Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำราNL605 (FULL)

ตำราNL605 (FULL)

Published by Petcharat Saelin, 2022-07-05 09:32:25

Description: ตำราNL605 (FULL)

Search

Read the Text Version

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั อาจสง่ ผลให้ธุรกิจหยดุ ชะงกั เป็นเวลานาน ดงั นนั้ ในปีค.ศ.1821 ท่ีประเทศองั กฤษมีกรมธรรม์ประกนั ผลกาไร อีกประเภทหนง่ึ เรียกวา่ Time Loss Policy ซงึ่ จะชดใช้ตามจานวนวนั ที่ธุรกิจหยดุ ชะงกั โดยคานวณเป็น 1/365 ตอ่ ผลกาไรทงั้ ปี ข้อเสียของกรมธรรม์ประกนั ภยั ประเภทนี ้คอื ไมไ่ ด้มีข้อกาหนดให้การชดใช้การสญู เสียใน กรณีท่ีความเสียหายเพียงบางสว่ นหรือพิจารณาถงึ ความเสียหายตอ่ ผลกาไรท่ีได้ตามฤดกู าล เชน่ ชว่ ง คริสต์มาส หรือปีใหม่ เป็นต้น ในปี ค.ศ.1899 การประกนั ผลกาไรจากยอดรายได้ Turnover ได้เริ่มใช้เป็นครัง้ แรกและได้มีการแก้ไข เปล่ียนแปลงตลอดมา จนกระทง่ั สามารถใช้เป็นแบบมาตรฐานในสหราชอาณาจกั รในปี ค.ศ.1939 และใน ประเทศนิวซีแลนด์ ค.ศ.1940 และการประกนั ภยั แบบใช้ยอดรายได้ (Turnover) ยงั เป็นแบบพืน้ ฐานท่ีนิยมใช้ กนั อยแู่ ละมีการตดิ เง่ือนไขพิเศษเพ่มิ เตมิ เพื่อขยายสญั ญาในกรมธรรม์ประกนั ภยั โดยใช้ดชั นีเพ่ือการคานวณ ในกรณีที่มีภาวะธรุ กิจเข้ามาเก่ียวข้อง ดงั นนั้ กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั มีจดุ ประสงค์ คือ เพ่ือทาให้ผ้เู อาประกนั ภยั กลบั สสู่ ถานะทาง การเงินดงั เดมิ ในทางการค้าเสมือหนงึ่ มิได้มีอคั คีภยั หรือภยั อ่ืนท่ีเอาประกนั ภยั เกิดขนึ ้ ซงึ่ นกั ศกึ ษาจะได้เรียนรู้ เนือ้ หาทงั้ หมดในบทเรียนนี ้ งบกาไรขาดทุน xxxxx ยอดขาย Turnover xxxxx xxxxx - ต้นทนุ ขาย variable cost xxxxx กาไรขนั้ ต้น Gross profit xxxxx xxxxx - เงินเดือนพนกั งาน salary - คา่ ใช้จา่ ยประจาอื่นๆ other expenses กาไร(ขาดทนุ )สทุ ธิ Net profit/loss รูปแบบบัญชีการค้า (Trading Account) ยอดขาย (Turnover) – ต้นทนุ ขาย (Variable cost) = กาไรขนั้ ต้น (Gross Profit) สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/2 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ตวั อยา่ งบญั ชีการค้า (trading account) • สนิ ค้าต้นงวด 40,000 • รายได้ 1,500,000 36,000 • สนิ ค้าระหว่างผลติ 10,000 • สนิ ค้าปลายงวด 9,000 • วตั ถดุ บิ 500,000 • สนิ ค้าระหวา่ งผลติ 1,545.000 • วสั ดสุ นิ ้ เปลือง 46,000 • คา่ ขนสง่ 30,000 • คา่ แรง 420,000 • คา่ ไฟฟา้ 10,000 • คา่ พลงั งาน 20,000 • กาไรขนั้ ต้น 459,000 1,545,000 รูปแบบบัญชี กาไร ขาดทุน (P&L Statement) Gross profit กาไรขัน้ ต้น Gross profit กาไรขนั้ ต้น Payroll ค่าจ้ าง Fixed Cost เงินเดือน Selling Cost คา่ ใช้จา่ ยทางการตลาด Admin Cost คา่ ใช้จา่ ยสานกั งาน Net Profit กาไรสุทธิ Net Profit กาไรสุทธิ ภาพแสดงรูปแบบบัญชี กาไร ขาดทุน บทท่ี 9/3 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ตวั อยา่ งบญั ชีกาไรขาดทนุ (profit & loss statement) • เงินเดือน 145,000 • กาไรขนั้ ต้น 459,000 15,000 • คา่ ใช้จา่ ยสานกั งาน 20,000 • คา่ เชา่ ได้รับ 25,000 • คา่ เชา่ 25,000 • ดอกเบยี ้ เงินฝาก 499,000 • ดอกเบยี ้ เงินกู้ 10,000 • คา่ ประกนั ภยั 8,000 • คา่ เส่ือมราคา 45,000 • หนีส้ ญู 3,000 • กาไรสทุ ธิ 243,000 499,000 ส่วนประกอบของยอดขาย Turnover Profit Payroll Fix cost Variables ภาพแสดงส่วนประกอบของยอดขาย Turnover สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/4 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

ทรัพย์สนิ ท่ีทาประกันภัย NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ ไฟไหม้ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั กรมธรรม์ Fire/IAR ชดใช้ ความเสียหายทรัพย์สิน ความเสียหาย ธรุ กิจหยดุ ทางาน ต้องซ่อมแซม เครื่องจกั รผลิตไมไ่ ด้ สต๊อกเสียหายจากไฟไหม้ทงั้ หมด ขายสินค้าไมไ่ ด้ ไมม่ ีรายได้ไมม่ ียอดขาย มีรายจา่ ย เชน่ เงินเดือนพนกั งาน ภาพแสดงทรัพย์สินท่ที าประกันภัยกรณีไม่มีการประกันภัยธุรกจิ หยุดชะงัก ตารางแสดงงบกาไรขาดทุนกรณีไม่มีการประกันภยั ธุรกจิ หยุดชะงัก ก่อนเกดิ เหตุ- งบกาไรขาดทนุ หลังเกิดเหตุ- งบกาไรขาดทนุ ยอดขาย 100 ยอดขาย 0 ต้นทนุ ขาย - 60 ต้นทนุ ขาย 0 กาไรขนั้ ต้น 40 กาไรขนั้ ต้น 0 Fixed cost - 30 Fixed cost - 30 Net profit +10 ขาดทนุ -30 และจะทาอย่างไรให้ธุรกจิ กลับมาเหมือนเดมิ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/5 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

ภยั ค้มุ ครองไฟไหม้ NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั กรมธรรม์ประกนั ภยั ทรัพย์สนิ ชดใช้ ความเสียหาย BI จะชดใช้ต่อเม่ือความ ธรุ กิจหยดุ ทางาน เสียหายจากกรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สนิ BI ค้มุ ครอง คุ้มครองก่อน กาไรขนั้ ต้นลดลง (Gross Profit) ภาพแสดงทรัพย์สินท่ีทาประกันภยั กรณีมีการประกันภัยธุรกิจหยดุ ชะงกั ตารางแสดงงบกาไรขาดทุนกรณีมีการประกันภยั ธุรกิจหยดุ ชะงัก ก่อนเกดิ เหตุ- งบกาไรขาดทุน หลังเกิดเหตุ- งบกาไรขาดทนุ หากมีประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก ยอดขาย 100 ยอดขาย 0 ยอดขาย 0 ต้นทนุ ขาย - 60 ต้นทนุ ขาย 0 ต้นทนุ ขาย 0 กาไรขนั้ ต้น 40 กาไรขนั้ ต้น 0 ชดใช้กาไรขนั้ ต้นคนื +40 Fixed cost - 30 Fixed cost - 30 Fixed cost - 30 Net profit +10 ขาดทนุ -30 Net profit +10 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/6 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั ตัวอย่าง ก่อนเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ ประกันภัยชดใช้ กลับคืนสู่สภาพเดมิ 1,000,000 200,000 +160,000 200,000 รายได้ 800,000 160,000 160,000 ต้นทนุ สินค้า 200,000 40,000 200,000 กาไรขนั้ ต้น 100,000 100,000 100,000 คา่ ใช้จา่ ยคงที่ 100,000 -60,000 100,000 กาไรสุทธิ การประกันภยั ธุรกิจหยดุ ชะงักคืออะไร? การประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั หมายถงึ การประกนั ภยั การชดใช้กาไรขนั้ ต้น(Gross Profit) ที่สญู เสียไปท่ีเกิด จากการหยดุ ชะงกั ของธรุ กิจ ซง่ึ สืบเน่ืองมาจากความเสียหายจากทรัพย์สินท่ีทาประกนั ภยั และเกิดจากภยั ที่ ค้มุ ครองตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ทรัพย์สินจนกระทง่ั ยอดขายกลบั มาสภู่ าวะปรกติเชน่ เดมิ คาศัพท์ท่เี ก่ียวข้อง 1. Turnover หมายถงึ ยอดขายหรือรายได้ของผ้เู อาประกนั ภยั จากการขายสินค้าหรือบริการตามธรุ กิจท่ี ระบไุ ว้ 2. Variable Cost หมายถงึ ต้นทนุ สนิ ค้าที่แปรผนั โดยตรงกบั ยอดขาย 3. Gross Profit หมายถึง กาไรขนั้ ต้นของธุรกิจ มาจากยอดขาย หกั ด้วย Variable Cost - Difference basis Gross profit = turnover + closing stock – opening stock –uninsured working expenses - Addition basis Gross profit = Net profit + insured standing charges (Fixed Cost) 4. Standing charges หมายถึง Overhead หรือคา่ ใช้จา่ ยคงท่ีซง่ึ ไมว่ า่ ธุรกิจจะมีรายได้หรือไมก่ ็ตาม เชน่ เงินเดอื น ดอกเบีย้ คา่ นา้ คา่ ไฟฟา้ โทรศพั ท์ และคา่ ใช้จา่ ยสานกั งาน 5. Net Profit หมายถึง กาไรสทุ ธิ โดยนา Gross Profit หกั ด้วย Standing Charges 6. Indemnity Period (ระยะเวลาการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน) หมายถงึ ระยะเวลาท่ีเริ่มต้นความเสียหาย และสนิ ้ สดุ ไมต่ า่ กวา่ ระยะเวลาท่ีระบไุ ว้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/7 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั ระยะเวลาชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ระยะเวลาท่ีชดใช้ความเสียหาย ตา่ งจากระยะเวลาประกนั ภยั - ระยะเวลาการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน : ระยะเวลาท่ีเริ่มต้นเม่ือเกิดความเสียหาย และสนิ ้ สดุ ลงไม่ นานเกินกวา่ ระยะเวลาการชดใช้คา่ สินไหมทดแทนสงู สดุ โดยระหวา่ งนนั้ ธุรกิจได้รับผลกระทบอนั เป็นผลสืบเน่ืองมาจากความเสียหาย ตัวอย่างเช่น – ระยะเวลาประกนั ภยั 1 ปี เร่ิม 1 มกราคม 2547 – 1 มกราคม 2548 – ระยะเวลา indemnity period 12 เดือน – หากวนั ที่เกิดเสียวนั ท่ี 1 มกราคม 2548 ซง่ึ เป็นวนั สดุ ท้ายของกรมธรรม์ และธุรกิจหยดุ ชะงกั 8 เดือน จนธรุ กิจกลบั สภู่ าวะเดมิ – ดงั นนั้ การเลือก indemnity period จงึ เลือกได้ตงั้ แต่ 1 เดือน เป็นต้นไป โดยปรกตจิ ะเลือก 12 เดือน ซง่ึ ขนึ ้ กบั ประเภทธุรกิจวา่ จะสามารถกลบั คืนสภู่ าวะปรกตเิ มิ่อไร ระยะเวลาประกนั ภยั 12 เดือน วนั เกดิ ไฟไหม้ 1/1/2547 1/1/2548 ระยะเวลาซอ่ มแซม 8 เดือน ยอดขาย ภาพแสดงการเกิดเหตุ ระยะเวลาประกนั ซอ่ มแซมโรงงาน 8 เดือน 1/1/2547 1/1/2548 31/8/2548 ระยะเวลา บทท่ี 9/8 ภาพแสดงระยะเวลาชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน สถาบนั ประกนั ภยั ไทย ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั 7. Rate of Gross Profit หมายถงึ อตั ราสว่ นกาไรขนั้ ต้นตอ่ ยอดขาย 8. Annual Turnover ยอดรายได้รายปี หมายถึง ยอดขายตลอดระยะเวลา 12 เดือนก่อนวนั เกิดเหตุ ความเสียหาย 9. Standard Turnover ยอดรายได้มาตรฐาน หมายถึง ยอดขายในระยะเวลาเดียวกบั ระยะเวลาที่หยดุ ช งกั ของปีก่อน 10. Under Insurance หมายถงึ จานวนเงินเอาประกนั ภยั ท่ีต่ากวา่ มลู คา่ โดยเปรียบเทียบจาก Annual Turnover x rate of GP = ทนุ ประกนั ภยั ที่ควรเป็น ทรัพย์สนิ ท่ีคุ้มครอง (Property Covered) ทรัพย์สนิ ท่ีค้มุ ครอง = กาไรขนั้ ต้น (Gross Profit) จานวนเงนิ เอาประกันภยั (Sum Insured) หลกั การคานวณจานวนเงินเอาประกนั ภยั มี 2 แบบ 1. แบบผลตา่ ง (Difference Basis) Gross profit = turnover + closing stock – opening stock –uninsured working expenses 2. แบบผลรวม ( Addition Basis) Gross profit = Net profit + insured standing charges การหาจานวนเงนิ เอาประกันภยั BI หาจาก Gross Profit (กาไรขัน้ ต้น) มี 2 วิธี ยอดขาย วิธีท่ี 1 ผลต่าง difference basis หัก ต้นทนุ แปรผนั วิธีท่ี 2 ผลบวก addition basis กาไรขัน้ ต้น หัก คา่ ใช้จา่ ยคงท่ี กาไรสทุ ธิ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/9 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั วธิ ีที่ 1 แบบผลตา่ ง Difference basis Gross profit = turnover + closing stock – opening stock - uninsured working expenses Turnover xxxxx อตั รา % + Closing stock + xxxxx 100% - Opening stock - xxxxx - uninsured working expense - xxxxx 80% Gross Profit xxxxx 20% ดังนัน้ อัตราส่วนของ Gross profit จะแปรผันกับยอดขายเสมอ ตวั อยา่ งการคานวณกาไรขนั้ ต้น ตวั อยา่ งบญั ชีการค้าระยะเวลา 1/1/20xx - 31/12/20xx สินค้าต้นงวด (1 มกราคม) 25,000 ยอดขาย 800,000 30,000 วตั ถดุ บิ 300,000 สนิ ค้าปลายงวด (31 ธนั วา) 830,000 คา่ พลงั งาน 20,000 คา่ ขนสง่ 10,000 คา่ แรงแปรผนั 100,000 กาไรขนั้ ต้น xxxxxx 830,000 คานวณวธิ ีที่ 1 แบบผลตา่ ง Difference basis Turnover 800,000 30,000 + Closing stock + 25,000 430,000 - Opening stock - 375,000 - uninsured working expense - Gross Profit สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/10 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั วธิ ีที่ 2 โดยผลบวก Addition basis Gross profit = Net profit + Insured standing charges (Fixed cost)*** *** Insured standing charges (Fixed cost) ได้แก่ - คา่ เงินเดือน คา่ จ้าง - คา่ โทรศพั ท์ คา่ นา้ คา่ ไฟฟ้า - คา่ เสื่อมราคา - คา่ การตลาด - คา่ ใช้จา่ ยอ่ืนๆ - ฯลฯ ตัวอย่าง บญั ชีกาไรขาดทนุ ระยะเวลา 1/1/20xx - 31/12/20xx คา่ เชา่ 10,000 กาไรขนั้ ต้น 375,000 375,000 โทรศพั ท์ 11,000 เครื่องเขียน 6,000 โฆษณา 3,000 คา่ จ้างแรงงาน 240,000 คา่ พาหนะ 10,000 คา่ ไฟฟา้ 6,000 คา่ เสื่อมราคา 30,000 คา่ ประกนั ภยั 5,000 คา่ ไปรษณีย์ 1,500 คา่ ดอกเบยี ้ 10,000 คา่ ใช้จา่ ยอื่นๆ 9,000 คา่ ภาษี 10,000 กาไรสทุ ธิ 23,500 375,000 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/11 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั คานวณวิธีท่ี 2 โดยผลบวก Addition basis Gross profit = Net profit + Insured standing charges (Fixed cost) 23,500 + 351,500 = 375,000 โดยทงั้ สองวธิ ีจะให้ผลที่เทา่ กนั ตวั อยา่ งการคานวณจานวนเงินเอาประกนั ภยั แบบง่าย และ ตวั อยา่ งคา่ สนิ ไหมทดแทน BI ข้อมูลทางด้านการเงนิ ของปี 2547 ปี 2547 Jan 100,000 • Closing Stock (31/12) 200,000 Feb 120,000 • Opening Stock (1/1) 100,000 Mar 140,000 • Uninsured working 1,332,000 expense April 120,000 - Raw Material May 100,000 - Packing June 150,000 - Carriage July 130,000 - Lighting 20% Aug 120,000 - Heating 20% Sept 140,000 - Power Oct 120,000 Nov 140,000 Dec 160,000 Total Turnover 1,540,000 คานวณวิธีที่ 1 โดยผลตา่ ง Difference basis Turnover ปี 2547 1,540,000 + Closing stock + 200,000 - Opening stock - 100,000 - uninsured working expense - 1,332,000 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/12 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั Gross Profit 308,000 ภัยท่คี ุ้มครอง (Standard Perils) การประกันภยั ธุรกิจหยุดชะงกั ต่อเน่ืองจากกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย 1) ไฟไหม้ แตไ่ มร่ วมถงึ ความเสียหาย :- 1.1 จากแรงระเบิด อนั เป็นผลมาจากไฟไหม้ เว้นแตแ่ รงระเบดิ ของแก๊สที่ใช้สาหรับทาแสงสวา่ งหรือ ประโยชน์เพ่ือการอยอู่ าศยั 1.2 โดยตรงหรือโดยอ้อมจากแผน่ ดนิ ไหว 1.3 ตอ่ ทรัพย์สินท่ีเอาประกนั ภยั อนั เกิดจาก 1.3.1 การบดู เนา่ หรือการระอตุ ามธรรมชาติ หรือ การลกุ ไหม้ขนึ ้ เองเฉพาะที่เกิดจากตวั ทรัพย์สนิ นนั้ เองเท่านนั้ หรือ 1.3.2 การที่ทรัพย์สินนนั้ อยใู่ นระหวา่ งกรรมวิธีใดๆ ซง่ึ ใช้ความร้อนหรือทาให้แห้ง 2) ฟ้าผา่ 3) แรงระเบดิ ของแก๊สท่ีใช้สาหรับทาแสงสวา่ งหรือประโยชน์เพ่ือการอยอู่ าศยั เทา่ นนั้ แตไ่ มร่ วมถึงความ เสียหายจากการระเบดิ ของแก๊สจากแผน่ ดนิ ไหว 4) ความเสียหายเนื่องจากภยั เพิม่ พิเศษ ท่ีได้ระบไุ ว้ชดั เจนในกรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั ในระหวา่ งระยะเวลาท่ีได้เอาประกนั ภยั ตามที่ได้ระบใุ นตารางกรมธรรม์ประกนั ภยั ซงึ่ รวมถงึ ชว่ งเวลา ที่ผ้รู ับประกนั ภยั ได้ตกลงตอ่ อายสุ ญั ญาประกันภยั ด้วย (หากมี) และเป็นผลให้ธรุ กิจที่ดาเนนิ อยู่ ณ สถานที่เอา ประกนั ภยั ต้องหยดุ ชะงกั หรือได้รับผลกระทบแล้วบริษทั จะจา่ ยคา่ สนิ ไหมทดแทนให้แกผ่ ้เู อาประกนั ภยั ตาม จานวนความสญู เสียหรือเสียหายท่ีแท้จริงอนั เป็นผลของการที่ธรุ กิจต้องหยดุ ชะงกั หรือได้รับผลกระทบตามแต่ ละรายการที่ระบไุ ว้ในตารางกรมธรรม์ประกนั ภยั ข้อกาหนดในการประกันภัยธุรกจิ หยดุ ชะงกั “ทงั้ นี้ ในขณะท่ีเกดิ ความสูญเสียหรือเสียหายจะต้องมีการประกันอัคคีภัย ซ่งึ มีผลบังคับอยู่ และ คุ้มครองส่วนได้เสียในทรัพย์สินของผู้เอาประกันภัยท่ีได้รับความเสียหาย ณ สถานท่ี เอา ประกันภัยและความเสียหายท่เี กิดจากภัยท่ไี ด้รับความคุ้มครอง โดยบริษัทประกันภัยท่ี รับ ประกันภัยอัคคีภัยท่ไี ด้ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันอัคคีภยั ตกลงจะชดใช้ความเสียหายนัน้ ๆ” สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/13 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั - การประกนั ภยั BI จะต้องเป็นการประกนั ภยั ท่ีตอ่ เน่ืองจากกรมธรรม์ประกนั ภยั ทรัพย์สิน (Fire/IAR) ดงั นนั้ ภยั ท่ีค้มุ ครองภายใต้การประกนั ภยั BI จงึ ต้องเป็นภยั ที่ค้มุ ครองเชน่ เดียวกบั ภยั ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ทรัพย์สนิ (Fire/IAR) เชน่ อคั คีภยั ฟ้าผา่ แผน่ ดนิ ไหว นา้ ทว่ ม เป็นต้น ภัยท่ขี ยายเพ่มิ เตมิ (Extended Perils) กรมธรรม์นีส้ ามารถขยายความค้มุ ครองเพิ่มได้ ตามภยั ท่ีขยายเพ่ิมเตมิ ของกรมธรรม์อคั คภี ยั เชน่ ภยั ลมพายุ ภยั นา้ ทว่ ม ภยั แผน่ ดนิ ไหว ภยั ลกู เห็บ ภยั จากยวดยานพาหนะ เป็นต้น (ดภู ยั ท่ีขยายเพมิ่ เตมิ ใน เร่ืองกรมธรรม์อคั คภี ยั ) ดงั นนั้ ภยั ที่ขยายเพิม่ เตมิ นี ้จะต้องเป็นภยั ท่ีขยายเพ่ิมเตมิ ในกรมธรรม์อคั คีภยั หลกั เชน่ กรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั หลกั ขยายภยั เพมิ่ เตมิ : ภยั ลมพายุ ภยั จากยวดยานพาหนะ กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั จะต้องขยายภยั เพ่มิ เตมิ : ภยั ลมพายุ ภยั จากยวดยานพาหนะ ให้ เหมือนกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั หลกั เชน่ เดียวกนั กรมธรรม์ประกันภยั ธุรกิจหยุดชะงักจะเร่ิมทางานต่อเม่ือ 1. ต้องเกิดความเสียหายตอ่ ทรัพย์สนิ ที่เอาประกนั จากภยั ท่ีค้มุ ครองภายใต้กรมธรรม์ อคั คีภยั / IAR 2. ต้องชดใช้ความเสียหายตอ่ ทรัพย์สนิ ท่ีเอาประกนั ภยั กอ่ น 3. การเสียหายของทรัพย์สนิ ต้องเป็นสาเหตทุ าให้ กาไรขนั้ ต้นลดลง กรมธรรม์ BI จงึ จะเร่ิมทางาน กรมธรรม์ประกันภยั ธุรกิจหยุดชะงกั จะเร่ิมคุ้มครองเม่ือไร ? 1. เริ่มค้มุ ครองตามวนั ที่เดียวกบั การประกนั ภยั ทรัพย์สิน เชน่ – วนั เร่ิมค้มุ ครองการประกนั ภยั ทรัพย์สนิ 1 มกราคม 2548 – วนั เร่ิมค้มุ ครอง BI 1 มกราคม 2548 2. ทงั้ สองกรมธรรม์ต้องมีระยะเวลาประกนั ภยั เทา่ กนั เชน่ 12 เดือน ความคุ้มครองขยายเพ่มิ เตมิ (Additional Coverage) จะขอกลา่ วตอนท้ายบท ข้อยกเว้น (Exclusions) สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/14 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ มค่ ้มุ ครอง 1) ความเสียหายสืบเน่ืองจากสงคราม การรุกราน การกระทาท่ีมงุ่ ร้ายของศตั รูตา่ งชาติ หรือการกระทาท่ี มงุ่ ร้ายคล้ายสงคราม ไมว่ า่ จะได้มีการประกาศสงครามหรือไมก่ ็ตาม หรือ สงครามกลางเมือง การแขง็ ข้อ การกบฏ การจลาจล การนดั หยดุ งาน การก่อความวนุ่ วาย การกระทาของผ้กู ่อการร้าย การปฏิวตั ิ การรัฐประหาร การประกาศกฎอยั การศกึ หรือเหตกุ ารณ์ใด ๆ ซงึ่ จะเป็นเหตใุ ห้มีการประกาศหรือคงไว้ ซง่ึ กฎอยั การศกึ 2) ความเสียหายสืบเน่ืองท่ีเป็นผลโดยตรง หรือโดยอ้อมจากสาเหตดุ งั นี:้- 2.1 การแผร่ ังสี หรือการแพร่กมั มนั ตภาพรังสีจากเชือ้ เพลิงนวิ เคลียร์หรือจากกากนิวเคลียร์ใดๆ อนั เน่ืองมาจากการเผาไหม้ของเชือ้ เพลงิ นิวเคลียร์ 2.2 การระเบดิ ของกมั มนั ตรังสี หรือสว่ นประกอบของนิวเคลียร์ หรือทรัพย์อนั ตรายอ่ืนใดท่ีอาจ เกิดการระเบิดในกระบวนการนิวเคลียร์ได้ 3) ความเสียหายสืบเน่ืองจากการเผาทรัพย์สิน โดยคาสง่ั เจ้าหน้าที่ หรือพนกั งานผ้มู ีอานาจตามกฎหมาย ข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชงกั จะเหมือนข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั เง่อื นไขท่วั ไป (Conditions) 1) การตกเป็นโมฆียะของกรมธรรม์ประกนั ภยั ถ้าได้มีการบรรยายคลาดเคล่ือนในข้อความจริงอนั เป็นสาระสาคญั ซง่ึ บริษทั จาเป็นต้องรู้เพื่อการ ประเมนิ ความเส่ียงภยั หรือเพื่อการกาหนดเบยี ้ ประกนั ภยั หรือมีการละเว้นไมเ่ ปิดเผยข้อความจริง ดงั กลา่ วนนั้ ให้ถือวา่ สญั ญาประกนั ภยั ตามกรมธรรม์ประกนั ภัยฉบบั นีต้ กเป็นโมฆียะและบริษัททรงไว้ ซง่ึ สทิ ธิในการบอกล้างสญั ญาประกนั ภยั นี ้ภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกาหนด 2) การระงบั ไปแหง่ สญั ญาประกนั ภยั 3) เว้นแตผ่ ้เู อาประกนั ภยั จะได้แจ้งให้บริษัททราบและบริษัทตกลงยนิ ยอมรับประกนั ภยั ตอ่ ไป โดยได้ บนั ทกึ แสดงไว้ในกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีแ้ ล้ว ความค้มุ ครองตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้เป็น อนั ระงบั สนิ ้ ไปทนั ทีเม่ือ : - 3.1 ธุรกิจนนั้ เลิกกิจการหรือดาเนินการโดยผ้ชู าระบญั ชีหรือผ้พู ิทกั ษ์ทรัพย์ หรือหยดุ ดาเนินการอยา่ ง ถาวร 3.2 กรรมสทิ ธิ์ในทรัพย์สนิ ซงึ่ เอาประกนั ภยั ไว้ ได้ถกู เปลี่ยนมือจากผ้เู อาประกนั ภยั โดยวิธีอื่นนอกจาก ทางพินยั กรรมหรือโดยบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/15 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั 3.3 การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ไมว่ า่ เกี่ยวกบั ธุรกิจหรือสถานประกอบการ หรือ ทรัพย์สินท่ีเก็บอยใู่ นที่ ดงั กลา่ ว อนั ทาให้ความเส่ียงตอ่ ความเสียหายเพ่มิ ขนึ ้ ไมว่ ่า ณ เวลาใดหลงั จากการเริ่มต้นของการ ประกนั ภยั นี ้ 3.4 ผ้เู อาประกนั ภยั ไมช่ าระเบยี ้ ประกนั ภยั เมื่อพ้นกาหนด 60 วนั นบั แตว่ นั เร่ิมต้นระยะเวลาเอา ประกนั ภยั 4) การบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั 4.1 บริษทั อาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ด้วยการบอกกลา่ วลว่ งหน้าเป็นหนงั สือไมน่ ้อย กวา่ 15 วนั โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถงึ ผ้เู อาประกนั ภยั ตามที่อยู่ครัง้ สดุ ท้ายท่ีแจ้งให้บริษทั ทราบ ในกรณีนีบ้ ริษัทจะคนื เบยี ้ ประกนั ภยั ให้แก่ผ้เู อาประกนั ภยั โดยหกั เบยี ้ ประกนั ภยั สาหรับ ระยะเวลาท่ีกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ใช้บงั คบั มาแล้วออกตามสว่ น 4.2 ผ้เู อาประกนั ภยั อาจบอกเลกิ กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้โดยแจ้งให้บริษัททราบเป็นหนงั สือและ มีสิทธิได้รับเบีย้ ประกนั ภยั คืน หลงั จากหกั เบยี ้ ประกนั ภยั สาหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ใช้บงั คบั มาแล้วออก โดยคดิ ตามอตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั ระยะสนั้ หรือหากยงั ไมไ่ ด้ชาระเบยี ้ ประกนั ภยั ผ้เู อาระกนั ภยั จะต้องชาระโดยคิดตามระยะเวลาและอตั ราเบีย้ ประกนั ภยั ในทานอง เดียวกนั ตามตารางตอ่ ไปนี ้ 5) การบอกกลา่ ว คาบอกกลา่ วและการตดิ ตอ่ ใด ๆ ระหวา่ งผ้เู อาประกนั ภยั และบริษทั ในเร่ืองที่เก่ียวข้องกบั กรมธรรม์ ประกนั ภยั ฉบบั นีต้ ้องกระทาเป็นหนงั สือจงึ จะมีผลบงั คบั ได้ 6) อายคุ วาม ความรับผดิ ของผ้รู ับประกนั ภยั เพ่ือความเสียหายตามกรมธรรม์ประกนั ภยั นีย้ อ่ มเป็นอนั สิน้ สดุ ลงใน ทกุ กรณีหากผ้เู อาประกนั ภยั มิได้ดา เนินคดที างศาลหรือยื่นข้อพพิ าทให้อนญุ าโตตลุ าการชีข้ าดภายใน กาหนดระยะเวลาสองปี นบั แตว่ นั เกิดความเสียหาย เว้นแตข่ ้อเรียกร้องนนั้ ยงั อยใู่ นระหวา่ งการ ดาเนนิ คดใี นศาลหรือการพิจารณาโดยอนญุ าโตตลุ าการหรือผ้ชู ีข้ าด หลักการชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน 1) เง่ือนไขการเรียกร้อง และการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน 1.1 หน้าที่ของผ้เู อาประกนั ภยั ในการเรียกร้องคา่ สนิ ไหมทดแทน 1.1.1 เมื่อเกิดความเสียหายตอ่ ทรัพย์สินและเป็นผลสืบเนื่องให้มีการเรียกร้องคา่ สินไหม ทดแทนภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ผ้เู อาประกนั ภยั มีหน้าท่ีดงั นี ้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/16 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั – ต้องแจ้งให้บริษทั ทราบโดยไมช่ กั ช้า – ต้องปฏิบตั หิ รืออนญุ าตให้มีการกระทาการใด ๆ เพ่ือบรรเทาการหยดุ ชะงกั หรือ ผลกระทบในการดาเนินธุรกิจหรือเพ่ือหลีกเลี่ยงหรือ – ลดความเสียหาย โดยถือเสมือนหนง่ึ ไมม่ ีการเอาประกนั ภยั 1.1.2 หากจะมีการเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทนภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้ – ผ้เู อาประกนั ภยั จะต้องสง่ มอบรายละเอียดของความเสียหายสืบเน่ืองเป็น ลาย ลกั ษณ์อกั ษรพร้อมกบั รายละเอียดของการเอาประกนั ภยั อ่ืนๆ ซงึ่ ค้มุ ครอง ทรัพย์สนิ ทงั้ หมดหรือบางสว่ นท่ีผ้เู อาประกนั ภยั ใช้ในการประกอบธรุ กิจ ณ สถานท่ีเอาประกนั ภยั หรือการประกนั ภยั ความเสียหายสืบเนื่องอื่น ๆ ที่อาจจะ เกิดขนึ ้ ด้วย ภายในระยะเวลาไมเ่ กิน 30 วนั หลงั จากวนั สิน้ สดุ ระยะเวลาการชดใช้ คา่ สนิ ไหมทดแทนหรือภายในระยะเวลาท่ีบริษัทขยายให้โดยทาเป็นหนงั สือ ทงั้ นี ้ ด้วยคา่ ใช้จา่ ยของผ้เู อาประกนั ภยั เอง – ผ้เู อาประกนั ภยั จะต้องสง่ มอบเอกสารทางบญั ชี เอกสารทางธรุ กิจ ใบสาคญั จา่ ย ใบกากบั สนิ ค้า งบดลุ และเอกสารอื่น ๆ พร้อมกบั ข้อพิสจู น์ ข้อมลู คาอธิบาย และ หลกั ฐาน อ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือประกอบการเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทน ในการนี ้ บริษทั อาจร้องขอผ้เู อาประกนั ภยั ให้มีหนงั สือรับรองยืนยนั ข้อเท็จจริงวา่ การ เรียกร้องคา่ สินไหมทดแทนและเร่ืองอ่ืนท่ีเก่ียวข้องนนั้ เป็นจริง ตามควรแก่กรณี ทงั้ นีด้ ้วยคา่ ใช้จา่ ยของผ้เู อาประกนั ภยั เอง 1.1.3 หากผ้เู อาประกนั ภยั ไมไ่ ด้ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไข หรือข้อบงั คบั ตา่ ง ๆ ที่ได้กลา่ วไปแล้ว ข้างต้น อาจมีผลทาให้ – บริษทั จะไมร่ ับพิจารณาชดใช้คา่ สินไหมทดแทนท่ีจะมีการเรียกร้องภายใต้ กรมธรรม์ประกนั ภยั นี ้และ – ผ้เู อาประกนั ภยั จะต้องจา่ ยคืนคา่ สนิ ไหมทดแทนบางสว่ นท่ีได้รับไปแล้วให้แก่ บริษัท 2) การประกนั ภยั ซา้ ซ้อนและการร่วมเฉลี่ยการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องแจ้งเป็นหนงั สือให้บริษทั ทราบถงึ การประกนั ภยั ซง่ึ ได้ทาไว้แล้ว หรือท่ีจะมีขนึ ้ ภายหลงั หรือท่ีบคุ คลอื่นได้กระทาในนามของผ้เู อาประกนั ภยั ไว้ก็ตาม โดยการเอาประกนั ภยั ไว้กบั บริษทั ประกนั ภยั อื่น ซง่ึ ให้ความค้มุ ครองในภยั เดียวกนั กบั กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ มว่ า่ ทงั้ หมดหรือ บางสว่ น สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/17 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ในกรณีที่เกิดความเสียหายขนึ ้ และปรากฏว่าได้มีการเอาประกนั ภยั ไว้ในภยั เดยี วกนั นีก้ บั บริษัท ประกนั ภยั อ่ืนไมว่ า่ โดยผ้เู อาประกนั ภยั เอง หรือโดยบคุ คลอื่นใดท่ีกระทาในนามผ้เู อาประกนั ภยั ก็ตาม บริษทั จะร่วมเฉล่ียชดใช้คา่ สินไหมทดแทนให้ไมเ่ กินกวา่ ส่วนเฉล่ียตามจานวนเงินท่ีบริษทั ได้รับ ประกนั ภยั ตอ่ จานวนเงินเอาประกนั ภยั รวมทงั้ สนิ ้ แตไ่ มเ่ กินกวา่ จานวนเงินเอาประกนั ภยั ที่บริษัทได้รับ ประกนั ภยั ไว้ และเป็นท่ีตกลงกนั วา่ การจา่ ยคา่ สินไหมทดแทนเชน่ นี ้บริษัทไมย่ กเอาลาดบั การรับ ประกนั ภยั ก่อน-หลงั ขนึ ้ เป็นข้ออ้างในการเข้าร่วมเฉล่ียชดใช้ความเสียหายดงั กล่าว 3) การปฏิเสธคา่ สินไหมทดแทน บริษทั มีสทิ ธิปฏิเสธการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนในความเสียหายโดยไมต่ ้องคืนเบยี ้ ประกนั ภยั ในกรณี ดงั ตอ่ ไปนี ้ 3.1 ผ้เู อาประกนั ภยั หรือผ้แู ทนของผ้เู อาประกนั ภยั ได้กระทาการใดหรือแสดงข้อความหรือเอกสาร ใดอนั เป็นเทจ็ เพื่อจะได้มาซงึ่ ประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้ 3.2 ความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ แกท่ รัพย์สิน ซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั ใช้ประกอบธรุ กิจ ณ สถานท่ีเอา ประกนั ภยั อนั เกิดจากการกระทาโดยเจตนา หรือการสมรู้ร่วมคดิ ของผ้เู อาประกนั ภยั หรือผ้รู ับ ประโยชน์หรือบคุ คลใดท่ีกระทาในนามของผ้เู อาประกนั ภยั เพ่ือที่จะได้รับผลประโยชน์จาก กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้ 4) การระงบั ข้อพพิ าทโดยอนญุ าโตตลุ าการ ในกรณีท่ีมีข้อพิพาท ข้อขดั แย้ง หรือข้อเรียกร้องใด ๆ ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีร้ ะหวา่ งผ้มู ี สิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกนั ภยั กบั บริษัทและหากผ้มู ีสิทธิเรียกร้องประสงค์และเห็นควรยตุ ขิ ้อ พิพาทนนั้ โดยวธิ ีการอนญุ าโตตลุ าการ บริษัทตกลงยนิ ยอมและให้ทาการวินิจฉยั ชีข้ าดโดย อนญุ าโตตลุ าการตามข้อบงั คบั กรมการประกนั ภยั วา่ ด้วยอนญุ าโตตลุ าการ 5) หน้าที่ในการรักษาสทิ ธิของบริษทั เพ่ือการรับชว่ งสิทธิ โดยคา่ ใช้จา่ ยของบริษัท ผ้เู อาประกนั ภยั จะต้องกระทาทกุ อยา่ งเทา่ ท่ีจาเป็นหรือเทา่ ที่บริษัทร้องขอให้ ทาตามสมควรไมว่ า่ ก่อนหรือหลงั การรับคา่ สินไหมทดแทนจากบริษทั เพื่อรักษาสทิ ธิของบริษัทในการ รับชว่ งสิทธิเรียกร้องคา่ เสียหายจากบคุ คลภายนอกการตกเป็นโมฆียะของกรมธรรม์ประกนั ภยั ความเสียหายส่วนแรก Deductible ดงั กลา่ วข้างต้นวา่ กรมธรรม์ธุรกิจหยดุ ชะงกั จะทางานตอ่ เมื่อกรมธรรม์อคั คีภยั หลกั ได้ค้มุ ครองและชดใช้ คา่ เสียหาย อยา่ งไรก็ตามในกรณีกรมธรรม์อคั คภี ยั หลกั ได้ระบกุ าหนดความเสียหายสว่ นแรก (Deductible) สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/18 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั และความเสียหายที่เกิดขนึ ้ ในกรมธรรม์อคั คภี ยั นนั้ มีจานวนน้อยกวา่ คา่ ความเสียหายสว่ นแรก หมายความว่า กรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั หลกั ไมช่ ดใช้คา่ เสียหาย ดงั นนั้ กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั จะทางานหรือไม่ “กรณีท่กี ารสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินมีจานวนน้อยกว่าความเสียหายส่วน แรกท่ไี ด้ระบไุ ว้ในกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยให้ถือเสมือนหน่ึงว่าความเสียหายดังกล่าว ได้รับความคุ้มครอง” ตัวอย่างการคานวณจานวนเงนิ เอาประกันภยั แบบง่าย และ ตวั อย่างค่าสินไหมทดแทน BI ข้อมูลทางด้านการเงนิ ของปี 2547 ปี 2547 Jan 100,000 • Closing Stock (31/12) 200,000 100,000 Feb 120,000 • Opening Stock (1/1) 1,332,000 Mar 140,000 • Uninsured working expense April 120,000 - Raw Material May 100,000 - Packing June 150,000 - Carriage July 130,000 - Lighting 20% Aug 120,000 - Heating 20% Sept 140,000 - Power Oct 120,000 Nov 140,000 Dec 160,000 Total Turnover 1,540,000 คานวณวิธีที่ 1 โดยผลตา่ ง Difference basis Turnover ปี 2547 1,540,000 + Closing stock + 200,000 - Opening stock - 100,000 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/19 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั - uninsured working expense - 1,332,000 Gross Profit ปี 2547 308,000 อัตราส่วนกาไรขัน้ ต้นต่อยอดขาย (Rate of Gross Profit) 308,000 / 1,540,000 = 20% ต้องการหาทนุ ประกันภัย BI ปี 2548 (simple) กาไรขนั้ ต้น Gross Profit (GP) ของปี 2547 308,000 ประมาณยอดขายเติบโตขนั้ ในปี 48 20% ดงั นนั้ ทนุ ประกนั ภยั ปี 48 มาจาก GP ปี 2547 308,000 ยอดขายเพ่ิมขนึ ้ 20% +61,600 ประมาณ GP ปี 2548 369,600 ทนุ ประกันภยั สมมตุ ขิ อทาประกนั ภยั เพียง 300,000 สมมตุ ใิ นปี 48 มียอดขายและ เกิดความเสียหายดงั นี ้ ไฟไหม้โรงงาน Jan 120,000 Feb 144,000 Mar 168,000 April 0 May 5,000 June 10,000 July 20,000 Aug 50,000 Sept 100,000 Oct 144,000 Nov 168,000 Dec 192,000 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/20 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั เปรียบเทียบยอดขายของปี 47 และ 48 ปี 48 ยอดขายเพ่มิ 20% จากปีที ปี 47 120,000 แล้วระยะเวลาเดยี วกนั 144,000 Indemnity period start Jan 100,000 168,000 Feb 120,000 ไฟไหม้ ซอ่ มแซม Mar 140,000 0 5,000 Indemnity period end April 120,000 10,000 กลบั สภู่ าวะปรกติ May 100,000 20,000 June 150,000 50,000 July 130,000 100,000 Aug 120,000 Sept 140,000 144,000 168,000 Oct 120,000 192,000 Nov 140,000 Dec 160,000 Total 1,540,000 Standard turnover ยอดรายได้มาตรฐาน - ยอดขายในระยะเวลาเดยี วกบั ระยะเวลาท่ีหยดุ ชะงกั ของปีก่อน - การหา standard turnover เพ่ือเป็น” หลกั “ในการเปรียบเทียบยอดขายในชว่ งเวลาท่ีไมเ่ กิดเหตใุ นปี ก่อน กบั ยอดขายในชว่ งท่ีเกิดเหตใุ นปีปัจจบุ นั โดยชว่ งระยะเวลาเดียวกนั ภายในระยะเวลา Indemnity period Other circumstances clause เนื่องจากธรุ กิจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดงั นนั้ ในการคานวณการชดใช้คา่ เสียหายจาเป็นต้อง ปรับให้เป็นไปใกล้เคียงกบั ความเป็นจริงมากท่ีสดุ ยงั นนั้ ในเง่ือนไขกรมธรรม์จงึ มี “other สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/21 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั circumstances clause” กาหนดไว้เพ่ือปรับปรุง อตั รากาไรข้างต้น ยอดรายได้รายปี ยอดรายได้ มาตรฐาน ตามแนวโน้มของธุรกิจใกล้เคียงมากท่ีสดุ ดงั นี ้ อัตรากาไรขัน้ ต้น : อตั ราของกาไรขนั้ ตน้ ท่ี ทงั ้ นี ้อตั รากาไรขนั ้ ต้น ยอดรายได้รายปี และ ได้รับตอ่ ยอดรายไดร้ ะหว่างปีทางบญั ชีงวดท้ายสดุ ยอดรายได้มาตรฐาน จะต้องมีการปรับปรุงให้ ก่อนหน้าวนั ท่ีเกิดเหตคุ วามเสียหาย เป็นไปตามแนวโน้มของธุรกิจ และ/หรือความ ยอดรายได้รายปี : ยอดรายไดร้ ะหว่าง ผนั แปรของธุรกิจ หรือสถานการณ์ใดๆก็ตาม ท่ี ระยะเวลา 12 เดือนโดยนบั ย้อนจากวนั ที่เกิดเหตุ มีผลกระทบตอ่ ธุรกจิ ทงั ้ นีไ้ ม่ว่าจะเกิดขนึ ้ ก่อน ความเสียหาย หน้าหรือหลงั ความเสียหาย หรือควรจะมี ยอดรายได้มาตรฐาน : ยอดรายไดท้ อี่ ยใู่ นชว่ ง ผลกระทบต่อธรุ กิจ ถ้าไมไ่ ด้เกดิ ความเสียหาย ระยะเวลาตรงกนั กบั ระยะเวลาการชดใชค้ ่าสินไหม ขนึ ้ เสียก่อน เพื่อว่าตวั เลขท่ีได้รับการปรับปรุง ทดแทน ซงึ่ อย่ใู นช่วง 12 เดือนโดยนบั ย้อนจาก แล้วนนั ้ จะแสดงผลลพั ธ์ที่ธุรกิจควรจะได้รับใน วนั ท่เี กิดเหตคุ วามเสียหาย ระยะเวลาทธ่ี ุรกจิ ได้รับผลกระทบจากแนวโน้ม ของธุรกิจ และ/หรือความผนั แปรของธุรกจิ หรือสถานการณ์ใดๆก็ตาม ท่ีมีผลกระทบตอ่ ธุรกิจดงั กลา่ วนนั ้ ได้ใกล้เคียงความเป็นจริง เทา่ ที่ในทางปฏิบตั ิจะสามารถกระทา ได้ (Reasonably Practicable) ถ้าไม่ได้เกิดความ เสียหายขนึ ้ เสียก่อน Standard turnover 47 48 47 adjusted +20% April 120,000 0 144,000 May 100,000 5,000 120,000 June 150,000 10,000 180,000 July 130,000 20,000 156,000 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/22 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั Aug 120,000 50,000 144,000 Sept 140,000 100,000 168,000 Total 760,000 185,000 912,000 Standard Turnover ระยะเดยี วกนั กบั เสียหาย 760,000 ปรับ trend standard Turnover เน่ืองจากปี 48 อตั ราขยายตวั ของยอดขายเพม่ิ ขนึ ้ ดงั นนั้ จงึ ต้องปรับ แนวโน้มที่สงู ขนึ ้ ของปี 2548 = 760,000 x 120% = 912,000 Turnover ชว่ งที่เกิดเสียหาย = 185,000 Turnover ท่ีลดลง = 912,000 – 185,000 = 727,000 การคานวณ GP ท่ีลดลง Turnover ที่ลดลง 727,000 Rate of GP 20 % Gross Profit ท่ีลดลง = 727,000 x 20% = 145,400 บริษทั ประกนั ภยั จะชดใช้ให้ผ้เู อาประกนั ภยั จานวนเงิน 145,400 การตรวจสอบการประกันภยั ต่ากว่ามูลค่าท่ีแท้จริง (Under Insurance) 1. การประกนั ภยั business interruption มีหลกั การเชน่ เดยี วกบั property insurance ซงึ่ จะต้องทาทนุ ประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ 2. “ถ้าหากจานวนเงินเอาประกนั ภยั ภายใต้รายการท่ีเอาประกนั ภยั น้อยกวา่ จานวนเงิน เอาประกนั ภยั ท่ี ควรจะเป็น ซง่ึ คานวณได้จากการนา อตั รากาไรขนั้ ต้นคณู กบั ยอดรายได้รายปี หรือ (คณู กบั ยอด รายได้รายปีท่ีเพ่ิมขนึ ้ เป็นสดั สว่ นตามระยะเวลาการชดใช้คา่ สินไหมทดแทนสงู สดุ ที่เกินกวา่ 12 เดือน) แล้วจานวนเงินที่ชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนจะลดลงตามสว่ น” 3. การตรวจสอบวา่ ทาประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ หรือไม่ จากสตู ร ทนุ ประกนั ภยั ท่ีควรจะเป็น = Annual Turnover (ยอดรายได้รายปี)*** x Adjusted Rate of GP สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/23 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั *** ยอดรายได้รายปี Annual Turnover = ยอดรายได้ระหวา่ งระยะเวลา 12 เดือนโดยนบั ย้อนจาก วนั ท่ีเกิดเหตคุ วามเสียหาย ตรวจสอบทนุ ประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ หรือไม่ ทนุ ประกนั ภยั ที่ควรจะเป็น = Annual Turnover x Adjusted Rate of GP Annual Turnover (ยอดรายได้รายปี) ปี 47 ปี 48 Jan 100,000 120,000 Feb 120,000 144,000 Annual Turn Over Mar 140,000 168,000 April 120,000 May 100,000 June 150,000 ไฟไหม้ July 130,000 Aug 120,000 Annual Turn Over Sept 140,000 Annual Turnover 12 months Oct 120,000 ก่อนวันเกดิ เหตุ= 1,612,000 Nov 140,000 Dec 160,000 ตรวจสอบ Annual Turnover เพื่อคานวณทนุ ประกนั ภยั ท่ีแท้จริง Annual Turnover 1,612,000 Adjusted Trend 10 % Annual Turnover adjusted = 1,612,000 x 110% = 1,773,200 Adjusted annual turnover 1,773,200 Adjusted rate of GP 20% ทนุ ประกนั ภยั ท่ีถกู ต้อง = adjust annual T/O x adjust rate of GP = 1,773,200 x 20% = 354,640 ทนุ ประกนั ภยั ที่ทาไว้ 300,000 ดงั นนั้ เป็นการทาประกนั ภยั ตา่ กวา่ มลู คา่ ดงั นนั้ การชดใช้จะเป็นดงั นี ้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/24 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั คา่ สินไหมทดแทนที่ถกู ต้อง = จานวนเงินเอาประกนั ภยั x GP ท่ีลดลง จานวนเงินเอาประกนั ท่ีถกู ต้อง = 300,000 x 145,400 = 122,997 354,640 การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนมี 2 ส่วน 1. ให้ความค้มุ ครองการสญู เสียกาไรขนั้ ต้น อนั เน่ืองมาจาก (ก) การลดลงของยอดรายได้ และ (ข) การเพ่มิ ขนึ ้ ของคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินกิจการ และบริษทั จะชดใช้คา่ สินไหมทดแทน ดงั นี ้ (ก) ในกรณีของการลดลงของยอดรายได้ (Reduction GP) บริษทั จะชดใช้จานวนเงิน ท่ีคานวณได้จากการนาอตั รากาไรขนั้ ต้นคณู กบั จานวนเงินของ ยอดรายได้ที่ลดลงจากยอดรายได้มาตรฐานในระหวา่ งระยะเวลาการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน อนั สืบเนื่องมาจากความเสียหาย (อธิบายแล้ว) (ข) ในกรณีของคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินกิจการท่ีเพ่มิ ขนึ ้ (Increased cost working-ICW) “บริษัทจะชดใช้จานวนค่าใช้จ่ายท่เี พ่มิ ขนึ้ (ภายใต้เง่ือนไขว่าด้วยค่าใช้จ่ายประจาท่ี ไม่ได้ เอาประกันภยั ) ตามความจาเป็ นท่เี กิดขนึ้ เพ่อื จุดประสงค์ในการหลีกเล่ียงหรือ บรรเทาไม่ให้ยอดรายได้ลดลงเท่านัน้ ในระหว่างระยะเวลาการชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนอันเป็ นผลสืบเน่ืองมาจากความเสียหาย “ - เนื่องจากการลดลงของยอดรายได้ จะทาให้ กาไรขนั้ ต้น (GP) ลดลงด้วยเชน่ กนั - ดงั นนั้ หากผ้เู อาประกนั ภยั สามารถระงบั การลดลงของรายได้ โดยในระหวา่ งการเกิด เสียหาย ผ้เู อาประกนั ได้มีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขนึ ้ เพื่อปอ้ งกนั ความเสียหาย (minimized loss) ไมใ่ ห้ยอดขายลดลง เชน่ เพิ่มคา่ ลว่ งเวลา คา่ ขนสง่ ท่ีเพม่ิ ขนึ ้ คา่ ตดิ ตงั้ เคร่ืองจกั รที่เพิม่ ขนึ ้ เป็นต้น ตวั อย่าง เกิดเพลิงไหม้ ผ้เู อาประกนั ภยั เกรงวา่ จะไมส่ ามารถผลิตสินค้าได้เพียงพอ ดงั นนั้ จงึ จ้าง แรงงานเพิ่มเข้ามาเพ่ือผลิตสินค้าเพ่มิ จะได้ขายได้มากขนึ ้ จะเป็นการบรรเทาความเสียหาย จากยอดขายที่จะลดลงหากไมไ่ ด้ทาอะไร - ผ้เู อาประกนั จ้างแรงงานเพม่ิ จานวน 1,000 คน เป็นจานวนเงิน 5,000,000 บาท ซง่ึ คาดว่าประกนั ภยั จะจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยสว่ นเพิม่ ทงั้ หมด เพราะจะได้ผลติ สนิ ค้า และเพม่ิ ยอดการขาย สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/25 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั - ดงั นนั้ คา่ ใช้จา่ ยสว่ นเพิ่มนีเ้ป็นปัญหาว่า กรมธรรม์ BI จะพจิ ารณาชดใช้อยา่ งไร - คาถาม หากเพิม่ คา่ ใช้จา่ ยเป็นจานวนมาก แตช่ ว่ ยให้เพมิ่ ยอดขายเพียงเล็กน้อย สมควรจะชดใช้เตม็ จานวนท่ีเพิ่มคา่ ใช้จา่ ยหรือไม่ จะค้มุ กบั คา่ ใช้จ่ายที่เพม่ิ ขนึ ้ หรือไม่ ดงั นนั้ เง่ือนไขของข้อกาหนดความค้มุ ครองในข้อ ข.) ในกรณีของคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ กิจการที่เพ่ิมขนึ ้ ได้กลา่ วเพมิ่ เตมิ วา่ “แต่ทัง้ นีค้ ่าใช้จ่ายท่เี พ่มิ ขึน้ นัน้ จะต้องไม่เกนิ กว่าจานวนเงนิ ท่คี านวณได้จากการนา อัตรากาไรขัน้ ต้นคูณกับยอดรายได้ท่จี ะลดลงซ่ึงหลีกเล่ียงได้” ซง่ึ เรียกวา่ Economic Limit = กาไรขนั้ ต้น x ยอดรายได้ท่ีจะลดลงซง่ึ หลีกเลี่ยงได้ ตัวอย่าง สมมตุ วิ า่ เม่ือเกิดไฟไหม้ ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องมีใช้จา่ ยเพม่ิ ขนึ ้ 35,000 บาท เชน่ คนงาน หรือ ให้คา่ แรงเพ่ิมขนึ ้ หรือ เชา่ เครื่องจกั รมาทดแทนในระหวา่ งท่ีเกิดความเสียหายและกาลงั ซ่อมแซม เพื่อที่จะผลิตสินค้าได้ตอ่ ไมห่ ยดุ ชะงกั ซง่ึ จะทาให้ เพิ่มยอดขาย (Save Turnover) ขนึ ้ มาได้อีก 55,000 บาท ดงั นนั้ จงึ ต้องพิจารณาวา่ คา่ ใช้จา่ ยท่ีเพิ่มขนึ ้ เหมาะสมหรือไม่ เง่ือนไข Economic Limit จงึ เป็นข้อกาหนดการใช้จา่ ยที่เพม่ิ ขนึ ้ โดยคานวณดงั นี ้ Economic Limit = 20% x 55,000 = 11,000 ซงึ่ การจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยท่ีเพิ่มขนึ ้ เป็นเงิน 35,000 บาท มากเกินไป ความรับผิดในหวั ข้อนีจ้ ะชดใช้เพียง 11,000 บาท ตวั อยา่ งการเกิดไฟไหม้ ก่อนเกิดไฟไหม้ หลังเกิดไฟไหม้ ยอดขาย (Turnover) 20,000 ยอดขาย (Turnover) 10,000 หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 5,000 หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 2,500 พลงั งาน 2,000 7,000 พลงั งาน 1,000 3,500 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 13,000 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 6,500 หกั คา่ ใช้จา่ ยคงที่ หกั คา่ ใช้จา่ ยคงที่ คา่ เชา่ 1,000 คา่ เชา่ 1,000 ประกนั ภยั 1,000 ประกนั ภยั 1,000 โทรศพั ท์ 500 โทรศพั ท์ 500 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/26 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั เครื่องใช้สานกั งาน 500 เคร่ืองใช้สานกั งาน 500 5,000 8,000 เงินเดอื นพนกั งาน 5,000 8,000 เงินเดอื นพนกั งาน (1,500) กาไรสุทธิ 5,000 ขาดทุนสุทธิ 10,000 ยอดขายลดลง การชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน 2 กรณี ได้แก่ (ก) ในกรณีของการลดลงของยอดรายได้- Reduction GP คา่ สนิ ไหม = ยอดขายที่ลดลง x rate of gross profit ยอดขายลดลง = 10,000 Rate of GP = 13,000 20,000 = 65% คา่ สินไหม = กาไรขนั้ ต้นท่ีลดลง = 10,000 x 65% = 6,500 (ข) ในกรณีของคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ กิจการท่ีเพิ่มขนึ ้ - ICW ICW สมมตุ วิ า่ ต้องมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ ขนึ ้ 2,000 คา่ สนิ ไหมทดแทนชดใช้หลงั เกิดไฟไหม้ หลังเกดิ ไฟไหม้ ยอดขาย (Turnover) 10,000 บวก การชดใช้ตามกรมธรรม์ หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 2,500 (ก) Reduction GP 6,500 พลงั งาน 1,000 3,500 (ข) ICW 2,000 8,500 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 6,500 กาไรสุทธิ 5,000 หกั คา่ ใช้จ่ายคงท่ี กาไรสุทธิ จะเท่ากับก่อนเกิดไฟไหม้ คา่ เชา่ 1,000 ประกนั ภยั 1,000 โทรศพั ท์ 500 เครื่องใช้สานกั งาน 500 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/27 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั เงินเดือนพนกั งาน 5,000 8,000 ขาดทุนสุทธิ (1,500) ค่าใช้จ่ายเพ่มิ (2,000) ขาดทุนสุทธิ_1 (3,500) ค่าใช้จ่ายท่ปี ระหยดั ได้ (Saving) ข้อกาหนดความค้มุ ครองเฉพาะ (Specification) ยงั ได้กาหนดเง่ือนไขในกรณีที่ ผ้เู อาประกนั ภยั สามารถประหยดั คา่ ใช้จ่ายเม่ือเกิดความเสียหายขนึ ้ “การสูญเสียกาไรขัน้ ต้นอันเน่ืองมาจาก (ก) และ (ข) ให้หักด้วยจานวนเงนิ ค่าใช้จ่ายของ กิจการท่ีประหยัดได้จากการยตุ กิ ารจ่ายหรือจากการจ่ายน้อยลงในระหว่างระยะเวลาการชดใช้ค่า สินไหมทดแทน ซ่งึ ค่าใช้จ่ายดงั กล่าวเป็ นส่วนหน่ึงของกาไรขัน้ ต้นท่เี อาประกันภัย อันเป็ นผลสืบ เน่ืองมาจากความเสียหาย” “..less any sum saved during the Indemnity period in respect of such of the charged and expenses of the Business payable out of Gross profit as may cease or be reduced in consequence of the Incident” ปรกตธิ ุรกิจจะมีคา่ ใช้จ่ายคงท่ี แม้จะไมม่ ีการผลติ ก็ตาม แตใ่ นบางครัง้ เมื่อเกิดอบุ ตั เิ หตุ เชน่ ไฟไหม้ คา่ ใช้จา่ ยคงที่บางรายการไม่จาเป็นต้องจา่ ย เชน่ คา่ เชา่ สถานที่ ในกรณีที่มีสญั ญาระบวุ า่ ไมต่ ้องชาระคา่ เชา่ ในระหวา่ งระยะเวลาที่ซอ่ มแซมสถานที่เกิดความเสียหาย คา่ ใช้จา่ ยดงั กลา่ วจงึ สามารถประหยดั ได้และต้องนามาหกั จากคา่ สินไหมทดแทน ตัวอย่าง ค่าใช้จ่ายท่ปี ระหยัดได้ (Saving) หลังเกิดไฟไหม้ ยอดขาย (Turnover) 10,000 ยอดขาย (Turnover) 10,000 หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 2,500 หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 2,500 พลงั งาน 1,000 3,500 พลงั งาน 1,000 3,500 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 6,500 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 6,500 หกั คา่ ใช้จ่ายคงที่ หกั คา่ ใช้จา่ ยคงที่ ค่าเช่า** 1,000** ค่าเช่า** 500 ประกนั ภยั 1,000 ประกนั ภยั 1,000 โทรศพั ท์ 500 โทรศพั ท์ 500 เคร่ืองใช้สานกั งาน 500 เคร่ืองใช้สานกั งาน 500 สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/28 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั เงินเดอื นพนกั งาน 5,000 8,000 เงินเดอื นพนกั งาน 5,000 7,500 ขาดทุนสุทธิ (1,500) ขาดทนุ สุทธิ (1,000) สมมุตวิ ่า เม่ือเกดิ ไฟไหม้ เจ้าของอาคารลด บัญชีกาไรขาดทนุ ท่คี วรจะเป็ น ค่าเช่าลงเหลือ 500 คา่ สนิ ไหมทดแทนชดใช้หลงั เกิดไฟไหม้ หลังเกิดไฟไหม้ ยอดขาย (Turnover) 10,000 บวก การชดใช้ตามกรมธรรม์ หกั วตั ถดุ บิ และสต๊อก 2,500 (ก) Reduction GP 6,500 พลงั งาน 1,000 3,500 (ข) ICW 2,000 8,500 กาไรขัน้ ต้น (Gross profit) 6,500 กาไรสุทธิ 5,500 หกั คา่ ใช้จ่ายคงท่ี หกั Saving จากค่าเช่า 500 คา่ เชา่ ** 500 กาไรสุทธิ_1 5,000 ประกนั ภยั 1,000 กาไรสุทธิ จะเท่ากับก่อนเกิดไฟไหม้ โทรศพั ท์ 500 เครื่องใช้สานกั งาน 500 เงินเดอื นพนกั งาน 5,000 7,500 (1,000) ขาดทนุ สุทธิ (2,000) ค่าใช้จ่ายเพ่มิ (3,000) ขาดทุนสุทธิ_1 สรุปขัน้ ตอนการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกรมธรรม์ประกันภัยธุรกจิ หยดุ ชะงัก 1. คานวณ Loss of Gross Profit − กาไรขนั้ ต้นลดลงเนื่องจากยอดขายลดลง (reduction in Turnover) 2. คานวณ Increase in cost of working − คา่ ใช้จา่ ยเพ่ิมขีน้ (ICW) 3. Saving − หกั saving 4. Average − คานวณการประกนั ภยั ตา่ กวา่ มลู คา่ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/29 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั ตวั อยา่ ง 45,000 Sum insured (GP) 12 months Indemnity Period 25% Rate of gross profit 200,000 Annual Turnover 90,000 Fire claim and reduction T/O 2,150 ICW Saving 890 คานวณคา่ สนิ ไหมทดแทน ขนั้ ท่ี 1 : Loss of GP = 25% x 90,000 22,500 = +2,150 - 890 ขนั้ ที่ 2 : ICW = 23,760 sum insured ขนั้ ท่ี 3 Saving : หกั saving = rate of GP x annual T/O รวมคา่ เสียหาย = 45,000 25% x 200,000 ขนั้ ที่ 4 Average : = 90% 90% x 23,760 = 21,384 กรมธรรม์ BI จะชดใช้ = = = สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/30 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั การกาหนดทนุ ประกันภัยกรมธรรม์ประกันภยั ธุรกิจหยุดชะงกั ท่ถี ูกต้อง ทนุ ประกนั ภยั BI ควรกาหนดเทา่ ไรจงึ จะเพียงพอ ? สมมุติ Actual GP ปี 1 900,000 990,000 1,089,000 1,197,900 Actual 900,000 +10% +10% +10% ปี 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 วนั ท่ีเริ่มปรึกษา ปีที่ทา BI 31-12 อาจเกิดไฟไหม้ ภาพแสดงการกาหนดทุนประกันภยั จากภาพข้างต้น อธิบายการกาหนดทนุ ประกนั ภยั ดงั นี ้ − Actual GP ปี 1 900,000 − สนิ ้ ปี 2 คาดวา่ โตเพมิ่ 10% (90,000) GP ปี 2 990,000 − คาดวา่ ปี 3 จะโตเพ่ิม 10% ซ่ึงเป็นที่ทา BI 1,089,000 − แตอ่ ยา่ งไรก็ตามไฟไหม้อาจจะเกิดวนั สดุ ท้าย (31-12-xx) ของปีที่ 3 แล้วข้ามปีเป็นปีที่4 ซง่ึ ต้องใช้ ระยะเวลาที่จะกลบั คนื มาอีก 12 เดือน (indemnity period) ดงั นนั้ ต้องประมาณการจนถงึ สิน้ ปีท่ี 4 สมมตุ วิ า่ ในปี 4 จะโตเพ่ิมอีก 10 % ของปี 3 (108,900) − ดงั นนั้ ทนุ ประกนั ภยั BI ท่ีควรจะเป็น = 1,089,000 + 108,900 = 1,197,000 การกาหนดทนุ ประกันภยั BI จะต้องใช้ Annual Gross Profit เป็ นหลักเสมอ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/31 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั หาก indemnity period น้อยกวา่ 12 เดือน ในการคิด Gross profit ก็ต้องใช้ 12 เดือนเป็นเกณฑ์ ตวั อยา่ ง indemnity period 6 เดือน ก็ต้องใช้ทนุ ประกนั ภยั ของ Gross profit ที่ 12 เดือน เพียงแตก่ าร คานวณเบยี ้ ประกนั ภยั ก็จะใช้เป็นอตั รา % ของ 12 เดือนเป็นหลกั เชน่ กนั Indemnity period Sum insured BI 3 months Annual GP 6 months Annual GP 12 months Annual GP 18 months 1.5 เทา่ Annual GP 24 months 2 เทา่ Annual GP 36 months 3 เทา่ Annual GP การกาหนดอัตราเบีย้ กรมธรรม์ประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก 1. อตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั การประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั จะใช้อตั ราเบีย้ ประกนั ภยั ของทรัพย์สนิ ซง่ึ กาหนด ตามอาชีพและลกั ษณะส่ิงปลกู สร้าง 2. แตอ่ ตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั จะขนึ ้ อยกู่ บั indemnity period ด้วยเชน่ กนั 3. หาก indemnity period ตา่ งกนั ไป จะทาให้อตั ราเบีย้ ประกนั ภยั จะตา่ งไปด้วยเชน่ กนั 4. การคดิ ทนุ ประกนั BI จะต้องคดิ จาก annual gross profit เป็นเกณฑ์เสมอ ตวั อยา่ ง annual gross profit 1,000,000 บาท 1.หากกาหนด Indemnity period 12 months GP = 1,000,000 2.หากกาหนด Indemnity period 6 months GP = 1,000,000 ไมใ่ ชล่ ดลงเป็น 500,000 3.หากกาหนด indemnity period มากกวา่ 12 เดือน จาเป็นต้องเพม่ิ GP ตาม อตั ราสว่ นของ indemnity period ที่เพิม่ ขนึ ้ เชน่ IP 24 เดือน GP 2,000,000 ถงึ แม้วา่ หากกาหนด indemnity period น้อยกว่า 12 เดือน ก็ยงั ใช้ annual gross profit มาคานวณ โดยไมล่ ดจานวนเงินลง เน่ืองจากได้ชดเชยในเรื่องของการคดิ เบยี ้ ประกนั ภยั ดงั นี ้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/32 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ตารางอัตราเบีย้ ประกันภัยการประกันภัยธุรกิจหยดุ ชะงัก Indemnity period % of fire Indemnity period % of fire rate /month rate /month 80-115% 1 40-50% 6 90-130% 105-150% 2 50-60% 9 90-145% 80-125% 3 60-75% 12 4 65-95% 18 5 75-100% 24 ตวั อยา่ ง - สมมตุ ิ Annual Gross profit 12 เดอื น = 300 000 บาท - อตั ราเบยี ้ ประกนั อคั คภี ยั และภยั เพ่มิ อตั รา 0.2% - อตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั ภยั BI Indemnity period อตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั • 24 เดือน 80% = 0.2% x 80% = 0.16% = 0.21% • 12 เดือน 105% = 0.2% x 105% = 0.18% = 0.16% • 9 เดือน 90% = 0.2% x 90% = 0.12% • 6 เดือน 80 % = 0.2% x 80% • 3 เดือน 60% = 0.2% x 60% ทุนประกันภยั ต่ากว่ามูลค่าแท้จริง 1. สาหรับ BI การตรวจสอบทนุ ประกนั ภยั ที่แท้จริง โดยทนุ ประกนั ภยั BI ที่ถกู ต้อง = Adjusted Annual Turnover x Adjusted rate of GP 2. หากทนุ ประกนั ภยั ท่ีทาไว้น้อยกวา่ ทนุ ประกนั ภยั ที่ถกู ต้อง ความเสียหายท่ีเกิดต้องต้องนามาเฉลี่ย เชน่ เดียวกบั การประกนั ภยั ทรัพย์สิน 3. คา่ สนิ ไหม = ทนุ ประกนั ภยั x ความเสียหาย สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/33 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ทนุ ประกนั ภยั ท่ีถกู ต้อง ดงั นนั้ ข้อเสนอในการทาประกนั ภยั BI จงึ ควรทาประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ ความคุ้มครองขยายเพ่มิ เตมิ (Additional coverage) ตวั อยา่ งความค้มุ ครองขยายเพมิ่ เตมิ ท่ีนา่ สนใจ ดงั นี ้ 1. Supplier Extension - หมายถึง หาก supplier ของผ้เู อาประกนั ภยั เกิดอบุ ตั เิ หตจุ ากภยั ท่ีค้มุ ครองตามกรมธรรม์ BI ของผ้เู อาประกนั ภยั แล้ว ทาให้ไมส่ ามารถสง่ วตั ถดุ บิ หรือ สนิ ค้าให้กบั ผ้เู อาประกนั ภยั ทาการ ผลิตตอ่ ได้ และทาให้ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องหยดุ งาน ตวั อยา่ งเชน่ โรงงานทากระเป๋ า ต้องสงั่ วตั ถดุ บิ มาจาก supplier จากอีกโรงงานหนงึ่ ตอ่ มา supplier เกิดไฟไหม้ทาให้โรงงานทา กระเป๋ าขาดวสั ดุ ไมส่ ามารถผลติ สินค้าจาหน่ายได้ ทาให้ยอดขายของผ้เู อาประกนั ภยั ลดลง เชน่ จาเป็นต้องปิดโรงงาน ถือวา่ กรมธรรม์ BI ของผ้เู อาประกนั ภยั ค้มุ ครองภายใต้ addition coverage หวั ข้อนี ้แม้ว่าโรงงานทากระเป๋ าของผ้เู อาประกนั ภยั จะไมเ่ สียหายก็ตาม - ต้องระบวุ า่ สถานท่ีของ supplier อยทู่ ่ีใด - ต้องระบวุ า่ ภยั ท่ีค้มุ ครอง supplier เป็นภยั เดยี วกบั กรมธรรม์ BI ของผ้เู อาประกนั ภยั - หรือ ระบภุ ยั ที่ค้มุ ครองท่ีเฉพาะเจาะจง - ตวั อยา่ ง กรมธรรม์ BI ให้ความค้มุ ครองภยั ไฟไหม้ ฟา้ ผา่ ระเบดิ นา้ ทว่ ม แผน่ ดนิ ไหว ภยั อากาศยาน ภยั เปียกนา้ supplier extension จะให้ความค้มุ ครองอย่างไร 2. Customer Extension - เชน่ เดยี วกบั supplier extension แตก่ ลบั กนั กรณีที่ลกู ค้าซงึ่ ซือ้ สินค้าของโรงงานกระเป๋ ามี ลกู ค้าคนเดียวและผกู ขาด ดงั นนั้ หากเกิดไฟไหม้ตอ่ ลกู ค้าก็จะกระทบตอ่ ยอดขายของโรงาน กระเป๋ าเชน่ เดียวกนั - แม้วา่ โรงงานทากระเป๋ าจะไมเ่ สียหายก็ตาม - ความค้มุ ครองภยั ใน clause นี ้ควรเป็นภยั ท่ีค้มุ ครองภายใต้กรมธรรม์ BI ของผ้เู อาประกนั ภยั หรือ ระบภุ ยั ที่เฉพาะเจาะจง - คาอธิบายเหมือนกบั supplier extension 3. Prevention or Denial of access - Loss as insured by this policy resulting from interruption of or interference with the business in consequence of damage (as within defined) to property on the vicinity สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/34 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั of the premises which shall prevent or hinder the use thereof or access thereto, whether the premises or property of the Insured therein shall be damaged or not, shall be deemed to be loss resulting from damage to property used by the Insured at the premises. - Denial of access (prevention of access) ▪ เกิดไฟไหม้ตอ่ ทรัพย์สินใน shopping center ทาให้ต้องปิดห้างไปบางสว่ น ทาให้ ยอดขายในร้านในบริเวณที่ถกู ปิดลดลงแม้วา่ ร้านนนั้ จะไมถ่ กู ไฟไหม้ก็ตาม ▪ ต้องปิดถนนเน่ืองจากไฟไหม้ห้าง 10 วนั ทาให้ร้านที่อย่โู ดยรอบยอดขายลดลง แม้วา่ ร้านจะไมเ่ สียหายก็ตาม ▪ ภยั ท่ีเกิดต้องเป็นภยั เดยี วกบั ความค้มุ ครองในกรมธรรม์ BI 4. Professional accountant clause - Any particulars or details contained in the Insured’s books of account or other business books or documents which may be required by the Insurers under condition 4 of this policy for the purpose of investigating or verifying any claim hereunder may be produced by professional accountant if at the time they are regularly acting as such for the Insured and their report shall be prima facie evidence of the particulars and details to which such report relates. - ต้องกาหนดทนุ ประกนั ภยั ในหน้าตารางกรมธรรม์ 5. Payment on account - ปรกตแิ ล้ว บริษทั ประกนั ภยั จะชดใช้คา่ เสียหายครัง้ เดียวทงั้ หมด แตห่ ากความเสียหายต้องใช้ ระยะเวลาการตรวจสอบนาน จะทาให้ผ้เู อาประกนั ภยั ขาดเงินสดในการหมนุ เวียน ดงั นนั้ จงึ จาเป็นต้องของให้บริษัทประกนั ภยั จา่ ยเป็นงวด(interim payment) ตามที่ตกลงกนั - PAYMENT ON ACCOUNT It is understood and agreed that in the event of the occurrence of a loss under this insurance the Company will make payment on account in respect of such loss to the insured if desired. 6. Infectious or contagious diseases clause สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/35 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั - ในกรณีท่ีเกิดโรคระบาดและทาให้ธุรกิจต้องหยดุ ชงกั ตวั อยา่ งเชน่ ในฮ่องกงเกิดโรคซาร์ ระบาด ทาให้นกั ท่องเที่ยวยกเลกิ ห้องพกั ของโรงแรม ยอดขายของโรงแรมลดลงเน่ืองจากโรค ระบาดดงั กลา่ วปัจจบุ นั มีโรคระบาดใหมๆ่ เกิดขนึ ้ เชน่ ไข้หวดั นก swine flu H1N1 เป็นต้น 7. Loss of attraction - Shopping mall จะมี shopping center A ซงึ่ เป็นแหลง่ ท่ีลกู ค้าชอบมาซือ้ สนิ ค้า ทาให้ร้านค้า ใน shopping mall สามารถขายสนิ ค้าได้ ตอ่ มา shopping center A ถกู ไฟไหม้ ทาให้ต้อง ปิดไป ลกู ค้าก็ไมม่ าซือ้ ของใน shopping mall หรือซือ้ สินค้าน้อยลง ทาให้ยอดขายของ ร้านค้าใน shopping mall ลดลง เงื่อนไขข้อนีใ้ ห้ความค้มุ ครอง BI ของร้านค้าท่ีขยายความ ค้มุ ครองนี ้แตต่ ้องเป็นภยั เดียวกนั - Tsunami year 2004 ทาให้นกั ทอ่ งเท่ียวของโรงแรมในภเู ก็ตลดลงโรงแรมในภเู ก็ตในส่วนท่ีไม่ เกิดเสียรายได้ลดลงเนื่องจากนกั ทอ่ งเท่ียวยกเลิกการจอง 8. New business clause สาหรับธุรกิจใหมท่ ่ีเพิ่งเร่ิมต้นจะไมม่ ีประวตั ยิ ้อนหลงั ของกาไรข้างต้นให้อ้างอิง ดงั นนั้ การประกนั ภยั ได้ คดิ ค้นวิธีรับประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั ของธรุ กิจเริ่มใหม่ โดยใช้เงื่อนไข New Business Clause ดงั นี ้ - Rate of gross profit: The rate of gross profit earned on the turnover during the period between the date of the commencement of the business and the date of the damage - Annual Turnover : The proportional equivalent, for a period of 12 months, of the turnover realised during the period between the commencement of the business and the date of damage - Standard Turnover : The proportional equivalent, for a period equal to the indemnity period, of the turnover realised during the period between the commencement of the business and the date of the damage - Rate of wages : The rate of wages to turnover during the period between the date of the commencement of the business and the date of the damage - To which such adjustments shall be made as may be necessary to provide for the trend of the business and for variations in or other circumstances affecting the business either before or after the damage or which would have affected the สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/36 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั business had the damage not occurred, so that represent as nearly as may be reasonably practicable the results which but for the damage would have been obtained during the relative period after the damage. การพจิ ารณารับประกันภัย 1. ลกั ษณะธรุ กิจ รายได้ของธุรกิจถือเป็นวตั ถใุ นการประกนั ภยั เพราะฉะนนั้ ผ้ขู อเอาประกนั ภยั ต้องแจ้ง รายละเอียดของการประกอบธุรกิจอยา่ งละเอียดและสมบรู ณ์รวมทงั้ ต้องระบรุ ายละเอียดทงั้ หมด ถ้าธรุ กิจ มีการประกอบการมากกวา่ หนง่ึ ประเภท รายละเอียดที่สมบรู ณ์จะชว่ ยในการประเมนิ ถึงความเสี่ยง เกี่ยวกบั การประกอบธุรกิจของกิจการ 2. การตรวจสอบบญั ชี ผ้ขู อเอาประกนั ภยั มีการตรวจสอบบญั ชีอยา่ งสม่าเสมอหรือไม่ และต้องพิจารณาช่ือที่ อยขู่ องผ้ตู รวจสอบบญั ชีด้วย ในกรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั นีจ้ ะพิจารณาจานวนคา่ สินไหม ทดแทนที่จา่ ยจากข้อมลู ในบญั ชีของผ้เู อาประกนั ภยั ดงั นนั้ บริษัทประกนั ภยั จงึ ต้องมนั่ ใจวา่ ข้อมลู บนั ทึก บญั ชีมีความถกู ต้อง และสามารถใช้วเิ คราะห์ภาวะภยั ทางศลี ธรรมได้ 3. จานวนเงินเอาประกนั ภยั ในการคานวณจานวนเงินเอาประกนั ภยั ต้องระลกึ อยเู่ สมอวา่ การประกนั ภยั ชนดิ นีเ้ป็นการประกนั ภยั กาไรขนั้ ต้นในอนาคต และการคานวณความเสียหายของยอดรายได้ขนึ ้ อยกู่ บั การ เปรียบเทียบระหวา่ งยอดรายได้ท่ีเคยได้รับกบั ยอดรายได้ในงบการเงินของปีท่ีผา่ นมาในระยะเวลาที่ เทา่ กนั โดยต้องมีการปรับปรุงแนวโน้มของธรุ กิจและการผนั แปรของธรุ กิจด้วย ในการเลือกจานวนเงินเอา ประกนั ภยั จงึ จาเป็นที่จะต้องคดิ เผื่อถึงแนวโน้มของธุรกิจในอนาคต และต้องมนั่ ใจวา่ ตวั เลขที่คานวณได้ เพียงพอตอ่ การขยายงานของธุรกิจในอนาคตด้วย 4. รายการอ่ืนๆ 4.1 คา่ แรงงาน คา่ แรงงานอาจจะเอาประกนั ภยั แยกเป็นรายการตา่ งหากจากการประกนั ภยั กาไร ขนั้ ต้นซงึ่ อยใู่ นคา่ ใช้จา่ ยคงที่ก็ได้ 4.2 คา่ ธรรมเนียมในการจดั ทาบญั ชี ปกตแิ ล้วจะต้องมีการตงั้ รายการแยกตา่ งหาก สาหรับสารอง เพื่อเป็นคา่ ธรรมเนียมท่ีเอาประกนั ภยั จะต้องจา่ ยในการจดั ทาบญั ชีขณะเกิดภาวะธุรกิจ หยดุ ชะงกั ซงึ่ เกี่ยวกบั การเตรียมเพ่ือการเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทน ผ้ขู อเอาประกนั ภยั จะต้องตงั้ จานวนเงินเอาประกนั ภยั ท่ีเหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ระดบั งานบญั ชีท่ีเกี่ยวข้องวนั ตอ่ วนั สาหรับการจดั การเร่ืองบญั ชี และการวิเคราะห์การเงินของผ้ขู อเอาประกนั ภยั 4.3 การประกนั ภยั คา่ ใช้จา่ ยท่ีเพ่ิมขนึ ้ เป็นพิเศษ ปัจจบุ นั การประกนั ภยั คา่ ใช้จ่ายพเิ ศษมีความ ต้องการอย่างแพร่หลาย ซงึ่ บริษัทประกนั ภยั ต้องเก็บเบยี ้ ประกนั ภยั เพ่ิมตามความค้มุ ครองท่ี เพ่มิ ขนึ ้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 9/37 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทที่ 9 : กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั 4.4 สถานประกอบการอื่นๆ ท่ีผ้ขู อเอาประกนั ภยั ไมไ่ ด้เป็นเจ้าของ ความมงุ่ หมายของคาถามนี ้ เพื่อดงึ ดดู ความสนใจให้ผ้ขู อเอาประกนั ภยั คิดถงึ การซือ้ ความค้มุ ครองเพม่ิ เตมิ 5. ระยะเวลาการชดใช้ ความยาวนานของระยะเวลาชดใช้คา่ สินไหมทดแทนต้องพิจารณาอยา่ งรอบคอบ ผ้ขู อเอาประกนั ภยั ต้องประมาณการว่าหลงั จากเกิดอคั คีภยั อยา่ งหนกั ธุรกิจจะสามารถฟื น้ ตวั ได้เร็วที่สดุ ต้องใช้ระยะเวลานานเทา่ ไร 6. การประเมินภยั การเรียกร้องคา่ สินไหมทดแทนภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ความเส่ียงภยั ทรัพย์สินจะต้อง มีความเสียหายทางกายภาพเกิดขนึ ้ กบั ตวั ทรัพย์สินกอ่ นตามที่ระบไุ ว้ในกรมธรรม์ประกนั ภยั ทรัพย์สนิ ส่ิงที่ สาคญั ที่สดุ ในการพิจารณาและวเิ คราะห์ลกั ษณะภยั คือ ลกั ษณะธรุ กิจ ทรัพย์สินที่เอาประกนั ภยั สถาน ที่ตงั้ กระบวนการผลติ เป็นต้น 7. อ่ืนๆ เชน่ ประวตั กิ ารทาประกนั ภยั กบั บริษทั อ่ืน ประวตั คิ วามเสียหายที่ผา่ นมา และมาตรการการปอ้ งกนั เป็นต้น แบบฝึ กหดั ท้ายบท 1. รายการใดบ้างท่ีสามารถเอาประกนั ภยั ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั ธุรกิจหยดุ ชะงกั 2. จงอธิบายความแตกตา่ งในการหาจานวนเงินเอาประกนั ภยั โดยหาจากกาไรขนั้ ต้น (Gross Profit) โดยวธิ ีผลตา่ งและวธิ ีผลบวก 3. กรมธรรม์ประกนั ภยั ธรุ กิจหยดุ ชะงกั จะเร่ิมให้ความค้มุ ครองเม่ือใด และมีระยะเวลาในการชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนอยา่ งไร สนิ ้ สดุ การชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเมื่อใดจงอธิบาย 4. การชดใช้คา่ สินไหมทดแทนมีทงั้ หมดกี่สว่ น อะไรบ้างจงอธิบาย สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 9/38 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ บทท่ี 10 กรมธรรม์ประกันภยั สทิ ธิการเช่า วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้นกั ศกึ ษาอธิบายลกั ษณะของกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ และเข้าใจวิธีการกาหนดทนุ ประกนั ภยั 2. เพื่อให้นกั ศกึ ษามีความเข้าใจในความค้มุ ครอง เง่ือนไขทว่ั ไปและข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ 3. เพ่ือให้นกั ศกึ ษามีความเข้าใจวิธีการจดั การคา่ สนิ ไหมทดแทนของกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ ได้ 4. เพื่อให้นกั ศกึ ษาเข้าใจความแตกตา่ งระหวา่ งกรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ และกรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั จุดประสงค์ของกรมธรรม์ เนื่องจากการทาธรุ กิจมีการพฒั นาปรับปรุงให้เหมาะสมกบั โอกาสและสถานการณ์ ซึง่ ทาให้เกิดความเส่ียงภยั ในรูปแบบใหมแ่ ละในทานองเดยี วกนั นกั ธรุ กิจต้องการที่จะลดความเส่ียงภยั ของตนเอง ดงั เชน่ ในเร่ืองสิทธิการ เชา่ เป็นต้น สิทธิการเชา่ เป็นลกั ษณะการเชา่ ประเภทหนง่ึ ซง่ึ มีระยะเวลาเชา่ นานมากกวา่ 1 ปี และต้องเสียคา่ เชา่ เป็นคา่ ใช้จา่ ยเป็นเงินก้อนแรกจานวนมาก ให้กบั ผ้ใู ห้เชา่ และเม่ือครบกาหนดระยะเวลาแล้วสิทธิ์นนั้ จะ หมดไป ผ้เู ชา่ ไมส่ ามารถได้กรรมสทิ ธ์ ดงั นนั้ ในระยะเวลาเชา่ หากทรัพย์สินเกิดอบุ ตั เิ สียหาย สญั ญาสิทธิการ เชา่ จะระงบั ไปและผ้ใู ห้เชา่ จะไมค่ นื เงินคา่ เชา่ ทาให้ผ้เู ชา่ มีความเส่ียงภยั เพิม่ ขนึ ้ การทางานของสิทธิการเช่า ตวั อยา่ ง บริษทั ก ต้องการเช่าที่ดนิ ของนาย ข. เป็นระยะเวลา 30 ปี เพื่อมาพฒั นาที่ดนิ สร้างอาคารพาณิชย์ หรือ สร้างอาคารสรรพสนิ ค้า และบริษัท ก ต้องการหารายได้โดยให้มีผ้เู ชา่ มาเชา่ พืน้ ท่ีอาคารพาณิชย์หรือ อาคารสรรพสินค้าทาการค้า เม่ือครบกาหนดระยะเวลาเช่าจากเจ้าของที่ดนิ แล้ว บริษัท ก ก็ต้องคนื ที่ดนิ พร้อม สิ่งปลกู สร้างให้กบั เจ้าของท่ีดนิ ในระหวา่ งการก่อสร้าง บริษัท ก จาเป็นต้องมีเงินทนุ ก้อนใหญ่เพื่อทาการก่อสร้าง ดงั นนั้ บริษัท ก จงึ ขายพืน้ ที่ อาคารเม่ือสร้างเสร็จให้กบั ผ้สู นใจที่จะมาประกอบการค้า โดยทาสญั ญาขายสิทธิการเชา่ ซง่ึ ผ้เู ชา่ จะมีสิทธิ์ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 10/1 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจโิ ต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ ครอบครองพืน้ ท่ีในการทาธรุ กิจในอาคารดงั กลา่ ว ทงั้ นีผ้ ้เู ชา่ จะต้องเสียเงินคา่ มดั จาคา่ เชา่ ตลอดระยะเวลา 30 ปี ซง่ึ เป็นจานวนเงินก้อนใหญ่ ให้กบั บริษัท ก ซง่ึ บริษัท ก ก็จะมีเงินในการลงทนุ การกอ่ สร้างอาคาร - ผ้เู ชา่ จา่ ยเงินก้อนคา่ เช่าสทิ ธินีล้ ว่ งหน้าเป็นระยะเวลา 30 ปี เชน่ 30 ล้านบาทโดยผ้เู ชา่ และผ้ใู ห้เชา่ ทา สญั ญาในการเชา่ สทิ ธินี ้เรียกวา่ “สิทธิการเชา่ ” - สาหรับเงินคา่ เชา่ แตล่ ะเดือน ผ้เู ชา่ ต้องเสียให้แกผ่ ้ใู ห้เชา่ เป็นรายเดอื นตา่ งหาก เป็นต้น - ในสญั ญาอาจจะระบวุ า่ หากเกิดความเสียหายอคั คีภยั ให้สญั ญาเชา่ พืน้ ท่ีต้องระงบั ไป ผ้เู ชา่ ต้องออก จากพืน้ ท่ีและเสียเงินสทิ ธิการเชา่ สว่ นท่ีเหลือให้กบั ผ้ใู ห้เช่า - เมื่อครบสญั ญา 30 ปี ผ้เู ชา่ ต้องคนื พืน้ ที่ให้กบั ผ้ใู ห้เชา่ และผ้ใู ห้เชา่ ก็จะคืนท่ีดนิ ที่ครอบครองพร้อมกบั อาคารบนที่ดนิ ให้กบั เจ้าของท่ีดนิ ทรัพย์สนิ ท่ีคุ้มครอง (Property Covered) สิทธิการเชา่ หมายความรวมถึง สว่ นได้เสียของผ้เู อาประกนั ภยั ในจานวนเงินมดั จาคา่ เชา่ ที่ผ้เู ชา่ จา่ ย ให้กบั ผ้ใู ห้เชา่ ตามสญั ญาเชา่ หรือสญั ญาบริการสาหรับระยะเวลาเชา่ ท่ีเหลืออยู่ ซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั ไม่สามารถ ได้รับคืนมาในรูปแบบใด ๆ (การคดิ คานวณให้หารจานวนเงินมดั จาคา่ เชา่ ด้วยระยะเวลาการเชา่ แล้วคณู ด้วย ระยะเวลาการเชา่ ที่เหลืออย่ตู ามสญั ญา ซงึ่ จะมีคา่ ลดลงโดยอตั โนมตั ทิ กุ ปี) “เงินมดั จาคา่ เช่า” หมายความวา่ เงินจานวนซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั ได้ให้แก่ผ้ใู ห้เชา่ เป็นการลว่ งหน้าเพ่ือ ประโยชน์ในการที่จะได้เชา่ สถานท่ีเชา่ ตามสญั ญาเชา่ และไมอ่ าจเรียกคืนได้ซง่ึ หมายความรวมถึงเงินชว่ ยคา่ ก่อสร้างด้วย ซง่ึ ผ้รู ับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกนั ภยั นีจ้ ะต้องเป็นเจ้าหนีข้ องผ้เู อาประกนั ภยั ในจานวนเงิน ดงั กลา่ ว เงินมดั จาคา่ เช่าท่ีผ้เู ชา่ จา่ ยให้กบั ผ้ใู ห้เชา่ ตามสญั ญาเชา่ หรือสญั ญาบริการสาหรับระยะเวลาเชา่ ที่ เหลืออยู่ ซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั ไมส่ ามารถได้รับคนื ทนุ ประกันภัย (Sum Insured) ทนุ ประกนั ภยั สาหรับการประกนั ภยั ประเภทนี ้กาหนดจากจานวนเงินมดั จาท่ีจา่ ยไปล่วงหน้า และ จานวนเงินมดั จาคงเหลือในปีถดั ไป ซง่ึ จะลดลงทกุ ปี การคดิ คานวณจานวนเงินเอาประกนั ภยั ให้หารจานวนเงินมดั จาคา่ เชา่ ด้วยระยะเวลาการเชา่ แล้ว คณู ด้วย ระยะเวลาการเช่าท่ีเหลืออยตู่ ามสญั ญา ซง่ึ จะมีคา่ ลดลงโดยอตั โนมตั ทิ กุ ปี ดงั นนั้ จงึ เป็นการตกลง จานวนเงินเอาประกนั ภยั ไว้ก่อนลว่ งหน้า (agreed value) สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/2 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ ตัวอย่าง ทาสญั ญาสิทธิการเชา่ โดยจา่ ยเงินมดั จาการเชา่ ลว่ งหน้า 20 ล้านบาท ระยะเวลาการเชา่ 20 ปี ดงั นนั้ เงินมดั จาการเชา่ เฉลี่ยปีละ = เงินมดั จาคา่ เชา่ 20 ปี ระยะเวลาการเชา่ = 20,000,000/20 = 1 ล้านบาท จานวนเงินเอาประกนั ภยั ปีท่ี 1 20 ล้านบาท ปีท่ี 2 19 ล้านบาท ปีที่ 3 18 ล้านบาท ปีท่ี 4 17 ล้านบาท และลดลงทกุ ปี จนปีที่ 20 คงเหลือเพียง 1 ล้านบาท ภัยมาตราฐานท่คี ุ้มครอง (Standard Perils) − อคั คีภยั − ฟา้ ผา่ − ภยั อื่นที่เอาประกนั ภยั ไว้ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั นี ้ เกิดแกส่ ถานที่เชา่ และทาให้โครงสร้างสว่ นที่ใช้รับนา้ หนกั ของสถานท่ีเช่าได้รับความเสียหายถงึ ขนาด ไมส่ ามารถใช้งานได้เกินกวา่ ร้อยละห้าสิบ และ/หรือ ถึงขนาดไมส่ ามารถจะใช้สถานท่ีเชา่ ประกอบกิจการใด ๆ ได้อีกตอ่ ไปโดยผลของกฎหมายหรือเทศบญั ญตั ิวา่ ด้วยการนนั้ และด้วยเหตดุ งั กลา่ วสญั ญาเชา่ ถกู ยกเลิกโดยผ้ใู ห้เชา่ หรือต้องสนิ ้ สดุ ลงก่อนถึงระยะเวลาซงึ่ ระบุ ไว้ในสญั ญาเชา่ เป็นเหตใุ ห้ผ้เู อาประกนั ภยั เสียสทิ ธิการเช่า (และสญู เสียเงินมดั จาลว่ งหน้าสว่ น ที่เหลือที่ยงั ไมถ่ ึงกาหนด ) บริษทั จะจา่ ยคา่ สินไหมทดแทนสาหรับการสญู เสียสทิ ธิการเชา่ ของผ้เู อาประกนั ภยั ตามความเสียหาย ที่แท้จริงแตไ่ มเ่ กินจานวนเงินที่เอาประกนั ภยั ไว้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/3 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ ภัยท่ขี ยายเพ่มิ เตมิ (Extended Perils) การประกนั ประเภทนี ้ใช้การขยายภยั เพ่มิ เตมิ เชน่ เดียวกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั ได้แก่ • ภยั ลมพายุ ( windstorm) • ภยั นา้ ทว่ ม (flood) • ภยั จากลกู เหบ็ (Hail) • ภยั เนื่องจากนา้ (water damage) • ภยั ระเบดิ (explosion) • ภยั จลาจลและนดั หยดุ งาน (riot & strike) • ภยั จากอากาศยาน (Aircraft) • ภยั จาการกระทาอยา่ งป่าเถ่ือนหรือการกระทาอนั มี เจตนาร้าย (vandalism & malicious act) • ภยั จากยวดยานพาหนะ (vehicle impact) • ภยั เกิดขนึ ้ เองตามปรกตวิ สิ ยั มีการลกุ ไหม้หรือการ ระเบดิ (spontaneous combustion 1) • ภยั จากควนั (smoke) • ภยั เกิดขนึ ้ เองตามปรกตวิ ิสยั และหรือไมม่ ีการลกุ ไหม้หรือการระเบดิ (spontaneous combustion 2) • ภยั แผน่ ดนิ ไหว (earthquake) • ภยั ตอ่ เครื่องไฟฟา้ (electrical injury) ดรู ายละเอียดความค้มุ ครองของแตล่ ะภยั ได้จากเอกสารแนบท้ายชดุ ท่ี 1 ในภาคผนวก ความคุ้มครองขยายเพ่มิ เตมิ (Additional Coverage) เพื่อปรับปรุงให้การประกนั ภยั ขยายความค้มุ ครองให้เพ่ิมจากเง่ือนไขมาตรฐาน จงึ สามารถขยายได้ เชน่ เดียวกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั ตวั อยา่ งเช่น - 30 days cancellation clause - Automatic extension of period insurance - เป็นต้น ดรู ายละเอียดความค้มุ ครองของแตล่ ะเง่ือนไขได้จากเอกสารแนบท้ายชดุ ที่ 2 ในภาคผนวก ข้อยกเว้น (Exclusions) คล้ายกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั 1. กรมธรรม์ประกนั ภยั นีไ้ มค่ ้มุ ครองการสญู เสีย หรือการเสียหายอนั เกิดจาก หรือเป็นผลโดยตรงจากสาเหตุ ดงั ตอ่ ไปนีค้ ือ 1.1 แผน่ ดนิ ไหว หรือการผนั แปรผิดปรกตขิ องธรรมชาติ 1.2 พายไุ ต้ฝ่นุ พายเุ ฮอร์รีเคน พายทุ อร์นาโด พายไุ ซโคลน หรือภยั แหง่ ลมฟ้าอากาศอ่ืนๆ 1.3 สงคราม การรุกราน การกระทาที่มงุ่ ร้ายของศตั รูตา่ งประเทศ หรือการกระทาท่ีมงุ่ ร้ายคล้ายสงคราม ไมว่ า่ จะได้มีการ ประกาศหรือไมก่ ็ตาม หรือสงครามกลางเมือง สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 10/4 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ 1.4 การแขง็ ข้อ การกบฏ การจลาจล การนดั หยดุ งาน การยดึ อานาจ การก่อความว่นุ วาย การกระทาของ ขบวนการโจรกอ่ การร้าย การกระทาของผ้กู อ่ การร้ายคอมมิวนสิ ต์ การปฏิวตั กิ ารประกาศกฏอยั การ ศกึ หรือเหตกุ ารณ์ใด ๆ ซง่ึ จะเป็นเหตใุ ห้มีการประกาศหรือคงไว้ซง่ึ กฎอยั การศกึ 1.5 อาวธุ นวิ เคลียร์ 1.6 การแผร่ ังสี หรือการแพร่กมั มนั ตภาพรังสีจากเชือ้ เพลิงนวิ เคลียร์ หรือจากกากนิวเคลียร์ใด ๆ อนั เนื่องมาจากการเผาไหม้ของเชือ้ เพลิงนวิ เคลียร์ และจากกรรมวธิ ีใด ๆ แหง่ การแตกแยกตวั ของ นวิ เคลียร์ซง่ึ ดาเนินติดตอ่ กนั ไปด้วยตวั เอง 2. กรมธรรม์ประกนั ภยั นีไ้ มค่ ้มุ ครองการสญู เสียหรือการเสียหาย ซง่ึ เป็นผลโดยตรงอนั เกิดจากการระเบดิ ทกุ ชนดิ รวมทงั้ การระเบิดของแก๊สในโรงงานแก๊ส หรือการระเบดิ ของแก๊สท่ีใช้เพ่ือประโยชน์ทางการค้าหรือ การผลติ 3. กรมธรรม์ประกนั ภยั นีไ้ มค่ ้มุ ครองความเสียหายซงึ่ เป็นผลโดยตรงอนั เกิดจากเผาทรัพย์สนิ โดยคาสงั่ ของ เจ้าพนกั งานหรือเจ้าหน้าท่ีบ้านเมืองซงึ่ ได้กระทาการโดยชอบ 4. กรมธรรม์ประกนั ภยั นีไ้ มค่ ้มุ ครองการสญู เสียหรือการเสียหาย ซง่ึ เกิดขนึ ้ จาก 4.1 การกระทาใด ๆ หรือการงดเว้นสิง่ ที่พงึ กระทาโดยผ้เู อาประกนั ภยั ซงึ่ เป็นเหตใุ ห้สญั ญาเชา่ สนิ ้ สดุ ลง 4.2 การที่ผ้เู อาประกนั ภยั เป็นผ้บู อกเลกิ สญั ญาเชา่ เสียเอง 4.3 การฝ่าฝืนข้อบงั คบั ของกฎหมาย หรือเทศบญั ญตั เิ ก่ียวกบั การควบคมุ การก่อสร้าง หรือห้ามการ ก่อสร้าง หรือซอ่ มแซม ตอ่ เตมิ หรือการรือ้ ถอนส่งิ ปลกู สร้างของผ้เู อาประกนั ภยั เป็นเหตใุ ห้สญั ญาเชา่ สิน้ สดุ ลง เง่อื นไขท่วั ไป (Conditions) ลกั ษณะคล้ายกบั เง่ือนไขของกรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั ทงั้ นีจ้ ะขอแยกเงื่อนไขที่เป็นการชดใช้คา่ สินไหมทดแทน ไปกลา่ วในเร่ือง หลกั การชดใช้คา่ สินไหมทดแทน 1. (1) ผลของการบรรยายคลาดเคล่ือนในสาระสาคญั ถ้าได้มีการบรรยายคลาดเคลื่อนในสาระสาคญั แหง่ สถานท่ีเชา่ หรือในข้อความจริงอนั เป็น สาระสาคญั อนั จาเป็นต้องรู้เพื่อการประเมนิ ความเส่ียงภยั หรือมีการละเว้นไมเ่ ปิดเผยข้อความจริง ดงั กลา่ วนนั้ บริษทั ไมต่ ้องรับผิดตอ่ การสญู เสียใด ๆ ตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้เทา่ ที่เก่ียวกบั ทรัพย์สินซงึ่ ได้มีการบรรยายคลาดเคลื่อนหรือการละเว้นดงั กลา่ วข้างต้น 2. (7) การบอกกลา่ ว คาบอกกลา่ วและการตดิ ตอ่ ระหวา่ งผ้เู อาประกนั ภยั และบริษทั จะมีผลตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้ ต้องกระทาเป็นหนงั สือจงึ จะมีผลบงั คบั ได้ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 10/5 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจโิ ต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ 3. (8) การเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั 3.1 บริษทั จะบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ด้วยการบอกกลา่ วลว่ งหน้าเป็นหนงั สือไมน่ ้อย กวา่ 15 วนั โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบยี น ถึงผ้เู อาประกนั ภยั ตามที่อยคู่ รัง้ สดุ ท้ายที่แจ้งให้ บริษทั ทราบ ในกรณีนีบ้ ริษัทจะคืนเบยี ้ ประกนั ภยั ให้แก่ผ้เู อาประกนั ภยั โดยหกั เบยี ้ ประกนั ภยั สาหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ใช้บงั คบั มาแล้วออกตามสว่ น 3.2 ผ้เู อาประกนั ภยั จะบอกเลกิ กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ โดยแจ้งให้บริษัททราบเป็นลาย ลกั ษณ์อกั ษร และมีสิทธิได้รับเบยี ้ ประกนั ภยั คนื หลงั จากหกั เบยี ้ ประกนั ภยั สาหรับระยะเวลา ที่กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีไ้ ด้ใช้บงั คบั มาแล้วออกตามอตั ราเบีย้ ประกนั ภยั ระยะสนั้ การ บอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั ดงั กลา่ วจะต้องได้รับความยินยอมเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจาก ผ้รู ับประโยชน์ตามที่ระบไุ ว้ในกรมธรรม์ประกนั ภยั นี ้ 4. (9) การระงบั ไปแหง่ สญั ญาตามกรมธรรม์ประกนั ภยั 4.1 เว้นแตผ่ ้เู อาประกนั ภยั จะได้แจ้งให้บริษทั ทราบ และบริษัทได้ตกลงยินยอมรับประกนั ภยั ตอ่ ไป และได้บนั ทกึ แสดงไว้ในกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นีแ้ ล้ว การค้มุ ครองตามรายการสญั ญาตาม กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้เป็นอนั ระงบั สนิ ้ ไปทนั ทีเมื่อสญั ญาเชา่ หรือสิทธิการเชา่ ต้องสนิ ้ สดุ ลงหรือถกู ยกเลกิ 4.2 การค้าหรือการผลิตซงึ่ ดาเนินอยภู่ ายในสิง่ ปลกู สร้าง หรือทรัพย์สินที่เก็บไว้ในสถานที่ที่เอา ประกนั ภยั ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากท่ีได้ระบไุ ว้ในตารางแหง่ กรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบบั นี ้ และการเปลี่ยนแปลงนนั้ ก่อให้เกิดการเส่ียงภยั ในการสญู เสีย หรือความเสียหายจากอคั คีภยั หรือภยั อื่นเพิ่มขนึ ้ 4.3 สิ่งปลกู สร้างหรือสถานที่เชา่ ตามท่ีระบใุ นตารางกรมธรรม์ประกนั ภยั ตกอยใู่ นสภาพไมม่ ีผ้อู ยู่ อาศยั หรือไมม่ ีผ้ดู แู ลรักษา และยงั คงอยใู่ นสภาพเชน่ นนั้ เป็นเวลาเกินกวา่ 60 วนั ตดิ ตอ่ กนั 4.4 สงิ่ ปลกู สร้าง หรือสถานที่เชา่ ตามท่ีระบใุ นตารางกรมธรรม์ได้เปลี่ยนมือจากผ้เู อาประกนั ภัย โดยวธิ ีอื่นนอกจากทาง พนิ ยั กรรม หรือโดยบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย 5. (10) การแตง่ ตงั้ อนญุ าโตตลุ าการ ในกรณีท่ีผ้เู อาประกนั ภยั และบริษัทมีความเหน็ แตกตา่ งกนั ในจานวนแหง่ การสญู เสีย และความ เสียหายและเห็นควรจะได้ยตุ คิ วามเห็นแตกตา่ ง โดยวิธีอนญุ าโตตลุ าการให้แยกความเหน็ ท่ีแตกตา่ ง กนั นนั้ ออกจากปัญหาอื่นๆ แล้วนามาชีข้ าดโดยอนญุ าโตตลุ าการโดยให้คกู่ รณีทาหนงั สือแตง่ ตงั้ อนญุ าโตตลุ าการขนึ ้ หนง่ึ คนหรือถ้าไมส่ ามารถที่จะตกลงกนั ตงั้ อนญุ าโตตลุ าการเพียงคนเดียวได้ ก็ให้ แตง่ ตงั้ อนญุ าโตตลุ าการขนึ ้ สองคน โดยคกู่ รณีทาหนงั สือแตง่ ตงั้ ขนึ ้ ฝ่ายละหนง่ึ คน ภายใน กาหนดเวลาสองเดือนนบั ตงั้ แตว่ นั ท่ีได้มีการร้องขอเป็นหนงั สือจากคกู่ รณีอีกฝ่ายหนงึ่ ถ้าฝ่ายใดฝ่าย สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/6 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจโิ ต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ หนง่ึ เพิกเฉยไมแ่ ตง่ ตงั้ ภายในกาหนดสองเดือนนนั้ ให้ถือว่าอนญุ าโตตลุ าการที่ฝ่ายร้องขอได้ตงั้ ขนึ ้ นนั้ เป็นผ้ชู ีข้ าดท่ีสมบรู ณ์ 6. (11) การจากดั อายคุ วาม บริษทั ยอ่ มพ้นจากความรับผิดเพ่ือการสญู เสียหรือการเสียหายตามกรมธรรม์ประกนั ภยั ฉบั บนีใ้ นทกุ กรณีเม่ือพ้นกาหนดสองปี นบั แตว่ นั ท่ีได้เกิดการสญู เสียหรือการเสียหาย เว้นแตข่ ้อเรียกร้องนนั้ ยงั อยู่ ในระหวา่ งการดาเนินคดใี นศาลหรือการพิจารณา โดยอนญุ าโตตลุ าการ หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (Basis of Loss Settlement) กรมธรรม์นีร้ ะบกุ ารชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนไว้ชดั เจน 1. ความเสียหายของสถานที่เช่าจากภยั ที่ระบคุ ้มุ ครอง 2. ทาให้โครงสร้างสถานที่เชา่ ส่วนท่ีใช้รับนา้ หนกั ของสถานที่เชา่ ได้รับความเสียหายถงึ ขนาดไมส่ ามารถ ใช้งานได้เกินกวา่ ร้อยละห้าสิบ และ/หรือ ถงึ ขนาดไมส่ ามารถจะใช้สถานท่ีเชา่ ประกอบกิจการใด ๆ ได้ อีกตอ่ ไปโดยผลของกฎหมายหรือเทศบญั ญตั วิ า่ ด้วยการนนั้ 3. ด้วยเหตดุ งั กลา่ วสญั ญาเชา่ ถกู ยกเลิกโดยผ้ใู ห้เชา่ หรือต้องสนิ ้ สดุ ลงก่อนถึงระยะเวลาซง่ึ ระบไุ ว้ใน สญั ญาเชา่ เป็นเหตใุ ห้ผ้เู อาประกนั ภยั เสียสทิ ธิการเชา่ 4. บริษทั จะจา่ ยคา่ สินไหมทดแทนสาหรับการสญู เสียสทิ ธิการเชา่ ของผ้เู อาประกนั ภยั ตามความเสียหาย ท่ีแท้จริงแตไ่ มเ่ กินจานวนเงินท่ีเอาประกนั ภยั ไว้ การประกนั ภยั นีจ้ งึ ไมม่ ีเง่ือนไข การประกนั ภยั ทรัพย์สินต่ากวา่ มลู คา่ ท่ีแท้จริง (under insurance) เหมือนกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั เนื่องจากการกาหนดจานวนเงินเอาประกนั ภยั กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิ การเชา่ กาหนดจากจานวนเงินมดั จาท่ีจา่ ยไปลว่ งหน้า มิได้กาหนดจากมลู คา่ ของทรัพย์สนิ ดงั นนั้ เมื่อเกิด ความเสียหายจงึ ไมต่ ้องนาจานวนเงินเอาประกนั ภยั เปรียบเทียบกบั มลู คา่ ของทรัพย์สิน ณ เวลาท่ีเกิดความ เสียหาย (2) การประกันภัยซ้อน “ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องแจ้งให้บริษัททราบถงึ การประกนั ภยั ที่มีอยแู่ ล้ว หรือท่ีจะทาเพิ่มเตมิ ภายหลงั กบั บริษทั อื่นอีก เพื่อค้มุ ครองทรัพย์สนิ หรือสิทธิท่ีได้เอาประกนั ภยั ไว้กบั บริษทั แล้วก่อนท่ีจะมีการสญู เสียหรือการ เสียหายเกิดขนึ ้ มฉิ ะนนั้ บริษัทจะรับผดิ เฉพาะสว่ นท่ีเกินจากความรับผิดชอบของบริษัทอ่ืน ซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั ไมส่ ามารถเรียกร้องจากบริษัทอื่นได้เท่านนั้ ” สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 10/7 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ เงื่อนไขนีก้ าหนดใว้ หากผ้เู อาประกนั ภยั ได้ทาประกนั ภยั ประกนั ภยั เพิม่ กบั บริษัทอ่ืนแล้ว จะต้องแจ้ง ให้ผ้รู ับประกนั ภยั ทราบ หากไมแ่ จ้งให้ทราบบริษัทจะชดใช้คา่ เสียหายเป็นส่วนเกินจากกรมธรรม์อื่น ซง่ึ จะไม่ เหมือนกบั เง่ือนไขกรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั (3) การเฉล่ียความเสียหาย เงื่อนไขนีไ้ มใ่ ชเ่ ป็นการประกนั ภยั ตา่ กวา่ มลู คา่ แตเ่ ป็นเร่ืองการร่วมเฉล่ียความเสียหาย (Contribution) เชน่ เดียวกบั กรมธรรม์อคั คภี ยั “ถ้าในขณะท่ีเกิดการสญู เสีย หรือการเสียหายขนึ ้ ตอ่ สิทธิการเชา่ ซงึ่ เอาประกนั ภยั และปรากฏวา่ สิทธิ การเชา่ รายเดยี วกนั ได้เอาประกนั ภยั เพ่ือความเสียหายอนั เดยี วกนั ไว้กบั บริษัทประกนั ภยั อ่ืน จะเป็นโดยผ้เู อา ประกนั ภยั เองหรือบคุ คลอ่ืนใดก็ตาม บริษทั จะรับผิดจา่ ยคา่ สินไหมทดแทนไมเ่ กินกวา่ สว่ นเฉลี่ยตามจานวน เงินท่ีบริษัทได้รับประกนั ภยั ตอ่ จานวนเงินเอาประกนั ภยั ทงั้ สนิ ้ และไมเ่ กินกวา่ จานวนเงินที่บริษัทได้รับ ประกนั ภยั ไว้ด้วย” (4) หน้าท่ขี องผู้เอาประกันภัยในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เม่ือได้เกิดการสญู เสียหรือการเสียหายใด ๆ 4.1 ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องแจ้งให้บริษัททราบทนั ที และภายใน 15 วนั นบั ตงั้ แตเ่ กิดการสญู เสียหรือ ความเสียหายหรือภายใน กาหนดท่ีบริษทั จะขยายเวลาให้โดยหนงั สือ ผ้เู อาประกนั ภยั ต้องสง่ มอบตอ่ บริษัท โดยคา่ ใช้จา่ ยของผ้เู อาประกนั ภยั เอง ซงึ่ หลกั ฐานดงั ตอ่ ไปนี ้ 4.1.1 คาเรียกร้องเป็นหนงั สือเกี่ยวกบั การสญู เสียหรือการเสียหาย โดยละเอียดเทา่ ท่ีจะทาได้ ตามราคาในเวลาเกิดการสญู เสียหรือการเสียหาย ซง่ึ ไมไ่ ด้รวมกาไร 4.1.2 รายการประกนั ภยั อื่น ๆ ถ้ามี 4.2 ผ้เู อาประกนั ภยั โดยคา่ ใช้จา่ ยของตนเองต้องแสดง หรือจดั หา หรือแจ้ง หรือมอบให้บริษัทซง่ึ พยานหลกั ฐานและรายการเพมิ่ เตมิ เชน่ แผนผงั รายการละเอียด สมดุ บญั ชี ใบสาคญั การบญั ชี ใบกากบั สนิ ค้า คฉู่ บบั หรือ สาเนาแห่ง เอกสารนนั้ ๆ ข้อพสิ จู น์ และข้อความเก่ียวกบั การเรียกร้อง และต้นเพลิงหรือ สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดอคั คีภยั หรือภยั อื่นที่ เอาประกนั ไว้ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั นี ้และพฤตกิ ารณ์ท่ีทาให้เกิด การสญู เสียหรือความเสียหายตามท่ีบริษัทต้องการโดยสมควรแก่กรณี บริษัทจะไมร่ ับพิจารณาชดใช้คา่ สินไหมทดแทน นอกจากผ้เู อาประกนั ภยั ได้ปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขดงั กลา่ ว สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/8 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจโิ ต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ (5) ถ้าได้ระบุให้เจ้าหนีเ้ ป็ นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันภัยนี้ บริษัทจะจา่ ยเงินคา่ สินไหมทดแทนให้แกเ่ จ้าหนีท้ ่ีระบชุ ื่อไว้ก่อนตามสว่ นได้เสียที่มีอยแู่ ละตามลาดบั ท่ีระบใุ น หน้าตารางกรมธรรม์ประกนั ภยั นี ้และเจ้าหนีด้ งั กลา่ วมีสิทธิเรียกร้องและตกลงคา่ เสียหายกบั บริษัทได้โดยตรง การเปล่ียนแปลงตวั ผ้รู ับประโยชน์ในกรณีนี ้ต้องได้รับความยินยอมเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากผ้รู ับประโยชน์คน เดมิ (6) สทิ ธิของเจ้าหนีจ้ ะไม่เสียไปแม้ว่าผู้เอาประกันภัยละเลยไม่ปฏิบัตติ ามเง่ือนไขของกรมธรรม์ ประกันภยั นี้ ถ้าหากวา่ เจ้าหนีไ้ ด้ปฏิบตั ิดงั นีแ้ ล้วคือ 6.1 ได้แจ้งให้บริษทั ทราบถึงการเปล่ียนแปลงในกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิการเชา่ หรืออาชีพของผ้เู อาประกนั ที่เปลี่ยนไปซง่ึ เจ้าหนีด้ งั กลา่ วทราบและผ้เู อาประกนั ภยั ได้ละเลยไมแ่ จ้งแก่บริษัท 6.2 ชาระเบีย้ ประกนั ภยั ท่ีครบกาหนดตามกรมธรรม์ประกนั ภยั นีซ้ งึ่ ผ้เู อาประกนั ภยั ละเลยไมช่ าระ 6.3 ย่ืนคาแถลงความเสียหายซง่ึ ลงนามรับรองตอ่ บริษัทภายใน 60 วนั นบั แตว่ นั ท่ีบริษัทแจ้งให้ทราบ วา่ ผ้เู อาประกนั ภยั ละเลยไมไ่ ด้ย่ืนรายการความเสียหายดงั กลา่ วข้างต้น การพจิ ารณารับประกันภัย เนื่องจากกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ มีภยั ที่ค้มุ ครองและใช้อตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั เหมือนกนั กบั กรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั จะตา่ งกนั ก็เพียงทรัพย์สนิ ที่ค้มุ ครองเทา่ นนั้ ที่กรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ ให้ ความค้มุ ครอง “สทิ ธิในการเชา่ ” แตก่ รมธรรม์ประกนั อคั คีภยั ค้มุ ครองความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ กบั ตวั อาคารหรือ ทรัพย์สินภายในอาคาร ดงั นนั้ หลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณารับประกนั ภยั ของกรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ นี ้ จงึ เหมือนกนั กบั การพจิ ารณารับประกนั ภยั กรมธรรม์ประกนั ภยั อคั คภี ยั ไมว่ า่ จะเป็นการพจิ ารณาการเส่ียงตอ่ ภาวะภยั ทางกายภาพ (Physical hazard) เชน่ ส่งิ ปลกู สร้าง ลกั ษณะธุรกิจหรือการประกอบการ ทาเลท่ีตงั้ และ สภาพแวดล้อม การปอ้ งกนั การดแู ลจดั ระเบียบ เป็นต้น รวมถงึ การเสี่ยงตอ่ ภาวะภยั ทางศลี ธรรม (Moral hazard) ด้วยเชน่ กนั แตส่ ิ่งสาคญั ที่ผ้รู ับประกนั ภยั ต้องพิจารณาเพ่มิ เตมิ คือ สญั ญาเชา่ เพ่ือผ้รู ับประกนั ภยั ต้องตรวจสอบและพิจารณารายละเอียดตา่ งๆ ได้แก่ เงินมดั จาคา่ เชา่ ท่ีผ้เู ชา่ จา่ ยให้กบั ผ้ใู ห้เชา่ ตามสญั ญาเชา่ หรือสญั ญาบริการสาหรับระยะเวลาเชา่ ที่เหลืออยู่ ซงึ่ ผ้เู อาประกนั ภยั ไมส่ ามารถได้รับคนื รวมถงึ ระยะเวลาการ เชา่ เพ่ือนามากาหนดเป็นทนุ ประกนั ภยั สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/9 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทท่ี 10 : กรมธรรม์ประกนั ภยั สทิ ธิการเชา่ แบบฝึ กหดั ท้ายบท 1. กรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ มีลกั ษณะท่ีแตกตา่ งจากกรมธรรม์ประกนั อคั คีภยั อยา่ งไร จงอธิบาย 2. เพราะเหตใุ ดทนุ ประกนั ภยั ของกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ จงึ ลดลงทกุ ปี 3. เพราะเหตใุ ดกรมธรรม์ประกนั ภยั สิทธิการเชา่ จงึ ไมม่ ีเง่ือนไขการประกนั ภยั ทรัพย์สินต่ากวา่ มลู คา่ ที่ แท้จริง (under insurance) ทงั้ ที่ลกั ษณะกรมธรรม์ประกนั ภยั เหมือนกบั กรมธรรม์ประกนั อคั คภี ยั สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 10/10 ชื่อผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 11 : กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรม บทท่ี 11 กรมธรรม์ประกันภัยโจรกรรม วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. เพ่ือให้นกั ศกึ ษาอธิบายลกั ษณะของกรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมได้ 2. เพ่ือให้นกั ศกึ ษามีความเข้าใจในความค้มุ ครอง เงื่อนไขทวั่ ไปและข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรม 3. เพ่ือให้นกั ศกึ ษามีความเข้าใจวิธีการจดั การคา่ สินไหมทดแทนของกรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมได้ บทนา กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมมีลกั ษณะแตกตา่ งจากกรมธรรม์ประกนั ภยั ประเภทอ่ืน เนื่องจาก ความค้มุ ครองภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมจะให้ความค้มุ ครองความสญู เสียที่ไมใ่ ชอ่ บุ ตั เิ หตหุ รือเหตุ บงั เอิญแตเ่ ป็นความสญู เสียหรือเสียหายอนั เนื่องจากการกระทาโดยเจตนาหรือจงใจของผ้รู ้ายหรือผ้จู ะกระทา การโจรกรรมซง่ึ ถือวา่ เป็นบคุ คลภายนอก ซง่ึ กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมจะไมค่ ้มุ ครองความสญู เสียหรือ ความเสียหายจากการ ยกั ยอก ฉ้อโกง แตจ่ ะให้ความค้มุ ครองเฉพาะความผิดท่ีเกิดจากการลกั ทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์เทา่ นนั้ ซง่ึ ผ้เู อาประกนั ภยั สามารถเลือกซือ้ แบบความค้มุ ครองได้ 3 รูปแบบ มีทงั้ ความค้มุ ครอง แบบแคบ หรือแบบท่ีกว้างขนึ ้ ทงั้ นีข้ นึ ้ อยกู่ บั ความเส่ียงภยั ของผ้เู อาประกนั ภยั แตใ่ นปัจจบุ นั นกั ศกึ ษาจะเห็นวา่ จานวนกรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมมีจานวนไมม่ ากขึน้ กวา่ ในอดีต และกรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมที่ออกเป็นกรมธรรม์ประกนั ภยั นนั้ สว่ นใหญ่เป็นลกู ค้ารายยอ่ ย และสถานที่เอาประกนั ภยั เป็นบ้านอย่อู าศยั ร้านค้า หรือสานกั งานเลก็ ๆ เทา่ นนั้ แตก่ ็มิใชว่ า่ อาคารขนาดใหญ่ หรือกิจการขนาดใหญ่จะไมม่ ีความต้องการหรือละเลยการจดั ประกนั ภยั ภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรม เพราะธรุ กิจดงั กลา่ วก็มีความเสี่ยงภยั ตอ่ การถกู โจรกรรมเชน่ เดียวกนั แตส่ ถานการณ์ท่ีเกิดขนึ ้ ในธุรกิจ คอื บริษทั ประกนั ภยั สว่ นใหญ่นาความค้มุ ครองภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมไปเป็นความค้มุ ครองที่ถกู ขยายเพ่ิมเตมิ อยใู่ นกรมธรรม์ประกนั ภยั ความเส่ียงภยั ทรัพย์สนิ และท่ีแยไ่ ปกวา่ นนั้ คือ การขยาย ความค้มุ ครองดงั กลา่ วเป็นการขยายโดยไมเ่ ก็บเบีย้ ประกนั ภยั สง่ ผลให้อตั ราการเพิม่ ขนึ ้ ของกรมธรรม์ ประกนั ภยั โจรกรรมไมส่ ะท้อนตวั เลขท่ีแท้จริง สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 11/1 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชิงพาณิชย์ บทท่ี 11 : กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรม ทรัพย์สนิ ท่ีคุ้มครอง (Property Covered) สาหรับธรุ กิจการพาณิชย์ (Commercial Property) ทรัพย์สินที่ทาประกนั ภยั จะประกอบด้วย 1. เคร่ืองจกั ร (machinery) 2. สต๊อกสินค้า (Stock) ซงึ่ รวมถงึ วตั ถดุ บิ สนิ ค้าในระหว่างการผลิตและสินค้าสาเร็จรูป - กล้องถา่ ยรูป เคร่ืองเสียง เคร่ืองไฟฟ้า เสือ้ ผ้า เหล้า ฯลฯ 3. เฟอร์นเิ จอร์ ของใช้ เครื่องตกแตง่ ติดตงั้ ตรึงตรา หรือ เครื่องใช้สานกั งานตา่ งๆ (contents) เป็นต้น 4. ตวั อาคาร ซง่ึ ถ้าพจิ ารณาแล้วทรัพย์สินที่ได้รับความค้มุ ครองภายใต้กรมธรรม์ประกนั ภัยโจรกรรมแบง่ เป็น 2 กรณีหลกั ได้แก่ - ความสญู เสียหรือความเสียหายตอ่ ทรัพย์สนิ ที่เอาประกนั ภยั และ - ความเสียหายตอ่ อาคารซง่ึ เก็บทรัพย์สินท่ีเอาประกนั ภยั ทุนประกันภยั (Sum Insured) หลกั การคดิ ทนุ ประกนั ภยั ของการประกนั ภยั ประเภทนีม้ ี 2 วิธี 1. การประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ (Full value basis) คดิ จานวนเงินเอาประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ 2. การประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ เตม็ (First loss basis) คดิ จานวนเงินเอาประกนั ภยั ตามความเสียหาย สงู สดุ ท่ีจะเป็นไปได้ เน่ืองจากการโจรกรรมในบางครัง้ ผ้รู ้ายไมส่ ามารถนาพาทรัพย์สินไปได้ทงั้ หมดใน ครัง้ เดยี ว สาหรับการกาหนดทนุ ประกนั ภยั แบบนีจ้ ะแนบเอกสาร 2 แบบ คือ จร.4.1 หรือ 4.2 แล้วแต่ การกาหนดอตั ราเบีย้ ประกนั ภยั 3. นอกจากนนั้ ยงั ใช้หลกั การชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน คิดเป็น - Actual value basis (ราคาทรัพย์สนิ ท่ีหกั คา่ เส่ือมแล้ว) - New replacement basis (ราคาทรัพย์สินท่ีไมห่ กั คา่ เส่ือม) การประกันภัยต่ากว่ามูลค่าเตม็ (First Loss Insurance) โดยปรกตกิ ารกาหนดจานวนเงินเอาประกนั ภยั ตามกรมธรรม์มาตรฐานจะกาหนดเป็นจานวนเงินเอา ประกนั ภยั เตม็ มลู คา่ ทรัพย์สินเชน่ เดยี วกบั กรมธรรม์ทรัพย์สนิ อื่นๆทกุ ประเภท แตบ่ างครัง้ ในความเสียหายที่ เกิดขนึ ้ ตอ่ การถกู โจรกรรมทรัพย์สนิ ผ้เู อาประกนั ภยั จะมองวา่ การสญู เสียโดยสิน้ เชงิ หรือความเสียหายทงั้ หมด ตอ่ ทรัพย์สนิ ที่เอาประกนั ภยั คงเป็นไปได้ยากมาก ตวั อยา่ งเชน่ สต๊อกนา้ ตาล จานวนมลู คา่ ทรัพย์สินทงั้ หมด 100 ตนั ไมม่ ีโอกาสท่ีจะเกิดการโจรกรรมได้ทงั้ หมด 100 ตนั ในครัง้ เดียว แตม่ ีความเป็นไปได้สงู ในความ สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทที่ 11/2 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจโิ ต

NL605 : การจดั การสาหรับการประกนั ภยั เชงิ พาณิชย์ บทที่ 11 : กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรม เสียหายไมเ่ กิน 10 ตนั แรก ดงั นนั้ ผ้เู อาประกนั ภยั จีงจะขอกาหนดทนุ เอาประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ เตม็ ทงั้ นี ้เพ่ือ ลดเบยี ้ ประกนั ภยั โดยผ้รู ับประกนั ภยั ยนิ ดรี ับด้วยการเพมิ่ อตั ราเบยี ้ ประกนั ภยั ให้ชดเชยกนั จากหลกั การคิดทนุ ประกนั ภยั จะเหน็ วา่ กรมธรรม์ประกนั ภยั โจรกรรมมีวิธีกาหนดทนุ ประกนั ภยั นอกเหนือจากแบบเตม็ มลู คา่ เตม็ (Full value basis) แล้ว คือ การกาหนดทนุ ประกนั ภยั ต่ากว่ามลู คา่ เตม็ (First loss basis) ขออธิบายเพม่ิ เตมิ เพื่อความเข้าใจในการเลือกเอกสารแนบท้ายเพ่ือแนบตดิ ในกรมธรรม์ ประกนั ภยั กรมธรรม์ประกนั ภยั สว่ นใหญ่จะมีหลกั การเฉลี่ย (average clause) มาพจิ ารณาในการชดใช้คา่ สนิ ไหม ทดแทน ในกรณีที่ทนุ ประกนั ภยั ของทรัพย์สนิ ที่เอาประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ ทรัพย์สนิ ที่แท้จริง ณ เวลาท่ีเกิด ความเสียหาย เพราะถือว่าผ้เู อาประกนั ภยั ร่วมรับผิดชอบในความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ แตส่ าหรับกรมธรรม์ ประกนั ภยั โจรกรรมหากผ้เู อาประกนั ภยั ประสงคท์ ่ีจะกาหนดทนุ ประกนั ภยั แบบต่ากวา่ มลู คา่ เตม็ แล้ว หลกั การ เฉลี่ย (average clause) นีจ้ ะไมน่ ามาใช้ เพราะในการกาหนดทนุ ประกนั ภยั แบบตา่ กวา่ มลู คา่ เตม็ เป็นการแจ้ง ความประสงคข์ องผ้เู อาประกนั ภยั และผ้รู ับประกนั ภยั ก็ทราบตงั้ แตท่ าสญั ญา จงึ ใช้คาวา่ “First loss” และใน การออกกรมธรรม์ต้องระบยุ กเลิกเง่ือนไขการประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ (under insurance) ด้วย เพื่อเม่ือเกิด ความเสียหายแล้วจะไมม่ ีการเฉลี่ยคา่ เสียหายในกรณีทาประกนั ภยั ต่ากวา่ มลู คา่ ทรัพย์สินแท้จริง ภยั มาตรฐานท่คี ุ้มครอง (Standard Perils) แบง่ เป็น 3 ประเภท 1. การลกั ทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยงดั แงะ (จร.1) 2. การลกั ทรัพย์ที่ปรากฏร่องรอยงดั แงะ การชงิ ทรัพย์ การปล้นทรัพย์ (จร.2) 3. การลกั ทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ (จร.3) 1. การลกั ทรัพย์ท่ีปรากฏร่องรอยงดั แงะ (จร.1) ข้อตกลงค้มุ ครองจะแบง่ เป็น 2 ประเภท ข้อ 1. ความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สินท่เี อาประกันภัย 1.1 บริษทั จะชดใช้คา่ สินไหมทดแทนเพื่อความสญู เสียหรือความเสียหายของทรัพย์สินที่เอา ประกนั ภยั อนั เกิดจากการลกั ทรัพย์โดยบคุ คลใดๆ ท่ีมิได้ระบไุ ว้ในข้อยกเว้น ซง่ึ ได้เข้าไปหรือออก จากสถานที่ที่เอาประกนั ภยั โดยการใช้กาลงั อยา่ งรุนแรงและทาให้เกิดร่องรอยความเสียหายที่เห็น ได้อยา่ งชดั เจนตอ่ สถานที่ที่เอาประกนั ภยั จากการใช้เครื่องมือ วตั ถรุ ะเบิด ไฟฟ้า เคมี รวมทงั้ ความสญู เสีย หรือความเสียหายเนื่องมาจากความพยายามกระทาการดงั กล่าว (Theft involving entry to or exit from the premises by forcible and violent means) สถาบนั ประกนั ภยั ไทย บทท่ี 11/3 ช่ือผ้แู ตง่ : อาจารย์สมบตั ิ อนนั ตลาโภชยั และงามตา เขมะจิโต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook