Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:03:40

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ป.1 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

Ç·Ô ÂÒÈÒʵÏคูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐาน àÅ‹Á ñ ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

คูมอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชวี้ ดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จัดทาํ โดย สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คําชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ี ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรูและ การแกปญหาที่หลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปนี้ โรงเรียนจะตองใชหลักสูตร กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนที่เปนไป ตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชี้วดั ของหลกั สตู รเพือ่ ใหโรงเรยี นไดใชสาํ หรับจดั การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมน้ี สสวท. ไดพัฒนาข้ึน เพื่อนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษา ปที่ ๑ เลม ๑ โดยภายในคูมอื ครูประกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวางเนอ้ื หาและกิจกรรมในหนังสือเรียนกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การฝกปฏิบตั ิ การสาํ รวจตรวจสอบ การปฏิบตั ิการทดลอง การสืบคน ขอมูล และการอภปิ ราย โดยมีเปาหมาย ใหนักเรียนพัฒนาท้ังดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การสื่อสาร การแกปญหา ตลอดจน การนาํ ความรไู ปใชในชีวติ ประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจาก คณาจารย ผูทรงคณุ วุฒิ นกั วิชาการ และครูผสู อน จากสถาบนั การศึกษาตาง ๆ จึงขอขอบคุณไว ณ ที่นี้ สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมน้ี จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ท่ีจะชวยใหการจัด การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้ สมบรู ณย่งิ ขน้ึ โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จกั ขอบคณุ ยงิ่ (ศาสตราจารยชกู ิจ ลมิ ปจํานงค) ผูอํานวยการ สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบญั หนา คาํ ช้แี จง เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร......................................................................................... ก คุณภาพของผูเรยี นวิทยาศาสตร เม่อื จบชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3......................................................................... ข ทกั ษะทีส่ าํ คัญในการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ......................................................................................................... ค ผงั มโนทัศน (concept map) รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 เลม 1............................... ช ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตร ป.1 เลม 1............................................................................. ซ ขอแนะนําการใชคูม ือครู.................................................................................................................................. ฌ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา ............................................................................ ท การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสบื เสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร............................................................. ท การจดั การเรียนการสอนท่สี อดคลอ งกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร ................................................................. ผ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร............................................................................................. ฟ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเนือ้ หาและกิจกรรม ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 เลม 1........................... ย กบั ตัวชว้ี ดั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) รายการวสั ดอุ ุปกรณวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1................................................................................................... ล หนว ยท่ี 1 การเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ รอบตัว 1 ภาพรวมการจดั การเรียนรปู ระจําหนวยท่ี 1 การเรียนรูส ่งิ ตาง ๆ รอบตวั ...................................................1 บทท่ี 1 เรียนรแู บบนกั วทิ ยาศาสตร .......................................................................................................3 บทนีเ้ ริ่มตน อยางไร ..................................................................................................................................... 6 เร่อื งที่ 1 การสืบเสาะหาความรู................................................................................................................. 11 กจิ กรรมท่ี 1 จมหรอื ลอย............................................................................................................ 15 เรื่องที่ 2 การสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอ มูล................................................................................... 25 กิจกรรมที่ 2 การสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอมลู ไดอยา งไร .............................................. 31 เรอื่ งที่ 3 การจาํ แนกประเภท .................................................................................................................... 46 กจิ กรรมที่ 3 จาํ แนกสงิ่ ของไดอ ยางไร......................................................................................... 51 เร่อื งท่ี 4 การพยากรณ .............................................................................................................................. 61 กจิ กรรมที่ 4 พยากรณไดอยางไร................................................................................................ 65 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 เรยี นรแู บบนกั วทิ ยาศาสตร....................................................................................... 74 แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทายบท 76

หนว ยท่ี 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตวั เรา สารบญั ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนว ยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตวั เรา หนา 80 บทที่ 1 รา งกายของเรา 80 82 บทน้เี ร่มิ ตน อยางไร 85 90 เรอื่ งที่ 1 สวนตาง ๆ ของรางกาย 94 กจิ กรรมที่ 1.1 สว นตา ง ๆ ของรา งกายเรามีอะไรบา ง 105 กิจกรรมท่ี 1.2 สวนตา ง ๆ ของรา งกายทาํ หนา ทอี่ ะไร 118 120 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 รางกายของเรา 124 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 127 133 บทท่ี 2 สตั วแ ละพชื รอบตวั เรา 137 148 บทน้ีเรม่ิ ตน อยางไร 159 163 เรือ่ งท่ี 1 สวนตาง ๆ ของสตั วและพืช 175 กิจกรรมท่ี 1.1 มารูจ กั สตั วก ันไหม 178 กจิ กรรมท่ี 1.2 มารูจกั พืชกนั ไหม 182 186 เรอ่ื งท่ี 2 บริเวณท่ีสัตวและพืชอาศยั อยู 187 กิจกรรมท่ี 2 สตั วแ ละพชื อยูทีใ่ ดบาง กิจกรรมทายบทที่ 2 สตั วแ ละพืชรอบตัวเรา แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทา ยบท แนวคาํ ตอบในแบบทดสอบทา ยเลม บรรณานกุ รม คณะทํางาน

ก คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลท่ีไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด น่นั คือใหไ ดทัง้ กระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรูว ทิ ยาศาสตรใ นสถานศึกษามเี ปา หมายสาํ คัญ ดงั นี้ 1. เพือ่ ใหเ ขาใจแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรูพ้นื ฐานในวิทยาศาสตร 2. เพอื่ ใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร และขอจํากัดของวทิ ยาศาสตร 3. เพอ่ื ใหมที กั ษะทีส่ ําคญั ในการสืบเสาะหาความรแู ละพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สภาพแวดลอม 5. เพื่อนําความรูในแนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมและการดํารงชวี ติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ แกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสือ่ สาร และความสามารถใน การประเมินและตดั สนิ ใจ 7. เพ่ือใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางสรา งสรรค  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ข คณุ ภาพของผูเรยี นวิทยาศาสตร เมื่อจบชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 นกั เรียนท่ีเรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ควรมีความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังนี้ 1. เขา ใจลักษณะทัว่ ไปของส่ิงมชี ีวิตและการดํารงชวี ติ ของสิง่ มชี ีวติ รอบตวั 2. เขา ใจลักษณะที่ปรากฏ ชนดิ และสมบตั ิบางประการของวัสดุท่ีใชทําวัตถุและการเปล่ียนแปลงของวัสดุ รอบตวั 3. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงที่มีตอการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ พลังงานไฟฟา และการผลติ ไฟฟา การเกดิ เสียง แสงและการมองเห็น 4. เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณขึ้นและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดิน และการใชประโยชน ลกั ษณะและความสาํ คัญของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชนและโทษของลม 5. ต้ังคําถามหรอื กําหนดปญ หาเก่ยี วกับส่งิ ทจี่ ะเรียนรูตามที่กําหนดใหห รือตามความสนใจ สังเกต สํารวจ ตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวย การเขียนหรือวาดภาพ และส่ือสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดงทาทางเพื่อใหผูอ่ืน เขาใจ 6. แกปญ หาอยา งงายโดยใชข้ันตอนการแกปญหา มีทกั ษะในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เบอื้ งตน รกั ษาขอมลู สว นตัว 7. แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี กาํ หนดใหหรอื ตามความสนใจ มีสว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ผูอ น่ื 8. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย จนงานลุลว งเปนผลสาํ เร็จ และทํางานรว มกับผูอน่ื อยางมีความสขุ 9. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษา หาความรูเ พ่มิ เตมิ ทาํ โครงงานหรอื ชิน้ งานตามท่ีกําหนดใหหรอื ตามความสนใจ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ค คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ทักษะทสี่ าํ คญั ในการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญท่ีครูผูสอนจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนเม่ือมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่นๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร ประกอบดว ย ทักษะการสังเกต (Observing) เปน ความสามารถในการใชประสาทสมั ผัสอยา งใดอยางหนึ่ง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผูสังเกตลงไปดวย ประสาทสัมผัสท้ัง 5 อยา ง ไดแก การดู การฟง เสียง การดมกล่นิ การชิมรส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของส่ิงตาง ๆ จากเคร่ืองมือที่เลือกใชออกมาเปน ตวั เลขไดถกู ตองและรวดเร็ว พรอ มระบุหนวยของการวัดไดอ ยา งถกู ตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เกบ็ รวบรวมไวใ นอดีต ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ท่ีสนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หนึง่ ของสิง่ ตา ง ๆ ท่ีตอ งการจําแนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่น้ีอาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหลาน้ีอาจมีความสัมพันธกัน ดังนี้ การหาความสัมพนั ธร ะหวา งสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ท่ี ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสมั พนั ธระหวางสเปซกบั เวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ สัมพันธกันระหวางพื้นท่ีที่วัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เมื่อเวลาผา นไป  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ง ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคาํ นวณเพอื่ บรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชิงปริมาณของสงิ่ ที่สงั เกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปนความสามารถในการนําผลการสงั เกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรอื มคี วามสัมพันธกนั มากขน้ึ จนงา ยตอการทําความเขาใจหรอื เห็นแบบรปู ของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อส่ือสารใหผูอ ื่นเขา ใจความหมายของขอ มูลมากข้ึน ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนจะทําการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่ คาดการณไวหรือไมกไ็ ด ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของสงิ่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเขา ใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ท้ังตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงท่ี ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน แตอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตัวแปรทต่ี องควบคุมใหคงท่ี ซ่งึ ลว นเปนปจจัยทเี่ ก่ียวของกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรตน สิง่ ทเ่ี ปน ตนเหตุทาํ ใหเ กิดการเปลีย่ นแปลง จงึ ตอ งจดั (Independent Variable) สถานการณใหม ีสงิ่ น้แี ตกตา งกัน ตัวแปรตาม สิ่งทเ่ี ปน ผลจากการจัดสถานการณบางอยางให (Dependent Variable) แตกตางกัน และเราตอ งสังเกต วดั หรือติดตามดู สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

จ คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตวั แปรทตี่ องควบคุมใหค งท่ี สงิ่ ตา ง ๆ ทอี่ าจสง ผลตอการจัดสถานการณ จึงตอ งจดั (Controlled Variable) สิง่ เหลา นใ้ี หเ หมอื นกันหรอื เทากัน เพื่อใหม ่ันใจวาผล จากการจัดสถานการณเกดิ จากตัวแปรตนเทา น้นั ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได ละเอยี ด ครบถวน และเทย่ี งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลท่ีมีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสมั พันธของขอมูลท้ังหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชสิ่งท่ีทํา ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณท่ีศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจในรูป ของแบบจาํ ลองแบบตาง ๆ ทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะที่จําเปนแหงศตวรรษที่ 21 ที่สอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเนน ใหค รูผสู อนสงเสรมิ ใหนักเรียนมีทักษะ ดงั ตอ ไปน้ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ มีการคดิ อยางเปนระบบ วิเคราะห และประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณและกระบวนการเรียนรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง การแกปญหาท่ีไมคุนเคย หรือปญหาใหมได โดย อาจใชความรู ทักษะ วิธีการและประสบการณที่เคยรูมาแลว หรือการสืบเสาะหาความรู วิธีการใหมมาใช แกปญหาก็ได นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพ่ือทําความเขาใจมุมมองที่แตกตาง หลากหลายเพื่อใหไดวิธี แกป ญหาทด่ี ีมากขึน้ การส่อื สาร (Communications) หมายถงึ ความสามารถในการส่ือสารไดอ ยางชดั เจน เช่อื มโยง เรียบเรยี งความคดิ เเละมุมมองตา ง ๆ แลว ส่ือสารโดยการใชคาํ พดู ไมใชค ําพดู หรือการเขียน เพอ่ื ใหผ ูอื่นเขาใจ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฉ ไดหลากหลายรูปแบบและวตั ถปุ ระสงคน อกจากนย้ี ังรวมไปถึงการฟง อยางมปี ระสิทธิภาพเพอื่ ใหเ ขา ใจ ความหมายของผูส ง สาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง การแสดงความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุม ตาง ๆ ที่หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพ่ือให บรรลุเปาหมาย การทํางาน พรอ มท้งั ยอมรบั และแสดงความรับผิดชอบตองานที่ทํารวมกัน และเห็นคุณคาของ ผลงานทพี่ ฒั นาขึ้นจากสมาชกิ แตล ะคนในทีม การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคท่ีหลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลน่ั กรอง ทบทวน วเิ คราะห และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรุงใหไดแนวคิดท่ีจะสงผลให ความพยายามอยางสรา งสรรคน ีเ้ ปน ไปไดมากท่ีสดุ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการสืบคน จัดกระทํา ประเมิน และส่อื สารขอ มูลความรตู ลอดจนรเู ทา ทนั สือ่ โดยการใชส่ือตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ช คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ผงั มโนทศั น (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เลม 1 ประกอบดว ย ไดแก ไดแ ก  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ซ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ว 1.1 ป.1/1  บริเวณตาง ๆ ในทองถิ่น เชน สนามหญา ใตตนไม สวนหยอม แหลงนํ้า อาจพบ ระบุช่ือพืชและสัตวท่ีอาศัยอยูบริเวณ พืชและสตั วห ลายชนิดอาศยั อยู ตา ง ๆ จากขอมูลท่รี วบรวมได ว 1.1 ป.1/2 • บริเวณท่ีแตกตางกันอาจพบพืชและสัตวแตกตางกัน เพราะสภาพแวดลอมของแตละ บอกสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมกับการ บริเวณจะมีความเหมาะสมตอการดาํ รงชวี ิตของพืชและสัตว ที่อาศัยอยูในแตละบริเวณ ดํารงชีวิตของพืชและสัตวในบริเวณที่ เชน สระน้ํา มีนํ้าเปนที่อยูอาศัยของหอย ปลา สาหราย เปนท่ีหลบภัยและมีแหลง อาศยั อยู อาหารของหอยและปลา บริเวณตนมะมวงมีตนมะมวงเปนแหลงที่อยู และมีอาหาร สําหรบั กระรอกและมด • ถาสภาพแวดลอมในบริเวณท่ีพืชและสัตวอาศัยอยูมีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลตอการ ดํารงชีวิตของพืชและสตั ว ว 1.2 ป.1/1  มนุษยมีสวนตาง ๆ ที่มีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพื่อใหเหมาะสมในการ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอก ดํารงชีวิต เชน ตามีหนาที่ไวมองดู โดยมีหนังตาและขนตาเพ่ือปองกันอันตรายใหกับ หนาที่ของสวนตางๆ ของรางกาย ตา หมู ีหนา ทรี่ ับฟง เสียง โดยมีใบหูและรูหูเพื่อเปนทางผานของเสียง ปากมีหนาที่พูด มนุษย สัตว และพืช รวมทั้งบรรยาย กนิ อาหาร มีชอ งปากและมรี ิมฝปากบนลาง แขนและมือมีหนาท่ียก หยิบ จับ มีทอน การทําหนาที่รวมกันของสวนตาง ๆ แขนและนิ้วมือที่ขยบั ได สมองมีหนาท่ีควบคุมการทํางานของสวนตาง ๆ ของรางกาย ของ รางกายมนุษยในการทาํ กิจกรรม อยูในกะโหลกศีรษะ โดยสวนตาง ๆ ของรางกายจะทําหนาท่ีรวมกันในการทํา ตาง ๆ จากขอมูลท่ีรวบรวมได กิจกรรมในชีวิตประจําวนั  สัตวมีหลายชนิด แตละชนิดมีสวนตาง ๆ ท่ีมีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพ่ือให เหมาะสมในการดํารงชวี ิต เชน ปลามีครีบเปน แผน สว นกบ เตา แมว มีขา 4 ขาและมี เทา สาํ หรบั ใชในการเคล่ือนที่  พืชมีสวนตาง ๆ ที่มีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพ่ือใหเหมาะสมในการดํารงชีวิต โดยทว่ั ไป รากมีลักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเปน รากเลก็ ๆ ทําหนาท่ีดูดนํ้า ลําตนมี ลักษณะเปนทรงกระบอกต้ังตรงและมีกิ่งกาน ทําหนาที่ชูกิ่งกาน ใบ และดอก ใบมี ลักษณะเปนแผนแบน ทําหนาท่ีสรางอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิดอาจมีดอกที่มีสี รูปรางตาง ๆ ทําหนาท่ีสืบพันธุ รวมท้ังมีผลท่ีมีเปลือก มีเน้ือหอหุมเมล็ด และมีเมล็ด ซึ่งสามารถงอกเปนตน ใหมไ ด ว 1.2 ป.1/2  มนุษยใชสวนตาง ๆ ของรางกายในการทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อการดํารงชีวิต มนุษย ตระหนกั ถึงความสําคัญของสวนตาง ๆ จึงควรใชสวนตาง ๆ ของรางกายอยางถูกตอง ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู ของรางกายตนเอง โดยการดูแลสวน เสมอ เชน ใชตามองตัวหนังสือในที่ที่มีแสงสวางเพียงพอ ดูแลตาใหปลอดภัยจาก ตางๆ อยาง ถูกตอง ใหปลอดภัยและ อันตราย และรักษาความสะอาดตาอยเู สมอ รกั ษาความสะอาดอยเู สมอ สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฌ คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ขอ แนะนําการใชค ูมอื ครู คูมือครูเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรู นกั เรียนจะไดฝ ก ทักษะจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ทั้งการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การ อภิปราย การทํางานรวมกัน ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนชางสังเกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบ ปญหาตาง ๆ ไดดวยตนเอง ใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรูครู จึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูและมีทักษะจากการศึกษา หาความรูจ ากสื่อและแหลง การเรียนรตู าง ๆ และเพ่มิ เตมิ ขอ มลู ท่ีถกู ตองแกนักเรยี น เพ่ือใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมน้ีมากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรูแ กนกลาง เปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึง่ กําหนดไวเฉพาะสว นทจี่ าํ เปนสําหรับเปนพื้นฐานเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น โดยสอดคลองกับสาระและความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน และในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระท่ีปรากฏอยูตาม สาระการเรียนรโู ดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม สําหรับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพิ่มสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบดวยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพ่ือเอื้อตอการจัดการเรียนรู บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิด สะเต็มศกึ ษา 2. ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจาํ หนว ย เปน ภาพรวมการจัดการเรยี นรูประจําหนวยมีไวเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู และตวั ชว้ี ดั ทจ่ี ะไดเ รียนในแตละกิจกรรมของหนวยน้ัน ๆ และเปนแนวทางใหครูผูสอนนําไปปรับปรุง และเพิ่มเตมิ ตามความเหมาะสม 3. จดุ ประสงคการเรียนรู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียน ทั้งสวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพื่อให นักเรียน เกิดการเรยี นรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใหม มีทักษะในการใชเ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยูในสังคมไทยไดอ ยา งมีความสุข  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ญ 4. บทนม้ี อี ะไร เปนสวนท่ีบอกรายละเอียดในบทน้ัน ๆ ซ่ึงประกอบดวยชื่อเร่ือง คําสําคัญ และช่ือกิจกรรม เพื่อ ครจู ะไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตล ะบท 5. สอื่ การเรยี นรูและแหลงเรยี นรู เปนสวนทีบ่ อกรายละเอียดส่อื การเรยี นรูและแหลงเรียนรูท่ีตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมนั้น ๆ โดยสือ่ การเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตรเพอ่ื เสรมิ สรางความมัน่ ใจในการสอนปฏบิ ัติการวิทยาศาสตรสําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนทักษะท่ีนักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพื่อใหท นั ตอการเปล่ยี นแปลงของโลก สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฎ คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตวั อยางวดี ิทัศนป ฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตรเ พือ่ ฝกฝนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต า ง ๆ มดี ังน้ี รายการตัวอยางวดี ิทัศน ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วทิ ยาศาสตร ปฏบิ ตั ิการ ทางวิทยาศาสตร วีดทิ ัศน การสังเกตและการ การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115 ลงความเหน็ จากขอ มลู ความเหน็ จากขอมูล ทาํ ไดอยา งไร วดี ิทศั น การวดั ทาํ ไดอ ยา งไร การวดั http://ipst.me/8116 วดี ิทศั น การใชต วั เลขทาํ ได การใชจาํ นวน http://ipst.me/8117 อยางไร วดี ทิ ศั น การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาํ ไดอยางไร วดี ทิ ัศน การหาความสมั พันธ การหาความสัมพันธ http://ipst.me/8119 ระหวางสเปซกบั สเปซ ระหวางสเปซกับสเปซ http://ipst.me/8120 ทาํ ไดอยา งไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดิทศั น การหาความสมั พนั ธ การหาความสัมพันธ ระหวางสเปซกบั เวลา ระหวางสเปซกบั เวลา ทําไดอยางไร วีดิทศั น การจัดกระทําและส่ือ การจดั กระทาํ และส่อื ความหมายขอมูล ความหมายขอมลู ทําไดอยางไร วดี ิทศั น การพยากรณทาํ ได การพยากรณ อยางไร  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฏ รายการตวั อยา งวดี ิทศั น ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏิบตั ิการ วิทยาศาสตร http://ipst.me/8123 ทางวิทยาศาสตร การทดลอง วีดิทศั น ทําการทดลองได อยางไร วีดทิ ศั น การตงั้ สมมติฐานทํา การตัง้ สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 ไดอยางไร วดี ิทศั น การกาํ หนดและ การกําหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคุมตวั แปรและ ตวั แปรและ การกาํ หนดนิยามเชิง การกาํ หนดนิยามเชิง ปฏิบัติการทําได ปฏิบตั กิ าร อยา งไร การตีความหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 วดี ิทัศน การตีความหมาย ลงขอสรุป ขอ มลู และลงขอสรปุ ทาํ ไดอยางไร การสรา งแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 วีดิทัศน การสรา งแบบจาํ ลอง ทาํ ไดอยางไร สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฐ คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 7. แนวคดิ คลาดเคลือ่ น เปนความเช่ือ ความรู หรือความเขาใจที่เกิดข้ึนกับนักเรียน ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากประสบการณใน การเรียนรูท่ีรับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปความเขาใจของตนเองผิด แลวไมสามารถอธิบาย ความเขาใจนั้นได โดยเมื่อเรียนจบบทนี้แลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันใหเปนแนวคิดท่ี ถกู ตอ ง 8. บทนเี้ ริ่มตน อยา งไร เปนแนวทางสาํ หรบั ครูในการจดั การเรยี นรูวิทยาศาสตรเพ่ือสง เสรมิ ใหนักเรยี นรูจักคดิ ดวยตนเอง รูจกั คนควาหาเหตุผล โดยครูกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ และใหนักเรียนตอบ คาํ ถามสาํ รวจความรกู อนเรียน จากน้นั ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนโดยครูยังไมเฉลยคําตอบ ทถี่ กู ตอง เพื่อใหน กั เรยี นไปหาคําตอบจากเรอื่ งและกจิ กรรมตาง ๆ ในบทน้นั 9. เวลาทใ่ี ช เปนการเสนอแนะวาในแตละสวนควรใชเวลาประมาณก่ีช่ัวโมง เพื่อชวยใหครูผูสอนไดจัดทํา แผนการจดั การเรยี นรไู ดอยา งเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปล่ียนเวลาไดตามสถานการณและ ความสามารถของนักเรียน 10. วัสดุอปุ กรณ เปนรายการวัสดุอุปกรณท่ีใชท้ังหมดในการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ สําเร็จรปู อปุ กรณพนื้ ฐาน หรืออ่นื ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สําหรับครู เพอื่ จัดการเรียนรูใ นคร้ังถัดไป เปน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครูสําหรับการจดั การเรียนรูในคร้ังถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ เคร่ืองมือตาง ๆ ท่ีตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและมีจํานวนที่เพียงพอกับ นักเรียน โดยอาจมีบางกิจกรรมตองทําลวงหนาหลายวัน เชน การเตรียมถุงปริศนาและขาวโพดคั่ว หรือสิง่ ทกี่ นิ ได ขอ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเปนรูปธรรม จึงควรจัดการเรียนการสอนที่ มุงเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติหรือทําการทดลองซึ่งเปนวิธีหน่ึงที่นักเรียนจะไดมีประสบการณตรง ดังนั้น ครูผูสอนจึงตอ งเตรยี มตวั เองในเรือ่ งตอ ไปน้ี 11.1 บทบาทของครู โดยครูจะตองเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอด ความรูเปนผูชวยเหลือ สงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและ แหลงการเรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลท่ีถูกตองแกนักเรียน เพ่ือนําขอมูลเหลานั้นไปใช สรางสรรคค วามรูของตนเอง  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฑ 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน โดยครูควรเตรียมนักเรียนใหพรอมอยูเสมอในการทํา กิจกรรมตาง ๆ บางครัง้ นกั เรยี นไมเ ขา ใจและอาจจะทาํ กจิ กรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึงตอง เตรียมตวั เอง โดยทาํ ความเขาใจในเรอื่ งตอ ไปน้ี การสืบคนขอมูลหรือการคนควาเปนการหาความรูดวยตนเอง โดยวิธีการตาง ๆ เชน การสอบถามจากผูรูในทองถ่ิน การดูจากรูปภาพแผนภูมิ การอานหนังสือหรือเอกสาร เทาท่ีหาได น่ันคือการใหนักเรียนเปนผูหาความรูและพบความรูหรือขอมูลดวยตนเอง ซ่ึง เปน การเรยี นรวู ธิ ีแสวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน การใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจใหวาดรูป หรือตัด ขอความจากหนังสือพิมพ แลว นาํ มาติดไวในหอง เปนตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออ่ืน ๆ เพื่อสรางองคความรูเปน สิ่งสําคัญย่ิงตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูผูสอนสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดท้ังใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือท่ีบาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง ซ่ึงอาจดัดแปลงจากส่ิงของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติมาทํากิจกรรมได ขอสําคัญ คือ ครผู สู อนตองใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมน้ัน และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจากการทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพรอมกับเกิดคานิยม คุณธรรม เจตคติทาง วิทยาศาสตรดวย 12. แนวการจดั การเรยี นรู เปนแนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิด ดวยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรไปใช วิธีการจัดการเรียนรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่ กําหนดไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวา งครูกับนักเรียนเพ่ือนําไปสูข อมลู สรุป ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามบริบทของ ตนเองใหบรรลุจดุ มุงหมาย โดยจะคาํ นงึ ถึงเรอื่ งตาง ๆ ดังตอ ไปนี้ 12.1 การมีสวนรว มในกิจกรรมการเรียนรูของนักเรียน โดยครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมใน กจิ กรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การใชคําถาม การเสริมพลังมาใชใหเปนประโยชน ท่ีจะทาํ ใหการเรียนการสอนนา สนใจและมีชีวติ ชวี า สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฒ คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 12.2 การใชคําถาม โดยครูควรวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนํานักเรียนเขา สูบทเรียนและลงขอสรุปไดโดยท่ีไมใชเวลานานเกินไป ซึ่งครูควรเลือกใชคําถามท่ีมีความ ยากงา ยพอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนสิ่งจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครู ควรเนนย้าํ ใหนกั เรยี นไดส ํารวจตรวจสอบซา้ํ เพื่อนําไปสขู อ สรปุ ทถ่ี ูกตองมากขึ้นและเชือ่ ถือได 13. ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติม เปน ขอเสนอแนะสําหรับครูท่ีอาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณที่ เหมาะสม หรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพื่อลดขอผิดพลาด ตัวอยา งตาราง และเสนอแหลง เรยี นรเู พื่อการคน ควาเพ่ิมเติม 14. ความรเู พมิ่ เตมิ สาํ หรับครู เปนความรูเพิ่มเติมในเน้ือหาท่ีสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกข้ึน เพื่อเพิ่มความรูและความมั่นใจ ใหกับครูในเรื่องที่จะสอนและแนะนํานักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วยั และระดับชัน้ 15. อยา ลมื นะ เปนสว นที่เตอื นไมใหครเู ฉลยคําตอบท่ีถูกตองใหกับนักเรียน หรือครูรับฟงความคิดและเหตุผลของ นักเรียนกอน โดยครูควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองและใหความสนใจ ตอคําถามของนักเรียนทุกคน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรู ความเขาใจในเรอื่ งนั้นอยา งไรบาง 16. แนวการประเมินการเรยี นรู เปนการประเมินการเรียนรูของนักเรียนท่ีไดจากการอภิปรายในช้ันเรียน คําตอบของนักเรียน ระหวางการจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน 17. กิจกรรมทายบท เปนสว นที่ใหน ักเรยี นไดส รปุ ความรู ความเขา ใจ ในบทเรยี น และไดต รวจสอบความรใู น เนื้อหาทีเ่ รียนมาทงั้ บท หรอื อาจตอยอดความรูในเรอ่ื งนน้ั ๆ ขอแนะนําเพิ่มเตมิ 1. การสอนการอา น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตัวหนังสือ ถาออกเสียงดว ย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อา นรหสั อานลายแทง  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ณ เมื่อปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะท่ี สําคญั จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแ กนกั เรยี นเปนอยางมาก เนื่องจากการอานเปนกระบวนการสําคัญท่ีทําให ผูอ า นสรา งความหมายหรอื พฒั นาการวเิ คราะห ตีความในระหวางอาน ผอู า นจะตองรหู วั เรื่อง รูจุดประสงคการ อาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือท่ีอานและจําตองใชประสบการณเดิมที่เปน ประสบการณพ้ืนฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองที่อาน ท้ังน้ีนักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานที่ แตกตา งกัน ข้ึนกับองคป ระกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรือ ความสนใจเรื่องที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซ่ึง ครูจะตองพิจารณาท้ังหลักการอาน และความเขาใจในการอานของนักเรียน ทั้งนี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการ สอนแบบตา ง ๆ เพ่ือเปน การฝกทกั ษะการอา นของนักเรียน ดังน้ี  เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) เปน การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการ อานดว ยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอน ดังน้ี 1. ครจู ดั แบง เนื้อเร่อื งทจี่ ะอานออกเปนสวนยอ ย และวางแผนการสอนอานของเนอ้ื เร่ืองทั้งหมด 2. ในการนาํ เขาสบู ทเรียน ครชู ักชวนใหน กั เรยี นคดิ วา นกั เรียนรอู ะไรเกยี่ วกับเร่ืองท่ีจะอานบา ง 3. ครูใหนกั เรยี นสังเกตรปู ภาพ หวั ขอ หรืออ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวกบั เน้อื หาทีจ่ ะเรียน 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องท่ีกําลังจะอาน ซึ่งอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ยี วกบั อะไร โดยครูพยายามกระตุนใหนกั เรียนไดแสดงความคิดเหน็ หรือคาดคะเนเน้ือหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภปิ รายแลวเขยี นแนวคดิ ของนกั เรยี นแตละคนไวบนกระดาน 6. นักเรียนอานเนื้อเร่ือง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนือ้ เร่ืองทีอ่ านหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเร่ืองที่อานมีเน้ือหาตรงกับท่ีคาดคะเนไวใหนักเรียน แสดงขอ ความที่สนับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยา งไรบาง 8. ทําซํ้าข้ันตอนเดิมในการอานเนื้อเรื่องสวนอ่ืน ๆ เม่ือจบท้ังเรื่องแลว ครูปดเรื่องโดยการทบทวน เน้อื หาและอภิปรายถงึ วิธีการคาดคะเนของนักเรียนทคี่ วรใชส ําหรบั การอา นเรื่องอื่น ๆ  เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) เปนการสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปน รปู ธรรมและเปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะอาน นักเรียน ตอ งการรูอะไรเกย่ี วกับเรอื่ งที่จะอา น นกั เรียนไดเรยี นรูอะไรบา งจากเร่ืองที่อาน) โดยมีข้ันตอนการจัดการเรียน การสอน ดังนี้ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ด คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 1. ครนู ําเขาสบู ทเรยี นดว ยการกระตนุ ความสนใจของนกั เรยี นเพอ่ื เชื่อมโยงเขาสเู รื่องท่ีจะอาน เชน การ ใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรอื วีดิทัศนท ่ีเกีย่ วกบั เนื้อเรอ่ื ง 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีข้ันตอน ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ข้ัน K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนที่ให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีจะอาน แลวบันทึกสิ่งที่ตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตงั้ คําถามกระตุน ใหน ักเรยี นไดแสดงความคดิ เห็น ขนั้ ท่ี 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ขั้นตอนท่ีใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับส่ิงที่ตองการรูเกี่ยวกับเรื่องท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรยี นรวมกันกาํ หนดคําถาม แลวบันทกึ ส่ิงท่ตี อ งการรูลงในตารางชอง W ข้ันท่ี 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ข้ันตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเน้ือเร่ือง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการอานมา จัดลาํ ดับความสําคัญของขอมลู และสรุปเน้ือหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปเน้อื หา โดยการอภปิ รายหรอื ตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนกั เรยี นอาจรว มกนั อภิปรายเกีย่ วกบั การใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรยี นการสอนการอาน  เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) เปนการสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือจะ ไดมาซง่ึ แนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเรื่องท่ีจะเรียนและประสบการณ เดมิ ของนักเรยี น โดยมขี ้ันตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเร่ืองท่ีนักเรียนควรรูหรือเร่ืองใกลตัวของนักเรียน เพื่อชวยให นักเรียนเขา ใจถึงการจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเร่ืองท่ีจะอานตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายเก่ียวกับการสอนแบบ QAR โดยครูควรช้ีแจงนักเรียนในการอานและต้ังคําถาม ตามหมวดหมู ไดแ ก คําถามที่ตอบโดยใชเน้ือหาจากสิ่งที่อาน คําถามที่ตองคิดและคนควาจากส่ิงท่ีอาน คาํ ถามท่ไี มมคี ําตอบโดยตรงในเน้ือหาซึ่งนักเรียนใชความรูเดิมและสิ่งท่ีผูเขียนเขียนไว และคําถามที่ ใชความรูเดมิ ของนกั เรยี นในการตอบคําถาม 3. นกั เรยี นอา นเนื้อเร่ือง ตั้งคําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปคําตอบ ของคาํ ถาม 4. ครูและนกั เรียนรว มกนั อภิปรายเกย่ี วกับการใชเ ทคนิคนด้ี วยตนเองไดอยา งไร 5. ครูและนักเรียนอาจรวมกันอภปิ รายเก่ียวกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ต 2. การใชงานส่อื QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาท่ีตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคล่ือนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคล่ือนท่ี) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลติ ภณั ฑข อง Apple Inc.) ขัน้ ตอนการใชงาน 1. เปด โปรแกรมสาํ หรับอา น QR Code 2. เล่อื นอปุ กรณอิเล็กทรอนิกส เชน โทรศัพทเ คลือ่ นท่ี แท็บเลต็ เพือ่ สองรปู QR Code ไดท ง้ั รปู 3. เปดไฟลหรือลงิ กท่ีขึ้นมาหลังจากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท ่ใี ชอา น QR CODE ตองเปด Internet ไวเ พื่อดึงขอมูล 3. การใชง านโปรแกรมประยุกตความจรงิ เสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ) โปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (AR) เปนโปรแกรมที่สรางข้ึนเพื่อเปนส่ือเสริมชวยใหนักเรียน เขาใจเน้ือหาสาระของแตละชั้นปอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น ซ่ึงสําหรับระดับประถมศึกษาปท่ี 1 จะใชงานผาน โปรแกรมประยกุ ต “วทิ ย ป.1” ซึง่ สามารถดาวนโหลดไดท าง Play Store หรอื Apps Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพ้ืนท่ีจัดเก็บไมเพียงพออาจ ตอ งลบขอ มูลบางอยางออกกอนติดต้ังโปรแกรม ข้นั ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม 1. เขา ไปที่ Play Store ( ) หรอื Apps Store ( ) 2. คนหาคําวา “วิทย ป.1” 3. กดเขา ไปท่ีโปรแกรมประยุกตที่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดตั้ง” และรอจนติดตั้งเรยี บรอ ย 5. เขา สูโ ปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากน้นั กด “วธิ กี ารใชงาน” เพื่อศึกษาการใชง านโปรแกรม เบ้ืองตนดว ยตนเอง 6. หลังจากศกึ ษาวิธกี ารใชงานดว ยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนังสือเรียนหนา ที่มสี ัญลักษณ AR 7. สอ งรปู ท่อี ยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตาง ๆ ตาม ความสนใจ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ถ คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรในระดับประถมศกึ ษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกย่ี วกบั สิง่ ตา งๆ รอบตัว และเรยี นรูไดดีที่สดุ ดวยการคน พบ จากการลงมอื ปฏิบตั ดิ วยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา สวนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิด แบบรูปธรรมไปสูข้ันการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบ เขาดวยกันอยางไร และส่ิงเหลานั้นทํางานกันอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน คือ การใหโอกาสนักเรียนมีสวน รวมในการลงมือปฏิบัติ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ ตามดว ยการต้ังคําถามเพ่ือนําไปสูการอภิปราย มีการ แลกเปลี่ยนผลการทดลองดวยคําพูด หรือวาดภาพ และมีการอภิปรายเพื่อสรุปผลรวมกัน สําหรับนักเรียนใน ระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลายตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบ รวมมือ ดังน้ันจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซ่ึงจะเปนการสรางความสามัคคี และ ประสานสัมพนั ธร ะหวางนกั เรยี นในระดบั นดี้ ว ย การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนการสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัว อยางเปนระบบ และเสนอคําอธิบายเก่ียวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสบื คน การทดลอง การสรา งแบบจําลอง นกั เรียนทุกระดับชน้ั ควรไดร บั โอกาสในการสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรและพัฒนาความสามารถใน การคิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซ่ึงรวมท้ังการต้ังคําถาม การวางแผนและ ดําเนินการสืบเสาะหาความรู การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะห คําอธิบายทหี่ ลากหลาย และการสื่อสารขอ โตแยง ทางวิทยาศาสตร การจดั การเรยี นการสอนที่เนน การสืบเสาะหาความรู เปน การจัดการเรียนการสอนท่ีใหนักเรียนมีสวนรวม ในกระบวนการทํานาย จัดกระทําและตีความหมายขอมูล และส่ือสารเกี่ยวกับผลท่ีไดโดยใชคําศัพททางวิทยาศาสตร วิธีการนี้มีศักยภาพสูงในการจูงใจนักเรียนและทําใหนักเรียนตื่นตัว เปนการกระตุนความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ ส่ิงตางๆ รอบตัวนักเรียน และในขณะเดียวกันก็พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดวย การนําวิธีนี้ไปใชได อยา งประสบความสําเร็จ ตองอาศัยการเตรยี มตวั และการคิดลวงหนาของครูผูสอน การจัดการเรียนการสอนที่เนนการ สืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกันจากท่ีเนนครูเปนสําคัญไปจนถึงเนนนักเรียน เปนสาํ คญั ดังน้ี การสบื เสาะหาความรูแบบครเู ปน ผกู าํ หนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบ ท้ังครูและนักเรียนเปนผกู าํ หนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทํากจิ กรรมตามที่ครูกําหนด นกั เรียนพฒั นาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครู ต้งั ขึ้น นักเรยี นตง้ั คาํ ถามในหัวขอทค่ี รูเลือก พรอ มทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตนเอง  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ท การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและบอกวิธีการใหนักเรียนคนหาคําตอบ ครูชี้แนะ นักเรียนทุกข้ันตอนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน้ือหาบางเรื่องในสาระการเรียนรูเหมาะท่ีจะใชการ สบื เสาะดวยวธิ ีน้ี โดยเฉพาะเร่อื งทีเ่ กยี่ วของกับคําถามตามมาตรฐานการเรียนรูที่ตองใชเครื่องมือทดลองพิเศษ เชน  พชื สญู เสยี นาํ้ โดยผา นทางใบใชหรือไม  อะไรบางที่จาํ เปนตอการเผาไหม  อะไรคอื ความสมั พันธร ะหวา งแรงและการเคลือ่ นท่ี ประโยชนของการสบื เสาะหาความรูโดยวธิ ีน้คี ือ ทําใหน ักเรียนคนุ เคยกับวิธกี ารสบื เสาะหาความรู เพ่ือนําไปสู การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน่ืองจากนักเรียนจะไดรับการฝกฝนเทคนิคบางอยาง เชน การทดสอบ คา pH หรอื การคํานวณหาคาความหนาแนน ซ่ึงครูสามารถทราบลวงหนาถึงคําถามท่ีนักเรียนจะตั้งข้ึนเพ่ือหาคําตอบ จึงทําใหครูมคี วามพรอ มในสิ่งท่ีตอ งอภปิ รายรวมกัน การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทางอาจไมไดทําใหนักเรียนมีสวนรวมทั้งหมดหรือไมได พัฒนาทักษะการคิดวิจารณญาณขั้นสูงเหมือนอยางสองรูปแบบถดั ไป การสืบเสาะหาความรูแบบทั้งครูและนักเรยี นเปนผูก ําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ ใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลองดวยตัวเอง หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรูหลายหัวขอ สามารถใชการสืบเสาะหาความรูแบบนี้ คาํ ถามที่ครอู าจใชถ ามนักเรียน เชน ● จะเกดิ อะไรขึ้นกับบอลลนู ถาบอลลูนลอยจากบรเิ วณทม่ี ีอากาศรอนไปสูบ ริเวณท่ีมีอากาศเยน็ ● พืชโดยทัว่ ไปมีโครงสรา งอะไรท่ีเหมือนกนั ● จะเกดิ อะไรข้ึนเมื่อหยอนวตั ถทุ ่ีมีมวลตา งกันลงในนํ้า การสืบเสาะหาความรแู บบทง้ั ครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางตองการใหนักเรียนคุนเคยกับขั้นตอน หลักของการสืบเสาะหาความรู ครูมีความรับผิดชอบในการเตรียมการประเมินท่ีเนนการสืบเสาะหาความรูและ ติดตามประเมินนักเรียน การสบื เสาะหาความรูแบบนกั เรียนเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Open Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีน้ีครูเปนผูจัดหาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน แตนักเรียนเปนผูตั้งคําถามและออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตัวเอง ตอไปน้ีเปนตัวอยางวัสดุอุปกรณท่ีครู จัดหาใหก บั นักเรยี น แลว ใหนกั เรียนตัง้ คําถามปญหาท่ีเกี่ยวของกับวัสดุอปุ กรณที่จดั ให เชน ● เทียนไข ไมข ดี ไฟ แผนกนั แสงท่ีแสงผา นไดต างกัน ● สงิ่ ของตางๆ หลายชนดิ ทีอ่ าจจมหรือลอยน้ํา ● ของแข็ง บีกเกอร น้าํ และแทงแกว คน ● ถุงที่มกี อ นหินขนาดตา ง ๆ 1 ถุง สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ธ คูม ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 เนือ่ งจากนักเรียนเปนผูออกแบบการทดลองตามคําถามที่ต้ังขึ้นเอง จึงเปนการยากท่ีจะใชวิธีการน้ีกับ หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรู ส่ิงสําคัญในการสืบเสาะหาความรูแบบนี้คือ การท่ีนักเรียนเลือกหัวขอเร่ือง หลังจากการตรวจสอบวัสดุอุปกรณท่ีกําหนดมาให เพื่อใหประสบความสําเร็จกับการสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ ครคู วรสามารถ จัดการเรียนการสอนไดดงั นี้ ● วางแผนการประเมินทีเ่ นน การสบื เสาะหาความรูอยางรอบคอบ ● สรางกฎระเบียบในหองเรียนในการทํางานรวมกันของนักเรียน และการใชวัสดุอุปกรณการ ทดลองไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ● ใหค ําแนะนํากบั นกั เรยี นทีย่ ังสบั สนเกยี่ วกบั การสบื เสาะหาความรูโดยวธิ นี ี้ ● เตรียมคาํ ถามหลงั จากการทาํ กจิ กรรมเพ่ือเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู การจัดการเรียนการ สอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางน้ี อาจทําใหครูตองเผชิญ ปญหาเฉพาะหนามากข้ึนกวา การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบครู เปน ผูกําหนดแนวทาง แตถาใชหัวขอที่เหมาะสมและมีการเตรียมบทเรียนอยางรอบคอบ วิธี น้ีสามารถทําใหท้ังนักเรียนและครูต่ืนตัว และยังเปนการใหโอกาสนักเรียนในการพัฒนา ทกั ษะการสบื เสาะหาความรแู ละการใหเหตผุ ลเชิงวิทยาศาสตรอ ีกดว ย การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรียน เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตรตามทห่ี ลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รปู แบบทีห่ ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอมของครูและนกั เรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Opened Inquiry) ท่ีนักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองต้ังแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายส่ิงทศี่ ึกษาโดยใชขอ มลู (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ที่ ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรูที่เกี่ยวของหรือคําอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอื่น นอกจากน้ี ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูที่ตนเองเปนผูกําหนด แนวทางในการทํากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครสู ามารถแนะนํานักเรียนไดตามความเหมาะสม ในการจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมี ลักษณะสําคัญของการสืบเสาะ ดังนี้ 1. นักเรียนมสี วนรวมในประเดน็ คําถามทางวิทยาศาสตร คําถามทางวิทยาศาสตรในท่ีน้ีหมายถึงคําถาม ที่นําไปสูการสืบเสาะคนหาและรวบรวมขอมูลหลักฐาน คําถามท่ีดีควรเปนคําถามที่นักเรียนสามารถ หาขอ มลู หรอื หลักฐานเชิงประจักษเ พือ่ ตอบคําถามนน้ั ๆ ได 2. นักเรียนใหความสําคัญกับขอมูลหลักฐานในการอธิบายและประเมินคําอธิบายหรือคําตอบ นักเรียน ตองลงมือทําปฏิบัติการ เชน สังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง เพื่อนําหลักฐานเชิงประจักษตาง ๆ มาเชื่อมโยง หาแบบรปู และอธบิ ายหรอื ตอบคาํ ถามทศี่ ึกษา  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 น 3. นักเรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตรจากหลักฐานเชิงประจักษ โดยตองอยูบนพื้นฐานของเหตุผล ตองแสดงความสัมพันธชองขอมูลเชิงประจักษท่ีรวบรวมได สามารถจําแนก วิเคราะห ลงความเห็น จากขอ มลู พยากรณ ตงั้ สมมติฐาน หรอื ลงขอสรุป 4. นักเรียนประเมินคําอธิบายของตนกับคําอธิบายอ่ืนๆ ท่ีสะทอนใหเห็นถึงความเขาใจแนวคิด ทางวิทยาศาสตร นักเรียนสามารถประเมิน (Judge) ขอมูลและหลักฐานตางๆ เพ่ือตัดสินใจ (Make Decision) วาควรเพิกเฉยหรือนําคําอธิบายนั้นมาพิจารณาและปรับปรุงคําอธิบายของตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถประเมินคําอธิบายของเพ่ือน บุคคลอื่น หรือแหลงขอมูลอื่น แลวนํามา เปรียบเทียบ เช่ือมโยง สัมพนั ธ แลวสรางคาํ อธิบายอยา งมเี หตุผลและหลักฐานสนับสนนุ ซึ่งสอดคลอง กบั ความรูทางวทิ ยาศาสตรทไี่ ดร ับการยอมรบั แลว 5. นักเรียนสื่อสารการคนพบของตนใหผูอ่ืนเขาใจ นักเรียนไดส่ือสารและนําเสนอการคนพบของตนใน รูปแบบที่ผูอ่ืนเขาใจ สามารถทําตามได รวมท้ังเปดโอกาสใหไดมีการซักและตอบคําถาม ตรวจสอบ ขอมูล ใหเหตุผล วิจารณและรับคําวิจารณและไดแนวคิดหรือมุมมองอ่ืนในการปรับปรุงการอธิบาย หรอื วิธีการสืบเสาะคนหาคําตอบ แผนผงั การสืบเสาะหาความรู มีสวนรวมในคาํ ถาม ส่ือสารและใหเหตผุ ล เก็บขอมูลหลักฐาน เช่อื มโยงส่ิงทีพ่ บกับส่ิงทผี่ ูอ่ืนพบ อธิบายสิ่งทพี่ บ ภาพ วัฏจักรการสืบเสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรในหอ งเรยี น สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

บ คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ในการจัดการเรียนรวู ิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู ครูสามารถออกแบบการสอนใหเหมาะสม และสอดคลองกับเนื้อหาที่สอน สภาพหองเรียน ความพรอมของครูและนักเรียน และบริบทอื่นๆ การยืดหยุน ระดบั การเรียนรแู บบสบื เสาะหาความรสู ามารถอธบิ ายไดดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ลกั ษณะจําเปนของการสืบเสาะหาความรใู นช้นั เรียนและระดับของการสบื เสาะหาความรู ลักษณะจาํ เปน ระดบั การสืบเสาะหาความรู 1. นักเรยี นมสี วนรว ม นักเรยี นเปน ผถู าม นักเรียนเลอื กคาํ ถาม นกั เรียนพิจารณา นกั เรยี นสนใจคาํ ถาม ในประเดน็ คาํ ถาม คําถาม และสรางคําถามใหม และปรบั คาํ ถามท่ีครู จาก ส่ือการสอนหรอื ทางวิทยาศาสตร จากรายการคําถาม ถามหรือคาํ ถามจาก แหลง อนื่ ๆ แหลงอืน่ 2. นักเรียนให นกั เรียนกาํ หนด นกั เรียนไดรบั การ นกั เรียนไดร บั ขอมลู นักเรียนไดรับขอมลู ความสําคญั กบั ขอ มลู ทจี่ ําเปน ในการ ชน้ี าํ ในการเก็บ เพื่อนาํ ไปวิเคราะห และการบอกเลา ขอ มลู หลักฐานท่ี ตอบคาํ ถามและ รวบรวมขอ มลู ท่ี เกย่ี วกบั การวิเคราะห สอดคลองกับ รวบรวมขอมลู จําเปน ขอมลู คําถาม 3. นักเรยี นอธิบายสิง่ นักเรียนอธิบายสงิ่ ท่ี นักเรียนไดรับการ นักเรยี นไดร บั นักเรยี นไดร บั หลกั ฐาน ที่ศกึ ษาจาก ศกึ ษาหลังจาก ชแี้ นะในการสรา ง แนวทาง หรือขอ มูล หลักฐานหรือ รวบรวมและสรปุ คําอธบิ ายจากขอ มลู ทเี่ ปนไปไดเ พ่อื สราง ขอมลู ขอมลู /หลักฐาน หลกั ฐาน คําอธิบายจากขอ มลู หลกั ฐาน 4. นักเรียนเชือ่ มโยง นกั เรียนตรวจสอบ นักเรียนไดร ับการ นกั เรยี นไดรบั การ นักเรยี นไดร ับการ คาํ อธิบายกบั แหลงขอมลู อนื่ และ ชนี้ ําเก่ยี วกบั แนะนาํ ถึงความ เชือ่ มโยงทงั้ หมด องคความรูท าง เชอื่ มโยงกับ แหลง ขอมูลและ เชื่อมโยงท่ีเปนไปได วิทยาศาสตร คําอธบิ ายทส่ี รา งไว ขอบเขตความรูทาง วทิ ยาศาสตร 5. นักเรยี นสอ่ื สาร นักเรียนสราง นกั เรยี นไดรับการ นักเรียนไดรบั นกั เรียนไดร ับ และใหเหตุผล ขอคิดเหน็ ทีม่ เี หตุผล ฝก ฝนในการพัฒนา แนวทางกวางๆ คาํ แนะนาํ ถงึ ขั้นตอน เกย่ี วกับการ และมหี ลกั การเพอ่ื วธิ ีการสอื่ สาร สําหรบั การสื่อสารท่ี และวิธกี ารสอ่ื สาร คนพบของตน สอ่ื สารคาํ อธบิ าย ชัดเจน ตรงประเดน็ มาก ปรมิ าณการจัดการเรยี นรโู ดยนักเรียน นอย นอ ย ปรมิ าณการชนี้ าํ โดยครหู รอื ส่ือการสอน มาก  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ป การจดั การเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ งกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายที่บอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอ สรปุ แนวคดิ หรือคําอธิบายเหลาน้ีจะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พฒั นาความรทู างวิทยาศาสตรส ําหรับนักเรียนในระดบั ประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณที่ครูจัดใหกับนักเรียน ความสามารถของนักเรียนในการสังเกตและการส่ือความหมายในสิ่งท่ี สังเกตของนักเรียนในระดับนี้คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรและแนวคิดทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเริ่มท่ีจะเขาใจวาวิทยาศาสตร คืออะไร วิทยาศาสตรทํางานอยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรจากการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเร่ืองราวเกย่ี วกบั นักวทิ ยาศาสตร และจากการอภปิ รายในหอ งเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซ่ึงกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากข้ึน สามารถนําความรูมาใชเพ่ือกอใหเกิดความคาดหวังเก่ียวกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียน ในระดับนี้ ควรเนนไปท่ีทักษะการตั้งคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลกั ฐานท่ปี รากฏ และการสอ่ื ความหมายเกี่ยวกบั ความคดิ และการสาํ รวจตรวจสอบของตนเองและของ นกั เรยี นคนอนื่ ๆ นอกจากน้ีเร่ืองราวทางประวัติศาสตรสามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับนี้ควรมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณ เก่ยี วกับพยานหลกั ฐานและความสมั พันธร ะหวา งพยานหลกั ฐานกบั การอธบิ าย การเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรของนักเรียนแตละระดับชั้นมีพัฒนาการเปน ลาํ ดบั ดงั น้ี นกั เรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 สามารถตั้งคําถาม บรรยายคําถามดวยคําพูด และเขียน เก่ียวกับคําถาม เขาสามารถสํารวจตรวจสอบคําถาม และรวบรวมพยานหลักฐานจากการสังเกต การสังเกต ของเขาจะมีรายละเอียดมากขึ้นและมีความสัมพันธกับคําถามท่ีมีอยู นักเรียนสามารถบันทึกขอมูลในสิ่งท่ี สังเกตและจากประสบการณของเขา นักเรียนควรไดรับโอกาสในการฝกทักษะเหลาน้ีโดยผานการสํารวจ ตรวจสอบในหองเรียน นักเรียนควรไดรับโอกาสในการมองหาพยานหลักฐานและสังเกตแบบแผนท่ีเกิดขึ้น การอภิปรายในช้ันเรียนเพ่ือแลกเปล่ียนพยานหลักฐานและความคิดควรไปดวยกันกับการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหนักเรียนไดใชความสามารถท่ีเกิดข้ึนในการทบทวนความคิดที่ตั้งอยูบนพยานหลักฐานใหม เร่ืองราว ตางๆ ที่เก่ียวกับนักวิทยาศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนในระดับช้ันน้ีเรียนรูวา นักวิทยาศาสตรมีความคิด สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ผ คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 สรา งสรรคแ ละมคี วามอยากรอู ยากเหน็ และเขาสามารถเรียนรูรวมกันและแลกเปล่ียนความคิดของกันและกัน โดยผานเร่อื งราวตางๆทีป่ รากฏ นักเรียนสามารถเรียนรูวาทกุ คนสามารถเรียนรวู ทิ ยาศาสตรไ ด นักเรียนในระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 สามารถพัฒนาความสามารถในการออกแบบและดําเนินการ สํารวจตรวจสอบเพื่อตอบคําถามที่ไดต้ังไว เขาควรไดรับการกระตุนในการวาดภาพส่ิงที่สังเกตไดและ ส่ือความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ีสังเกต เขาควรไดรับคําแนะนําในการใชการสังเกตเพ่ือสรางคําอธิบายท่ี มีเหตุผลในการตอบคําถามของตัวเอง การอานและการอภิปรายเรื่องราวตางๆ วาวิทยาศาสตรคืออะไร และ วิทยาศาสตรทํางานไดอยางไร เหลาน้ีลวนเปนกลวิธีที่มีประสิทธิภาพที่จะทําใหนักเรียนเรียนรูธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และสามารถชว ยนําเสนอแนวคิดเชงิ วิทยาศาสตรใ หม ๆ ดวย นักเรียนในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ในระดับนีค้ รูสามารถสรางความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ ส่ิงตาง ๆ รอบตัว โดยการใหนักเรียนไดต้ังคําถามท่ีสามารถตอบไดโดยการใชฐานความรูทางวิทยาศาสตรและ การสังเกตของตัวนักเรียนเอง นักเรียนสามารถทํางานในกลุมแบบรวมมือเพ่ือทําการสํารวจตรวจสอบท่ี เร่ิมตนจากคําถามและกระบวนการที่นําไปสูการคนหาขอมูลและการส่ือความหมายเก่ียวกับคําตอบของ คําถามน้ันๆ ครูควรเนนใหนักเรียนสังเกตอยางละเอียดถ่ีถวนและสรางคําบรรยายและคําอธิบายจากสิ่งที่ สังเกต ควรนําเสนอตัวอยางทางประวัติศาสตรท่ีนาสนใจของความแตกตางระหวางนักวิทยาศาสตรหญิงและ ชายท่ีทํางานในชุมชนวิทยาศาสตรจากเร่ืองราวและวีดิทัศน ตัวอยางเหลาน้ีสามารถใหขอมูลเก่ียวกับวา วิทยาศาสตรคอื อะไรและวทิ ยาศาสตรทํางานอยา งไร นกั เรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4 ควรไดรับโอกาสท่ีจะพัฒนาและทําการทดลองอยางงาย ๆ ท่ีมีการเปล่ียนแปลงตัวแปรเพียงตัวเดียวในแตละครั้งที่ทําการทดลอง นักเรียนอาจตองการคําแนะนําบางใน การทดลอง ครูจึงควรเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีจะชวยเขาใหเหตุผลเกี่ยวกับการสังเกต การส่ือ ความหมายกับคนอื่น ๆ และวิจารณการทํางานของตนเองและของคนอ่ืน ๆ โดยผานกิจกรรมที่ลงมือ ปฏิบัติการทดลองและการอภิปราย นักเรียน สามารถเรียนรูถึงความแตกตางระหวางการสังเกตและการลง ความคิดเห็น (การตีความหมายส่ิงท่ีสังเกตได) ขณะที่นักเรียนสํารวจตรวจสอบคําถาม นักเรียนตองการ คาํ แนะนําในการคนหาแหลง ขอมลู ท่เี ชื่อถอื ไดและบูรณาการขอมูลเหลานั้นกับการสังเกตของตนเอง นักเรียน ควรอานเร่อื งราวตาง ๆ และดูวดี ทิ ัศนเกยี่ วกบั ตัวอยา งทางประวตั ศิ าสตรข องนักวิทยาศาสตรชายและหญิงที่ได ชวยพัฒนาวิทยาศาสตร นักเรียนควรมีสวนรวมในการอภิปรายเก่ียวกับวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตร ทาํ งานอยางไร และใครทาํ งานวทิ ยาศาสตร นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตองการคําแนะนําในการพัฒนาและนําการสํารวจ ตรวจสอบไปใช การสํารวจตรวจสอบน้ีตองทันสมัยและแสดงถึงความสัมพันธระหวางการอธิบายและ พยานหลกั ฐานทมี่ ี กจิ กรรมท่นี ักเรยี นทําใหคําถามชัดเจนชวยใหเขาพัฒนาความสามารถในการต้ังคําถามทาง วิทยาศาสตรท่ีทดสอบได นักเรียนควรไดรับโอกาสในการตีความหมายขอมูลและคิดอยางมีวิจารณญาณวา ใชหรือไมท่ีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือไมสนับสนุนคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตัวอยางทางประวัติศาสตร สามารถนํามาใชเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่วา  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฝ วทิ ยาศาสตรคือความมานะอุตสาหะของมนษุ ยและของคนในชุมชนวิทยาศาสตร และมนุษยจะไดผลประโยชน จากความรทู ีเ่ พิ่มขนึ้ โดยผานทางวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ควรเนนการสํารวจตรวจสอบที่ทาทายคําอธิบายและ ความเขา ใจในปจ จบุ นั ของพวกเขา นักเรียนในระดับน้ีควรดําเนินการสํารวจตรวจสอบที่เนนการหาคําอธิบาย ของคําถาม การสํารวจตรวจสอบเหลานี้จะพัฒนานักเรียนในเร่ืองทักษะการสังเกต การทดสอบความคิด การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ การมองหาแบบแผนของขอมูล การสื่อความหมายและการแลกเปล่ียน เรียนรูกับคนอ่ืน ๆ การฟงและการถามคําถามเกี่ยวกับคําอธิบายที่นําเสนอโดยคนอื่นๆ เมื่อนักเรียนไดพัฒนา ทักษะเหลาน้ี นกั เรียนเริ่มตนทจ่ี ะเขาใจวา นกั วิทยาศาสตรสรางคําอธิบายโดยอาศัยพยานหลักฐานจํานวนมาก วิทยาศาสตรเปดกวางสูแนวคิดใหม วิทยาศาสตรยอมรับความคิดใหมถาพยานหลักฐานช้ีวาความคิดใหมเปน คําอธิบายที่ดีท่ีสุด และพยานหลักฐานใหมอาจเปนสาเหตุใหเกิดการทบทวนความคิด การทําใหเกิดความ แตกตางระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถเริ่มตนไดในนักเรียนระดับน้ีถึงแมวาจะไมงายนัก สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ก็ตาม การมีสวนรวมในการออกแบบและการแกปญหาเปน พื้นฐานท่ีทําใหเขาใจถึงความเหมือน ความแตกตาง และความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสามารถชวยใหน ักเรียนเกิดการเรยี นรวู าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยตี า งกข็ ึน้ อยูก ับกันและกัน การใชกรณี ตัวอยางและเรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนเขาใจวาชุมชนวิทยาศาสตรมีหลากหลาย นักวิทยาศาสตรจํานวนมากทํางานเปนทีม และนักวิทยาศาสตรทั้งหมดสื่อสารกันและกันในเร่ืองงานวิจัย พยานหลักฐาน และคําอธิบายของพวกเขา โดยผานท้ังตัวอยางทางประวัติศาสตรและตัวอยางสมัยใหม ครู สามารถแสดงใหนักเรียนเห็นวานักวิทยาศาสตรชายและหญิงไมวาจะมาจากภูมิหลังทางเชื้อชาติ หรือ วัฒนธรรมท่ีแตกตางกันสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร และวิทยาศาสตรก็คือ ความมานะ พยายาม และความอุตสาหะของมนษุ ยและคนในชุมชนวทิ ยาศาสตรท ี่มีพน้ื ฐานของความซื่อสัตยทางสติปญญา ความสงสยั ใครร ู และใจกวางตอ แนวคิดใหม สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

พ คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรูวิทยาศาสตร แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศกั ราช 2545 ท่เี นนผูเ รยี นเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหผ ูเรียนคดิ และลงมอื ปฏิบตั ดิ วยกระบวนการท่หี ลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็ม ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หอ งเรียน เพราะสามารถทําใหผ สู อนประเมินระดบั พฒั นาการการเรยี นรขู องผูเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กจิ กรรมศกึ ษาคนควา กจิ กรรมศกึ ษาปญ หาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ ตามในการทํากิจกรรมเหลาน้ีตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ชิน้ เดียวกันไดเสรจ็ ในเวลาที่แตกตางกัน และผลงานท่ีไดก็อาจแตกตางกันดวย เม่ือนักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีนักเรียนไดทําและผลงานเหลาน้ีตองใช วิธีประเมินท่ีมีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคิดทแี่ ทจรงิ ของนกั เรียนได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณต า ง ๆ ทีส่ อดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพื่อจะไดขอมูลท่ี มากพอท่จี ะสะทอนความสามารถทแ่ี ทจ รงิ ของนกั เรียนได จุดมงุ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพ่อื คน หาและวนิ ิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญ ในการสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพื่อเปน แนวทางใหครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยา งเตม็ ศกั ยภาพ 2. เพื่อใชเปน ขอมลู ยอนกลับใหก ับนักเรยี นวา มีการเรยี นรอู ยางไร 3. เพื่อใชเ ปนขอมลู ในการสรปุ ผลการเรยี น และเปรยี บเทียบระดบั พัฒนาการดานการเรยี นรูข องนกั เรยี น แตล ะคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพือ่ ปรบั ปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อตดั สินผลการเรยี นการสอน การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพ่ือบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบาง การประเมินแบบน้ีสามารถ บง ชี้ไดวา นักเรยี นคนใดตอ งการความชว ยเหลือเปน พเิ ศษในเร่ืองท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นักเรียนอีกดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงท่ีมีการเรียนการ  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฟ สอน การประเมินแบบน้ีจะชวยครูบงชี้ระดับท่ีนักเรียนกําลังเรียนอยูในเร่ืองที่ไดสอนไปแลว หรือบงช้ีความรู ของนกั เรียนตามจดุ ประสงคการเรียนรูท่ีไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับ ครวู า เปน ไปตามแผนการทวี่ างไวหรือไม ขอมูลที่ไดจากการประเมินแบบนไ้ี มใชเพ่ือเปาประสงคในการใหระดับ คะแนน แตเ พ่อื ชว ยครใู นการปรับปรงุ การสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณต า งๆ ท่ีจะใหก บั นักเรยี นตอไป การประเมนิ เพ่อื ตัดสินผลการเรยี นการสอน เกิดขน้ึ เม่ือสิน้ สดุ การเรียนการสอนแลว สว นมากเปน “การสอบ” เพ่ือใหระดับคะแนนกับนักเรยี น หรือเพ่ือใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงชี้ ความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน การประเมินแบบน้ีถือวาสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผบู รหิ าร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตกไ็ มใชเปนการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตองระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมในการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนเพ่ือใหเกิดความสมดุล ความ ยตุ ิธรรม และเกิดความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับส่ิงอางอิง สวนมากการประเมิน มักจะอางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุม หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุมน้ีจะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” แตในหลายบริบท กลุม อางอิงหรือกลุมเปรียบเทียบน้ีจะมีความตรงและเหมาะสม อยางไรก็ตาม การประเมินแบบอิงกลุมนี้จะมีนักเรียน ครึ่งหน่ึงท่ีอยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑท่ีตั้งเอาไวโดยไมคํานึงถึงคะแนนคนอื่นๆ ฉะน้ัน จุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกใหทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวา บรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยที่นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสิน วาประสบผลสําเร็จก็ตอเม่ือ นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละช้ัน หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว ขอมูลที่ใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนสามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรือ อิงเกณฑ เทาที่ผานมาการประเมนิ เพื่อตัดสินผลการเรยี นการสอนจะใชการประเมินแบบอิงกลุม แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู การเรียนรจู ะบรรลตุ ามเปา หมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท่ีวางไวได ควรมแี นวทางดังตอไปน้ี 1. วัดและประเมินผลทั้งความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยมในวทิ ยาศาสตร รวมทั้งโอกาสในการเรยี นรูของนักเรยี น 2. วธิ ีการวัดและประเมินผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูท่ีกําหนดไว 3. เก็บขอมลู ท่ีไดจากการวดั และประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตอ งประเมนิ ผลภายใตข อมลู ที่มีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนาํ ไปสูการแปลผลและลงขอสรุปที่สมเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลตองมีความเที่ยงตรงและเปนธรรม ท้ังในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ภ คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 วธิ ีการและแหลง ขอมูลทใี่ ชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพือ่ ใหการวัดผลและประเมนิ ผลไดสะทอนความสามารถที่แทจ ริงของนักเรยี น ผลการประเมินอาจ ไดม าจากแหลง ขอมูลและวิธกี ารตา งๆ ดงั ตอไปนี้ 1. สังเกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรือรายกลมุ 2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท้ังแบบเปน ทางการและไมเปน ทางการ 4. บนั ทกึ ของนักเรียน 5. การประชมุ ปรึกษาหารอื รว มกันระหวางนักเรยี นและครู 6. การวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ 7. การวัดและประเมินผลดา นความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรโู ดยใชแ ฟมผลงาน  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ม ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเน้อื หาและกิจกรรม ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เลม 1 กับตวั ช้ีวดั กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนว ยการ ช่ือกิจกรรม เวลา ตวั ชว้ี ดั เรยี นรู (ชัว่ โมง) - หนวยที่ 1 บทที่ 1 เรียนรแู บบนักวิทยาศาสตร 2 • ระบุชอ่ื บรรยาย ลกั ษณะและบอก การเรยี นรูส่งิ เรอื่ งท่ี 1 การสืบเสาะหาความรู 2 หนา ทขี่ องสวน ตางๆ ของรางกาย ตา ง ๆ กจิ กรรมที่ 1 จมหรอื ลอย 2 มนุษย สตั ว และ พืช รวมท้ังบรรยาย รอบตัว เรอ่ื งท่ี 2 การสังเกตและการลงความเห็นจากขอมูล 2 การทําหนาที่รวมกนั ของสวนตาง ๆ ของ กจิ กรรมที่ 2 การสังเกตและการลง 3 รางกายมนุษยใ น การทํากจิ กรรมตา ง ความเห็นจากขอมลู ทําไดอยา งไร 1 ๆ จากขอมูลท่ี รวบรวมได เรอื่ งท่ี 3 การจําแนกประเภท 1 • ตระหนักถึง กิจกรรมท่ี 3 จําแนกสง่ิ ของไดอยางไร 1 ความสําคญั ของ สว นตา ง ๆ ของ เรื่องท่ี 4 การพยากรณ 1 กจิ กรรมท่ี 4 พยากรณไ ดอยางไร 2 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 เรยี นรแู บบนกั วิทยาศาสตร หนวยที่ 2 ตัว บทท่ี 1 รา งกายของเรา 1 เรา สตั ว และ เรอ่ื งท่ี 1 สว นตา ง ๆ ของรา งกาย 1 พชื รอบ กิจกรรมท่ี 1.1 สว นตาง ๆ ของรางกายเรา 3 ตัวเรา มอี ะไรบา ง 3 กิจกรรมท่ี 1.2 สว นตาง ๆ ของรา งกายทํา 2 หนาท่อี ะไร กจิ กรรมทายบทท่ี 1 รางกายของเรา 1 1 บทท่ี 2 สัตวและพชื รอบตวั เรา 2 เร่ืองที่ 1 สว นตา ง ๆ ของสตั วแ ละพืช 3 กิจกรรมที่ 1.1 มารจู ักสตั วก ันไหม 1 กจิ กรรมท่ี 1.2 มารูจ ักพชื กันไหม 2 เรอ่ื งที่ 2 บริเวณทส่ี ัตวและพชื อาศยั อยู 3 กิจกรรมที่ 2 สตั วและพืชอยูที่ใดบาง กิจกรรมทายบทท่ี 2 สัตวและพืชรอบตัวเรา สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ย คูม อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 หนว ยการ ชือ่ กิจกรรม เวลา ตัวชว้ี ัด เรียนรู (ชั่วโมง) รางกายตนเอง โดย 40 การดูแลสว นตา งๆ อยา ง ถูกตอ ง ให ปลอดภยั และรกั ษา ความสะอาดอยู เสมอ • ระบชุ ื่อพืชและสตั ว ทอี่ าศัยอยบู รเิ วณ ตาง ๆ จากขอมูลที่ รวบรวมได • บอกสภาพแวดลอ ม ที่เหมาะสมกับการ ดาํ รงชีวติ ของพืช และสัตวใ นบริเวณ ที่อาศยั อยู รวมจํานวนชว่ั โมง หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทใี่ ช และส่งิ ทตี่ องเตรยี มลวงหนานั้น ครสู ามารถปรบั เปล่ียนเพิ่มเติมไดต ามความ เหมาะสมของสภาพทองถ่ิน  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ร รายการวสั ดุอุปกรณวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ลําดับท่ี รายการ จาํ นวน/กลุม จาํ นวน/หอง จาํ นวน/คน 1 ถงั นํ้ากนลึก 1 ใบ 2 ลกู บอลพลาสติก 1 ลกู 1 อนั 3 ยางลบ 1 กอน 1 บาน 4 ชอ นสเตนเลส 1 คนั 1 เพลง 5 ชอ นพลาสตกิ 1 คนั 6 ไมบรรทดั เหล็ก 1 อัน 1 รปู 7 ดินนํา้ มนั 1 กอน 1 เร่ือง 8 แผนโฟม (ตดั เปนแผนขนาดเล็ก) 1 แผน 9 1 แผน 10 ฟองน้ํา (ตัดเปน แผน ขนาดเล็ก) 1 ใบ 11 ถุงกระดาษ ขนาดประมาณ 12 x 13 นวิ้ 12 ไมเสียบ 1 ถงุ ขา วโพดคั่วหรอื ของที่สามารถกินได และมีกลิน่ เพื่อใสใน 13 ถุงปริศนาประมาณ 1/3 ของถงุ 1 ชุด 14 กระดุมแบบตา ง ๆ 1 -2 กลอง 15 กระจก 16 รูปสวนตาง ๆ ทอ่ี ยูภายในรางกาย 1 ชนิด 17 1 ดอก 18 ดินสอสี 1 เลม 19 เพลง 3 อนั 20 อาหาร 21 ดอกไม 1 ชนิด 22 หนังสือ 23 แวน ขยาย 24 รปู สตั ว ตน พืชท่ตี ดิ บนกระดาษ A4 วีดทิ ศั นส ารคดีเกี่ยวกบั สัตวแ ละพืชท่ีอาศยั อยูในบริเวณ ตาง ๆ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

1 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ˹‹Ç·Õè 1 ¡ÒÃàÃÕ¹Ãʌ٠Ô觵‹Ò§ æ ÃͺµÑÇ ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนวยท่ี 1 การเรียนรสู งิ่ ตาง ๆ รอบตวั บท เร่อื ง กจิ กรรม ลาํ ดับการจดั การเรียนรู ตวั ช้วี ัด - บทท่ี 1 การเรียนรูแบบ เร่ืองที่ 1 การสืบเสาะหา กิจกรรมท่ี 1 จมหรือ • การสืบเสาะเปน การเรียนรู นักวทิ ยาศาสตร ความรู ลอย สิง่ ตาง ๆ หรือการคน หา คําตอบที่สงสยั เรอื่ งที่ 2 การสงั เกตและการ กิจกรรมที่ 2 การสังเกต • การสังเกต เปนการใช ลงความเห็นจาก และการลงความเห็นจาก ประสาทสัมผัสตาง ๆ โดย ขอมูล ขอมลู ทาํ ไดอยางไร มีตา หู จมูก ล้ิน ผิวหนัง ในการรบั สมั ผัส • การลงความเห็นจากขอมูล เ ป น ก า ร นํ า ค ว า ม รู ห รื อ ประสบการณมาอธิบายสิ่ง ทส่ี ังเกตได เ รื่ อ ง ท่ี 3 ก า ร จํ า แ น ก กิจกรรมท่ี 3 จําแนก • การจําแนกประเภท เปน ประเภท สง่ิ ของไดอ ยา งไร การจัดกลุมส่ิงตาง ๆ โดย ใชลักษณะท่ีเหมือนหรือ แตกตา งกัน เรื่องที่ 4 การพยากรณ กิจกรรมที่ 4 พยากรณ • การพยากรณ เปนการใช ไดอยางไร ข อ มู ล ค ว า ม รู ห รื อ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ที่ มี อ ยู ม า คาดการณสง่ิ ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ รว มคดิ รวมทํา

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 2

3 คูม ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 บทที่ 1 เรียนรแู บบนกั วิทยาศาสตร จุดประสงคการเรยี นรูประจาํ บท บทน้มี อี ะไร การสบื เสาะหาความรู การสืบเสาะ (inquiry) เม่อื เรยี นจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ เร่อื งที่ 1 จมหรอื ลอย 1. อธิบายและใชการสืบเสาะในการตอบคําถามที่ คาํ สําคัญ การสังเกตและการลงความเห็นจาก สงสยั กจิ กรรมที่ 1 ขอ มูล 2. อธิบายและใชทักษะการสังเกต การลงความเหน็ เรือ่ งที่ 2 การสังเกต (observing) จากขอมลู การจําแนกประเภท และการพยากรณ การลงความเหน็ จากขอมูล (inferring) ในการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร คําสาํ คญั การสังเกตและการลงความเห็นจาก ขอมูลทาํ ไดอยา งไร แนวคดิ สําคญั กิจกรรมท่ี 2 การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท (classifying) ความรูทางวิทยาศาสตรเกิดจากความสงสัยเกี่ยวกับ เรือ่ งที่ 3 จาํ แนกส่งิ ของไดอยางไร สิ่งตาง ๆ ในธ รรมช าติ เราสามารถเรียนรูแบบ คาํ สาํ คญั การพยากรณ นักวิทยาศาสตรไ ด โดยใชการสืบเสาะในการตอบคําถามที่ กิจกรรมที่ 3 การพยากรณ (predicting) สงสยั เรื่องที่ 4 พยากรณไดอยา งไร คาํ สาํ คญั สื่อการเรยี นรูและแหลงเรียนรู กิจกรรมที่ 4 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 1 หนา 1-24 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 1-27

คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 4 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1234 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต  S2 การวัด S3 การใชจ ํานวน S4 การจําแนกประเภท  S5 การหาความสมั พนั ธร ะหวาง  สเปซกับสเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทาํ และสือ่ ความหมายขอมูล S7 การพยากรณ  S8 การลงความเหน็ จากขอมลู   S9 การต้ังสมมตฐิ าน S10 การกาํ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร S11 การกาํ หนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอ สรุป S14 การสรา งแบบจาํ ลอง ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรางสรรค C2 การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ C3 การแกป ญหา C4 การสอ่ื สาร  C5 ความรวมมอื  C6 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

5 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น ครบู นั ทึกแนวคดิ ท่ีไดจ ากการฟงการสนทนาและการอภปิ ราย เพ่ือนําไปใชในการจดั การเรยี นรใู หส ามารถแกไ ขแนวคดิ คลาดเคล่อื นและตอยอดแนวคดิ ที่ถูกตอ ง แนวคิดคลาดเคล่อื น แนวคดิ ทถี่ ูกตอ ง การสงั เกตคือการมองดู การสงั เกตคือการใชประสาทสมั ผัสทั้ง การดู การดม การฟง การชิมรส และการสัมผสั เพอ่ื บอกลักษณะของส่งิ ตาง ๆ

คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 6 บทนีเ้ ร่มิ ตนอยา งไร (1 ชัว่ โมง) ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาซักถามเกี่ยวกับการเรียนรู เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให ส่ิงรอบตัว โดยอาจนําวัตถุปริศนามาใหนักเรียนสังเกต แลวถาม หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม นักเรียนวาถาพบสิ่งของหรือวัตถุท่ีนักเรียนไมเคยพบเห็นมากอน ตาง ๆ ในบทเรียนี้ นักเรยี นจะมีวธิ กี ารหาคําตอบหรือเรยี นรูเก่ยี วกับสง่ิ น้นั ๆ ไดอยางไร บา ง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) 2. ครูชักชวนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โดยอานหนังสือเรียน บทที่ 1 ของหนวยที่ 1 เร่ิมจากการอานชื่อ หนว ย ช่อื บท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ครูใชคําถามใน การอภิปรายวาเมื่อเรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถทําอะไรได (อธิบายและใชการสืบเสาะในการตอบคําถามท่ีสงสัย อธิบายและใช ทักษะการสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท และการพยากรณ ในการเรยี นรูว ิทยาศาสตร) 3. นกั เรยี นอานช่ือบท และแนวคิดสําคัญ จากหนังสือเรียนหนา 2 ครู ใชคาํ ถามในการอภิปรายวาในบทน้ีจะไดเรียนเรื่องอะไรบาง (การใช การสืบเสาะในการตอบคาํ ถามท่สี งสยั ) 4. นักเรียนอา นเนือ้ เรื่องในหนงั สอื เรียนหนา 2 ครูอาจใชวิธีฝกการอาน ท่เี หมาะสมกบั นักเรยี น จากน้นั ตอบคําถามเพือ่ ตรวจสอบความรูเดิม ของนกั เรยี นโดยใหน ักเรยี นรว มกนั อภิปราย ดังนี้ 4.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพบาง (นักเรียนตอบตามความ เขา ใจของตนเอง) 4.2 นักเรียนเคยสงสัยหรือไม ทําไมแมลงปอจึงบินได หรือทําไม ปลาจึงหายใจในน้ําได (นักเรียนตอบตามประสบการณของ ตนเอง) 4.3 นักเรียนจะมีวิธีการคนหาคําตอบที่ตนเองสงสัยไดอยางไรบาง (นกั เรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) 5. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียนในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 2 โดยอานช่อื หนวย ชอื่ บท

7 คมู ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การเตรยี มตวั ลวงหนา สาํ หรับครู เพ่ือจดั การเรียนรูในครง้ั ถัดไป 6. นักเรียนอานคําถาม ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับ การตอบคําถามแตละขอ จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวย ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดอาน ตนเอง จึงใหนักเรียนบันทึกคําตอบตามความเขาใจของตนเอง ซ่ึง เร่ืองท่ี 1 การสืบเสาะหาความรู ซ่ึง คําตอบของแตละคนอาจแตกตางกนั ได และอาจตอบถกู หรอื ผิดกไ็ ด มีเน้ือเรือ่ งเกยี่ วกับการสังเกตการเคลื่อนท่ี ของหอยทาก เพ่ือใหน กั เรียนเขาใจเน้ือหา 7. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบวานักเรียนมี ที่เรียนไดดีย่ิงข้ึน ครูควรเตรียมภาพ แนวคิดเกยี่ วกับการเรยี นรูแบบนักวิทยาศาสตรอ ยา งไรบาง หรืออาจ หอยทาก หรือวีดิทัศนเก่ียวกับหอยทาก สุมใหนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําตอบของตนเองในแตละขอ โดย มาเปนส่อื ประกอบการเรียนรู หรืออาจนํา ยังไมตองเฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบ ตัวหอยทากมาใหน กั เรยี นศึกษา อีกครง้ั หลงั เรยี นจบบทนีแ้ ลว ท้ังน้ีครูอาจบันทกึ แนวคิดคลาดเคล่ือน หรือแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน แลวนํามาออกแบบการจัดการ เรียนการสอนเพ่อื แกไขแนวคิดใหถ กู ตอ ง

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 8 แนวคาํ ตอบในแบบบันทึกกิจกรรม การสาํ รวจความรูกอนเรียน นักเรยี นอาจตอบคําถามถกู หรือผิดก็ไดข ้ึนอยูกบั ความรูเ ดิมของนักเรยี น แตเ ม่ือเรยี นจบบทเรียนแลว ใหน กั เรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถกู ตอง ดังตัวอยาง ตวั อยางรปู วาดนักวิทยาศาสตรใ นความคิดของนักเรยี น

9 คูมอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 10

11 คูม ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 เรื่องที่ 1 การสืบเสาะหาความรู ในเร่ืองนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเก่ียวกับการสืบเสาะที่ ใชในการหาความรูหรือคาํ ตอบในเรอ่ื งทส่ี งสัย จุดประสงคการเรยี นรู สังเกตและอธิบายวิธีการสืบเสาะเพ่ือตอบคําถามท่ี สงสัย เวลา 4 ชวั่ โมง วัสดุ อปุ กรณส ําหรบั ทาํ กจิ กรรม สอ่ื การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู ถังนํ้ากนลึก ลูกบอลพลาสติก ยางลบ ชอนสเตนเลส 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 1 หนา 4-7 ชอนพลาสตกิ ไมบรรทดั เหลก็ ดินนาํ้ มนั แผน โฟม ฟองนา้ํ 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 5-8

คูม ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 12 แนวการจดั การเรียนรู (120 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู (20 นาท)ี 1. ครูเริ่มตนการสอนโดยใหนักเรียนชมภาพหอยทาก หรือชมวิดีทัศน ในการตรวจสอบความรู ครู ชีวิตของหอยทากตามธรรมชาติ จากน้ันถามคําถาม ดังนี้ เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 นักเรียนรูจักสัตวในรูป/วีดิทัศนหรือไม (นักเรียนตอบตาม ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน ประสบการณข องตนเอง) ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.2 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบาง (นักเรียนตอบตามส่ิงท่ีตนเอง จากการอา นเน้อื เรอ่ื ง สังเกตเห็น เชน หอยทากมีตา มีเปลือก หอยทากเคล่ือนที่ไป อยา งชา ๆ) 1.3 หลังจากดูรูป/วีดิทัศนแลว นักเรียนมีคําถามเพิ่มเติมเก่ียวกับ สัตวในรูป/วีดิทัศนหรือไม และจะมีวิธีการใดบางในการหา คาํ ตอบ (นักเรยี นตอบตามความเขาใจของตนเอง) ขั้นฝก ทักษะจากการอาน (40 นาที) 2. นักเรียนอานหนังสือเรียนหนา 4 อานช่ือเรื่อง และคําถามคิดกอน อาน นักเรียนตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง ครูบันทึก คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบกับคําตอบหลัง การอา นเรอ่ื ง 3. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นักเรียนอานคําไมได ครูควรสอนการอานและใหนักเรียนอธิบาย ความหมายตามความเขาใจของตนเอง นอกจากน้ีครูแนะนําใหไปหา ความหมายของคําตาง ๆ ท่ีพบในเนื้อเรอ่ื ง 4. นักเรียนอานเน้ือเร่ืองตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรยี น จากนนั้ รวมกนั อภปิ รายตามแนวคําถาม ดังน้ี 4.1 หอยทากมลี ักษณะอยางไร (หอยทากมหี นวด ตา และบนลําตัวมี เปลือกแข็ง หอยทากมีการเคล่ือนทอ่ี ยา งชา ๆ)

13 คูมอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การเตรียมตัวลว งหนา สาํ หรบั ครู เพอ่ื จัดการเรยี นรใู นครงั้ ถดั ไป 4.2 จากเรอื่ งท่อี า น มีขอสงสัยใดเกิดข้ึนเก่ียวกับหอยทาก (หอยทาก เคลื่อนทไ่ี ดอยา งไร) ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา กิจกรรมท่ี 1 จมหรือลอย ผานการสังเกต 4.3 จากขอสงสัย เราสามารถใชวิธีใดบางในการหาคําตอบเก่ียวกับ ซึ่งกิจกรรมน้ีจะมีการนําส่ิงของตาง ๆ มา การเคลื่อนท่ีของหอยทาก (สังเกตการเคล่ือนที่ของหอยทากอีก ลอยนํ้า ดังนั้นครูควรเตรียมหาสถานที่ทํา หลายตวั สอบถามคนอืน่ ๆ วาสงั เกตไดอยา งเดียวกนั หรอื ไม) กจิ กรรมท่ีเหมาะสม และเตรียมผาหรือถัง รองนํา้ สําหรับใชร ะหวา งการทํากจิ กรรม ข้นั สรปุ จากการอาน (60 นาท)ี 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปจากเร่ืองท่ีอานวาการ สืบเสาะเปนการคนหาคําตอบหรือความอยากรูผานกระบวนการ ตางๆ เชน การต้ังคําถาม การรวบรวมขอมูลจากการสังเกต การ เปรียบเทียบคําตอบที่พบกับคําตอบของผูอื่น และการส่ือสารสิ่งที่ คน พบใหผ ูอ่ืนทราบ 6. นักเรียนตอบคําถามจากเรื่องที่อานในรูหรือยัง ในแบบบันทึก กิจกรรม หนา 5 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน ในรหู รอื ยังกับคําตอบท่ีเคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน จากนั้น ใหนักเรียนฝกเขียนคําวา การสืบเสาะ ในเขียนเปน ในแบบบันทึก กจิ กรรมหนา 5 8. ครูเนนย้ําเก่ียวกับคําถามทายเร่ืองท่ีถามวา เราจะสืบเสาะเพ่ือหา คําตอบในเรื่องที่สงสัยไดอยางไรบาง ครูบันทึกคําตอบของนักเรียน บนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบ จากการทํากจิ กรรมตอ ไป