Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

20

Published by pramahabancha, 2018-07-04 00:05:17

Description: 20

Search

Read the Text Version

ค่มู อื พระสังฆาธกิ าร สถาบันพระสงั ฆาธกิ าร สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

คูม่ อื พระสงั ฆาธิการพมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ปที พี่ มิ พ์ ๒๕๕๘จานวน ๔๐๐ เล่มจัดพิมพ์โดย สถาบนั พระสงั ฆาธกิ าร สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติทป่ี รึกษานายพนม ศรศลิ ป์ ผูอ้ านวยการสานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาตินายกนก แสนประเสรฐิ รองผูอ้ านวยการสานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติอานวยการผลตินายปราณสุวรี ์ อาวอรา่ มรศั มิ์ ผอู้ านวยการสถาบันพระสงั ฆาธกิ ารรวบรวมและเรียบเรยี งนายอดุ มศักด์ิ ชูโตชนะ นักวชิ าการศาสนาปฏบิ ตั กิ ารตรวจต้นฉบบันายอดุ มศักดิ์ ชโู ตชนะ นกั วชิ าการศาสนาปฏิบตั กิ ารนายเชดิ ศกั ด์ิ ทองหนนั นักวชิ าการศาสนาปฏิบตั กิ ารนายศุภชยั สจุ ติ รพร นักวชิ าการศาสนานายบัณฑติ ยานะ เจ้าหนา้ ทีบ่ นั ทึกขอ้ มูลโรงพมิ พ์ : สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ๓๑๔-๓๑๖ ปากซอยบา้ นบาตร ถนนบารงุ เมือง เขตปอ้ มปราบศตั รพู า่ ย กรงุ เทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๓๓๕๑, ๐ ๒๒๒๓ ๕๕๔๘ โทรสาร ๐ ๒๖๒๑ ๒๙๑๐ นายสรุ พล วิรยิ ะบรรเจดิ ผ้พู มิ พ/์ โฆษณา (พิมพ์ถวายพระสังฆาธิการ)

คานา สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีภารกิจเก่ียวกับการดาเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐ โดยมีหน้าที่ทานุบารุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนาพร้อมท้ังให้การสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรทางศาสนา พระสังฆาธิการนับเป็นบุคลากรทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญ เริ่มต้ังแต่ระดับวัดซึ่งมีเจา้ อาวาสเป็นผู้บริหารจัดการวัด มีเจ้าคณะพระสังฆาธิการระดับตาบล อาเภอ จังหวัด และภาคทาหน้าที่ปกครองใหเ้ ปน็ ไปตามพระธรรมวนิ ยั กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับหรือระเบียบมหาเถรสมาคม คาส่งั มหาเถรสมาคม พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช และคาส่ังของผู้บังคับบัญชาเหนือตน จึงจาเป็นจะต้องรับทราบในเรื่องท่ีเก่ียวข้องว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎมหา-เถรสมาคม ระเบยี บ คาส่งั ประกาศ มติการปกครองคณะสงฆ์ เอกสารฉบบั นีไ้ ด้รวบรวมเพ่อื เป็นสว่ นหน่ึงของหลกั สูตรถวายความรู้ แด่พระสังฆาธิการหมวดวิชาพื้นฐานทั่วไป ซึ่งพระสังฆาธิการจาเป็นจะต้องรับทราบ และถือปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางในการบรหิ ารการปกครองวัดจะไดท้ าให้กิจกรรมทางพระพุทธศาสนามคี วามเจรญิ มั่นคงสบื ไป จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จักอานวยประโยชน์ให้แก่เจ้าคณะพระสังฆาธิการตามสมควร สถาบนั พระสังฆาธิการ สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

สารบัญ หนา้คานา ๒สว่ นที่ ๑ ๑๕ พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๑๙สว่ นที่ ๒ กฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ ๒๑ - กฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ๔๔ ออกตามความในพระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ๔๘ - กฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๑) ๕๑ ออกตามความในพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ๖๐ ๖๔ส่วนที่ ๓ กฎมหาเถรสมาคม ๖๙ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๑๑) ๗๒ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ๗๕ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ๘๓ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ๙๙ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ๑๐๐ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ๑๐๓ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ๑๐๕ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙) - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๒๓ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ๑๑๐ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ๑๑๗ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๒๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕) ๑๒๕ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๖ (พ.ศ. ๒๕๔๖) ๑๒๘ - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๒๗ (พ.ศ. ๒๕๔๖) - กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๒๘ (พ.ศ. ๒๕๔๖)สว่ นท่ี ๔ ระเบียบ คาสงั่ ประกาศ และมติมหาเถรสมาคม - ระเบยี บกาหนดวธิ ปี ฏิบัตใิ นการตา่ งประเทศสาหรบั พระภกิ ษสุ ามเณร พ.ศ. ๒๕๓๗ - ระเบยี บกาหนดวิธีปฏบิ ตั ิในหน้าทพ่ี ระอุปัชฌาย์ พ.ศ. ๒๕๓๗ - ระเบียบกาหนดจานวนและเขตปกครองตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ - ระเบียบวา่ ดว้ ยการเพม่ิ คาอนุโมทนาเป็นภาษาไทยในวนั พระ หรอื วันธรรมสวนะ พ.ศ. ๒๕๓๗

- ระเบียบว่าด้วยการร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๓๗ หนา้- ระเบยี บวา่ ดว้ ยการจดั งานวดั พ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๓๑- ระเบียบวา่ ด้วยการขอพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๓๔- คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่องหา้ มภกิ ษุสามเณรเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. ๒๕๒๑ ๑๓๘- คาสง่ั มหาเถรสมาคม เร่ืองห้ามภิกษุสามเณรเทย่ี วเตร็ดเตร่ ๑๔๕ ๑๔๗ และพักคา้ งแรมตามบ้านเรอื น พ.ศ. ๒๕๒๑- คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่องให้ภกิ ษสุ ามเณรเรยี นพระธรรมวินัย พ.ศ. ๒๕๒๘ ๑๔๙- คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่องหา้ มพระภิกษสุ ามเณรเก่ียวข้องกบั การเมือง พ.ศ. ๒๕๓๘ ๑๕๔- คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่องหา้ มภิกษสุ ามเณรเรียนวชิ าชีพ หรือสอบแขง่ ขัน ๑๕๖ หรือสอบคดั เลือกอย่างคฤหสั ถ์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ๑๕๙- คาสง่ั มหาเถรสมาคม เร่ืองการจดั ทาทะเบียนประวัติพระภิกษุสามเณร ๑๖๘ และศิษยว์ ัด พ.ศ. ๒๕๓๘ ๑๗๑- คาสง่ั มหาเถรสมาคม ว่าดว้ ยการปลูกต้นไม้ในท่ีวัดหรือทธ่ี รณีสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๓๘ ๑๗๔- คาสั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง กาหนดเขตอภัยทานในพน้ื ที่วัด พ.ศ. ๒๕๓๘ ๑๗๙- คาสั่งมหาเถรสมาคม เร่ืองควบคมุ การเร่ยี ไร พ.ศ. ๒๕๓๙- มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งท่ี ๔/๒๕๓๙ ๑๘๑ เรื่อง การควบคมุ ดแู ลผ้เู ขา้ มาบรรพชาอปุ สมบท ๑๘๓- มตมิ หาเถรสมาคม ครัง้ ท่ี ๑๓/๒๕๔๐ ๑๘๕ เรอ่ื ง การเลย้ี งสัตว์และการทารุณกรรมสตั ว์ในเขตอาราม- มตมิ หาเถรสมาคม ครงั้ ท่ี ๑๒/๒๕๔๑ ๑๘๖ เรอ่ื ง พระภกิ ษุสามเณรแสดงตนเป็นอาจารยบ์ อกเลขสลากกนิ รวบ ๑๘๘- มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งท่ี ๒๘/๒๕๔๒ ๑๙๐ เรื่อง ขอให้เจ้าคณะผปู้ กครองชว่ ยสอดส่องดแู ลวดั ในสังกัด- มตมิ หาเถรสมาคม ครง้ั ที่ ๕/๒๕๔๓ ๑๙๑ เรอ่ื ง จัดรายการวิทยโุ ทรทัศน์เผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ๑๙๒- มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งท่ี ๓๓/๒๕๔๓ เรอ่ื ง พระภิกษุสามเณรผลติ ยาและขายยาแผนโบราณภายในวัด- มติมหาเถรสมาคม ครั้งท่ี ๒๒/๒๕๔๔ เรื่อง สร้างปูชนยี วตั ถุ รปู เคารพในวัด- มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๔/๒๕๔๕ เรอื่ ง การสร้างพระพทุ ธรูป ปูชนยี วัตถแุ ละรูปปั้นตา่ ง ๆ- มติมหาเถรสมาคม คร้ังที่ ๓๑/๒๕๔๕ เร่อื ง การบวชภกิ ษุณี

- มติมหาเถรสมาคม ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๔๖ หนา้ เรอ่ื ง ขอความอนุเคราะหใ์ ห้พระสงฆ์รว่ มรณรงคใ์ หป้ ระชาชนสมาทานศลี ๕ ๑๙๓ - มติมหาเถรสมาคม ครง้ั ที่ ๘/๒๕๔๖ ๑๙๕ เรื่อง เชญิ ชวนชาวพุทธรว่ มใจต้านภัยยาเสพตดิ ๑๙๗ - มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งที่ ๒๐/๒๕๔๖ เรอ่ื ง การใชค้ านาหนา้ ของพระภิกษุสามเณร ๑๙๙ - มติมหาเถรสมาคม ครง้ั ที่ ๗/๒๕๔๗ ๒๐๑ เร่อื ง การโฆษณาพระพุทธรปู /พระเครอื่ งและวัตถุมงคลในสอื่ หนงั สือพมิ พ์ ส่อื สิ่งพมิ พ์และส่ือวทิ ยุโทรทัศน์ ๒๐๓ - มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งที่ ๘/๒๕๔๗ ๒๐๔ เรื่อง กรณเี จ้าอาวาสวดั ตา่ ง ๆ ถูกเจ้าหน้ฟี ้องเป็นคดีในศาล ๒๐๕ - มตมิ หาเถรสมาคม ครัง้ ท่ี ๙/๒๕๔๗ ๒๑๑ เรอ่ื ง โจรกรรมและนาพระพุทธรูปออกขาย ๒๑๓ ๒๑๕ - มติมหาเถรสมาคม ครั้งท่ี ๑๙/๒๕๕๔ ๒๑๖ เรอ่ื งขอยกจังหวัดบงึ กาฬ ข้นึ เปน็ เขตปกครองจังหวดั ทางคณะสงฆ์ ๒๑๗ ๒๑๘ - มตมิ หาเถรสมาคม ครั้งท่ี พเิ ศษ/๒๕๕๗ ๒๑๙ เรอ่ื ง ขอความเหน็ ชอบโครงการสร้างความปรองดองสมานฉนั ท์ “หมบู่ ้านรักษาศีล ๕” ๒๒๐ ๒๒๑ - ประกาศห้ามไมใ่ ห้ภกิ ษุประกอบการหากินนอกธรรมเนยี มสมณะ ๒๒๓ - ประกาศหา้ มไมใ่ ห้ภกิ ษเุ ป็นหมอทาเสน่หย์ าแฝดอาถรรพณ์ ๒๒๕ - ประกาศห้ามพระเณรไม่ใหบ้ วชหญงิ เปน็ บรรพชติ ๒๒๗ - ประกาศหา้ มมิใหภ้ ิกษสุ ามเณรเทศนม์ หาชาติตลกคะนองเสียสมณสารูป ๒๒๘ - ประกาศภกิ ษุสามเณรเซ็นนามแสดงภาวะไม่แนน่ อนวา่ เปน็ บรรพชติ หรอื คฤหสั ถ์ ๒๒๙ - ประกาศห้ามภกิ ษสุ ามเณรไปจดเลขสลากกินแบ่งและซ้ือหรอื มสี ลากกินแบง่ ไวเ้ ป็นของตัว ๒๓๑ - ประกาศหา้ มภิกษุสามเณรเรยี กเงินค่าเวทมนต์และห้ามทดลองของขลงั - ประกาศห้ามพระภกิ ษสุ ามเณรแสดงตนเปน็ อาจารยบ์ อกเลขสลากกินแบ่งหรือสลากกนิ รวบ - ประกาศห้ามการแสวงหาลาภด้วยวธิ อี อกบตั รคลา้ ยธนบตั รรฐั บาล - ประกาศหา้ มพระภิกษสุ ามเณรพักแรมในสถานทเ่ี ปน็ ท่รี ังเกียจทางพระวนิ ัย - ประกาศเกย่ี วกบั วทิ ยุและโทรทศั น์ - ประกาศเก่ยี วกบั กลอ้ งถ่ายรูป กลอ้ งสอ่ งทางไกล - ประกาศหา้ มพระภกิ ษุสามเณรเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งกบั วดั หรือสานักสงฆท์ ี่สรา้ งไม่ถกู ต้อง - ประกาศกรมการศาสนา เรอ่ื ง การเรียกคานาหน้าช่อื ของพระสงฆ์สว่ นท่ี ๕ คาพิพากษาศาลฎีกา ท่ีนา่ รู้ สาหรบั พระสงั ฆาธกิ าร**********

๑ ค่มู ือพระสงั ฆาธกิ าร

พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ --------------------- ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เปน็ ปีที่ ๑๗ ในรชั กาลปจั จุบนั --------------------- พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯใหป้ ระกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายว่าด้วยคณะสงฆใ์ หเ้ หมาะสมย่งิ ข้ึน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภาร่างรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ เี้ รยี กวา่ \"พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕” มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ใหย้ กเลิกพระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ มาตรา ๔ ภายในระยะเวลาหนงึ่ ปี นับแตว่ ันท่พี ระราชบญั ญัติน้ีใช้บังคับ บรรดากฎกระทรวงสังฆาณัติ กติกาสงฆ์ กฎองค์การ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช ข้อบังคับและระเบียบเก่ียวกับคณะสงฆ์ท่ีใช้บังคับอยู่ในวันประกาศพระราชบัญญัติน้ีในราชกิจจานุเบกษา ให้คงใช้บังคับต่อไปเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี ทั้งน้ีจนกว่าจะมีกฎกระทรวง กฎมหาเถรสมาคมพระบัญชาสมเด็จ-พระสงั ฆราช ข้อบังคับหรือระเบียบของมหาเถรสมาคมยกเลิก หรือมีความอย่างเดียวกัน หรือขัดหรือแย้งกัน หรือกล่าวไวเ้ ป็นอย่างอ่ืน๑ ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๗๙/ตอนท่ี ๑๑๕/ฉบบั พิเศษ หนา้ ๒๙/๓๑ ธนั วาคม ๒๕๐๕ ๒ คูม่ อื พระสังฆาธิการ

มาตรา ๕ เพ่ือประโยชน์แห่งมาตรา ๔ บรรดาอานาจหน้าท่ีซึ่งกาหนดไว้ในสังฆาณัติกติกาสงฆ์ กฎองค์การ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช ข้อบังคับและระเบียบเกี่ยวกับคณะสงฆ์ให้เป็นอานาจหน้าที่ของพระภิกษุตาแหน่งใดหรือคณะกรรมการสงฆ์ใดซ่ึงไม่มีในพระราชบัญญัตินี้ให้มหาเถรสมาคมมีอานาจกาหนดโดยกฎมหาเถรสมาคมให้เป็นอานาจหน้าที่ของพระภิกษุ ตาแหน่งใดรูปใดหรือหลายรปู รว่ มกันเปน็ คณะตามทีเ่ หน็ สมควรได้ มาตรา ๕๒ ทวิ ในพระราชบญั ญัตินี้ “คณะสงฆ์” หมายความว่า บรรดาพระภิกษุท่ีได้รับบรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌาย์ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บังคับก่อนพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะปฏิบัติศาสนกิจในหรอื นอกราชอาณาจกั ร “คณะสงฆ์อ่ืน” หมายความว่า บรรดาบรรพชติ จีนนกิ าย หรือ อนัมนิกาย “พระราชาคณะ” หมายความว่า พระภิกษุท่ีได้รับแต่งต้ังและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ช้ันสามัญจนถงึ ชัน้ สมเดจ็ พระราชาคณะ “สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์” หมายความว่า สมเด็จพระราชาคณะที่ได้รับสถาปนาก่อนสมเด็จพระราชาคณะรูปอ่ืน ถ้าได้รับสถาปนาในวันเดียวกันให้ถือรูปที่ได้รับสถาปนาในลาดับก่อน มาตรา ๕ ตรี๓ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการแต่งตั้งสถาปนา และถอดถอนสมณศักดขิ์ องพระภกิ ษุในคณะสงฆ์ มาตรา ๖ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏบิ ัติการใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมอ่ื ไดร้ บั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คบั ได้ หมวด ๑ สมเดจ็ พระสังฆราช มาตรา ๗๔ พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสงั ฆราชองคห์ นง่ึ ในกรณีที่ตาแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมเสนอนามสมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ข้ึนทูลเกล้าฯ เพื่อทรงสถาปนาเป็นสมเดจ็ พระสังฆราช๒ มาตรา ๕ ทวิ เพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๓ มาตรา ๕ ตรี เพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๔ มาตรา ๗ แก้ไขโดยพระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๓ ค่มู ือพระสังฆาธิการ

ในกรณีที่สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมเสนอนามสมเด็จพระราชาคณะรูปอื่นผู้มีอาวุโสโดยสมณศักด์ิรองลงมาตามลาดับ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงสถาปนาเปน็ สมเด็จพระสังฆราช มาตรา ๘ สมเด็จพระสังฆราชทรงดารงตาแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ทรงบัญชาการคณะสงฆ์ และทรงตราพระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช โดยไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมาย พระธรรมวินัยและกฎมหาเถรสมาคม มาตรา ๙๕ ในกรณีท่ีสมเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตาแหน่งหรือพระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดให้ออกจากตาแหน่ง พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งให้เป็นท่ีปรึกษาของสมเด็จพระสังฆราชหรือตาแหนง่ อนื่ ใดตามพระราชอธั ยาศัยก็ได้ *มาตรา ๑๐๖ ในเมื่อไม่มีสมเด็จพระสังฆราช ให้สมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักด์ิ เปน็ ผู้ปฏิบตั หิ น้าทีส่ มเด็จพระสงั ฆราช ถ้าสมเด็จพระราชาคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการมหาเถรสมาคมที่เหลืออยู่ เลือกสมเด็จพระราชาคณะรูปหน่ึงผู้มีอาวุโสโดยสมณศักด์ิรองลงมาตามลาดับ และสามารถปฏบิ ัติหนา้ ทไี่ ด้ เป็นผปู้ ฏิบตั หิ นา้ ทีส่ มเด็จพระสงั ฆราช ในเมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือไม่อาจทรงปฏิบัติหน้าท่ีได้สมเด็จพระสังฆราชจะได้ทรงแต่งต้ังใหส้ มเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่งปฏิบตั หิ นา้ ทีแ่ ทน ในกรณีที่สมเด็จพระสังฆราชมิได้ทรงแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนตามวรรคสาม หรือสมเด็จพระราชาคณะซ่ึงได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนสมเด็จพระสังฆราช ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชได้ ให้นาความในวรรคหนง่ึ และวรรคสองมาใชบ้ งั คบั โดยอนโุ ลม ในการแตง่ ต้ังผู้ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่สมเดจ็ พระสงั ฆราชตามมาตราน้ี ถ้าสมเด็จพระสังฆราชทรงเห็นเปน็ การสมควรสาหรบั กรณที ี่มเี หตตุ ามวรรคสาม หรอื กรรมการมหาเถรสมาคมทเี่ หลืออยเู่ หน็เป็นการสมควรสาหรบั กรณีท่มี ีเหตุตามวรรคหนึง่ วรรคสอง หรอื วรรคส่ี อาจพจิ ารณาเลอื กสมเด็จพระราชาคณะหลายรูปที่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ เพ่ือให้เป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชแทนผู้ปฏิบัติหน้าท่ีตามวรรคหน่ึง หรือแทนการดาเนินการตามวรรคสอง วรรคสาม หรือวรรคส่ีแลว้ แตก่ รณีได้ และจะให้มีผู้ช่วยหรือที่ปรึกษาในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวด้วยก็ได้ วิธีดาเนินการของคณะผปู้ ฏบิ ตั ิหนา้ ทส่ี มเดจ็ พระสงั ฆราชใหเ้ ป็นไปตามทค่ี ณะผูป้ ฏิบัตหิ นา้ ทสี่ มเดจ็ พระสังฆราชกาหนด๗๕ มาตรา ๙ แก้ไขโดย พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๖ มาตรา ๑๐ แก้ไขโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๗ มาตรา ๑๐ วรรคห้า แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชกาหนดแกไ้ ขเพ่ิมเติมพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๔ คูม่ อื พระสังฆาธกิ าร

เม่ือมีการแต่งต้ังหรือเลือกผู้ปฏิบัติหน้าที่หรือคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชตามมาตราน้ีแล้ว ใหน้ ายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทลู ทราบฝ่าละอองธลุ ีพระบาท๘ มาตรา ๑๑ สมเดจ็ พระสงั ฆราชพน้ จากตาแหน่ง เมือ่ (๑) มรณภาพ (๒) พน้ จากความเป็นพระภิกษุ (๓) ลาออก (๔) ทรงพระกรณุ าโปรดให้ออก หมวด ๒ มหาเถรสมาคม มาตรา ๑๒๙ มหาเถรสมาคมประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชซ่ึงทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูปเป็นกรรมการโดยตาแหน่ง และพระราชาคณะซ่งึ สมเด็จพระสังฆราชทรงแตง่ ต้ังมจี านวนไมเ่ กินสบิ สองรปู เป็นกรรมการ มาตรา ๑๓ ให้ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตาแหน่ง และให้สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทาหน้าท่ีสานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มาตรา ๑๔ กรรมการมหาเถรสมาคม ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้ังอยู่ในตาแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รบั แตง่ ต้ังอีกได้ มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๔ กรรมการมหาเถรสมาคมซ่งึ สมเดจ็ พระสังฆราชทรงแตง่ ตง้ั พ้นจากตาแหนง่ เม่ือ (๑) มรณภาพ (๒) พ้นจากความเป็นพระภกิ ษุ (๓) ลาออก (๔) สมเด็จพระสังฆราชมีพระบญั ชาให้ออก ในกรณีท่ีกรรมการมหาเถรสมาคมพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ สมเด็จพระสังฆราชอาจทรงแตง่ ตง้ั พระราชาคณะรปู ใดรูปหนึง่ เปน็ กรรมการแทน กรรมการซึ่งไดร้ บั แต่งต้ังตามความในวรรคก่อนอยใู่ นตาแหน่งตามวาระของผซู้ ง่ึ ตนแทน๘ มาตรา ๑๐ วรรคหก เพ่มิ โดยพระราชกาหนดแกไ้ ขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ พ.ศ. ๒๕๔๗๙ มาตรา ๑๒ แก้ไขโดย แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๕ คมู่ ือพระสงั ฆาธิการ

มาตรา ๑๕๑๐ ทวิ การแต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคมตามมาตรา ๑๒ และการให้กรรมการมหาเถรสมาคมพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๑๕ ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบัญชาสมเดจ็ พระสังฆราช มาตรา ๑๕ ตรี๑๑ มหาเถรสมาคมมีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี (๑) ปกครองคณะสงฆ์ให้เปน็ ไปโดยเรียบร้อยดงี าม (๒) ปกครองและกาหนดการบรรพชาสามเณร (๓) ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่การสาธารณปู การและการสาธารณสงเคราะหข์ องคณะสงฆ์ (๔) รกั ษาหลกั พระธรรมวินยั ของพระพทุ ธศาสนา (๕) ปฏิบัตหิ นา้ ทอ่ี น่ื ๆ ตามทบี่ ญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบญั ญัตินห้ี รือกฎหมายอ่ืน เพ่ือการน้ี ให้มหาเถรสมาคมมีอานาจตรากฎมหาเถรสมาคม ออกข้อบังคับ วางระเบียบออกคาส่ัง มีมติหรือออกประกาศ โดยไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายและพระธรรมวินัย ใช้บังคับได้และจะมอบให้พระภิกษุรูปใดหรือคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๙ เป็นผู้ใช้อานาจหนา้ ทีต่ ามวรรคหนึง่ ก็ได้ มาตรา ๑๕ ๑๒ จตั วา เพือ่ รกั ษาหลักพระธรรมวนิ ยั และเพ่ือความเรียบร้อยดีงามของคณะสงฆม์ หาเถรสมาคมจะตรากฎมหาเถรสมาคม เพ่ือกาหนดโทษหรือวิธีลงโทษทางการปกครองสาหรับพระภิกษุ และสามเณรท่ีประพฤติให้เกิดความเสียหายแก่พระศาสนา และการปกครองของคณะสงฆ์กไ็ ด้ พระภิกษุและสามเณรท่ีได้รับโทษตามวรรคหนึ่ง ถึงขั้นให้สละสมณเพศต้องสึกภายในสามวัน นบั แตว่ ันทราบคาสงั่ ลงโทษ มาตรา ๑๖๑๓ ในกรณีท่ีประธานกรรมการมหาเถรสมาคมไม่อาจมาประชุมหรือไม่อยู่ในท่ีประชุมมหาเถรสมาคม และมิได้มอบหมายให้สมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนให้สมเด็จพระราชาคณะผมู้ อี าวโุ ส โดยสมณศกั ด์ิ ซง่ึ อย่ใู นทป่ี ระชมุ เป็นผูป้ ฏิบตั หิ นา้ ทแี่ ทน มาตรา ๑๗ การประชุมมหาเถรสมาคม ต้องมีกรรมการโดยตาแหน่งและกรรมการโดยการแต่งตั้ง รวมกนั มาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากงึ่ หนง่ึ ของกรรมการท้ังหมด จึงเป็นองคป์ ระชุม ระเบยี บการประชุมมหาเถรสมาคมให้เปน็ ไปตามกฎมหาเถรสมาคม มาตรา ๑๘๑๔ ในกรณีน้ีที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคมแทนตาแหน่งที่ว่างตามมาตรา ๑๕ วรรคสอง ให้ถือวา่ มหาเถรสมาคมมกี รรมการเท่าจานวนทเี่ หลืออยใู่ นขณะนน้ั๑๐ มาตรา ๑๕ ทวิ เพิม่ เตมิ โดย พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๑ มาตรา ๑๕ ตรี เพิม่ เติมโดย พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๒ มาตรา ๑๕ จตั วา เพม่ิ เตมิ โดย พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๓ มาตรา ๑๖ แก้ไขโดย พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๔ มาตรา ๑๘ แก้ไขโดย พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๖ คู่มอื พระสังฆาธิการ

มาตรา ๑๙ ๑๕ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้ังคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตามมติมหาเถรสมาคม ประกอบด้วยพระภิกษุหรือบุคคลอ่ืนจานวนหนึ่ง มีหน้าท่ีพิจารณากล่ันกรองเรื่องที่จะเสนอต่อมหาเถรสมาคมและปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามท่ีมหาเถรสมาคมมอบหมายโดยขนึ้ ตรงตอ่ มหาเถรสมาคม การจัดให้มีคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ การแต่งต้ังกรรมการหรืออนุกรรมการ การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการหรืออนุกรรมการ และระเบียบการประชุม ให้เป็นไปตามระเบยี บมหาเถรสมาคม หมวด ๓ การปกครองคณะสงฆ์ มาตรา ๒๐๑๖ คณะสงฆต์ ้องอยู่ภายใตก้ ารปกครองของมหาเถรสมาคม การจดั ระเบยี บการปกครองคณะสงฆ์ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎมหาเถรสมาคม มาตรา ๒๐๑๗ ทวิ เพื่อประโยชน์แก่การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคใหม้ เี จา้ คณะใหญป่ ฏบิ ตั ิหนา้ ทีใ่ นเขตปกครองคณะสงฆ์ การแต่งต้ังและการกาหนดอานาจหน้าที่เจ้าคณะใหญ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทีก่ าหนดในกฎมหาเถรสมาคม มาตรา ๒๑ การปกครองคณะสงฆส์ ่วนภูมิภาค ให้จดั แบง่ เขตปกครอง ดังนี้ (๑) ภาค (๒) จังหวดั (๓) อาเภอ (๔) ตาบล จานวนและเขตการปกครองดังกล่าวใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎมหาเถรสมาคม มาตรา ๒๒ การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ให้มีพระภิกษุเป็นผู้ปกครองตามชั้นตามลาดับ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เจ้าคณะภาค (๒) เจ้าคณะจงั หวัด (๓) เจ้าคณะอาเภอ (๔) เจา้ คณะตาบล๑๕ มาตรา ๑๙ แก้ไขโดย พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๖ มาตรา ๒๐ แก้ไขโดย พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๑๗ มาตรา ๒๐ ทวิ เพิม่ เตมิ โดย พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๗ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

เมอื่ มหาเถรสมาคมเหน็ สมควรจะจดั ให้มีรองเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะอาเภอและรองเจ้าคณะตาบล เป็นผ้ชู ่วยเจา้ คณะนั้น ๆ กไ็ ด้ มาตรา ๒๓ การแต่งตั้งถอดถอนพระอุปัชฌาย์ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระภิกษุอันเก่ียวกับตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ตาแหน่งอ่ืน ๆ และไวยาวัจกรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทกี่ าหนดในกฎมหาเถรสมาคม หมวด ๔ นิคหกรรมและการสละสมณเพศ มาตรา ๒๔ พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรม ก็ต่อเม่ือกระทาการล่วงละเมิดพระธรรมวินัยและนิคหกรรมท่จี ะลงแกพ่ ระภิกษุ ก็ตอ้ งเป็นนคิ หกรรมตามพระธรรมวนิ ยั มาตรา ๒๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๔ มหาเถรสมาคมมีอานาจตรากฎมหาเถรสมาคมกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเพ่ือให้การลงนิคหกรรมเป็นไปโดยถูกต้อง สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรม และให้ถือว่าเป็นการชอบด้วยกฎหมายท่ีมหาเถรสมาคมจะกาหนดในกฎมหาเถรสมาคม ให้มหาเถรสมาคมหรือพระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ตาแหน่งใดเป็นผู้มีอานาจลงนิคหกรรมแก่พระภิกษุผู้ล่วงละเมิดพระธรรมวินัย กับท้ังการกาหนดให้การวินิจฉัยการลงนิคหกรรมให้เป็นอนั ยตุ ใิ นช้นั ใด ๆ นนั้ ด้วย มาตรา ๒๖ พระภิกษุรูปใดล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และได้มีคาวินิจฉัยถึงท่ีสุด ให้ได้รับนิคหกรรมใหส้ ึก ตอ้ งสกึ ภายในยี่สบิ ส่ชี ั่วโมงนบั แต่เวลาทีไ่ ด้ทราบคาวนิ จิ ฉัยนั้น มาตรา ๒๗๑๘ เม่ือพระภกิ ษรุ ปู ใดตอ้ งด้วยกรณขี ้อใดข้อหน่งึ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ต้องคาวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ ให้รับนิคหกรรมไม่ถึงให้สึก แต่ไม่ยอมรบั นคิ หกรรมน้นั (๒) ประพฤตลิ ว่ งละเมดิ พระธรรมวนิ ยั เปน็ อาจิณ (๓) ไม่สังกดั อยูใ่ นวัดใดวดั หนง่ึ (๔) ไมม่ วี ดั เปน็ ท่อี ยูเ่ ป็นหลักแหล่ง ใหพ้ ระภิกษุรปู นน้ั สละสมณเพศตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่กี าหนดในกฎมหาเถรสมาคม พระภิกษุผู้ต้องคาวินิจฉัยให้สละสมณเพศตามวรรคสอง ต้องสึกภายในสามวันนับแต่วันท่ีไดร้ ับทราบคาวินิจฉัยนนั้๑๘ มาตรา ๒๗ แก้ไขโดย พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๘ คู่มือพระสงั ฆาธกิ าร

มาตรา ๒๘ พระภกิ ษุรปู ใดต้องคาพิพากษาถงึ ท่สี ุดให้เป็นบุคคลล้มละลาย ต้องสึกภายในสามวันนับแตว่ ันทคี่ ดถี ึงที่สุด มาตรา ๒๙ พระภิกษุรูปใดถูกจับโดยต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา เมื่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการไม่เห็นสมควรให้ปล่อยชั่วคราว และเจ้าอาวาสแห่งวัดท่ีพระภิกษุรูปน้ันสังกัดไม่รับมอบตัวไว้ควบคุม หรือพนักงานสอบสวนไม่เห็นสมควรให้เจ้าอาวาสรับตัวไปควบคุมหรือพระภิกษุรูปน้ันมิได้สังกัดในวัดใดวัดหนึ่ง ให้พนักงานสอบสวนมีอานาจจัดดาเนินการให้พระภิกษุรูปนัน้ สละสมณเพศเสยี ได้ มาตรา ๓๐ เมื่อจะต้องจาคุก กักขังหรือขังพระภิกษุรูปใดตามคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาล มีอานาจดาเนินการให้พระภิกษุรูปน้ันสละสมณเพศเสียได้ และให้รายงานให้ศาลทราบถึงการสละสมณเพศนน้ั หมวด ๕ วัด มาตรา ๓๑๑๙ วัดมสี องอย่าง (๑) วดั ทไ่ี ด้รับพระราชทานวสิ ุงคามสมี า (๒) สานกั สงฆ์ ใหว้ ดั มีฐานะเป็นนิตบิ ุคคล เจ้าอาวาสเปน็ ผู้แทนของวัดในกจิ การทวั่ ไป มาตรา ๓๒ การสร้าง การต้ัง การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสงุ คามสีมา ใหเ้ ปน็ ไปตามวิธกี ารทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ในกรณียุบเลกิ วดั ทรัพย์สนิ ของวัดที่ถูกยบุ เลกิ ใหต้ กเป็นศาสนสมบตั ิกลาง มาตรา ๓๒๒๐ ทวิ วัดใดเป็นวัดร้างท่ีไม่มีพระภิกษุอยู่อาศัย ในระหว่างที่ยังไม่มีการยุบเลิกวัดให้สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีหน้าที่ปกครองดูแลรักษาวัดน้ัน รวมทั้งท่ีวัด ที่ธรณีสงฆ์ และทรพั ยส์ ินของวัดนน้ั ด้วย การยกวัดร้างข้ึนเป็นวัดมีพระภิกษุอยู่จาพรรษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๓ ท่วี ดั และทีซ่ ง่ึ ขึ้นต่อวัด มดี ังนี้ (๑) ทวี่ ัด คอื ทซ่ี ่ึงตง้ั วดั ตลอดจนเขตของวดั นั้น๑๙ มาตรา ๓๑ แกไ้ ขโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๐ มาตรา ๓๒ ทวิ เพ่ิมเติมโดย พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๙ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

(๒) ทธ่ี รณสี งฆ์ คือท่ซี ึ่งเป็นสมบัติของวัด (๓) ท่กี ลั ปนา คือท่ีซึ่งมีผู้อทุ ิศแต่ผลประโยชนใ์ ห้วดั หรอื พระศาสนา มาตรา ๓๔๒๑ การโอนกรรมสิทธ์ทิ ี่วดั ที่ธรณสี งฆ์ หรอื ท่ีศาสนสมบัตกิ ลาง ให้กระทาได้ก็แต่โดยพระราชบญั ญตั ิ เว้นแตเ่ ป็นกรณีตามวรรคสอง การโอนกรรมสิทธิ์ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ให้แก่ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ เม่ือมหาเถรสมาคมไม่ขัดข้องและได้รับค่าผาติกรรมจากส่วนราชการรฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานนัน้ แลว้ ใหก้ ระทาโดยพระราชกฤษฎกี า หา้ มมใิ หบ้ ุคคลใดยกอายุความขึ้นตอ่ สู้กบั วดั หรอื สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ แลว้ แต่กรณใี นเร่ืองทรัพยส์ ินอนั เปน็ ท่ีวัด ที่ธรณีสงฆ์ หรอื ท่ีศาสนสมบตั กิ ลาง มาตรา ๓๕๒๒ ท่ีวัด ท่ีธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง เป็นทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรบั ผิดชอบแห่งการบังคบั คดี มาตรา ๓๖ วัดหน่ึงให้มีเจ้าอาวาสรูปหน่ึง และถ้าเป็นการสมควรจะให้มีรองเจ้าอาวาสหรอื ผชู้ ่วยเจา้ อาวาสดว้ ยก็ได้ มาตรา ๓๗ เจ้าอาวาสมหี นา้ ที่ ดังนี้ (๑) บารงุ รักษาวดั จดั กิจการและศาสนสมบตั ขิ องวดั ให้เปน็ ไปดว้ ยดี (๒) ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท่ีมีที่อยู่หรือพานักอาศัยอยใู่ นวัดน้นั ปฏิบัตติ ามพระธรรมวนิ ยั กฎมหาเถรสมาคม ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ หรือคาส่ังของมหาเถรสมาคม (๓) เป็นธุระในการศึกษาอบรมและส่ังสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ (๔) ใหค้ วามสะดวกตามสมควรในการบาเพ็ญกศุ ล มาตรา ๓๘ เจ้าอาวาสมีอานาจ ดงั นี้ (๑) หา้ มบรรพชติ และคฤหัสถ์ซึง่ มไิ ด้รับอนุญาตของเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่อาศัยในวดั (๒) สั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ซึ่งไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสออกไปเสียจากวดั (๓) สงั่ ใหบ้ รรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีที่อยู่หรือพานักอาศัยในวัด ทางานภายในวัดหรือให้ทาทัณฑ์บนหรือให้ขอขมาโทษ ในเม่ือบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ในวัดน้ันประพฤติผิดคาสั่งเจ้าอาวาสซ่ึงได้สั่งโดยชอบด้วยพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับระเบียบหรือคาส่ังของมหาเถรสมาคม๒๑ มาตรา ๓๔ แก้ไขโดย พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๒ มาตรา ๓๕ แก้ไขโดย พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๑๐ ค่มู อื พระสังฆาธิการ

มาตรา ๓๙ ในกรณีท่ีไม่มีเจ้าอาวาสหรือเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้แต่งตั้งผรู้ ักษาการแทนเจ้าอาวาส ใหผ้ รู้ ักษาการแทนเจ้าอาวาสมีอานาจและหน้าที่เชน่ เดยี วกบั เจ้าอาวาส การแต่งต้ังผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม หมวด ๖ ศาสนสมบตั ิ มาตรา ๔๐ ศาสนสมบตั แิ บ่งออกเปน็ สองประเภท (๑) ศาสนสมบตั กิ ลาง ไดแ้ ก่ ทรัพยส์ ินของพระศาสนา ซงึ่ มิใชข่ องวดั ใดวัดหนึง่ (๒) ศาสนสมบตั ิของวัด ได้แก่ ทรพั ยส์ ินของวัดใดวัดหนงึ่ การดูแลรักษาและการจัดการศาสนสมบัติกลาง ให้เป็นอานาจหน้าท่ีของสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพ่ือการนี้ให้ถือว่าสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นเจ้าของศาสนสมบัตกิ ลางน้ันดว้ ย การดูแลรกั ษาและจัดการศาสนสมบัตขิ องวัด ให้เป็นไปตามวธิ กี ารทีก่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๑ ให้สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ จัดทางบประมาณประจาปีของศาสนสมบัตกิ ลาง ดว้ ยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม และเม่ือได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใชง้ บประมาณนั้นได้ หมวด ๗ บทกาหนดโทษ มาตรา ๔๒๒๓ ผู้ใดมิได้รับแต่งต้ังให้เป็นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็นพระอุปัชฌาย์ตามมาตรา ๒๓ แล้ว กระทาการบรรพชาอุปสมบทแก่บุคคลอื่น ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ หนึ่งปี มาตรา ๔๓๒๔ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๕ จัตวา วรรคสอง มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ วรรคสามหรอื มาตรา ๒๘ ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ หน่ึงปี มาตรา ๔๔๒๕ ผู้ใดพ้นจากความเป็นพระภิกษุเพราะต้องปาราชิกมาแล้ว ไม่ว่าจะมีคาวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ หรือไม่ก็ตาม แต่มารับบรรพชาอุปสมบทใหม่โดยกล่าวความเท็จหรือปิดบังความจรงิ ต่อพระอุปชั ฌาย์ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนงึ่ ปี๒๓ มาตรา ๔๒ แก้ไขโดย พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๔ มาตรา ๔๓ แก้ไขโดย พระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๕ มาตรา ๔๔ แก้ไขโดย พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๑๑ คูม่ อื พระสังฆาธกิ าร

มาตรา ๔๔ ทวิ๒๖ ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย สมเด็จพระสังฆราชตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ หนงึ่ ปี หรือปรบั ไม่เกินสองหมนื่ บาท หรือทง้ั จาทัง้ ปรบั มาตรา ๔๔๒๗ ตรี ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อ่ืนอันอาจก่อให้เกิดความเส่ือมเสียหรือความแตกแยก ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หน่ึงปี หรือปรับไมเ่ กินสองหม่ืนบาท หรอื ทงั้ จาทง้ั ปรับ หมวด ๘ เบด็ เตลด็ มาตรา ๔๕ ให้ถือว่าพระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และไวยาวัจกร เปน็ เจ้าพนกั งานตามความในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๔๖๒๘ การปกครองคณะสงฆ์อ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ส. ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีหมายเหตุ.- เหตผุ ลในการประกาศใชพ้ ระราชบัญญัตฉิ บบั น้ี คือ โดยท่ีการจดั ดาเนินกจิ การคณะสงฆ์ มิใช่เป็นกิจการอันพึงแบง่ แยกอานาจดาเนินการด้วยวัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ การถว่ งดุลแห่งอานาจเช่นที่เป็นอยู่ตามกฎหมายในปัจจุบัน และโดยท่ีระบบเช่นว่านั้นเป็นผลบั่นทอนประสิทธิภาพแห่งการดาเนินกิจการ จึงสมควรแก้ไขปรับปรุงเสียใหม่ให้สมเด็จ-พระสังฆราชองค์สกลมหาสังฆปริณายกทรงบัญชาการคณะสงฆ์ทางมหาเถรสมาคม ตามอานาจกฎหมายและพระธรรมวนิ ยั ทั้งนี้ เพอ่ื ความเจรญิ รงุ่ เรอื งแหง่ พระพุทธศาสนา๒๖ มาตรา ๔๔ ทวิ เพมิ่ เตมิ โดย พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๗ มาตรา ๔๔ ตรี เพมิ่ เติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๘ มาตรา ๔๖ แก้ไขโดย พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ๑๒ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

พระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕๒๙ มาตรา ๑๘ บรรดากฎกระทรวง กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาส่ังของมหาเถรสมาคมทอี่ อกตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแยง้ กับพระราชบัญญตั ินี้ มาตรา ๑๙ วัดท่ีมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ให้มีฐานะเปน็ นิติบคุ คลตามพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึง่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิน้ี มาตรา ๒๐ ให้พระภิกษุที่ได้รับแต่งต้ังและสถาปนาให้มีสมณศักด์ิอยู่ก่อนวันใช้พระราชบัญญัติน้ียังมสี มณศักดิน์ น้ั ต่อไป ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่ กรรมการหรืออนุกรรมการใดตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ หรือตามกฎกระทรวง กฎมหาเถรสมาคมข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งของมหาเถรสมาคมซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ ยังคงดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนครบวาระการดารงตาแหน่งหรือจนกว่ามหาเถรสมาคมจะมมี ตเิ ป็นประการอ่นื มาตรา ๒๑ ใหน้ ายกรฐั มนตรี * รักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ีหมายเหตุ :- เหตุผลในการประการใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่พระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว สมควรปรับปรุงบทบัญญัติว่าด้วยการสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช และการแต่งตั้งผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนสมเด็จพระสังฆราช การแต่งต้ังและถอดถอนสมณศักด์ิของพระภิกษุอานาจหน้าที่และการปฏิบัติหน้าท่ีของมหาเถรสมาคม การปกครองการสละสมณเพศของคณะสงฆ์และคณะสงฆ์อ่ืน วัด การดูแลรักษาวัด ทรัพย์สินของวัด และศาสนสมบัติกลาง ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้* พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้าท่ีของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั ิปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕๓๐ มาตรา ๔๒ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ให้แก้ไขคาว่า กระทรวงศึกษาธิการ”และ “กรมการศาสนา” เป็น “สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ” คาว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวง-ศกึ ษาธกิ าร” เป็น “นายกรัฐมนตรี” และคาวา่ “อธบิ ดีกรมการศาสนา” เป็น “ผู้อานวยการสานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ”๒๙ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๐๙/ตอนที่ ๑๖/หน้า ๕/๔ มีนาคม ๒๕๓๕๓๐ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๑๙/ตอนท่ี ๑๐๒ ก/หนา้ ๖๖/๘ ตุลาคม ๒๕๔๕ ๑๓ คูม่ อื พระสังฆาธกิ าร

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดต้ังส่วนราชการข้ึนใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอานาจหน้าท่ีของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเน่ืองจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติใหโ้ อนอานาจหน้าทข่ี องส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดารงตาแหน่งหรอื ผูซ้ ่งึ ปฏิบัติหน้าทีใ่ นส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าท่ีท่ีโอนไปด้วย ฉะน้ัน เพื่ออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการท่ีปรากฏในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพ่ือให้ผู้เกี่ยวข้องมคี วามชัดเจนในการใชก้ ฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายน้ันไปเป็นของหน่ วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปลี่ยนช่ือส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจท่ีมีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นข องส่วนราชการใหม่รวมท้งั ตัดส่วนราชการเดมิ ทีม่ กี ารยบุ เลกิ แล้ว ซงึ่ เปน็ การแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎกี าดงั กล่าว จงึ จาเป็นตอ้ งตราพระราชกฤษฎีกาน้ีพระราชกาหนดแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ พ.ศ. ๒๕๔๗๓๑หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกาหนดฉบับน้ี คือ เนื่องจากการแต่งต้ังผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสมเดจ็ พระสงั ฆราชในกรณีไม่มีสมเด็จพระสังฆราช หรือสมเด็จพระสังฆราชไม่ประทับอยู่ ในราชอาณาจักรหรือไม่อาจทรงปฏิบัติหน้าท่ีได้ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ได้กาหนดให้แต่งต้ัง หรือเลือกสมเด็จพระราชาคณะเพียงรูปเดียว ซ่ึงปรากฏเป็นเหตุขัดข้องจนเกิดความไม่สงบเรียบร้อยในการปกครองคณะสงฆแ์ ละวงการพุทธศาสนิกชนและอาจถึงขน้ั นาไปสคู่ วามไมป่ ลอดภยั สาธารณะ ซ่ึงอาจจะเกิดข้ึนได้จากความแตกแยกไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในหมู่คณะสงฆ์ จึงสมควรกาหนดให้มีผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชในรูปองค์คณะ ซื่งแต่งต้ังจากสมเด็จพระราชาคณะหลายรูปเพ่ือใช้อานาจร่วมกันในการบัญชาคณะสงฆ์ เพ่ือความสงบเรียบร้อยยิ่งขึ้นและสร้างสมานฉันท์เพิ่มข้ึนอีกวิธีการหนึ่ง และโดยท่ีขณะน้ีสมเด็จพระสังฆราชมีพระชนมายุสูง อีกท้ังอยู่ระหว่างประทับเพื่อรักษาพระสุขภาพคณะแพทย์เห็นว่าควรประทับรักษาพระองค์และอยู่ในความดูแลของคณะแพทย์จาเป็นต้องมีผู้ปฏิบัติหน้าท่ีหรือคณะผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสมเด็จพระสังฆราชโดยเร่งด่วน จึงสมควรแก้ไขเหตุขัดข้องเพื่อให้มีความสงบเรียบร้อยในประเทศข้ึนโดยเร็ว นับเป็นกรณีฉุกเฉินท่ีมีความจาเป็นรีบด่วนอันมิอาจจะหลกี เล่ยี งได้ จึงจาเป็นตอ้ นตราพระราชกาหนดนี้๓๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๑/ตอนพิเศษ ๓๔ ก/หนา้ ๑/๑๗ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ๑๔ คูม่ ือพระสังฆาธกิ าร

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ๓๒ ------------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปนี้ หมวด ๑ การสรา้ งวดั ข้อ ๑ บุคคลใดประสงค์จะสร้างวัด ให้ยื่นคาขออนุญาต ต่อนายอาเภอท้องที่ที่จะสร้างวัดนั้นพรอ้ มด้วยรายการและเอกสาร ดังตอ่ ไปนี้ (๑) หนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองที่ดิน ท่ีจะยกให้สร้างวัดและทดี่ ินน้นั ตอ้ งมเี นอ้ื ทไี่ ม่นอ้ ยกวา่ ๖ ไร่ (๒) หนังสือสัญญา ซ่ึงเจ้าของกรรมสิทธ์ิที่ดิน หรือผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามกฎหมายทากับนายอาเภอ และเจ้าพนักงานที่ดินอาเภอ แสดงความจานงจะให้ท่ีดินดังกล่าวใน (๑)เพอ่ื สร้างวดั (๓) จานวนเงินและสัมภาระท่ีจะใช้ในการสร้างวัดในระยะเริ่มแรก ต้องมีราคารวมกันไมน่ อ้ ยกว่าหา้ หมน่ื บาท (๔) แผนทแี่ สดงเขตที่ต้ังวัด ประกอบด้วยเขตติดต่อข้างเคียง และระยะทางระหว่างวัดท่ีจะสร้างขึ้นกับวัดอ่ืนโดยรอบ และให้แสดงแผนผังสิ่งก่อสร้างของวัดตามความเหมาะสมของสภาพทดี่ ิน โดยอาศยั แผนผงั แบบ ก. แบบ ข. หรอื แบบ ค. ท้ายกฎกระทรวงน้ีเปน็ หลักเท่าท่ีจะทาได้ (๕) กาหนดเวลาที่จะสร้างวดั ให้แล้วเสร็จตามแผนผังน้ัน๓๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๒ ตอนท่ี ๑๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๐๘ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๕๓ ตอนท่ี ๕ : ๑๐ เมษายน ๒๕๐๘ ๑๕ คมู่ ือพระสังฆาธกิ าร

ข้อ ๒ วดั ท่จี ะสร้างขึ้น ต้องประกอบดว้ ยหลกั เกณฑ์ดงั นี้ (๑) สมควรเป็นท่พี านักของพระภิกษุสงฆ์ (๒) เป็นประโยชน์แก่ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ในรัศมี ๒ กิโลเมตร โดยเฉลี่ยวดั ละไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๐๐๐ คน เว้นแต่จะมเี หตจุ าเป็น (๓) มีเหตุผลทเ่ี ชอื่ ได้วา่ เม่ือต้ังขึน้ แล้วจะได้รับการบารงุ สง่ เสริมจากประชาชน (๔) ตั้งอย่หู ่างจากวัดอน่ื ไม่น้อยกว่า ๒ กโิ ลเมตร เวน้ แตจ่ ะมีเหตุจาเป็น ข้อ ๓ เม่ือนายอาเภอได้รับคาขออนุญาตสร้างวัดและพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้นาปรึกษาเจา้ คณะอาเภอ แลว้ เสนอเรอ่ื งและความเห็นไปยงั ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้นาปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดแล้วส่งเรื่องและความเห็นไปยงั กรมการศาสนา ในการพิจารณาคาขออนุญาตสร้างวัด กรมการศาสนาอาจสั่งให้ผู้ขออนุญาตเปลี่ยนแปลงแกไ้ ขแผนผงั หรือระงบั เรื่องการขออนญุ าตสรา้ งวัดไดต้ ามทเ่ี ห็นสมควร เม่ือกรมการศาสนาพิจารณาเห็นสมควรให้สร้างวัดได้แล้ว ให้รายงานกระทรวงศึกษาธิการเพอ่ื ขอรับความเห็นชอบ แลว้ นาเสนอมหาเถรสมาคม เมื่อมหาเถรสมาคมพิจารณาเห็นชอบด้วยแล้ว ให้กรมการศาสนาออกหนังสืออนุญาตใหส้ รา้ งวัด หมวด ๒ การต้งั วัด ข้อ ๔ เมื่อได้สร้างเสนาสนะขึ้นเป็นหลักฐาน พร้อมที่จะเป็นที่พานักของพระภิกษุสงฆ์ได้แล้วให้ผู้ได้รับอนุญาตสร้างวัด ทายาท หรือผู้แทน เสนอรายงานการก่อสร้าง และจานวนพระภิกษุที่จะอยปู่ ระจาไมน่ ้อยกวา่ ส่รี ูป พรอ้ มทง้ั เสนอนามวดั นามพระภิกษุผู้สมควรเป็นเจ้าอาวาสเพ่ือขอต้ังเป็นวัดต่อนายอาเภอ ให้นาความในข้อ ๓ วรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสี่ มาใช้บังคับแก่การพิจารณาการปรึกษา และการรายงานการขอตง้ั วัด โดยอนุโลม เมื่อมหาเถรสมาคมพิจารณาเห็นชอบด้วยแล้ว กระทรวงศึกษาธิการจะได้ประกาศต้ังวัดในราชกิจจานุเบกษา ตามแบบ ว. ๑ ท้ายกฎกระทรวงน้ี ข้อ ๕ เมื่อได้ประกาศตั้งเป็นวัดแล้ว ให้ผู้ได้รับอนุญาตสร้างวัด ทายาทหรือผู้แทนดาเนินการโอนท่ีดินและส่ิงปลูกสร้างให้แก่วัดนั้นตามกฎหมาย และให้เจ้าอาวาสบันทึกประวัติของวัดนั้นไว้เป็นหลกั ฐาน ๑๖ ค่มู ือพระสงั ฆาธิการ

หมวด ๓ การรวมวดั ข้อ ๖ เมื่อเจ้าคณะอาเภอและนายอาเภอเห็นสมควรที่จะรวมวัดตั้งแต่สองวัดซ่ึงอยู่ใกลช้ ิดกันเป็นวัดเดยี ว เพอ่ื ประโยชน์แก่การบารุงวัดให้เจริญยิ่งขึ้น หรือเพ่ือประโยชน์แก่การปกครองคณะสงฆ์ ให้รายงานตอ่ เจา้ คณะจงั หวัด เมื่อเจ้าคณะจังหวัดพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้นาปรึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วเสนอเรอ่ื งและความเหน็ ไปยังเจ้าคณะภาค เม่ือเจา้ คณะภาคพิจารณาเห็นสมควรแลว้ ให้สง่ เร่ืองและความเห็นไปยงั กรมการศาสนา เมื่อกรมการศาสนาพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้รายงานกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือขอรับความเห็นชอบ แล้วนาเสนอมหาเถรสมาคม เมื่อมหาเถรสมาคมพิจารณาเห็นชอบด้วยแล้ว กระทรวงศึกษาธิการจะได้ประกาศรวมวดั ในราชกจิ จานเุ บกษา ตามแบบ ว. ๒ ท้ายกฎกระทรวงนี้ หมวด ๔ การยา้ ยวัด ข้อ ๗ วัดใดมีเหตุจาเป็นต้องย้ายไปต้ังในที่อ่ืน เพราะสถานท่ีตั้งอยู่เดิม เปล่ียนแปลงไปในทางไม่เหมาะสมที่จะเป็นท่ีพานักของพระภิกษุสงฆ์ ให้เจ้าอาวาสแห่งวัดน้ันรายงานไปยังเจา้ คณะตาบลและเจา้ คณะอาเภอ เมื่อเจ้าคณะตาบลและเจ้าคณะอาเภอพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้ปรึกษานายอาเภอแล้วเสนอเรื่องและความเห็นไปยังเจ้าคณะจังหวัด และให้นาความในข้อ ๖ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคบั แกก่ ารพจิ ารณา การปรึกษา และการรายงานการขอย้ายวดั โดยอนโุ ลม เมื่อมหาเถรสมาคมพิจารณาเห็นชอบด้วยแล้ว กระทรวงศึกษาธิการจะได้ประกาศยา้ ยวดั ในราชกจิ จานุเบกษาตามแบบ ว. ๓ ท้ายกฎกระทรวงนี้ ข้อ ๘ การจัดหาที่ดินต้ังวัด การย้ายทรัพย์สินของวัดและการก่อสร้างวัดใหม่ให้เป็นหน้าท่ีของผขู้ อยา้ ยวัด และใหอ้ ย่ภู ายใต้บงั คับแห่งขอ้ ๑ และขอ้ ๒ ของกฎกระทรวงนี้ โดยอนโุ ลม หมวด ๕ การยุบเลกิ วดั ข้อ ๙ วัดใดมีเหตุอันควรยุบเลิก เพราะสภาพเสื่อมโทรม หรือมีเหตุอ่ืนอันไม่สมควรจะเป็นวัดต่อไป เมื่อเจ้าคณะอาเภอและนายอาเภอพิจารณาเห็นสมควรยุบเลิกวัดน้ัน ให้รายงานเจ้าคณะจงั หวัด พรอ้ มดว้ ยบญั ชรี ายละเอียดทรัพย์สินของวดั ทจ่ี ะยุบเลิกนนั้ ๑๗ คู่มือพระสังฆาธิการ

ให้นาความในข้อ ๖ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี มาใช้บังคับแก่การพิจารณาการปรกึ ษา และการรายงานขอยุบเลกิ วดั โดยอนโุ ลม เม่ือมหาเถรสมาคมพิจารณาเหน็ ชอบด้วยแล้ว กระทรวงศกึ ษาธิการจะได้ประกาศยุบเลิกวัดในราชกจิ จานุเบกษาตามแบบ ว. ๔ ท้ายกฎกระทรวงน้ี ขอ้ ๑๐ วัดใดร้างพระภิกษุไม่อาศัย เมื่อกรมการศาสนาเห็นสมควรยุบเลิกวัดน้ันให้รายงานกระทรวงศึกษาธิการเพื่อขอรับความเห็นชอบ แล้วนาเสนอมหาเถรสมาคมและให้นาความในขอ้ ๙ วรรคสาม มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม หมวด ๖ การขอรบั พระราชทานวสิ ุงคามสีมา ข้อ ๑๑ วัดท่ีสมควรได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ต้องปรากฏว่าได้สร้างขึ้นหรือได้ปฏิสังขรณ์เป็นหลักฐานถาวร และมีพระภิกษุอยู่ประจาไม่น้อยกว่าห้ารูปติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีแต่ระยะเวลาห้าปีมิให้ใช้บังคับแก่วัดที่สร้างอุโบสถเสร็จเรียบร้อยแล้ว และกระทรวงศกึ ษาธิการเหน็ สมควรขอรบั พระราชทานวิสงุ คามสมี า ให้เจ้าอาวาสแห่งวัดน้ัน เสนอรายงานขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมาต่อเจ้าคณะตาบลและเจ้าคณะอาเภอ เมื่อเจ้าคณะตาบลและเจ้าคณะอาเภอพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้นาปรึกษานายอาเภอแล้วเสนอเร่ืองและความเห็นไปยังเจ้าคณะจังหวัด และให้นาความในข้อ ๖ วรรคสอง และวรรคสามมาใชบ้ งั คับแก่การพิจารณาและการปรกึ ษาการขอรับพระราชทานวสิ งุ คามสีมาโดยอนุโลม เม่ือกรมการศาสนาพิจารณาเห็นสมควรแล้ว ให้กราบทูลสมเด็จพระสังฆราชเพ่ือทรงอนุมัติแล้วเสนอกระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่ือนาความกราบบงั คมทลู ขอรับพระราชทานวสิ งุ คามสมี าต่อไป ขอ้ ๑๒ เมื่อพระราชทานวิสุงคามสีมาแก่วัดใดแล้ว ให้นายอาเภอท้องท่ีที่วัดน้ันต้ังอยู่ดาเนินการปักหมายเขตทดี่ นิ ตามที่ไดพ้ ระราชทานตอ่ ไป ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๐๗ ปิ่น มาลากลุ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการหมายเหต:ุ - เหตผุ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงน้ี คือ เพื่อให้เป็นไปตามความในมาตรา แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซ่ึงกาหนดไว้ว่า การสร้าง การต้ัง การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทานวิสุงคามสมี า ใหเ้ ป็นไปตามวิธีการทก่ี าหนดไว้ในกฎกระทรวง ๑๘ คมู่ อื พระสังฆาธิการ

กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๑) ออกตามความในพระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕๓๓ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ การได้ทรัพย์สินมาเป็นศาสนสมบัติของวัด ให้ลงทะเบียนทรัพย์สินของวัดไว้เป็นหลักฐาน และเม่ือต้องจาหน่ายทรัพย์สินน้ันไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้จาหน่ายออกจากทะเบียนนั้นโดยระบุเหตุแห่งการจาหน่ายไว้ด้วย การได้มาซึ่งท่ีดินหรือสิทธิอันเก่ียวกับที่ดิน เมื่อได้จดทะเบียนการได้ตามกฎหมายแล้วสาหรับวัดในเขตจังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี ให้ส่งหลักฐานการได้มาไปเก็บรักษาไว้ที่กรมการศาสนา สาหรับวดั ในเขตจงั หวัดนน้ั ให้ส่งไปเก็บรักษาไว้ ณ ทที่ าการศกึ ษาธิการจังหวดั นนั้ ข้อ ๒ การกันท่ีดินซ่ึงเป็นที่วัดให้เป็นที่จัดประโยชน์จะกระทาได้ก็ต่อเมื่อกรมการศาสนาเหน็ ชอบ และไดร้ ับอนุมัตจิ ากมหาเถรสมาคม ข้อ ๓ การให้เช่าท่ีดินหรืออาคาร ให้เจ้าอาวาสจัดให้ไวยาวัจกร หรือผู้จัดประโยชน์ของวัดซ่ึงเจ้าอาวาสแต่งต้ัง ทาทะเบียนทรัพย์สินท่ีจัดประโยชน์ ทะเบียนผู้เช่าหรือผู้อาศัยไว้ให้ถูกต้อง และให้เก็บรักษาทะเบียน และหนังสือสัญญาเช่าไว้เป็นหลักฐานที่วัดหรือจะฝากกรมการศาสนาใหเ้ กบ็ รักษาไว้กไ็ ด้ ขอ้ ๔ การให้เช่าที่ธรณีสงฆ์ท่ีกัลปนาหรือที่วัดที่กันไว้เป็นที่จัดประโยชน์ท่ีมีกาหนดระยะเวลาการเชา่ เกินสามปี จะกระทาได้กต็ อ่ เม่อื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากกรมการศาสนา ขอ้ ๕ การเก็บรักษาเงินของวัดในส่วนที่เกินสามพันบาทข้ึนไปให้เก็บรักษา โดยฝากกรมการศาสนา จังหวัด อาเภอ หรือธนาคาร หรือนิติบุคคลท่ีกรมการศาสนาให้ความเห็นชอบท้งั นใ้ี ห้ฝากในนามของวัด การดแู ลรักษาและจัดการเงินการกุศลที่มีผู้บรจิ าค ให้เป็นไปตามความประสงคข์ องผู้บริจาค๓๓ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๘๕ ตอนท่ี ๙๘ วันที่ ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๕๑ ประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม ๕๖ ตอนที่ ๑๓ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๑ ๑๙ คมู่ ือพระสงั ฆาธิการ

ขอ้ ๖ ให้เจ้าอาวาสจัดให้ไวยาวัจกร หรือผู้จัดประโยชน์ของวัดซึ่งเจ้าอาวาสแต่งต้ังทาบัญชีรับจ่ายเงินของวัด และเม่ือส้ินปีปฏิทินให้ทาบัญชีเงินรับจ่ายและคงเหลือ ท้ังนี้ให้เจ้าอาวาสตรวจตราดแู ลให้เปน็ ไปโดยเรยี บรอ้ ยและถกู ต้อง ข้อ ๗ ในกรณีที่วัด เจ้าอาวาส ไวยาวัจกร หรือผู้จัดประโยชน์ของวัดถูกฟ้อง หรือถูกหมายเรียกเข้าเป็นโจทก์ร่วมหรือจาเลยร่วมในเร่ืองท่ีเก่ียวกับการดูแลรักษา และจัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เจ้าอาวาสแจ้งต่อกรมการศาสนา หรือศึกษาธิการจังหวัด ท่ีวัดต้ังอยู่ทราบไม่ช้ากว่าห้าวันนบั แตว่ ันรับหมาย ข้อ ๘ ให้กรมการศาสนากาหนดแบบทะเบียน บัญชี แบบสัญญา และแบบพิมพ์อื่น ๆและให้คาแนะนาการปฏิบัติแก่วัดเก่ียวกับการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติของวัด ท้ังน้ีเพื่อให้เป็นไปตามกฎกระทรวงน้ี ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๑ หม่อมหลวงปิน่ มาลากลุ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารหมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือโดยท่ีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ระบุให้การดูแลรักษาจัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง จึงต้องออกกฎกระทรวง เพื่อกาหนดวิธีการปฏิบัตแิ ละเพ่อื ใหก้ ารจัดการศาสนสมบตั ขิ องวัด ไดเ้ ปน็ ไปโดยเรยี บรอ้ ย ๒๐ คู่มอื พระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑)๓๔ ว่าด้วยการลงนคิ หกรรม --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้ เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑)วา่ ดว้ ยการลงนิคหกรรม” ขอ้ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์เป็นตน้ ไป ข้อ ๓ นับแต่วันใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิก ข้อ ๓ (๗) ข. แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๐๖) กาหนดอานาจหน้าท่ีตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ และให้ยกเลิกกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๐๖) ว่าด้วยการลงนิคหกรรมแก่พระภิกษุ และให้ยกเลิกข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาส่ังอื่นเก่ียวกับคณะสงฆ์ในส่วนท่ีบัญญัติไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรือซง่ึ ขัดหรือแย้งกับบทบญั ญตั ิแห่งกฎมหาเถรสมาคมนี้ ลกั ษณะ ๑ บทนยิ าม ขอ้ ๔ ในกฎมหาเถรสมาคมน้ี (๑) “พระภิกษุ” หมายถงึ ก. พระภิกษุซ่ึงมิใช่ผู้ปกครองสงฆ์ รวมถึงพระภิกษุซ่ึงดารงสมณศักด์ิต่ากว่าชนั้ พระราชาคณะ และ๓๔ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๖๖ ตอนพิเศษ วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๒๑ ๒๑ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

ข. พระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ รวมถึงพระภิกษุผู้เป็นกิตติมศักด์ิผู้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะ ผู้ดารงตาแหน่งเทียบพระสังฆาธิการ และผู้ดารงสมณศักด์ิชั้นพระราชาคณะขึน้ ไป (๒)“ความผดิ ” หมายถึง การล่วงละเมิดพระธรรมวนิ ยั (๓) “นิคหกรรม” หมายถงึ การลงโทษตามพระธรรมวินัย (๔) “ผู้มีส่วนได้เสีย” หมายถึง พระภิกษุปกตัตตะ ซ่ึงมีสังกัดในวัดเดียวกัน และมีสงั วาสเสมอกนั กบั พระภกิ ษผุ ้เู ปน็ จาเลย (๕) “ผู้เสียหาย” หมายถึง ผู้ได้รับความเสียหายเฉพาะตัว เนื่องจากกระทาความผิดของพระภกิ ษุผ้เู ป็นจาเลย และหมายความรวมถงึ ผู้จัดการแทนผเู้ สียหายในกรณีดงั ต่อไปน้ี ก. ผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาลตามกฎหมาย หรือตามท่ีพระภิกษุผู้มีอานาจลงนิคหกรรมพิจารณาเห็นสมควรให้เป็นผู้จัดการแทนผู้เสียหายเฉพาะแต่ในความผิดซึ่งได้กระทาตอ่ ผเู้ ยาว์หรอื ผูไ้ รค้ วามสามารถ ซงึ่ อยู่ในความดแู ล ข. ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน สามีหรือภริยา พ่ีน้องร่วมบิดามารดาหรือต่างบิดาหรือต่างมารดา เฉพาะแต่ในความผิดซึ่งผู้เสียหายตายก่อน หรือหลังฟ้อง หรือป่วยเจ็บไมส่ ามารถจะจัดการเองได้ ค. ผูจ้ ัดการหรือผแู้ ทนอืน่ ๆ ของนติ ิบุคคล เฉพาะความผิดซง่ึ กระทาแกน่ ิติบุคคล (๖) “โจทก”์ หมายถึง ก. ผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย หรอื ผเู้ สยี หายซงึ่ ฟ้องพระภิกษุตอ่ พระภิกษุผู้พิจารณาในข้อหาว่าไดก้ ระทาความผิด หรือ ข. พระภิกษุซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่โจทก์แทนสงฆ์ ในช้ันพิจารณาวินิจฉัยการลงนคิ หกรรมเกย่ี วกับความผิดของพระภกิ ษุผถู้ ูกกล่าวหา (๗) “จาเลย” หมายถงึ ก. พระภิกษุซ่ึงถูกโจทก์ฟ้องต่อพระภิกษุผู้พิจารณา ในข้อหาว่าได้กระทาความผิดหรอื ข. พระภิกษุผู้ถกู กล่าวหาซง่ึ ตกเปน็ จาเลยในชนั้ พจิ ารณาวนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรม (๘) “ผู้กล่าวหา” หมายถึง ผู้บอกกล่าวการกระทาความผิดของพระภิกษุ ต่อพระภิกษุผู้พิจารณา โดยท่ีตนมิได้เป็นผู้มีส่วนได้เสีย หรือมิได้เป็นผู้เสียหายและประกอบด้วยคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนงึ่ ดงั ต่อไปน้ี ก. เป็นพระภิกษุปกตัตตะหรือสามเณร ซึ่งถึงพร้อมด้วยศีลและอาจาระ และมีสังกัดอยู่ในวัดใดวดั หน่ึง ข. เป็นคฤหัสถ์ผู้นับถือพระพุทธศาสนา ซึ่งมีอายุไม่ต่ากว่า ๒๐ ปีบริบูรณ์ มีความประพฤติเรยี บรอ้ ย มีวาจาเปน็ ที่เชือ่ ถอื ได้ และมีอาชีพเป็นหลกั ฐาน ๒๒ คูม่ อื พระสังฆาธกิ าร

(๙) “ผู้แจ้งความผิด” หมายถึง พระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ ซ่ึงไม่มีอานาจลงนิคหกรรมแจ้งการกระทาความผิด หรือประพฤติการณ์อันเป็นท่ีน่ารังเกียจสงสัยในความผิดของพระภิกษุซ่ึงได้พบเหน็ ต่อพระภิกษุผพู้ จิ ารณา (๑๐) “ผู้ถกู กลา่ ว” หมายถึง ก. พระภิกษุซ่ึงถูกผูก้ ล่าวหาบอกกลา่ วการกระทาความผิดต่อพระภิกษผุ พู้ ิจารณา ข. พระภิกษุซึ่งถูกแจ้งความผิด แจ้งการกระทาความผิด หรือพฤติการณ์อนั เปน็ ทนี่ ่ารังเกยี จสงสัย ในความผิดตอ่ พระภกิ ษุผูพ้ จิ ารณา (๑๑) “ผมู้ อี านาจลงนคิ หกรรม” หมายถึง พระภกิ ษุผู้พิจารณาและคณะผู้พจิ ารณา (๑๒) “เจ้าสงั กดั ” หมายถึง พระภิกษุผ้ปู กครองสงฆ์ชัน้ เจา้ อาวาส เจา้ คณะ เจา้ สงั กดัซ่งึ มีอานาจลงนิคหกรรมแก่พระภกิ ษุผู้กระทาความผิดในเขตจังหวดั ทส่ี งั กดั อยู่ (๑๓) “เจ้าของเขต” หมายถึง พระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ชั้นเจ้าคณะซ่ึงเป็นเจ้าของเขตซ่งึ มีอานาจลงนคิ หกรรมแก่พระภิกษุผู้กระทาความผิดในเขตจังหวดั ที่มิได้สงั กัดอยู่ (๑๔) “ผู้พิจารณา” หมายถึง เจ้าสังกัดหรือเจ้าของเขตแล้วแต่กรณี ซ่ึงมีอานาจหน้าท่ีดาเนินการตามวธิ ปี ฏบิ ตั เิ บ้ืองตน้ (๑๕) “คณะผู้พิจารณา” หมายถึง มหาเถรสมาคม และคณะผู้พิจารณาซ่ึงมีผู้ดารงตาแหน่งสูงเป็นหัวหน้า มีอานาจหน้าท่ีดาเนินการตามวิธีไต่สวนมูลฟ้องและวิธีพิจารณาวนิ ิจฉยั การลงนคิ หกรรม (๑๖) “คณะผู้พิจารณาช้ันต้น” หมายถึง คณะผู้พิจารณาตามความในข้อ ๒๔ซ่ึงประกอบด้วยอันดับ ๗ อันดับ ตามข้อ ๗ มีอานาจลงนิคหกรรม ตามวิธีไต่สวนมูลฟ้องและวิธพี จิ ารณาวินจิ ฉยั และการลงนิคหกรรมช้นั ต้น (๑๗) “คณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์” หมายถึง คณะผู้พิจารณาตามความในข้อ ๒๕ซ่ึงประกอบด้วยอันดับ ๔ อันดับ มีอานาจลงนิคหกรรมตามวิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นอทุ ธรณ์ (๑๘) “คณะผูพ้ ิจารณาชัน้ ฎีกา” หมายถึง คณะผูพ้ จิ ารณาตามความในขอ้ ๒๖ ซ่ึงเป็นชั้นและอันดับสูงสุด ตามข้อ ๒๗ มีอานาจลงนิคหกรรม ตามวิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชัน้ ฎกี า ลักษณะ ๒ ผู้มีอานาจลงนิคหกรรม ขอ้ ๕ การลงนิคหกรรมเกี่ยวกับความผิดของพระภิกษุซึ่งมิใช่ผู้ปกครองสงฆ์รูปเดียวหรอื หลายรปู ซ่งึ มีสงั กดั ในวัดเดยี วกัน (๑) ถ้าความผิดนั้นเกิดข้ึนในเขตจังหวัดท่ีพระภิกษุนั้นสังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าอาวาสเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลง ๒๓ คมู่ อื พระสังฆาธิการ

นิคหกรรมชั้นต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นต้น ซึ่งประกอบด้วยเจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะตาบลและเจา้ อาวาสเจา้ สงั กดั (๒) ถ้าความผิดน้ันเกิดขึ้นในเขตจังหวัดท่ีพระภิกษุนั้นมิได้สังกัดอยู่ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะตาบลเจ้าของเขตเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นต้นซึ่งประกอบด้วย เจ้าคณะอาเภอรองเจ้าคณะอาเภอ และเจ้าคณะตาบลเจ้าของเขต ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะอาเภอ เลือกเจ้าคณะตาบลในอาเภอนั้นเขา้ รว่ มอกี ๑ รปู เวน้ แตใ่ นกรณีที่อาเภอนน้ั มีตาบลเดยี ว กรณีดังกล่าวในวรรค (๒) ให้ผู้พิจารณาแจ้งเร่ืองท่ีเกิดขึ้นแก่เจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัดเพอ่ื แจ้งแก่เจ้าคณะและเจา้ อาวาสเจา้ สงั กดั ของพระภกิ ษนุ ้ันทราบ ขอ้ ๖ การลงนิคหกรรมเก่ียวกับความผิดของพระภิกษุซึ่งมิใช่ผู้ปกครองสงฆ์ซ่ึงมีสังกัดต่างวดั กระทาความผดิ ร่วมกนั (๑) ถ้าความผิดน้ันเกิดขึ้นในเขตจังหวัดที่พระภิกษุเหล่านั้นสังกัดอยู่ให้เป็นอานาจของเจ้าอาวาสเจ้าสังกัดของพระภิกษุเหล่านั้นร่วมกันเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพจิ ารณาวนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรมช้นั ต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นตน้ ซ่ึงประกอบดว้ ยเจ้าคณะอาเภอ และเจา้ คณะตาบลเจ้าสงั กดั ร่วมกบั เจ้าอาวาสเจา้ สังกดั ของพระภกิ ษุเหล่านั้นรูปใดรปูหนึ่งตามท่ีเจา้ คณะตาบลและเจา้ คณะอาเภอนั้นพจิ ารณาเหน็ สมควร (๒) ถ้าความผิดนั้นเกิดข้ึนในเขตจังหวัดที่พระภิกษุเหล่านั้นมิได้สังกัดอยู่ หรือในเขตจังหวัดที่สังกดั เพยี งบางรูป ให้นาความในข้อ ๕ (๒) และวรรคสดุ ท้ายมาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม ข้อ ๗ การลงนิคหกรรมเก่ียวกับความผิดของพระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ซึ่งดารงตาแหน่งต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ผชู้ ่วยเจ้าอาวาส หรือรองเจ้าอาวาส ให้นาความในข้อ ๕ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม (๒) เจา้ อาวาส หรอื รองเจา้ คณะตาบล ก. ถ้าความผิดนั้นเกิดขึ้นในเขตจังหวัดท่ีสังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะตาบลเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้อง และพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาช้ันต้น ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะอาเภอรองเจ้าคณะอาเภอ และเจ้าคณะตาบลเจ้าสังกัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะอาเภอ ให้เจ้าคณะอาเภอเลือกเจา้ คณะตาบลในอาเภอน้ันเข้ารว่ มอีก ๑ รปู เวน้ แต่ในกรณที ี่อาเภอน้ันมตี าบลเดยี ว ข. ถ้าความผิดนั้นเกิดขึ้นในเขตจังหวัดที่มิได้สังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะตาบลเจ้าของเขตเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาไต่สวนการลงนิคหกรรมชั้นต้น ให้เป็นอานาจของผู้พิจารณาช้ันต้น ซึ่งประกอบด้วยเจ้าคณะอาเภอรองเจ้าคณะอาเภอ และจ้าคณะตาบลเจ้าของเขต ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะอาเภอให้เจ้าคณะอาเภอเลือกเจ้าคณะตาบลในอาเภอนัน้ เข้าร่วมอีก ๑ รปู เวน้ แต่ในอาเภอนนั้ มีตาบลเดยี ว ๒๔ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

(๓) เจ้าคณะตาบล หรอื รองเจ้าคณะอาเภอ ก. ถา้ ความผิดนั้นเกิดข้ึนในเขตจังหวัดท่ีสังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะอาเภอเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาช้ันต้น ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัดและเจ้าคณะอาเภอเจา้ สงั กดั ถ้าไมม่ ีรองเจ้าคณะจังหวัดให้เจ้าคณะจังหวัดเลือกเจ้าคณะอาเภอในจังหวัดนั้นเขา้ รว่ มอกี ๑ รูป ข. ถ้าความผิดน้ันเกิดขึ้นในเขตจังหวัดท่ีมิได้สังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะอาเภอเจ้าของเขตเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นต้น ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะจังหวัดรองเจ้าคณะจังหวัด และเจ้าคณะอาเภอเจ้าของเขต ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะจังหวัดให้เจ้าคณะจังหวัดเลือกเจา้ คณะอาเภอในจงั หวัดนน้ั เขา้ ร่วมอีก ๑ รูป (๔) เจ้าคณะอาเภอ หรือรองเจ้าคณะจังหวดั ก. ถ้าความผิดนั้นเกิดขึ้นในเขตจังหวัดท่ีสังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะจังหวัด เจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาช้ันต้น ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะภาครองเจ้าคณะภาค และเจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะภาคให้เจ้าคณะภาคเลอื กเจา้ คณะจังหวัด ในภาคนั้นเขา้ รว่ มอีก ๑ รูป ข. ถ้าความผิดนั้นเกิดขึ้นในเขตจังหวัดที่มิได้สังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะจังหวัดเจ้าของเขตเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาช้ันต้น ซึ่งประกอบด้วยเจ้าคณะภาครองเจ้าคณะภาค และเจ้าคณะจังหวัดเจ้าของเขต ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะภาคให้เจ้าคณะภาคเลอื กเจา้ คณะจงั หวัดในภาคน้นั เข้ารว่ มอีก ๑ รปู (๕) เจา้ คณะจังหวัด หรือรองเจา้ คณะภาค ก. ถ้าความผิดนั้นเกิดข้ึนในเขตภาคที่สังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะภาคเจ้าสังกัดเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้นให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นต้น ซึ่งประกอบด้วยเจ้าคณะใหญ่ในเขตปกครองคณะสงฆ์เจา้ คณะภาคเจา้ สงั กัด และใหเ้ จา้ คณะใหญเ่ ลือกเจ้าคณะภาคในหนนน้ั เขา้ ร่วมอีก ๑ รูป ข. ถ้าความผิดน้ันเกิดข้ึนในเขตภาคที่มิได้สังกัดอยู่ ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะภาคเจ้าของเขตเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นต้นให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นต้น ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะใหญ่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ เจ้าคณะภาคเจ้าของเขต และให้เจ้าคณะใหญ่เลือกเจ้าคณะภาคในหนนั้นเข้าร่วมอีก ๑ รปู ๒๕ คมู่ ือพระสงั ฆาธกิ าร

(๖) เจ้าคณะภาค ให้เป็นอานาจของเจ้าคณะใหญ่ในเขตปกครองเป็นผู้พิจารณาสว่ นในกรณไี ตส่ วนมลู ฟอ้ งและพิจารณาวนิ จิ ฉัยการลงนคิ หกรรม ใหเ้ ป็นอานาจของมหาเถรสมาคม (๗) เจ้าคณะใหญ่ หรือกรรมการมหาเถรสมาคม ให้เป็นอานาจของสมเด็จพระสังฆราชทรงเป็นผู้พิจารณา ส่วนในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรม ให้เป็นอานาจของมหาเถรสมาคม ตาแหน่งดังกล่าวข้างต้น ให้ถือตาแหน่งในขณะถูกฟ้อง หรือถูกกล่าวหา ถ้าดารงตาแหน่งหลายตาแหน่งใหถ้ ือตาแหนง่ สูงเป็นหลกั ดาเนินการ กรณีดังกล่าวใน (๒) และ (๓) ถ้าผู้พิจารณานั้นมิใช่เจ้าสังกัดของจาเลยหรือผู้ถูกกล่าวหาใหน้ าข้อความในขอ้ ๕ วรรคสุดทา้ ยมาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม ส่วนกรณีดังกล่าวใน (๔) และ (๕) ถ้าผู้พิจารณานั้นมิใช่เจ้าสังกัดของจาเลยหรือผู้ถกู กลา่ วหา ให้แจง้ เรอ่ื งที่เกดิ ขน้ึ แก่เจา้ สงั กดั ซง่ึ ดารงตาแหน่งชน้ั เดยี วกับตนทราบ ขอ้ ๘ การลงนิคหกรรมเก่ียวกับความผิดของพระภิกษุผู้เป็นกิตติมศักดิ์ก็ดีผู้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะก็ดี ผู้ดารงตาแหน่งเทียบพระสังฆาธิการก็ดี ให้นาความในข้อ ๗ มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม ข้อ ๙ การลงนิคหกรรมเก่ียวกับความผิดของพระภิกษุทรงสมณศักด์ิ พระราชาคณะช้ันต่าง ๆ ถ้าเปน็ (๑) พระราชาคณะสามัญหรือชั้นราชซึ่งดารงตาแหน่งต่ากว่าเจ้าคณะจังหวัดหรือมิใชผ่ ปู้ กครองสงฆ์ ใหน้ าความในข้อ ๗ (๔) มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม (๒) พระราชาคณะชั้นเทพ ซึ่งดารงตาแหน่งต่ากว่าเจ้าคณะภาคหรือมิใช่ผูป้ กครองสงฆ์ ใหน้ าความในขอ้ ๗ (๕) มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม (๓) พระราชาคณะช้ันธรรมข้ึนไป ซ่ึงดารงตาแหน่งปกครองสงฆ์หรือมิใช่ผู้ปกครองสงฆ์ ใหน้ าความในข้อ ๗ (๗) มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม ในกรณีดังกล่าวข้างต้น ถ้าพระราชาคณะรูปน้ันดารงตาแหน่งรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาส ให้เจ้าอาวาสเจ้าสังกัดเข้าร่วมปฏิบัติหน้าท่ีเพ่ิมขึ้นอีกรูปหน่ึงเฉพาะในกรณีไตส่ วนมลู ฟอ้ งและพิจารณาวินิจฉัยการลงนคิ หกรรม ข้อ ๑๐ การลงนิคหกรรมเกยี่ วกบั ความผดิ ร่วมกัน (๑) ในระหวา่ งพระภกิ ษุดงั กลา่ วในขอ้ ๕ หรอื ข้อ ๖ กับพระภกิ ษใุ นข้อ ๗ หรอืข้อ ๘ และหรือข้อ ๙ (๒) ในระหว่างพระภิกษุดงั กล่าวในข้อ ๗ หรือข้อ ๘ และหรือข้อ ๙ ในกรณีดังกล่าวข้างต้น ให้นาความในข้อ ๗ ข้อ ๘ หรือข้อ ๙ มาใช้บังคับแล้วแต่กรณี แต่ถ้าปรากฏว่าเป็นกรณีท่ีมีผู้พิจารณาหลายรูป ซึ่งดารงตาแหน่งสูงต่ากว่ากันให้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่งสูง ถ้าดารงตาแหน่งชั้นเดียวกัน ให้เป็นอานาจของผู้ดารงตาแหน่งในเขตทคี่ วามผดิ นน้ั เกดิ ข้นึ ๒๖ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

ขอ้ ๑๑ การลงนิคหกรรมเกี่ยวกับความผิดของพระภิกษุ ซ่ึงเกิดข้ึนนอกราชอาณาจักรเม่ือพระภิกษผุ กู้ ระทาความผิดนนั้ กลับเข้ามาในราชอาณาจักร (๑) ถ้ากลับเข้ามาสานักอยู่ในเขตท่ีพระภิกษุผู้กระทาความผิดสังกัดอยู่ให้เป็นอานาจของพระภิกษุผปู้ กครองสงฆเ์ จา้ สงั กดั (๒) ถ้ากลับมาสานักอยู่ในเขตท่ีพระภิกษุผู้กระทาความผิดมิได้สังกัดอยู่ให้เป็นอานาจของพระภกิ ษผุ ้ปู กครองสงฆ์ ในเขตทพ่ี ระภกิ ษผุ กู้ ระทาความผดิ นน้ั มาสานักอยู่ ในกรณเี ชน่ นี้ ให้นาความในข้อ ๕ ถงึ ข้อ ๑๐ แลว้ แตก่ รณมี าใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม ลกั ษณะ ๓ การลงนิคหกรรม หมวด ๑ วิธีปฏิบตั ิเบ้ืองตน้ ขอ้ ๑๒ เมื่อโจทก์ฟ้องพระภิกษุในข้อหาว่าได้กระทาความผิด โดยย่ืนฟ้องเป็นหนังสือด้วยตนเองต่อเจ้าอาวาส หรือเจ้าคณะเจ้าสังกัด หรือเจ้าคณะเจ้าของเขตในเขตท่ีความผิดนั้นเกิดข้ึน ซึ่งเป็นผู้พิจารณามีอานาจลงนิคหกรรมตามที่กาหนดไว้ในลักษณะ ๒ แล้วแต่กรณี เว้นแต่โจทก์ก็ไม่สามารถจะไปยื่นฟอ้ งดว้ ยตนเอง จะมีหนงั สอื มอบใหผ้ ู้ใดผู้หนง่ึ ไปย่ืนฟอ้ งแทนก็ได้ ในกรณีดังกล่าวข้างต้น ให้พระภิกษุผู้พิจารณาตรวจลักษณะของโจทก์และลักษณะของคาฟ้องน้นั กอ่ น (๑) ถ้าปรากฏว่า โจทก์ประกอบด้วยลักษณะตามข้อ ๔ (๖) ก. และคาฟ้องของโจทก์ประกอบดว้ ยลักษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี ก. ฟอ้ งโดยระบุการกระทาทง้ั หลายทอี่ า้ งว่าจาเลยได้กระทาความผิดข้อเท็จจริงและรายละเอียดอันเก่ียวกับเวลา และสถานท่ีซึ่งเกิดการกระทาน้ันๆ อีกทั้งบุคคลและสิ่งของท่เี กีย่ วขอ้ งด้วย โดยสมควรเทา่ ทจี่ ะทาใหจ้ าเลยเข้าใจขอ้ หาได้ดี ข. เรื่องทนี่ ามาฟอ้ ง มใิ ชเ่ ปน็ เรือ่ งเกา่ อันมิได้คดิ จะฟ้องมาแต่เดิม ค. เรื่องท่ีนามาฟ้อง มิใช่เร่ืองท่ีมีคาวินิจฉัยหรือคาสั่งของผู้มีอานาจลงนิคหกรรมถึงทส่ี ุดแล้ว ง. เรื่องที่นามาฟ้อง มิใช่เร่ืองที่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฝ่ายราชอาณาจักรหรือมิใช่เร่ืองท่ีมีคาพิพากษา หรือคาส่ังของศาลฝ่ายราชอาณาจักรถึงท่ีสุดแล้ว เว้นแต่กรณที ม่ี ปี ัญหาทางพระวนิ ัย ในกรณเี ช่นนี้ ใหส้ ่ังรับคาฟ้องนั้นไว้เพื่อพจิ ารณาดาเนนิ การตามความในขอ้ ๑๓ ๒๗ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

(๒) ถ้าปรากฏว่า โจทก์หรือคาฟ้องของโจทก์บกพร่องจากลักษณะอย่างใดอย่างหน่ึงดงั กลา่ วใน (๑) ให้ส่งั ไมร่ ับคาฟอ้ งนั้น โดยระบุขอ้ บกพรอ่ งไว้ในคาส่งั และแจง้ ให้โจทก์ทราบ ก่อนสั่งรับคาฟ้องหรือไม่รับคาฟ้อง ตามความใน (๑) หรือ (๒) ข้างต้นจะสอบถามโจทก์ให้ช้ีแจงในเรื่องใด ๆ ซึ่งเกี่ยวกับลักษณะของโจทก์ หรือลักษณะของคาฟ้องน้ันอันเป็นที่สงสัยก็ได้ และให้จดคาชี้แจงของโจทก์นนั้ ไว้ประกอบการพิจารณาดว้ ย ขอ้ ๑๓ ในกรณีท่ีพระภิกษุผู้พิจารณาสั่งรับคาฟ้องของโจทก์ไว้แล้ว ให้เรียกพระภิกษุซ่ึงตกเป็นจาเลย ตามข้อ ๔ (๗) ก. มาแจ้งคาฟ้องของโจทก์ให้จาเลยทราบแล้วสอบถามและจดคาให้การของจาเลยไว้ โดยให้จาเลยลงชื่อในคาให้การนั้นด้วย แล้วดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงดังตอ่ ไปน้ี (๑) ถ้าจาเลยให้การรับสารภาพสมตามคาฟ้องของโจทก์ ให้มีอานาจสั่งลงนิคหกรรมแกจ่ าเลย ตามคารบั สารภาพนัน้ ถ้าเป็นกรณีท่ีเกี่ยวกับความเสียหายในทางแพ่ง เมื่อโจทก์กับจาเลยตกลงประนีประนอมยอมความกันประการใด ให้ทาบันทึกข้อตกลงนั้นไว้ และให้โจทก์จาเลยพร้อมด้วยพยานลงชื่อในบันทึกข้อตกลงนน้ั ดว้ ย (๒) ถา้ จาเลยให้การแบ่งรับความผิดเบากว่า หรอื น้อยกว่าท่ีถูกฟ้องก็ดี ให้การปฏิเสธก็ดี ให้รายงานพร้อมท้ังส่งคาฟ้องต่อคณะผู้พิจารณาชั้นต้นตามท่ีกาหนดไว้ในลักษณะ ๒ แล้วต่อกรณเี พือ่ ดาเนนิ การไต่สวนมูลฟอ้ งต่อไป ข้อ ๑๔ ในกรณีที่พระภิกษุผู้พิจารณาส่ังไม่รับคาฟ้องของโจทก์ ตามความในข้อ ๑๒ (๒)ถ้าเป็นกรณีความผิดครุกาบัติ โจทก์มีสิทธิ์อุทธรณ์คาส่ังน้ันต่อคณะผู้พิจารณาช้ันต้นแล้วแต่กรณีโดยย่ืนอุทธรณ์คาส่ังนั้นเป็นหนังสือเสนอผู้ออกคาส่ังภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันทราบคาส่ังน้ันและให้ผู้ออกคาสั่งส่งอุทธรณ์คาสั่งนั้นไปยังคณะผู้พิจารณาช้ันต้นแล้วแต่กรณีภายใน ๑๕ วันนบั แตว่ นั ได้รับอุทธรณค์ าส่ัง เมื่อคณะผู้พิจารณาช้ันต้นได้รับอุทธรณ์คาสั่งน้ันแล้ว ให้วินิจฉัยอุทธรณ์คาส่ังนั้นภายใน ๓๐ วันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์คาส่ัง เมื่อวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งนั้นเสร็จแล้วให้ส่งคาวินิจฉัยอุทธรณ์คาส่ังนั้นไปยังผู้ออกคาสั่ง เพ่ือแจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งนั้นแก่โจทก์ภายใน ๑๕ วันนับแตว่ นั ไดร้ บั คาวินจิ ฉัยอุทธรณ์คาสั่งนนั้ ถ้าคณะผู้พิจารณาชั้นต้นวินิจฉัยส่ังให้รับคาฟ้องน้ัน ให้ผู้ออกคาสั่งดาเนินการตามความในข้อ ๑๓ ต่อไป ถ้าวนิ ิจฉยั ส่ังไม่ให้รบั คาฟอ้ งน้ัน ใหเ้ ปน็ อนั ถงึ ทีส่ ุด ข้อ ๑๕ เม่ือมีผู้กล่าวหาบอกกล่าวการกระทาความผิดของพระภิกษุ โดยย่ืนคากล่าวหาเป็นหนังสือด้วยตนเอง ต่อเจ้าอาวาสหรือเจ้าคณะสังกัด หรือเจ้าคณะเจ้าของเขต ในเขตที่ความผิดนั้นเกดิ ขึ้น ซงึ่ เป็นผ้พู ิจารณามอี านาจลงนคิ หกรรมตามทีก่ าหนดไวใ้ นลักษณะ ๒ แลว้ แตก่ รณี ๒๘ คู่มอื พระสังฆาธิการ

ในกรณีดังกล่าวข้างต้น ให้พระภิกษุผู้พิจารณาตรวจลักษณะของผู้กล่าวหาตามข้อ ๔ (๘) ก. และลักษณะของคากล่าวหาโดยอนุโลมตามลักษณะของคาฟ้องดังที่ได้กาหนดไว้ในขอ้ ๑๒ (๑) ก่อน (๑) ถ้าปรากฏว่าผู้กล่าวหาและคากล่าวหานั้นต้องด้วยลักษณะดังกล่าวในวรรคตน้ ให้ส่งั รับคากลา่ วหาไว้พิจารณาดาเนินการตามความในข้อ ๑๓ โดยอนุโลม ถ้าผู้ถูกกล่าวหาให้การแบ่งรับความผิดเบากว่าหรือน้อยกว่าที่ถูกกล่าวหาก็ดี ให้การปฏิเสธก็ดี ตามความในข้อ ๑๓ (๒) และเม่ือได้ไต่สวนมูลคากล่าวหาแล้ว ปรากฏว่าคากล่าวหานั้นไม่มีมูลให้เป็นอันถงึ ทส่ี ดุ โดยอนโุ ลมตามความในขอ้ ๒๑ (๒) (๒) ถ้าปรากฏว่าผู้กล่าวหาหรือคากล่าวหาน้ันบกพร่องจากลักษณะดังกล่าวในวรรคต้น ให้สั่งไม่รับคากล่าวหาน้ัน โดยระบุข้อบกพร่องไว้ในคาส่ังและแจ้งให้ผู้กล่าวหาทราบแต่ถ้าเป็นกรณีความผิดครุกาบัติ ให้สั่งไม่รับคากล่าวหาน้ันโดยความเห็นชอบของคณะผู้พิจารณาช้ันต้น ตามที่กาหนดไว้ในลักษณะ ๒ แล้วแต่กรณี คาส่ังไม่รับคากล่าวหาดังกล่าวนั้นให้เป็นอันถึงทีส่ ุด วิธีปฏิบัติก่อนสั่งรับคากล่าวหาหรือไม่รับคากล่าวหา ให้นาความในข้อ ๑๒ วรรคท้ายมาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ข้อ ๑๖ เมื่อพระภิกษุผู้ปกครองสงฆ์ได้พบเห็นพฤติการณ์อันเป็นที่น่ารังเกียจสงสัยในความผดิ ของพระภิกษุ หรือพบเห็นการกระทาความผดิ ของพระภิกษุ (๑) ถ้าผู้พบเห็นนั้น ไม่มีอานาจลงนิคหกรรม ให้แจ้งพฤติการณ์หรือการกระทาความผิดท่ีได้พบเห็นนั้นเป็นหนังสือไปยังเจ้าอาวาส หรือเจ้าคณะเจ้าสังกัด หรือเจ้าคณะเจ้าของเขตในเขตท่ีความผิดน้ันเกิดขึ้น ซ่ึงเป็นผู้พิจารณามีอานาจลงนิคหกรรมตามที่กาหนดไว้ในลักษณะ ๒ แล้วแต่กรณีเพื่อดาเนินการตามความในข้อ ๑๓ โดยอนุโลม ถ้าผู้ถูกกล่าวหาให้การแบ่งรับความผิดเบากว่าหรือน้อยกว่าท่ีถูกกล่าวหาก็ดี ให้การปฏิเสธก็ดีตามความในข้อ ๑๓ (๒) และเม่ือได้ไต่สวนมูลคาแจ้งความผิดน้ันแล้ว ปรากฏว่าคาแจ้งความผิดน้ันไม่มีมูลให้เป็นอันถงึ ท่สี ุด โดยอนโุ ลมตามความในข้อ ๒๑ (๒) (๒) ถ้าผู้พบเห็นนั้น เป็นเจ้าอาวาสหรือเจ้าคณะสังกัด หรือเจ้าคณะเจ้าของเขตในเขตท่ีความผิดน้ันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นผู้พิจารณามีอานาจลงนิคหกรรมตามท่ีกาหนดไว้ในลักษณะ ๒แล้วแตก่ รณี ให้ดาเนินการอยา่ งใดอย่างหน่งึ ดงั ต่อไปนี้ ก. ในกรณีที่พบเห็นพฤติการณ์อันเป็นท่ีน่ารังเกียจสงสัยในความผิดให้ดาเนินการตามความในข้อ ๑๓ โดยอนุโลม ถ้าพระภิกษุผู้ต้องสงสัยในความผิดนั้นให้การแบ่งรับความผิดเบากว่าหรือน้อยกว่าที่ถูกรังเกียจสงสัยก็ดี ให้การปฏิเสธก็ดี ให้ดาเนินการตามความในข้อ ๑๓ โดยอนุโลม และเม่ือได้ไต่สวนแล้ว ปรากฏว่าพฤติการณ์อันเป็นท่ีน่าสงสัยในความผิดน้ันไม่มมี ูล ใหเ้ ป็นอันถงึ ทีส่ ุด โดยอนุโลมตามความในขอ้ ๒๑ (๒) ๒๙ ค่มู อื พระสงั ฆาธกิ าร

ข. ในกรณีทพ่ี บเหน็ การกระทาความผดิ โดยประจักษช์ ดั ให้มีอานาจส่ังลงนิคหกรรมแกพ่ ระภกิ ษุผ้กู ระทาความผดิ นัน้ โดยบนั ทึกพฤติการณ์และความผิดพร้อมด้วยคาส่ังลงนิคหกรรมนั้นไว้เป็นหลักฐาน และใหพ้ ระภิกษุผถู้ ูกลงนิคหกรรมลงชื่อรับทราบไว้ด้วย คาส่ังลงนิคหกรรมตามความใน (๒) ข. ถ้าเป็นกรณีความผิดครุกาบัติ พระภิกษุผู้ถูกลงนิคหกรรมมีสิทธิ์อุทธรณ์และฎีกาได้ แล้วแต่กรณี และให้นาความในหมวด ๓ ส่วนที่ ๓ และสว่ นที่ ๔ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม หมวด ๒ วธิ ีไต่สวนมูลฟ้อง ข้อ ๑๗ “มลู ฟ้อง” หมายถึง มลู เหตุแห่งการฟ้องของโจทก์ ซ่งึ ฟ้องจาเลยด้วยมลู เหตุอย่างใดอยา่ งหนึง่ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ดว้ ยมูลเหตุที่โจทก์ได้พบเหน็ การกระทาความผิดของจาเลยดว้ ยตนเอง (๒) ด้วยมูลเหตุที่โจทก์ได้ยินการกระทาความผิดของจาเลยด้วยตนเอง หรือไดฟ้ ังคาบอกเลา่ ทีม่ ีหลกั ฐานอนั ควรเชอื่ ถือได้ (๓) ด้วยมูลเหตุท่ีรังเกียจสงสัย โดยมีพฤติการณ์อันน่าเช่ือว่าจาเลยได้กระทาความผิด ข้อ ๑๘ ในการไต่สวนมูลฟ้อง ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นไต่สวนจากพยานหลักฐานฝา่ ยโจทกซ์ ึ่งเปน็ พยานบคุ คล พยานเอกสาร หรอื พยานวตั ถุ อนั อาจพิสูจนใ์ ห้เห็นขอ้ มูลดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) การกระทาของจาเลยที่โจทก์เอามาฟ้อง ต้องด้วยบทบัญญัติแห่งพระวินัยหรอื ไม่ (๒) การฟ้องของโจทก์มีมูลเหตอุ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ตามความในข้อ ๑๗ หรือไม่ ข้อ ๑๙ การไต่สวนมูลฟ้อง ให้กระทาเป็นการลับ และให้นาความในข้อ ๓๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เม่ือจะดาเนินการไต่สวนมูลฟ้อง ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นแจ้งวันเวลาและสถานที่ทาการไต่สวนมูลฟ้องให้โจทก์และจาเลยทราบ พร้อมท้ังส่งสาเนาคาฟ้องของโจทก์ให้จาเลยทราบดว้ ย โจทก์ต้องมาฟังการไต่สวนมูลฟ้องทุกครั้ง ถ้าไม่มาตามท่ีได้รับแจ้งติดต่อกัน ๓ คร้ังโดยมิได้ช้ีแจงถึงเหตุขัดข้องต่อคณะผู้พิจารณาชั้นต้น ให้เร่ืองเป็นอันถึงที่สุด ส่วนจาเลยจะมาฟังการไตส่ วนมูลฟอ้ งหรอื จะไมม่ าก็ได้ ๓๐ คู่มอื พระสังฆาธิการ

ข้อ ๒๐ กอ่ นไต่สวนมลู ฟ้องหรือในระหวา่ งไต่สวนมลู ฟ้อง (๑) ถา้ จาเลยถึงมรณภาพ ใหเ้ รื่องเปน็ อันถงึ ท่สี ดุ (๒) ถ้าโจทก์ซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามความในข้อ ๔ (๔) ถึงมรณภาพก็ดี หรือโจทก์ซ่งึ เป็นผู้เสียหายถงึ มรณภาพหรอื ตาย โดยไม่มีผู้จัดการแทนในกรณีอย่างใดอย่างหน่ึงตามความในข้อ ๔ (๕) ก็ดี ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นแต่งตั้งพระภิกษุผู้ทรงคุณวุฒิรูปใดรูปหน่ึงตามท่เี ห็นสมควรใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าที่เป็นโจทกแ์ ทน ข้อ ๒๑ เม่ือคณะผู้พิจารณาช้ันต้นไต่สวนมูลฟ้องเสร็จแล้ว ให้ดาเนินการอย่างใดอยา่ งหน่ึงดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ถ้าปรากฏวา่ คาฟ้องเรอ่ื งใดมมี ลู ให้สั่งประทับฟ้อง แล้วดาเนินการพิจารณาวนิ ิจฉัยตอ่ ไป (๒) ถา้ ปรากฏวา่ คาฟ้องเรอ่ื งใดไม่มีมลู ให้ส่ังยกฟ้อง และแจ้งให้โจทกท์ ราบ ขอ้ ๒๒ คาสงั่ ยกฟ้อง ตามข้อ ๒๑ (๒) (๑) ถ้าเป็นกรณีความผิดครุกาบัติ ซึ่งมิใช่คาส่ังของมหาเถรสมาคม โจทก์ก็มีสิทธิ์อุทธรณ์คาสั่งน้ันต่อคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์ตามท่ีกาหนดไว้ในข้อ ๒๕ แล้วแต่กรณีโดยย่ืนอุทธรณ์คาส่ังนั้นเป็นหนังสือต่อผู้ออกคาส่ังภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันทราบคาส่ังนั้นและให้ผู้ออกคาสั่งส่งอุทธรณ์คาสั่งนั้นไปยังคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันได้รับอทุ ธรณค์ าสงั่ เมื่อคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ได้รับอุทธรณ์คาส่ังน้ันแล้ว ให้วินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งนั้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันได้รับอุทธรณ์คาส่ัง เม่ือวินิจฉัยอุทธรณ์คาส่ังนั้นเสร็จแล้วให้ส่งคาวินิจฉัยอทุ ธรณ์คาสงั่ น้ันไปยังผอู้ อกคาสง่ั เพื่อแจ้งคาวินจิ ฉัยอุทธรณ์คาส่งั นั้นแก่โจทก์ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันได้รบั คาวินจิ ฉยั อุทธรณค์ าส่ัง ถ้าคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์วินิจฉัยว่าคาฟ้องน้ันมีมูล ให้ดาเนินการตามข้อ ๒๑ (๑)ตอ่ ไป ถ้าวินจิ ฉยั ว่าคาฟอ้ งนนั้ ไม่มมี ลู ใหเ้ ปน็ อนั ถึงทส่ี ดุ (๒) ถ้าเป็นกรณีความผิดครุกาบัติ ซึ่งเป็นคาส่ังของมหาเถรสมาคม หรือเป็นกรณีความผดิ ลหกุ าบัติ ให้เปน็ อันถงึ ที่สุด ๓๑ คู่มอื พระสงั ฆาธกิ าร

หมวด ๓ วิธพี ิจารณาวินจิ ฉัยการลงนิคหกรรม ส่วนที่ ๑ หลกั ทัว่ ไป ขอ้ ๒๓ การพิจารณาวินิจฉัยการลงนคิ หกรรมมี ๓ ชนั้ คือ (๑) ช้ันต้น (๒) ช้นั อุทธรณ์ (๓) ชนั้ ฎีกา ขอ้ ๒๔ การพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นต้นให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชัน้ ตน้ ตามกาหนดไวใ้ นลกั ษณะ ๒ แลว้ แตก่ รณี ข้อ ๒๕ การพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันอุทธรณ์ ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นอทุ ธรณ์ ซ่งึ มีอนั ดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ถ้าเป็นกรณีอุทธรณ์คาสั่งหรือคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาช้ันต้นซ่ึงมีเจ้าคณะอาเภอเป็นหัวหน้า ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์ ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะภาคเจ้าคณะจังหวัด และรองเจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะจังหวัดให้เจ้าคณะภาคพิจารณาเลือกเจ้าคณะจังหวัดในภาคเดียวกันเข้ารว่ มอกี ๑ รูป (๒) ถ้าเป็นกรณีอุทธรณ์คาสั่งหรือคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาชั้นต้นซึ่งมีเจ้าคณะจังหวัดเป็นหัวหน้า ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาค และรองเจ้าคณะภาคเจ้าสังกัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะภาค ให้เจ้าคณะใหญ่พิจารณาเลือกเจ้าคณะภาคในหนเดียวกันเขา้ ร่วมอีก ๑ รปู (๓) ถ้าเป็นกรณีอุทธรณ์คาส่ังหรือคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาช้ันต้นซ่ึงมีเจ้าคณะภาคเป็นหัวหน้า ให้เป็นอานาจของคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ ซ่ึงประกอบด้วยเจ้าคณะใหญ่ และเจ้าคณะภาคในหนนั้น ท่ีมิได้เข้าร่วมในการพิจารณาชั้นต้น ซึ่งเจ้าคณะใหญ่พจิ ารณาเลือกอกี ๒ รปู (๔) ถ้าเป็นกรณีอุทธรณ์คาสั่งหรือคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาช้ันต้นซ่ึงมีเจ้าคณะใหญ่เปน็ หัวหนา้ ใหเ้ ปน็ อานาจของมหาเถรสมาคม ข้อ ๒๖ การพิจารณาวินจิ ฉัยการลงนิคหกรรมชนั้ ฎกี า ใหเ้ ป็นอานาจของมหาเถรสมาคม ข้อ ๒๗ คาสั่งหรือคาวินิจฉัยของมหาเถรสมาคมในกรณีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมไมว่ ่าในกรณใี ด ใหเ้ ป็นอันถึงทสี่ ดุ ๓๒ คมู่ อื พระสังฆาธิการ

ส่วนท่ี ๒ วิธีพจิ ารณาวนิ ิจฉัยการลงนคิ หกรรมชัน้ ตน้ ข้อ ๒๘ ก่อนดาเนินการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรม โดยเฉพาะในกรณีที่มีผู้กล่าวหาตามความในข้อ ๑๕ (๑) หรือในกรณีที่มีผู้แจ้งความผิดตามความในข้อ ๑๖ (๑) หรือในกรณีตามความในข้อ ๑๖ (๒) ก. ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้น แต่งต้ังพระภิกษุผู้ทรงคุณวุฒิรูปใดรปู หนง่ึ ตามท่เี หน็ สมควรให้ปฏิบัตหิ น้าที่โจทกแ์ ทนสงฆ์ ในกรณีเช่นน้ี ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นส่งสาเนาคากล่าวหา หรือคาแจ้งความผิดรวมท้ังสาเนาบันทึกถอ้ ยคาสานวนทม่ี อี ยใู่ ห้แก่ผู้ปฏิบตั ิหน้าทีโ่ จทก์แทนสงฆ์ ข้อ ๒๙ การพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรม ให้กระทาในท่ีพร้อมหน้าโจทก์จาเลยเวน้ แต่ในกรณีดงั ต่อไปน้ี (๑) โจทก์หรือจาเลยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายไม่มาฟังการพิจารณาตามกาหนดที่คณะผู้พิจารณาช้ันต้นนัดหมายไว้ โดยมิได้แจ้งเหตุขัดข้องเป็นหนังสือให้คณะผู้พิจารณาชั้นต้นทราบก่อนถึงวันท่ีนัดหมาย ให้ถือว่าฝ่ายนั้นหรือทั้งสองฝ่ายสละสิทธิเข้าฟังการพจิ ารณา คณะผู้พจิ ารณาชั้นตน้ มอี านาจดาเนนิ การพจิ ารณาต่อไปตามทเี่ ห็นสมควร (๒) โจทก์หรือจาเลยฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่าย มีหนังสือแจ้งเหตุขัดข้องที่จะมาฟังการพิจารณาตามกาหนดไม่ได้ และคณะผู้พิจารณาชั้นต้นพิจารณาไม่เห็นสมควรอนุญาตให้เลือ่ นการพิจารณา (๓) โจทก์หรือจาเลยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่าย ก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นในที่พิจารณา และคณะผู้พิจารณาชั้นต้นได้ส่ังให้โจทก์หรือจาเลยน้ันออกไปจากที่พิจารณาตามความในข้อ ๓๐ วรรค ๒ คณะผ้พู ิจารณาช้นั ตน้ มีอานาจดาเนินการพจิ ารณาต่อไปตามทเ่ี หน็ สมควร ขอ้ ๓๐ การพิจารณาวนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรม ให้กระทาเปน็ การลับ บุคคลดังต่อไปน้ีมีสิทธอิ์ ยู่ในท่ีพจิ ารณา คอื (๑) โจทกแ์ ละจาเลย (๒) พยานเฉพาะทก่ี าลงั ให้การ (๓) ผ้ทู ่ีได้รับเชญิ มาเพ่ือปฏิบัตกิ ารใด ๆ เก่ยี วกับการพิจารณา (๔) พระภิกษผุ ู้ทาหน้าท่จี ดบนั ทกึ ถอ้ ยคาสานวน ถ้ามีผู้ใดก่อความไม่สงบเรียบร้อยข้ึนในที่พิจารณาหรือในบริเวณที่พิจารณาคณะผู้พิจารณาช้ันต้นมีอานาจสั่งให้ผู้นั้นต้ังอยู่ในความสงบเรียบร้อย หรือสั่งให้ผู้น้ันออกไปจากท่ีนั้นหรือบริเวณนั้นได้และถ้าเป็นการสมควรจะขออารักขาต่อเจ้าหน้าท่ีฝ่ายราชอาณาจักรให้มารั กษาความสงบเรยี บรอ้ ยกไ็ ด้ ๓๓ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

ข้อ ๓๑ ในการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรม ให้รวบรวมพยานหลักฐานฝ่ายโจทก์และฝ่ายจาเลย หรือพยานหลักฐานที่คณะผู้พิจารณาช้ันต้นเห็นสมควรนามาสืบซึ่งอาจพิสูจน์ให้เห็นความผิด หรือความบริสุทธิ์ของจาเลย ตามลักษณะแห่งพยานหลักฐานท่ีกาหนดไ ว้ในหมวด ๔ เพื่อประโยชน์แก่การพิจารณาดังกล่าวในวรรคต้น ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นมีอานาจหน้าท่ดี าเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) แจ้งกาหนดวันเวลาและสถานท่ีพจิ ารณา แก่โจทก์จาเลย (๒) ออกหนังสือเรียกพยานหรือบุคคลใด ๆ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ฟ้องน้ันมาให้ถ้อยคา (๓) ออกหนังสือเรียกเอกสาร หรือวัตถสุ ่งิ ของจากบคุ คลผู้ครอบครอง หรือให้ผู้นน้ั ส่งเอกสารหรือวัตถสุ ิง่ ของ ซง่ึ อาจใชเ้ ป็นพยานหลักฐาน (๔) ทาการตรวจตัวผู้เสียหายหรือตัวจาเลย ตรวจสถานที่ วัตถุสิ่งของหรือส่ิงอื่นใดซึง่ อาจใช้เปน็ พยานหลกั ฐานได้ โดยบันทึกรายละเอยี ดการตรวจไว้ด้วย (๕) แจง้ ใหเ้ จ้าอาวาสหรือเจ้าคณะในเขตอื่นรวบรวมข้อเทจ็ จริงหรือพยานหลักฐานอนั อยู่ในเขตน้ัน หรอื ใหช้ ีแ้ จงพฤติการณ์ใด ๆ อันเกย่ี วข้องกบั เร่ืองทฟี่ ้องนัน้ (๖) จดบันทึกถ้อยคาสานวนการพิจารณาด้วยตนเอง เว้นแต่ในกรณีจาเป็นจะใหม้ พี ระภิกษเุ ป็นผจู้ ดบนั ทกึ ตามถอ้ ยคาผูพ้ จิ ารณาก็ได้ (๗) ทารายงานการพิจารณาแต่ละคร้ังรวมไว้ในสานวน ถ้านัดหมายเพื่อปฏิบัตกิ ารใด ๆ ให้บันทึกไว้ในรายงานนนั้ และให้คู่กรณีมาฟังการพิจารณาลงช่ือรับทราบไว้ดว้ ย ในกรณีที่คณะผู้พิจารณารูปใดรูปหน่ึงไม่อาจร่วมปฏิบัติหน้าท่ีได้ โดยมีเหตุสุดวิสัยให้ผพู้ ิจารณาอีก ๒ รปู ดาเนินการพิจารณาตอ่ ไป กรณที ดี งั กล่าวใน (๒) (๓) และ (๔) ถ้าเป็นการจาเป็นจะขอให้เจ้าหน้าท่ีฝ่ายราชอาณาจักรเขา้ รว่ มดาเนนิ การด้วยกไ็ ด้ ข้อ ๓๒ ในกรณีรวบรวมพยานหลักฐานตามความในข้อ ๓๑ วรรค ๑ ให้สืบพยานโจทก์ก่อนพยานจาเลย และก่อนสืบพยาน ให้โจทก์และจาเลยเสนอบัญชีระบุพยานหลักฐานของตนต่อคณะผูพ้ ิจารณาช้นั ต้นลว่ งหน้ากอ่ นถงึ วนั สบื พยานไมน่ ้อยกว่า ๑๕ วัน ถ้าโจทก์หรือจาเลยร้องขอระบุพยานหลักฐานของตนเพ่ิมเติมในระหว่างสืบพยานหลักฐานฝ่ายตนยังไม่เสร็จ ใหค้ ณะผ้พู ิจารณาชน้ั ต้นใช้ดลุ ยพนิ จิ ส่งั ตามทเี่ หน็ สมควร เมื่อสืบพยานของฝ่ายใดไปแล้วพอสมควรแก่กรณี คณะผู้พิจารณาชั้นต้นจะส่ังให้งดการสืบพยานของฝ่ายน้ันทย่ี งั มไิ ด้สืบ ซง่ึ เหน็ วา่ ไมจ่ าเป็นก็ได้ ๓๔ คู่มือพระสงั ฆาธกิ าร

เม่ือสืบพยานของฝ่ายโจทก์และจาเลยเสร็จแล้ว ถ้าปรากฏว่ายังมีพยานหลักฐานใด ๆ ซึ่งคณะผู้พิจารณาช้ันตน้ เหน็ สมควรสบื เพม่ิ เตมิ ก็ใหด้ าเนินการสบื พยานหลักฐานนัน้ ได้ ข้อ ๓๓ ในการสืบพยานตามความในข้อ ๓๒ คณะผู้พิจารณาชั้นต้นมีหน้าท่ีซักถามพยานโจทก์และพยานจาเลย ตามประเด็นข้อกล่าวหาของโจทก์และประเด็นข้อแก้ของจาเลยแล้วแต่กรณี แล้วเปิดโอกาสให้โจทก์และจาเลยซักถามพยานตามประเด็นดังกล่าวข้างต้นโดยคณะผู้พิจารณาช้ันต้นถามฝ่ายโจทก์ว่า จะซักถามพยานของตนอย่างไรบ้างหรือไม่ ถ้าโจทก์ซักถามแล้วหรือไม่ซักถาม ให้ถามฝ่ายจาเลยว่า จะซักค้านพยานโจทก์อย่างไรบ้างหรือไม่เม่ือฝา่ ยจาเลยซกั ค้านพยานโจทก์แล้ว ใหถ้ ามฝ่ายโจทกว์ ่าจะถามติงพยานฝ่ายตนอย่างไรบา้ งหรือไม่ ถ้าเป็นพยานฝ่ายจาเลย ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นถามฝ่ายจาเลยว่า จะซักถามพยานของตนอย่างไรบ้างหรือไม่ ถ้าจาเลยซักถามแล้วหรือไม่ซักถาม ให้ถามฝ่ายโจทก์ว่าจะซักค้านพยานจาเลยอย่างไรบ้างหรือไม่ เมื่อฝ่ายโจทก์ซักค้านพยานจาเลยแล้วให้ถามฝ่ายจาเลยว่าจะถามติงพยานฝ่ายตนอย่างไรบ้างหรือไม่ ท้ังน้ี ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นบันทึกการซักถามซักคา้ น และถามตงิ ดงั กลา่ วไวใ้ นสานวนพจิ ารณาดว้ ย ในการซักถามพยาน ซักคา้ นพยาน หรอื ถามติงพยาน ตามความดงั กลา่ วข้างตน้ (๑) หา้ มมิใหโ้ จทก์ หรือจาเลยฝ่ายที่อา้ งพยาน ใชค้ าถามนาเพื่อใหพ้ ยานตอบ (๒) ห้ามมิให้โจทก์ หรือจาเลยทั้งสองฝ่าย ใช้คาถามอันไม่เก่ียวกับประเด็นคาถามที่เป็นการหม่ินประมาทพยาน หรือคาถามที่อาจทาให้พยานต้องถูกฟ้องทางคณะสงฆ์ หรือทางราชอาณาจกั ร พยานไม่ต้องตอบคาถามท่ีต้องห้ามดังกล่าวข้างต้น และถ้ามีคาถามเช่นน้ันให้คณะผูพ้ จิ ารณาชน้ั ต้นเตอื นผู้ถามและพยาน ในกรณีสืบพยานท่ีคณะผู้พิจารณาชั้นต้นนามาสืบ เม่ือคณะผู้พิจารณาช้ันต้นซักถามพยานแล้ว ถ้าโจทก์หรือจาเลยขออนุญาตซักถามพยานน้ัน คณะผู้พิจารณาช้ันต้นจะอนุญาตให้ซักถามตามประเด็นนั้นก็ได้แล้วแต่จะเห็นสมควร แต่ถ้าท้ังสองฝ่ายขออนุญาตซักถามก็ให้โจทก์ซกั ถามก่อน คาให้การของพยาน ให้จดไว้แล้วอ่านให้พยานฟัง และให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นพยานกับผูจ้ ดคาใหก้ ารของพยานลงชื่อไว้ดว้ ย ข้อ ๓๔ เม่ือมีกรณีจาเป็น คณะผู้พิจารณาชั้นต้นอาจสืบพยานโดยวิธีเดินเผชิญสืบในเขตอานาจของต้น หรือโดยวิธีส่งประเด็นไปให้คณะผู้พิจารณาชั้นต้นในเขตอ่ืนอันเป็นท่ีพานักของพยาน ทาการสืบพยานอนั อยู่ในเขตนน้ั กไ็ ด้ ๓๕ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

ในกรณีส่งประเด็นไปสืบตามความในวรรคต้น ให้ส่งคาฟ้องของโจทก์และคาให้การของจาเลยพร้อมทั้งสานวนเท่าท่ีจาเปน็ ไปยังผู้รับประเดน็ เพอ่ื ดาเนนิ การสืบพยานตามประเด็นนัน้ ก่อนส่งประเด็นไปสืบ ให้คณะผู้พิจารณาชั้นต้นแจ้งให้โจทก์และจาเลยทราบ ถ้าโจทก์หรือจาเลยฝ่ายใดไม่ตดิ ไปฟังการพจิ ารณาก็ได้ ผู้รับประเด็นมีอานาจดาเนินการสืบพยานเช่นเดียวกับผู้ส่งประเด็น เมื่อมีกาหนดจะสืบพยาน ณ วัน เวลา และสถานท่ีใด ให้แจ้งกาหนดการสืบพยานไปยังผู้ส่งประเด็นเพ่ือแจ้งให้โจทก์และจาเลยทราบ เม่ือสืบพยานตามประเด็นเสร็จ ให้ส่งสานวนคืนมายังผู้ส่งประเด็นโดยไม่ชกั ชา้ ข้อ ๓๕ กอ่ นพจิ ารณาหรือในระหว่างพิจารณา ถ้าปรากฏว่า (๑) เรื่องที่นามาฟ้องนั้น ได้มีการฟ้องร้องกันในศาลฝ่ายราชอาณาจักรให้รอการพจิ ารณาเรอ่ื งน้ันไว้ก่อน (๒) จาเลยเป็นบ้าคลั่ง เป็นผู้เพ้อถึงไม่รู้สึกตัว กระสับกระส่ายเพราะเวทนากล้าถึงไม่มีสติสัมปชัญญะ หรือมีจิตฟั้นเฟือนไม่สมประกอบ ให้รอการพิจารณาไว้ก่อนจนกว่าจาเลยจะหายเป็นปกติ (๓) จาเลยถึงมรณภาพ ใหเ้ รอื่ งเป็นอนั ถึงทีส่ ุด (๔) จาเลยพ้นจากความเป็นพระภิกษุ ให้ยุติการพิจารณา เว้นแต่ในกรณีความผิดครกุ าบตั ิ (๕) โจทก์ขอถอนฟ้องทั้งหมดหรือเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ให้ยุติการพิจารณาตามคาขอถอนของโจทก์ เว้นแต่ในกรณีความผิดครุกาบัติ หรือในกรณีที่จาเลยคัดค้านการขอถอนคาฟอ้ งนัน้ (๖) โจทก์ไม่มาดาเนินการตามที่คณะผู้พิจารณาชั้นต้นนัดหมายไว้ ให้ยุติการพิจารณาเว้นแต่โจทก์จะได้ช้ีแจงเหตุผลขัดข้องเป็นหนังสือภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันท่ีส่ังยุติการพจิ ารณา (๗) โจทกซ์ ่งึ เป็นผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ตามความในข้อ ๔ (๔) ถึงมรณภาพก็ดหี รือโจทก์ซงึ่ เปน็ ผู้เสยี หายถึงมรณภาพหรือตาย โดยไม่มผี จู้ ัดการแทน ตามความในข้อ ๔ (๕) ก็ดี ใหน้ าความในขอ้ ๒๐ (๒) มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม ในกรณียตุ ิการพิจารณาตาม (๕) และ (๖) ไมต่ ัดสทิ ธขิ องโจทก์อื่นทจ่ี ะฟ้องในเรื่องนน้ัและไม่ตดั สทิ ธิของคณะผู้พจิ ารณาชน้ั ต้นที่จะดาเนนิ การพิจารณาเรื่องน้ันต่อไปตามท่เี ห็นสมควร ขอ้ ๓๖ เมื่อมีการสืบพยานทุกฝ่ายเสร็จแล้วให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นดาเนินการวินิจฉัยดังต่อไปน้ี ๓๖ คูม่ อื พระสังฆาธกิ าร

(๑) ถ้าปรากฏว่า จาเลยมิได้กระทาความผิดหรือการกระทาของจาเลยไม่เป็นความผิดหรือมีเหตุผลทจ่ี าเลยไมต่ ้องรับนคิ หกรรม ให้วนิ ิจฉัยยกฟ้องของโจทก์ (๒) ถ้าปรากฏว่า จาเลยได้กระทาความผิด หรือการกระทาของจาเลยเป็นความผิดและไมม่ ีข้อยกเวน้ โทษอยา่ งใด ให้วินจิ ฉยั ลงนคิ หกรรมแก่จาเลยตามความผิดน้ัน ข้อ ๓๗ ในการวินิจฉัยลงนิคหกรรมตามความในข้อ ๓๖ (๒) นอกจากคณะผู้พิจารณาชั้นต้นมีอานาจวินิจฉัยลงนิคหกรรมตามคาฟ้องของโจทก์แล้ว ให้มีอานาจวินิจฉัยลงนิคหกรรมในกรณีดังตอ่ ไปน้ี (๑) ถา้ ปรากฏวา่ ขอ้ เท็จจริงในทางพิจารณาต่างจากข้อเท็จจริงในคาฟ้องของโจทก์แตเ่ ป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในฐานความผิดสิกขาบทเดียวกัน ให้มีอานาจวินิจฉัยลงนิคหกรรมตามสมควรแกก่ รณี (๒) ถ้าปรากฏว่า ข้อเท็จจริงดังกล่าวในคาฟ้องของโจทก์นั้น โจทก์สืบสมแต่โจทกอ์ ้างสิกขาบทผดิ ให้มีอานาจวินจิ ฉัยลงนคิ หกรรมตามสกิ ขาบททถี่ กู ต้องได้ (๓) ถา้ ปรากฏวา่ ข้อเท็จจริงในทางพิจารณาได้ความว่า การกระทาของจาเลยเป็นความผิดอย่างใดอย่างหน่ึง หรือหลายอย่าง ถึงแม้โจทก์จะมิได้กล่าวไว้ในคาฟ้องให้มีอานาจวินจิ ฉยั ลงนคิ หกรรมตามความผดิ นั้นได้ ขอ้ ๓๘ คาวินิจฉยั ช้ันต้น ให้มขี อ้ ความสาคญั ดังต่อไปนี้ (๑) ชั้นของคาวินจิ ฉยั (๒) สถานที่ ท่วี ินจิ ฉยั (๓) วนั เดือน ปี ทวี่ นิ จิ ฉยั (๔) กรณีระหวา่ งผใู้ ดโจทก์ ผใู้ ดจาเลย (๕) เรื่องท่ียกขน้ึ ฟ้อง (๖) ขอ้ หาของโจทก์ (๗) คาใหก้ ารของจาเลย (๘) ข้อเท็จจริงทพี่ ิจารณาได้ความ (๙) เหตุผลในการวนิ ิจฉัยทั้งในปัญหาขอ้ เทจ็ จริงและปัญหาพระวินัย (๑๐) บทบัญญัตแิ ห่งพระวนิ ัยท่ียกขึ้นวนิ จิ ฉยั (๑๑) คาชขี้ าดใหย้ กฟ้อง หรือให้ลงนคิ หกรรม ข้อ ๓๙ คาวินิจฉัยช้ันต้น ให้อ่านให้โจทก์จาเลยฟัง ตามกาหนดวัน เวลาและสถานที่ซ่ึงได้นัดหมายไว้ แล้วให้โจทก์จาเลยลงชื่อรับทราบ ถ้าโจทก์หรือจาเลยไม่ยอมลงช่ือรับทราบคาวินิจฉัย ให้คณะผู้พิจารณาชั้นต้นบันทึกไว้ท้ายคาวินิจฉัย และให้ถือว่าโจทก์หรือจาเลยได้รบั ทราบแลว้ ๓๗ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

ถ้ า ค ณ ะผู้ พิ จ า ร ณ า ช้ั น ต้ น แ จ้ ง ก า ห น ด ก า ร อ่ า น ค า วิ นิ จ ฉั ย แ ก่ โ จ ท ก์ จ า เ ล ย ไ ม่ ได้ ใ ห้ แ จ้ งแก่ผู้ปกครองสงฆ์ ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาใกล้ชิด เพื่อแจ้งแก่โจทก์จาเลย แต่ถ้าโจทก์เป็นคฤหัสถ์เมื่อใดแจง้ กาหนดนดั หมายไปยังภูมลิ าเนาเดมิ ของโจทกแ์ ล้วใหถ้ ือวา่ ได้แจง้ แกโ่ จทก์นัน้ แล้ว ถ้ า โ จ ท ก์ ห รื อ จ า เ ล ย ฝ่ า ย ใ ด ฝ่ า ย ห น่ึ ง ไ ม่ ม า ฟั ง ค า วิ นิ จ ฉั ย ต า ม ก า ห น ด ท่ี ไ ด้ นั ด ห ม า ย ไ ว้โ ด ย มิ ไ ด้ มี ห นั ง สื อ แ จ้ ง เ ห ตุ ขั ด ข้ อ ง ต่ อ ค ณ ะ ผู้ พิ จ า ร ณ า ช้ั น ต้ น ก่ อ น ถึ ง เ ว ล า ที่ นั ด ห ม า ย ใ ห้ อ่ า นคาวินิจฉัย และให้ถือว่าฝ่ายท่ีไม่มาฟังคาวินิจฉัยได้ทราบคาวินิจฉัยน้ันแล้ว ถ้าท้ังสองฝ่ายไม่มาฟังคาวินิจฉัย โดยมิได้มีหนังสือแจ้งเหตุขัดข้องดังกล่าวข้างต้น ให้ถือว่าท้ังสองฝ่ายน้ันได้ทราบคาวนิ จิ ฉัยนน้ั แล้ว ถ้าโจทก์หรือจาเลยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝ่าย ไม่มาฟังคาวินิจฉัย โดยมีหนังสือแจ้งเหตุขัดข้องต่อคณะผู้พิจารณาช้ันต้นก่อนถึงเวลาท่ีนัดหมาย เม่ือคณะผู้พิจารณาชั้นต้นเห็นสมควรจะเล่ือนกาหนดการอ่านคาวินิจฉัยไปวันอ่ืนก็ได้ โดยแจ้งให้โจทก์จาเลยทราบถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือทั้งสองฝ่ายไม่มาฟังคาวินิจฉัยตามกาหนดที่นัดหมายในคร้ังหลัง โดยแจ้งเหตุขัดข้องหรือมิได้แจ้งเหตุขัดข้องก็ตาม ให้นาความในวรรค ๓ แล้วแต่กรณีมาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ข้อ ๔๐ คาวินิจฉยั ชนั้ ต้น ใหถ้ งึ ท่สี ดุ ในกรณีอย่างใดอย่างหนึง่ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) และจาเลยมไิ ด้อุทธรณต์ ามความในข้อ ๔๑ (๒) คณะผู้พิจารณาชน้ั อทุ ธรณ์มีคาสั่งใหย้ ตุ ิการพจิ ารณาตามความในข้อ ๔๔ สว่ นที่ ๓ วิธีพิจารณาวินจิ ฉัยการลงนิคหกรรมชั้นอทุ ธรณ์ ข้อ ๔๑ คาวินิจฉัยช้ันต้น โจทก์จาเลยมีสิทธิ์อุทธรณ์ได้ในปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาพระวินัย โดยให้ระบุข้อเท็จจริงที่ยกขึ้นอ้างอิงไว้โดยย่อ ส่วนข้อพระวินัยท่ียกข้ึนอ้างอิง ให้แสด งไวโ้ ดยชดั เจนและตอ้ งเปน็ ข้อพระวินัยท่ีได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ในกรณีอุทธรณ์คาวินิจฉัยชั้นต้นตามความในวรรค ๑ ให้ยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือพร้อมด้วยสาเนาอีกตามจานวนท่ีจะต้องส่งแก่อีกฝ่ายหนึ่งต่อคณะผู้พิจารณาชั้นต้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันทราบคาวนิ จิ ฉัยนั้น ตามความในข้อ ๓๙ ขอ้ ๔๒ เม่ือคณะผู้พจิ ารณาชั้นต้น ได้รบั อทุ ธรณ์ตามความในข้อ ๔๑ แล้ว ให้ส่งสาเนาอุทธรณแ์ ก่อีกฝา่ ยหนึง่ เพ่ือแก้อทุ ธรณภ์ ายใน ๑๕ วัน นบั แต่วนั ทไี่ ดร้ บั สาเนาอุทธรณ์น้ัน ๓๘ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

ถ้าส่งสาเนาอุทธรณ์แก่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้เพราะหาตัวไม่พบหรือหลบหนี หรือจงใจไม่รับสาเนาอุทธรณ์ หรือได้รับแก้อุทธรณ์แล้ว หรือพ้นกาหนดแก้อุทธรณ์แล้ว ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นรีบสง่ ไปยงั คณะผู้พจิ ารณาช้นั อทุ ธรณ์ เพื่อพิจารณาวินจิ ฉยั ต่อไป ขอ้ ๔๓ ในการพจิ ารณาวินจิ ฉยั การลงนิคหกรรมช้ันอุทธรณ์ (๑) เมื่อคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์พิจารณาเห็นว่า อุทธรณ์ของโจทก์หรือจาเลยมไิ ด้ยน่ื ภายในเวลาตามท่ีกาหนดไว้ ให้วนิ ิจฉยั ยกอุทธรณน์ ้นั เสยี (๒) ถ้าคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์เห็นสมควรสืบพยานเพ่ิมเติมในปัญหาใดหรือกรณีใด เพ่ือประโยชน์แก่การพิจารณาวินิจฉัย ให้มีอานาจเรียกพยานมาสืบเองหรือส่ังคณะผู้พิจารณาช้ันต้นสืบให้ เมื่อคณะผู้พิจารณาช้ันต้นสืบพยานแล้วให้ส่งสานวนมายังคณะผู้พิจารณาชั้นอทุ ธรณ์ เพอื่ พิจารณาวนิ จิ ฉยั ต่อไป (๓) ถ้าคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์เห็นเป็นการจาเป็น เนื่องจากคณะผู้พิจารณาช้ันต้นมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามวิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้น ใ ห้สั่งให้คณะผู้พิจารณาชัน้ ต้นปฏบิ ตั ิการใหถ้ กู ต้อง แลว้ สง่ สานวนคืนไปยังคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ (๔) ในกรณีที่จาเลยผู้หนึ่งอุทธรณ์คาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาช้ันต้นซึ่งวินิจฉัยให้ลงนิคหกรรมแก่จาเลยหลายรูป ในความผิดฐานเดียวกันหรือต่อเนื่องกัน ถ้าคณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์วินิจฉัยกลับ หรือแก้คาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาชั้นต้นโดยไม่ลงนิคหกรรมหรือลดนิคหกรรมให้จาเลย อันเป็นการอยู่ในส่วนลักษณะความผิด คณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์มีอานาจวินิจฉัยตลอดไปถึงจาเลยอ่ืนซ่ึงมิได้อุทธรณ์ ให้มิต้องถูกลงนิคหกรรมหรือได้ลดนิคหกรรมเช่นเดียวกับจาเลยผอู้ ุทธรณ์ ข้อ ๔๔ ในระหว่างการพิจารณาวนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรมชน้ั อทุ ธรณ์ ถ้าปรากฏว่า (๑) จาเลยถึงมรณภาพ ให้ยตุ ิการพจิ ารณา (๒) จาเลยพ้นจากความเป็นพระภิกษุ ให้ยุติการพิจารณา เว้นแต่ในกรณีความผดิ ครกุ าบัติ ข้อ ๔๕ คาวินิจฉัยชั้นอุทธรณ์ นอกจากมีข้อความซ่ึงกาหนดให้มีคาในวินิจฉัยชั้นต้นตามความในข้อ ๓๘ แล้ว ให้มขี ้อความดงั ตอ่ ไปนด้ี ว้ ย (๑) ชือ่ ฉายา นามสกลุ อายุ พรรษา สานัก และสงั กัดของผู้อุทธรณ์ (๒) คาวินิจฉัยใหย้ ืน ยก แก้ หรือกลบั คาวนิ ิจฉยั ช้ันต้น ข้อ ๔๖ เม่ือคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์พิจารณาวินิจฉัยเสร็จแล้ว ให้อ่านคาวินิจฉัยโดยมิชักช้า และจะอ่านคาวินิจฉัยนั้น โดยคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์ หรือจะส่งไปให้คณะผู้พจิ ารณาชน้ั ต้นอา่ นก่อนก็ได้ ๓๙ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

ในการอ่านคาวนิ จิ ฉัยดังกลา่ วในวรรคตน้ ใหน้ าความในข้อ ๓๙ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม ข้อ ๔๗ วิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นอุทธรณ์ นอกจากท่ีกาหนดไว้แล้วในส่วนที่ ๓ นี้ ให้นาความในส่วนที่ ๒ ว่าด้วยวิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันต้นมาใช้บังคับโดยอนโุ ลมตามควรแกก่ รณี ข้อ ๔๘ คาวินจิ ฉยั ช้ันอทุ ธรณ์ ใหถ้ ึงทส่ี ดุ ในกรณีอย่างใดอย่างหนงึ่ (๑) โจทก์และจาเลยมิได้ฎีกาตามความในข้อ ๔๙ (๒) คณะผู้พิจารณาช้ันฎีกามีคาสั่งให้ยกฎีกาตามความในข้อ ๕๐ วรรค ๒ หรือสั่งใหย้ ุติการพจิ ารณาตามความในขอ้ ๕๑ สว่ นท่ี ๔ วิธีพิจารณาวนิ จิ ฉัยการลงนิคหกรรมช้นั ฎีกา ข้อ ๔๙ คาวินิจฉัยชั้นอุทธรณ์ โจทก์จาเลยมีสิทธ์ิฎีกาได้ในปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาพระวินัย ส่วนเรื่องข้อเท็จจริงและข้อพระวินัยท่ียกข้ึนอ้างอิงในฎีกาให้นาความในข้อ ๔๑วรรค ๑ มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม ปญั หาขอ้ เทจ็ จริงตามความในวรรค ๑ หา้ มมใิ ห้โจทก์จาเลยฎีกาในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) คณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์วินิจฉัยลงนิคหกรรมแก่จาเลยยืนตามคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาช้นั ตน้ เก่ียวกบั ความผิดอยา่ งอืน่ นอกจากความผดิ อนั ติมวัตถุ (๒)คณะผู้พิจารณาช้ันอุทธรณ์วินิจฉัยลงนิคหกรรมแก่จาเลยยืนตามคาวินิจฉัยของคณะผู้พิจารณาชั้นต้นเกี่ยวกับความผิดท่ีมีการวินิจฉัยลงนิคหกรรมเกินกว่าคาฟ้องของโจทก์ตามความในข้อ ๓๗ (๓) นอกจากความผิดอนั ตมิ วตั ถุ (๓) คณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์วินิจฉัยลงนิคหกรรมแก่จาเลยยืนตามคาวินิจฉัยของคณะผพู้ ิจารณาชนั้ ต้น ให้ยกฟอ้ งของโจทก์โดยอาศยั ข้อเท็จจริงเชน่ เดียวกนั ขอ้ ๕๐ วธิ กี ารย่นื ฎีกาและการรับสง่ ฎกี าไปยงั คณะผพู้ ิจารณาช้ันฎกี าใหน้ าความในข้อ ๔๑วรรค ๒ และขอ้ ๔๒ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม ถ้าปรากฏว่า ฎีกาของโจทก์หรือจาเลยประกอบด้วยลักษณะข้อห้ามอย่างใดอย่างหน่ึงตามความในขอ้ ๔๙ วรรค ๒ ใหค้ ณะผพู้ ิจารณาชั้นฎีกาวนิ ิจฉัยยกฎกี าน้ันเสยี ข้อ ๕๑ วิธปี ฏบิ ัติในการพิจารณาวินจิ ฉยั การลงนคิ หกรรมชัน้ ฎกี าใหน้ าความในข้อ ๔๓และข้อ ๔๔ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ๔๐ คู่มือพระสังฆาธกิ าร

ข้อ ๕๒ ในกรณีท่ีมีการฎีกาในปัญหาพระวินัย โดยไม่มีการฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงการวินิจฉัยปัญหาพระวินัยน้ัน ให้คณะผู้พิจารณาชั้นฎีกาฟังข้อเท็จจริงตามท่ีคณะผู้พิจารณาชน้ั อุทธรณว์ นิ จิ ฉัยมาแล้วจากพยานหลกั ฐานในสานวน ขอ้ ๕๓ การทาคาวินจิ ฉยั ช้ันฎีกา และการอ่านคาวนิ จิ ฉัยชั้นฎกี า ให้นาความในข้อ ๔๕และข้อ ๔๖ มา ใช้บังคับโดยอนโุ ลม ข้อ ๕๔ วิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมชั้นฎีกา นอกจากกาหนดไว้แล้วในส่วนที่ ๔ น้ี ให้นาความในส่วนที่ ๓ ว่าด้วยวิธีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมช้ันอุทธรณ์มาใช้บังคับโดยอนุโลมตามควรแกก่ รณี หมวด ๔ วธิ ีอา้ งพยานหลักฐาน ข้อ ๕๕ พยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ ซ่ึงน่าจะพิสูจน์ได้ว่าจาเลยมีความผิดหรอื บรสิ ทุ ธใิ์ หอ้ ้างเปน็ พยานหลักฐานได้ พยานหลักฐานท่ีอ้างนั้น ต้องเป็นพยานหลักฐานชนิดที่มิได้เกิดจากความจูงใจมคี ามัน่ สัญญา ขูเ่ ข็ญ หลอกลวง หรอื โดยประการอ่นื อันมชิ อบ ข้อ ๕๖ ในการอ้างพยานบุคคล ห้ามมิให้โจทก์อ้างจาเลยเป็นพยาน จาเลยอาจอ้างตนเองเป็นพยานได้ ถ้าจาเลยอ้างตนเองเป็นพยาน จะให้จาเลยเข้าสืบก่อนพยานของฝ่ายจาเลยก็ได้ และถ้าคาของจาเลยซ่งึ ใหก้ ารเปน็ พยานน้ัน ปรกั ปราหรือเสยี หายแกจ่ าเลยอื่น จาเลยอื่นซกั คา้ นได้ ข้อ ๕๗ ในกรณีอ้างพยานเอกสาร ให้นาต้นฉบับเอกสารน้ันมาอ้าง ถ้าหาต้นฉบับไม่ได้จะอา้ งสาเนาท่ีรบั รองว่าถกู ต้อง หรอื พยานบุคคลทร่ี ู้ข้อความมาเป็นพยานก็ได้ ถ้าพยานเอกสารที่อ้างน้ัน เป็นหนังสือของทางการคณะสงฆ์หรือหนังสือราชการ แม้ต้นฉบับยงั มอี ยู่ จะส่งสาเนาซ่ึงเจ้าหนา้ ที่ รับรองว่าถูกตอ้ งก็ได้ เวน้ แต่ในหนังสอื เรยี กจะบ่งไว้เป็นอย่างอื่น ถ้าพยานเอกสารที่อ้างน้ัน มิได้อยู่ในความยึดถือของผู้อ้าง ถ้าผู้อ้างแจ้งถึงลักษณะพร้อมท้งั ท่อี ยู่ของเอกสารต่อคณะผู้พจิ ารณา ให้คณะผู้พจิ ารณาเรียกเอกสารนน้ั จากผู้ยึดถอื ข้อ ๕๘ ในการอ้างส่ิงใดเป็นพยานวัตถุ ให้นาส่ิงน้ันมายังคณะผู้พิจารณา ถ้านามาไม่ได้ ให้คณะผู้พิจารณาทุกรูปหรือมอบหมายให้ผู้พิจารณารูปใดรูปหน่ึงไปตรวจดูรายงานยังที่ที่พยานวัตถุน้ันตั้งอยู่ ตามเวลาและวิธีซึ่งคณะผู้พิจารณาหรือผู้พิจารณาเห็นสมควรตามลักษณะแหง่ พยานวัตถุ ข้อ ๕๙ ผู้ใดโดยอาชีพหรือมิใช่ก็ตาม มีความชานาญพิเศษในการใดๆ เช่น ในทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ ฝีมือ พาณิชยการ หรือการแพทย์ และความเห็นของผู้นั้นอาจเป็น ๔๑ คมู่ ือพระสังฆาธกิ าร

ประโยชน์ในการไต่สวนมูลฟ้อง หรือการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรม ซ่ึงอาจเป็นพยานในกรณีต่าง ๆ เป็นต้นว่า ตรวจร่างกาย หรือจิตของผู้เสียหาย ตรวจลายมือทาการทดลอง หรือกิจการอยา่ งอ่ืน ๆ คณะผู้พิจารณาจะให้ผู้ชานาญการพิเศษทาความเห็นเป็นหนังสือก็ได้ แต่ต้องให้มาเบิกความประกอบหนังสือนั้นและต้องส่งสาเนาหนังสือดังกล่าวแล้วแก่โจทก์และจาเลยทราบลว่ งหน้าไม่น้อยกวา่ ๓ วัน ก่อนวนั เบิกความ เม่ือมีความจาเป็นต้องใช้ผู้ชานาญการพิเศษ ถ้าหากไม่ได้ในฝ่ายคณะสงฆ์ จะขอจากเจา้ หนา้ ที่ฝา่ ยราชอาณาจักรก็ได้ ข้อ ๖๐ ในกรณีที่โจทก์จาเลยหรือผู้ใด ซ่ึงจะต้องให้การหรือส่งพยานหลักฐานอย่างใดอย่างหนึง่ อันประกอบดว้ ยลกั ษณะ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ข้อความหรือเอกสาร ซ่งึ ยังเปน็ ความลับในการคณะสงฆ์ หรือในราชการ (๒) ความลับหรือเอกสารลับ ซึ่งได้มาหรือทราบเน่ืองด้วยปกติธุระหรือหน้าท่ีของเขา (๓) วธิ กี าร แบบแผน หรอื งานอย่างอื่น ซงึ่ มีกฎหมายควบคุมมใิ ห้เปดิ เผย โจทก์จาเลยหรือผู้น้ันอาจปฏิเสธไม่ยอมให้การ หรือส่งพยานหลักฐานดังกล่าวนั้นเวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนุญาตจากทางการคณะสงฆ์ ทางราชการ หรือบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งกับความลบั นนั้ กรณีดังกล่าวข้างต้น คณะผู้พิจารณาอาจแจ้งให้ทางการคณะสงฆ์ ทางราชการหรือบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับความลับน้ัน มาช้ีแจงถึงเหตุผลที่ไม่สมควรให้การหรือส่งพยานหลักฐานดงั กล่าวนนั้ โดยชัดแจง้ ต่อคณะผู้พจิ ารณา หมวด ๕ วิธบี งั คบั ตามคาวนิ ิจฉัยลงนคิ หกรรม ข้อ ๖๑ เมื่อจาเลยรูปใดต้องคาวินิจฉัยให้รับนิคหกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งถึงที่สุดแล้วให้คณะผู้พิจารณาซึ่งอ่านคาวินิจฉัย แจ้งผลวินิจฉัยแก่ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิดของจาเลยรูปนั้นทราบเพ่อื ดาเนินการให้เป็นไปตามคาวินิจฉัยนนั้ ขอ้ ๖๒ ถา้ จาเลยดังกลา่ วในขอ้ ๖๑ ไมย่ อมรับนิคหกรรมอยา่ งใดอย่างหนึ่งดงั ต่อไปนี้ (๑) ไม่ยอมรับนิคหกรรมตามคาวินิจฉัยให้สึก ไม่สึกภายในย่ีสิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ได้รับคาวินิจฉัย อาจเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ซึ่งกาหนดโทษอาญาไว้ในมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ๔๒ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

(๒) ไม่ยอมรับนิคหกรรมตามคาวินิจฉัยไม่ถึงให้สึก ให้ผู้บังคับบัญชารายงานโดยลาดบั ถงึ มหาเถรสมาคม เมอื่ มหาเถรสมาคมวนิ ิจฉัยและมีคาส่ังให้สละสมณเพศแล้ว ไม่สึกภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ได้ทราบคาวินิจฉัยของมหาเถรสมาคมอันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ วรรค ๒ ซึ่งกาหนดโทษอาญาไว้ในมาตรา ๔๒ แหง่ พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ในกรณีเช่นนี้ ให้พระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาใกล้ชิดของจาเลยรูปนัน้ ขออารักขาต่อเจา้ หน้าทฝี่ า่ ยราชอาณาจักร หมวด ๖ เบด็ เตล็ด ข้อ ๖๓ โจทก์หรือจาเลย จะแต่งตั้งผู้หน่ึงผู้ใดให้ว่าต่าง หรือแก้ต่างในกรณีไต่สวนมูลฟ้องและในกรณีพิจารณาวนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรมมไิ ด้ ข้อ ๖๔ บรรดาเอกสารสานวนเกี่ยวกับการไต่สวนมูลฟ้องและการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมเป็นเอกสารลับ เฉพาะคาสั่งหรือคาวินิจฉัยของผู้พิจารณาหรือคณะผู้พิจารณาถ้าโจทก์จาเลยจะขออนุญาตคัดสาเนาเพ่ือประโยชน์ในการอุทธรณ์หรือฎีกา ให้ผู้พิจารณาหรือคณะพิจารณาอนุญาต โดยใหอ้ ยู่ในความควบคมุ ของผู้อนุญาตและให้ผูอ้ นญุ าตลงนามไว้ด้วย การโฆษณาเอกสารตามความในวรรคตน้ จะกระทาไดโ้ ดยอนมุ ัติมหาเถรสมาคม ข้อ ๖๕ พระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ทุกช้ัน มีหน้าที่ต้องช่วยเหลือ และอานวยความสะดวกในกรณีไต่สวนมูลฟ้อง และในกรณีพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมที่ได้รับคาร้องขอ หรอื คาส่ังใหป้ ฏบิ ัตกิ ารใด ๆ จากผูพ้ ิจารณาหรือคณะผพู้ ิจารณาแล้วแต่กรณี ตราไว้ ณ วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๒๑ สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมหมายเหตุ : - เหตผุ ลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคมฉบบั นี้ คือ เนื่องจากความในข้อ ๓ (๗) ข.แหง่ กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๐๖) กาหนดอานาจหน้าท่ีตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซ่ึงได้กาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๑(พ.ศ. ๒๕๒๑) ว่าด้วยการลงนิคหกรรม และกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๐๖) ว่าด้วยการลงนิคหกรรมแก่พระภิกษุนั้น เป็นบทบัญญัติที่กาหนดให้การลงนิคหกรรม แก่พระภิกษุเป็นไปตามกาหนดไว้ในระเบียบมหาเถรสมาคมและมอบหมายใหม้ หาเถรสมาคมมีอานาจหนา้ ทพี่ ิจารณาวินิจฉยั อธกิ รณท์ ค่ี ้างปฏิบัตอิ ยกู่ ่อนวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๐๖ บดั นี้ สมควรยกเลกิ ความในขอ้ ๓ (๗) ข. แหง่ กฎมหาเถรสมาคมฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๐๖) กาหนดอานาจหนา้ ท่ีตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ และกฎมหาเถรสมาคมฉบบั ที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๐๖) และตราขนึ้ เป็นกฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑) วา่ ดว้ ยการลงนคิ หกรรม ๔๓ ค่มู อื พระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕)๓๕ ว่าดว้ ยระเบียบการประชุมมหาเถรสมาคม --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมน้ีเรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕)วา่ ดว้ ยระเบียบการประชุมมหาเถรสมาคม” ข้อ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ต้งั แต่วันใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิก (๑) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๖) ว่าด้วยระเบียบการประชุมมหาเถรสมาคม (๒) กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑ แกไ้ ขเพิ่มเติม (พ.ศ. ๒๕๒๐) บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ หรือประกาศอ่ืนใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้หรือซ่ึงขัดหรือแย้งกับกฎหมายมหาเถรสมาคมน้ีให้ใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้แทน หมวดท่ี ๑ บททวั่ ไป ข้อ ๔ การประชุมมหาเถรสมาคม มี ๒ อย่าง (๑) การประชุมปกติ (๒) การประชมุ พิเศษ๓๕ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เลม่ ๘๐ ฉบับพเิ ศษ (๒) วันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕ ๔๔ ค่มู ือพระสังฆาธกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook