Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:03:40

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ป.1 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 64 แนวคาํ ตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม ขอมูล คาดการณ การพยากรณ การพยากรณ

65 คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 สอ่ื การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู กจิ กรรมท่ี 4 พยากรณไ ดอ ยา งไร 1. หนงั สือเรียน ป.1 เลม 1 หนา 18-19 กิจกรรมน้นี กั เรียนจะไดสังเกตรปู และใชข อมูลท่ีมีอยู 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 21-22 มาพยากรณหรือคาดการณส ่ิงทีจ่ ะเกิดขน้ึ ตอไป 3. ตัวอยา งวีดทิ ศั นป ฏบิ ัติการวิทยาศาสตรเรื่อง เวลา 1 ชว่ั โมง จดุ ประสงคก ารเรียนรู การพยากรณทําไดอยา งไร http://ipst.me/8122 สังเกตและพยากรณส่ิงทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ วสั ดุ อปุ กรณส าํ หรบั ทาํ กจิ กรรม สิง่ ทค่ี รตู อ งเตรียม/กลมุ - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมูล ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรวมมือ

คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 66 แนวการจัดการเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูตรวจสอบความรูพ้ืนฐานของนักเรียนท่ีไดจากการเรียนครั้งท่ีผาน เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให มา ครูชวนนักเรียนเลนเกมตอบปญหา โดยใหขอมูลบางสวนแลวให หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม นักเรียนรวมกันคาดการณสิ่งที่จะเกิดข้ึน ซ่ึงครูอาจใชแนวคําถาม ตา ง ๆ ในบทเรยี นี้ ดังตอ ไปนี้ 1.1 ถาทุก ๆ วัน ด.ช. พอเพียงมาโรงเรียนเวลา 7.00 น. ในวัน พรงุ น้ี ด.ช. พอเพยี งจะมาโรงเรียนเวลาใด (นกั เรียนตอบไดตาม ความเขาใจของตนเอง แตควรใหเหตุผลดวยวาเหตุใดจึงคิด เชน นัน้ ) 1.2 ด.ญ. พอใจสังเกตวา ในทุก ๆ เชาน้ําทะเลจะข้ึนสูงกวาในตอน เยน็ เสมอ ถาเย็นวันนี้ พอใจกอปราสาททรายไวที่ชายทะเล ใน วันรุงข้ึน ปราสาททรายของ ด.ญ. พอใจจะมีลักษณะเปน อยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง แตควรให เหตผุ ลดวยวาเหตใุ ดจึงคิดเชน นนั้ ) 1.3 นักเรียนใชการพยากรณในการตอบคําถามขอใดบาง (นักเรียน ตอบไดตามความเขาใจของตนเอง) 1.4 นักเรยี นพยากรณหรือคาดการณคําตอบของคําถามแตละขอได อยา งไร (นกั เรียนตอบไดต ามความเขา ใจของตนเอง) ครูเชื่อมโยงสูการทํากิจกรรมเรื่อง พยากรณไดอยางไร และชักชวน นักเรยี นหาคําตอบขอ 1.4 รวมกัน 2. นักเรียนเปดหนังสือเรียน หนา 18 อานช่ือกิจกรรม และทําเปนคิด เปน จากนั้นครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับสิ่งท่ีจะ เรียน โดยอาจใชค าํ ถาม ดงั นี้ 2.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนเก่ียวกับเร่ืองอะไร (การ พยากรณ) 2.2 นักเรียนจะไดเรียนเรื่องนี้ดวยวิธีใด (การสังเกตและการ พยากรณ) 2.3 เมื่อเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (พยากรณสิ่งที่จะ เกิดข้ึนได) 3. นักเรียนอานทําอยางไร โดยครูอาจใชวิธีการอานท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจข้ันตอน การทาํ กจิ กรรมทลี ะข้นั โดยอาจนาํ อภิปรายตามแนวคําถาม ดังนี้ 3.1 นกั เรียนตองสงั เกตและรวมกนั อภิปรายสงิ่ ใด (รปู ท่ี 1-8)

67 คูมือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 3.2 นักเรยี นตอ งนําขอมูลจากรูปมาใชทําส่ิงใด (พยากรณและบันทึก สิ่งที่จะเกิดขึ้นในรูปท่ี 9 และนาํ เสนอ) 4. เมื่อนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว ใหนักเรียนจะได ปฏิบัตติ ามขั้นตอน ดงั นี้ 4.1 สังเกต รปู ท่ี 1-8 (S1) 4.2 นําขอ มูลท่สี ังเกตได มาอภปิ รายเพือ่ ลงความเหน็ (S8) (C5) 4.3 พยากรณแ ละบันทกึ สง่ิ ที่จะเกดิ ข้ึนในรูปท่ี 9 (S7) 4.4 นักเรียนนําเสนอส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นในรูปท่ี 9 พรอมบอกเหตุผลวา เหตุใดจงึ คิดเชน น้ัน (C4) 5. หลังจากทํากิจกรรมแลว ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรม โดยใช คําถามดังตอ ไปน้ี 5.1 รูปที่ 1-3 เปนรูปอะไร (รูปท่ี 1 เปนรูปแมว รูปที่ 2 เปนรูปปลา รปู ที่ 3 เปนรปู ปลาทมี่ แี ตก าง) 5.2 การลงความเห็นท่ีไดจ ากรูปท่ี 1-3 คอื อะไร (แมวกนิ ปลา) 5.3 รูปที่ 4-6 เปนรูปอะไร (รูปที่ 4 เปนรูปแมว รูปท่ี 5 เปนรูป ขนมปง รปู ท่ี 6 เปน รปู ขนมปง ) 5.4 การลงความเห็นทีไ่ ดจากรุปท่ี 4-6 คืออะไร (แมวไมก ินขนมปง) 5.5 รปู ที่ 7-8 เปนรูปอะไร (รูปท่ี 7 เปนรูปแมว รูปที่ 8 เปนรูปขนม ปง และปลา) 5.6 ใหนักเรียนพยากรณส่ิงที่จะเกิดข้ึนในรูปท่ี 9 (รูปปลาท่ีมีแตกาง และขนมปง แมวจะกินปลาแตไมก นิ ขนมปง) 5.7 การพยากรณนักเรียนตองทําสิ่งใดบาง (สังเกตและลงความเห็น จากขอมูล จากน้ัน นาํ ขอมูลทีไ่ ดจ ากการสงั เกตและลงความเห็น จากขอ มลู มาใชพยากรณห รอื คาดการณส ง่ิ ท่จี ะเกิดขึ้น) 6. หลังจากสรุปการทํากจิ กรรมแลว ครูตรวจสอบความรูที่ไดจากการทํา กิจกรรม และเนนยํ้าถึงประโยชนของการพยากรณ โดยใชคําถาม ดังตอไปน้ี 6.1 นักเรียนใชการพยากรณในการตอบคําถามในชวงตนชั่วโมง หรอื ไม เพราะเหตุใด - ถาในทุก ๆ วัน ด.ช. พอเพียงมาโรงเรียนเวลา 7.00 น. ใน วนั พรุงน้ี ด.ช. พอเพียงจะมาโรงเรียนเวลาใด - ด.ญ. พอใจสังเกตวา ในทุก ๆ เชาน้ําทะเลจะข้ึนสูงกวาใน ตอนเย็นเสมอ ถาเย็นวันนี้ พอใจกอปราสาททรายไวท่ี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 68 ชายทะเล ในวันรุงข้ึน ปราสาททรายของ ด.ญ. พอใจจะมี ลักษณะเปน อยา งไร (ใชการพยากรณ เพราะ มีการนําขอมูลท่ีเกิดข้ึนกอนหนาน้ีมา วเิ คราะห เพอื่ คาดการณสง่ิ ท่จี ะเกิดขึ้นตอไป) 6.2 การพยากรณมีประโยชนหรือไม อยางไร (นักเรียนตอบไดตาม ความเขา ใจของตนเอง เชน มีประโยชน เพราะสามารถใชวางแผน การเดินทางใชวางแผนการสรา งส่งิ ปลูกสราง) 7. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพิ่มคําถาม ในการอภปิ รายเพอ่ื ใหไ ดแนวคาํ ตอบทถ่ี ูกตอง 8. ครูใหนักเรียนสรุปส่ิงท่ีไดเรียนรูในกิจกรรมน้ี โดยครูและนักเรียน รวมกันเช่ือมโยงส่ิงที่ไดเรียนรูจากกิจกรรมเพ่ือลงความเห็นวา การพยากรณ เปนการใชขอมูลท่ีมีอยูมาคาดการณส่ิงที่จะเกิดข้ึน จากนั้นครูใหนักเรียนอานส่ิงที่ไดเรียนรู และเปรียบเทียบกับขอสรุป ของตนเอง 9. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกต้ังคําถามเก่ียวกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู เพ่ิมเติมใน อยากรูอีกวา จากน้ันครูอาจสุมนักเรียน 2 -3 คน นําเสนอคําถามของตนเองหนาชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกัน อภปิ รายเก่ยี วกบั คาํ ถามที่นาํ เสนอ 10.ครูนําอภิปรายใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขั้นตอน ใดบาง

69 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม ตัวอยา งรูปวาดการพยากรณข องนกั เรยี น

คูมอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 70 ปลา ขนมปง ขนมปง และกางปลา 18 ขอ มูล คาดการณ คาํ ถามของนกั เรียนที่ตั้งตามความอยากรขู องตนเอง

71 คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรูของนักเรยี นทาํ ได ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชนั้ เรยี น 2. ประเมินการเรียนรจู ากคาํ ตอบของนักเรยี นระหวา งการจัดการเรียนรแู ละจากแบบบนั ทึกกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ 21 จากการทาํ กจิ กรรมของนกั เรียน การประเมนิ จากการทาํ กิจกรรมท่ี 4 พยากรณไ ดอยางไร ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช รหสั สง่ิ ที่ประเมนิ ระดับคะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมูล ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน

คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 72 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต ามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดงั นี้ ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) 1. การสงั เกต การบรรยาย สามารถใชป ระสาทสมั ผสั สามารถใชป ระสาทสมั ผัส ไมส ามารถใช รายละเอียด เกบ็ รายละเอยี ดของขอมลู เก็บรายละเอยี ดของขอ มูล ประสาทสมั ผัสเกบ็ เกี่ยวกับส่ิงทส่ี งั เกต เก่ยี วกับสง่ิ ทสี่ งั เกตได จาก เกย่ี วกบั ส่งิ ท่ีสงั เกตได จาก รายละเอียดของ ได จากรปู แมว รูป แมว ขนมปง ปลาและ รปู แมว ขนมปง ปลาและ ขอ มลู เกยี่ วกับสง่ิ ที่ ขนมปง ปลาและ ลักษณะของปลา ได ดว ย ลักษณะของปลาได จากการ สังเกตได จากรูป ลักษณะของปลา ตนเอง โดยไมเ พิม่ เติม ช้แี นะของครูหรือผอู ่นื หรือมี แมว ขนมปง ปลา ความคดิ เหน็ การเพ่ิมเตมิ ความคดิ เหน็ และลกั ษณะของ ปลาได แมวาจะได รบั คําชแี้ นะจากครู หรือผอู น่ื 2. การพยากรณ พยากรณไ ดวา จะ สามารถพยากรณส่ิงทจี่ ะ สามารถพยากรณส งิ่ ที่จะ ไมส ามารถพยากรณ เกดิ อะไรข้นึ ในรปู เกิดข้นึ ไดอยางมีเหตุผล เกิดขน้ึ ไดอ ยางมีเหตุผลโดย สิง่ ท่ีจะเกิดข้ึนไดอ ยา ง ท่ี 9 โดยพิจารณา โดยอาศยั ขอมลู ที่ไดจาก อาศยั ขอ มลู ท่ไี ดจ ากการ มเี หตุผลโดยอาศัย จากชุดขอ มูลที่ การสงั เกตและอาศยั ขอมลู สงั เกตและอาศัยขอมลู หรอื ขอมูลทไี่ ดจากการ สงั เกตไดในรูปที่ หรอื ความรูท่ีมอี ยู ไดด วย ความรูท่ีมีอยู จากการชี้แนะ สงั เกต และขอมลู หรือ 1-8 และอาศยั ตัวเอง ของครหู รอื ผูอ่ืน ความรูท มี่ ีอยู แมว า ขอมูลหรือความรูที่ จะไดรับคําชี้แนะจาก มอี ยู ครหู รือผูอื่น 8.การลงความเหน็ ลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก ไมลงความเหน็ จาก จากขอ มูล ขอ มลู ไดวาแมวกิน ขอ มูลไดวาแมวกินปลา ขอ มลู ไดว าแมวกินปลา และ ขอ มลู ไดวา แมวกนิ ปลา และแมวไม และแมวไมก นิ ขนมปงได แมวไมกนิ ขนมปงไดอยาง ปลา และแมวไมก ิน กนิ ขนมปง อยางถูกตอง ไดด วยตนเอง ถกู ตอง จากการชี้แนะของ ขนมปง แมวาจะได ครหู รอื ผูอ่ืน รับคาํ ชแ้ี นะจากครู หรือผอู นื่

73 คมู ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรยี น โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะแหง รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรงุ (1) ศตวรรษที่ 21 สามารถนําเสนอขอ มูล พอใช (2) ไมส ามารถนําเสนอขอมูล C4 การสื่อสาร นําเสนอขอมลู จาก จากการอภิปรายขอมูล จากการอภปิ รายขอมูลท่ี การอภิปรายขอมลู ที่สงั เกตไดและการ สามารถนําเสนอขอมลู สงั เกตไดและการพยากรณ C5 ความ ทสี่ ังเกตไดแ ละการ พยากรณ โดยใชคาํ พดู จากการอภิปรายขอมลู ที่ โดยใชค าํ พดู รปู ภาพ หรอื รว มมอื พยากรณ โดยใช รูปภาพ หรอื เขียน สงั เกตไดและการพยากรณ เขยี นบรรยาย เพ่ือใหผ ูอนื่ คาํ พูด รูปภาพ หรือ บรรยาย เพือ่ ใหผ ูอื่น โดยใชค ําพูด รปู ภาพ หรอื เขา ใจได แมว า จะไดร บั คํา เขยี นบรรยาย เขาใจไดดวยตนเอง เขยี นบรรยาย เพื่อใหผอู นื่ ชี้แนะจากครูหรือผูอนื่ เพอื่ ใหผ ูอน่ื เขา ใจ มสี ว นรวมท้งั ในการทํา เขา ใจได โดยอาศัยการ ไมม ีสวนรว มในการทาํ ทาํ งานรว มกบั ผูอ่นื กจิ กรรม และการ ชี้แนะจากครูหรือผอู ่ืน กจิ กรรม และการรวมกัน ในการทํากจิ กรรม รว มกนั อภิปราย มสี วนรว มในการทํา อภิปรายเกีย่ วกับการ และการรว มกนั เก่ียวกับการพยากรณ กิจกรรม และการรวมกนั พยากรณ แมไ ดร ับการ อภปิ รายเกี่ยว กับ ไดอ ยา งตอ เนื่องตลอด อภิปรายเกย่ี วกบั การ กระตุนจากครหู รือผอู นื่ การพยากรณ กจิ กรรม พยากรณเปน บางครัง้ รวมทง้ั ยอมรบั ความ คิดเหน็ ของผอู ่นื

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 74 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 เรียนรูแบบนักวทิ ยาศาสตร (1 ชวั่ โมง) 1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทนี้ ในแบบ บันทึกกจิ กรรม หนา 23 2. นักเรยี นตรวจสอบการสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบ กับแผนภาพในหัวขอ รอู ะไรในบทน้ี ในหนงั สือเรียน หนา 21 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอน เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 2 อีกคร้ัง โดยถาคําตอบของ นักเรยี นไมถ กู ตองใหข ีดเสน ทับขอ ความเหลา นน้ั แลว แกไ ขใหถูกตอง หรืออาจแกไ ขคําตอบดวยปากกาทมี่ ีสีตางจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจ นําสถานการณหรือคําถามในรูปนําบทในหนังสือเรียน หนา 2 มารว มกันอภปิ รายคําตอบกับนกั เรียนอกี ครั้ง 4. นักเรียนทําแบบฝกหัดทายบทที่ 1 เรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โดยบันทึกคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 24-26 จากน้ันให นกั เรียนนําเสนอคาํ ตอบหนา ชนั้ เรียน ถาคาํ ตอบยังไมถูกตอง ครูอาจ นํ า อ ภิ ป ร า ย ห รื อ ใ ห ส ถ า น ก า ร ณ เ พ่ิ ม เ ติ ม เ พ่ื อ แ ก ไ ข แ น ว คิ ด คลาดเคลอื่ นใหถูกตอ ง 5. ครูใหนักเรียนรวมกันทํากิจกรรมรวมคิด รวมทํา โดยการวาดรูป นกั วทิ ยาศาสตรทกี่ ําลังสืบเสาะเพื่อเรียนรูเก่ียวกับส่ิงรอบตัว ระบาย สีใหสวยงาม แลวผลัดกันเลาใหเพ่อื นฟง 6. นักเรียนรวมกันอานและอภิปรายเน้ือเร่ืองในหัวขอวิทยใกลตัว โดย ครูกระตนุ ใหน ักเรยี นเห็นความสาํ คญั ของความรูจากสิ่งท่ีไดเรียนรูใน หนวยนี้วา สามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง ดังนี้ 6.1. นักเรียนเคยเดินปาหรือไม (นักเรียนตอบตามประสบการณ ของตนเอง) 6.2. ถานักเรียนไปเดินปา แลวพบสัตวท่ีนักเรียนไมรูจัก เกิด ความสงสัยวา มันคือตัวอะไรและกินอยูอยางไร นักเรียนจะมีวิธี หาคําตอบไดอยางไร (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน สังเกตสัตวน้ันวากินอะไรเปนอาหาร นอนท่ีไหน รวบรวม ขอมูลเพ่ิมเติมจากการถามผูรู หรือคนควาในหนังสือวามันเปน สตั วชนดิ ใด)

75 คมู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 สรุปผลการเรยี นรขู องตนเอง นักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปส่ิงท่ไี ดเ รยี นรจู ากบทน้ี ตามความเขา ใจของตนเอง

คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 76 แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท กระดอน บาสเกตบอล ฟตุ บอล

77 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 รส ดฟ สผ รส ด ชส

คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 78 4 2 31 3 นักเรยี นอาจมีคาํ ตอบที่ แตกตา งจากนไ้ี ดตาม ป  รูปราง ลกั ษณะทใี่ ชในการจัดกลุม

79 คูมอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 นักเรียนวาดรปู ตามความคดิ ของตนเอง



77 คูม อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตัว ˹Nj ·Õè 2 µÇÑ àÃÒ ÊµÑ Ç áÅоתÃͺµÑÇ ภาพรวมการจดั การเรียนรูประจาํ หนวยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตวั บท เร่ือง กิจกรรม ลาํ ดับการจัดการเรยี นรู ตวั ชี้วัด บทท่ี 1 รา งกาย เรื่องที่ 1 สวน กจิ กรรมที่ 1.1 สวนตาง ๆ • รางกายของคนประกอบ ว 1.2 ของเรา ต า ง ๆ ข อ ง ของรางกายเรามอี ะไรบาง ดว ยสวนตาง ๆ รา งกาย ป.1/1 ระบุชื่อ และบอก กจิ กรรมท่ี 1.2 สวนตาง ๆ • สวนตาง ๆ ของรางกายมี หนาที่ของสวนตาง ๆ ของรา งกายทําหนา ท่อี ะไร หนา ทตี่ า งกัน ของรางกายมนุษย สัตว • สวนตาง ๆ ของรางกายมี และพืช รวมท้ังบรรยาย ความสําคัญตองดแู ลรักษา การทําหนา ทร่ี ว มกันของ อยางถูกตอง ใหสะอาด สวนตาง ๆ ของรางกาย มนษุ ยในการทํากิจกรรม และปลอดภยั ต า ง ๆ จ า ก ข อ มู ล ที่ รวบรวมได ป.1/2 ตระหนักถึง ความสาํ คัญของสวนตาง ๆ ของรางกายตนเอง โดยการดูแลสวนตาง ๆ อ ย า ง ถู ก ต อ ง ใ ห ปลอดภัย และรักษา รว มคิด รวมทํา ความสะอาดอยเู สมอ บทท่ี 2 สัตวและ เรื่องที่ 1 สวน กิจกรรมท่ี 1.1 มารูจัก ว 1.1 พชื รอบตวั เรา ตาง ๆ ของสัตว สตั วกนั ไหม และพืช • สิ่งตาง ๆ ท่ีอยูรอบตัวเรา ป.1/1 ระบุชื่อสัตวและ มีหลากหลาย พืช ที่อาศัยอยูบริเวณ • สัตวและพืชเปนส่ิงท่ีอยู ต า ง ๆ จ า ก ข อ มู ล ที่ รอบตวั เรา

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตวั เรา สัตว และพืชรอบตวั 80 บท เรอ่ื ง กิจกรรม ลาํ ดบั การจดั การเรยี นรู ตวั ชี้วดั รวบรวมได • สตั วแ ละพืชประกอบดว ย ป.1/2 บอก สวนตา ง ๆ ทแี่ ตกตา งกนั สภาพแวดลอ มท่ี • สัตวประกอบดวยสวน เหมาะสมกับการ ต า ง ๆ ซ่ึ ง ทํ า ห น า ท่ี ดาํ รงชวี ติ ของสัตวใ น บรเิ วณท่ีอยูอาศยั แตกตางกัน • สั ต ว แ ต ล ะ ช นิ ด มี ส ว น ตาง ๆ แตกตางกัน เพ่ือ ประโยชนใ นการดาํ รงชีวิต กิจกรรมท่ี 1.2 มารูจัก • พื ช ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ร า ก พชื กนั ไหม ลําตน ใบ และอาจมีดอก มี ผ ล ซึ่ ง แ ต ล ะ ส ว น ทําหนาที่แตกตางกัน เพ่ือ การเจริญเติบโตและการ ดํารงชวี ติ เ รื่ อ ง ท่ี 2 กิจกรรมที่ 2 สัตวและ • บริเวณตาง ๆ ในทองถ่ิน บริ เ ว ณ ที่ สั ต ว พืชอยทู ี่ใดบา ง จ ะ มี พื ช แ ล ะ สั ต ว ห ล า ย และพชื อาศัยอยู ชนดิ อาศยั อยู รว มคดิ รวมทํา • บริเวณที่แตกตางกันจะมี พืชและสัตวแตกตางกัน เพราะแตละบริเวณจะมี สภาพแวดลอมที่เหมาะสม ตอการดํารงชีวิตของพืช แ ล ะ สั ต ว ท่ี อ า ศั ย อ ยู ใ น บริเวณน้ัน ถาบริเวณที่พืช และสัตวอาศัยอยูนั้นมีการ เปลี่ยนแปลงไปจะมีผลตอ การดํารงชีวิตของพืชและ สตั ว สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

81 คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพชื รอบตวั บทที่ 1 รา งกายของเรา บทนม้ี อี ะไร จุดประสงคก ารเรียนรปู ระจําบท เรอ่ื งท่ี 1 สว นตา ง ๆ ของรางกาย คําสําคญั สวนตา ง ๆ ของรางกาย เมอ่ื เรียนจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ 1. บรรยายลักษณะ และบอกชื่อสวนตาง ๆ ท่ีอยู (parts of body) ภายนอกและภายในรา งกาย 2. บอกหนา ที่ของสวนตาง ๆ ของรางกาย กิจกรรมที่ 1.1 สว นตา ง ๆ ของรางกายเรามีอะไรบาง 3. บรรยายการทําหนาที่รวมกนั ของแตละสว นของ รา งกาย ในการทํากิจกรรมตาง ๆ กจิ กรรมที่ 1.2 สวนตาง ๆ ของรางกายทําหนาที่ 4. ดแู ลรักษาสว นตาง ๆ ของรา งกายอยางถูกตอง สะอาด และปลอดภยั อยเู สมอ อะไรบาง แนวคดิ สําคัญ รา งกายของเรา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ท่ีมีลักษณะ และหนาที่แตกตางกัน แตอาจทําหนาที่รวมกัน เราควร ดูแลรักษาสวนตาง ๆ ของรางกายอยางถูกตอง สะอาด และปลอดภยั อยเู สมอ เพือ่ ใหท าํ หนาท่ตี อ ไปได ส่ือการเรียนรูและแหลงเรียนรู 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 1 หนา 27-41 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 30-47  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตวั เรา สตั ว และพืชรอบตวั 82 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 รหัส ทักษะ กิจกรรมท่ี 1.1 1.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต  S2 การวดั S3 การใชจ าํ นวน S4 การจําแนกประเภท S5 การหาความสัมพนั ธระหวา ง  สเปซกับสเปซ  สเปซกบั เวลา S6 การจดั กระทําและส่อื ความหมายขอมูล S7 การพยากรณ S8 การลงความเห็นจากขอมูล  S9 การตั้งสมมติฐาน S10 การกาํ หนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการ S11 การกําหนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายขอมลู และลงขอ สรปุ S14 การสรา งแบบจาํ ลอง ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C1 การสรางสรรค C2 การคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ C3 การแกปญหา C4 การสื่อสาร  C5 ความรว มมือ  C6 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

83 คูมอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตวั แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น ครูฟงการสนทนาอภิปรายของนักเรียนอยางตอเน่ือง พรอมบันทึกแนวคิดของนักเรียนไว เพื่อนําไปใชในการจัดการเรียนรู ใหสามารถแกไ ขแนวคิดคลาดเคลือ่ นและตอยอดแนวคิดท่ีถูกตอง แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคิดทถ่ี ูกตอ ง อวัยวะจะอยภู ายในรา งกายเทานน้ั อวยั วะมที ั้งทอ่ี ยูภ ายในและภายนอกรางกาย สวนทอ งคือพ้ืนทท่ี ่ีอยูใตเ ข็มขัด (Missouri Department of ทองคอื สวนท่ีอยูดานหนาของรางกาย ตัง้ แตล ิ้นปจนถึงตนขา มี Elementary and Secondary Education, 2005) สะดืออยตู รงกลาง  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยที่ 2 ตวั เรา สัตว และพืชรอบตัว 84 บทน้ีเรมิ่ ตนอยา งไร (1 ชว่ั โมง) ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียน โดยสุมนักเรียนออกมาหนาชั้น เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให เรียน 2-3 คน ครูบอกช่ือสวนตาง ๆ ของรางกาย โดยใหนักเรียนช้ี หาคําตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม ใหถูกตอง นักเรียนคนอ่ืนชวยตรวจสอบวาเพ่ือนช้ีสวนตาง ๆ ของ ตา ง ๆ ในบทเรียน้ี รา งกายถกู ตองหรือไม จากนัน้ ครใู ชค าํ ถามดังตอไปน้ี 1.1 สวนตาง ๆ ของรางกายท่ีครูบอกใหเพื่อนชี้ มีอะไรบาง (นกั เรยี นตอบตามชอ่ื ที่ครบู อก) 1.2 เพือ่ นทอี่ อกมาหนา ชน้ั เรียน ชี้สวนตาง ๆ ของรางกายไดถูกตอง หรือไม อยา งไร นักเรียนรวมกันอภิปรายและตอบคําถามตามความเขาใจของ ตนเอง ซ่ึงอาจถูกตองหรือไมถูกตองก็ได ครูถามเหตุผลและจด คําตอบของนักเรียนไว เพื่อใชในการกลับมาทบทวน อภิปราย และ แกไ ขแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นของนักเรียนหลงั จากจบบทเรียนแลว 2. นกั เรียนอานชื่อหนวย ช่ือบทและจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ในหนังสือเรียนหนา 27 จากน้ันครูตรวจสอบความเขาใจโดยใช คําถามดังน้ี เมื่อเรียนจบบทนี้นักเรียนสามารถทําอะไรไดบาง (บรรยายลักษณะและบอกช่ือสวนตาง ๆ ท่ีอยูภายนอกและภายใน รางกาย รวมท้ังบอกหนาที่ของสวนตาง ๆ ของรางกายในการทํา กิจกรรมตาง ๆ การดูแลรักษาสวนตาง ๆ ของรางกายอยางถูกตอง สะอาด และปลอดภยั อยูเ สมอ) 3. นักเรียนอานชื่อบทและแนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียนหนา 28 จากน้ันครูถามวาในบทนี้เราจะเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร (ลักษณะ หนา ท่ี และการดูแลรักษาสว นตาง ๆ ของรางกาย) 4. ครูเขียนคํายากท่ีนักเรียนอานไมไดบนกระดาน เชน รางกาย สวน ตา ง ๆ ลักษณะ ปลอดภยั และสอนการสะกดคาํ 5. นักเรียนสังเกตรูปเด็กท่ีอยูในสนามและในหองเรียนในหนังสือเรียน หนา 28 จากน้ันอานเนื้อเรื่องโดยใชวิธีอานตามความเหมาะสม ครู ตรวจสอบความเขาใจโดยใชคาํ ถามดงั ตอไปน้ี 5.1 เมื่ออยูโรงเรียน เราทําอะไรบาง (เลนกับเพ่ือนหรือเรียน หนังสอื ) สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

85 คูมอื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตวั 5.2 เด็กในรูปทําอะไรบาง (น่ังชิงชา เลนกระดานลื่น ยืนมองเพ่ือน การเตรยี มตัวลว งหนาสําหรับครู เขยี นหนังสือ ยกมอื ) เพ่อื จัดการเรียนรใู นครง้ั ถดั ไป 5.3 ถาเราทําสิ่งตาง ๆ เหมือนเด็ก ๆ ในรูป เราจะใชสวนใดของ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได รางกายบาง (นักเรยี นตอบตามความเขา ใจของตนเอง) เรียนเร่ืองท่ี 1 สวนตาง ๆ ของรางกาย โดยครเู ตรียมการจัดกิจกรรม ดังนี้ 6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามเก่ียวกับสวนตาง ๆ ของรางกายใน สํารวจความรูกอ นเรยี น โดยอาจถามวานักเรียนรูอะไรบางเกี่ยวกับ 1. เตรียมบัตรคําสวนตาง ๆ ของ สว นตา ง ๆ ของรางกาย รางกาย และ parts of body 7. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 2. รูปรางกายของคนท่ีเห็นสวน 30-32 โดยอาน ชอ่ื หนว ย ชอื่ บท ตาง ๆ ของรางกายท้ังภายนอกและ ภายใน 8. นักเรียนอานคําถามและตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับคําถาม แต ละขอ เมื่อแนใจวาสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียนตอบ คําถาม ซึ่งคําตอบของแตละคนอาจแตกตางกัน และอาจตอบถูก หรอื ผดิ กไ็ ด 9. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบวานักเรียนมี แนวคิดเกี่ยวกับรางกายอยางไรบาง โดยครูยังไมเฉลยคําตอบ แต จะใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังเรียนจบบทนี้แลว ทั้งน้ีครูอาจบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดท่ีนาสนใจของ นักเรียน แลวนํามาออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อแกไข แนวคิดใหถูกตอง  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตวั เรา สัตว และพชื รอบตัว 86 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม การสาํ รวจความรูกอ นเรียน นกั เรยี นอาจตอบคาํ ถามถูกหรือผดิ ก็ไดข ึน้ อยูกับความรูเดมิ ของนักเรียน แตเ ม่อื เรยี นจบบทเรยี นแลว ใหน กั เรยี นกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกคร้ังและแกไขใหถกู ตอง ดังตวั อยา ง ตา จมูก หู ปาก ผิวหนงั สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

87 คูมือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตวั เรา สตั ว และพชื รอบตวั สมอง เทา กระดูก ลาํ ไส มอื  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตวั 88   สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

89 คมู อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตวั เรื่องท่ี 1 สวนตาง ๆ ของรา งกาย ในเร่อื งนี้นกั เรียนจะไดเรียนรเู กย่ี วกบั สวนตาง ๆ ของ รา งกายท้งั ทอี่ ยภู ายนอกและสวนทีอ่ ยูภ ายในรางกาย จดุ ประสงคก ารเรยี นรู สอื่ การเรยี นรูและแหลงเรียนรู 1. รวบรวมขอมูล บรรยายลักษณะ และระบุชื่อสวน 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 1 หนา 30-38 ตาง ๆ ทอ่ี ยภู ายนอกและภายในรางกาย 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 33-43 2. รวบรวมขอมูลและบอกหนาท่ีของสวนตาง ๆ ของรางกาย เวลา 6 ช่วั โมง วัสดุ อปุ กรณส าํ หรบั ทํากจิ กรรม สีไม กระจก รูปสวนตาง ๆ ที่อยูภายในรางกาย หนงั สอื เพลง อาหาร ดอกไม  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตวั 90 แนวการจัดการเรยี นรู (60 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู (5 นาท)ี 1. ตรวจสอบความรูเดิมเก่ียวกับรางกายของเรา โดยครูอาจขยายรูป ในการตรวจสอบความรู ครู รางกายของเด็กจากแหลงเรียนรูอื่น ๆ (รูปตองไมมีคําบอกชื่อสวน เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ ตาง ๆ ของรางกาย) นํารูปมาติดไวบนกระดาน และชักชวนนักเรียน ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน อภิปราย ดังน้ี ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.1 รา งกายของเราประกอบดว ยอะไรบาง จากการอานเนือ้ เรื่อง 1.2 สว นใดของรางกายทอ่ี ยูภ ายนอก 1.3 สวนใดของรา งกายที่อยภู ายใน (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง ครูบันทึกคําตอบ ของนักเรียนบนกระดาน) ขน้ั ฝก ทักษะจากการอา น (45 นาท)ี นักเรียนอาจไมสามารถตอบ คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว 2. นักเรียนอานช่ือเร่ืองและคําถามในคิดกอนอานในหนังสือเรียนหนา คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด 30 แลวรวมกันอภิปราย เพ่ือหาคําตอบตามความเขาใจของกลุม ครู อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน บันทึกคําตอบบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบกับคําตอบหลังการอาน แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง เน้อื เร่ือง นักเรียน 3. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอานไมได ครูควรสอนการอานคําใหถูกตอง) จากนั้น อธิบายความหมายของคําตามความเขาใจ ครูแนะนําวาหลังจากการ อานเน้ือเรื่อง นักเรยี นจะสามารถบอกความหมายของคาํ ไดถกู ตอง 4. นักเรียนอานเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหนา 30 โดยใชวิธีอานที่ เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นรวมกันอภิปราย ใจความสาํ คัญโดยใชคําถามดงั นี้ 4.1 เนื้อเร่อื งทอ่ี า นเกย่ี วกบั อะไร (สว นตาง ๆ ของรางกาย) 4.2 สวนตาง ๆ ของรางกายอยูท่ีใดบาง (บางสวนอยูภายนอกและ บางสวนอยภู ายในรา งกาย) 4.3 สวนตาง ๆ ของรางกายมีอะไรบาง (นักเรียนตอบตามความ เขาใจของตนเอง เชน ตา หู จมกู ) 4.4 แตละสวนของรางกายทําหนาท่ีอะไร (นักเรียนตอบตามความ เขาใจของตนเอง เชน ตาทําหนาทีม่ องดู หูทําหนา ทฟี่ งเสยี ง) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

91 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยที่ 2 ตวั เรา สตั ว และพืชรอบตัว 4.5 เม่ือเราเลนหรือทํากิจกรรมตาง ๆ เราใชสวนใดของรางกายบาง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง เชน ใชแขนและมือ หยบิ จับลูกบอล ใชต ามองดูลูกบอล) ขั้นสรุปจากการอาน (5 นาที) การเตรยี มตัวลวงหนาสาํ หรับครู เพอ่ื จดั การเรยี นรใู นครง้ั ถดั ไป 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือใหไดขอสรุปวารางกายของเรา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ซึ่งบางสวนอยูภายนอกและบางสวนอยู ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา ภายใน กิจกรรมที่ 1.1 เรื่องสวนตาง ๆ ของ รา งกายเรามีอะไรบา ง โดยการสังเกตสวน 6. นักเรียนตอบคําถามในรูหรือยัง และฝกเขียนคําในเขียนเปน ใน ต า ง ๆ ท่ี อ ยู ภ า ย น อ ก ร า ง ก า ย ค รู แบบบันทึกกิจกรรมหนา 33 เตรียมการจัดสถานท่ีที่มีกระจกบานใหญ ห รื อ จั ด ห า ก ร ะ จ ก บ า น ใ ห ญ ม า ไ ว ใ น 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน หองเรียน เพ่ือใหนักเรียนไดสังเกต ในรูหรือยังกับคําตอบท่ีเคยตอบในคิดกอนอาน ซ่ึงครูบันทึกไวบน รา งกายตนเองในขณะทท่ี าํ กจิ กรรม กระดาน 8. นักเรียนตอบคําถามทายเร่ือง ไดแก สวนตาง ๆ ของรางกายมี อะไรบาง แตละสวนทําหนาที่อะไร และเมื่อเราเลนหรือทํากิจกรรม ตาง ๆ เราไดใชสวนใดของรางกายบาง ครูบันทึกคําตอบของนักเรียน บนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบ แตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบ จากการทํากจิ กรรมตอ ไป  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตวั 92 แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทึกกิจกรรม ไมครบ ภายใน ภายนอก สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

93 คูมือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพชื รอบตวั กิจกรรมที่ 1.1 สว นตา ง ๆ ของรา งกายเรามอี ะไรบา ง กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดรวบรวมขอมูลเก่ียวกับสวน ตา ง ๆ ของรา งกายทั้งทอ่ี ยูภ ายนอกและภายใน โดยสังเกต สวนตาง ๆ ของรางกายตนเองและเพ่ือน เพ่ือบรรยาย ลักษณะและระบชุ ื่อสวนตาง ๆ ของรา งกาย เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงคการเรียนรู รวบรวมขอมูล บรรยายลักษณะ และระบุชื่อสวน ตาง ๆ ท่ีอยูภายนอกและภายในรางกาย วสั ดุ อปุ กรณส าํ หรับทาํ กจิ กรรม 1 บาน สงิ่ ท่คี รูตอ งเตรียม/กลมุ 1 ชุด 1. กระจก 2. รปู สว นตาง ๆ ภายในรา งกาย ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร สอ่ื การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู S1 การสงั เกต 1. หนงั สือเรยี น ป.1 เลม 1 หนา 31-32 S8 การลงความเหน็ จากขอมลู 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 34-37 ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 3. โทรศัพทเ คล่อื นทหี่ รือ tablet เพอ่ื ดาวนโหลด C2 การคิดอยางมีวิจารญาณ QR code รูปสว นตาง ๆ ภายในรางกาย C4 การสือ่ สาร C5 ความรว มมือ C6 การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตวั เรา สัตว และพืชรอบตวั 94 แนวการจัดการเรียนรู ขอ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ 1. ครูตรวจสอบความรูเดิม โดยนํานักเรียนรองเพลง ตา หู จมูก พรอม 1. ครูควรวางแผนใหนักเรียนทุกคน ประกอบทา ทาง ซ่งึ มีเนอ้ื รอง ดังนี้ สามารถใชกระจกสํารวจสวนตาง ๆ ตา หู จมูก จบั ใหถูก จบั จมูก ตา หู ของรางกาย จากนั้นวาดรูปตามที่ จบั ใหมจบั ใหฉันดู (ซ้ํา) สังเกตเห็น จับจมกู ตา หู จบั หู ตา จมกู จากนั้นใชคําถามดงั ตอ ไปนี้ 2. ครูอาจดาวนโหลด QR code รูป 1.1 ตา หู จมูก เปน สวนตา ง ๆ ของรา งกายหรือไม สวนตา ง ๆ ของรางกาย จากหนังสือ 1.2 รา งกายของเราประกอบดวยสวนตา ง ๆ อะไรอีกบาง เรียนหนา 31 แลวตอข้ึนจอภาพ นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง ครูตรวจสอบคําตอบ แตยัง เพ่ือนําเสนอหนาช้ันเรียนรวมกัน ไมเฉลยคําตอบท่ีถูกตอง ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนเพื่อนํามาใช หรือใหนักเรียนฝกดาวนโหลด และ แกไขแนวคิดคลาดเคลอ่ื นหลังจากทนี่ ักเรยี นไดเรยี นรูแลว เรียนรเู อง 2. ครูเช่ือมโยงความรูเดิมของนักเรียนเขาสูกิจกรรมที่ 1.1 โดยใชคําถามวา รางกายของเรามีสวนตาง ๆ อะไรบาง และแตละสวนมีลักษณะเปน อยา งไร 3. นักเรียนอานชื่อกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากน้ันรวมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคในการทํากิจกรรมโดยใช คาํ ถาม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนรูเก่ียวกับเรื่องอะไร (สวนตาง ๆ ของ รางกายท่อี ยูภายนอกและภายในรา งกาย) 3.2 นักเรียนจะไดเ รยี นรูเ รื่องน้ดี ว ยวธิ ใี ด (รวบรวมขอ มลู ) 3.3 เมื่อเรยี นรูแลว นกั เรยี นสามารถทําอะไรได (สามารถบรรยายลักษณะ และระบชุ ื่อสวนตา ง ๆ ท่ีอยูภายนอกและภายในรางกายได) 4. นกั เรียนอา นสิง่ ท่ตี องใชในการทาํ กิจกรรม เชน หองเรียนที่มีกระจก และ การดาวนโ หลด QR code รูปสวนตาง ๆ ที่อยูภ ายในรา งกาย 5. นักเรียนอานทําอยางไร ทีละขอ แลวรวมกันอภิปรายเพ่ือสรุปลําดับ ข้ันตอนการทํากิจกรรม (ครูอาจเขียนสรุปคําตอบของนักเรียนไวบน กระดาน) โดยใชคําถามดงั น้ี 5.1 นักเรียนจะตองสังเกตอะไร (สังเกตสวนตาง ๆ ท่ีอยูภายนอก รา งกายตนเอง) สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

95 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตัว 5.2 นักเรียนตองทําอะไรตอไป (สังเกตสวนตาง ๆ ท่ีอยูภายในรางกาย นักเรียนอาจไมสามารถตอบ โดยใชหูแนบฟงเสียงและใชมือกดที่สวนอกและทองของเพื่อน คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว จากนนั้ บอกช่ือสวนตาง ๆ ทน่ี ักเรียนสงั เกต) คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน 5.3 นกั เรยี นตองเปรียบเทยี บสวนทพ่ี บในรางกายจากการสังเกตกับส่ิงใด แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง (เปรียบเทยี บกบั รูปทกี่ าํ หนดใน QR code ในหนงั สอื เรียนหนา 31) นักเรียน 5.4 นักเรียนตองทําอะไรตอไปอีก (วาดรูปและเขียนช่ือสวนตาง ๆ ที่อยู ภายในรา งกาย) 5.5 นักเรียนตองทําอยางไรกับภาพท่ีวาด (นําเสนอรูปรางกายตนเอง และอภิปรายลักษณะของแตละสวน) 6. หลังจากนักเรียนเขาใจวิธีการทํากิจกรรมแลว ใหนักเรียนทํากิจกรรม และบนั ทึกผลในแบบบนั ทกึ กิจกรรมหนา 34-37 ดังน้ี 6.1 สังเกตสวนตาง ๆ ของรางกายท่ีอยูภายนอก วาดรูปและเขียนช่ือ สวนตา ง ๆ ของรางกาย (S1) 6.2 สังเกตสวนตาง ๆ ที่อยูภายในรางกาย เปรียบเทียบกับรูปใน QR code แลว วาดรูปเพม่ิ เตมิ (S1, S8) 6.3 นําเสนอรูปที่วาด และรวมกันอภิปรายลักษณะของสวนตาง ๆ ของ รางกาย (S8) (C4, C5) 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเก่ียวกับสวนตาง ๆ ของรางกาย โดยครู อาจใชค าํ ถามดังตอไปน้ี 7.1 สว นตา ง ๆ ที่อยูภายนอกรางกายมีอะไรบาง (เชน ตา หู จมูก ปาก แขน มอื ขา เทา หัวเขา ขอ ศอก) 7.2 สวนตาง ๆ ท่ีอยูภายในรางกายมีอะไรบาง (เชน สมอง กระเพาะ อาหาร กระดูก ลาํ ไส ปอด หวั ใจ) 7.3 สวนตาง ๆ ของรางกาย มีลักษณะเหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร (มีลักษณะแตกตางกัน เชน ตามี 2 ตามีขนตา เปลือกตา ดวงตามีสี ขาวอยูรอบนอกแลวมีวงกลมสีดํากลางดวงตา กระดูกมีลักษณะเปน ทอ น ๆ และแขง็ ) 8. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปรวมกันวารางกายของเรา ประกอบดวยสวนตาง ๆ ทั้งท่ีอยูภายนอกและภายใน ซึ่งแตละสวนมี ลักษณะแตกตา งกนั 9. นักเรยี นรวมกนั อภปิ รายคําตอบในฉันรอู ะไร โดยครอู าจใชค ําถามเพิ่มเติม ในการอภปิ ราย เพื่อใหไ ดแ นวคาํ ตอบทีถ่ ูกตอง  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตัว 96 10. นักเรียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูจากกิจกรรมน้ี จากน้ันอานส่ิงท่ีไดเรียนรู การเตรียมตัวลว งหนาสําหรบั ครู และเปรียบเทยี บกบั ขอสรุปของตนเอง เพอ่ื จัดการเรยี นรใู นครงั้ ถดั ไป 11. ครูกระตุนใหนักเรียนฝกต้ังคําถามเกี่ยวกับเร่ืองที่สงสัยหรืออยากรู ในคร้งั ถดั ไป นักเรยี นจะไดทาํ กิจกรรมท่ี เพิ่มเติมใน อยากรูอีกวา สุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ 1.2 สวนตาง ๆ ของรางกายทําหนาที่อะไร ตนเองหนาชั้นเรียน จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเก่ียวกับคําถาม โดยครูเตรยี มการจัดกจิ กรรม ดังนี้ ทน่ี าํ เสนอ 1. เตรียมอุปกรณตา ง ๆ ไดแก อาหารหรือ 12. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง ข น ม ด อ ก ไ ม แ ล ะ เ พ ล ง สํ า ห รั บ ประกอบการทาํ กิจกรรม วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขั้นตอน 2. เตรียมขอ มูลเกย่ี วกับหนา ทข่ี องสมอง หัวใจ ใดบา ง ลําไส กระดูก ปอด และกระเพาะอาหาร หรือเชิญคุณหมอมาบรรยายใหความรู หรือจัดหาหนังสือท่ีเหมาะกับนักเรียน เชน หนังสือการตูนเร่ืองตะลุยรางกาย มนุษย เพลง ขอมูลจากเว็บไซตตาง ๆ แลวนํามาทําเปนใบความรูท่ีเหมาะสม กบั วัยของนักเรยี น สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

97 คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตวั เรา สตั ว และพชื รอบตวั แนวคาํ ตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม รูปสวนตา ง ๆ ของรางกาย  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตวั 98 สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

99 คมู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตวั เรา สตั ว และพืชรอบตวั ไมเ หมอื นกนั กลม มสี ขี าวลอ มรอบสีดําซึ่งอยตู รงกลาง คลา ยสามเหล่ียม มรี ู 2 รู ภายนอก ภายใน ลกั ษณะ  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตวั 100 ภายนอก ภายใน สว นตาง ๆ ของรางกาย คาํ ถามของนักเรยี นทต่ี ้ังตามความอยากรขู องตนเอง สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

101 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตัว แนวการประเมินการเรียนรู การประเมินการเรียนรขู องนักเรยี นทําได ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรูเดิมจากการอภิปรายในชัน้ เรยี น 2. ประเมินการเรียนรจู ากคาํ ตอบของนักเรียนระหวา งการจัดการเรียนรูแ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 จากการทาํ กิจกรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทาํ กจิ กรรมที่ 1.1 สว นตา ง ๆ ของรา งกายมีอะไรบาง ระดบั คะแนน 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถงึ พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ รหสั สิ่งทป่ี ระเมิน คะแนน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอ มลู ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว มมือ รวมคะแนน  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตัว 102 ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต ามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเกณฑก ารประเมนิ ดังนี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรบั ปรงุ (1) ทางวิทยาศาสตร พอใช (2) S1 การสงั เกต บรรยายลักษณะ สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสมั ผสั เก็บ ไม ส าม า ร ถใ ช ป ระ ส า ท และระบุชื่อสวน เก็บรายละเอียดของสวน รายละเอียดของสวนตาง ๆ สัมผัส เ ก็บราย ล ะเอีย ด ต า ง ๆ ท่ี อ ยู ตาง ๆ ทั้งภายนอกและ ทั้ ง ภ า ย น อ ก แ ล ะ ภ า ย ใ น สวน ตาง ๆ ท้ังภายนอก ภ า ย น อ ก แ ล ะ ภ า ยใ นร าง กา ยไ ดด ว ย รางกายได จากการช้ีแนะ แ ล ะ ภ า ย ใ น ร า ง ก า ย ไ ด ภายในรางกาย ตนเอง โดยไมเพิ่มความ ของครูหรือผูอ่ืน หรือมีการ แมวาจะไดรับคําชี้แนะจาก คดิ เห็น เพมิ่ เติมความคิดเหน็ ครูหรอื ผอู ่นื S8 ก า ร ล ง ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก ไมสามารถลงความเห็นจาก ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ขอมูลไดวาสวนใด ขอมูลไดวาสว นใดของ ข อ มู ล ไ ด ว า ส ว น ใ ด ข อ ง ขอมู ล ได วาส ว นใ ดขอ ง ขอ มูล ของรางกายเปน ร า ง ก า ย เ ป น ส ว น ท่ี อ ยู ร า ง ก า ย เ ป น ส ว น ท่ี อ ยู ร า ง ก า ย เ ป น ส ว น ที่ อ ยู สวนท่ีอยูภายนอก ภ า ย น อ ก ห รื อ ภ า ย ใ น ภายนอกหรือภายในรางกาย ภ า ย น อ ก ห รื อ ภ า ย ใ น หรือภายในรางกาย รางกาย และลงความเห็น และลงความเห็นเก่ียวกับ รางกาย และลงความเห็น และลงความเห็น เกี่ยวกับลักษณะของสวน ลักษณะของสวนตาง ๆ ของ เก่ียวกับลักษณะของสวน เกี่ยวกับลักษณะ ตาง ๆ ของรางกายอยาง รา งกายอยา งถูกตอง จากการ ตา ง ๆ ขอ ง รา งก าย ไ ด ข อ ง ส ว น ต า ง ๆ ถกู ตอ ง ไดดว ยตนเอง ช้แี นะของครูหรอื ผูอ ่นื แมวาจะไดรับคําแนะนํา ของรางกาย จากครหู รอื ผอู ่นื สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

103 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตวั เรา สตั ว และพชื รอบตวั ตาราง แสดงการวิเคราะหทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะแหง รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรงุ (1) C4 การสอื่ สาร นํ า เ ส น อ ข อ มู ล ที่ ส า ม าร ถ นํา เ ส น อ ขอ มู ล ท่ี สามารถนําเสนอขอมูลที่ ไ ม ส า ม า ร ถ นํ า เ ส น อ รวบรวมได เก่ียวกับ รวบรวมได เก่ียวกับช่ือและ รวบรวมได เก่ียวกับช่ือและ ข อ มู ล ท่ี ร ว บ ร ว ม ไ ด ช่ือและลักษณะของ ลักษณะของสวนตาง ๆ ของ ลักษณะของสวนตาง ๆ เกี่ยวกับชื่อและลักษณะ ส ว น ต า ง ๆ ข อ ง รางกายโดยการพูดและวาดรูป ของรางกายโดยการพูด ของสวนตาง ๆ ของ รางกาย โดยการพูด เพ่อื ใหผอู ่ืนเขาใจไดดวยตนเอง และวาดรูป เพื่อใหผูอ่ืน รางกายโดยการพูดและ และวาดรูปได เขาใจได โดยอาศัยการ ว า ด รู ป เ พ่ื อ ใ ห ผู อ่ื น ช้ีแนะจากครหู รอื ผอู นื่ เขาใจได แมวาจะได รับคําชี้แนะจากครูหรือ ผอู ่นื C5 ความ ทํางานรวมมือกับ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน ไ ม ส า ม า ร ถ ทํ า ง า น รวมมือ ผูอ่ืนในการรวบรวม สมํ่าเสมอในการรวบรวม ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล ร ว ม กั บ ผู อื่ น ไ ด ข อ มู ล บั น ทึ ก ผ ล ขอมูล บันทึกผล นําเสนอผล บั น ทึ ก ผ ล นํ า เ ส น อ ผ ล ตลอดเวลาที่ทํากจิ กรรม นําเสนอผล แสดง แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ แสดงความคิดเห็นและ ความคิดเห็นและ อภิปรายเพ่ือระบุช่ือแล ะ อภิปรายเพ่ือระบุช่ือและ อภิปรายเพื่อระบุชื่อ บรรยายลักษณะของสวนตาง บรรยายลักษณะของสวน แ ล ะ บ ร ร ย า ย ๆ ของรางกายได รวมท้ัง ตาง ๆ ของรางกายได ลักษณะของสว น ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น รวมทัง้ ยอมรับความคิดเห็น ตาง ๆ ของรางกาย ตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จลุลวง ของผูอื่น บางชวงเวลาที่ทํา รวมทั้งยอมรับความ ดว ยตนเอง กจิ กรรม คิดเห็นของผอู ืน่  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตัว 104 กิจกรรมท่ี 1.2 สว นตา ง ๆ ของรา งกายเราทาํ หนา ทอี่ ะไร กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดสังเกตการใชสวนตาง ๆ ของ รา งกายขณะทาํ กจิ กรรม และรวบรวมขอ มลู จากแหลงเรียนรู ตาง ๆ เพอ่ื บอกหนา ที่ของสวนตาง ๆ ของรางกาย เวลา 3 ชว่ั โมง จุดประสงคก ารเรียนรู รวบรวมขอมูลและบอกหนาที่ของสวนตาง ๆ ของ รา งกาย วัสดุ อุปกรณสําหรบั ทาํ กจิ กรรม สงิ่ ทีค่ รูตอ งเตรียม/หอง เพลง 1 เพลง ส่งิ ทค่ี รตู องเตรยี ม/กลมุ 1. อาหาร 1 ชนิด 2. ดอกไม 1 ดอก สิ่งท่คี รูตองเตรยี ม/คน หนังสือ 1 เลม สอื่ การเรียนรูและแหลง เรียนรู ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 1 หนา 33-35 S1 การสงั เกต 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 38-42 S8 การลงความเห็นจากขอ มูล S13 การตีความหมายขอมลู และลงขอ สรปุ ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C2 การคดิ อยา งมวี ิจารญาณ C4 การส่อื สาร C5 ความรวมมอื C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

105 คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตัว แนวการจดั การเรยี นรู 1. ครูและนักเรียนรวมสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีทําในชวงเชากอนมา โรงเรียน และการทาํ กิจกรรมเหลานั้นนกั เรียนใชร า งกายสวนใดในการทํา กิจกรรม (ตัวอยางคําตอบเชน กินขาว ใชปากกินขาว ใชมือจับชอน เดิน ไปโรงเรยี นโดยใชขา มอื ถือกระเปา นักเรียน ฯลฯ) 2. ครูเชอ่ื มโยงประสบการณของนักเรียนเขาสกู จิ กรรมที่ 1.2 โดยใชคาํ ถาม วาสวนตาง ๆ ของรางกายมีหนา ทอี่ ะไรบาง 3. นักเรียนอานช่ือกิจกรรม และทําเปนคิดเปน จากน้ันรวมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคในการทํากิจกรรมโดยใช คําถาม ดังน้ี 3.1 กิจกรรมน้ีนักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องอะไร (หนาท่ีของสวนตาง ๆ ของรา งกาย) 3.2 นักเรียนจะไดเรียนรเู รอ่ื งน้ดี วยวธิ ใี ด (การรวบรวมขอมลู ) 3.3 เมื่อเรียนรูแลวนักเรียนจะทําอะไรได (สามารถบอกหนาที่สวน ตา ง ๆ ของรางกายได) 4. นกั เรียนอา นสิ่งทต่ี องใชใ นการทาํ กิจกรรม ครูนําวัสดุอุปกรณที่จะตองใช ในการทํากิจกรรมมาแสดงใหนักเรียนดูทีละอยาง แตยังไมแจกอุปกรณ แกน กั เรยี น 5. นักเรียนอานทําอยางไร ทีละขอ แลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปลําดับ ข้ันตอนการทํากิจกรรม โดยครูชวยเขียนสรุปส้ัน ๆ บนกระดาน แลวนํา อภิปรายโดยใชคาํ ถามดงั น้ี 5.1 นักเรียนตองสังเกตอะไร (สังเกตวาตนเองและเพ่ือนใชสวนใดของ รา งกายขณะทํากิจกรรม) 5.2 นักเรียนตองรวบรวมขอมูลจากการสังเกตการใชสวนตาง ๆ ของ รางกาย ขณะทํากิจกรรมอะไรบาง (อานหนังสือ กินอาหาร ดมดอกไม และเตนตามเพลง) 5.3 เม่ือนักเรียนสังเกตแลว จะตองทําอะไรตอไป (ทําเครื่องหมาย บนั ทกึ ผลการสังเกตในแบบบันทกึ กจิ กรรมหนา 38-39) 5.4 นักเรียนตองทําอะไรตอไป (สืบคนขอมูลเก่ียวกับหนาท่ีของสมอง หัวใจ ลําไส กระดูก ปอด และกระเพาะอาหารจากแหลงเรียนรู ตาง ๆ บันทึกผลในแบบบนั ทกึ กจิ กรรมหนา 39)  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนวยท่ี 2 ตวั เรา สตั ว และพชื รอบตัว 106 5.5 เม่ือสืบคนขอมูลและบันทึกผลแลว นักเรียนตองนําเสนอในเรื่อง ขอ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ อะไร (นําเสนอหนาที่ของสวนตาง ๆ ของรางกาย) ครูอาจแนะนํา วิธีการนําเสนอใหนักเรียนเขาใจกอน เพ่ือใหนักเรียนปฏิบัติได ครคู วรเนน ยาํ้ ในการพิจารณาหนาท่ี ถูกตอ ง ของสวนตาง ๆ ใหดูจากหนาที่หลัก เชน จมูกมีหนาท่ีหลักในการดมกล่ิน สวน 6. เมอื่ นักเรยี นเขาใจวิธีทํากิจกรรมแลว ใหนกั เรยี นเร่ิมทํากิจกรรม จากน้ัน หนาที่ในการหายใจ ไมไดเปนหนาที่หลัก บันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 38-39 ครูสังเกตและกระตุนให เพราะจมูกเปนทางผานเขาออกของ นกั เรียนแตละกลมุ รว มมือกันทํากิจกรรมและอภปิ รายในกลุม ดังน้ี อากาศ นกั เรยี นไมต องทาํ เครื่องหมาย 6.1 สังเกตวาตนเองหรือเพื่อนใชสวนใดของรางกายในการอานหนังสือ กินอาหาร ดมดอกไม และเตนตามเพลง และแตละสวนทําหนาท่ี อะไรบา ง จากน้นั บนั ทึกผล (S1, S8) (C5) 6.2 รวมกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับหนาที่ของสวนตาง ๆ ของสมอง หัวใจ ลําไส กระดูก ปอด และกระเพาะอาหาร จากแหลงเรียนรูตาง ๆ และบนั ทกึ ผล (C5, C6) 6.3 รวมกนั นําเสนอและอภิปรายผลการทํากิจกรรม (C4, C5) 7. หลังจากนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรมแลว ครูนํารูปขยาย ตารางการใชสวนตาง ๆ ของรางกายและหนาท่ีของแตละสวนในการทํา กิจกรรมตาง ๆ ในแบบบันทึกหนา 38-39 มาติดบนกระดาน และถาม คาํ ถามตอ ไปน้ี 7.1 กิจกรรมใดบางท่ีใชตา (อานหนังสือ กินอาหาร ดมดอกไม และเตน ตามเพลง) 7.2 ตาทําหนาทอ่ี ะไร (มองดูสงิ่ ตา ง ๆ เชน มองดหู นังสือ) 7.3 กิจกรรมใดบา งทีใ่ ชหู (เตน ตามเพลง) 7.4 หูทาํ หนาทอ่ี ะไร (ฟงเสียง) 7.5 กจิ กรรมใดบา งทใี่ ชจ มกู (ดมดอกไม) 7.6 จมูกทําหนา ท่ีอะไร (ดมกล่ิน) 7.7 กจิ กรรมใดบางท่ใี ชป ากและฟน (กนิ อาหาร) 7.8 ปากและฟน ทาํ หนาท่ีอะไร (พูด เคย้ี วอาหาร และรอ งเพลง) 7.9 กิจกรรมใดบางที่ใชแขนและมือ (อานหนังสือ กินอาหาร ดมดอกไม และเตน ตามเพลง) 7.10 แขนและมอื ทําหนา ทอี่ ะไร (หยบิ จับ) 7.11 กจิ กรรมใดบางทใ่ี ชข าและเทา (เตน ตามเพลง) 7.12 ขาและเทา ทาํ หนาที่อะไร (ยนื เดิน เตน ) สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

107 คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตวั เรา สัตว และพืชรอบตวั 7.13 มกี จิ กรรมใดบา งทใ่ี ชร า งกายเพียงสว นใดสวนหนงึ่ (ไมมี) นักเรียนอาจไมสามารถตอบ 7.14 จากกิจกรรมนักเรียนสรุปไดวาอยางไร (สวนตาง ๆ ของรางกาย คําถามหรืออภิปรายไดตามแนว คําตอบ ครูควรใหเวลานักเรียนคิด ทําหนาที่แตกตางกัน โดยเม่ือทํากิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงเราตอง อยางเหมาะสม รอคอยอยางอดทน ใชส วนตา ง ๆ ของรา งกายมากกวา หนึ่งสว น) แ ล ะ รั บ ฟ ง แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง 8. ครูถามคําถามนักเรียนวา ในการทํากิจกรรมหน่ึง ๆ ถาขาดสวนใดสวน นกั เรยี น หนึ่งของรางกาย เราจะยังคงทํากิจกรรมน้ันไดเหมือนเดิมหรือไม และ ชักชวนนักเรียนแตละกลุม (กลุมละ 4 คน) เลนเกมหัวบอดทายใบ เพื่อ เกบ็ ลกู บอลหรอื ของใหไ ดมากที่สุดในเวลา 3 นาที โดย 3 คนแรกมีผาปด ตายืนเรียงแถว สวนคนท่ี 4 เปนคนใบอยูทายแถว ทุกคนหามออกเสียง แตใ หสัญญาณเพือ่ นขางหนาได เชน ตบไหล บีบไหล ครูใหเวลานักเรียน ซักซอ มการเลนกอนเริ่มแขงขัน หลังจากนักเรียนเลนเกมแลวใหนักเรียน ตอบคาํ ถามดังตอไปน้ี 8.1 จากเกม เราใชสวนตาง ๆ ของรางกายอะไรบาง (3 คนแรก ใชมือ และขา คนที่ 4 ใชต า มอื และขา) 8.2 สว นตา ง ๆ ของรางกายสวนใดทําหนาทีส่ มั พันธก ัน (ตา มอื ขา) 8.3 ถาขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง เราจะเก็บลูกบอลหรือของไดสําเร็จ หรือไม อยางไร (ได เพราะเม่ือไมมีตา มือก็สงสัญญาณได หรือขาด ปากกใ็ ชม อื สงสญั ญาณ ใชข าเดนิ ไปเก็บของได) 8.4 คนตาบอดที่ตองการเก็บของ จะทําไดสําเร็จหรือไม (อาจทําสําเร็จ หรอื ไมสําเรจ็ ก็ได แตถ าทําสําเรจ็ อาจตอ งใชเ วลานาน) 8.5 นักเรียนสรุปส่ิงท่ีไดเรียนรูจากเกมนี้วาอยางไร (การทํากิจกรรมแต ละกิจกรรมตองใชสวนตาง ๆ ของรางกายรวมกันมากกวาหนึ่งอยาง ถา ขาดสว นใดสวนหน่ึงอาจทํากจิ กรรมนนั้ ไดไมด หี รือทาํ ไมได) 9. ครนู าํ นกั เรียนรอ งเพลงสองตา สองหู โดยมเี น้ือรองดังน้ี “ตาสองตาไวดู หูสองหูไวฟง สองขายืนแลวนั่ง สองหูฟง สองตาดู มือ สองมือของเรา เทาของเราไวเดิน ปากรองเพลงเพลินเพลิน สองเทาเดิน สองตาดู”จากน้ันครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปรวมกัน วาสวนตาง ๆ ของรางกายทําหนาที่แตกตางกัน เชน ตาทําหนาท่ีมองดู จมูกทําหนาที่ดมกลิ่น ฯลฯ และในการทํากิจกรรมบางอยางตองใชสวน ตาง ๆ ของรางกายมากกวา 1 สวน ทําหนาท่ีรวมกัน ถาขาดสวนใดสวน หน่ึงอาจทําใหทํากิจกรรมน้ันไดไมดี หรือทําไมได จากนั้นครูเนนยํ้า นักเรียนในหัวขอเรียนรูอยางปลอดภัยวาเราควรใชสวนตาง ๆ ของ รา งกายทาํ กิจกรรมในชวี ิตประจาํ วนั อยา งเหมาะสม  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพืชรอบตัว 108 10. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบในฉันรูอะไร โดยครูอาจใชคําถาม การเตรยี มตวั ลว งหนาสาํ หรบั ครู เพมิ่ เตมิ ในการอภปิ ราย เพ่อื ใหไ ดแ นวคําตอบทถี่ ูกตอง เพ่อื จัดการเรยี นรใู นครง้ั ถดั ไป 11. นักเรยี นสรุปสิง่ ที่ไดเรียนรใู นกิจกรรมน้ี จากน้ันอานส่ิงท่ีไดเรียนรู และ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดทํา เปรยี บเทียบกับขอ สรุปของตนเอง กิจกรรม รวมคิดรวมทํา ครูเตรียมสื่อ อุปกรณสําหรับการทํากิจกรรม เชน 12. นักเรียนสามารถ down load application “วิทย ป.1”แลวสอง AR กระดาษโปสเตอร สี เพ่ือใหนักเรียนเขียน เพื่อดสู ว นตาง ๆ ของรางกายทตี่ องทาํ งานรว มกนั ปายเชิญชวนและนําไปติดตามท่ีตาง ๆ ของโรงเรียน 13. ครกู ระตุนใหนกั เรียนต้ังคําถามเกยี่ วกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรูเพิ่มเติม ใน อยากรูอีกวา จากน้ันครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ ตนเองหนาชั้นเรียน และใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับคําถามท่ี นําเสนอ 14. ครูนําอภิปรายเพื่อใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในขั้นตอน ใดบา ง 15. ครชู ักชวนนกั เรียนใหร ว มกันอภปิ รายคาํ ถามในชวนคิด ในหนังสือเรียน หนา 35 โดยอาจแนะนําใหน ักเรยี นไปสบื คนขอมลู เพ่ือหาคําตอบ 16. นักเรียนรวมกันอานรูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียนหนา 36-38 ครู และนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อนําไปสูขอสรุปเก่ียวกับส่ิงที่ไดเรียนรู ในเรื่องน้ี จากนั้นครูกระตุนใหนักเรียนตอบคําถามในชวงทายของเน้ือ เรื่องดังนี้ “เราไดใชสวนตาง ๆ ของรางกาย และดูแลรักษาอยางไร” ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน เราใช ปากและฟนในการกินอาหาร ดังนั้นควรดูแลรักษาดวยการแปรงฟนให สะอาดอยูเสมอ ครูควรเนนใหนักเรียนตอบคําถามพรอมอธิบายเหตุผล ประกอบ 17. ครูอาจเปดโปรแกรมประยุกตหรือ application เกี่ยวกับรางกาย มนุษยเปนส่ือเพ่ิมเติมเพ่ือใหนักเรียนทบทวนสวนตาง ๆ ของรางกาย หลงั จากเรยี นจบกิจกรรมน้ีแลว สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

109 คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยที่ 2 ตวั เรา สตั ว และพชื รอบตวั แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม   ฟงเสียง   ดมกลน่ิ  พูด, บดเคี้ยวอาหาร  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตวั เรา สตั ว และพืชรอบตวั 110    หยบิ จับ  ยนื เดนิ 2 3 43 ควบคุมการทํางานของรางกาย สบู ฉดี เลือดไปทั่วรางกาย ยอ ยอาหาร เปนโครงรางของรา งกาย แลกเปลี่ยนแกสเมือ่ หายใจ ยอ ยอาหาร สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

111 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 | หนว ยท่ี 2 ตวั เรา สัตว และพืชรอบตวั ไมเหมอื นกนั พูด ควบคมุ การทาํ งานของรางกาย    สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี