Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:20:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ÇÔ·ÂÒÈÒʵÏคูม อื ครูรายวิชาพื้นฐาน àÅ‹Á ò ตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ช้วี ดั กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

คูมอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชวี้ ดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จัดทาํ โดย สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาํ ชีแ้ จง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถที่ ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีเช่ือมโยงความรูกับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรูและ การแกปญหาท่ีหลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปนี้ โรงเรียนจะตองใชหลักสูตร กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนท่ีเปนไป ตามมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้วี ัดของหลกั สูตรเพอื่ ใหโ รงเรยี นไดใ ชส ําหรับจัดการเรยี นการสอนในช้นั เรียน คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมนี้ สสวท. ไดพัฒนาข้ึน เพ่ือนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษา ปท ี่ ๑ เลม ๒ โดยภายในคมู อื ครปู ระกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวางเนื้อหาและกิจกรรมในหนังสือเรยี นกบั มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ท้ังการอาน การฝกปฏิบัติ การสํารวจตรวจสอบ การปฏิบัตกิ ารทดลอง การสบื คนขอ มลู และการอภิปราย โดยมีเปาหมาย ใหนักเรียนพัฒนาท้ังดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การสื่อสาร การแกปญหา ตลอดจน การนาํ ความรไู ปใชใ นชวี ิตประจําวนั อยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหง การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจาก คณาจารย ผูทรงคุณวฒุ ิ นักวิชาการ และครผู สู อน จากสถาบันการศึกษาตาง ๆ จึงขอขอบคุณไว ณ ท่ีน้ี สสวท. หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ เลม ๒ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ จะเปนประโยชนแกครูและผูเก่ียวของทุกฝาย ที่จะชวยใหการจัด การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดท่ีจะทําใหคูมือครูเลมน้ี สมบูรณย งิ่ ข้นึ โปรดแจง สสวท. ทราบดวย จักขอบคณุ ยง่ิ (ศาสตราจารยชูกจิ ลิมปจ าํ นงค) ผอู ํานวยการ สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

สารบญักระทรวงศึกษาธิการ หนา คาํ ช้แี จง เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร......................................................................................... ก คุณภาพของผูเรียนวทิ ยาศาสตร เมอื่ จบชนั้ ประถมศึกษาปที่ 3......................................................................... ข ทักษะทส่ี าํ คัญในการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ......................................................................................................... ค ผังมโนทศั น (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 1 เลม 2............................... ช ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง วิทยาศาสตร ป.1 เลม 2............................................................................. ซ ขอ แนะนําการใชคูมือครู.................................................................................................................................. ฌ การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรในระดับประถมศึกษา ............................................................................ ท การจดั การเรียนการสอนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร............................................................. ท การจดั การเรยี นการสอนทีส่ อดคลองกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร ................................................................. ผ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรวู ิทยาศาสตร............................................................................................. ฟ ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเน้อื หาและกิจกรรม ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1 เลม 2........................... ย กับตวั ชวี้ ดั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) รายการวัสดุอปุ กรณวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2................................................................................................... ล หนวยท่ี 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตัวเรา 1 ภาพรวมการจัดการเรียนรูประจาํ หนวยท่ี 3 สิง่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา..............................................................1 บทที่ 1 วสั ดุรอบตัวเรา..........................................................................................................................3 บทนีเ้ รมิ่ ตน อยางไร ..................................................................................................................................... 6 เร่อื งท่ี 1 วตั ถุและวัสดุ............................................................................................................................... 12 กจิ กรรมท่ี 1.1 ชนดิ ของวสั ดุมีอะไรบาง...................................................................................... 16 กิจกรรมที่ 1.2 วัสดแุ ตละชนิดมีสมบัตอิ ยางไร............................................................................ 27 เร่ืองท่ี 2 วสั ดุในชวี ิตประจําวนั .................................................................................................................. 41 กิจกรรมท่ี 2 วัตถตุ า ง ๆ ทําจากวัสดุอะไรบาง ............................................................................ 44 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 วสั ดรุ อบตวั เรา.......................................................................................................... 54 แนวคาํ ตอบในแบบฝกหัดทายบท 55

สารบญั หนา บทที่ 2 เสยี งในชวี ติ ประจําวนั 59 บทน้ีเร่ิมตน อยางไร 62 เรื่องท่ี 1 เสยี งรอบตัวเรา 66 กจิ กรรมที่ 1.1 เสยี งเกดิ ไดอยางไร 70 กจิ กรรมที่ 1.2 เสียงเคลอ่ื นที่ไปทิศทางใด 80 กิจกรรมทายบทที่ 2 เสียงในขวี ิตประจาํ วัน ................................................................................................ 91 แนวคําตอบในแบบฝกหัดทายบท 93 หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา 99 ภาพรวมการจดั การเรียนรปู ระจาํ หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 99 บทที่ 1 หนิ 101 บทน้เี ร่ิมตนอยางไร 103 เรอื่ งท่ี 1 ลกั ษณะของหิน 106 กิจกรรมท่ี 1 หินมีลักษณะอยางไร 111 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 หนิ 123 แนวคําตอบในแบบฝก หดั ทายบท 125 บทท่ี 2 ทอ งฟาและดาว 127 บทนีเ้ รม่ิ ตนอยางไร 130 เร่ืองท่ี 1 ดาวบนทอ งฟา 134 กจิ กรรมท่ี 1.1 มองเห็นดาวอะไรบางบนทอ งฟา 138 กจิ กรรมที่ 1.2 กลางวันดาวหายไปไหน 152 กิจกรรมทา ยบทท่ี 2 ทองฟาของเรา 165 แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทา ยบท 168 แนวคาํ ตอบในแบบทดสอบทา ยเลม 170 บรรณานกุ รม 175 คณะทาํ งาน 176

ก คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลท่ีไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด นนั่ คือใหไ ดท ัง้ กระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรูว ทิ ยาศาสตรใ นสถานศึกษามเี ปา หมายสาํ คัญ ดงั นี้ 1. เพือ่ ใหเ ขาใจแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรูพ้นื ฐานในวิทยาศาสตร 2. เพอื่ ใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร และขอจํากัดของวทิ ยาศาสตร 3. เพอ่ื ใหมีทกั ษะทีส่ ําคญั ในการสืบเสาะหาความรแู ละพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สภาพแวดลอม 5. เพื่อนําความรูในแนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมและการดํารงชวี ติ 6. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ แกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสือ่ สาร และความสามารถใน การประเมินและตดั สนิ ใจ 7. เพ่ือใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางสรา งสรรค  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ข คุณภาพของผเู รยี นวทิ ยาศาสตร เมื่อจบช้ันประถมศกึ ษาปที่ 3 นกั เรียนที่เรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ควรมีความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังน้ี 1. เขาใจลกั ษณะท่วั ไปของสิง่ มชี วี ิตและการดํารงชีวติ ของสิง่ มีชีวิตรอบตัว 2. เขาใจลกั ษณะทปี่ รากฏ ชนิดและสมบัตบิ างประการของวสั ดุทีใ่ ชทําวัตถุและการเปล่ียนแปลงของวัสดุ รอบตวั 3. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ พลงั งานไฟฟา และการผลติ ไฟฟา การเกดิ เสยี ง แสงและการมองเห็น 4. เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณข้ึนและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดิน และการใชประโยชน ลักษณะและความสําคัญของอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม 5. ต้ังคําถามหรอื กาํ หนดปญหาเก่ยี วกบั สง่ิ ทจ่ี ะเรยี นรูตามท่กี ําหนดใหหรอื ตามความสนใจ สังเกต สํารวจ ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวย การเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูดวยการเลาเร่ือง หรือดวยการแสดงทาทางเพื่อใหผูอื่น เขา ใจ 6. แกปญ หาอยางงา ยโดยใชขนั้ ตอนการแกปญหา มีทกั ษะในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เบื้องตน รกั ษาขอมลู สว นตวั 7. แสดงความกระตือรือรน สนใจท่ีจะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเรื่องที่จะศึกษาตามท่ี กาํ หนดใหหรอื ตามความสนใจ มสี ว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรับฟง ความคดิ เห็นผูอ น่ื 8. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย จนงานลุลว งเปน ผลสาํ เรจ็ และทํางานรว มกับผอู ่นื อยางมคี วามสุข 9. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษา หาความรเู พม่ิ เตมิ ทําโครงงานหรอื ชิ้นงานตามทก่ี าํ หนดใหห รอื ตามความสนใจ ‘ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ค คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ทกั ษะทส่ี าํ คัญในการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญที่ครูผูสอนจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนเม่ือมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่นๆ เพื่อนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ประกอบดว ย ทักษะการสังเกต (Observing) เปนความสามารถในการใชประสาทสมั ผัสอยา งใดอยางหน่ึง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผูสงั เกตลงไปดวย ประสาทสมั ผัสทง้ั 5 อยา ง ไดแก การดู การฟง เสยี ง การดมกล่นิ การชิมรส และการสัมผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเคร่ืองมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งตาง ๆ จากเคร่ืองมือที่เลือกใชออกมาเปน ตวั เลขไดถ กู ตอ งและรวดเรว็ พรอมระบุหนว ยของการวดั ไดอ ยางถกู ตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เก็บรวบรวมไวในอดตี ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปน ความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม สิ่งตาง ๆ ที่สนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หนง่ึ ของสง่ิ ตาง ๆ ท่ตี อ งการจาํ แนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนทท่ี ่ีวตั ถุครอบครอง ในทน่ี ี้อาจเปน ตาํ แหนง รปู รา ง รปู ทรงของวตั ถุ สิง่ เหลาน้อี าจมีความสัมพนั ธกัน ดงั นี้ การหาความสมั พันธร ะหวางสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ท่ี ท่ี วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสมั พันธระหวา งสเปซกบั เวลา เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สัมพันธกันระหวางพ้ืนท่ีที่วัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เมอ่ื เวลาผานไป  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ง ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคาํ นวณเพอื่ บรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชิงปริมาณของสงิ่ ที่สงั เกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปน ความสามารถในการนําผลการสงั เกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรอื มคี วามสัมพันธกนั มากขน้ึ จนงา ยตอการทาํ ความเขาใจหรอื เห็นแบบรปู ของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อส่ือสารใหผูอ ื่นเขา ใจความหมายของขอ มูลมากขึ้น ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนจะทําการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่ คาดการณไวหรือไมกไ็ ด ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของสงิ่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือท่ีเก่ียวของกับการทดลอง ใหเ ขาใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ท้ังตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน แตอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเก่ียวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตัวแปรทต่ี องควบคุมใหคงท่ี ซง่ึ ลว นเปนปจ จัยท่ีเกีย่ วของกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรตน สิง่ ทเ่ี ปน ตนเหตุทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลง จงึ ตอ งจดั (Independent Variable) สถานการณใหม ีสงิ่ น้แี ตกตางกนั ตัวแปรตาม สิ่งทเ่ี ปน ผลจากการจัดสถานการณบางอยางให (Dependent Variable) แตกตา งกัน และเราตอ งสงั เกต วัด หรือติดตามดู สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

จ คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ตวั แปรทตี่ องควบคุมใหค งท่ี สงิ่ ตา ง ๆ ทอ่ี าจสง ผลตอการจัดสถานการณ จึงตอ งจดั (Controlled Variable) สิง่ เหลา นใ้ี หเ หมอื นกันหรอื เทากัน เพื่อใหม ่ันใจวาผล จากการจัดสถานการณเกดิ จากตัวแปรตนเทา น้นั ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได ละเอยี ด ครบถวน และเทย่ี งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสมั พันธของขอมูลท้ังหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชสิ่งท่ีทํา ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณท่ีศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจในรูป ของแบบจาํ ลองแบบตาง ๆ ทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะที่จําเปนแหงศตวรรษท่ี 21 ที่สอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเนน ใหค รูผสู อนสงเสรมิ ใหนักเรียนมที ักษะ ดงั ตอ ไปน้ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ มีการคดิ อยางเปนระบบ วิเคราะห และประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณและกระบวนการเรียนรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง การแกปญหาท่ีไมคุนเคย หรือปญหาใหมได โดย อาจใชความรู ทักษะ วิธีการและประสบการณที่เคยรูมาแลว หรือการสืบเสาะหาความรู วิธีการใหมมาใช แกปญหาก็ได นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพ่ือทําความเขาใจมุมมองที่แตกตาง หลากหลายเพื่อใหไดวิธี แกป ญหาทด่ี ีมากขึน้ การส่อื สาร (Communications) หมายถงึ ความสามารถในการส่ือสารไดอ ยางชดั เจน เช่อื มโยง เรียบเรยี งความคดิ เเละมุมมองตา ง ๆ แลว ส่ือสารโดยการใชคาํ พดู ไมใชค ําพดู หรือการเขียน เพอ่ื ใหผ ูอ่ืนเขาใจ  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ฉ ไดห ลากหลายรปู แบบและวัตถุประสงคนอกจากนย้ี งั รวมไปถึงการฟง อยางมปี ระสิทธิภาพเพือ่ ใหเขา ใจ ความหมายของผูสงสาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง การแสดงความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุม ตาง ๆ ที่หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพ่ือให บรรลเุ ปาหมาย การทํางาน พรอ มท้ังยอมรับและแสดงความรับผิดชอบตองานที่ทํารวมกัน และเห็นคุณคาของ ผลงานท่ีพฒั นาขึน้ จากสมาชกิ แตละคนในทีม การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคท่หี ลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลน่ั กรอง ทบทวน วเิ คราะห และประเมินแนวคิด เพื่อปรับปรุงใหไดแนวคิดที่จะสงผลให ความพยายามอยางสรา งสรรคน เ้ี ปนไปไดม ากทีส่ ุด การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการสืบคน จัดกระทํา ประเมิน และส่อื สารขอ มูลความรตู ลอดจนรเู ทา ทนั ส่อื โดยการใชสือ่ ตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสมมปี ระสิทธภิ าพ สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ช คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ผงั มโนทศั น (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เลม 2 ประกอบดว ย ไดแก ไดแ ก  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ซ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง มาตรฐาน ว.๒.๑ อธิบายสมบัติที่สังเกตไดของ วสั ดทุ ีใ่ ชทาํ วัตถทุ ีเ่ ปนของเลน ของใช มีหลายชนิด เชน ผา แกว พลาสติก ยาง ไม วัสดุทีใ่ ชท าวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วัสดุแตละชนิดมีสมบัติที่สังเกตไดตาง ๆ เชน สี นุม แข็ง ชนิดเดียวหรือหลายชนิด ขรขุ ระ เรยี บ ใส ขนุ ยืดหดได บดิ งอได ประกอบกันโดยใชหลักฐาน เชงิ ประจกั ษ มาตรฐาน ว.๒.๑ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุม  สมบัติที่สงั เกตไดข องวสั ดุแตละชนิดอาจเหมอื นกัน ซึ่งสามารถนํามาใชในการ วสั ดุตามสมบัติท่ีสังเกตได จัดกลุม วัสดุได  วัสดุบางอยางสามารถนํามาประกอบกันเพ่ือทําเปนวัตถุตาง ๆ เชน ผาและ กระดุม ใชท าํ เส้อื ไมแ ละโลหะ ใชทาํ กระทะ มาตรฐาน ว.๒.๓ บรรยายการเกิดเสียงและทิศ เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วัตถุท่ีทําใหเกิดเสียงเปนแหลงกําเนิดเสียงซ่ึงมีท้ัง ทางการเคลือ่ นทข่ี องเสียงจาก แหลงกําเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหลงกําเนิดเสียงท่ีมนุษยสรางขึ้น เสียง หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ เคล่อื นทีอ่ อกจากแหลง กําเนิดเสยี งทกุ ทศิ ทาง มาตรฐาน ว.๓.๑ ระบุดาวท่ีปรากฏบนทองฟา บนทองฟามีดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ในเวลากลางวันจะมองเห็นดวง ในเวลากลางวัน และกลางคืน อาทิตยและอาจมองเหน็ ดวงจนั ทรบางเวลาในบางวัน แตไมสามารถมองเห็นดาว จากขอ มลู ทร่ี วบรวมได มาตรฐาน ว.๓.๑ อธิบายสาเหตุที่มองไมเห็น ในเวลากลางวนั ไมสามารถมองเหน็ ดาวไดเ นื่องจากแสงอาทิตยส วางกวาจงึ กลบ ดาวสวนใหญในเวลากลางวัน แสงของดาว สว นในเวลากลางคนื มองเห็นดาวและมองเหน็ ดวงจันทรเกอื บทกุ คนื จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ มาตรฐาน ว.๓.๒ อธิบายลักษณะภายนอกของ หนิ ท่อี ยูในธรรมชาติมีลักษณะภายนอกเฉพาะตัวทสี่ ังเกตได เชน สี ลวดลาย หินจากลักษณะเฉพาะตัวที่ นํา้ หนกั ความแข็ง และเน้ือหิน สังเกตได สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฌ คูม อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ขอ แนะนําการใชค ูมอื ครู คูมือครูเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรู นักเรียนจะไดฝ ก ทกั ษะจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ทั้งการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การ อภิปราย การทํางานรวมกัน ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนชางสังเกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบ ปญ หาตาง ๆ ไดดวยตนเอง ใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรูครู จึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูและมีทักษะจากการศึกษา หาความรูจ ากสื่อและแหลง การเรียนรตู าง ๆ และเพ่มิ เติมขอ มลู ท่ีถกู ตองแกนักเรยี น เพ่ือใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมน้ีมากท่ีสุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรูแ กนกลาง เปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึง่ กําหนดไวเฉพาะสว นทจี่ าํ เปนสําหรับเปนพื้นฐานเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน โดยสอดคลองกับสาระและความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน และในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระท่ีปรากฏอยูตาม สาระการเรียนรโู ดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม สําหรับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพิ่มสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบดวยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพ่ือเอื้อตอการจัดการเรียนรู บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิด สะเต็มศกึ ษา 2. ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจาํ หนว ย เปน ภาพรวมการจัดการเรยี นรูประจําหนวยมีไวเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู และตวั ชว้ี ดั ทจ่ี ะไดเ รียนในแตละกิจกรรมของหนวยน้ัน ๆ และเปนแนวทางใหครูผูสอนนําไปปรับปรุง และเพิ่มเตมิ ตามความเหมาะสม 3. จดุ ประสงคการเรียนรู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียน ทั้งสวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพื่อให นักเรียน เกิดการเรียนรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใหม มีทักษะในการใชเ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยูในสังคมไทยไดอ ยา งมีความสุข  สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ญ 4. บทนม้ี อี ะไร เปนสวนท่ีบอกรายละเอียดในบทน้ัน ๆ ซึ่งประกอบดวยชื่อเร่ือง คําสําคัญ และชื่อกิจกรรม เพ่ือ ครจู ะไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตละบท 5. สอื่ การเรยี นรูและแหลง เรยี นรู เปนสวนทีบ่ อกรายละเอยี ดส่อื การเรยี นรูและแหลงเรียนรูท่ีตองใชสําหรับการเรียนในบท เร่ือง และ กจิ กรรมนั้น ๆ โดยสือ่ การเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต ส่ือสิ่งพิมพ ส่ือโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตรเพอ่ื เสรมิ สรา งความมัน่ ใจในการสอนปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตรสําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนทักษะท่ีนักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพื่อใหท นั ตอการเปล่ยี นแปลงของโลก สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฎ คูมอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ตัวอยา งวดี ิทัศนป ฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรเ พอื่ ฝก ฝนทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต า ง ๆ มดี ังน้ี รายการตวั อยางวีดิทัศน ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code วทิ ยาศาสตร ปฏิบตั ิการ ทางวิทยาศาสตร วีดทิ ัศน การสงั เกตและการลง การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115 ความเหน็ จากขอมูล ความเห็นจากขอมลู ทําไดอ ยางไร วดี ิทศั น การวัดทาํ ไดอยา งไร การวัด http://ipst.me/8116 วีดิทศั น การใชต วั เลขทาํ การใชจ ํานวน http://ipst.me/8117 ไดอยา งไร วดี ทิ ัศน การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาํ ไดอยา งไร วดี ทิ ัศน การหาความสัมพนั ธ การหาความสัมพันธ http://ipst.me/8119 ระหวา งสเปซกับสเปซ ระหวา งสเปซกบั สเปซ http://ipst.me/8120 ทาํ ไดอยา งไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดิทศั น การหาความสัมพันธ การหาความสัมพันธ ระหวา งสเปซกับเวลา ระหวา งสเปซกับเวลา ทาํ ไดอยา งไร วีดิทศั น การจัดกระทาํ และสอ่ื การจดั กระทําและสือ่ ความหมายขอมูล ความหมายขอมลู ทาํ ไดอยางไร วดี ิทศั น การพยากรณทาํ ได การพยากรณ อยา งไร  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ฏ รายการตัวอยา งวดี ิทศั น ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏบิ ัติการ วทิ ยาศาสตร http://ipst.me/8123 ทางวิทยาศาสตร การทดลอง วีดทิ ัศน ทาํ การทดลองได อยา งไร วดี ิทัศน การต้ังสมมติฐานทําได การตงั้ สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 อยางไร วีดิทัศน การกําหนดและ การกาํ หนดและควบคุมตวั http://ipst.me/8125 ควบคมุ ตวั แปร และ แปร และ การกาํ หนดนิยามเชงิ การกําหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ตั ิการทาํ ได ปฏบิ ตั ิการ อยา งไร การตีความหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 วีดทิ ัศน การตีความหมาย ลงขอสรุป ขอมูลและลงขอสรุป ทําไดอยางไร การสรางแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 วีดทิ ัศน การสรางแบบจาํ ลอง ทําไดอยางไร สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ฐ คูม ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 7. แนวคดิ คลาดเคล่ือน เปนความเชื่อ ความรู หรือความเขาใจท่ีเกิดข้ึนกับนักเรียน ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากประสบการณใน การเรียนรูที่รับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปความเขาใจของตนเองผิด แลวไมสามารถอธิบาย ความเขาใจน้ันได โดยเม่ือเรียนจบบทน้ีแลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันใหเปนแนวคิดที่ ถกู ตอง 8. บทนเี้ ริม่ ตนอยางไร เปนแนวทางสําหรับครูในการจดั การเรยี นรูวิทยาศาสตรเ พือ่ สง เสรมิ ใหนักเรยี นรูจักคดิ ดวยตนเอง รูจกั คนควาหาเหตุผล โดยครูกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ และใหนักเรียนตอบ คําถามสํารวจความรกู อ นเรียน จากน้นั ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนโดยครูยังไมเฉลยคําตอบ ท่ถี กู ตอง เพอื่ ใหนักเรยี นไปหาคําตอบจากเรอ่ื งและกจิ กรรมตาง ๆ ในบทน้นั 9. เวลาที่ใช เปนการเสนอแนะวาในแตละสวนควรใชเวลาประมาณก่ีช่ัวโมง เพื่อชวยใหครูผูสอนไดจัดทํา แผนการจดั การเรียนรไู ดอ ยา งเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปล่ียนเวลาไดตามสถานการณและ ความสามารถของนักเรยี น 10. วสั ดุอปุ กรณ เปนรายการวัสดุอุปกรณท่ีใชท้ังหมดในการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุส้ินเปลือง อุปกรณ สาํ เร็จรปู อุปกรณพืน้ ฐาน หรืออ่นื ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สําหรับครู เพ่ือจัดการเรยี นรูในครั้งถัดไป เปนการเตรียมตวั ลว งหนาสําหรบั ครูสาํ หรับการจัดการเรียนรูในครั้งถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ เครื่องมือตาง ๆ ท่ีตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพท่ีใชการไดดีและมีจํานวนที่เพียงพอกับ นักเรียน โดยอาจมีบางกิจกรรมตองทําลวงหนาหลายวัน เชน การเตรียมถุงปริศนาและขาวโพดคั่ว หรอื ส่งิ ที่กนิ ได ขอเสนอแนะเพมิ่ เตมิ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเปนรูปธรรม จึงควรจัดการเรียนการสอนท่ี มุงเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติหรือทําการทดลองซ่ึงเปนวิธีหน่ึงที่นักเรียนจะไดมีประสบการณตรง ดังนั้น ครผู ูสอนจึงตอ งเตรยี มตัวเองในเร่อื งตอ ไปนี้ 11.1 บทบาทของครู โดยครูจะตองเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเปนผูช้ีนําหรือผูถายทอด ความรูเปนผูชวยเหลือ สงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและ แหลงการเรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลที่ถูกตองแกนักเรียน เพ่ือนําขอมูลเหลานั้นไปใช สรา งสรรคความรูของตนเอง  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ฑ 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน โดยครูควรเตรียมนักเรียนใหพรอมอยูเสมอในการทํา กิจกรรมตา ง ๆ บางครัง้ นักเรยี นไมเขา ใจและอาจจะทาํ กิจกรรมไมถูกตอง ดังน้ันครูจึงตอง เตรียมตวั เอง โดยทาํ ความเขาใจในเร่ืองตอ ไปน้ี การสืบคนขอมูลหรือการคนควาเปนการหาความรูดวยตนเอง โดยวิธีการตาง ๆ เชน การสอบถามจากผูรูในทองถ่ิน การดูจากรูปภาพแผนภูมิ การอานหนังสือหรือเอกสาร เทาท่ีหาได น่ันคือการใหนักเรียนเปนผูหาความรูและพบความรูหรือขอมูลดวยตนเอง ซ่ึง เปนการเรยี นรวู ธิ ีแสวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน การใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจใหวาดรูป หรือตัด ขอความจากหนังสือพิมพ แลว นาํ มาตดิ ไวใ นหอ ง เปนตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออ่ืน ๆ เพ่ือสรางองคความรูเปน สิ่งสําคัญย่ิงตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูผูสอนสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดท้ังใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือท่ีบาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง ซ่ึงอาจดัดแปลงจากส่ิงของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติมาทํากิจกรรมได ขอสําคัญ คือ ครูผูสอนตองใหนักเรียนทราบวา ทาํ ไมจึงตองทาํ กิจกรรมน้ัน และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจากการทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซ่ึงจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพรอมกับเกิดคานิยม คุณธรรม เจตคติทาง วิทยาศาสตรดวย 12. แนวการจดั การเรยี นรู เปนแนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีมุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิด ดว ยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรไปใช วิธีการจัดการเรียนรูท่ี สสวท. เห็นวาเหมาะสมที่จะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่ กําหนดไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบท่ีสําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสาํ รวจตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวางครูกับนักเรียนเพ่ือนําไปสูขอมลู สรุป ขอเสนอแนะเพ่มิ เตมิ นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามบริบทของ ตนเองใหบรรลุจุดมุงหมาย โดยจะคาํ นงึ ถึงเรอ่ื งตาง ๆ ดงั ตอไปนี้ 12.1 การมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูของนักเรียน โดยครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมใน กจิ กรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การใชคําถาม การเสริมพลังมาใชใหเปนประโยชน ท่จี ะทาํ ใหการเรียนการสอนนา สนใจและมีชวี ติ ชวี า สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ฒ คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 12.2 การใชคําถาม โดยครูควรวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนํานักเรียนเขา สูบทเรียนและลงขอสรุปไดโดยท่ีไมใชเวลานานเกินไป ซึ่งครูควรเลือกใชคําถามท่ีมีความ ยากงา ยพอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนสิ่งจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครู ควรเนนย้าํ ใหนกั เรยี นไดส ํารวจตรวจสอบซา้ํ เพื่อนําไปสขู อ สรปุ ทถ่ี ูกตองมากขึ้นและเชือ่ ถือได 13. ขอเสนอแนะเพ่มิ เติม เปน ขอเสนอแนะสําหรับครูท่ีอาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณที่ เหมาะสม หรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพื่อลดขอผดิ พลาด ตัวอยา งตาราง และเสนอแหลง เรยี นรเู พื่อการคน ควาเพ่ิมเติม 14. ความรูเพมิ่ เตมิ สาํ หรับครู เปนความรูเพิ่มเติมในเน้ือหาท่ีสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกข้ึน เพื่อเพิ่มความรูและความมั่นใจ ใหกับครูในเรื่องที่จะสอนและแนะนํานักเรียนที่มีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วยั และระดับชัน้ 15. อยาลืมนะ เปนสว นที่เตอื นไมใหครเู ฉลยคําตอบท่ีถูกตองใหกับนักเรียน หรือครูรับฟงความคิดและเหตุผลของ นักเรียนกอน โดยครูควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองและใหความสนใจ ตอคําถามของนักเรียนทุกคน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรู ความเขาใจในเรอื่ งนั้นอยา งไรบาง 16. แนวการประเมินการเรยี นรู เปนการประเมินการเรียนรูของนักเรียนท่ีไดจากการอภิปรายในช้ันเรียน คําตอบของนักเรียน ระหวางการจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ ละทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน 17. กจิ กรรมทายบท เปนสว นที่ใหน ักเรยี นไดส รปุ ความรู ความเขา ใจ ในบทเรยี น และไดต รวจสอบความรใู น เนื้อหาทเ่ี รียนมาทงั้ บท หรอื อาจตอยอดความรูใ นเรอ่ื งนน้ั ๆ ขอแนะนําเพิ่มเติม 1. การสอนการอา น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตัวหนังสือ ถาออกเสียงดว ย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อา นรหสั อานลายแทง  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ณ เมื่อปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะที่ สาํ คญั จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแกน กั เรยี นเปนอยางมาก เนื่องจากการอานเปนกระบวนการสําคัญท่ีทําให ผูอานสรา งความหมายหรอื พฒั นาการวเิ คราะห ตีความในระหวางอาน ผูอา นจะตองรหู วั เรอื่ ง รูจุดประสงคการ อาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือที่อานและจําตองใชประสบการณเดิมท่ีเปน ประสบการณพ้ืนฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองที่อาน ท้ังนี้นักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานที่ แตกตางกัน ข้ึนกับองคป ระกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรือ ความสนใจเรื่องที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซ่ึง ครูจะตองพิจารณาท้ังหลักการอาน และความเขาใจในการอานของนักเรียน ท้ังน้ี สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการ สอนแบบตา ง ๆ เพ่ือเปน การฝก ทกั ษะการอา นของนักเรยี น ดงั นี้  เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) เปน การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบขอมูลที่ไดจากการ อานดวยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขน้ั ตอนการจัดการเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครจู ดั แบง เนื้อเร่อื งทจ่ี ะอา นออกเปนสวนยอ ย และวางแผนการสอนอา นของเนื้อเรือ่ งทงั้ หมด 2. ในการนาํ เขาสบู ทเรยี น ครูชกั ชวนใหน กั เรียนคดิ วา นกั เรยี นรอู ะไรเก่ียวกบั เรอ่ื งที่จะอานบาง 3. ครูใหนกั เรยี นสังเกตรปู ภาพ หัวขอ หรืออ่นื ๆ ที่เก่ียวกบั เนื้อหาทจ่ี ะเรยี น 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเร่ืองท่ีกําลังจะอาน ซ่ึงอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ยี วกบั อะไร โดยครพู ยายามกระตุนใหนกั เรยี นไดแสดงความคิดเห็นหรือคาดคะเนเน้ือหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนส่ิงที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภปิ รายแลวเขยี นแนวคิดของนกั เรยี นแตละคนไวบนกระดาน 6. นักเรียนอานเนื้อเร่ือง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนือ้ เร่ืองทีอ่ านหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเร่ืองที่อานมีเน้ือหาตรงกับท่ีคาดคะเนไวใหนักเรียน แสดงขอ ความที่สนับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเร่อื ง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยา งไรบาง 8. ทําซํ้าข้ันตอนเดิมในการอานเนื้อเรื่องสวนอื่น ๆ เมื่อจบทั้งเร่ืองแลว ครูปดเรื่องโดยการทบทวน เน้อื หาและอภิปรายถึงวธิ ีการคาดคะเนของนักเรียนท่ีควรใชส าํ หรับการอานเร่ืองอื่น ๆ  เทคนิคการสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) เปนการสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปน รปู ธรรมและเปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน นักเรียน ตอ งการรูอะไรเกย่ี วกับเรอื่ งทีจ่ ะอา น นกั เรียนไดเรยี นรูอะไรบา งจากเรื่องที่อาน) โดยมีข้ันตอนการจัดการเรียน การสอน ดังนี้ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ด คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 1. ครนู ําเขาสบู ทเรยี นดว ยการกระตนุ ความสนใจของนกั เรยี นเพือ่ เชื่อมโยงเขา สเู รื่องท่ีจะอาน เชน การ ใชค าํ ถาม การนําดวยรปู ภาพหรอื วีดิทัศนท่ีเกีย่ วกบั เนื้อเรือ่ ง 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายข้ันตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีข้ันตอน ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ขั้น K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนท่ีให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีจะอาน แลวบันทึกส่ิงท่ีตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตงั้ คําถามกระตุนใหน ักเรยี นไดแสดงความคดิ เห็น ขนั้ ท่ี 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ข้ันตอนท่ีใหนักเรียนตั้งคําถามเก่ียวกับส่ิงท่ีตองการรูเก่ียวกับเรื่องท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรยี นรวมกันกาํ หนดคําถาม แลวบันทกึ ส่ิงท่ตี อ งการรูล งในตารางชอ ง W ขน้ั ท่ี 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ขั้น L มาจาก learn (What we have learned) เปน ขั้นตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเน้ือเร่ือง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการอานมา จดั ลาํ ดับความสําคัญของขอมลู และสรุปเน้ือหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปเน้อื หา โดยการอภปิ รายหรอื ตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนกั เรยี นอาจรว มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับการใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรยี นการสอนการอาน  เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) เปนการสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือจะ ไดม าซึ่งแนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ เดิมของนกั เรยี น โดยมขี ้ันตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเรื่องท่ีนักเรียนควรรูหรือเรื่องใกลตัวของนักเรียน เพื่อชวยให นักเรยี นเขาใจถึงการจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเรื่องทจ่ี ะอานตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายเก่ียวกับการสอนแบบ QAR โดยครูควรช้ีแจงนักเรียนในการอานและต้ังคําถาม ตามหมวดหมู ไดแ ก คําถามที่ตอบโดยใชเน้ือหาจากสิ่งที่อาน คําถามท่ีตองคิดและคนควาจากส่ิงที่อาน คําถามท่ีไมม คี ําตอบโดยตรงในเน้ือหาซง่ึ นักเรียนใชความรูเดิมและสิ่งท่ีผูเขียนเขียนไว และคําถามที่ ใชความรูเ ดมิ ของนกั เรียนในการตอบคําถาม 3. นักเรยี นอานเนื้อเรื่อง ต้ังคําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรวมกันอภิปรายเพ่ือสรุปคําตอบ ของคําถาม 4. ครูและนักเรียนรว มกันอภิปรายเกย่ี วกับการใชเ ทคนคิ นด้ี วยตนเองไดอ ยางไร 5. ครแู ละนักเรียนอาจรวมกันอภปิ รายเก่ียวกบั การใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ต 2. การใชง านสื่อ QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาท่ีตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคล่ือนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคล่ือนท่ี) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลติ ภณั ฑข อง Apple Inc.) ขั้นตอนการใชงาน 1. เปด โปรแกรมสาํ หรบั อาน QR Code 2. เลอื่ นอุปกรณอ เิ ล็กทรอนิกส เชน โทรศพั ทเ คลอื่ นที่ แท็บเล็ต เพอื่ สองรูป QR Code ไดท ัง้ รปู 3. เปด ไฟลห รอื ลิงกที่ข้นึ มาหลงั จากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อุปกรณท ่ีใชอา น QR CODE ตอ งเปด Internet ไวเ พ่ือดึงขอมลู 3. การใชงานโปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ) โปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (AR) เปนโปรแกรมท่ีสรางข้ึนเพ่ือเปนสื่อเสริมชวยใหนักเรียน เขาใจเนื้อหาสาระของแตละชั้นปอยางเปนรูปธรรมมากข้ึน ซึ่งสําหรับระดับประถมศึกษาปท่ี 1 จะใชงานผาน โปรแกรมประยกุ ต “วทิ ย ป.1” ซึ่งสามารถดาวนโหลดไดท าง Play Store หรอื Apps Store **หมายเหตุ เน่ืองจากโปรแกรมมีขนาดไฟลที่ใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพ้ืนที่จัดเก็บไมเพียงพออาจ ตองลบขอมูลบางอยางออกกอนติดตั้งโปรแกรม ข้นั ตอนการติดตง้ั โปรแกรม 1. เขาไปที่ Play Store ( ) หรอื Apps Store ( ) 2. คน หาคําวา “วทิ ย ป.1” 3. กดเขาไปท่โี ปรแกรมประยุกตท ี่ สสวท. พฒั นา 4. กด “ติดตง้ั ” และรอจนติดต้ังเรียบรอ ย 5. เขา สโู ปรแกรมจะปรากฏหนา แรก จากน้ันกด “วิธกี ารใชงาน” เพื่อศึกษาการใชง านโปรแกรม เบอื้ งตน ดวยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธกี ารใชง านดว ยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปดหนังสือเรยี นหนา ที่มสี ัญลักษณ AR 7. สอ งรูปที่อยูบ รเิ วณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตาง ๆ ตาม ความสนใจ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ถ คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรในระดับประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกย่ี วกบั สิง่ ตา งๆ รอบตัว และเรยี นรูไดด ีที่สดุ ดวยการคน พบ จากการลงมอื ปฏิบตั ิดวยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา สวนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิด แบบรูปธรรมไปสูข้ันการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบ เขาดวยกันอยางไร และส่ิงเหลานั้นทํางานกันอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน คือ การใหโอกาสนักเรียนมีสวน รวมในการลงมือปฏิบัติ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ ตามดว ยการต้ังคําถามเพ่ือนําไปสูการอภิปราย มีการ แลกเปลี่ยนผลการทดลองดวยคําพูด หรือวาดภาพ และมีการอภิปรายเพ่ือสรุปผลรวมกัน สําหรับนักเรียนใน ระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลายตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบ รวมมือ ดังน้ันจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซึ่งจะเปนการสรางความสามัคคี และ ประสานสัมพนั ธร ะหวางนกั เรยี นในระดบั นดี้ ว ย การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนการสืบเสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัว อยางเปนระบบ และเสนอคําอธิบายเกี่ยวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสบื คน การทดลอง การสรา งแบบจําลอง นกั เรียนทุกระดับชน้ั ควรไดรับโอกาสในการสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรและพัฒนาความสามารถใน การคิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซ่ึงรวมท้ังการต้ังคําถาม การวางแผนและ ดําเนินการสืบเสาะหาความรู การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะห คําอธิบายทหี่ ลากหลาย และการสื่อสารขอ โตแยง ทางวิทยาศาสตร การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นนการสืบเสาะหาความรู เปน การจัดการเรียนการสอนท่ีใหนักเรียนมีสวนรวม ในกระบวนการทํานาย จัดกระทําและตีความหมายขอมูล และส่ือสารเกี่ยวกับผลท่ีไดโดยใชคําศัพททางวิทยาศาสตร วิธีการนี้มีศักยภาพสูงในการจูงใจนักเรียนและทําใหนักเรียนตื่นตัว เปนการกระตุนความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับ ส่ิงตางๆ รอบตัวนักเรียน และในขณะเดียวกันก็พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดวย การนําวิธีน้ีไปใชได อยา งประสบความสําเร็จ ตองอาศัยการเตรยี มตวั และการคิดลวงหนาของครูผูสอน การจัดการเรียนการสอนที่เนนการ สืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกันจากท่ีเนนครูเปนสําคัญไปจนถึงเนนนักเรียน เปนสาํ คญั ดังน้ี การสบื เสาะหาความรูแบบครเู ปน ผกู าํ หนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบ ท้ังครูและนักเรียนเปนผกู าํ หนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทํากจิ กรรมตามที่ครูกําหนด นกั เรียนพฒั นาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครู ต้งั ขึ้น นักเรยี นตง้ั คาํ ถามในหัวขอทค่ี รูเลอื ก พรอ มทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดว ยตนเอง  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ท การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและบอกวิธีการใหนักเรียนคนหาคําตอบ ครูชี้แนะ นักเรียนทุกข้ันตอนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน้ือหาบางเร่ืองในสาระการเรียนรูเหมาะที่จะใชการ สบื เสาะดวยวธิ ีน้ี โดยเฉพาะเร่อื งทีเ่ กยี่ วของกับคําถามตามมาตรฐานการเรียนรูที่ตองใชเคร่ืองมือทดลองพิเศษ เชน  พชื สญู เสยี นาํ้ โดยผา นทางใบใชหรือไม  อะไรบางที่จาํ เปนตอการเผาไหม  อะไรคอื ความสมั พันธร ะหวา งแรงและการเคลอื่ นที่ ประโยชนของการสบื เสาะหาความรูโดยวธิ ีน้คี ือ ทาํ ใหนักเรยี นคุนเคยกบั วธิ กี ารสืบเสาะหาความรู เพ่ือนําไปสู การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน่ืองจากนักเรียนจะไดรับการฝกฝนเทคนิคบางอยาง เชน การทดสอบ คา pH หรอื การคํานวณหาคาความหนาแนน ซ่ึงครูสามารถทราบลวงหนาถึงคําถามท่ีนักเรียนจะต้ังขึ้นเพื่อหาคําตอบ จึงทําใหครูมคี วามพรอ มในสิ่งท่ีตอ งอภปิ รายรวมกัน การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทางอาจไมไดทําใหนักเรียนมีสวนรวมทั้งหมดหรือไมได พัฒนาทักษะการคิดวิจารณญาณขั้นสูงเหมือนอยางสองรปู แบบถัดไป การสืบเสาะหาความรูแบบทั้งครูและนักเรยี นเปนผูก ําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ ใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลองดวยตัวเอง หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรูหลายหัวขอ สามารถใชการสืบเสาะหาความรูแบบนี้ คาํ ถามที่ครอู าจใชถ ามนักเรียน เชน ● จะเกดิ อะไรขึ้นกับบอลลนู ถาบอลลูนลอยจากบริเวณท่ีมีอากาศรอนไปสบู ริเวณที่มีอากาศเยน็ ● พืชโดยทัว่ ไปมีโครงสรา งอะไรท่ีเหมือนกนั ● จะเกดิ อะไรข้ึนเมื่อหยอนวตั ถทุ ่ีมีมวลตา งกนั ลงในนาํ้ การสืบเสาะหาความรแู บบทง้ั ครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางตองการใหนักเรียนคุนเคยกับข้ันตอน หลักของการสืบเสาะหาความรู ครูมีความรับผิดชอบในการเตรียมการประเมินที่เนนการสืบเสาะหาความรูและ ติดตามประเมินนักเรียน การสบื เสาะหาความรูแบบนกั เรียนเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Open Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีน้ีครูเปนผูจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน แตนักเรียนเปนผูตั้งคําถามและออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตัวเอง ตอไปน้ีเปนตัวอยางวัสดุอุปกรณท่ีครู จัดหาใหก บั นักเรยี น แลว ใหนกั เรียนตัง้ คําถามปญหาที่เก่ียวของกับวัสดุอปุ กรณทีจ่ ัดให เชน ● เทียนไข ไมข ดี ไฟ แผนกนั แสงท่ีแสงผา นไดตางกัน ● สงิ่ ของตางๆ หลายชนดิ ทีอ่ าจจมหรือลอยนํ้า ● ของแข็ง บีกเกอร น้าํ และแทงแกว คน ● ถุงที่มกี อ นหินขนาดตา ง ๆ 1 ถุง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ธ คูมอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 เน่อื งจากนักเรียนเปนผูออกแบบการทดลองตามคําถามท่ีต้ังขึ้นเอง จึงเปนการยากท่ีจะใชวิธีการน้ีกับ หัวขอเร่ืองตามมาตรฐานการเรียนรู ส่ิงสําคัญในการสืบเสาะหาความรูแบบน้ีคือ การท่ีนักเรียนเลือกหัวขอเร่ือง หลังจากการตรวจสอบวัสดุอุปกรณท่ีกําหนดมาให เพื่อใหประสบความสําเร็จกับการสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ ครูควรสามารถ จัดการเรียนการสอนไดดงั นี้ ● วางแผนการประเมินทีเ่ นน การสืบเสาะหาความรูอยางรอบคอบ ● สรางกฎระเบียบในหองเรียนในการทํางานรวมกันของนักเรียน และการใชวัสดุอุปกรณการ ทดลองไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ● ใหคําแนะนํากบั นกั เรยี นทีย่ ังสับสนเกยี่ วกบั การสบื เสาะหาความรูโ ดยวิธีนี้ ● เตรียมคาํ ถามหลงั จากการทาํ กจิ กรรมเพ่ือเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู การจัดการเรียนการ สอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางน้ี อาจทําใหครูตองเผชิญ ปญหาเฉพาะหนามากข้ึนกวา การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบครู เปน ผูกําหนดแนวทาง แตถาใชหัวขอที่เหมาะสมและมีการเตรียมบทเรียนอยางรอบคอบ วิธี น้ีสามารถทําใหท้ังนักเรียนและครูต่ืนตัว และยังเปนการใหโอกาสนักเรียนในการพัฒนา ทกั ษะการสบื เสาะหาความรแู ละการใหเหตผุ ลเชงิ วิทยาศาสตรอ ีกดว ย การสบื เสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรียน เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตรตามทห่ี ลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับท่ีนักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รูปแบบทหี่ ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอมของครแู ละนกั เรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Opened Inquiry) ท่ีนักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองต้ังแตการสรางประเด็นคําถาม การสาํ รวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายสิ่งท่ีศึกษาโดยใชข อ มลู (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ที่ ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเช่ือมโยงความรูท่ีเกี่ยวของหรือคําอธิบายอ่ืนเพื่อปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอื่น นอกจากนี้ ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูท่ีตนเองเปนผูกําหนด แนวทางในการทํากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครสู ามารถแนะนํานักเรียนไดต ามความเหมาะสม ในการจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมี ลักษณะสาํ คัญของการสืบเสาะ ดังนี้ 1. นักเรียนมสี ว นรวมในประเดน็ คําถามทางวิทยาศาสตร คําถามทางวิทยาศาสตรในท่ีนี้หมายถึงคําถาม ที่นําไปสูการสืบเสาะคนหาและรวบรวมขอมูลหลักฐาน คําถามท่ีดีควรเปนคําถามท่ีนักเรียนสามารถ หาขอ มลู หรอื หลักฐานเชิงประจักษเ พอ่ื ตอบคําถามนน้ั ๆ ได 2. นักเรียนใหความสําคัญกับขอมูลหลักฐานในการอธิบายและประเมินคําอธิบายหรือคําตอบ นักเรียน ตองลงมือทําปฏิบัติการ เชน สังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง เพื่อนําหลักฐานเชิงประจักษตาง ๆ มาเชื่อมโยง หาแบบรปู และอธบิ ายหรอื ตอบคําถามทศี่ ึกษา  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 น 3. นักเรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตรจากหลักฐานเชิงประจักษ โดยตองอยูบนพ้ืนฐานของเหตุผล ตองแสดงความสัมพันธชองขอมูลเชิงประจักษท่ีรวบรวมได สามารถจําแนก วิเคราะห ลงความเห็น จากขอ มูล พยากรณ ตั้งสมมตฐิ าน หรือลงขอ สรปุ 4. นักเรียนประเมินคําอธิบายของตนกับคําอธิบายอ่ืนๆ ท่ีสะทอนใหเห็นถึงความเขาใจแนวคิด ทางวิทยาศาสตร นักเรียนสามารถประเมิน (Judge) ขอมูลและหลักฐานตางๆ เพ่ือตัดสินใจ (Make Decision) วาควรเพิกเฉยหรือนําคําอธิบายนั้นมาพิจารณาและปรับปรุงคําอธิบายของตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถประเมินคําอธิบายของเพื่อน บุคคลอื่น หรือแหลงขอมูลอื่น แลวนํามา เปรยี บเทียบ เชอ่ื มโยง สมั พนั ธ แลวสรา งคําอธบิ ายอยา งมเี หตผุ ลและหลกั ฐานสนบั สนุน ซึ่งสอดคลอง กบั ความรูทางวทิ ยาศาสตรท ี่ไดร ับการยอมรบั แลว 5. นักเรียนส่ือสารการคนพบของตนใหผูอ่ืนเขาใจ นักเรียนไดสื่อสารและนําเสนอการคนพบของตนใน รูปแบบที่ผูอื่นเขาใจ สามารถทําตามได รวมท้ังเปดโอกาสใหไดมีการซักและตอบคําถาม ตรวจสอบ ขอมูล ใหเหตุผล วิจารณและรับคําวิจารณและไดแนวคิดหรือมุมมองอ่ืนในการปรับปรุงการอธิบาย หรอื วธิ ีการสบื เสาะคนหาคําตอบ แผนผงั การสบื เสาะหาความรู มสี วนรวมในคาํ ถาม ส่อื สารและใหเ หตุผล เก็บขอมูลหลักฐาน เช่อื มโยงส่งิ ท่พี บกับสงิ่ ทผี่ ูอนื่ พบ อธบิ ายส่งิ ที่พบ ภาพ วฏั จกั รการสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตรในหองเรยี น ในการจัดการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ บบสืบเสาะหาความรู ครูสามารถออกแบบการสอนใหเหมาะสม และสอดคลองกับเนื้อหาท่ีสอน สภาพหองเรียน ความพรอมของครูและนักเรียน และบริบทอ่ืนๆ การยืดหยุน ระดับการเรยี นรแู บบสบื เสาะหาความรสู ามารถอธิบายไดด ังตารางที่ 1 สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

บ คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ตารางท่ี 1 ลักษณะจาํ เปน ของการสืบเสาะหาความรใู นชั้นเรียนและระดับของการสบื เสาะหาความรู ลกั ษณะจําเปน ระดับการสบื เสาะหาความรู 1. นักเรียนมสี วนรว ม นักเรียนเปน ผูถาม นักเรียนเลอื กคําถาม นกั เรียนพิจารณา นักเรียนสนใจคาํ ถาม ในประเดน็ คาํ ถาม คําถาม และสรางคําถามใหม และปรบั คาํ ถามทค่ี รู จาก สอื่ การสอนหรือ ทางวิทยาศาสตร จากรายการคาํ ถาม ถามหรือคาํ ถามจาก แหลง อ่ืนๆ แหลงอ่นื 2. นกั เรยี นให นกั เรยี นกําหนด นกั เรยี นไดร ับการ นกั เรียนไดรบั ขอมลู นกั เรียนไดรบั ขอมลู ความสาํ คญั กับ ขอมลู ทจี่ าํ เปน ในการ ชี้นําในการเกบ็ เพ่ือนาํ ไปวเิ คราะห และการบอกเลา ขอ มูลหลกั ฐานท่ี ตอบคําถามและ รวบรวมขอ มลู ที่ เกี่ยวกบั การวเิ คราะห สอดคลองกับ รวบรวมขอมลู จําเปน ขอ มูล คาํ ถาม 3. นกั เรียนอธบิ ายส่งิ นกั เรยี นอธบิ ายสงิ่ ที่ นกั เรยี นไดร ับการ นกั เรยี นไดร ับ นักเรยี นไดร ับหลักฐาน ทศ่ี กึ ษาจาก ศึกษาหลงั จาก ชี้แนะในการสราง แนวทาง หรอื ขอมลู หลักฐานหรอื รวบรวมและสรุป คําอธิบายจากขอมลู ทเี่ ปน ไปไดเ พ่อื สราง ขอ มลู ขอมูล/หลักฐาน หลักฐาน คาํ อธิบายจากขอมลู หลกั ฐาน 4. นกั เรียนเชอ่ื มโยง นกั เรียนตรวจสอบ นกั เรยี นไดรับการ นกั เรยี นไดรบั การ นกั เรยี นไดรับการ คําอธิบายกับ แหลง ขอ มูลอื่นและ ชีน้ าํ เก่ยี วกบั แนะนําถึงความ เชอ่ื มโยงท้งั หมด องคความรทู าง เช่ือมโยงกับ แหลง ขอมลู และ เชือ่ มโยงทเี่ ปน ไปได วิทยาศาสตร คาํ อธบิ ายท่ีสรางไว ขอบเขตความรทู าง วิทยาศาสตร 5. นกั เรียนส่อื สาร นักเรยี นสรา ง นักเรียนไดร บั การ นกั เรียนไดร ับ นักเรยี นไดร ับ และใหเ หตผุ ล ขอคดิ เห็นท่ีมเี หตุผล ฝก ฝนในการพัฒนา แนวทางกวา งๆ คําแนะนาํ ถึงขน้ั ตอน เกย่ี วกบั การ และมหี ลกั การเพือ่ วิธีการสื่อสาร สําหรับการส่ือสารที่ และวธิ กี ารสอ่ื สาร คนพบของตน สื่อสารคาํ อธิบาย ชัดเจน ตรงประเด็น มาก ปริมาณการจัดการเรยี นรโู ดยนักเรยี น นอย นอย ปริมาณการชีน้ ําโดยครหู รือส่อื การสอน มาก  สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ป การจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลองกับธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรท่ีมีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายที่บอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอสรปุ แนวคิด หรอื คาํ อธบิ ายเหลาน้ีจะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พฒั นาความรูทางวทิ ยาศาสตรสําหรบั นกั เรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณที่ครูจัดใหกับนักเรียน ความสามารถของนักเรียนในการสังเกตและการส่ือความหมายในสิ่งที่ สังเกตของนักเรียนในระดับนี้คอย ๆ พัฒนาข้ึน ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรและแนวคิดทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เร่ิมที่จะเขาใจวาวิทยาศาสตร คืออะไร วิทยาศาสตรทํางานอยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรจากการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเร่อื งราวเกย่ี วกับนักวิทยาศาสตร และจากการอภิปรายในหองเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากขึ้น สามารถนําความรูมาใชเพ่ือกอใหเกิดความคาดหวังเก่ียวกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียน ในระดับน้ี ควรเนนไปที่ทักษะการตั้งคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลกั ฐานท่ีปรากฏ และการสื่อความหมายเกย่ี วกับความคิดและการสาํ รวจตรวจสอบของตนเองและของ นักเรียนคนอ่ืนๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับน้ีควรมีสวนรวมในกิจกรรมที่ชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณ เกีย่ วกับพยานหลกั ฐานและความสัมพนั ธระหวา งพยานหลักฐานกับการอธบิ าย การเรียนรูว ิทยาศาสตรข องนักเรยี นแตละระดับชน้ั มพี ฒั นาการเปนลาํ ดับดังนี้ นกั เรียนในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 สามารถต้ังคําถาม บรรยายคําถามดวยคําพูด และเขียน เกี่ยวกับคําถาม เขาสามารถสํารวจตรวจสอบคําถาม และรวบรวมพยานหลักฐานจากการสังเกต การสังเกต ของเขาจะมีรายละเอียดมากขึ้นและมีความสัมพันธกับคําถามท่ีมีอยู นักเรียนสามารถบันทึกขอมูลในส่ิงท่ี สังเกตและจากประสบการณของเขา นักเรียนควรไดรับโอกาสในการฝกทักษะเหลานี้โดยผานการสํารวจ ตรวจสอบในหองเรียน นักเรียนควรไดรับโอกาสในการมองหาพยานหลักฐานและสังเกตแบบแผนท่ีเกิดขึ้น การอภิปรายในชั้นเรียนเพ่ือแลกเปลี่ยนพยานหลักฐานและความคิดควรไปดวยกันกับการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหนักเรียนไดใชความสามารถที่เกิดข้ึนในการทบทวนความคิดท่ีตั้งอยูบนพยานหลักฐานใหม เรื่องราว ตางๆ ท่ีเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนในระดับช้ันน้ีเรียนรูวา นักวิทยาศาสตรมีความคิด สรางสรรคและมีความอยากรอู ยากเห็น และเขาสามารถเรียนรูรวมกันและแลกเปลี่ยนความคิดของกันและกัน โดยผา นเร่ืองราวตางๆทีป่ รากฏ นกั เรยี นสามารถเรียนรูว าทกุ คนสามารถเรียนรวู ทิ ยาศาสตรได สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ผ คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 นกั เรยี นในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 สามารถพัฒนาความสามารถในการออกแบบและดําเนินการ สํารวจตรวจสอบเพ่ือตอบคําถามที่ไดต้ังไว เขาควรไดรับการกระตุนในการวาดภาพส่ิงที่สังเกตไดและ สอื่ ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ีสังเกต เขาควรไดรับคําแนะนําในการใชการสังเกตเพ่ือสรางคําอธิบายที่ มีเหตุผลในการตอบคําถามของตัวเอง การอานและการอภิปรายเร่ืองราวตางๆ วาวิทยาศาสตรคืออะไร และ วิทยาศาสตรทํางานไดอยางไร เหลาน้ีลวนเปนกลวิธีที่มีประสิทธิภาพท่ีจะทําใหนักเรียนเรียนรูธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และสามารถชวยนาํ เสนอแนวคิดเชงิ วทิ ยาศาสตรใหม ๆ ดว ย นักเรียนในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 ในระดบั นี้ครสู ามารถสรางความอยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับ สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั โดยการใหนักเรียนไดต้ังคําถามที่สามารถตอบไดโดยการใชฐานความรูทางวิทยาศาสตรและ การสังเกตของตัวนักเรียนเอง นักเรียนสามารถทํางานในกลุมแบบรวมมือเพ่ือทําการสํารวจตรวจสอบท่ี เร่ิมตนจากคําถามและกระบวนการที่นําไปสูการคนหาขอมูลและการสื่อความหมายเก่ียวกับคําตอบของ คําถามน้ันๆ ครูควรเนนใหนักเรียนสังเกตอยางละเอียดถ่ีถวนและสรางคําบรรยายและคําอธิบายจากส่ิงที่ สังเกต ควรนําเสนอตัวอยางทางประวัติศาสตรท่ีนาสนใจของความแตกตางระหวางนักวิทยาศาสตรหญิงและ ชายท่ีทํางานในชุมชนวิทยาศาสตรจากเร่ืองราวและวีดิทัศน ตัวอยางเหลาน้ีสามารถใหขอมูลเก่ียวกับวา วทิ ยาศาสตรค ืออะไรและวทิ ยาศาสตรทํางานอยางไร นักเรยี นในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 4 ควรไดรับโอกาสที่จะพัฒนาและทําการทดลองอยางงาย ๆ ที่มีการเปล่ียนแปลงตัวแปรเพียงตัวเดียวในแตละคร้ังท่ีทําการทดลอง นักเรียนอาจตองการคําแนะนําบางใน การทดลอง ครูจึงควรเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมที่จะชวยเขาใหเหตุผลเกี่ยวกับการสังเกต การสื่อ ความหมายกับคนอ่ืน ๆ และวิจารณการทํางานของตนเองและของคนอื่น ๆ โดยผานกิจกรรมที่ลงมือ ปฏิบัติการทดลองและการอภิปราย นักเรียน สามารถเรียนรูถึงความแตกตางระหวางการสังเกตและการลง ความคิดเห็น (การตีความหมายสิ่งท่ีสังเกตได) ขณะที่นักเรียนสํารวจตรวจสอบคําถาม นักเรียนตองการ คําแนะนาํ ในการคนหาแหลงขอ มูลที่เชอื่ ถอื ไดและบูรณาการขอมูลเหลานั้นกับการสังเกตของตนเอง นักเรียน ควรอา นเรอื่ งราวตา ง ๆ และดูวีดิทัศนเ กี่ยวกับตัวอยา งทางประวตั ิศาสตรของนักวทิ ยาศาสตรชายและหญิงท่ีได ชวยพัฒนาวิทยาศาสตร นักเรียนควรมีสวนรวมในการอภิปรายเก่ียวกับวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตร ทํางานอยางไร และใครทาํ งานวทิ ยาศาสตร นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตองการคําแนะนําในการพัฒนาและนําการสํารวจ ตรวจสอบไปใช การสํารวจตรวจสอบนี้ตองทันสมัยและแสดงถึงความสัมพันธระหวางการอธิบายและ พยานหลกั ฐานทมี่ ี กิจกรรมท่ีนกั เรยี นทําใหคําถามชัดเจนชวยใหเขาพัฒนาความสามารถในการตั้งคําถามทาง วิทยาศาสตรท่ีทดสอบได นักเรียนควรไดรับโอกาสในการตีความหมายขอมูลและคิดอยางมีวิจารณญาณวา ใชหรือไมท่ีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือไมสนับสนุนคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตัวอยางทางประวัติศาสตร สามารถนํามาใชเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรท่ีวา วทิ ยาศาสตรคอื ความมานะอุตสาหะของมนษุ ยและของคนในชุมชนวิทยาศาสตร และมนุษยจะไดผลประโยชน จากความรทู ี่เพม่ิ ขึน้ โดยผานทางวิทยาศาสตร  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 ฝ นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ควรเนนการสํารวจตรวจสอบที่ทาทายคําอธิบายและ ความเขาใจในปจจบุ ันของพวกเขา นักเรียนในระดับนี้ควรดําเนินการสํารวจตรวจสอบท่ีเนนการหาคําอธิบาย ของคําถาม การสํารวจตรวจสอบเหลาน้ีจะพัฒนานักเรียนในเร่ืองทักษะการสังเกต การทดสอบความคิด การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ การมองหาแบบแผนของขอมูล การส่ือความหมายและการแลกเปลี่ยน เรียนรูกับคนอ่ืน ๆ การฟงและการถามคําถามเกี่ยวกับคําอธิบายท่ีนําเสนอโดยคนอื่นๆ เมื่อนักเรียนไดพัฒนา ทักษะเหลา น้ี นักเรียนเริ่มตน ท่ีจะเขาใจวานกั วิทยาศาสตรสรางคําอธิบายโดยอาศัยพยานหลักฐานจํานวนมาก วิทยาศาสตรเปดกวางสูแนวคิดใหม วิทยาศาสตรยอมรับความคิดใหมถาพยานหลักฐานช้ีวาความคิดใหมเปน คําอธิบายที่ดีท่ีสุด และพยานหลักฐานใหมอาจเปนสาเหตุใหเกิดการทบทวนความคิด การทําใหเกิดความ แตกตางระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถเร่ิมตนไดในนักเรียนระดับน้ีถึงแมวาจะไมงายนัก สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ก็ตาม การมีสวนรวมในการออกแบบและการแกปญหาเปน พ้ืนฐานท่ีทําใหเขาใจถึงความเหมือน ความแตกตาง และความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสามารถชวยใหน ักเรียนเกดิ การเรยี นรวู าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตา งก็ขน้ึ อยูกบั กันและกนั การใชกรณี ตัวอยางและเร่ืองราวทางประวัติศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนเขาใจวาชุมชนวิทยาศาสตรมีหลากหลาย นักวิทยาศาสตรจํานวนมากทํางานเปนทีม และนักวิทยาศาสตรทั้งหมดส่ือสารกันและกันในเรื่องงานวิจัย พยานหลักฐาน และคําอธิบายของพวกเขา โดยผานท้ังตัวอยางทางประวัติศาสตรและตัวอยางสมัยใหม ครู สามารถแสดงใหนักเรียนเห็นวานักวิทยาศาสตรชายและหญิงไมวาจะมาจากภูมิหลังทางเช้ือชาติ หรือ วัฒนธรรมท่ีแตกตางกันสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร และวิทยาศาสตรก็คือ ความมานะ พยายาม และความอตุ สาหะของมนุษยแ ละคนในชุมชนวทิ ยาศาสตรท ่ีมีพื้นฐานของความซ่ือสัตยทางสติปญญา ความสงสัยใครร ู และใจกวา งตอ แนวคิดใหม สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

พ คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรูวิทยาศาสตร แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศกั ราช 2545 ท่เี นน ผูเ รยี นเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหผ ูเรียนคดิ และลงมอื ปฏิบตั ดิ วยกระบวนการท่หี ลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็ม ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หองเรียน เพราะสามารถทําใหผ สู อนประเมินระดบั พฒั นาการการเรยี นรขู องผูเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กจิ กรรมศกึ ษาคนควา กจิ กรรมศกึ ษาปญ หาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ ตามในการทํากิจกรรมเหลาน้ีตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ชิน้ เดียวกันไดเสรจ็ ในเวลาที่แตกตางกัน และผลงานท่ีไดก็อาจแตกตางกันดวย เม่ือนักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีนักเรียนไดทําและผลงานเหลาน้ีตองใช วิธีประเมินท่ีมีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นกึ คิดทแี่ ทจรงิ ของนกั เรียนได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณต า ง ๆ ทีส่ อดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพื่อจะไดขอมูลท่ี มากพอท่จี ะสะทอนความสามารถทแ่ี ทจ รงิ ของนกั เรียนได จุดมงุ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพ่อื คน หาและวนิ ิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญ ในการสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพื่อเปน แนวทางใหครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยา งเตม็ ศกั ยภาพ 2. เพื่อใชเปน ขอมลู ยอนกลับใหก ับนักเรยี นวา มีการเรยี นรอู ยางไร 3. เพื่อใชเ ปนขอมลู ในการสรปุ ผลการเรยี น และเปรยี บเทยี บระดบั พัฒนาการดานการเรยี นรูของนกั เรยี น แตล ะคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพือ่ ปรบั ปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อตดั สินผลการเรียนการสอน การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพ่ือบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบาง การประเมินแบบน้ีสามารถ บงชี้ไดวา นักเรยี นคนใดตอ งการความชว ยเหลือเปน พเิ ศษในเร่ืองท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นักเรียนอีกดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงท่ีมีการเรียนการ  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ฟ สอน การประเมินแบบน้ีจะชวยครูบงช้ีระดับท่ีนักเรียนกําลังเรียนอยูในเรื่องที่ไดสอนไปแลว หรือบงช้ีความรู ของนกั เรียนตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรทู ีไ่ ดว างแผนไว เปนการประเมินท่ีใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับ ครวู า เปน ไปตามแผนการทีว่ างไวห รอื ไม ขอ มูลที่ไดจ ากการประเมินแบบนไี้ มใชเพ่ือเปาประสงคในการใหระดับ คะแนน แตเ พ่อื ชว ยครใู นการปรบั ปรุงการสอน และเพอื่ วางแผนประสบการณต างๆ ที่จะใหก ับนักเรยี นตอไป การประเมนิ เพอื่ ตัดสินผลการเรียนการสอน เกดิ ข้ึนเม่ือส้นิ สดุ การเรยี นการสอนแลว สว นมากเปน “การสอบ” เพ่ือใหระดับคะแนนกบั นักเรยี น หรือเพื่อใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงช้ี ความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน การประเมินแบบนี้ถือวาสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผบู รหิ าร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตก ไ็ มใชเปนการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตองระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมในการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนเพื่อใหเกิดความสมดุล ความ ยตุ ธิ รรม และเกิดความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอางอิง สวนมากการประเมิน มักจะอางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุม หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุมนี้จะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” แตในหลายบริบท กลุม อางอิงหรือกลุมเปรียบเทียบนี้จะมีความตรงและเหมาะสม อยางไรก็ตาม การประเมินแบบอิงกลุมนี้จะมีนักเรียน ครึ่งหนึ่งท่ีอยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุม นอกจากน้ียังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑท่ีตั้งเอาไวโดยไมคํานึงถึงคะแนนคนอื่นๆ ฉะน้ัน จุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกใหทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวา บรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยท่ีนักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสิน วาประสบผลสําเร็จก็ตอเมื่อ นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละช้ัน หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว ขอมูลท่ีใชสําหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนสามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรือ อิงเกณฑ เทาที่ผานมาการประเมนิ เพ่ือตัดสินผลการเรียนการสอนจะใชการประเมนิ แบบอิงกลุม แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู การเรียนรจู ะบรรลุตามเปาหมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู ี่วางไวได ควรมีแนวทางดังตอไปน้ี 1. วัดและประเมินผลท้ังความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยมในวทิ ยาศาสตร รวมทง้ั โอกาสในการเรียนรูของนักเรียน 2. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูท ี่กาํ หนดไว 3. เก็บขอมลู ท่ีไดจ ากการวดั และประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตองประเมนิ ผลภายใตข อมูลทม่ี ีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรยี นรูของนักเรียนตองนาํ ไปสกู ารแปลผลและลงขอสรปุ ทสี่ มเหตสุ มผล 5. การวัดและประเมินผลตองมีความเท่ียงตรงและเปนธรรม ท้ังในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ภ คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 วิธกี ารและแหลงขอมลู ท่ใี ชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพื่อใหการวดั ผลและประเมินผลไดสะทอนความสามารถที่แทจรงิ ของนกั เรยี น ผลการประเมินอาจ ไดม าจากแหลง ขอมลู และวิธีการตางๆ ดังตอไปน้ี 1. สังเกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรอื รายกลุม 2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน 3. การสมั ภาษณท ้ังแบบเปน ทางการและไมเ ปนทางการ 4. บันทกึ ของนกั เรยี น 5. การประชมุ ปรึกษาหารือรวมกนั ระหวางนักเรยี นและครู 6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏบิ ัติ 7. การวัดและประเมนิ ผลดานความสามารถ 8. การวัดและประเมินผลการเรยี นรโู ดยใชแ ฟม ผลงาน  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ม ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเน้ือหาและกิจกรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 เลม 2 กับตัวชี้วดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนว ยการ ชอื่ กิจกรรม เวลา ตัวช้ีวัด เรยี นรู (ช่ัวโมง) หนว ยที่ 3 สงิ่ บทที่ 1 วัสดุรอบตัวเรา 2 • อธิบายสมบตั ิที่สังเกตไดของ ตาง ๆ เรอ่ื งท่ี 1 วตั ถแุ ละวสั ดุ 1.5 วสั ดทุ ีใ่ ชท ําวัตถุซึ่งทาํ จาก รอบตวั เรา กิจกรรมท่ี 1.1 ชนิดของวัสดุมอี ะไรบาง 1 วสั ดุชนดิ เดยี วหรือหลายชนดิ กิจกรรมท่ี 1.2 วสั ดแุ ตล ะชนิดมีสมบัติอยางไร 1 ประกอบกนั โดยใชห ลกั ฐาน เรอ่ื งที่ 2 วสั ดใุ นชวี ติ ประจาํ วนั 1.5 เชิงประจกั ษ กจิ กรรมท่ี 2 วัตถุตา ง ๆ ทาํ จากวัสดุอะไรบา ง 1 • ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลมุ กิจกรรมทายบทท่ี 1 วสั ดรุ อบตัวเรา 2 วัสดุตามสมบัตทิ สี่ งั เกตได บทท่ี 2 เสยี งในชีวิตประจาํ วนั 2 เรอื่ งที่ 1 เสียงรอบตวั เรา 2 กิจกรรมที่ 1.1 เสียงเกิดไดอยางไร 2 กิจกรรมท่ี 1.2 เสียงเคลือ่ นที่ไปทศิ ทางใด 2 กิจกรรมทายบทท่ี 2 เสยี งรอบตัวเรา 2 หนว ยท่ี 4 บทท่ี 1 หิน 2 • อธบิ ายลักษณะภายนอกของ โลกและ เร่ืองที่ 1 ลกั ษณะของหิน 2 หนิ จากลกั ษณะเฉพาะตัวที่ ทองฟาของ กิจกรรมท่ี 1 หนิ มีลกั ษณะอยางไร 4 สังเกตได เรา กิจกรรมทายบทที่ 1 หิน 1 • ระบดุ าวที่ปรากฏบนทองฟา บทท่ี 2 ทองฟา และดาว 2 ในเวลากลางวนั เรื่องที่ 1 ดาวบนทองฟา 1 และกลางคนื จากขอ มลู ท่ี กจิ กรรมที่ 1.1 มองเห็นดาวอะไรบา งบน 3 รวบรวมได ทองฟา 3 • อธิบายสาเหตุท่ีมองไมเหน็ กิจกรรมที่ 1.2 กลางวันดาวหายไปไหน 2 ดาวสว นใหญ กิจกรรมทายบทท่ี 2 ทอ งฟา และดาว ในเวลากลางวนั จากหลกั ฐาน เชิงประจกั ษ รวมจํานวนชว่ั โมง 40 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาท่ใี ช และส่ิงทตี่ องเตรยี มลว งหนา นน้ั ครสู ามารถปรับเปลยี่ นเพิ่มเตมิ ไดต ามความ เหมาะสมของสภาพทองถิน่ สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

ย คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 รายการวัสดอุ ปุ กรณว ิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ลาํ ดบั ที่ รายการ จํานวน/กลุม จาํ นวน/หอ ง จํานวน/คน 1 ผา เชด็ หนา 1 ผืน 2 กลอ งดินสอโลหะ 1 แผน 1 กลอง 3 ยางลบ 1 ตัว 1 กอน 4 ไมบรรทัดพลาสตกิ 1 แทง 1 อัน 5 แกวนา้ํ 1 ใบ 1 ใบ 6 ยางรัดของ 1 คนั 1 เสน 7 จานกระเบ้ือง 1 กอ น 1 ใบ 8 ครกหิน 1 ลกู 1 ใบ 9 ตะเกยี บไม 1 ใบ 1 คู 10 กระดาษวาดเขียน 1 ดู 11 ตุก ตาผา 3 อยาง 12 แทงไม 1 ชดุ 13 จานพลาสตกิ 1 ชดุ 14 ชอนโลหะ 3 อนั 15 กอ นหิน 1 ใบ 16 ลกู บอลยาง 1 กอน 17 กระเปา นักเรยี น 1 แผน 18 รองเทา นักเรียน 19 วตั ถุอ่นื ๆ รอบตัวอยา งอยา ง 20 สอ มเสยี งพรอมไมเคาะ 21 แหลงกาํ เนิดเสยี ง 22 แวนขยาย 23 ตะกรา 24 หนิ 25 กระดาษ  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 ร ลาํ ดบั ท่ี รายการ จํานวน/กลมุ จาํ นวน/หอ ง จาํ นวน/คน 26 ดินสอสี 1 กลอง 1 อนั วสั ดุหรือวัตถุอน่ื ๆ ท่ีนักเรยี นจะนาํ มาใชส รางแบบจําลอง 27 ของตนเอง 1 แผน กระดาษแข็งขนาด A4 28 หลอดไฟฟา 1 กระบอก 29 ไฟฉายกระบอกใหญ 1 กระบอก 30 ไฟฉายกระบอกเล็ก 31 สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

1 คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตาง ๆ รอบตัวเรา ˹‹Ç·èÕ 3 ÊÔ觵ҋ § æ ÃͺµÇÑ àÃÒ ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจาํ หนว ยท่ี 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตวั เรา บท เร่ือง กิจกรรม ลําดบั การจัดการเรียนรู ตวั ช้ีวัด บทที่ 1 วัสดรุ อบตวั เรา เรื่องที่ 1 วตั ถุและวสั ดุ • วัตถุทําจากวัสดุโดย กิจกรรมท่ี 1.1 ชนดิ ของ มาตรฐาน ว 2.1 ป.1 เรอื่ งที่ 2 วัสดุใน ชีวิตประจําวนั อาจทําจากวัสดุชนิด วัสดุมีอะไรบา ง ป.1/1 อธิบายสมบัติท่ี เดยี วหรือหลายชนิด กิจกรรมที่ 1.2 วสั ดแุ ตละ สังเกตไดของวัสดุท่ีใช • วัสดุมีหลายชนิด เชน ชนิดมีสมบตั ิเปน ทําวัตถุซ่ึงทําจากวัสดุ ช นิ ด เ ดี ย ว ห รื อ ห ล า ย ไม ยาง แกว กระดาษ อยางไร อิฐ หิน โลหะ ชนิดประกอบกันโดยใช หลกั ฐานเชิงประจักษ • วั ส ดุ แ ต ล ะ ช นิ ด มี กจิ กรรมท่ี 2 วัตถุตา งๆ ป.1/2 ระบุชนิดของ ส ม บั ติ ที่ สั ง เ ก ต ไ ด ทาํ จากวัสดุอะไรบาง วัสดุและจัดกลุมวัสดุ บางอยางเหมือนกัน ตามสมบัติท่สี ังเกตได บางอยางแตกตางกนั • สมบัติที่สังเกตได เชน แข็ง นุม ยืดได ยืด ไมได ใส ขุน ทึบ ผิว มนั วาว ผิวไมมันวาว • เราสามารถจัดกลุม วั ส ดุ โ ด ย ใ ช ส ม บั ติ ที่ สังเกตได • วั ต ถุ ต า ง ๆ ใ น ชีวิตประจําวันอาจทํา จ า ก วั ส ดุ เ พี ย ง ช นิ ด เดียวหรอื หลายชนิด  สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สิ่งตา ง ๆ รอบตวั เรา 2 บท เรอื่ ง กจิ กรรม ลําดับการจัดการเรียนรู ตวั ช้วี ดั เร่อื งที่ 1 เสียงรอบตัวเรา บทท่ี 2 เสียงใน กจิ กรรมที่ 1.1 เสยี งเกิด • เสียงเกิดจากการส่ัน มาตรฐาน ว 2.3 ป.1 ชีวิตประจําวัน ไดอ ยา งไร ของแหลงกาํ เนิดเสียง ป.1/1 บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทางการ กจิ กรรมที่ 1.2 เสยี ง เคล่อื นท่ีไปทิศทางใด • เ สี ย ง เ ค ลื่ อ น ท่ี จ า ก เคลอื่ นที่ของเสยี งจาก แหลงกําเนิดเสียงทุก หลักฐานเชงิ ประจักษ รวมคดิ รวมทํา ทิศทาง สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

3 คูมอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 ส่ิงตาง ๆ รอบตวั เรา บทที่ 1 วัสดรุ อบตวั เรา จุดประสงคการเรียนรูป ระจําบท เมอื่ เรยี นจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ 1. บอกชนิดของวสั ดุ 2. อธิบายสมบตั ขิ องวสั ดทุ ใี่ ชทาํ วตั ถุ 3. จดั กลุมวัสดุตามสมบตั ิของวสั ดุ 4. บอกจํานวนและชนิดของวสั ดตุ าง ๆ ทีใ่ ชทําวตั ถแุ ตละชน้ิ แนวคดิ สาํ คัญ วัตถุทําจากวัสดุ โดยวัสดุแตละชนิดมีสมบัติบางอยางเหมือนกัน และบางอยางแตกตางกัน ซ่ึงสามารถนํามาใชจัดกลุมวัสดุได วัตถุแต ละช้ินอาจทาํ จากวสั ดชุ นดิ เดียวหรือประกอบจากวัสดหุ ลายชนิด บทน้ีมีอะไร เรื่องที่ 1 วัตถแุ ละวัสดุ เรื่องที่ 2 วสั ดุในชีวติ ประจาํ วนั คําสําคัญ - 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 2 หนา 1-21 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 1-25  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั เรา 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 รหสั ทักษะ กจิ กรรมที่ 1.1 1.2 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต  S2 การวัด S3 การใชจ ํานวน S4 การจาํ แนกประเภท  S5 การหาความสัมพนั ธร ะหวา ง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกบั เวลา S6 การจดั กระทําและสื่อความหมายขอมูล S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมลู  S9 การตง้ั สมมตฐิ าน S10 การกําหนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ S11 การกําหนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอ สรปุ  S14 การสรางแบบจําลอง ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรา งสรรค C2 การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ  C3 การแกป ญหา C4 การสือ่ สาร  C5 ความรวมมอื  C6 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

5 คมู อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตา ง ๆ รอบตวั เรา แนวคดิ คลาดเคลือ่ น ครบู ันทึกแนวคดิ ที่ไดจ ากการฟง การสนทนาและการอภิปราย เพ่ือนําไปใชใ นการจัดการเรียนรูใหส ามารถแกไ ขแนวคิด คลาดเคลอื่ นและตอยอดแนวคิดทถี่ ูกตอง แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคิดที่ถูกตอ ง วสั ดุไมสามารถเปนวัตถไุ ด วัสดอุ าจเปนวตั ถไุ ด เชน เม่ือกอนอฐิ วางอยู กอนอฐิ น้นั จะเปน วัตถเุ พราะถือวา เปน สิ่งของอยางหนงึ่ แตเม่ือนํากอนอฐิ นั้นไป โลหะคอื เหลก็ สรา งเปน กําแพง หรอื ผนงั กอนอฐิ กจ็ ะกลายเปน วัสดทุ ีน่ ํามาใช ทําวตั ถุซง่ึ คือกาํ แพงหรอื ผนัง โลหะเปนช่อื เรยี กกลมุ วสั ดทุ ่ีมีลกั ษณะแข็ง ผิวมันวาว นาํ ความ รอ นและนาํ ไฟฟาไดด ี วสั ดทุ ่ีเปนโลหะมีหลายชนดิ เชน เหล็ก อะลมู เิ นียม สังกะสี ทองแดง ทอง เหล็กจึงจัดเปนวสั ดใุ นกลมุ โลหะชนิดหนึ่ง  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สง่ิ ตาง ๆ รอบตวั เรา 6 บทนีเ้ ริ่มตน อยา งไร (1 ช่ัวโมง) 1. ครูชักชวนนักเรียนมาเรียนรูเก่ียวกับชนิดและสมบัติของวัสดุโดย หากนักเรียนยังอานคําไหน ไมไ ด ใหครูสอนการอานและการ ใหนักเรียนอานหนังสือเรียน บทที่ 1 วัสดุรอบตัวเรา หนา 1โดย สะกดคําใหถูกตอง เรม่ิ จากการอา นช่ือบท และ จุดประสงคการเรยี นรู จากน้ันครูใช คําถามเพ่ือตรวจสอบความเขาใจวาเมื่อเรียนจบบทนี้นักเรียนจะ ทําอะไรไดบ า ง (บอกชนดิ ของวสั ดุ อธิบายสมบตั ขิ องวัสดุ จัดกลุม วสั ดุ และบอกชนิดของวัสดทุ ีใ่ ชท าํ หรือประกอบเปนวตั ถ)ุ 2. นักเรียนอาน แนวคิดสําคัญ ในหนังสือเรียนหนา 2 โดยครูใช วธิ กี ารฝก อานตามความเหมาะสม จากน้ันครูใชคําถามตรวจสอบ ความเขาใจของนกั เรยี นวา ในบทน้ี เราจะเรียนเก่ียวกับอะไรบาง (วัตถุและวัสดุ สมบัติของวัสดุ การจัดกลุมวัสดุ และวัสดุท่ี ประกอบเปน วตั ถ)ุ 3. นักเรียนอานเน้ือเรื่อง ในหนังสือเรียนหนา 2 โดยครูใชวิธีฝกการ อานตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากน้ัน ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน โดยครูอาจใชคําถามเพ่ือ ตรวจสอบการอา นดังน้ี a. จากเน้ือเร่ือง สิ่งของตาง ๆ มีอะไรบาง (รถของเลน ตุก ตา เสื้อผา) b. สิ่งของที่อยูในรูปมีอะไรบาง (ลูกบอล ดินน้ํามัน กังหัน ลมกระดาษ ตวั ตอของเลน) c. สิ่งของแตละชนิดทําจากอะไร (นักเรียนตอบไดตาม ความเขา ใจ) d. สิ่งทน่ี ํามาประกอบกันเปนสิ่งของเรียกวาอะไร (นักเรียน ตอบตามความเขาใจ) 4. ครูชักชวนนักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียน วาจากรูปใน หนังสือเราจะพบสิ่งของมากมาย นักเรียนคิดวาส่ิงของนั้นทําจาก อะไรและมสี มบตั อิ ยา งไร เราจะมาตรวจสอบความรูในกจิ กรรมนี้ 5. นักเรยี นทําสาํ รวจความรูกอนเรียนในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 1-3 โดยอานช่ือหนวย ช่ือบท คําส่ังและคําถาม ครูใชวิธีฝกอาน ตามความเหมาะสมจากนั้นอธิบายวิธีการตอบคําถามแตละขอ ตามแบบบนั ทกึ หนา 2-5 สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

7 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สิง่ ตา ง ๆ รอบตัวเรา 6. ครูตรวจสอบความเขาใจวิธีการตอบคําถามแตละขอจนแนใจวา การเตรยี มตวั ลว งหนา สําหรบั ครู นักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียนตอบคําถามตาม เพอื่ จัดการเรยี นรูใ นครงั้ ถดั ไป ความเขา ใจของตนเอง คาํ ตอบของนักเรียนแตละคนอาจแตกตาง กนั ได และคําตอบอาจถกู หรอื ผิดก็ได ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดอานเรื่อง ที่ 1 วัตถุและวัสดุ ครูอาจเตรียมกลอง 7. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบวานักเรียนมี บรรจุเพ่ือบรรจุวัตถุตาง ๆ เชน ตุกตา ก ล อ ง ดิ น ส อ โ ล ห ะ ก ร ะ ด า ษ ช อ น แนวคิดเก่ียวกับชนิดของวัสดุ สมบัติของวัสดุและการจัดกลุมวัสดุ พลาสติก ผา ตะกรา หิน โลหะ ลูกบอล หรือเตรียมบัตรภาพของวัตถุตาง ๆ ตามสมบัติของวัสดอุ ยา งไรบาง ครูยังไมเฉลยคําตอบที่ถูกตอง แตให เหลาน้ี นักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบคําตอบอีกคร้ังหลังจากเรียนจบบทนี้ แลว (ครูบันทึกแนวคิดที่คลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่นาสนใจของ นักเรียน แลวนํามาออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพ่ือแกไข แนวคิดใหถกู ตองและตอ ยอดแนวคดิ ทนี่ าสนใจของนกั เรียน) ในการตรวจสอบความรู ครู เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียน และยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แต ชักชวนใหหาคําตอบดวยตนเอง จากการอานเนอ้ื เร่อื ง  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สิ่งตา ง ๆ รอบตวั เรา 8 แนวคําตอบในแบบบันทึกกิจกรรม การสํารวจความรกู อนเรยี น นกั เรียนอาจตอบคําถามถกู หรือผิดก็ไดขน้ึ อยกู ับความรูเ ดมิ ของนักเรียน แตเ มอื่ เรยี นจบบทเรยี นแลว ใหนกั เรยี นกลบั มาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถูกตอง ดังตวั อยา ง สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

9 คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สิ่งตา ง ๆ รอบตัวเรา                  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 3 สงิ่ ตาง ๆ รอบตัวเรา 10 ตกุ ตา ฟองนา้ํ โตะ แกวน้าํ แกว นาํ้ - ตุกตา โตะ ฟองนํ้า สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

11 คูม อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สิง่ ตาง ๆ รอบตัวเรา ถาดอาหาร กระเปา นกั เรยี น  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 3 สง่ิ ตาง ๆ รอบตวั เรา 12 เรอ่ื งที่ 1 วตั ถุและวัสดุ ในเร่อื งนี้ นักเรียนจะไดเ รียนรูเกย่ี วกับชนิดและ สมบตั ขิ องวัสดุ จุดประสงคก ารเรยี นรู 1. บอกชนดิ ของวสั ดทุ ี่ใชท ําวัตถุ 2. สังเกตและอธบิ ายสมบัติของวสั ดุ 3. จดั กลมุ วสั ดุตามสมบตั ิของวัสดุ เวลา 2.5 ชั่วโมง วสั ดุ อุปกรณสําหรับทาํ กจิ กรรม ผา เชด็ หนา กลองดนิ สอ ยางลบ ไมบรรทัดพลาสติก แกว นํ้า ยางรัดของ จานกระเบ้ือง ครกหิน ตะเกียบไม ตุกตา ไม แทงไม จานพลาสติก กอนหนิ ลกู บอลยาง ส่ือการเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 2 หนา 26-32 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 28-39 สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

13 คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 3 สงิ่ ตา ง ๆ รอบตัวเรา แนวการจดั การเรียนรู (50 นาที) ขนั้ ตรวจสอบความรู (5 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับวัตถุและวัสดุโดยให ในการตรวจสอบความรู ครู นักเรยี นดูสิง่ ของทลี ะชิ้น แลว ถามคําถามดังนี้ เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 นักเรียนคิดวาส่ิงของตาง ๆ เหลานี้ ส่ิงใดเปนวัตถุ สิ่งใดเปนวัสดุ ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน (นกั เรียนตอบตามความเขา ใจ) ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.2 นักเรียนคดิ วา วัตถคุ ืออะไร (นกั เรียนตอบตามความเขาใจ) จากการอา นเนื้อเรอื่ ง 1.3 นกั เรยี นคดิ วา วสั ดคุ อื อะไร (นกั เรียนตอบตามความเขาใจ) ขนั้ ฝกทกั ษะจากการอาน (35 นาท)ี 2. นักเรียนอานชื่อเร่ือง และคิดกอนอาน ในหนังสือเรียนหนา 4 และ ลองตอบคําถามในคิดกอนอาน ตามความเขาใจของตนเอง ครู บันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทียบคําตอบ หลงั การอา น 3. นักเรียนอานคําศัพทใน คําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นกั เรียนอานไมได ครคู วรสอนอา นคําใหถ ูกตอง 4. นักเรียนอาน เนื้อเรื่อง ยอหนาที่ 1 โดยครูเลือกใชวิธีการฝกอานที่ เหมาะสม จากนั้นตรวจสอบความเขา ใจจากการอา นโดยใชคําถามดงั นี้ ยอ หนาท่ี 1 4.1 เนื้อเร่ืองในยอหนาท่ี 1 กลาวถึงอะไร (มนุษยสมัยกอนอาศัยอยูใน ถํา้ ) 4.2 มนุษยสมยั กอนมีส่งิ ของเครอื่ งใชอะไรบาง (เส้ือผา มีด หอก) 5. นักเรียนอาน เนื้อเร่ืองยอหนาท่ี 2 โดยครูเลือกใชวิธีการฝกอานท่ี เหมาะสม จากนัน้ ตรวจสอบความเขา ใจจากการอานโดยใชค าํ ถามดังนี้ ยอ หนา ท่ี 2 5.1 บา นของมนษุ ยส มัยกอนทาํ จากอะไร (ไม) 5.2 มนุษยใชวสั ดุอะไรบางในการดํารงชีวติ (ไม ดิน โลหะ อิฐ) 6. นักเรียนอาน เน้ือเรื่องยอหนาท่ี 3 โดยครูเลือกใชวิธีการฝกอานที่ เหมาะสม จากนน้ั ตรวจสอบความเขาใจจากการอานโดยใชค าํ ถามดงั นี้ 6.1 นกั เรยี นเขาใจคําวา วตั ถุ อยางไรบา ง (วัตถุ คอื สิ่งของเคร่ืองใชต าง ๆ)  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี