Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 10:33:11

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.2
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เล่ม ๒ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จัดทำโดย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำชแ้ี จง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๒ ขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีมีจุดเน้นเพ่ือต้องการพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตรท์ ี่ เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย มีการทำ กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ซงึ่ ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ นี้ โรงเรียนจะตอ้ งใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. จึงได้จัดทำหนังสือเรียนทเ่ี ป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัดของหลักสูตรเพื่อให้โรงเรียน ไดใ้ ช้สำหรบั จัดการเรยี นการสอนในชัน้ เรียน คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มน้ี สสวท. ได้พัฒนาขึ้น เพ่ือนำไปใช้ประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษา ปีที่ ๒ เล่ม ๒ โดยภายในคู่มือครูประกอบด้วยผังมโนทัศน์ ตัวชี้วัด ข้อแนะนำการใช้คู่มือครู ตารางแสดง ความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและกิจกรรมในหนังสือเรยี นกับมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะรอบด้าน ทั้งการอ่าน การสำรวจตรวจสอบ การฝึกปฏิบัติ การปฏิบัติการทดลอง การสืบค้นข้อมูล และการอภิปราย โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนพัฒนา ทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ จิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ ทักษะการคิด การอ่าน การส่ือสาร การแก้ปัญหา ตลอดจนการนำความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมแห่งการเปล่ียนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีความสุข ในการจัดทำคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ นกั วิชาการ และครูผสู้ อน จากหนว่ ยงานและสถานศึกษาทงั้ ภาครฐั และเอกชน จงึ ขอขอบคุณไว้ ณ ทน่ี ี้ สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ครูและ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ท่ีจะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมี ขอ้ เสนอแนะใดท่ีจะทำใหค้ ูม่ ือครเู ลม่ นสี้ มบูรณ์ยิง่ ข้นึ โปรดแจง้ สสวท. ทราบดว้ ย จะขอบคุณยงิ่ (ศาสตราจารย์ชูกจิ ลิมปิจำนงค์) ผ้อู ำนวยการสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ หน้า คำชี้แจง เปา้ หมายของการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์........................................................................................ ก คุณภาพของนักเรยี นวทิ ยาศาสตร์ เมอื่ จบช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3..................................................................... ข ทกั ษะท่ีสำคัญในการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ........................................................................................................ ค ผังมโนทศั น์ (concept map) รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 2.............................. ช ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง วิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2............................................................................ ซ ข้อแนะนำการใชค้ ่มู ือครู..................................................................................................................................ญ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ............................................................................ธ การจดั การเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์.............................................................ธ การจดั การเรียนการสอนที่สอดคล้องกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ ................................................................ บ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์............................................................................................ ผ ตารางแสดงความสอดคล้องระหว่างเน้อื หาและกิจกรรม ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 2..........................ฟ กับตัวชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 รายการวัสดอุ ปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2.................................................................................................. ม หน่วยท่ี 3 แสงและสิ่งมีชวี ิต 1 ภาพรวมการจดั การเรียนรู้ประจำหน่วยท่ี 3 แสงและสิง่ มชี วี ิต..................................................................1 บทที่ 1 แสง..........................................................................................................................................3 บทน้ีเรม่ิ ตน้ อย่างไร .....................................................................................................................................6 เร่อื งที่ 1 แสงและการมองเห็น.................................................................................................................. 11 กจิ กรรมที่ 1.1 แสงเคล่ือนที่ไดอ้ ย่างไร ...................................................................................... 17 กิจกรรมที่ 1.2 มองเห็นวตั ถุตา่ ง ๆ ได้อยา่ งไร............................................................................ 30 กจิ กรรมทา้ ยบทที่ 1 แสง........................................................................................................................ 51 แนวคำตอบในแบบฝึกหัดท้ายบท 52 บทท่ี 2 สงิ่ มชี ีวติ 55 บทนเ้ี ริ่มต้นอย่างไร 58 เรื่องที่ 1 สิง่ มีชีวิตและสิ่งไม่มีชวี ติ 65 กิจกรรมท่ี 1 สิง่ มชี ีวิตและส่ิงไมม่ ีชวี ิตมีลกั ษณะแตกตา่ งกันอย่างไร 71

เรื่องท่ี 2 ชวี ติ ของพืช สารบัญ กิจกรรมท่ี 2.1 พชื ตอ้ งการอะไรในการเจริญเตบิ โต กิจกรรมที่ 2.2 วัฏจกั รชีวิตของพืชดอกเปน็ อยา่ งไร หน้า 83 กิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 สิง่ มีชวี ิต 89 แนวคำตอบในแบบฝกึ หัดทา้ ยบท 108 บรรณานกุ รม หน่วยที่ 3 แสงและสง่ิ มชี ีวติ 129 132 หน่วยที่ 4 ดนิ รอบตัวเรา 136 ภาพรวมการจัดการเรยี นรูป้ ระจำหนว่ ยท่ี 2 ดนิ รอบตวั เรา 137 บทท่ี 1 ร้จู ักดนิ 137 บทนเ้ี ร่มิ ตน้ อย่างไร 139 เร่ืองที่ 1 ดินในท้องถน่ิ 142 147 กิจกรรมที่ 1.1 ดินมีสว่ นประกอบอะไรบ้าง 152 กจิ กรรมที่ 1.2 ดนิ ในท้องถน่ิ มลี กั ษณะและสมบัติอยา่ งไร 165 เร่ืองที่ 2 ประโยชน์ของดิน 188 กจิ กรรมที่ 2 ดินมปี ระโยชนอ์ ย่างไร 192 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 รจู้ ักดิน 203 แนวคำตอบในแบบฝึกหัดทา้ ยบท 206 บรรณานุกรม หน่วยท่ี 4 ดนิ รอบตัวเรา 208 แนวคำตอบในแบบทดสอบทา้ ยเลม่ 209 บรรณานุกรม 215 คณะทำงาน 217

ก คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติแล้วนำผลที่ได้มาจัดระบบ หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากทีส่ ดุ น่นั คือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ การจดั การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ในสถานศกึ ษามีเป้าหมายสำคัญ ดงั นี้ 1. เพ่อื ให้เขา้ ใจแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรพู้ ื้นฐานของวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อใหเ้ ข้าใจขอบเขตธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ และขอ้ จำกัดของวทิ ยาศาสตร์ 3. เพ่ือใหม้ ที กั ษะที่สำคัญในการสบื เสาะหาความรแู้ ละพฒั นาเทคโนโลยี 4. เพื่อให้ตระหนักถึงการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ สิ่งแวดล้อม 5. เพื่อนำความรู้ แนวคิดและทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและการดำรงชีวติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะ ในการส่อื สาร และความสามารถในการประเมนิ และตดั สินใจ 7. เพื่อใหเ้ ปน็ ผ้ทู ี่มีจิตวทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อยา่ งสรา้ งสรรค์ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ข คุณภาพของผเู้ รยี นวิทยาศาสตร์ เมอื่ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 นักเรียนที่เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ควรมีความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร์ ดงั นี้ 1. เขา้ ใจลักษณะทว่ั ไปของส่ิงมีชวี ติ และการดำรงชีวิตของสง่ิ มีชีวติ รอบตัว 2. เข้าใจลกั ษณะท่ปี รากฏ ชนิดและสมบตั บิ างประการของวสั ดทุ ่ีใช้ทำวัตถุและการเปลย่ี นแปลงของวัสดุ รอบตัว 3. เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ พลงั งานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟา้ การเกิดเสยี ง แสงและการมองเห็น 4. เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดิน และการใช้ประโยชน์ ลกั ษณะและความสำคัญของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชน์และโทษของลม 5. ตง้ั คำถามหรอื กำหนดปัญหาเกยี่ วกับส่ิงที่จะเรียนรู้ตามทก่ี ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ สังเกต สำรวจ ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ ด้วยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ด้วยการเลา่ เรื่อง หรือด้วยการแสดงท่าทางเพื่อให้ ผอู้ ื่นเขา้ ใจ 6. แกป้ ญั หาอยา่ งง่ายโดยใช้ข้ันตอนการแกป้ ญั หา มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เบอื้ งตน้ รกั ษาข้อมลู ส่วนตวั 7. แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามที่กำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ผู้อ่นื 8. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนงานลลุ ่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผ้อู น่ื อยา่ งมคี วามสขุ 9. ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศึกษา หาความรู้เพิ่มเตมิ ทำโครงงานหรือสรา้ งชิน้ งานตามทก่ี ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ค คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ทักษะที่สำคญั ในการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ทักษะสำคัญที่ครูจำเป็นต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเมื่อมีการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เช่น ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่ การสืบเสาะค้นหาผ่านการสังเกต ทดลอง สร้างแบบจำลอง และวิธีการอื่นๆ เพื่อนำข้อมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษ์มาสร้างคำอธิบายเกี่ยวกับแนวคิดหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย ทักษะการสงั เกต (Observing) เปน็ ความสามารถในการใชป้ ระสาทสัมผสั อย่างใดอยา่ งหนึ่ง หรือ หลายอย่างสำรวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไม่ลงความคิดเห็นของ ผ้สู งั เกต ประสาทสมั ผสั ทัง้ 5 ไดแ้ ก่ การดู การฟงั เสยี ง การดมกลนิ่ การชิมรส และการสัมผสั ทักษะการวัด (Measuring) เป็นความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆ จากเครื่องมือที่เลือกใช้ออกมาเป็น ตวั เลขได้ถกู ตอ้ งและรวดเรว็ พรอ้ มระบหุ น่วยของการวดั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) เป็นความสามารถในการคาดการณ์อย่างมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ โดยใช้ข้อมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ที่เคย เก็บรวบรวมไว้ในอดีต ทกั ษะการจำแนกประเภท (Classifying) เป็นความสามารถในการแยกแยะ จดั พวกหรอื จัดกลุ่ม สิ่งต่าง ๆ ที่สนใจ เช่น วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาออกเป็น หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑ์หรือลักษณะร่วมลักษณะใดลักษณะ หน่ึงของสิ่งต่าง ๆ ที่ตอ้ งการจำแนก ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พื้นที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่นี้อาจเป็นตำแหน่ง รูปร่าง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหล่านี้อาจมีความสัมพันธ์กัน ดังน้ี การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกับสเปซ เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุต่างๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกบั เวลา เป็นความสามารถในการหาความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เม่ือเวลาผ่านไป ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ง ทักษะการใช้จำนวน (Using Number) เป็นความสามารถในการใช้ความรู้สึกเชิงจำนวน และ การคำนวณเพอ่ื บรรยายหรอื ระบรุ ายละเอยี ดเชิงปรมิ าณของสง่ิ ที่สังเกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) เป็นความสามารถในการนำผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทำให้อยู่ในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรอื มคี วามสัมพนั ธก์ นั มากขึ้น จนง่ายต่อการทำความเขา้ ใจหรอื เห็นแบบรูปของข้อมูล นอกจากนี้ ยังรวมถึงความสามารถในการนำข้อมูลมาจัดทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขยี นบรรยาย เพื่อสอื่ สารให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจความหมายของข้อมลู มากข้นึ ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เป็นความสามารถในบอกผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสังเกต การทดลองที่ได้จากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณ์ท่ี แม่นยำจึงเป็นผลมาจากการสังเกตที่รอบคอบ การวัดที่ถูกต้อง การบันทึก และการจัดกระทำกับข้อมูลอย่าง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เป็นความสามารถในการคิดหาคำตอบ ล่วงหน้าก่อนดำเนินการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐานคำตอบที่คิด ล่วงหน้าท่ียังไม่รู้มาก่อน หรือยังไม่เป็นหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมาก่อน การตั้งสมมติฐานหรือคำตอบที่คิดไว้ ล่วงหน้ามักกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเป็นไปตาม ที่คาดการณ์ไวห้ รอื ไมก่ ็ได้ ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เป็นความสามารถในการ กำหนดความหมายและขอบเขตของสิง่ ต่าง ๆ ทอ่ี ยใู่ นสมมติฐานของการทดลอง หรอื ทเี่ กย่ี วข้องกบั การทดลอง ใหเ้ ข้าใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวดั ได้ ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เป็นความสามารถในการ กำหนดตัวแปรต่าง ๆ ทั้งตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ ให้สอดคล้องกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้น ซึ่งอาจ ส่งผลต่อผลการทดลอง หากไม่ควบคุมให้เหมือนกันหรือเท่ากัน ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ได้แก่ ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรที่ต้องควบคมุ ให้คงท่ี ซงึ่ ล้วนเปน็ ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้องกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรต้น (Independent Variable) หมายถึง สง่ิ ทเี่ ปน็ ตน้ เหตุทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จึงต้อง จัดสถานการณใ์ ห้มสี ง่ิ นี้แตกตา่ งกัน ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง สิ่งที่เป็นผลจากการจัดสถานการณ์บางอย่างให้ แตกตา่ งกนั และเราตอ้ งสังเกต วัด หรือติดตามดู ตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ (Controlled Variable) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อาจส่งผลต่อการจัด สถานการณ์ จึงต้องจดั สิ่งเหล่าน้ีใหเ้ หมือนกันหรือเท่ากัน เพื่อให้มั่นใจว่าผลจากการจัดสถานการณ์เกิดจากตวั แปรต้นเทา่ น้นั สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

จ คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเป็นความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองได้อย่างรอบคอบ และสอดคล้องกับคำถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดำเนินการทดลองได้ตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได้ ละเอยี ด ครบถว้ น และเท่ยี งตรง ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่ ตลอดจน ความสามารถในการสรปุ ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มูลท้ังหมด ทักษะการสร้างแบบจำลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสร้างและใช้สิ่งที่ทำ ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ที่ศึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว รวมถงึ ความสามารถในการนำเสนอข้อมลู แนวคิด ความคดิ รวบยอดเพ่ือใหผ้ ู้อื่นเข้าใจในรูป ของแบบจำลองแบบต่าง ๆ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานได้ระบุทักษะที่จำเป็นแห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับสมรรถนะที่ควรมีในพลเมือง ยุคใหม่รวม 7 ด้าน (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศึกษาจะเน้นให้ครูส่งเสริมใหน้ ักเรียนมที ักษะ ดังต่อไปน้ี การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใช้เหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับสถานการณ์ มีการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ ประเมินหลักฐานและข้อคิดเห็นด้วยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห์ แปลความหมาย และจัดทำข้อสรุป สะท้อนความคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้ ประสบการณแ์ ละกระบวนการเรยี นรู้ การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หรือ ปญั หาใหม่ โดยอาจใช้ความรู้ ทักษะ วิธกี ารและประสบการณท์ ี่เคยรู้มาแล้ว หรือการสืบเสาะหาความรู้ วธิ ีการ ใหม่มาใช้แก้ปัญหาก็ได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงการซักถามเพื่อทำความเข้าใจมุมมองที่แตกต่าง หลากหลาย เพื่อให้ได้วิธแี กป้ ญั หาท่ีดีย่งิ ขนึ้ การสื่อสาร (Communications) หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารได้อย่างชัดเจน เชื่อมโยง เรียบเรียงความคิดเเละมุมมองต่าง ๆ แล้วสื่อสารโดยการใช้คําพูด หรือการเขียน เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้ หลากหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการ ฟังอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เข้าใจ ความหมายของผ้สู ง่ สาร ความร่วมมือ (Collaboration) หมายถึง ความสามารถในการทำงานร่วมกับคนกลุ่มต่าง ๆ ท่ี หลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกียรติ มีความยืดหยุ่นและยินดีที่จะประนีประนอม เพื่อให้บรรลุ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ฉ เปา้ หมายการทำงาน พร้อมทงั้ ยอมรับและแสดงความรับผิดชอบต่องานที่ทำร่วมกัน และเห็นคุณค่าของผลงาน ที่พัฒนาข้ึนจากสมาชกิ แต่ละคนในทีม การสร้างสรรค์ (Creativity) หมายถึง การใช้เทคนิคที่หลากหลายในการสร้างสรรค์แนวคิด เชน่ การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาต่อยอดแนวคิดเดิม หรือได้แนวคิดใหม่ และ ความสามารถในการกลั่นกรอง ทบทวน วิเคราะห์ และประเมนิ แนวคดิ เพอ่ื ปรบั ปรุงให้ได้แนวคิดที่จะส่งผลให้ ความพยายามอยา่ งสร้างสรรค์นเี้ ป็นไปได้มากที่สุด การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเป็นเครื่องมือสืบค้น จัดกระทํา ประเมินและสื่อสารขอ้ มลู ความรู้ตลอดจนรเู้ ทา่ ทนั สอื่ โดยการใชส้ ่ือตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมมปี ระสทิ ธิภาพ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ช คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ผงั มโนทศั น์ (concept map) รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เลม่ 2 ประกอบดว้ ย ได้แก่ ไดแ้ ก่ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ซ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ว 1.2 ป.2/1 ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้ำ • พืชตอ้ งการน้ำ แสง เพือ่ การเจริญเติบโต เพื่อการเจริญเติบโต โดยใช้ข้อมูล จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ว 1.2 ป.2/2 ตระหนักถึงความจำเป็นที่พืชต้อง ได้รับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าว อยา่ งเหมาะสม ว 1.2 ป.2/3 สร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักร • พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมีการสืบพันธุ์เปลี่ยนแปลง ชีวติ ของพชื ดอก ไปเป็นผล ภายในผลมีเมล็ด เมื่อเมล็ดงอก ต้นอ่อนที่อยู่ภายในเมลด็ จะ เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ พืชต้นใหม่จะเจริญเติบโตออกดอกเพื่อ สบื พันธ์ุมผี ลต่อไปได้อกี หมุนเวยี นต่อเนือ่ งเป็น วฏั จกั รชวี ิตของพืชดอก ว 1.3 ป.2/1 เปรียบเทียบลักษณะของสิ่งมีชีวิต • สิ่งที่อยู่รอบตัวเรามีทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิต และสิ่งไม่มีชีวิต จากข้อมูลที่ ต้องการอาหาร มีการหายใจ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคลื่อนไหว รวบรวมได้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และสืบพันธุ์ได้ลูกที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับพ่อ แม่ ส่วนสิง่ ไมม่ ชี ีวิตจะไมม่ ลี ักษณะดงั กลา่ ว สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฌ คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ว 2.2 ป.2/2 ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของ • แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดแสงทุกทิศทางเป็นแนวตรง เมื่อมี การมองเห็น โดนเสนอแนวทางการ แสงจากวัตถุมาเข้าตาจะทำให้มองเห็นวัตถนุ ัน้ การมองเห็นวัตถุท่ี ป้องกนั อันตรายจากการมองเห็นวัตถุ เป็นแหล่งกำเนดิ แสง แสงจากวัตถุนั้นจะเข้าสู่ตาโดยตรง ส่วนการ ที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่ มองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสง ต้องมีแสงจากแหล่งกำเนิด เหมาะสม แสงไปกระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสงทสี่ วา่ งมาก ๆ เข้าสู่ ว 2.3 ป.2/1 ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการมองหรือใช้ บรรยายการเคลื่อนทขี่ องแสงจาก แผ่นกรองแสงที่มีคุณภาพเมื่อจำเป็น และต้องจัดความสว่างให้ แหล่งกำเนดิ แสง และอธิบายการ เหมาะสมกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การอ่านหนังสือ การดู มองเห็นวตั ถจุ ากหลกั ฐานเชงิ จอโทรทัศน์ การใช้โทรศพั ท์เคล่ือนท่ีและแทบ็ เล็ต ประจักษ์ ว 3.2 ป.2/1 ระบุส่วนประกอบของดิน และ • ดินประกอบด้วยเศษหิน ซากพืชซากสัตว์ผสมอยู่ในเนื้อดิน มี จำแนกชนิดของดิน โดยใช้ลักษณะ อากาศและน้ำแทรกอยู่ตามช่องว่างในเนื้อดิน ดินจำแนกเป็น เน้อื ดนิ และการจบั ตัวเป็นเกณฑ์ ดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย ตามลักษณะเนื้อดินและการจับตัว ว 3.2 ป.2/2 ของดนิ ซ่งึ มผี ลต่อการอมุ้ นำ้ ทแ่ี ตกต่างกนั อธิบายการใช้ประโยชน์จากดิน • ดินแต่ละชนิดนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันตามลักษณะและ จากขอ้ มลท่รี วบรวมได้ สมบัตขิ องดิน ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ญ ข้อแนะนำการใช้คมู่ อื ครู คู่มือครูเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมสำหรับครู ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนจะได้ฝกึ ทกั ษะจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งการสังเกต การสำรวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล การ อภิปราย การทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นการฝึกให้นักเรียนช่างสังเกต รู้จักตั้งคำถาม รู้จักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบ ปญั หาต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง ท้ังน้โี ดยมีเป้าหมายเพ่ือใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรู้และคน้ พบด้วยตนเองมากที่สุด ดังน้ัน ในการจัดการเรยี นรู้ครูจึงเป็นผูช้ ่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนนักเรียนให้รู้จักสบื เสาะหาความรู้จากส่ือและ แหล่งการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ และเพ่มิ เติมข้อมลู ที่ถกู ต้องแกน่ ักเรียน เพ่ือใหน้ ักเรียนมีทกั ษะจากการศกึ ษาหาความรู้ ดว้ ยตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์จากคู่มือครูเล่มนี้มากที่สุด ครูควรทำความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละ หัวข้อ และขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้แกนกลางเป็นสาระการเรียนรู้เฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ปรากฏใน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดไว้เฉพาะส่วนที่จำเป็นสำหรับเป็นพื้นฐาน เกี่ยวข้องกับชวี ิตประจำวัน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยสอดคล้องกับสาระและ ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของนักเรียน ในทุกกจิ กรรมจะมสี าระสำคัญ ซ่งึ เป็นเน้ือหาสาระ ท่ีปรากฏอยู่ตามสาระการเรียนรู้โดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เพิ่มสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคำนวณ ทั้งนี้เพื่อเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิด สะเตม็ ศึกษา 2. ภาพรวมการจดั การเรียนรปู้ ระจำหนว่ ย ภาพรวมการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีไว้เพื่อเชื่อมโยงเน้ือหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดที่จะได้เรียนในแต่ละกิจกรรมของหน่วยนั้น ๆ และเป็นแนวทางให้ครูนำไปปรับปรุงและ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้นักเรียนจะได้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย ในแต่ละส่วนของหนังสือเรียนท้ัง ส่วนนำบท นำเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดชั้นปีเพื่อให้ นักเรียนเกิด การเรียนรู้ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตและ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฎ คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ในสถานการณ์ใหม่ มีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี มเี จตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม สามารถอยใู่ นสงั คมไทยได้อย่างมีความสขุ 4. บทนม้ี ีอะไร สว่ นที่บอกรายละเอยี ดในบทน้นั ๆ ซงึ่ ประกอบดว้ ยชอ่ื เรอื่ ง คำสำคญั และชือ่ กิจกรรม เพ่ือครูจะ ไดท้ ราบองค์ประกอบโดยรวมของแตล่ ะบท 5. สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ ส่วนที่บอกรายละเอียดสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ต้องใช้สำหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมนั้น ๆ โดยสื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ประกอบด้วยหน้าหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต์ เว็บไซต์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือตัวอย่างวีดิทัศน์ปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร์เพอื่ เสรมิ สร้างความมนั่ ใจในการสอนปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์สำหรบั ครู 6. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทักษะที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัติในแต่ละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น ทักษะที่นักวิทยาศาสตร์นำมาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู้ ส่วนทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพ่ือใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงของโลก ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ฏ วดี ทิ ศั น์ตวั อย่างการปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์สำหรับครเู พอ่ื ฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ต่าง ๆ มีดังนี้ รายการวดี ทิ ศั น์ตัวอยา่ งการปฏิบตั ิการ ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วทิ ยาศาสตร์สำหรับครู วทิ ยาศาสตร์ วีดิทัศน์ การสงั เกตและการลงความเหน็ การสังเกตและ http://ipst.me/8115 จากข้อมูลทำได้อยา่ งไร การลงความเห็นจากข้อมลู วดี ทิ ศั น์ การวัดทำไดอ้ ย่างไร การวดั http://ipst.me/8116 วีดทิ ศั น์ การใช้ตัวเลขทำได้อยา่ งไร การใช้จำนวน http://ipst.me/8117 วีดทิ ัศน์ การจำแนกประเภททำได้ การจำแนกประเภท http://ipst.me/8118 อย่างไร วีดิทัศน์ การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่าง การหาความสมั พันธ์ http://ipst.me/8119 สเปซกบั สเปซทำได้อย่างไร ระหว่างสเปซกบั สเปซ วีดิทัศน์ การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง การหาความสมั พันธ์ http://ipst.me/8120 สเปซกบั เวลาทำได้อยา่ งไร ระหวา่ งสเปซกบั เวลา วีดทิ ศั น์ การจดั กระทำและสือ่ การจัดกระทำและส่ือ http://ipst.me/8121 ความหมายข้อมูลทำได้อย่างไร ความหมายข้อมลู วีดทิ ศั น์ การพยากรณ์ทำได้อยา่ งไร การพยากรณ์ http://ipst.me/8122 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ฐ ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 รายการวีดิทศั น์ตวั อย่างการปฏบิ ตั กิ าร ทกั ษะกระบวนการทาง Short link QR code http://ipst.me/8123 วิทยาศาสตร์สำหรบั ครู วิทยาศาสตร์ วีดทิ ศั น์ ทำการทดลองได้อย่างไร การทดลอง วดี ทิ ศั น์ การตัง้ สมมติฐานทำได้อย่างไร การตงั้ สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 วดี ิทัศน์ การกำหนดและควบคุมตวั แปร การกำหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 และการกำหนดนยิ าม ตัวแปรและ http://ipst.me/8126 เชิงปฏบิ ัตกิ ารทำได้อยา่ งไร การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร วีดทิ ัศน์ การตคี วามหมายข้อมลู และ การตคี วามหมายข้อมูลและ ลงขอ้ สรุปทำได้อยา่ งไร ลงข้อสรุป วีดิทศั น์ การสรา้ งแบบจำลอง การสร้างแบบจำลอง http://ipst.me/8127 ทำได้อยา่ งไร ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ฑ 7. แนวคิดคลาดเคลือ่ น ความเชื่อ ความรู้ หรือความเข้าใจที่ผิดหรือคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดขึ้นกับนักเรียน เนื่องจาก ประสบการณใ์ นการเรียนรู้ท่ีรับมาผดิ หรือนำความรู้ที่ไดร้ ับมาสรปุ ตามความเข้าใจของตนเองผิด แล้ว ไม่สามารถอธิบายความเข้าใจนั้นได้ ดังนั้นเม่ือเรียนจบบทน้ีแลว้ ครคู วรแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ นกั เรยี นใหเ้ ป็นแนวคิดทถ่ี กู ตอ้ ง 8. บทน้ีเร่มิ ตน้ อยา่ งไร แนวทางสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วยตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผล ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยและให้นักเรียน ตอบคำถามสำรวจความรู้ก่อนเรียน จากนั้นครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนและยังไม่เฉลย คำตอบทถี่ ูกต้อง เพือ่ ให้นักเรยี นไปหาคำตอบจากเรื่องและกิจกรรมต่าง ๆ ในบทนั้น 9. เวลาทใ่ี ช้ การเสนอแนะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนว่าควรใช้ประมาณกี่ชั่วโมง เพื่อช่วยให้ครูได้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตามครูอาจปรับเปลี่ยนเวลาได้ตาม สถานการณแ์ ละความสามารถของนักเรียน 10. วัสดอุ ปุ กรณ์ รายการวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดทั้งหมดสำหรับการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุส้ินเปลอื ง อุปกรณ์ สำเร็จรูป อุปกรณพ์ ้ืนฐาน หรอื อืน่ ๆ 11. การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู เพอื่ จดั การเรยี นรู้ในคร้ังถัดไป การเตรียมตัวล่วงหน้าสำหรับการจัดการเรียนรู้ในครั้งถัดไป เพื่อครูจะได้เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ที่ต้องใชใ้ นกิจกรรมให้อยูใ่ นสภาพที่ใชก้ ารได้ดีและมีจำนวนเพยี งพอกับนักเรยี น โดย อาจมีบางกจิ กรรมตอ้ งทำล่วงหนา้ หลายวนั เชน่ การเตรียมถุงปริศนาและข้าวโพดคั่วหรอื ส่งิ ทกี่ ินได้ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม นักเรียนในระดับชนั้ ประถมศึกษา มกี ระบวนการคิดทเ่ี ป็นรูปธรรม ครจู งึ ควรจัดการเรยี นการสอนท่ี มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติหรือทำการทดลองด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่นักเรียนจะได้มีประสบการณ์ตรง ดังนน้ั ครูจงึ ตอ้ งเตรยี มตวั เองในเรื่องต่อไปนี้ 11.1 บทบาทของครู ครูจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นำหรือผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้ ช่วยเหลือ โดยส่งเสริมและสนับสนุนนกั เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการ เรียนรู้ต่าง ๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้นำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ สร้างสรรค์ความรขู้ องตนเอง 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน ครูควรเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมในการทำ กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางครั้งนักเรียนไม่เข้าใจและอาจจะทำกิจกรรมไม่ถูกต้อง ดังนั้นครจู ึง ตอ้ งเตรียมตัวเอง โดยทำความเข้าใจในเร่อื งต่อไปน้ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ฒ คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้าด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถามจากผู้รู้ในท้องถิ่น ดู จากรูปภาพแผนภูมิ อ่านหนังสือหรือเอกสารเท่าที่หาได้ นั่นคือการให้นักเรียนเป็นผู้หา ความรแู้ ละพบความรหู้ รือขอ้ มูลด้วยตนเอง ซ่งึ เปน็ การเรียนรู้ด้วยวิธีแสวงหาความรู้ การนำเสนอ มีหลายวิธี เช่น ให้นักเรียนหรือตัวแทนกลุ่มออกมาเล่าเรื่องที่ได้รับ มอบหมายให้ไปสำรวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจให้เขียนเป็นคำหรือเป็นประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจให้วาดรูป หรือตัด ข้อความจากหนงั สอื พิมพ์ แล้วนำมาตดิ ไวใ้ นหอ้ ง เปน็ ตน้ การสำรวจ ทดลอง สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจำลองหรืออื่น ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้เป็น สิ่งสำคญั ย่งิ ตอ่ การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ครสู ามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมได้ทั้งในหอ้ งเรียน นอกห้องเรียนหรือที่บ้าน โดยไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคาแพง อาจใช้ อุปกรณ์ที่ดัดแปลงจากสิ่งของเหลือใช้ หรือใช้วัสดุธรรมชาติ ข้อสำคัญ คือ ครูต้องให้ นักเรียนทราบว่า ทำไมจึงต้องทำกิจกรรมนัน้ และจะต้องทำอะไร อย่างไร ผลจากการทำ กจิ กรรมจะสรุปผลอย่างไร ซง่ึ จะทำให้นักเรยี นไดค้ วามรู้ ความคิด และทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์พร้อมกับเกดิ ค่านิยม คณุ ธรรม เจตคติทางวิทยาศาสตรด์ ้วย 12. แนวการจดั การเรยี นรู้ แนวทางสำหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตรท์ ี่มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิดด้วย ตนเอง รู้จักค้นคว้าหาเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยการนำเอาวิธีการต่าง ๆ ของกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปใช้ วธิ ีการจัดการเรียนรทู้ ี่ สสวท. เห็นว่าเหมาะสมที่จะนำนักเรียนไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนด ไว้ก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การมองเห็นปัญหา การสำรวจ ตรวจสอบ และอภปิ รายซักถามระหวา่ งครูกับนักเรียนเพ่ือนำไปสูข่ ้อมูลสรุป ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามคู่มือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความ เหมาะสมเพ่อื ใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมาย โดยจะคำนงึ ถงึ เรือ่ งตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 12.1 นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรใหน้ กั เรยี นทุกคนมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการ เรียนรู้ตลอดเวลาด้วยการกระตุ้นให้นักเรียนลงมือทำกิจกรรมและอภิปรายผล โดยครูอาจ ใช้เทคนิคต่าง ๆ เช่น การใช้คำถาม การเสริมแรงมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อให้การเรียน การสอนน่าสนใจและมีชีวิตชีวา 12.2 การใช้คำถาม เพอ่ื นำนกั เรียนเข้าส่บู ทเรยี นและลงขอ้ สรปุ โดยไมใ่ ช้เวลานานเกนิ ไป ทัง้ นีค้ รู ต้องวางแผนการใช้คำถามอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใช้คำถามที่มีความยากง่าย พอเหมาะกับความสามารถของนักเรยี น 12.3 การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ ครคู วรเนน้ ย้ำใหน้ ักเรยี นได้สำรวจตรวจสอบซำ้ เพ่อื นำไปสขู่ ้อสรุปที่ถกู ตอ้ งและเชือ่ ถอื ได้ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ณ 13. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม ข้อเสนอแนะสำหรับครูท่ีอาจเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ที่ เหมาะสมหรอื ใช้แทน ข้อควรระวัง วธิ กี ารใช้อุปกรณใ์ ห้เหมาะสมและปลอดภยั วิธกี ารทำกจิ กรรมเพ่ือ ลดข้อผิดพลาด ตวั อยา่ งตาราง และเสนอแหล่งเรียนรูเ้ พื่อการคน้ ควา้ เพมิ่ เติม 14. ความรูเ้ พิม่ เติมสำหรับครู ความรู้เพิ่มเติมในเนื้อหาที่สอนซึ่งจะมีรายละเอียดที่ลึกขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้และความมั่นใจ ในเรื่องที่จะสอนและแนะนำนักเรียนที่มีความสามารถสูง แต่ครูต้องไม่นำไปสอนนักเรียนในชั้นเรียน เพราะไม่เหมาะสมกบั วยั และระดับชัน้ 15. อยา่ ลืมนะ ส่วนที่เตือนไม่ให้ครูเฉลยคำตอบที่ถูกต้อง ก่อนที่จะได้รับฟังความคิดและเหตุผลของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้คิดด้วยตนเองและครูจะได้ทราบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นอย่างไร บ้าง โดยครูควรใหค้ ำแนะนำเพ่ือให้นักเรยี นหาคำตอบได้ด้วยตนเอง นอกจากน้นั ครูควรให้ความสนใจ ตอ่ คำถามของนักเรียนทุกคนดว้ ย 16. แนวการประเมนิ การเรยี นรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้จากการอภิปรายในชั้นเรียน คำตอบของนักเรียนระหว่าง การจัดการเรียนรู้และในแบบบันทึกกิจกรรม รวมทั้งการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ท่ีได้จากการทำกิจกรรมของนกั เรยี น 17. กิจกรรมท้ายบท ส่วนทใ่ี ห้นกั เรยี นไดส้ รปุ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในบทเรียน และไดต้ รวจสอบความรู้ในเน้ือหาทเ่ี รยี น มาทัง้ บท หรืออาจต่อยอดความรใู้ นเร่ืองน้นั ๆ ข้อแนะนำเพิ่มเตมิ 1. การสอนอ่าน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของคำว่า “อ่าน” หมายถึง ว่าตาม ตวั หนงั สอื ถ้าออกเสียงดว้ ย เรียกวา่ อ่านออกเสียง ถา้ ไม่ต้องออกเสียง เรยี กว่า อ่านในใจ หรืออีกความหมาย ของคำว่า “อ่าน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ ตีความ เช่น อา่ นรหสั อ่านลายแทง ปีพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ได้กล่าวถึงความสำคัญของการอ่านไว้ว่า การอ่านเป็นทักษะที่สำคญั จำเป็นต้องเน้นและฝึกฝนให้แก่นักเรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ผู้อ่าน สร้างความหมายหรอื พัฒนาการวิเคราะห์ ตีความในระหว่างอ่าน ผู้อ่านจะต้องรู้หัวเรื่อง รู้จุดประสงค์การอ่าน มีคว ามร ู้ทางภ า ษา ใ กล ้เ คี ย ง กับภ าษ าท ี่ ใช้ ใน หน ังส ื อที่ อ่านแล ะจ ำ เป็ นต้ องใช ้ประสบการ ณ์เดิมที ่ เ ป็ น ประสบการณ์พื้นฐานของผู้อ่าน ทำความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ทั้งนี้นักเรียนแต่ละคนอาจมีทักษะในการอ่านท่ี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ด คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของนักเรียน ความสามารถด้านภาษา หรือความสนใจเร่ืองท่ีอ่าน ครคู วรสังเกตนักเรียนวา่ นกั เรียนแต่ละคนมีความสามารถในการอ่านอยู่ในระดับใด ซ่งึ ครูจะต้องพจิ ารณาทงั้ หลกั การอา่ น และความเขา้ ใจในการอา่ นของนกั เรยี น การรู้เรื่องการอ่าน (Reading literacy) หมายถึง การเข้าใจข้อมูล เนื้อหาสาระของสิ่งที่อ่าน การใช้ ประเมินและสะท้อนมุมมองของตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่อ่านอย่างตั้งใจเพื่อบรรลุเป้าหมายส่วนตัวของตนเองหรือ เพื่อพัฒนาความรู้และศักยภาพของตนเองและนำความรู้และศักยภาพนั้นมาใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน สงั คม (PISA, 2018) กรอบการประเมนิ ผลนกั เรยี นเพอ่ื ใหม้ สี มรรถนะการอา่ นในศตวรรษท่ี 21 ตามแนวทางของ PISA สามารถสรุปไดด้ ังแผนภาพดา้ นล่าง จากกรอบการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า การรู้เรื่องการอ่านเป็นสมรรถนะที่สำคัญที่ควรส่งเสริมให้ นักเรียนมีความสามารถให้ครอบคลุม ตั้งแต่การค้นหาข้อมูลในสิ่งที่อ่าน เข้าใจเนื้อหาสาระที่อ่านไปจนถึง ประเมินค่าเนื้อหาสาระที่อ่านได้ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องอาศัยการอ่านเพื่อหาข้อมูลทำ ความเข้าใจเนื้อหาสาระของสิ่งท่ีอ่าน รวมท้งั ประเมินสงิ่ ท่ีอ่านและนำเสนอมุมมองของตนเองเก่ียวกับสิ่งท่ีอ่าน นักเรียนควรได้รับสง่ เสรมิ การอ่านดังตอ่ ไปน้ี 1. นักเรียนควรได้รับการฝึกการอ่านข้อความแบบต่อเนื่องจำแนกข้อความแบบต่างๆ กัน เช่น การบอก การพรรณนา การโต้แย้ง รวมไปถึงการอ่านข้อเขียนที่ไม่ใช่ข้อความต่อเนื่อง ได้แก่ การอ่านรายการ ตาราง แบบฟอร์ม กราฟ และแผนผัง เป็นต้น ซึ่งข้อความเหล่านี้เป็นสิ่งที่นักเรียนได้พบเห็นใน โรงเรยี น และจะตอ้ งใช้ในชีวิตจรงิ เมือ่ โตเป็นผูใ้ หญ่ ซ่ึงในคมู่ ือครูเลม่ นตี้ ่อไปจะใช้คำแทนข้อความท้ังท่ี เปน็ ขอ้ ความแบบตอ่ เนือ่ งและข้อความท่ีไม่ใช่ข้อความตอ่ เน่ืองวา่ สง่ิ ท่ีอา่ น (Text) 2. นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนให้มีความสามารถในการประเมินส่ิงที่อ่านว่ามีความเหมาะสมสอดคล้อง กับลักษณะของข้อเขียนมากน้อยเพียงใด เช่น ใช้นวนิยาย จดหมาย หรือชีวประวัติเพื่อประโยชน์ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ต ส่วนตัว ใช้เอกสารราชการหรือประกาศแจ้งความเพื่อสาธารณประโยชน์ ใช้รายงานหรือคู่มือต่างๆ เพอ่ื การทำงานอาชีพ ใชต้ ำราหรือหนังสือเรยี น เพ่ือการศึกษา เปน็ ตน้ 3. นักเรียนควรไดร้ บั การฝึกฝนใหม้ ีสมรรถนะการอ่านเพ่ือเรียนรู้ ในดา้ นต่าง ๆ ตอ่ ไปน้ี 3.1 ความสามารถท่จี ะค้นหาเนื้อหาสาระของสิง่ ท่ีอ่าน (Retrieving information) 3.2 ความสามารถทีจ่ ะเขา้ ใจเนื้อหาสาระของสิ่งที่อ่าน (Forming a broad understanding) 3.3 ความสามารถในการแปลความของสิ่งทีอ่ ่าน (Interpretation) 3.4 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากมุมมองของตน เก่ยี วกับเนื่อหาสาระของส่งิ ทีอ่ ่าน (Reflection and Evaluation the content of a text) 3.5 ความสามารถในการประเมินและสามารถสะท้อนความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากมุมมองของตน เกย่ี วกบั รูปแบบของสิง่ ที่อ่าน (Reflection and Evaluation the form of a text) ทง้ั น้ี สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการสอนแบบต่าง ๆ เพื่อเปน็ การฝกึ ทกั ษะการอ่านของนักเรียน ดงั น้ี  เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) การสอนอ่านท่ีม่งุ เนน้ ให้นักเรยี นได้ฝึกกระบวนการคิด กล่นั กรองและตรวจสอบข้อมูลท่ีได้จากการอ่าน ด้วยตนเอง โดยให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคำตอบล่วงหน้าจากประสบการณ์เดิมของนักเรียน โดยมี ข้นั ตอนการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี 1. ครจู ดั แบง่ เนื้อเรอื่ งทจี่ ะอา่ นออกเป็นสว่ นยอ่ ย และวางแผนการสอนอ่านของเนอ้ื เรื่องท้ังหมด 2. นำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยชักชวนให้นกั เรยี นคิดวา่ นักเรียนรู้อะไรเกยี่ วกับเร่ืองทจี่ ะอ่านบ้าง 3. ครูให้นักเรยี นสงั เกตรปู ภาพ หัวขอ้ หรืออ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วกับเนื้อหาท่ีจะเรยี น 4. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องที่กำลังจะอ่าน ซึ่งอาจให้นักเรียนคิดว่าจะได้เรียน เกย่ี วกับอะไร โดยครูพยายามกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนได้แสดงความคิดเหน็ หรอื คาดคะเนเนื้อหา 5. ครูอาจให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว้ โดยจะทำเป็นรายคนหรือเป็นคู่ก็ได้ หรือครูนำ อภิปรายแล้วเขยี นแนวคดิ ของนกั เรียนแต่ละคนไว้บนกระดาน 6. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายว่าการคาดคะเนของตนเองตรง กบั เนื้อเร่ืองท่ีอ่านหรือไม่ ถ้านกั เรยี นประเมินว่าเร่ืองที่อา่ นมีเน้ือหาตรงกับที่คาดคะเนไว้ให้นักเรียน แสดงขอ้ ความทสี่ นบั สนุนการคาดคะเนของตนเองจากเน้ือเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยครูวิเคราะห์ว่านักเรียนแต่ละคนสามารถใช้การคาดคะเนด้วย ตนเองอย่างไรบ้าง 8. ทำซ้ำขั้นตอนเดิมในการอ่านเนื้อเรื่องส่วนอื่น ๆ เมื่อจบทั้งเรื่องแล้ว ครูปิดเรื่องโดยการทบทวน เนื้อหาและอภิปรายถงึ วธิ ีการคาดคะเนของนักเรยี นทค่ี วรใช้สำหรับการอา่ นเร่ืองอ่นื ๆ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ถ คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2  เทคนิคการสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เชือ่ มโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรมและ เป็นระบบ โดยผ่านตาราง 3 ช่อง คือ K-W-L (นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน นักเรียนต้องการรู้อะไร เกีย่ วกบั เร่อื งทจ่ี ะอ่าน นกั เรียนไดเ้ รียนรูอ้ ะไรบ้างจากเร่ืองท่ีอ่าน) โดยมขี ั้นตอนการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี 1. นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการใช้คำถาม การนำด้วยรูปภาพหรือ วดี ทิ ศั น์ท่เี กี่ยวกบั เน้อื เร่อื ง เพือ่ เชื่อมโยงเขา้ สู่เร่ืองทจ่ี ะอา่ น 2. ครูทำตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิค K-W-L ว่ามีขั้นตอน ดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน เรียกว่า ขั้น K มาจาก know (What we know) เป็นขั้นตอนที่ให้ นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่าน แล้วบันทึกสิ่งท่ีตนเองรู้ลงใน ตารางช่อง K ขั้นตอนนี้ช่วยให้นักเรียนรู้ว่าตนเองรู้อะไรแล้วต้องอ่านอะไร โดยครูพยายาม ตัง้ คำถามกระตนุ้ ให้นักเรียนได้แสดงความคดิ เห็น ขั้นที่ 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน เรียกว่า ขั้น W มาจาก want (What we want to know) เป็น ขั้นตอนท่ีให้นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้เกี่ยวกับเรื่องที่กำลังจะอ่าน โดยครูและ นกั เรยี นร่วมกันกำหนดคำถาม แล้วบนั ทกึ ส่ิงท่ีตอ้ งการรู้ลงในตารางช่อง W ขั้นท่ี 3 กิจกรรมหลังการอ่าน เรียกว่า ขั้น L มาจาก learn (What we have learned) เป็น ขั้นตอนที่สำรวจว่าตนเองได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการอ่าน โดยหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง นักเรียน หาข้อความมาตอบคำถามที่กำหนดไว้ในตารางช่อง W จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการอ่านมา จัดลำดับความสำคญั ของข้อมลู และสรปุ เน้ือหาสำคัญลงในตารางช่อง L 3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ เนอื้ หา โดยการอภิปรายหรือตรวจสอบคำตอบในตาราง K-W-L 4. ครแู ละนักเรยี นอาจร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกับการใช้ตาราง K-W-L มาชว่ ยในการเรียนการสอนการอ่าน  เทคนิคการสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) การสอนอ่านที่มุ่งเน้นให้นักเรยี นมีความเข้าใจในการจัดหมวดหมู่ของคำถามและตั้งคำถาม เพื่อให้ได้มา ซึ่งแนวทางในการหาคำตอบ ซึ่งนักเรียนจะได้พิจารณาจากข้อมูลในเนื้อเรื่องที่จะเรียนและประสบการณ์เดิม ของนกั เรยี น โดยมีขนั้ ตอนการจดั การเรียนการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทำชุดคำถามตามแบบ QAR จากเรอื่ งทน่ี ักเรยี นควรร้หู รือเรื่องใกลต้ วั นักเรยี น เพอ่ื ชว่ ยใหน้ ักเรียน เขา้ ใจถงึ การจดั หมวดหมู่ของคำถามตามแบบ QAR และควรเช่อื มโยงกบั เรื่องท่ีจะอ่านต่อไป 2. ครูแนะนำและอธิบายการสอนแบบ QAR โดยครูควรชี้แจงนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านและการตั้งคำถาม ตามหมวดหมู่ ได้แก่ คำถามที่ตอบโดยใช้เนื้อหาจากเรื่องที่อ่าน คำถามที่ต้องคิดและค้นคว้า คำถามที่ ไม่มีคำตอบโดยตรง ซง่ึ จะต้องใช้ความรเู้ ดิมและส่งิ ท่ีผ้เู ขียนเขยี นไว้ 3. นักเรยี นอ่านเน้อื เรอื่ ง ตงั้ คำถามและตอบคำถามตามหมวดหมู่ และร่วมกันอภิปรายเพอ่ื สรุปคำตอบ 4. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกบั การใชเ้ ทคนคิ นี้ด้วยตนเองไดอ้ ย่างไร ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ท 5. ครูและนกั เรียนอาจร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกับการใช้ตาราง K-W-L มาชว่ ยในการเรียนการสอนการอ่าน 2. การใชง้ านส่ือ QR CODE QR CODE เป็นรหัสหรือภาษาที่ต้องใช้โปรแกรมอ่านหรือสแกนข้อมูลออกมา ซึ่งต้องใช้งานผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่ติดตั้งกล้องไว้ แล้วอ่าน QR Code ผ่านโปรแกรมต่าง ๆ เช่น LINE (สำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่) Code Two QR Code Reader (สำหรับคอมพิวเตอร์) Camera (สำหรับผลิตภณั ฑ์ของ Apple Inc.) ขั้นตอนการใชง้ าน 1. เปิดโปรแกรมสำหรบั อ่าน QR Code 2. เล่อื นอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี แท็บเลต็ เพอ่ื ส่องรปู QR Code ไดท้ ง้ั รูป 3. เปดิ ไฟลห์ รอื ลงิ ก์ที่ขนึ้ มาหลงั จากโปรแกรมได้อ่าน QR CODE **หมายเหตุ อุปกรณท์ ี่ใช้อ่าน QR CODE ต้องเปิด Internet ไว้เพอื่ ดงึ ข้อมูล 3. การใช้งานโปรแกรมประยุกตค์ วามจรงิ เสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ) โปรแกรมประยุกต์ความจริงเสริม (AR) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อเสริมช่วยให้นักเรียน เข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น สำหรับระดับประถมศึกษาปีที่ 2 จะใช้งานผ่าน โปรแกรมประยกุ ต์ “AR วทิ ย์ ป.2” ซง่ึ สามารถดาวนโ์ หลดได้ทาง Play Store หรอื App Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ประมาณ 150 เมกะไบต์ หากพื้นที่จัดเก็บในอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ไมเ่ พยี งพออาจต้องลบขอ้ มูลบางอย่างออกจากอปุ กรณ์ก่อนตดิ ตัง้ โปรแกรม ขัน้ ตอนการตดิ ตงั้ โปรแกรม 1. เข้าไปที่ Play Store ( ) หรือ App Store ( ) 2. ค้นหาคำว่า “AR วทิ ย์ ป.2” 3. กดเขา้ ไปท่ีโปรแกรมประยุกต์ที่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดตง้ั ” และรอจนติดตั้งเรียบร้อย 5. เข้าสู่โปรแกรมจะปรากฏหน้าแรก จากนน้ั กด “วิธกี ารใช้งาน” เพื่อศึกษาการใช้งานโปรแกรม เบือ้ งตน้ ด้วยตนเอง 6. หลังจากศึกษาวิธีการใชง้ านดว้ ยตนเองแลว้ กด “สแกน AR” และเปิดหนังสือเรยี นหน้าทม่ี สี ญั ลกั ษณ์ AR 7. ส่องรปู ทอ่ี ยบู่ ริเวณสัญลกั ษณ์ AR โดยมรี ะยะหา่ งประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูสื่อในมุมมองต่าง ๆ ตาม ความสนใจ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ธ คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในระดบั ประถมศึกษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแล้วมีความอยากรู้อยากเห็น เกีย่ วกบั สิ่งต่างๆ รอบตวั และเรียนร้ไู ด้ดที ส่ี ดุ ดว้ ยการคน้ พบ จากการลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งห้า ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาตอนต้น จึงควรให้โอกาสนักเรียนมีส่วนร่วม ในการลงมอื ปฏิบตั ิ การสำรวจตรวจสอบ การคน้ พบ การตั้งคำถามเพ่ือนำไปสู่การอภิปราย การแลกเปลี่ยนผล การทดลองด้วยคำพูด หรือภาพวาด การอภิปรายเพ่ือสรปุ ผลร่วมกนั สำหรบั นกั เรียนในระดบั ช้ันประถมศึกษา ตอนปลาย (ป.4-ป.6) มพี ัฒนาการทางสติปัญญาจากขั้นการคิดแบบรูปธรรมไปสู่ขนั้ การคิดแบบนามธรรม มีความ สนใจในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และสนใจว่าสิ่งต่าง ๆ ถูกประกอบเข้าด้วยกันอย่างไร และทำงานอย่างไร นักเรียน ในช่วงวัยน้ีต้องการโอกาสที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกลุ่มโดยการทำงานแบบร่วมมือ ดังนั้นจึงควร ส่งเสริมให้นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์ร่วมกันซึ่งจะเป็นการสร้างความสามัคคี และประสานสัมพันธ์ ระหว่างนกั เรียนในระดบั นด้ี ว้ ย การจดั การเรียนการสอนที่เน้นการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้เพื่อศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบตัว อย่างเป็นระบบ และเสนอคำอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากการทำงานทางวิทยาศาสตร์ มีวิธีการอยู่ หลากหลาย เชน่ การสำรวจ การสบื ค้น การทดลอง การสรา้ งแบบจำลอง นักเรียนทุกระดับชั้นควรได้รับโอกาสในการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาความสามารถ ในการคิดและแสดงออกด้วยวิธีการที่เชื่อมโยงกับการสืบเสาะหาความรู้ซึ่งรวมทั้งการตั้งคำถาม การวางแผนและ ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพยานหลักฐานและการอธิบาย การสร้างและวิเคราะห์ คำอธิบายทห่ี ลากหลาย และการสอ่ื สารข้อโตแ้ ยง้ ทางวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ การสบื เสาะหาความรู้ ควรมีหลายรปู แบบ แตล่ ะรูปแบบมีความตอ่ เนื่องกัน จากท่ีเนน้ ครเู ปน็ สำคญั ไปจนถึงเนน้ นกั เรียนเปน็ สำคญั โดยแบ่งไดด้ งั นี้ • การสืบเสาะหาความรู้แบบครูเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Structured Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถามและบอก วธิ กี ารใหน้ กั เรยี นค้นหาคำตอบ ครชู แี้ นะนักเรียนทกุ ขนั้ ตอนโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • การสืบเสาะหาความรู้แบบทั้งครูและนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Guided Inquiry) ครูเป็นผู้ตั้งคำถาม และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจตรวจสอบให้กับนกั เรียน นักเรียนจะเป็นผู้ออกแบบการทดลอง ดว้ ยตัวเอง • การสืบเสาะหาความรู้แบบนักเรียนเป็นผู้กำหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทำกิจกรรมตามที่ครู กำหนด นกั เรียนพฒั นาวธิ ี ดำเนนิ การสำรวจ ตรวจสอบจากคำถามทีค่ รูต้ังข้นึ นกั เรียนต้ังคำถามในหวั ขอ้ ทค่ี รู เลือก พร้อมทงั้ ออกแบบการสำรวจตรวจสอบดว้ ยตนเอง ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 น การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในห้องเรยี น เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้ นักเรียนได้สืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ตามที่หลกั สูตรกำหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกบั ที่นักวิทยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี เราสามารถจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนโดยจัดโอกาสให้นักเรียนได้ สืบเสาะหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ตามที่หลักสูตรกำหนด ด้วยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์สืบเสาะ แต่อาจมี รปู แบบที่หลากหลายตามบรบิ ทและความพร้อมของครูและนักเรียน เชน่ การสืบเสาะหาความรู้แบบปลายเปิด (Opened Inquiry) ที่นักเรียนเป็นผู้ควบคุมการสืบเสาะหาความรู้ของตนเองตั้งแต่การสร้างประเด็นคำถาม การสำรวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายส่ิงที่ศกึ ษาโดยใชข้ ้อมลู (Data) หรอื หลักฐาน (Evidence) ท่ี ได้จากการสำรวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรู้ที่เกี่ยวข้องหรือคำอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง คำอธิบายของตนและนำเสนอต่อผู้อื่น นอกจากนี้ ครูอาจใช้การสืบเสาะหาความรู้ที่ตนเองเป็นผู้กำหนด แนวทางในการทำกจิ กรรม (Structured Inquiry) โดยครูสามารถแนะนำนักเรยี นไดต้ ามความเหมาะสม การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ครูสามารถออกแบบการสอนให้มีลักษณะ สำคัญของการสบื เสาะ ดังนี้ ภาพ วัฏจักรการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในห้องเรยี น สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

บ คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 การจัดการเรยี นการสอนท่ีสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตร์ท่ีมีความแตกต่างจากศาสตร์อ่ืน ๆ เป็นค่านิยม ข้อสรุป แนวคิด หรือคำอธิบายที่บอกว่า วิทยาศาสตร์คืออะไร มีการทำงานอย่างไร นักวิทยาศาสตร์คือใคร ทำงานอย่างไร และงานด้านวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างไรกับสังคม ค่านิยม ขอ้ สรุป แนวคิด หรอื คำอธิบายเหล่าน้ีจะผสมกลมกลืนอยู่ในตวั วิทยาศาสตร์ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ และการ พัฒนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนัก เรียนและ ประสบการณท์ ่ีครูจดั ให้แก่นักเรียน ความสามารถในการสังเกตและการสื่อความหมายของนักเรยี นในระดับนี้ ค่อย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอำนวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และแนวคิด ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน นักเรียนในระดับนี้เริ่มที่จะเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์คืออะไร วิทยาศาสตร์ทำงาน อย่างไร และนักวิทยาศาสตร์ทำงานกันอย่างไรโดยผ่านการทำกิจกรรมในห้องเรียน จากเรื่องราวเกี่ยวกับ นักวทิ ยาศาสตร์ และจากการอภปิ รายในห้องเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกำลังพัฒนาฐานความรู้โดยใช้การสังเกตมากขึ้น สามารถนำความรู้มาใช้เพื่อก่อให้เกิดความคาดหวังเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ในระดับนี้ ควรเน้นไปที่ทักษะการตั้งคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ การสร้างคำอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลกั ฐานท่ปี รากฏ และการสอื่ ความหมายเก่ยี วกับความคิดและการสำรวจตรวจสอบของตนเองและของ นักเรียนคนอื่นๆ นอกจากนี้เรื่องราวทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถเพิ่มความตระหนักถึงความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร์ นักเรียนในระดับนี้ควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ช่วยให้เขาคิดอย่างมีวิจารณญาณ เก่ยี วกบั พยานหลักฐานและความสมั พนั ธ์ระหว่างพยานหลกั ฐานกับการอธิบาย การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ของนักเรียนแต่ละระดบั ชนั้ มพี ฒั นาการเป็นลำดับดังนี้ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 สามารถ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 สามารถ • ตง้ั คำถาม บรรยายคำถาม เขียนเกย่ี วกับ • ออกแบบและดำเนนิ การสำรวจตรวจสอบ คำถาม เพื่อตอบคำถามท่ีไดต้ ั้งไว้ • บนั ทึกข้อมลู จากประสบการณ์ สำรวจ • สอ่ื ความหมายความคิดของเขาจากสิ่งที่ ตรวจสอบชน้ั เรยี น สงั เกต • อภิปรายแลกเปลย่ี นหลักฐานและความคิด • อ่านและการอภปิ รายเร่ืองราวตา่ ง ๆ • เรยี นรวู้ า่ ทุกคนสามาเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ได้ เก่ียวกับวิทยาศาสตร์ ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ป ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 สามารถ • ทำการทดลองอย่างง่าย ๆ • ต้ังคำถามที่สามารถตอบไดโ้ ดยการใช้ • ใหเ้ หตผุ ลเกี่ยวกบั การสงั เกต การส่ือ ฐานความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และการสังเกต ความหมาย • ทำงานในกล่มุ แบบรว่ มมือเพื่อสำรวจ • ลงมือปฏบิ ัตกิ ารทดลองและการอภิปราย ตรวจสอบ • คน้ หาแหล่งข้อมลู ท่เี ช่ือถือได้และบรู ณา • ค้นหาขอ้ มูลและการสื่อความหมายคำตอบ การข้อมลู เหล่านัน้ กับการสงั เกตของ ตนเอง • สร้างคำบรรยายและคำอธบิ ายจากสิ่งที่ • ศกึ ษาประวตั กิ ารทำงานของ สงั เกต นักวิทยาศาสตร์ • นำเสนอประวตั ิการทำงานของ นกั วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 สามารถ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 สามารถ • สำรวจตรอบสอบ • สำรวจตรอบสอบท่ีเน้นการใช้ทักษะทาง วทิ ยาศาสตร์ • ต้งั คำถามทางวิทยาศาสตร์ • รวบรวมขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การมองหา • ตีความหมายข้อมลู และคิดอย่างมี แบบแผนของข้อมูล การสื่อความหมาย วิจารณญาณโดยมีหลกั ฐานสนบั สนุน และการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ คำอธบิ าย • เข้าใจความแตกต่างระหว่าง • เขา้ ใจธรรมชาติวทิ ยาศาสตรจ์ ากประวัติการ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทำงานของนักวิทยาศาสตรท์ ี่มคี วามมานะ อตุ สาหะ • เข้าใจการทำงานทางวทิ ยาศาสตรผ์ ่าน ประวตั ศิ าสตรข์ องนักวิทยาศาสตรท์ กุ เพศท่ีมีหลายเชื้อชาติ วฒั นธรรม สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละการจัดการเรยี นร้ทู สี่ อดคล้องกับธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากคูม่ ือการใชห้ ลักสตู ร http://ipst.me/8922 สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ผ ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แนวคิดสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี เปิดโอกาสให้นักเรียนคิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ในห้องเรียน เพราะสามารถทำให้ครปู ระเมนิ ระดบั พัฒนาการการเรยี นรู้ของนักเรยี นได้ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ ตรวจสอบ การทดลอง กิจกรรมศกึ ษาค้นคว้า กจิ กรรมศกึ ษาปัญหาพิเศษ หรือโครงงานวทิ ยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามในการทำกิจกรรมเหล่านี้ต้องคำนึงว่านักเรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกต่างกัน นักเรียนจึงอาจทำงาน ช้ินเดยี วกันได้สำเรจ็ ในเวลาท่ีแตกตา่ งกัน และผลงานทีไ่ ดก้ ็อาจแตกต่างกนั ด้วย เม่ือนักเรียนทำกจิ กรรมเหล่าน้ี แล้วก็ต้องเก็บรวบรวมผลงาน เช่น รายงาน ชิ้นงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติต่าง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมที่นักเรียนได้ทำและผลงานเหล่านีต้ ้องใช้ วิธีประเมินที่มีความเหมาะสมและแตกต่างกันเพื่อช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สกึ นกึ คดิ ทีแ่ ทจ้ ริงของนกั เรียนได้ การวดั ผลและประเมินผลจะมปี ระสิทธภิ าพก็ต่อเมื่อมีการประเมินหลายๆ ด้าน หลากหลายวธิ ี ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สอดคลอ้ งกับชีวิตจรงิ และต้องประเมินอย่างต่อเน่ือง เพ่ือจะได้ข้อมูลท่ี มากพอทจ่ี ะสะท้อนความสามารถทแ่ี ทจ้ รงิ ของนกั เรียนได้ จุดมงุ่ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพื่อค้นหาและวินจิ ฉัยว่านกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเนือ้ หาวทิ ยาศาสตร์ มีทักษะความชำนาญ ในการสำรวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็น แนวทางให้ครสู ามารถวางแผนการจัดการเรยี นการสอนได้อยา่ งเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรียนได้ อยา่ งเต็มศกั ยภาพ 2. เพ่อื ใช้เป็นขอ้ มูลย้อนกลบั สำหรบั นักเรียนว่ามีการเรยี นรู้อยา่ งไร 3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียน และเปรยี บเทียบระดบั พฒั นาการด้านการเรยี นรู้ของนกั เรยี น แต่ละคน การประเมินการเรยี นรู้ของนักเรียน มี 3 แบบ คอื การประเมินเพ่ือค้นหาและวินิจฉัย การประเมิน เพ่อื ปรับปรงุ การเรียนการสอน และการประเมนิ เพอื่ ตดั สินผลการเรียนการสอน การประเมินเพื่อค้นหาและวินิจฉัย เป็นการประเมินเพื่อบ่งชี้ก่อนการเรียนการสอนว่า นักเรียน มีพ้นื ฐานความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติ และแนวคดิ ท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบา้ ง การประเมนิ แบบนี้สามารถ บ่งชไี้ ด้ว่านักเรยี นคนใดต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษในเรอื่ งที่ขาดหายไป หรอื เปน็ การประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จำเป็นก่อนที่จะเรียนเรื่องต่อไป การประเมินแบบนี้ยังช่วยบ่งชี้ทักษะหรือแนวคิดที่มีอยู่แล้วของ นักเรียนอีกด้วย การประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน เป็นการประเมินในระหว่างช่วงที่มีการเรียนการ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ฝ สอน การประเมินแบบนีจ้ ะช่วยบง่ ชีร้ ะดับทีน่ กั เรียนกำลังเรียนอยู่ในเรื่องทีไ่ ดส้ อนไปแล้ว หรือบ่งช้ีความรู้ของ นักเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้วางแผนไว้ เป็นการประเมินท่ีให้ข้อมูลย้อนกลับกับนักเรียนและกับครู ว่าเป็นไปตามแผนการที่วางไว้หรือไม่ ข้อมูลที่ได้จากการประเมินแบบนี้ไม่ใช่เพื่อเป้าประสงค์ในการให้ระดับ คะแนน แตเ่ พอื่ ชว่ ยครใู นการปรบั ปรุงการสอน และเพื่อวางแผนประสบการณ์ต่างๆ ท่จี ะใหก้ บั นกั เรียนต่อไป การประเมินเพอื่ ตัดสินผลการเรยี นการสอน เกิดขน้ึ เมือ่ สิ้นสดุ การเรยี นการสอนแลว้ สว่ นมากเป็น “การสอบ” เพ่อื ใหร้ ะดับคะแนนแกน่ ักเรียน หรอื เพื่อให้ตำแหน่งความสามารถของนักเรียน หรือเพ่ือเป็นการบ่งช้ี ความก้าวหน้าในการเรียน การประเมินแบบนี้ถือว่ามีความสำคัญในความคิดของผู้ปกครองนักเรียน ครู ผูบ้ รหิ าร อาจารย์แนะแนว ฯลฯ แต่ก็ไม่ใชเ่ ป็นการประเมินภาพรวมท้ังหมดของความสามารถของนักเรียน ครู ต้องระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมเพื่อตัดสินผลการเรียนของนักเรียน ทั้งน้ีเพื่อให้เกิดความสมดุล ความ ยตุ ธิ รรม และเกดิ ความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับสิ่งอ้างอิง ส่วนมากการประเมิน มกั จะอ้างอิงกลุ่ม (norm reference) คือเป็นการเปรียบเทยี บความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุ่ม หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุ่มนี้จะมี “ผู้ชนะ” และ “ผู้แพ้” อย่างไรก็ตามการประเมิน แบบอิงกลุ่มนี้จะมีนักเรียนครึ่งหนึ่งที่อยู่ต่ำกว่าระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิง เกณฑ์ (criterion reference) ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑ์ที่ตั้งเอาไว้โดยไม่ คำนึงถึงคะแนนของนักเรียนคนอ่ืนๆ ฉะนั้นจุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนจะต้องชัดเจนและมีเกณฑ์ที่บอกให้ ทราบว่าความสามารถระดับใดจึงจะเรียกว่าบรรลุถึงระดับ “รอบรู้” โดยที่นักเรียนแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละ ชนั้ หรือโรงเรยี นแต่ละโรงจะไดร้ บั การตดั สินว่าประสบผลสำเร็จกต็ ่อเมื่อ นักเรยี นแต่ละคน หรือชั้นเรียนแต่ละชั้น หรือโรงเรียนแต่ละโรงได้สาธิตผลสำเร็จ หรือสาธิตความรอบรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ข้อมูลที่ใช้สำหรับการประเมินเพื่อวินิจฉัย หรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการ สอนสามารถใช้การประเมนิ แบบองิ กลุ่มหรืออิงเกณฑ์ เทา่ ทผี่ า่ นมาการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรยี นการสอนจะ ใช้การประเมินแบบองิ กลุ่ม แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเรียนรู้จะบรรลุตามเป้าหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู วี่ างไว้ ควรมแี นวทางดังต่อไปนี้ 1. วัดและประเมินผลทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมดา้ นวทิ ยาศาสตร์ รวมทัง้ โอกาสในการเรียนรู้ของนักเรยี น 2. วธิ กี ารวัดและประเมินผลต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ 3. เกบ็ ขอ้ มูลจากการวัดและประเมินผลอย่างตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมินผลภายใตข้ ้อมลู ทมี่ ีอยู่ 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนต้องนำไปสกู่ ารแปลผลและลงข้อสรุปทสี่ มเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลต้องมีความเที่ยงตรงและเป็นธรรม ทั้งในด้านของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

พ คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 วิธกี ารและแหล่งข้อมลู ทใี่ ชใ้ นการวดั ผลและประเมินผล เพ่อื ให้การวัดผลและประเมนิ ผลได้สะท้อนความสามารถที่แทจ้ ริงของนักเรยี น ผลการประเมินอาจ ไดม้ าจากแหลง่ ข้อมลู และวิธกี ารตา่ งๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบุคคลหรือรายกลมุ่ 2. ช้นิ งาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณ์ท้ังแบบเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ 4. บันทกึ ของนักเรยี น 5. การประชุมปรึกษาหารอื รว่ มกันระหว่างนักเรยี นและครู 6. การวดั และประเมนิ ผลภาคปฏิบัติ 7. การวดั และประเมินผลดา้ นความสามารถ 8. การวัดและประเมินผลการเรียนร้โู ดยใชแ้ ฟ้มผลงาน ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 ฟ ตารางแสดงความสอดคล้องระหวา่ งเนอื้ หาและกจิ กรรม ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 2 กับตวั ชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนว่ ยการ ชอ่ื กิจกรรม เวลา ตัวช้วี ัด เรยี นรู้ (ชั่วโมง) บทท่ี 1 แสง • บรรยายการเคลื่อนที่ หนว่ ยที่ 3 เรอื่ งท่ี 1 แสงและการมองเห็น 1 ของแสงจาก แสงและ 1 แหล่งกำเนิดแสง และ สิ่งมีชวี ิต กิจกรรมที่ 1.1 แสงเคล่ือนท่ีได้อย่างไร 3 อธิบายการมองเห็นวัตถุ กจิ กรรมที่ 1.2 มองเหน็ วัตถุต่าง ๆ ได้ 3 จ า ก ห ล ั ก ฐ า น เ ชิ ง อยา่ งไร ประจักษ์ กจิ กรรมท้ายบทที่ 1 แสงและการมองเหน็ 2 • ตระหนักในคุณค่าของ บทท่ี 2 สงิ่ มชี ีวติ 1 ความรู้ของการมองเห็น เรอื่ งท่ี 1 สิง่ มีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวติ 1 โดนเสนอแนวทางการ 3 ป้องกนั อนั ตรายจากการ กจิ กรรมท่ี 1 สงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ ไมม่ ชี ีวิตมี มองเห็นวัตถุที่อยู่ใน ลกั ษณะแตกต่างกันอยา่ งไร 1 บริเวณที่มีแสงสว่างไม่ เร่อื งท่ี 2 ชวี ิตของพืช 3 เหมาะสม กจิ กรรมท่ี 2.1 พชื ต้องการอะไรในการ เจริญเตบิ โต 4 • เปรียบเทียบลักษณะ กิจกรรมท่ี 2.2 วัฏจักรชวี ติ ของพืชดอกเป็น ของสิ่งมีชีวิตและ อย่างไร 2 สิ่งไม่มีชีวิต จากข้อมูลที่ กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 2 สง่ิ มชี วี ิต รวบรวมได้ • ระบุว่าพืชต้องการแสง และน้ำ เพื่อการ เจริญเติบโต โดยใช้ ข้อมูลจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ • ตระหนักถึงความจำเป็น ที่พืชต้องได้รับน้ำและ แสงเพื่อการเจริญเติบโต สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯

ภ คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการ ชอื่ กจิ กรรม เวลา ตัวชว้ี ัด เรียนรู้ (ช่ัวโมง) โดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิง ดงั กล่าวอย่างเหมาะสม • ส ร ้ า ง แ บ บ จ ำ ล อ ง ที่ บรรยายวัฏจักรชีวิตของ พืชดอก หน่วยที่ 4 บทที่ 1 รจู้ ักดนิ 1 • ระบุส่วนประกอบของ ดนิ รอบตวั เรา เร่ืองท่ี 1 ดินในทอ้ งถนิ่ 1 ดนิ และจำแนกชนดิ ของ กจิ กรรมท่ี 1.1 ดินมสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง กจิ กรรมท่ี 1.2 ดินในทอ้ งถ่ินมลี กั ษณะและ 2 ดิน โดยใช้ลักษณะเนื้อ สมบัติอย่างไร เรื่องที่ 2 ประโยชนข์ องดิน 4 ดินและการจับตัวเป็น กจิ กรรมที่ 2 ดินมอี ะไรโยชนอ์ ยา่ งไร เกณฑ์ กจิ กรรมท้ายบทที่ 2 รจู้ ักดนิ 1 • อธิบายการใช้ประโยชน์ 2 จากดิน จากข้อมูลที่ รวบรวมได้ 2 รวมจำนวนชั่วโมง 38 หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาที่ใช้ และสิ่งท่ตี ้องเตรยี มล่วงหน้าน้นั ครสู ามารถปรบั เปล่ียนเพิ่มเติมได้ตามความ เหมาะสมของสภาพท้องถนิ่ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ม รายการวัสดอุ ุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ลำดับท่ี รายการ จำนวน/กลมุ่ จำนวน/ห้อง จำนวน/คน 1 ห่อ หน่วยท่ี 3 แสงและส่ิงมชี ีวิต 1 ชุด 1 กลกั 1 อัน 1 ใบ 1 ชดุ สาธิตการเคลื่อนท่ีของแสง 1 ลูก 1 ม้วน 1 เลม่ 2 ธปู 2 กล่อง 1 กอ้ น 3 ไม้ขีดไฟ 1 ฝา 4 ลกู บอลพลาสติกสี 60 เมล็ด 4 ใบ 5 เทยี นไข 2 ถุง 1 ใบ 6 กล่องกระดาษทึบ 1 อนั 1 อัน 7 ดินน้ำมัน 1 ชุด 10 เมลด็ 8 ฝาขวดน้ำ 2-3 อนั 9 เทปใส 4 ใบ 1 อนั 10 เมล็ดพชื 5 ใบ ½ แกว้ 11 กระถาง 12 ดิน 13 ภาชนะใสน่ ้ำ 14 ชอ้ น 15 ไมบ้ รรทัด 16 บัตรภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงขณะเจริญเติบโตของ พืชชนดิ ต่าง ๆ 17 เมลด็ ทานตะวนั หรือเมล็ดพริก หน่วยที่ 4 ดินรอบตัวเรา 1 ไมห้ รอื ตะเกยี บสำหรบั เขีย่ ดนิ 2 แว่นขยาย 3 จานกระดาษหรือภาชนะใสด่ ิน 4 ช้อนพลาสติก 5 แก้วพลาสติกใส 6 นำ้ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

ย คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ลำดบั ท่ี รายการ จำนวน/กลมุ่ จำนวน/ห้อง จำนวน/คน ประมาณ 7 ตวั อยา่ งดินในท้องถ่นิ 300 กรมั 1 ใบ 8 ถงุ พลาสติกใส 9 ยางรัดของ 1 วง 10 ชดุ ทดลองการอุ้มน้ำ 11 ดินเหนยี ว 4 ชดุ ประมาณ 12 ดินรว่ น 200 กรมั ประมาณ 13 ดนิ ทราย 200 กรัม ประมาณ 14 ปากกาเคมี 200 กรมั 15 ชอ้ นโตะ๊ 1 ดา้ ม 1 อนั ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 ร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

หนว่ ยที่ 3 แสงและส่งิ มีชวี ติ1 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสง่ิ มชี ีวิต ภาพรวมการจดั การเรยี นร้ปู ระจำหน่วยที่ 3 แสงและส่งิ มชี วี ติ บท เร่ือง กิจกรรม ลำดับการจัดการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด บทท่ี 1 แสง เร่อื งท่ี 1 แสงและ กจิ กรรมท่ี 1.1 • แสงเคล่ือนท่ีจากแหล่งกำเนิดแสง ว 2.3 การมองเห็น แสงเคลื่อนที่ ทกุ ทิศทางและเปน็ แนวตรง ป.2/1 บรรยายแนวการ อยา่ งไร • การมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ต้องมีแสง เคล่ือนท่ีของแสงจาก เขา้ สตู่ า • การมองวัตถุท่ีเป็นแหล่งกำเนิดแสง แหล่งกำเนิดแสง และ จะมีแสงจากแหลง่ กำเนิดแสงเข้าส่ตู า อธิบายการมองเห็นวัตถุ กิจกรรมท่ี 1.2 โดยตรง แต่การมองวัตถุที่ไม่เป็น จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ มองเห็นวัตถตุ ่าง ๆ ได้อย่างไร แหล่งกำเนิดแสง ต้องอาศัยแสงจาก ป.2/2 ตระหนักในคุณค่า วั ต ถุ ท่ี เป็ น แ ห ล่ ง ก ำ เนิ ด แ ส ง ตกกระทบวัตถุแลว้ สะท้อนเขา้ ส่ตู า ของความรู้ของการ • การมองวัตถุในบริเวณท่ีมีแสงสว่าง มองเหน็ โดยเสนอแนะแนว มากหรือน้อยเกินไปจะเป็นอันตราย ทางการป้องกนั อนั ตราย ต่อตา ป้องกันได้โดยการจัดความ จากการมองวัตถุท่อี ยู่ใน สว่างให้เหมาะสมกับการทำกิจกรรม บริเวณท่มี ีความสว่างไม่ ตา่ ง ๆ เหมาะสม รว่ มคดิ รว่ มทำ ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่ิงมชี ีวิต 2 บท เร่อื ง กจิ กรรม ลำดบั การจดั การเรยี นรู้ ตวั ช้วี ดั บทที่ 2 ส่งิ มชี วี ติ เร่อื งที่ 1 ส่งิ มีชีวิตกับ กิจกรรมท่ี 1 • สิ่ งท่ี อ ยู่ ร อ บ ตั ว เร า มี ทั้ งที่ เป็ น ว 1.3 สง่ิ ไมม่ ีชีวิต สิ่งมีชีวติ และ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิต ป .2/1 เ ป รี ย บ เ ที ย บ ต้ อ งก ารอ าห าร มี ก ารห าย ใจ สิ่งไมม่ ชี ีวิตมี เจริญเติบโต ขับถ่าย เคลื่อนไหว ลักษณะของสิ่งมีชีวิต ลักษณะแตกต่าง กนั อยา่ งไร ตอบสนองต่อสิ่งเร้า และสืบพันธุ์ได้ และส่ิงไม่มีชีวิต จาก ส่วนสงิ่ ไมม่ ชี วี ิตไม่มีลักษณะดงั กล่าว ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ เรอ่ื งท่ี 2 ชีวิตของพืช กิจกรรมท่ี 2.1 • พชื ตอ้ งการนำ้ แสง อากาศ และธาตุ ว 1.2 พชื ต้องการ อาหารเพื่อการเจริญเติบโตและการ อะไรบ้างในการ ดำรงชีวติ ที่เป็นปกติ ป.2/1 ระบุว่าพืชต้องการ เจรญิ เตบิ โตและ แ ส ง แ ล ะ น้ ำ เพ่ื อ ก า ร การดำรงชวี ติ • พืชดอกเม่ือเจริญเติบโตและมีดอก เจริญ เติบโต โดยใช้ ดอกจะมีการสืบพันธุ์เปลี่ยนแปลงไป ข้อมูลจากหลักฐานเชิง กิจกรรมท่ี 2.2 เป็นผล ภายในผลมีเมล็ด เมื่อเมล็ด ประจกั ษ์ วัฏจกั รชวี ติ ของพชื งอก ต้นอ่อนที่อยู่ภายในเมล็ดจะ ดอกเปน็ อย่างไร เจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ พืชต้น ป.2/2 ตระหนักถึงความ ให ม่ จ ะ เจ ริ ญ เติ บ โต อ อ ก ด อ ก เพื่ อ จำเป็นที่พืชต้องได้รับ สืบพันธุ์มีผลต่อไปได้อีก หมุนเวียน น้ำและแสงเพื่ อการ ตอ่ เน่อื งเป็นวฏั จกั รของพชื ดอก เจริญเติบโต โดยดูแล พืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าว อย่างเหมาะสม ป.2/3 สร้างแบบจำลองท่ี บรรยายวฏั จักรชวี ิต ของพืชดอก รว๋ มคิด รว่ มทำ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

3 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและส่งิ มชี ีวิต บทท่ี 1 แสง จุดประสงคก์ ารเรียนรูป้ ระจำบท บทน้มี อี ะไร เมือ่ เรียนจบบทน้ี นักเรยี นสามารถ เรอ่ื งที่ 1 แสงและการมองเหน็ 1. บรรยายลกั ษณะการเคลอื่ นท่ีของแสงจากแหล่งกำเนดิ แสง 2. อธบิ ายการมองเหน็ วัตถุ คำสำคัญ แหล่งกำเนดิ แสง (light source) 3. เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการมองวตั ถุ กิจกรรมท่ี 1.1 แสงเคลือ่ นท่ีอยา่ งไร ในบรเิ วณทม่ี แี สงสว่างไมเ่ หมาะสม กจิ กรรมท่ี 1.2 มองเห็นวตั ถุตา่ ง ๆ ได้อยา่ งไร แนวคดิ สำคญั แ ส ง มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร เค ล่ื อ น ท่ี เป็ น แ น ว ต ร ง จ า ก แหล่งกำเนิดแสงทุกทิศทาง แสงช่วยในการมองเห็น สิ่งต่าง ๆ การมองวัตถุในบริเวณท่ีมีแสงสว่างไม่เหมาะสม จะเป็นอันตรายต่อตา ดังนั้นการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวันตอ้ งทำในบริเวณท่มี ีแสงสว่างเหมาะสมกับ กจิ กรรมน้ัน ๆ สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน ป.2 เล่ม 2 หนา้ 1-15 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 1-20 ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่ิงมีชีวิต 4 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 รหัส ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1.1 1.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  S1 การสงั เกต S2 การวดั S3 การใช้จำนวน S4 การจำแนกประเภท S5 การหาความสัมพันธ์ระหว่าง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทำและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู S7 การพยากรณ์   S8 การลงความเหน็ จากข้อมูล  S9 การต้ังสมมตฐิ าน  S10 การกำหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ัตกิ าร   S11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร  S12 การทดลอง S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ S14 การสรา้ งแบบจำลอง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 C1 การสรา้ งสรรค์ C2 การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ C3 การแก้ปัญหา C4 การส่ือสาร  C5 ความรว่ มมือ  C6 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ  ส่อื สาร หมายเหตุ : รหัสทกั ษะทีป่ รากฏนี้ ใชเ้ ฉพาะหนงั สือคมู่ อื ครเู ลม่ น้ี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

5 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.2 เลม 2 | หนวยที่ 3 แสงและส่ิงมีชีวติ แนวคดิ คลาดเคล่ือน แนวคดิ คลาดเคล่ือนท่ีอาจพบและแนวคิดท่ีถกู ตอ งในบทที่ 1 แสง มีดังตอไปน้ี แนวคดิ คลาดเคลือ่ น แนวคดิ ท่ถี ูกตอ ง ตาของมนุษยสามารถผลิตแสงได ดงั น้นั เราจึงสามารถ ตาของมนษุ ยไมส ามารถผลติ แสงได แตเ รามองเหน็ สงิ่ ตา ง ๆ ได มองเหน็ ส่งิ ตา ง ๆ ได (Sampson & Schleigh, 2013) เพราะแสงจากวตั ถุทีเ่ ปน แหลงกําเนิดแสง เชน ดวงอาทิตย ไฟฉาย เขา สตู า (Sampson & Schleigh, 2013) แตละจดุ ของวตั ถุทีเ่ ปน แหลงกําเนิดแสง จะปลอยแสงออกมา แตล ะจดุ ของวัตถุท่เี ปนแหลงกําเนิดแสง จะปลอยแสงออกมา ในทศิ ทางเดียว (Balzak, Cgafiqi, & Kendil, 2009) ทกุ ทิศทาง (Balzak, Cgafiqi, & Kendil, 2009) แสงเคลื่อนที่จากตาไปยงั วตั ถุตา ง ๆ (Balzak, Cgafiqi, & แสงไมไดเคล่ือนทจ่ี ากตาไปยังวัตถุตาง ๆ แตก ารทเี่ รามองเหน็ Kendil, 2009) วตั ถไุ ดเพราะมแี สงจากแหลงกาํ เนิดแสง หรอื แสงสะทอนจาก วตั ถุเขาสตู า โดยเมอ่ื เขียนแผนภาพรังสขี องแสง จะเขียนหัว ลูกศรชจี้ ากวตั ถุเขาสตู า (Balzak, Cgafiqi, & Kendil, 2009) ถาครูพบวามีแนวคิดคลาดเคลื่อนใดที่ยังไมไดแกไขจากการทํากิจกรรมการเรียนรู ครูควรจัดการเรียนรูเพิ่มเติม เพือ่ แกไขตอ ไป  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวติ 6 บทน้เี ริม่ ตน้ อย่างไร (1 ชว่ั โมง) ในการตรวจสอบความรู้ ครูเพียงรับฟงั เหตผุ ลของนักเรยี นและยังไม่เฉลยคำตอบ 1. ครูชักชวนนักเรียนให้ร่วมกันสังเกตภาพนำหน่วย จากนั้นนำ ใด ๆ แต่ชกั ชวนให้นักเรยี นไปหาคำตอบ อภปิ ราย โดยแนวคำถาม ดงั นี้ ดว้ ยตนเองในการทำกจิ กรรม 1.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในรูปบ้าง (นักเรียนตอบตามสิ่งที่ สงั เกตเห็น เช่น เห็นต้นไม้ เห็นแสงอาทิตย์ส่องลอดตามช่อง ระหวา่ งต้นไม)้ 1.2 แสงท่ีนักเรียนเห็น มีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามสิ่งท่ี สังเกตเห็น เช่น แสงมสี ีเหลืองสม้ เปน็ ลำแสง เป็นแนวตรง) ครอู าจทบทวนความรู้พน้ื ฐานของนกั เรียน โดยใชค้ ำถามดังน้ี 1.3 นอกจากแสงอาทิตย์ในภาพ นักเรียนเคยเห็นแสงจาก แห ล่ งอ่ื น อี ก ห รือ ไม่ อ ะไรบ้ าง (นั ก เรีย น ต อ บ ต าม ประสบการณ์หรือความรพู้ ื้นฐานของตนเอง เช่น แสงไฟฉาย แสงเทียน แสงจากหลอดไฟฟา้ ) 1.4 แสงมีประโยชน์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความรู้พื้นฐาน หรือประสบการณ์ของตนเอง เช่น แสงให้ความสว่าง ช่วยใน การมองเหน็ ใหค้ วามอบอุน่ ) จากนั้นครูอาจตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน โดยใช้คำถาม ดงั นี้ 1.5 เรามองเห็นส่ิงต่าง ๆ รอบตัวได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น เรามองเห็นสิ่งต่าง ๆ โดยอาศัย แสงจากแหล่งต่าง ๆ) 1.6 แสงจากแหล่งตา่ ง ๆ เชน่ แสงจากดวงอาทิตย์ มีลกั ษณะการ เคล่ือนที่เป็นอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ ตนเอง) ครอู าจวาดรปู หลอดไฟฟ้าและคนไวบ้ นกระดานจากนนั้ สมุ่ นักเรียน 2 – 3 คน ให้ออกมาอธบิ ายวา่ เรามองเห็นหลอดไฟฟา้ ได้ อยา่ งไรและอธิบายว่าเรามองเหน็ ส่ิงต่าง ๆ รอบตัวได้อยา่ งไร นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง โดยครูยงั ไม่เฉลยคำตอบท่ี ถูกต้อง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

7 คมู่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิ่งมชี ีวิต 2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเร่ืองแสงและสิ่งมีชีวิต โดยให้อ่าน ช่ือหน่วย และอ่านคำถามสำคัญประจำหน่วย ในหนังสือเรียน ดังนี้ 2.1 เรามองเหน็ ส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างไร 2.2 บอกไดอ้ ยา่ งไรว่าส่งิ ใดเป็นสง่ิ มชี ีวิตและส่งิ ใดเป็นส่งิ ไม่มีชวี ิต 2.3 การดูแลพืชดอกให้เจริญเติบโตจนครบวัฏจักรชีวิตทำได้ อย่างไร นักเรียนตอบคำถามตามประสบการณ์ของนักเรียน โดยครู ยังไม่เฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับมาตอบอีกครั้ง หลังจากเรยี นจบหนว่ ยน้แี ล้ว 3. นักเรียนอ่านช่ือบท และอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำบท ใน หนังสือเรียน หน้า 1 จากน้ันสอบถามความเข้าใจโดยใช้คำถามว่า เม่ือ เรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้าง (บรรยายลักษณะการ เคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง อธิบายการมองเห็นวัตถุ และ เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อันตรายจากการมองวตั ถุในบริเวณทม่ี ีแสง สว่างไมเ่ หมาะสม) 4. นักเรียนอ่านช่ือบท และแนวคิดสำคัญ ในหนังสือเรียนหน้า 2 จากน้ัน ครูใช้คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจว่า จากการอ่านแนวคิดสำคัญ นักเรียนคิดว่าจะได้เรียนเก่ียวกับเรื่องอะไรบ้าง (เร่ืองลักษณะการ เคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง การมองเห็นวัตถุ การมองวัตถุใน บริเวณทม่ี แี สงสว่างไม่เหมาะสม) 5. ครูชักชวนให้นักเรียนสังเกตรูป และอ่านเน้ือเร่อื งในหน้า 2 โดยใช้วิธีอ่าน ตามความเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากน้ันตรวจสอบ ความเขา้ ใจในการอ่าน โดยใช้คำถามดังตอ่ ไปน้ี 5.1 สถานการณ์ในเรื่องนี้ เกี่ยวข้องกับอะไร (การเล่นเกมในโทรศัพท์ เคลือ่ นท่ีเปน็ เวลานาน ๆ หรือการจ้องมองส่ิงต่าง ๆ ในทมี่ แี สงสว่าง ไมเ่ พยี งพอ) 5.2 นักเรียนเคยทำกิจกรรมต่าง ๆ ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอ หรือไม่ อะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามประสบการณ์ของตนเอง เช่น เลน่ เกมหรืออา่ นหนงั สอื ในหอ้ งท่ีแสงสว่างนอ้ ยเกนิ ไป) ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและสิ่งมีชีวติ 8 5.3 ปัญหาในเร่ืองนี้คืออะไร (การจ้องมองสิ่งต่าง ๆ ในที่มีแสงสว่างไม่ การเตรยี มตัวลว่ งหนา้ สำหรับครู เพยี งพอ จะมผี ลตอ่ การมองเห็นและเปน็ อันตรายตอ่ ตาหรือไม่) เพอ่ื จดั การเรียนรใู้ นครงั้ ถดั ไป 6. ครูชักชวนนักเรียนตอบคำถามเก่ียวกับแสงในสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรมหน้า 2 โดยนักเรียนอ่านคำถาม ครูตรวจสอบ เรื่องท่ี 1 แสงและการมองเห็น ซ่ึงเป็น ความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับคำถามแต่ละข้อ จนแน่ใจว่านักเรียน สถานการณ์เก่ียวกับการทัศนศึกษาในถ้ำ สามารถทำได้ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียนตอบคำถาม โดยคำตอบของ เพื่อให้นักเรียนศึกษาเรื่องการมองเห็น แตล่ ะคนอาจแตกตา่ งกัน และคำตอบอาจถกู หรือผิดกไ็ ด้ ดังน้ันครูอาจจะเตรียมห้องมืดเพื่อให้ นั ก เ รี ย น เข้ า ใ จ ว่ า เ ม่ื อ ต้ อ ง อ ยู่ ใ น ที่ มื ด 7. ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคิด การมองเหน็ จะเปน็ อย่างไร เก่ียวกับเรื่องแสงอย่างไร หรืออาจสุ่มให้นักเรียน 2 – 3 คน นำเสนอ คำตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนย้อนกลับ มาตรวจสอบอีกคร้ังหลงั จากเรียนจบบทนี้แล้ว ทั้งน้ีครูอาจบันทึกแนวคิด คลาดเคล่ือนหรือแนวคิดท่ีน่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมาออกแบบ การจัดการเรียนการสอนเพ่ือแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และ ตอ่ ยอดแนวคดิ ท่นี า่ สนใจของนกั เรียน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

9 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและสิ่งมีชีวิต แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม การสำรวจความรกู้ ่อนเรียน นักเรยี นอาจตอบคำถามถกู หรือผิดก็ไดข้ น้ึ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ ของนักเรยี น แต่เมื่อเรียนจบบทเรียนแลว้ ให้นกั เรียนกลบั มาตรวจสอบคำตอบอีกคร้ังและแก้ไขให้ถูกต้อง ดงั ตัวอย่าง ✓✓ ✓✓ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 3 แสงและส่งิ มีชีวิต 10 ดวงตาและแหล่งกำเนิดแสง ✓ ✓ ✓ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯

11 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 | หน่วยที่ 3 แสงและส่งิ มีชีวติ เร่อื งท่ี 1 แสงและการมองเหน็ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแสงและการมองเห็น โดยจะได้สังเกตลักษณะการเคล่ือนท่ีของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง อธิบายการมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกำเนิดแสงและวัตถุที่ไม่เป็น แหล่งกำเนิดแสงโดยใช้แผนภาพแสดงแนวการเคล่ือนท่ีของแสงจาก วัตถุน้ันไปยังตาผู้สังเกต ตลอดจนศึกษาและเสนอแนะแนวทางการ ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตาเนื่องจากการมองวัตถุในบริเวณที่มี แสงสวา่ งไม่เหมาะสม จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สงั เกต เขียนแผนภาพ และบรรยายลักษณะการเคล่อื นท่ีของแสง จากแหล่งกำเนิดแสง 2. สงั เกตและอธบิ ายการมองเห็นวตั ถุทีเ่ ป็นแหลง่ กำเนดิ แสง 3. สงั เกตและอธบิ ายการมองเห็นวตั ถทุ ีไ่ มเ่ ปน็ แหล่งกำเนิดแสง 4. รวบรวมขอ้ มูลและเสนอแนะแนวทางการป้องกนั อนั ตรายจากการ มองวตั ถุในบรเิ วณท่มี ีแสงสว่างไม่เหมาะสม เวลา 8 ชัว่ โมง วัสดุ อุปกรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ไม้ขีดไฟ ธปู ชุดสาธิตการเคลือ่ นที่ของแสง ลูกบอล เทยี นไข กลอ่ งกระดาษ เทปใส ดนิ นำ้ มนั ฝาขวดนำ้ ส่อื การเรยี นรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.2 เลม่ 2 หนา้ 4-13 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.2 เล่ม 2 หน้า 4-16 3. แบบพับชุดสาธิตการเคล่อื นท่ีของแสง http://ipst.me/10507 ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี