อกั (เสียงทบุ ด้วยมือ) ตงึ (เสียงของหนกั หล่น) เป๊ ง (เป็นเสียงโลหะบางแบน) ต้บุ (เสียงทบุ ด้วยมือก็ได้อย่างอ่ืนก็ได้) เอือ้ ก (เสียงกลืนนา้ ) เผียะ (เสียงฟาดของบางแบน) โป้ ง (เสียงปื น) เป้ ง (เสียงทบุ ด้วยของหนกั ) ง. ที่เป็ นการอนโุ ลมตามแนวเทียบ เชน่ คนั (สาหรับ ช้อน รถ อนโุ ลมตามส่ิงท่ีมี ด้ามอยา่ งคนั ไถ) ใบ (ตู้ หีบ เรียกตามสิง่ ท่ีมีลกั ษณะกลม) ชนิ ้ (ขนม ของตามลกั ษณะเนือ้ สตั ว์ ท่ีหนั่ เป็ นชิน้ ๆ) ชนั้ (ชนั้ บ้าน ชนั้ เรือน เรียกตามชนั้ วางของท่ีซ้อนๆ กนั ) ตวั (ม้านง่ั เก้าอี๊ เรียก ตามสตั ว์ที่มีขา) บาน (กระจก เรียกตามบานประตู หน้าตา่ ง)

25 จ. ที่เป็ นคาซา้ กับคาที่มาข้างหน้าคาบอกจานวนนบั มีคาเป็ นอนั มากที่ไม่ลักษณ นามโดยเฉพาะ ต้องใช้คาคาเดียวกบั คาที่มาข้างหน้าบอกจานวนนบั นนั้ เชน่ นวิ ้ (สาหรับนิว้ มือ) โรง (สาหรับโรงเรียน) ห้อง (สาหรับห้อง) ปาก (สาหรับปาก) ท่อน (สาหรับท่อนไม้) ต้น (สาหรับต้นไม้) ดอก (สาหรับดอกไม้) ใบ (สาหรับใบไม้) 2. คาสรรพนาม มีคา ทา่ น เชน่ อาจารย์ 2 ทา่ น 3. คากริยา ได้แก่ ยก มดั ม้วน มวน ตงั้ หอ่ เท ชงั่ หาบ หยิบ (สาหรับทองหยบิ ) จบั (สาหรับขนมจีน) ผลดั กะ 4. คาบอกจานวนนบั ได้แก่ สิบ ร้อย พนั หม่ืน แสน ล้าน เช่น สามสิบ สองร้อย สามพนั สี่หมื่น ห้าแสน สองล้าน สรุปได้วา่ ที่มาของคาลกั ษณนามได้มาจากคานาม คาสรรพนาม คากริยา และคาบอก จานวนนบั โดยท่ีมาของคาลกั ษณนามนนั้ จะขนึ ้ อยกู่ บั บริบทของส่ิงๆ นนั้ มีลกั ษณะ รูปร่าง ขนาด และความหมายของคาๆ นนั้ อยา่ งไร 3.3 การจาแนกประเภทคาลักษณนาม คณุ บรรจบ พนั ธุเมธา (2544, หน้า 163 - 164) ได้จาแนกประเภทคาลกั ษณนาม ดงั นี ้ ก. ประเภทท่ีใช้กบั สิง่ มีชีวติ ได้แก่ คน และ สตั ว์ สาหรับคน คาสามัญ คน (2 – 3 คน) นาย (ตารวจ 2 นาย) เสือ (2 เสือ) หนุ่ม (3 หนมุ่ ) สาว (2 สาว) รูป (พระสงฆ์) คาพิเศษ องค์ (ภิกษุ พระพุทธรูป เจ้านาย) พระองค์ (เจ้านาย) ตน (ผีปี ศาจ ยกั ษ์ ฤาษี) ทา่ น (ผ้ทู ่ีเคารพนบั ถือ เชน่ ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่ชนั้ ผ้ใู หญ่ ฯลฯ คาท่ีเป็ นกลมุ่ เป็ นหมู่ กอง (กองทหาร) หมู่ (หมคู่ น) กลมุ่ (นกั เรียนแบ่งเป็น กลมุ่ ) เหลา่ (ทหาร 3 เหลา่ ทพั ) เผา่ (เชือ้ ชาต)ิ สาหรับสตั ว์ คาสามญั ตวั (สตั ว์ทกุ ชนดิ ) เชือก (เฉพาะช้าง) คาที่เป็ นกลมุ่ เป็ นหมู่ โขลง (เฉพาะช้าง) ฝงู (สตั ว์) ครอก (ลกู สตั ว์ที่ออกมา คราวหนง่ึ ๆ) ข. ประเภทท่ีใช้กบั ส่งิ ไมม่ ีชีวติ ดงั นี ้ 1) สง่ิ ท่ีมีลกั ษณะกลม มีกลมหลายลกั ษณะด้วยกนั คือ

26 ลกั ษณะกลมอย่างลกู บอล ลกู (ผลไม้ ไข่ ลกู บอล ฯลฯ คา ลกู มีใช้มาก สาหรับสิ่งที่มีลกั ษณะกลมแบบเดียวกนั นี)้ ใบ (ใช้ได้อยา่ งเดียวกบั ลกู ในท่ีนีไ้ มน่ บั ใบไม้และสิง่ อื่นที่แบนบาง) หวั (หวั พืช มีเผือก มนั ฯลฯ) เม็ด (กระดมุ ) ลกั ษณะกลมแบน ใบ (จาน ใบไม้ ถาด ฯลฯ) อนั (ขนม สตางค์ เขียง) แผน่ (ข้าวเกรียบ ฯลฯ) แวน่ (ขิง ขา่ ขนมปัง นา้ ตาลโตนด ฯลฯ) ลกั ษณะกลมเป็ นวงรี มี วง (แหวน วงกลม) พวง (พวงมาลยั พวงไขม่ กุ ) ดวง (ดาว พระจนั ทร์ พระอาทิตย์ รอยเปื อ้ น ฯลฯ) ลกั ษณะกลมยาวทรงกระบอก มี ลา (ไม้ไผ่ อ้อย ในที่นีไ้ ม่ได้เกี่ยวกับเรือ เพราะคนละลักษณะกัน) ท่อน (ไม้ อ้อยท่ีทอนแล้ว) ข้อ (ข้อไม้ ข้ออ้อย) แท่ง (เหล็กกลม ดนิ สอ) มวน (บหุ ร่ี) ม้วน (ผ้า) เลา (ป่ี ขลยุ่ ) กระบอก (ข้าวหลาม ปื น) ด้าม (ปากกา) 2) ลกั ษณนามสาหรับส่ิงที่มีลกั ษณะเล็กยาว สาย (ถนน สายสร้อย เข็มขดั ฯลฯ) เส้น (ผม ไหม ด้าย ขน เชือก ยาจืด ยาฉนุ ยาเส้น ฯลฯ) 3) ลกั ษณนามสาหรับส่ิงท่ีมีลกั ษณะแบนเป็ นแผ่น แผ่น (กระดาษ) ชิน้ (ผ้า) ผืน (ผ้า) 4) ลกั ษณนามสาหรับส่ิงท่ีมีลกั ษณะเป็ นดอก ดอก (ดอกไม้ ทองหยบิ ธปู ดอกไม้ ไฟ ข้าวโพด กญุ แจ) 5) ลกั ษณนามสาหรับสิ่งท่ีมีลกั ษณะเป็นต้น ต้น (ต้นไม้ พมุ่ เสา) 6) ลกั ษณนามสาหรับส่ิงที่มีลกั ษณะเป็ นหน่อ เป็ นกอ หน่อ (หน่อไม้ หน่อกล้วย หนอ่ กล้วยไม้) กอ (กอไผ่ กอบวั ) 7) ลกั ษณนามสาหรับสิ่งที่มีลกั ษณะอ่ืนๆ นอกจากนี ้ ได้แก่ ใบ (ใช้บอกลกั ษณะ ภาชนะ เครื่องใช้หลายอย่างตา่ งๆ กนั มี ตะกร้า เขง่ กระป๋ อง แก้ว ขวด กระเป๋ า ตู้ หีบ หม้อ หมวก) คนั (เบด็ จกั ร ร่ม ช้อน รถ) หลงั (เรือน มุ้ง) เล่ม (เกวียน เข็ม เทียน หนงั สือ มีด) เรือน (นาฬกิ า) ลา (เรือ) 8) ลกั ษณนามบอกมาตราชงั่ ตวง วดั นบั มีหลายลกั ษณะด้วยกนั คือ บอกนา้ หนกั หาบ ชง่ั ขีด กรัม ปอนด์ ก.ก. กิโลกรัม กิโล(โล) บอกปริมาตร จานวนบรรจุ คือ ขวด แก้ ว กระขาด กระบงุ ไห หม้อ ถ้วย จาน ชาม กระทะ ทพั พี ช้อน ถาด คนั (รถบรรทกุ ดิน หิน หรือทราย) คิว (ดินที่ขุดขึน้ มา) ทะนาน ปี ป กระป๋ อง

27 บอกความกว้าง ยาว สงู คือ นวิ ้ คืบ วา ศอก ฟตุ ซ.ม. หลา สดั กรู (1/4 ของหลาหรือเมตร) ไมล์ กิโล บอกมาตราเงิน สตางค์ บาท สลึง หน่วย สิบ ร้อย พนั หมื่น แสน ล้าน เหรียญ ดอลลา่ ร์ รูปี พระยาอปุ กิตศลิ ปสาร (2545, หน้า 73 – 76) ได้แบง่ ประเภทของคาลกั ษณนามไว้ดงั นี ้ 1. ลกั ษณนามบอกชนิด เชน่ พระองค์ องค์ รูป ตน คน ตวั ใบ เรื่อง สิ่ง อนั เลา เชือก เรือน เลม่ 2. ลกั ษณนามบอกหมวดหมู่ เชน่ กอง พวก เหลา่ หมวด หมู่ ฝงู คณะ นกิ าย สารับ ชดุ โรง วง ตบั 3. ลกั ษณนามท่ีบอกสณั ฐาน เช่น วง หลงั แผน่ ผืน แถบ บาน ลกู แท่ง ก้อน คนั ต้น ลา ดวง กระบอก เส้น สาย ปาก ปื น้ ซ่ี 4. ลกั ษณนามบอกจานวนและมาตรา เชน่ คู่ โหล กลุ ี ชื่อมาตราตา่ งๆ เชน่ โยชน์ ชง่ั เกวียน ฯลฯ ช่ือภาชนะตา่ งๆ เชน่ ตมุ่ ไห ฯลฯ 5. ลกั ษณนามบอกอาการ เชน่ จีบ มวน มดั พบั ม้วน กา ฟ่ อน กลมุ่ 6. ลกั ษณนามซา้ ชื่อ คือ สามานยนามบางคา ที่ไม่ต้องการบอกลกั ษณะดงั ข้างบนนี ้ เมื่อจะใช้กบั คาวิเศษณ์เช่นนนั้ ต้องเอาคาสามานยนามเดมิ นนั้ เองมาใช้เป็ นลกั ษณนามประกอบ คาวิเศษณ์นนั้ ๆ เชน่ ประเทศสองประเทศ เมืองสองเมือง บ้านสองบ้าน วดั ส่ีวดั เป็ นต้น คาสา มานยนามท่ีซา้ กบั ชื่อข้างหน้า คอื ประเทศ เมือง บ้าน วดั เรียกวา่ ลกั ษณนามเหมือนกนั ลกั ษณนาม (ม.ป.ป., ออนไลน์) กลา่ ววา่ ลกั ษณนามได้แกน่ ามทวั่ ไป (สามานยนาม) หรือนามบอกหมวดหมู่ (สมหุ นาม) แตน่ ามาใช้เพื่อบอกลกั ษณะของนามข้างหน้า คล้ายกบั คาขาย (วิเศษณ์) จาแนกออกได้ 6 ชนดิ คอื 1. ลกั ษณนามบอกชนิด ลกั ษณนาม สาหรับใช้ พระองค์ พระพทุ ธเจ้า พระราชา เทวดาผ้ใู หญ่ เจ้านายชนั้ สงู องค์ เจ้านาย เทวดา เครื่องใช้สอยหรืออวยั วะ ของ พระพทุ ธเจ้าหรือของพระราชา เชน่ พระทนต์ 2 องค์ รูป พระภิกษุ สามเณร นกั บวช นกั พรต ตน ยกั ษ์ ปิศาจ ภตู ผี ฤาษี วิทยาธร ตวั สตั ว์เดรฉานทกุ ชนดิ โต๊ะ เก้าอี ้ ม้านงั่ ตะปู ต๊กุ ตา

28 ใบ ภาชนะ ผลไม้ ใบไม้ เรื่อง ละคร ภาพยนตร์ สารคดี นวนิยาย เร่ืองสนั้ สิง่ อนั สิ่งของหรือกิจการที่เป็นสามญั ทว่ั ไป เลา ปี่ ขลยุ่ เชือก ช้างป่ า ช้างบ้าน ช้าง ช้างหลวง เรือน นาฬิกา เลม่ หนงั สือ เกวียน เทียน มีด สิว่ เขม็ กรรไกร หอก แทง่ แทง่ แมเ่ หล็ก คน มนษุ ย์ทวั่ ไป กิ่ง งาช้าง กิ่งไม้ ขนาน ยาแก้โรคตา่ ง ๆ ขวด ขวดตา่ ง ๆ ขวดหมกึ ขวดเหล้า ขอน ใช้กบั จานวนเอกพจน์หรือข้างหนงึ่ ของของที่เป็นคู่ เชน่ กาไล 1 ขอน สงั ข์ 1 ขอน คมั ภีร์ หนงั สือคมั ภีร์ ฉบบั หนงั สือท่ีเป็นแผน่ ๆ หนงั สือพิมพ์ จดหมาย ฉาก การแสดงตา่ งๆ ละคร ชดุ การเลน่ ตา่ งๆ เชน่ ละคร ดอก ดอกไม้ ธปู หวั ลกู ธนู ต้น ซงุ เสา ต้นไม้ ไตร ผ้าไตร นดั กระสนุ ปื น ยิงปื น จดุ พลุ วาระหนง่ึ ๆ ที่นดั พบ นาย ข้าราชการฝ่ ายหน้า ทหาร ตารวจ เมล็ด เมล็ดพืช 2. ลกั ษณนามบอกหมวดหมู่ ลกั ษณนาม สาหรับใช้ กอง ทหาร อจุ จาระ อฐิ หนิ ดนิ ทราย ฯลฯ พวก เหลา่ ทหาร คน สตั ว์

หมวด 29 หมู่ คณะ คน สตั ว์ ส่ิงของที่ยกมารวมกนั ไว้ คน สตั ว์ สิ่งของที่รวมกนั เป็ นหม่ๆู ฝงู ลเิ ก ลาตดั หมอลา ดนตรี คนที่อยใู่ นสานกั หนงึ่ หรือในหน้าท่ี นิกาย ทาการอยา่ งหนงึ่ หรือในปกครองอนั เดียวกนั สารับ ชดุ สตั ว์พวกเดียวกนั ท่ีไปด้วยกนั เป็นพวกๆ โรง นกั บวชศาสนาเดยี วกนั ที่แยกกนั ออกเป็นพวกๆ วง คนหรือส่งิ ของที่มีครบตามอตั ร ผ้เู ลน่ มหรสพที่มีโรงเลน่ เชน่ ละคร โขน หนงั ตบั คนชดุ หนงึ่ ท่ีล้อมวงกนั เชน่ เลน่ ตะกร้อ เลน่ ดนตรี เลน่ เพลง เลน่ สกั วา ฯลฯ กณั ฑ์ ของท่ีทาให้ตดิ เรียงกนั เป็นพืด เชน่ จาก พลุ ประทดั ลกู ปื นกล กลกั ปลายา่ ง ฯลฯ กลมุ่ การเทศน์ คาเทศน์ กอ ไม้ขีดไฟ ขนดั ด้าย ป่ าน โขลง ไผ่ พืชท่ีขนึ ้ เป็นกอ คู่ สวน ช้างป่ าท่ีอยรู่ วมกนั หลายตวั เครือ ของที่มีชดุ ละ 2 สิง่ ท่ีใช้ร่วมกนั หรือจาพวกเดยี วกนั เชน่ จน่ั ช้อนส้อม ตะเกียบ กาไล รองเท้า ถงุ เท้า แจกนั เชิงเทียน ชอ่ เครือกล้วย แถว จน่ั หมาก จนั่ มะพร้าว ทะลาย ชอ่ ดอกไม้ ชอ่ ผลไม้ แพ ทหาร คนหรือสตั ว์ สง่ิ ของที่จดั ไว้เป็นแถว ทะลายหมาย ทะลายมะพร้าว โรง สงิ่ ท่ีตดิ กนั เป็นแพ เชน่ แพซุง ธปู แพ เทียนแพ ข้าวเมา่ ทอด ตดิ กนั เป็นแพ ผ้เู ลน่ มหรสพที่มีโรงเลน่ โขน ละคร หนงั ฯลฯ

30 3. ลกั ษณนามบอกสณั ฐาน ลกั ษณนาม สาหรับใช้ วง ของท่ีรูปเป็นวง เชน่ แหวน กาไล หลงั ของที่รูปเป็นหลงั คา เชน่ เรือน ตกึ กบู ประทนุ เก๋ง บษุ บก ม้งุ ฯลฯ แผน่ ของท่ีมีรูปแบนๆ เชน่ กระดาษ กระดาน กระเบอื ้ ง อิฐ ฯลฯ ผืน ของท่ีมีรูปแบนบางกว้างใหญ่ เชน่ ผ้า เสื่อ พรม กระแชง หนงั สตั ว์ท่ีใช้ปู แถบ ของที่แบนบางแคบแตย่ าว เชน่ ผ้าแคบๆ แตย่ าว บาน ของเป็นแผน่ ที่มีกรอบ เชน่ ประตู หน้าตา่ ง กรอบรูป กระจก เงา ฯลฯ ลกู ของท่ีมีรูปกลม ๆ เชน่ ลกู ไม้ ลกู หนิ แทง่ ของทบึ หนามีรูปยาว ๆ เชน่ ก้อนดนิ หิน อฐิ แตก คนั ของท่ีมีสว่ นสาหรับถือและลากรูปยาวๆ เชน่ ร่ม ฉัตร ธนู กระสนุ หน้าไม้ ช้อน ส้อม ซอ เบด็ แร้ว ไถ รถ ต้น ของที่เป็นต้น เชน่ ต้นไม้ เสา ซุง ลา ของกลมยาวมีปล้องคน่ั ไม้ไผ่ อ้อย เรือ ดวง ของท่ีมีรอยกลมๆ เชน่ รอยดา่ ง ตราตา่ งๆ ของท่ีมีแสง เชน่ ตะวนั เดือน ดาว ไฟ จิต วิญญาณ กระบอก ของกลมยาวแตก่ ลวง เชน่ ปล้องไม้ไผ่ ข้าวหลาม พลุ ปื น เส้น ของท่ีเป็นเส้นเล็กยาว เชน่ เชือก ลวด ด้าย สาย ของที่เป็นทางยาว เชน่ ถนน ทาง ลานา้ ปาก เครื่องถกั ดกั สตั ว์มีรูปเป็นปากกว้าง เชน่ แห อวน สวงิ โพงพาง ปื น้ ของที่แบนกว้างเป็ นพืดยาว เชน่ เล่ือย รอยไม้เรียว ตอกที่กว้าง ซ่ี ของเลก็ ยาวเรียงกนั เป็นแถว เชน่ ซี่กรง ซี่ฟัน คู่ ของท่ีมีชดุ ละ 2 สงิ่ เชน่ รองเท้า ถงุ เท้า แจกนั เชิงเทียน โหล ของที่รวมกนั 12 ส่ิง (โดยมากมาจากตา่ งประเทศ) กลุ ี ผ้าหอ่ หนง่ึ ที่รวมกนั 20 ผืน

31 4. ลกั ษณนามบอกจานวนและมาตรา ลกั ษณนาม สาหรับใช้ คขู่ องท่ีมีชดุ ละ 2 ส่ิง เชน่ รองเท้า ถงุ เท้า แจกนั เชิงเทียน ช้อนส้อม ช่ือมาตราต่างๆ เช่น โยชน์ ชั่ง เกวียน ของท่ีใช้ วัด ตวง ช่ังและเวลา เชน่ ทาง 5 โยชน์, เงิน 5 ชงั่ , ข้าว 4 เกวียน, ผ้า 15 หลา ของที่ตวงด้วยภาชนะนนั้ ๆ เชน่ นา้ 5 ตมุ่ , เหล้า 1 ขวด 5. ลกั ษณนามบอกอาการ ลกั ษณนาม สาหรับใช้ จีบ ของที่จีบ เชน่ พลู 5 จีบ มวน ของที่มวน เชน่ บหุ รี่ 4 มวน มดั ของท่ีมดั เชน่ ฟื น พบั ของที่พบั ไว้ เชน่ ผ้าตา่ ง ๆ ม้วน ของที่ม้วน เชน่ ยาสบู กระดาษ ยาจืด กา ฟ่ อน ของท่ีทาเป็ นกา ฟ่ อน เชน่ ข้าว หญ้า ผกั กลมุ่ ของที่ทาเป็ นกลมุ่ เช่น ด้าย ป่ าน 6. ลกั ษณนามซา้ ช่ือ สามานยนามบางคาซง่ึ ไม่ต้องการบอกลกั ษณะตามที่กลา่ วแล้ว เมื่อจะต้องใช้ในฐานที่ ตามหลงั คาวิเศษณ์เชน่ นนั้ ต้องเอาคาสามานยนามเดิมนนั้ เอง มาใช้เป็ นลกั ษณะนามประกอบคา วิเศษณ์เหลา่ นนั้ เชน่ ประเทศ 2 ประเทศ เมือง 5 เมือง มือ 4 มือ คน 45 คน ลกั ษณนามคืออะไร (ม.ป.ป., ออนไลน์) ได้แบง่ ชนิดของลกั ษณนาม ออกเป็ น 6 ชนิด ดงั นี ้ 1. ลกั ษณนามบอกชนิด เชน่ ลา, อนั , รูป, พระองค์, คน, ตวั ฯลฯ 2. ลกั ษณนามบอกหมวดหมู่ เชน่ กองทพั , หม,ู่ เหลา่ , พวก, ฝงู , คณะ, หมวด ฯลฯ 3. ลกั ษณนามบอกสณั ฐาน เชน่ วง , แผน่ , ผืน , บาน , ก้อน , กระบอก , คนั ฯลฯ 4. ลกั ษณนามบอกจานวนและมาตรา เชน่ กลุ ี, ค,ู่ โหล, โยชน์, บาท, สลงึ , ตาลงึ ,

32 ชง่ั , เกวียน ฯลฯ 5. ลกั ษณนามบอกอาการ เชน่ กา , ฟ่ อน , จีบ , มวน , มดั , พบั , ม้วน ฯลฯ 6. ลกั ษณนามซา้ ช่ือ เชน่ โครงการ 2 โครงการ, แผนงาน 3 แผนงาน, ประเทศ 7 ประเทศ ฯลฯ สรุปได้วา่ คาลกั ษณนามสามารถแบง่ ออกได้ 6 ชนดิ ได้แก่ ลกั ษณนามบอก ชนิด ลกั ษณนามบอกหมวดหมู่ ลกั ษณนามบอกสณั ฐาน ลกั ษณนามบอกจานวนและ มาตรา ลกั ษณนามบอกอาการ ลกั ษณนามซา้ ชื่อ ซงึ่ การแบง่ ชนดิ ของคาลกั ษนามนนั้ จะขนึ ้ อยู่ กบั บริบทของสง่ิ ๆ นนั้ มีลกั ษณะ รูปร่าง ขนาด และความหมายของคาๆ นนั้ อยา่ งไร 3.4 หน้าท่ขี องลักษณนาม คณุ บรรจบ พนั ธเุ มธา (2544, หน้า 160 - 161) ได้จาแนกหน้าที่ของลกั ษณนามไว้ดงั นี ้ 1. มากับคาบอกประมาณหรือบอกจานวนนับ หรือบางทีเป็ นคาคณุ ศพั ท์บอกความ เฉพาะเจาะจง นี ้ นนั้ โน้น ซง่ึ อาจมาข้างหน้าหรือข้างหลงั ก็ได้ 2. บอกลกั ษณะของคานนั้ ๆ ว่า เป็ นส่ิงมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต รูปลักษณะเป็ นอย่างไร ทงั้ ลกั ษณะใหญ่ลกั ษณะยอ่ ย 3. เน้นความ โดยเฉพาะเมื่อมากบั คา นี ้ นนั้ โน้น เชน่ เสือ้ ตวั นนั้ สวย 4. แทนนามได้อย่างสรรพนาม เช่น พูดถึงนกั ศึกษาคนไหน คนนนั้ ไงล่ะ คน (นนั้ ) เป็นลกั ษณนามแทนนกั ศกึ ษา สรุปได้ว่า คาลกั ษณนามมีหน้าที่บอกลกั ษณะ บอกจานวน หรือบอกความหมายของ คน สตั ว์ สง่ิ ของ ธรรมชาตติ า่ งๆ 3.5 การใช้ลักษณนาม คณุ บรรจบ พนั ธุเมธา (2544, หน้า 166 - 167) ได้กาหนดวิธีใช้ลกั ษณนาม ดงั นี ้ 1. ใช้ลกั ษณนามไว้ท้ายคาบอกจานวนหรือบอกประมาณ ก. เม่ือคาที่มีลกั ษณนามขยายนนั้ เป็นคานาม เชน่ เดก็ 2 – 3 คน ผ้หู ญิงหลายคน คนมากหน้าหลายตา เดก็ น้อยคน แมว 2 ตวั เงินร้อยบาท เสือ้ สกั ตวั ข. เม่ือคาที่มีลกั ษณนามขยายเป็ นคากริยา (ไมใ่ ชก่ ริยาเดียวกบั ลกั ษณนาม) ได้แก่ นอนสักต่ืน ตีหลายที หาวตัง้ 5 หวอด กิน 2 – 3 คา พูด 2 – 3 คา เดินไม่กี่ก้ าวเลย กิน 2 มือ้ เฆี่ยน 5 ยก ชก 2 ยก ร้องไห้ 2 – 3 พกั เขียนได้ 2 – 3 ตวั

33 ค. เม่ือคาท่ีมีลกั ษณนามขยายเป็ นคาคุณศพั ท์บอกมาตรา ชง่ั ตวง วดั ได้แก่ ของหนกั 20 ก.ก. ข้าวหนกั 80 ชง่ั ผ้ายาว 2 เมตร กว้าง 60 นวิ ้ ภเู ขาสงู 5,000 ฟตุ บอ่ ลกึ 90 ฟตุ 2. ใช้ลกั ษณนามไว้หน้าคาบอกจานวนนบั หรือคาคณุ ศพั ท์บอกความชีเ้ฉพาะ ก. เม่ือคาที่มีลกั ษณนามขยายเป็นคานามและคาบอกจานวนนบั เป็นจานวนหนง่ึ ข. เม่ือคาที่มีลักษณนามขยายเป็ นคานามและคาที่มากับลักษณนามเป็ น คาคณุ ศพั ท์บอกความเฉพาะเจาะจงหรือคณุ ศพั ท์บอกลกั ษณะเพื่อเน้นความให้แน่นอนขึน้ เช่น ส้มลกู เล็ก เสือ้ ตวั แดง ขนมอนั ใหญ่ บางทีทาหน้าที่แทนคานามได้อยา่ งสรรพนามอีกด้วย เชน่ ขนมอนั ไหนอร่อย อนั เล็ก หรือ อนั ใหญ่ 3. ใช้ลกั ษณนามโดย ละ คาบอกจานวนนบั ก. เมื่อมากบั คาเป็น ได้แก่ กดั เสียเป็นแวน่ ขีก้ ลากขนึ ้ เป็นวง ดา่ งเป็นดวง ซือ้ เป็น คู่ ทาเป็ นแผน่ ดินเรียงเป็ นแถว กินเป็ นโต๊ะ กินเป็ นชดุ จ่ายเป็ นตวั ผ้าเป็ นชิน้ ถ้าทาเป็ นคาซา้ เป็ น แว่นๆ วงๆ แถวๆ โต๊ะๆ หวั ๆ ย่อมมีความหมายรวมเป็ นพหูพจน์ แต่ว่าแยกกล่าวทีละ หนงึ่ ๆ ด้วย ข. เมื่อมีคาวิเศษณ์บอกจานวนขยายลกั ษณนาม คาบอกจานวนนบั ที่เป็ นจานวน หนึ่งตามมาข้างท้ายลกั ษณนาม มักจะละไว้ไม่ปรากฏ เช่น ขอสกั ตวั (หน่ึง) อยากไปอีกหน (หนง่ึ ) ค. เม่ือมีลกั ษณนามอย่หู น้าและหลงั คาบอกจานวนนบั เช่น ร้อยสองร้อย คนสอง คน ชนิ ้ ครึ่งชนิ ้ ยอ่ มหมายความว่า ละคาหนงึ่ ท้ายลกั ษณนามคาต้น พดู ให้เตม็ ควรเป็นร้อยหน่ึง สองร้อย คนหนง่ึ สองคน ชิน้ หนงึ่ คร่ึงชนิ ้ 4. ละลกั ษณนาม ก. เม่ือต้องการพดู ยน่ ยอ่ หรือใช้เป็นคาตดิ ปาก เชน่ แมวห้าหมาหก สมุ่ ส่ีสมุ่ ห้า ข. เม่ือใช้เป็ นสื่อเพื่อให้สะดุดหูและจาง่าย เช่น สี่ดาว ห้าชีวิต ส่ีนักประพันธ์ ถือเอาคานามท่ีมาข้างท้ายคาบอกจานวนนบั เป็ นลกั ษณนาม แต่จริงๆ ไมใ่ ช่ เพราะคาดงั กล่าวจะ ใช้ลกั ษณนามต้องใช้คาวา่ ดาวสี่ดวง นกั ประพนั ธ์สี่คน หากคา ชีวิต ไมม่ ีลกั ษณนามต้องใช้ซา้ คาหน้าก็ควรต้องเป็น ชีวิต 5 ชีวติ สรุปได้วา่ การใช้ลกั ษณะนาม ต้องคานงึ ถึงความถกู ต้อง ลกั ษณะนามบางคาไมส่ ามารถ ใช้ลกั ษณะนามบางอย่างได้ ควรพิจารณาส่วนประกอบด้านต่างๆ ประกอบด้วย เพื่อเป็ นการใช้ ลกั ษณนามได้ถกู ต้อง

34 4. เอกสารท่เี ก่ียวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) 4.1 ความหมายของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book) กิดานนั ท์ มลิทอง (2548, หน้า 203) ได้ให้ความหมายของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (electronic – book) เป็นส่ือประเภทหนงึ่ ในกลมุ่ ส่งิ พิมพ์อิเล็กทรอนกิ ส์ซึ่งมี ทงั้ วารสาร หนงั สือพิมพ์ สารานุกรม ฯลฯ โดยการแปลงเนือ้ หาที่พิมพ์ด้วยซอฟแวร์โปรแกรม ประมวลคาให้เป็ นรูปแบบ .pdf (portable document file) เพ่ือสะดวกในการอ่านด้วยโปรแกรม สาหรับอ่านหรือส่งผ่านบนอิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีทัง้ รูปแบบ ธรรมดาคือ มีข้อความและภาพเสมือนหนงั สือทว่ั ไป และแบบส่ือหลายมิติโดยการเชื่อมโยงไปยงั ข้อความในหน้าอ่ืนๆ หรือเชื่อมโยงกบั เว็บไซตบ์ นอนิ เตอร์เน็ตก็ได้ ทาให้สะดวกในการใช้งานเพราะ มีทงั้ เนือ้ หาท่ีเป็ นข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหวแบบแอนิเมช่นั และแบบวีดิทัศน์ และเสียง ประเภทตา่ งๆ รวมถงึ เสียงจากการอา่ นข้อความในเนือ้ หาด้วย เขมณัฏฐ์ ม่ิงศิริธรรม (2559, หน้า 44) กล่าวว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ยอ่ มาจากคาวา่ Electric Book หมายถึง หนงั สือที่สร้างขนึ ้ ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ีมีลกั ษณะ เป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยคณุ ลกั ษณะของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมดยงไปยงั สว่ น ตา่ งๆ ของหนงั สือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสมั พันธ์โต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจากนีห้ นังสือ อิเล็กทรอนิกส์ยงั สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวแบบทดสอบ และสามารถสง่ั พิมพ์ เอกสารท่ีต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ อีกประการหน่ึงท่ีสาคญั ก็คือ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถปรับปรุงข้อมลู ได้ทนั สมยั ได้ตลอดเวลา เชาวลิต ประดิษฐ์ (2550, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง หนงั สือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ท่ีผ้อู ่านสามารถอ่านผา่ นทาง อินเตอร์เน็ตหรืออุปกรณ์พกพาอ่ืนๆ ได้สาหรับหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์นัน้ จะมี ความหมายรวมถึงเนือ้ หาท่ีถูกดดั แปลงอย่ใู นรูปแบบท่ีสามารถแสดงผลออกมาได้โดยเคร่ืองมือ อิเลก็ ทรอนิกส์ แตก่ ็ให้มีลกั ษณะพเิ ศษคือสะดวกรวดเร็วในการค้นหาและผ้อู า่ นสามารถอา่ นพร้อม กันได้ โดยไม่ต้ องรอให้ อีกฝ่ ายส่งคืนห้ องส มุดเช่นเดียวกับหนังสือในห้ องสมุดทั่วๆ ไป (กลมุ่ พฒั นาการส่ือเทคโนโลยี ศนู ย์พฒั นาหนงั สือ กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ) ณฐั วฒั น์ เต็มไชยวณิช (2552, หน้า 174) กลา่ ววา่ E-Book มาจากคาวา่ Electronic Book แปบตรงตวั ก็คือหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ซง่ึ เป็ นหนังสือท่ีเก็บอย่ใู นรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ หรือรูปแบบของไฟล์โปรแกรมท่ีสร้ างจากคอมพิวเตอร์ สามารถเปิ ดอ่านได้โดยใช้อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ โน้ตบ๊กุ PDA เป็นต้น

35 พวงผกา ลือยศ (2554, หน้า 15) ได้สรุปความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ว่า หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ คือ หนงั สือท่ีสร้างขึน้ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอยใู่ นรูปแบบของสื่อ ดจิ ติ อลธรรมดาหรือสื่อมลั ตมิ ีเดยี ท่ีเผยแพร่ได้ทงั้ ในระบบออฟไลน์และออนไลน์ เชน่ การบนั ทดึ ลง แผ่นซีดีรอม ดีวีดีรอม และการเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในรูปแบบของ HTML PDF และอ่ืนๆ เป็ นสื่อท่ีเอือ้ ต่อระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึง่ ภายในหนงั สือจะประกอบด้วยเนือ้ หาท่ี เป็ นข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว เสียง และวีดิทศั น์ ทงั้ นีย้ งั สามารถเชื่อมโยงไปยงั ส่วน ตา่ งๆ ภายในเลม่ หรือเช่ือมโยงไปยงั เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ ในระบบออนไลน์ได้อีกด้วย ภาสกร เรืองรอง (2557, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Book) หมายถึง การนาเสนอเนือ้ หาของหนงั สือในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเผยแพร่บนระบบเครือขา่ ย และสามารถดาวน์โหลดลงมาใช้ได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ ในรูปแบบ CD ท่ีสามารถตดิ ตงั้ ได้บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ชวนพิศ ปะกิระนา (2554, หน้า 33) กล่าวว่าหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์หมายถึง สื่อการ นาเสนอในรูปแบบหนังสือทางจอคอมพิวเตอร์ท่ีประกอบด้วยข้ อความ ตัวเลข ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว วิดีโอและเสียง มีการประสานและเชื่อมโยงเนือ้ หา ซึ่งนกั เรียนจะสามารถเรียนรู้ ได้ตามต้องการ โดยการคลกิ เนือ้ หาท่ีอยากได้ได้อยา่ งรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพ จงึ สรุปได้ว่า หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ คอื หนงั สือที่อย่ใู นรูปของส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์โดยการ นาเสนอข้อมูลจะประกอบไปด้วย ตวั อักษร ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว เสียง วิดีโอต่างๆและ สามารถเช่ือมโยงเนือ้ หาข้อมลู ที่สมั พนั ธ์กนั ได้อย่างรวดเร็ว มีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้ใู ช้และสามารถอา่ น ได้ทัง้ จากคอมพิวเตอร์หรือโทรศพั ท์มือถือท่ีใช้ได้ทัง้ ระบบออฟไลน์และออนไลน์ผ่านเครือข่าย อนิ เตอร์เนต็ 4.2 ลักษณะและประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) Barker (1992) อ้างอิงใน พวงผกา ลือยศ (2554, หน้า 16 – 17) แบ่งรูปแบบของ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ตามชนิดของข้อมลู ข่าวสารและเคร่ืองอานวยความสะดวกเป็ น 10 ประเภท ดงั นี ้ 1. หนงั สือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Text Books) ในระยะแรกจะมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรงมี โครงสร้างเป็ นตวั อกั ษร (Text) ต่อมาจะมีลกั ษณะท่ีเป็ นมลั ติมีเดียมากขึน้ โดยใช้คณุ สมบตั ิของ ไฮเปอร์เทก็ ซ์ในการนาเสนอ 2. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง (Static Picture Books) จะประกอบไปด้วยภาพนิ่ง หลายๆ ชนิดรวมกนั ภาพแตล่ ะภาพจะมีคณุ ภาพท่ีแตกตา่ งกนั ไปตามความเหมาะสมของงาน

36 3. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคล่ือนไหว (Moving Picture Books) มีโครงสร้างจาก ภาพเคลื่อนไหวสนั้ ๆ (Animation Clips) หรือภาพวดิ ีโอ (Motion Video Segment) หรือทงั้ สอง อยา่ งรวมกนั 4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หลายภาษา (Talking Books) จะมีลักษณะเป็ นเนือ้ หา ประกอบคาบรรยายเพื่อให้ง่ายตอ่ การรับรู้ของผ้อู า่ น 5. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสม (Multimedia Books) เป็ นการรวมช่องทางการ สื่อสารสองทางหรือมากกว่านนั้ เข้าด้วยกันเพ่ือเข้ารหสั ข่าวสาร เป็ นการรวมตัวอักษร ภาพนิ่ง และภาพเคล่ือนไหวมารวมไว้ด้วยกนั ตามโครงสร้างแบบเส้นตรง เม่ือผลิตเสร็จส่ือจะออกมาในรูป ของสื่อเดยี ว ได้แก่ จานแมเ่ หลก็ หรือซีดรี อม 6. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์รวมสื่อ (Poly Media Books) มีลกั ษณะตรงข้ามกนั ข้ามกบั หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสม โดยใช้การรวมสื่อท่ีแตกตา่ งกัน ได้แก่ ซีดีรอม จานแม่เหล็ก กระดาษ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอ่ืนๆ เพื่อสง่ ข้อมลู ขา่ วสารไปยงั ผ้ใู ช้ 7. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia Books) จะมีลกั ษณะคล้ายกบั หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์สื่อประสม คอื ใช้การส่ือสารหลายช่องทาง แตจ่ ะมีโครงสร้างเป็ นแบบนอน ลีเนียร์ (Non linear) โดยมีโครงสร้างแบบใยแมงมมุ (Webs) 8. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผู้เช่ียวชาญ (Intelligent Electronic Books) มีการบรรจุ เทคนิคปัญญาเทียม เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) และระบบเครือข่ายประสาท (Neural Network) ซ่ึงสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และประยุกต์ให้เข้ากับพฤติกรรมของ ผ้เู รียนแตล่ ะคนท่ีมีความแตกตา่ งกนั 9. หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ส่ือทางไกล (Telemedia Electronic Books) ต้องอาศยั การ ส่ือสารทางไกลช่วยในการนาเสนอเนือ้ หา เช่น การเรียนการสอนในระบบเทเลคอนเฟอเรนซ์ (Teleconference) การสง่ ข้อความทางอีเมล์ (e-mail) ตลอดจนเป็นทรัพยากรในการสอนทางไกล เชน่ ในห้องสมดุ ดจิ ิทลั (Digital Library) 10. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไซเบอร์บุ๊ค (Cyberbook Books) ใช้เทคนิคของความจริง เสมือน (Virtual Reality) ในการสร้างสถานการณ์จาลองเพ่ือให้ผ้เู รียนรู้สึกเหมือนได้เข้าไปอย่ใู น ประสบการณ์จริง ประหยดั จิระวรพงษ์ (2548) อ้างอิงใน ภาวินี ภูมิเอ่ียม (2558, หน้า 9) ได้มีการจดั ประเภท e-book ไว้ดงั นี ้ 1. ประเภทตารา (Textbook) มีลกั ษณะเหมือนหนงั สือทว่ั ไปแตแ่ ปลงเป็น Digital File

37 2. ประเภทเสียง (Talking Book) มีเสียงอ่ายประกอบข้อความเหมาะสาหรับฝึ กออก เสียง 3. ประเภทอลั บมั้ ภาพหรือภาพนิง่ (Static Picture e-Book) เน้นการเสนอวีดีทศั น์หรือ ภาพยนตร์สนั้ ๆ ประกอบข้อความ 4. ประเภทมลั ติมีเดีย (Multimedia E-Book) เน้นการเสนอสารสนเทศแบบสื่อผสมทงั้ ภาพ (Virtual) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) วีดีทศั น์ เสียง (Audio) ข้อความและปฏิสมั พนั ธ์ เป็ นต้น 5. ประเภทส่ือหลากหลาย (Hypermedia e-Book) เน้นการเชื่อมโยงสารสนเทศภายใน เล่ม คล้ายๆ บทเรียนโปรแกรมสาขา (Branching Program) และการเช่ือมโยงสารสนเทศ ภายนอกโดยระบบเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต 6. ประเภทอัจฉริยะ (Intelligent e-Book) เน้ นการใช้ โปรแกรมขัน้ สูงสามารถ ปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้อู า่ นเสมือนมีสตปิ ัญญาตอบโต้ได้ (คล้าย Help ใน Ms. Word) 7. ประเภทส่ือทางไกล (Tele media e-Book) เน้นการเชื่อมโยงกับแหล่งสารสนเทศ ภายนอก (Online Information Sources) สาหรับเครือขา่ ยทว่ั ไปและสมาชกิ 8. ประเภทไซเบอร์สเปซ (Cyberspace e-Book) เน้นการเช่ือมโยงแหลง่ สารสนเทศทงั้ ภายในและภายนอกด้วยส่ือและการปฏิสมั พนั ธ์หลายรูปแบบ ภาสกร เรืองรอง (2557, หน้า 2 - 3) แบง่ ประเภทของหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ดงั นี ้ 1. e-Book ที่สร้ างและใช้ งานบนคอมพิวเตอร์ เดสท็อปท่ีมีหน้ าจอกว้ างตัง้ แต่ 600 * 800 ขนึ ้ ไป สร้างโดยโปรแกรมประยกุ ต์ตา่ งๆ ดงั นี ้ 1.1 โปรแกรม Flip Album ใช้โปรแกรม Filp Viewer เพ่ือทาการอา่ น 1.2 โปรแกรม Desktop Author อ่านข้ อมูล e-Book โดยใช้ โปรแกรม DNL Reader 1.3 โปรแกรม Flash Album Deluxe ใช้โปรแกรม Flash Player เพื่อทาการอา่ น 2. e-Book ที่สร้ างและใช้งานบนคอมพิวเตอร์แบบพกพา ได้แก่ Tablet PC และ Smart Phone สามารถแบง่ ตามประเภทที่ทางานบนระบบปฏิบตั กิ ารตา่ งๆ ได้ดงั นี ้ 2.1 ประเภท epub อา่ นได้โดยโปรแกรม epub Reader และตดิ ตงั้ ได้จาก Google Play ในระบบ Android ที่สามารถสร้างได้จากโปรแกรมประยกุ ต์ ดงั นี ้

38 - โปรแกรม sigil เป็ นโปรแกรมท่ีสามารถสร้าง epub ได้โดยใช้พืน้ ฐานของ ภาษา xhtml - โปรแกรม Calibre เป็นโปรแกรมท่ีเน้นการแปลงชิน้ งานที่สร้างจากโปรแกรม ประยุกต์ต่างๆ เช่น Microsoft Word ไปเป็ น epub และยังสามารถจัดสารบัญ Table of Content (TOC) และดชั นี (Index) ให้กบั เอกสาร epub ได้ด้วย - โปรแกรม indesign เป็ นโปรแกรมที่เน้ นการจัดหน้ ากระดาษ (Page layout) เพ่ือเตรียมชิน้ งานเข้าโรงพิมพ์เพื่อการพิมพ์ตอ่ ไป ในการนีห้ ลงั จากจดั หน้าชิน้ งานแล้วยงั สามารถบนั ทกึ งานเป็น epub ได้ด้วย - โปรแกรมอื่นๆ อีกสามารถบนั ทกึ ข้อมลู เป็นนามสกลุ epub รวมทงั้ การแปลง ข้อมลู บนเวบ็ จากรูปแบบ MsWord ไปเป็นรุปแบบ epub 2.2 ประเภท iBook ที่สร้ างโดยโปรแกรม ibooks Author อ่านได้โดยโปรแกรม iBook ที่ติดตัง้ ได้จาก App Store ในระบบ IOS โปรแกรม iBook Author สามารถสร้ าง e-Book ในรูปแบบ Multimedia ที่สามารถนาเสนอภาพและเสียงได้ อีกทัง้ ยังสามารถสร้ าง แบบทดสอบในรูปแบบตา่ งๆ ท่ีสามารถปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้เู รียนกบั บทเรียน e-Book ได้ กลา่ วโดยสรุปวา่ รูปแบบและลกั ษณะของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ คอื สื่อท่ีชว่ ยให้ผ้เู รียน เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สนองความต้องการของผ้อู า่ น โดยมีสิ่งกระต้นุ และเร้าความสนใจทงั้ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและวีดีโอ และสามารถเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลทัง้ ภายในและ ภายนอกหนงั สืออีกทงั้ หนงั สือยงั มีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้อู า่ น 4.3 จุดประสงค์และประโยชน์ของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ภาสกร เรืองรอง (2557, หน้า 4 – 5) กล่าวว่า การนา e-Book ไปใช้งานร่วมกับ กิจกรรมการเรียนการสอนในชัน้ เรียนหรือนาไปใช้เพื่อการศึกษาใดๆ รวมทัง้ การฝึ กอบรมนัน้ e-Book จะชว่ ยอานวยความสะดวกได้ดงั นี ้ 1. ช่วยการทบทวนความรู้ที่ได้เรียนในชนั้ เรียน ผ้เู รียนสามารถเรียนทวนซา้ ได้ เมื่อมี โอกาสตามความแตกตา่ งของผ้เู รียน ที่มีทงั้ ความพร้อมท่ีจะเรียนรู้ มีความสามารถในการจาและ มีความสนใจที่แตกต่าง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิ์การเรียนการสอนท่ีแตกต่างกัน ดงั นัน้ e- Book จงึ ชว่ ยให้ผ้เู รียนสามารถเรียนซา้ ได้เม่ือมีโอกาส มีความพร้อมตามความแตกตา่ งของผ้เู รียน 2. ชว่ ยแก้ไขปัญหาขาดผ้เู ช่ียวชาญในการเรียนการสอนทงั้ ในและนอกชนั้ เรียน ครูผ้สู อน ต่างมีความเช่ียวชาญในเนือ้ หาที่สอนแตกต่างกัน ดงั นนั้ หากได้นาผ้สู อนที่มีความเชี่ยวชาญใน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook