Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อ การเวนตาน

ความเชื่อ การเวนตาน

Published by aun-li, 2019-12-01 23:05:32

Description: หนานอั๋นเวียงป่าขาม
กลางเวียงหริภุญชัยหละปูนแก้วกว้าง

Search

Read the Text Version

เอกสารหมายเลข 15 รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ โครงการวิจยั “วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมลานนา : ลักษณะเดน ภมู ิปญ ญา และคุณคา” โดย ชยุตภัฎ คํามูล ชุดโครงการวิจัย “วรรณกรรมลานนา : ลกั ษณะเดน ภมู ิปญญา และคุณคา” กันยายน 2553

สญั ญาเลขท่ี RDG50H0008 รายงานวิจยั ฉบับสมบรู ณ โครงการวจิ ัย “วรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมลานนา : ลกั ษณะเดน ภูมิปญญา และคุณคา” ผวู จิ ัย ชยตุ ภฎั คาํ มูล สังกดั กลุมวชิ าภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะศิลปศาสตร มหาวทิ ยาลยั แมโจ จังหวดั เชียงใหม ชุดโครงการวิจยั “วรรณกรรมลา นนา : ลักษณะเดน ภมู ปิ ญญา และคุณคา ” สนบั สนุนโดยสํานกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

Executive Summary งานวิจัยเร่ืองน้ี เปนการศึกษาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมลานนา ซ่ึงเปนวรรณกรรมที่ ปจ จบุ นั คนลานนายังนาํ ไปใชอ ยู โดยมวี ตั ถปุ ระสงคส ําคัญในการศึกษา 3 ประการ คือ ประการ แรก เพ่ือเพ่ือศึกษาลักษณะเดนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ประการท่ีสอง เพ่ือศึกษา ภูมิปญญาของคนลานนาจากวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม และประการที่สามเพื่อศึกษาคุณคา ของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ขอบเขตการศึกษาวิจัยครั้งน้ี ศึกษาจากวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม 6 ประเภท ไดแก เวนทาน สืบชาตา เรียกขวัญ สงเคราะห ข้ึนทาวท้ังส่ี และปนพรปใหม วิธีดําเนินการวิจัย ประกอบดวยการรวบรวมขอ มูลเอกสารทัง้ ท่เี ปนพับสา สําเนาไมโครฟล ม สมุดจดบันทึก และ หนังสือ จากน้ันคัดเลือกบางตัวบทมาปริวรรตเปนภาษาไทยมาตรฐานเพ่ือความสะดวกในการ วิเคราะหขอมูล และขอมูลอีกสวนหน่ึงไดมาจากการเก็บขอมูลภาคสนามดวยการสังเกตแบบมี สวนรวมในการประกอบพิธีกรรมตางๆ ประกอบกับการสัมภาษณวิทยากรทั้งที่เปน นักวิชาการ พระสงฆ ปูจารยผูประกอบพิธีกรรม รวมถึงชาวบานชวยจัดเตรียมและเขารวม พิธี แลว จึงนาํ ขอมูลทงั้ หมดมาศึกษาวเิ คราะห ผลการศึกษา จําแนกได 4 สวน สวนแรก คือ องคประกอบของพิธีกรรม พบวา ท้ัง 6 พิธีกรรมมีองคประกอบบางประการสอดคลองกัน ไดแก ผูประกอบพิธีมักเปนปูจารย มีความ เช่ือเรื่องผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เขามาเกี่ยวของ และมีการกลาวตัวบทวรรณกรรมขณะประกอบพิธี สวนองคประกอบท่ีแตกตางกัน ไดแก องคประกอบและจํานวนของเคร่ืองประกอบพิธีกรรมและ ผเู ขา รวมพธิ ีกรรม สวนท่ีสอง รูปแบบเน้ือหาของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม พบวา รูปแบบของ เอกสารท่ีใชบันทึกตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม สวนใหญ จะมี 3 ประเภท ไดแก บันทึก ดวยอักษรธรรมลานนาในพับสา บันทึกดวยอักษรไทยมาตรฐานในหนังสือ และบันทึกไวใน สมุดบันทึก สวนรูปแบบคําประพันธพบวา ตัวบทสืบชาตากรณีที่ พระสงฆเปนผูประกอบ พิธีกรรม จะแตงเปนภาษาบาลีลวน ดวยคําประพันธประเภทฉันท สวนตัวบทของวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมอื่นๆ นิยมแตงดวย คําประพันธประเภทรายแบบลานนา ที่ไมเครงครัดใน ฉันทลักษณมากนัก แตเนนความหมายและความไพเราะในการออกเสียงมากกวา ซึ่งตัวบท แตละประเภทแมจะมหี ลายสํานวน แตก ็จะมเี นอ้ื หาและโครงสรางหลกั เหมอื นกนั สวนที่สาม คือ ภูมิปญญาและลักษณะเดนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม พบวาการ ประกอบพิธีกรรมสะทอนถึงภูมิปญญาของคนลานนาหลายดาน ดานแรก คือ ภูมิปญญาในการ สรา งระบบความสัมพนั ธระหวางคนกับธรรมชาติ คนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ และคนกับคน โดย แสดงออกผานพิธีกรรมในรูปแบบของการแสดงความเคารพ ดานท่ีสอง คือ ภูมิปญญาในการ สรางระบบคิดเร่ืองวนั และฤกษยามทเ่ี หมาะสมกบั การประกอบพธิ กี รรมตา ง ๆ ที่จะตองพิจารณา

(2) จากเดือนที่เหมาะสม วันท่ีเหมาะสมท้ังในระบบวันเม็ง วันหนไท ฟาตีแฉงเศษ ตลอดจนฤกษ ยามที่เหมาะสมในแตละวันดวย ดานท่ีสาม คือ ภูมิปญญาในการคัดเลือกผูประกอบพิธีกรรม ที่ ตองคัดเลือกคนมาเปนปูจารยโดยพิจารณาจากการเคยผานการอุปสมบท อาวุโส ไหวพริบ ปฏิภาณ ความเสียสละ ความประพฤติดีประพฤติชอบ และความรูเร่ือง ศาสนพิธี ดานท่ีสี่ คือ ภูมิปญญาทางดานศิลปะที่สัมพันธกับพิธีกรรม เชน บายศรี ตุง ชอ ดานที่หา คือ ภูมิปญญาในการใชเคร่ืองประกอบพิธีกรรมที่มีความหมายเชิงสัญลักษณ เชน ใชใบของตนเบ้ีย แทนจํานวนหอยเบ้ีย เนื่องจากมีเสียงพองกัน การเลือกเคร่ืองประกอบพิธีกรรมที่เปนเสมือน สัญลักษณแหงความเจริญงอกงาม เชน หนอกลวย หนอออย หนอมะพราวเปนตน และดาน ท่ีหก คือ ภูมิปญญาในการนําวัสดุธรรมชาติท่ีมีอยูรอบตัวมาใชในพิธีกรรม เชน ใชใบไมตาง ๆ ทําเปนแกง แทนแกงจริง เปนตน สวนตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมไดสะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาดานการใช ภาษา เพราะแตงดวยภาษาท่ีไพเราะสละสลวย มีความหมายลึกซ้ึงกินใจ และมีความศักด์ิสิทธ์ิ อีกทั้งยังไดสะทอนภูมิปญญาดานการกําหนดโครงสรางใหยืดหยุน สามารถปรับใหเขากับยุค สมยั ที่เปลี่ยนแปลงไปได นอกจากนี้ยังพบวาการประกอบพิธีกรรมมีลักษณะเดน คือ บางพิธีกรรมมีแตในลานนา เทานัน้ อกี ทง้ั ยังสะทอนจิตใจ นิสัย และความเชื่อของคนลานนา สวนตัวบท มีลักษณะเดนคือ มี ภาษาบาลีปรากฏอยูดวยเสมอ มีโครงสรางหลักเหมือนกันทั่วลานนา ตลอดจนสะทอนความคิด สรา งสรรคข องผปู ระกอบพธิ ีดว ย สวนความสัมพันธระหวางพิธีกรรมและวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมนั้น ผลการศึกษา พบวา ทั้งพิธีกรรมและวรรณกรรม มีความสัมพนั ธซง่ึ กันและกันหลายประการ ประการแรก คือ วรรณกรรมชวยสรางบรรยากาศความศักด์ิสิทธ์ิใหแกพิธีกรรม ประการท่ีสอง คือ วรรณกรรมใช อธิบายความเปนมาของพิธีกรรม แนวทางปฏิบัติในการประกอบพิธีกรรมตางๆ และเคร่ือง ประกอบพิธีกรรม ไวอยางชัดเจน และประการสุดทาย คือ พิธีกรรมชวยสืบทอดวรรณกรรมให คงอยใู นวฒั นธรรมลานนา เพราะ ตราบใดที่คนลา นนา ยังมีการประกอบพิธกี รรมอยู วรรณกรรม ประกอบพธิ ีกรรมก็จะยงั คงอยู สวนสุดทาย คือ คุณคา การสืบทอด และการดํารงอยู พบวาวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรม มีคณุ คาตอ คนและสงั คมลา นนาหลายประการ ประการแรก คือ สะทอนใหเห็นความคิด ความเช่ือ และลักษณะนิสัยของคนลานนา ไดแก ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย เรื่อง ภพหนา ชาติหนา ความเช่ือเร่ืองอํานาจศักด์ิสิทธ์ิ เทวดา และผีของคนลานนา ความเชื่อเรื่อง เคราะห ความเช่ือเรื่องขวัญ ความปรารถนาของคนลานนา ความโอบออมอารีและ เอ้ือเฟอเผ่ือแผใหแกผูอ่ืน เปนตัวเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางภพภูมิตามความเชื่อของคน ลานนา และเปนตัวเช่ือมโยงความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับชุมชน และชุมชนกับ ชุมชน ประการตอ มา คือ ใหความรูและอบรมระเบียบสังคม ทั้งเร่ืองการอธิบายถึงมูลเหตุในการ

(3) ประกอบพิธีกรรม การใหความรูและเสริมสรางปญญาแกผูฟง และการสรางแบบแผนในการ ปฏิบัติตนเน่ืองในพิธีกรรมตางๆ ปลูกฝงใหคนมีความกตัญูกตเวทีและมีความนอบนอมถอม ตน ตลอดจนเปนชองทางใหคนในสังคมไดมีโอกาสปรับความเขาใจกัน ประการท่ีสาม คือ รกั ษาและเยยี วยาจิตใจคนในสังคม และประการสดุ ทา ย คือ แสดงใหเห็นถึงอัตลักษณของความ เปน คนลานนา การสืบทอดวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมผูใ หการสืบทอดและผูรบั การสบื ทอดจะสืบทอด ผา นกระบวนการเรียนรดู วยตนเองประกอบกบั การเอ้อื เฟอเผือ่ แผซ งึ่ กันและกันสว นผลารศึกษา ดานการดํารงอยขู องวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม พบวา บางพธิ ีกรรมมกี ารเปลีย่ นแปลงไมมาก นกั โดยเฉพาะวรรณกรรมที่เปนภาษาลี สวนวรรณกรรมประเภทอ่นื ๆ พบวา เกิดการ เปล่ียนแปลงข้ึน ในดานตา ง ๆ คอื ดา นการประกอบพธิ ีกรรม และดานตวั บท ความเปล่ียนแปลงดานการประกอบพิธีกรรม พบวา เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายสวน สวนแรก คือ ผูประกอบพิธีกรรม สวนที่สอง คือ ลักษณะการมีสวนรวมในพิธีกรรม สวนท่ีสาม คือ รูปแบบการประกอบพิธีกรรม สวนท่ีสี่ คือ การจัดเตรียมพิธีกรรม และสวนท่ีหา คือ เคร่ือง ประกอบพธิ กี รรม ความเปล่ียนแปลงดานตัวบท พบวามีการเปล่ียนแปลงหลายสวนเชนกัน สวนแรก คือ ตวั บทท่ไี ดร ับการตพี มิ พเ ปนหนังสือไดรับความนิยมมาก สวนท่ีสองคือ มีการตัดเน้ือหาบางสวน ออกไป เพ่ือใหเหมาะสมกับโอกาสและเวลา สวนที่สาม คือ เน้ือหามีการกลาวถึงสภาพสังคม แบบวัตถนุ ยิ มมากย่ิงขน้ึ ซง่ึ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม เปนการ เปลี่ยนแปลงเพื่อใหเขากับยุคสมัยท่ีเปลี่ยนไป และเพื่อใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถ ดาํ รงอยูไ ดในปจ จุบัน

(4) บทคัดยอ งานวิจัยเรื่องน้ี มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษา ลักษณะเดน ภูมิปญญา และคุณคาของ วรรณกรรมลานนา โดยศึกษาจากวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม 6 ประเภท ไดแก เวนทาน สืบชาตา เรียกขวัญ สงเคราะห ข้ึนทาวท้ังสี่ และปนพรปใหม วิธีดําเนินการวิจัยประกอบดวย การรวบรวมขอมูลเอกสาร การปริวรรต การเก็บขอมูลภาคสนามดวยการสังเกตแบบมีสวนรวม และการสมั ภาษณว ิทยากร แลว จึงนําขอมลู ทัง้ หมดมาศึกษาวิเคราะห ผลการศึกษา จําแนกได 4 สวน สวนแรก คือ องคประกอบของพิธีกรรม พบวา ท้ัง 6 พิธีกรรมมีองคประกอบบางประการสอดคลองกัน ไดแก ผูประกอบพิธีมักเปนปูจารย มีความ เช่ือเรื่องผีและส่ิงศักดิ์สิทธิ์เขามาเกี่ยวของ และมีการกลาวตัวบทวรรณกรรมขณะประกอบพิธี สวนองคประกอบที่แตกตางกัน ไดแก องคประกอบและจํานวนของเครื่องประกอบพิธีกรรมและ ผูเขา รวมพธิ ีกรรม สวนท่ีสอง รูปแบบเน้ือหาของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม พบวา ตัวบท นิยม บันทึกดวยอักษรธรรมลานนาในพับสา บันทึกดวยอักษรไทยมาตรฐานในหนังสือ และบันทึกไว ในสมดุ บนั ทกึ รูปแบบคําประพนั ธสว นใหญแตงดวยรา ยแบบลานนาท่ีไมเครงครัดในฉันทลักษณ มากนัก ซึ่งตัวบทแตละประเภทแมจะมีหลายสํานวน แตก็จะมีเนื้อหาและโครงสรางหลัก เหมือนกนั สวนท่ีสาม คือ ภูมิปญญาและลักษณะเดน พบวาการประกอบพิธีกรรมสะทอนถึงภูมิ ปญญาของคนลานนาหลายดานท้ังระบบความสัมพันธระหวางคนกับส่ิงตางๆ ระบบคิดเร่ืองวัน และฤกษยาม การคัดเลือกผปู ระกอบพิธกี รรม ศลิ ปะ สัญลกั ษณ และการเลือกใชวสั ดธุ รรมชาติ สวนตัวบท ก็สะทอนภูมิปญญาดานการใชภาษาและการกําหนดโครงสรางใหยืดหยุน ปรับเปลี่ยนไดตามสภาพสังคม นอกจากน้ียังพบวาการประกอบพิธีกรรมมีลักษณะเดน คือ บาง พิธีกรรมมีแตในลานนาเทานั้น อีกท้ังยังสะทอนจิตใจ นิสัย และความเชื่อของคนลานนา สวน ตัวบท มีลักษณะเดนคือ มีภาษาบาลีปรากฏอยูดวยเสมอ มีโครงสรางหลักเหมือนกันท่ัวลานนา ตลอดจนสะทอ นความคดิ สรางสรรคข องผปู ระกอบพธิ ีดวย โดยทั้งพิธีกรรมและวรรณกรรมตางมี ความสัมพันธซึ่งกันและกัน เพราะวรรณกรรมทําหนาท่ีอธิบายที่มาของพิธีกรรม ใน ขณะเดยี วกนั พิธกี รรมกช็ วยสืบทอดวรรณกรรมใหคงอยู สวนสุดทาย คือ คุณคา การสืบทอด และการดํารงอยู พบวาวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรมมีคุณคาตอคนลานนาดวยการสะทอนความคิด ความเชื่อ และลักษณะนิสัยของคน ลานนา ใหความรูและอบรมระเบียบสังคม ตลอดจนรักษาและเยียวยาจิตใจคนในสังคม การ สืบทอดวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ผูใหการสืบทอดและผูรับการสืบทอดจะสืบทอดผาน กระบวนการเรียนรูดวยตนเองประกอบกับการเอื้อเฟอเผ่ือแผซึ่งกันและกัน สวนการดํารงอยู

(5) พบวา เกดิ การเปลี่ยนแปลงท้ังดานการประกอบพิธีกรรมและตัวบท ซ่ึงเปนการเปลี่ยนเพื่อใหเขา กบั ยคุ สมยั เพอ่ื ใหว รรณกรรมประกอบพธิ กี รรมสามารถดาํ รงอยูไดใ นปจจุบัน

(6) Abstract This study aims to study the characteristics, wisdom and value of Lanna Literature. The study covered six types of ritual literature comreising Wenthan, sueb Chata, Riak Khwan, Song Khroh, Khuen Thao Thang Si and Phan Phon Pi Mai. The data collected from the methodology consisting of basic documents, transliteration, field observation and interviews with informants and local ritualists then analyse the data The study consists of 4 parts: the first part is composition of the ritual practice found that all of six ritual there are something similar such as “Pujarn” preforms as a ritualist, faith and the holy ghost stories, and “Pujarn” read the literature while the ceremony. Different part equipment and ceremony participants. The Second part is form and content of the text found that records of ritual literature are found in 3 formats: Lanna folded book, book form and notebook recording. It is written in “Rai” convention. However, there are many expressions in the text but the content and the structure are the same. The third Part is wisdom and characteristics found that to formalize demonstrate wisdom of the Lanna people such as to select the day and auspicious, ritualists, art, symbol and the use of natural materials. The text demonstrate wisdom of the language and the structure can be flexible. The characteristics of the ritual found that some rituals are available only in Lanna and demonstrates the mental habits and beliefs of the Lanna people. The characteristics of the text usually wrote in Pali, which have the same structure all over the Lanna, as well as it also demonstrates the creativity of the authors. The importance, rituals and literatures interrelated because the literature describes the background of ritual and rituals can help the literature existe. The fourthPart is value, transmission and existence. The value of Lanna ritual literature found that Lanna ritual literature demonstrats the belief and habit of the Lanna people, as well as educate and teach the rules of society and psychological treatment of people in society. The transmission of Lanna ritual literature is self transformers. The existence of Lanna ritual literature found that ritual and literature has changed to survive in present.

(7) กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยเร่ืองนี้ สําเร็จลงไดดวยความกรุณาจากหลายทาน ดังท่ีผูวิจัยจะไดกลาวถึงเพ่ือ ขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ สํานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย (สกว.) ผใู หท นุ สนับสนุนการวิจยั ศ.ดร. ประคอง นิมมานเหมินท หัวหนาชุดโครงการ ผูใหโอกาสผูวิจัย ไดศึกษาคนควา ในประเด็นที่ผูวิจัยมีความสนใจ นอกจากนี้ยังใหแนะนําหลายๆ ดานที่เปนประโยชนตอการ ดําเนนิ การวิจยั ตลอดจนชว ยตรวจทานภาพรวมของการเขียนรูปเลมของรายงานการวิจัย รศ. ทรงศักด์ิ ปรางควฒั นากลุ ผใู หคาํ ปรกึ ษาและชแ้ี นะแนวทางในการดาํ เนินการวิจัย โดยเฉพาะการวเิ คราะหแ ละการนําเสนอขอมูลใหม คี วามละเอยี ดและนา สนใจ รศ. เรณู วิชาศิลป ผูใหคําช้ีแนะเรื่องการใชภาษาในการเรียบเรียบรูปเลมรายงาน การวิจยั ศ.ดร. ศิราพร ณ ถลาง ผูใหความอนุเคราะหตรวจโครงรางของภาพรวมรายงานการ วจิ ยั และรา งรายงานการวิจยั ตลอดจนแนะนําแนวทางการวิเคราะหใ หละเอยี ดและนา สนใจ อ.พงษศักด์ิ รวมทรัพย และ อ.ชนิตศิรี ศุภพิมล ผูใหความอนุเคราะหตรวจทาน บทคัดยอภาษาองั กฤษ นักวิชาการ วิทยากร ปูจารย ผูใหความอนุเคราะห ขอมูลความรูที่นาสนใจและเปน ประโยชนตอการดําเนนิ การวิจัย ผูชวยวิจัยทุกทานที่สละเวลาชวยเหลือท้ังในสวนของการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม และในสว นของเอกสาร ทายทส่ี ุดคอื ครอบครวั ท่คี อยใหก ําลงั ใจ จนงานวจิ ยั เรอ่ื งนส้ี ําเรจ็ ลงได ชยุตภฎั คาํ มูล ผูวิจัย

สารบญั หนา Executive Summary (1) บทคัดยอ ภาษาไทย (4) บทคัดยอภาษาองั กฤษ (6) กติ ตกิ รรมประกาศ (7) บทที่ 1 บทนาํ 1 1.1 ทีม่ าและความสําคญั ของปญ หา 2 1.2 วตั ถุประสงคใ นการศึกษาวิจัย 2 1.3 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวของ 6 1.4 ขอบเขตการศกึ ษาวิจัย 7 1.5 ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดร บั 7 1.6 วธิ กี ารศกึ ษาวิจัย 7 1.7 ระยะเวลาในการศึกษาวจิ ัย 8 1.8 สถานทใี่ ชใ นการดําเนนิ การวจิ ัย 9 1.9 คาํ นิยามศพั ทเฉพาะ 17 บทท่ี 2 องคประกอบของพธิ ีกรรม 26 2.1 เวนทาน 41 2.2 สบื ชาตา 47 2.3 เรยี กขวัญ 53 2.4 สง เคราะห 56 2.5 ขึ้นทา วท้ังส่ี 2.6 ปน พรปใหมเมือง 62 64 บทท่ี 3 รูปแบบและเนอ้ื หาของตวั บทวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม 69 3.1 รปู แบบตนฉบบั ท่ีใชบ นั ทกึ 69 3.2 รปู แบบคาํ ประพนั ธ 80 3.3 เน้อื หาและโครงสราง 3.3.1 เวนทาน 3.3.2 สบื ชาตา

3.3.3 เรยี กขวัญ 88 3.3.4 สง เคราะห 97 3.3.5 ข้ึนทาวท้ังส่ี 100 3.3.6 ปนพรปใ หมเ มอื ง 102 บทที่ 4 ภมู ปิ ญญา และลกั ษณะเดน ของวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม 106 4.1 ภมู ปิ ญญา 120 ก. วิเคราะหภูมปิ ญญาลานนาจากจากพธิ ีกรรม ข. วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาลานนาจากวรรณกรรม 124 4.2 ลกั ษณะเดน 128 ก. ลกั ษณะเดน ของพิธีกรรมลานนา 137 ข. ลกั ษณะเดน ของตวั บทวรรณกรรมลา นนา 4.3 ความสมั พันธระหวางพิธีกรรมและวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม 147 168 บทท่ี 5 คุณคา การสบื ทอดและการดํารงอยขู องวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม 170 5.1 คุณคา 185 5.2 การสืบทอด 191 5.3 การดํารงอยู 197 218 บทท่ี 6 บทสรุป บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ตัวบทวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม ภาคผนวก ข ภาพประกอบ

บทที่ 1 บทนํา 1. ทมี่ าและความสาํ คัญของปญหา คนลา นนามกั มวี ิถชี วี ติ ทผ่ี ูกพนั กับการประกอบพิธีกรรมอยเู สมอ ในรอบปห นึ่งๆ สามารถพบการประกอบพธิ กี รรมไดทกุ เดอื น เชนเดอื นเกีย๋ ง (ประมาณเดอื นตุลาคม) ทานกว ย สลาก, เดือนยีท่ อดกฐนิ ตัง้ ธรรมหลวง (เทศนม หาชาต)ิ , เดอื น 3 เขาโสสานกรรม เทศน มหาชาต,ิ เดอื น 4 ทานขาวใหม ทานหลวั หิงไฟพระเจา ขน้ึ บา นใหม แตงงาน, เดือน 5 ปอยหลวง (งานฉลองถาวรวัตถุในพทุ ธศาสนา), เดอื น 6 บรรพชาสามเณร (บวชลูกแกว ) ,เดือน 7 สงกรานต ขน้ึ บา นใหม งานบวช, เดอื น 8 ปอยหลวง ข้นึ บานใหม, เดอื น 9 เขาอนิ ทขลิ หรือบชู าเสาหลกั เมอื งเชยี งใหม, เดอื น 10 เขาพรรษา, เดือน 11 ไปวดั ในวันศีลหรือวันพระ ซ่ึงเร่มิ ปฏบิ ัตติ ้ังแตเขาพรรษาเปน ตนมา, เดือน 12 ทานกว ยสลาก นอกจากนีย้ ังมกี าร ประกอบพิธกี รรมท่ีไมไดข นึ้ อยูระยะเวลาในแตละรอบป กลา วคือ จะประกอบพธิ กี รรมในโอกาส ทีม่ เี หตกุ ารณส าํ คญั ๆ เกดิ ข้นึ ในชว งชวี ติ เชน สงเคราะห เรยี กขวญั คนเจ็บ เปนตน ในการประกอบพธิ กี รรมดังกลา ว มักจะมกี ารใชวรรณกรรมเขามาเกี่ยวขอ งดวยเสมอ ซง่ึ มที ง้ั วรรณกรรมมุขปาฐะ และ/หรือวรรณกรรมลายลกั ษณเปนสว นประกอบดวย ดังเชน ชว ง ปใหมเมอื งหรอื สงกรานต ตามธรรมเนยี มของลานนาแลว ในวันพญาวันจะมกี ารไปดําหวั ผสู ูงอายุ แลวผสู ูงอายกุ ็จะ “ปน พร” ใหแ กล ูกหลาน แสดงใหเ หน็ ถึงการใชวรรณกรรมประเภท มุขปาฐะรว มในพิธีกรรม หรอื ในวันเดยี วกนั การประกอบพธิ ีกรรมทว่ี ัดในชว งเชา จะมีการถวาย ทานเจดยี ท ราย ปูจารยผ ูนาํ ประกอบพธิ จี ะเรมิ่ กลา ว “สมมาครวั ทาน” ตามท่ีเคยไดจ ดจํามาหรือ ใชจ นชิน โดยไมตอ งอา นจากตํารา ก็เปน การแสดงใหเ ห็นถงึ การใชว รรณกรรมแบบมุขปาฐะได เชน กัน แตหลงั จากน้ันจะมกี าร “กลา วคาํ โอกาสเวนทานเจดียท ราย” ซ่งึ มเี น้อื หาคอ นขางยาว สว นน้ีอาจจะตอ งอา นจากตําราหรือตนฉบับทเี่ ตรยี มมา แสดงใหเ ห็นวามีการใชวรรณกรรม ประเภทลายลกั ษณเ ขา รว มในพิธีกรรมอีกเชน กัน แมว าวรรณกรรมทใ่ี ชประกอบพิธีกรรมจะมีอยูมากมาย แตท ่ีผานมายังไมเ คยมี การศึกษาวรรณกรรมกลมุ ดงั กลาวในลกั ษณะของภาพรวม มีเพยี งการศกึ ษาทเี่ นน เฉพาะเรอ่ื ง เทานน้ั เชน การศกึ ษาเรือ่ ง “คาํ เรยี กขวญั ลกู แกว การศกึ ษาดานรปู แบบและเนอ้ื หา” ของนฤมล เรืองรงั ษี (2532) “การศกึ ษาบทสูขวญั และพธิ สี ขู วัญของชาวไทล้ือ อําเภอปว จงั หวดั นา น” ของสมพงษ จิตอารยี  (2545) หรอื “การศกึ ษาวิเคราะหคาํ เวนทาน” ของไสว คํามลู (2548) เปนตน ย่ิงไปกวา นั้น วรรณกรรมทใี่ ชประกอบพิธกี รรมเหลาน้ี ยงั เปน เปน วรรณกรรมทีไ่ มได จาํ กัดการสรางสรรคแ ละการใชง านเฉพาะกลุม แตหากสามารถรบั ใชค นลานนาไดอ ยา งท่ัวถงึ

2 ทกุ กลมุ นับตงั้ แตผ ทู ่ีมสี ถานภาพทางสงั คมสงู ไปจนถงึ ชาวบา นธรรมดา ดังน้นั จึงมวี รรณกรรมที่ ใชป ระกอบในหลายๆพธิ ีกรรมท่ชี าวบา นธรรมดาเปนผสู รา งสรรคข ึ้นเองและนําไปใชงานเอง นอกจากนี้การศึกษาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมยังถือไดวาเปนการศึกษาวรรณกรรม ทย่ี งั มชี ีวิต มีบทบาท และคอยปรับเปล่ียนตัวเองใหเขากับยุคสมัยเพ่ือคอยรับใชสังคมลานนาอยู เร่ือยมาจนถึงปจจุบัน ไมไดเปนวรรณกรรมท่ีตายไปแลว เพราะฉะน้ันการศึกษาเรื่องนี้จะเปน การสะทอนใหเห็นถึงลักษณะเดนท่ีสงผลใหวรรณกรรมประเภทน้ียังถูกใชงานอยูและชาวบาน ทั่วไปก็สามารถสรางสรรคหรือดัดแปลงวรรณกรรมประเภทนี้ได ตลอดจนแสดงใหเห็นถึงพลวัต ในการรับใชสังคมอันจะสะทอนใหเห็นถึงการปรับตัว เปล่ียนแปลงใหเขากับสังคมลานนาในยุค ปจ จบุ นั ดวยเหตุนี้ ผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาวรรณกรรมประเภทดังกลาว ท้ังท่ีเปน วรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ โดยมีเปาหมายที่จะศึกษาวิเคราะหเชิงภาพรวม เพ่ือสะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาของคนลานนาที่ปรากฏในวรรณกรรมประเภทน้ี ตลอดจน ลักษณะเดนและพลวัต ซึ่งจะไดอาศัยกรอบคิดทางดานวรรณคดีศึกษา คติชนวิทยา มานุษยวิทยา และลานนาคดีศึกษา มารวมในการศึกษาวิเคราะห เพื่อเปนประโยชนใน วงวชิ าการ โดยเฉพาะอยา งย่งิ ตอการศกึ ษาเกย่ี วกบั วรรณกรรมลา นนา รวมถงึ เปนการใหความรู และสรางจิตสํานึกใหตระหนักรูแกผูท่ีสนใจถึงภูมิปญญา คุณคาและความสําคัญในมรดกทาง วัฒนธรรมแขนงหนง่ึ ท่ีผานการสืบทอดและปรบั เปลยี่ นเรอื่ ยมานับต้ังแตอ ดีตจนถึงปจ จุบนั 2. วัตถุประสงคใ นการศกึ ษาวจิ ัย 1. เพื่อศกึ ษาลักษณะเดนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมลา นนา 2. เพื่อศกึ ษาภูมปิ ญญาของคนลานนาจากวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมลา นนา 3. เพอ่ื ศกึ ษาคณุ คา ของวรรณกรรมพธิ ีกรรมลานนา 3. เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ ง จากการศึกษาเชิงสํารวจเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของพบวาอาจจําแนกไดเปน 2 หมวดหมู ไดแก 3.1 การศกึ ษาวิจัยวรรณกรรมลา นนาเชิงภาพรวม ทรงศักด์ิ ปรางควัฒนากุล (2539) ไดกลาวถึงลักษณะทั่วไปและแนวทางในการศึกษา วรรณกรรมทองถิน่ ทั้งท่ีเปนภาพรวม และการศึกษาเฉพาะถ่ินลานนา ไวในหนังสือ “วรรณกรรม ทองถิ่น” นอกจากน้ียังไดใหรายละเอียดเก่ียวกับวรรรณกรรมลานนาแตละประเภททั้งรอยแกว และรอ ยกรองอกี ดวย สวนงานท่ีเปนการมุงศึกษาท่ีวรรณกรรมลานนาโดยเฉพาะ สวนใหญ ในชวงแรกๆ มักจะกลาวถึงความรูท่ัวไปเกี่ยวกับวรรณกรรมลานนากอน จากนั้นจึงใหรายละเอียดเก่ียวกับ

3 วรรณกรรมลานนาในแตละประเภท โดยแตละทานอาจจะมีเกณฑในการจําแนกประเภทท่ี แตกตางกนั เชนงานของประคอง นิมมานเหมินท (2517 ) ท่ีไดกลาวถึงพื้นฐานความรูที่สําคัญ เก่ียวกับวรรณกรรมภาคเหนือไวในหนังสือ “ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ” นับตั้งแต ประวัติความเปนมา ลักษณะคําประพันธท่ีนิยมใช อิทธิพลท่ีไดรับจากภาคกลาง ตลอดจน ลักษณะเฉพาะของวรรณกรรมภาคเหนือดวย จากน้ันจึงใหรายละเอียดเกี่ยวกับวรรณกรรม ในแตล ะประเภท นับตั้งแตวรรณกรรมที่เก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนาและประวัติศาสตร วรรณกรรม ประเภทโคลง วรรณกรรมคราวซอ พรอมท้ังยกตัวอยางวรรณกรรมท่ีโดดเดนในแตละประเภท ประกอบดวย เชนเดียวกับงาน “วรรณกรรมทองถ่ินลานนา” ของ ลมูล จันทนหอม (2539) ท่ีไดให ความรูทั่วไปเก่ียวกับวรรณกรรมลานนาไวเชนกัน รวมถึงลักษณะคําประพันธที่ใช ตลอดจน จําแนกประเภทเพ่ือใหรายละเอียด โดยแบงออกเปนสองกลุมใหญๆ คือวรรณกรรมท่ีไมเปน ลายลักษณ เชน นิทาน สํานวน ปริศนาคําทาย เพลงกลอมเด็ก เพลงพ้ืนบาน และอีกกลุมหนึ่ง คือวรรณกรรมลายลักษณ เชน วรรณกรรมที่เกี่ยวกับศาสนา ประวัติศาสตร กฎหมาย ตํานาน ประเพณแี ละพิธกี รรม คําสอน เปน ตน หนังสือ “วรรณกรรมลานนา” ของ อุดม รุงเรืองศรี (2546) ก็เปนอีกเลมหนึ่งที่ได กลาวถึงความรูท่ัวไปเกี่ยวกับวรรณกรรมลานนาไว นอกจากน้ียังบอกถึงประเภทและ ฉันทลักษณของวรรณกรรมลานนา ตลอดจนไดรวบรวมวรรณกรรมลานนามาจําแนกหมวดหมู และใหรายละเอียด พรอมทั้งยกตัวอยางจากวรรณกรรมช้ินที่โดดเดนประกอบ นับต้ังแต วรรณกรรมประเภทมุขปาฐะ วรรณกรรมพระพุทธศาสนา วรรณกรรมตํารา วรรณกรรมคําโคลง วรรณกรรมคําคราว และวรรณกรรมคําขบั การใหรายละเอียดเก่ียวกับวรรณกรรมลานนาในแตละประเภทนั้นยังมีผลงานของ นักวิชาการอีกหลายทานที่ไดทําการศึกษาไว เชน “ประวัติและวรรณคดีลานนาไทย” ของ มณี พยอมยงค (2513) ท่ไี ดใ หร ายละเอยี ดกบั เกี่ยวกับวรรณกรรมลานนาประเภทตางๆ ไมวาจะเปน วรรณกรรมทางศาสนา วรรณกรรมประเภทรอยกรอง หรือแมแตวรรณกรรมประเภทเพลงซอ ตางๆ เชนเดียวกันกับ สิงฆะ วรรณสัย (ม.ป.ป.) ท่ีไดศึกษาไวในหนังสือ “ปริทัศนวรรณคดี ลานนา” โดยกลาวถึงวรรณกรรมลานนาไวสองประเภท ประเภทแรกคือวรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนาท่ีไดใหรายละเอียดเก่ียวกับการแบงยุค ตลอดจนขนบธรรมเนียมในการเขียน พรอมไดยกตัวอยางเรือ่ งท่ีมคี วามสําคัญ เชน เร่ือง มหาชาติ สวนอกี ประเภทหนึ่งคือวรรณกรรม ทางโลก ซ่ึงไดอาศัยยุคสมัยของการเมืองการปกครองจากสวนกลางมาเปนเกณฑในการจําแนก ประเภท เชน ยุคกอนรัตนโกสินทร ยุคตนรัตนโกสินทรเปนตน ซ่ึงผลงานสวนใหญจะอยูใน รปู แบบของโคลง นอกจากนย้ี งั กลาวถึงวรรณกรรมประเภทครา วไวอ กี ดวย

4 จากตัวอยางงานศึกษาที่ไดกลาวมาทั้งหมดไดกลาวถึงวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม แทรกอยูดวย ซ่ึงผูศึกษาจะสามารถนํามาใชเปนขอมูลเบ้ืองตนประกอบการศึกษาวิเคราะหใน ลาํ ดบั ตอ ไป 3.2 การศกึ ษาวจิ ยั วรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมในลานนา การศึกษาในสวนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในลานนา ไดมีผูเคยศึกษาบางแลว บางสวน แตเปนการศึกษาเฉพาะเรื่อง ซ่ึงแตละเร่ืองก็ใชแนวทางในการศึกษาที่แตกตางกันไป ไมวาจะเปนการศึกษาในดานรูปแบบ เนื้อหา หรือ บทบาทของวรรณกรรมตอสังคม โดย สามารถจาํ แนกไดดงั นี้ ก. การศึกษาในดานรูปแบบและเน้อื หา ในการศึกษาดานรูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรมท่ีใชประกอบพิธีกรรมมีวิทยานิพนธ ท่ีไดศึกษาลักษณะดังกลาว ไดแก การศึกษาคําเรียกขวัญลูกแกว ของนฤมล เรืองรังษี (2532) ผลการศึกษาพบวา รปู แบบของคําเรยี กขวญั ลูกแกวแตงดวยคําประพันธป ระเภทรายที่ไม เครงครัดดานสัมผัสมากนัก สามารถจําแนกเนื้อหาออกได 4 ขั้นตอน ไดแกการกําเนิดบุตร การบวช การเรียกขวัญลูกแกว และการใหโอวาท ซึ่งในการศึกษาเรื่องน้ีไดอธิบายรายละเอียด เกี่ยวกับการเรียกขวัญไวอยางละเอียดและยังเปนตัวอยางท่ีดีในเรื่องการศึกษารูปแบบและ เนอื้ หาของวรรณกรรมลา นนาอกี ดวย การศกึ ษาดานรปู แบบและเน้อื หาอีกเรื่องหนงึ่ คือเร่อื ง “สบื ชาตา : การศึกษาเชิงวิจารณ” ของนิตยา จันโทภาสกร(2526) ที่ไดศึกษาตัวบทท่ีใชประกอบพิธีกรรมจากฉบับของสิงฆะ วรรณสัยและจากเอกสารถายไมโครฟลมของสถาบันวิจัยสังคม ฉบับวัดหนองสรอย จ.ลําพูน ซึ่งผลการศึกษาดานอักขรวิธี สามารถเช่ือมโยงไปสูยุคสมัยของวรรณกรรมได อนึ่งการศึกษา เรื่องน้ีนอกจากจะไดอธิบายเก่ียวกับพิธีกรรมสืบชาตาไวอยางละเอียดแลวยังเปนตัวอยางใน การศึกษาทพ่ี ยายามเชอ่ื มโยงผลการศกึ ษาเขากบั ประเดน็ อื่นๆ ได ข. การศึกษาดานบทบาทตอ สังคม สุพนิ ฤทธ์เิ พญ็ (2539) ไดศึกษาบทบาทของวรรณกรรมเร่ือง สุชวัณณะวัวหลวงที่มีตอ สังคมชาวไทเขิน วรรณกรรมเร่ืองดังกลาวมีบทบาทตอบสนองความตองการทางดานจิตใจ เปน เครื่องแสดงเอกลักษณของกลุมชน เปนกลไกทางสังคมในการสรางมาตรฐานจริยธรรมและ วางแผนพฤติกรรมของกลุม สวนวีรยุทธ นาคเจริญ (2545) ไดศึกษาวิเคราะห “วรรณกรรม ที่ใชเทศนในพิธีศพแบบลานนา” ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวาวรรณกรรมที่ใชเทศนในงานศพ นั้นมีการปรับตัวเพ่ือใหอยูไดในสังคมปจจุบันโดยมีการนําเอาวรรณกรรมท่ีคนชอบฟง มาสวด มากข้ึน ซึ่งจากเดิมจะสวดแตวรรณกรรมอานิสงสและคําสอน จากผลการศึกษาดังกลาว สอดคลองกับผลการศึกษาเรื่อง “มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะเปนวรรณคดีทองถิ่น” ของประคอง นิมมานเหมินท(2526) ที่ไดผลการศึกษาวามีการปรับเรื่องมหาชาติบางอยาง เชน การใหสมญานามกับตัวละคร การเพิ่มเติมบุคลิกของตัวละคร ฯลฯ เพื่อใหเกิดความนาสนใจ

5 ความสนุกสนานและเขากันไดกับสังคมลานนายุคปจจุบัน แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการ นาํ เอาวรรณกรรมมาปรบั ใชเพอ่ื ใหม ีบทบาทหนาทีต่ อสังคม นอกจากน้ันยังมี “การศึกษาวิเคราะหคัมภีรอานิสงสลานนา” ของพระมหาสิงหคํา รักปา(2543) ซึ่งไดศึกษาบทบาทและความสําคัญของคัมภีรอานิสงสท่ีมีตอสังคมลานนาก็พบวา วรรณกรรมประเภทดงั กลาวมอี ิทธิพลตอคนลานนา 2 ประการ คือ 1. อิทธิพลดานนามธรรม ไดแก แนวความคิดที่ปรากฏในคัมภีรอานิสงสลานนามี อิทธิพลตอโลกทศั น คา นยิ มของชาวลานนาซ่งึ นาํ ไปสูการพัฒนาดานตางๆ จนสามารถสรา งส่ิงท่ี เปนรูปธรรมข้ึนได 2. อิทธิพลดา นรูปธรรม ไดแ กการเปนแรงบนั ดาลใจใหพทุ ธศาสนกิ ชนแสดงออกถึง ความเล่อื มใสในเรอื่ งอานิสงสของกศุ ลกรรมตางๆ และไดแสดงออกในรูปของศิลปะหลาย ประเภท เชน วิหาร อุโบสถ ศาลา ธรรมมาสน พระคัมภรี  หบี บรรจพุ ระคัมภีร และ อทิ ธิพลในดานวิถีชวี ิตความเปน อยู ขนบประเพณี นอกจากน้ันยงั มีอิทธิพลตอ การดาํ รงอยขู อง วัฒนธรรมทองถ่นิ และมีอทิ ธิพลในการสนับสนุนกจิ กรรมประเพณีในแตล ะเดือนในรอบปข อง ลา นนาดวย ค. การศกึ ษาทงั้ รูปแบบ เนอ้ื หา และบทบาทตอ สงั คม การศึกษาบทสูขวัญและพิธีสูขวัญของชาวไทล้ืออําเภอปว จังหวัดนาน ของสมพงษ จิตอารีย (2545) ไดกลาวถึงบทสูขวัญของชาวไทล้ือวามีรูปแบบและเนื้อหาที่ชัดเจน แตงดวยคํา ประพันธประเภทรายที่ไมเครงครัดดานสัมผัสมากนัก สามารถจําแนกประเภทตามการใชงาน และวัตถุประสงคของผูประกอบพธิ คี อื บทสูข วัญในพิธีเปลี่ยนผา น บทสขู วัญในพิธที เี่ ก่ยี วกับการ รักษาพยาบาล บทสูขวัญบุคคลสําคัญในชุมชน และบทสูขวัญเก่ียวกับการเกษตร นอกจากน้ี ยังไดก ลา วถงึ บทบาทของพธิ ีสูขวัญทมี่ ตี อชุมชนชาวไทล้ือจังหวดั นา น ไววา 1. เปน สิง่ ตอบสนองความตองการดา นจิตใจ สรา งขวัญกาํ ลงั ใจและความเช่ือมน่ั 2. เปน การสรางความสัมพนั ธ ความสามคั คี การรวมพลังในชุมชนใหเ ปนปกแผน 3. เปนกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ปลูกฝงคานิยมและพฤติกรรมทางจริยธรรมท่ีจะ ทาํ ใหชวี ิตดขี ้ึน 4. พิธีสขู วัญทําใหเกดิ ความสืบเนอื่ งและความม่ันคงทางวัฒนธรรม นบั ไดว าวทิ ยานิพนธเรอื่ งนี้ไดใ หความรู และวิเคราะหบทบาทของพิธีสูขวัญไวแลวอยาง ละเอียด และยังเปนตัวอยางที่ดีในการศึกษาใหเขาใจถึงคนและชุมชนท่ีใชวรรณกรรมดังกลาว ดว ย อกี เรื่องหน่ึง คอื “การศกึ ษาวเิ คราะหค ําเวนทาน” ของ ไสว คาํ มูล (2538) ทไี่ ดศ กึ ษา คําเวนทาน ทงั้ ในสว นขององคประกอบทางดา นพิธีกรรม องคประกอบทางดานวรรณกรรมและ บรบิ ททางสงั คม สวนท่เี ปน ของรูปแบบและเนอื้ หาพบวา มีรปู แบบคําประพนั ธเ ปนราย เนอ้ื หา ประกอบดวย บทสมมาครวั ทาน บทอญั เชิญเทวดา ยอคณุ พระรตั นตรยั โอกาสในการ

6 ถวายทาน ผเู ปน เจา ศรัทธา สิ่งของถวายทาน ระบถุ ึงความตง้ั ใจวาตอ งการถวายใหแกพ ระ รัตนตรยั พรอ มกบั อาราธนาใหพระรัตนตรัยมารับเอาสิง่ ของถวายทาน คาํ ปรารถนา คําอทุ ิศ สว นบุญสว นกุศล และคํากลา วถวายเปนภาษาบาลี โดยมโี ครงสรางหลัก 5 สวน ไดแก สมมา ครัวทาน อญั เชญิ เทวดา ยอคุณพระรัตนตรยั เจาศรทั ธา และการกลา วถวายทานเปนภาษาบาลี สําหรับบริบททางสังคมพบวา ในการประกอบพิธีกลาวคําเวนทานจะมีการปรับให เหมาะสมกับเวลาและโอกาส โดยผกู ลาวสามารถตัดทอนเน้ือหาบางตอนได สวนบทบาท หนาท่ีของคําเวนทาน คือ เปนการกลาวรายงานเก่ียวกับรายละเอียดในการถวายทานคร้ังน้ัน เปนการสถาปนาความศักด์ิสิทธิ์ใหแกพิธีกรรม และเปนชองทางในการสอดแทรกความรูใหกับ ผูฟง นอกจากน้ยี งั มงี านของรัตนาภรณ วังคีรี (2542) เรือ่ ง “วรรณกรรมประกอบพิธกี รรม จากอําเภอหลมเกา จังหวดั เพชรบูรณ ที่ถงึ แมจ ะไมใชการศกึ ษาวรรณกรรมลา นนา แตก ็ สามารถนํามาใชเ ปน แนวทางในการศกึ ษาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมได เพราะวิทยานิพนธ เร่ืองนไี้ ดศ กึ ษาวเิ คราะหไวอ ยางละเอียดตงั้ แตว ิธกี ารเกบ็ ขอ มลู การวิเคราะหใ นมติ ทิ างดา น วรรณคดีศกึ ษาและองคป ระกอบดา นการประกอบพธิ กี รรม ตลอดจนนาํ เสนอภาพสะทอ นของ สงั คมและคตชิ น ซึง่ ท้งั หมดท่กี ลาวมานเ้ี ปน ประโยชนต อ ผูว จิ ัยเปน อยางย่งิ จากตวั อยา งงานที่ไดกลาวมาขางตน จะพบวา มีงานหลายเรอ่ื งที่ไดศ ึกษาเก่ยี วกบั รปู แบบและเนอื้ หาของตัวบทพิธีกรรม เชน การศกึ ษาคําเรยี กขวญั ลกู แกว ของนฤมล เรอื งรงั สี การศึกษาบทสขู วัญและพธิ ีสขู วญั ของชาวไทล้ืออําเภอปว จงั หวัดนา น ของสมพงษ จติ อารีย สืบชาตา : การศกึ ษาเชงิ วจิ ารณข องนติ ยา จันโทภาสกร และการศกึ ษาวิเคราะหคาํ เวนทาน ของ ไสว คํามูล แตในการวจิ ัยครัง้ น้เี ปน การศึกษาดา นภูมิปญญา ลักษณะเดนและ คณุ คา ซ่ึงผูว จิ ัยจะขออนญุ าตนําผลการศึกษาบางสว นที่มีเคยผศู กึ ษาไวแ ลว มาประกอบ การศกึ ษาวเิ คราะห เปรยี บเทียบใหเหน็ ความเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ ในยุคปจจบุ นั และเปน แนวทางในการศึกษาวเิ คราะหตอไป 4. ขอบเขตการศกึ ษาวจิ ยั 1. ศึกษาเฉพาะพธิ กี รรมทีม่ ีการนาํ วรรณกรรมไปใชก ลา วขณะประกอบพธิ กี รรม 2. ศกึ ษาเฉพาะพิธีกรรมของกลมุ คนไทยยวน(คนเมอื ง) ไมร วมถงึ กลมุ ชาติพันธอุ ่ืน ๆ เชน ไทลอ้ื ไทใหญ ฯลฯ 3. ศกึ ษาเฉพาะพิธกี รรมทีฆ่ ราวาสนยิ มจดั ข้ึน โดยมฆี ราวาสเปนเจาภาพ เปน ผจู ัดเตรยี ม หรือ เปน ผปู ระกอบพิธี 4. ศกึ ษาเฉพาะพธิ ีกรรมท่ีมกี ารใชวรรณกรรมอยางชัดเจน เนนศึกษาท่ีวรรณกรรม ประเภทลายลักษณ 5. ศกึ ษาเฉพาะพธิ กี รรมทนี่ ิยมปฏิบัติกนั อยา งแพรหลายในเขตพนื้ ที่ 8 จังหวดั

7 ภาคเหนอื ตอนบน จากขอบเขตที่ไดกลาวมาในขางตน ผูวิจัยจึงไดเลือกทําการศึกษาพิธีกรรม 6 ประเภท ไดแ ก 1. เวนทาน 2. สบื ชาตา 3. เรยี กขวญั 4. สงเคราะห 5. ขน้ึ ทา วทง้ั สี่ 6. ปน พรปใหมเ มือง 5. ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรับ 1. ทาํ ใหเห็นลักษณะเดน ของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมลานนา ท่สี ง ผลให วรรณกรรมประเภทน้ียงั คงมกี ารใชง านอยูในสังคมยคุ ปจจบุ ัน 2. ทําใหเ หน็ ภาพสะทอ นของภมู ิปญญาลา นนาดา นตา ง ๆ จากวรรณกรรมประกอบ พธิ ีกรรม 3. ทําใหไดตระหนักถึงคณุ คา ของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมลา นนาที่มตี อ คนและ สังคมลา นนา 6. วิธีการศกึ ษาวจิ ยั 1. สํารวจเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ ง 2. รวบรวมขอ มลู เอกสาร ทีเ่ กี่ยวของกับวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม 3. สังเกตแบบมสี วนรว ม บนั ทกึ ภาพและเสียงในพธิ กี รรม 4. สมั ภาษณว ิทยากร ผูป ระกอบพธิ ี หรอื ผรู ว มพิธี 5. วิเคราะหข อมูล 6. สรปุ ผลการศึกษา 7. ระยะเวลาในการศกึ ษาวจิ ัย ผูวิจัยไดปรับปรุงระยะเวลาในการศึกษาวิจัย เฉพาะในสวนของการเก็บรวบรวมขอมูล ภาคสนาม ซ่ึงเดิมคาดวาจะเสร็จสิ้นประมาณเดือนพฤษภาคม 2551 แตจะปรับใหสามารถเก็บ ขอมูลไดจนถึงประมาณเดือนตุลาคม 2551เพราะชวงเวลาท่ีปรับขยาย ยังมีการประกอบ พิธีกรรมอีกหลายพิธีกรรมท่ีนาสนใจ เชน พิธีการทานกวยสลาก พิธีสูขวัญควาย พิธีทอดกฐิน เปนตน .

8 วธิ ีดาํ เนินการวิจัย พ.ศ. 2550 ระยะเวลา พ.ศ. 2551 กค สค กย ตค พย ธค มค กพ มี ค เม ย พค มิ ย กค สค กย ตค พย 1. สาํ รวจเอกสารและงานวิจัยทเี่ กีย่ วของ 2. รวบรวมขอ มลู เบ้ืองตน (จากส่งิ พมิ พ, พับ สา /ใบลาน, เอกสารไมโครฟล ม) 3. เกบ็ ขอมลู ภาคสนาม 4. ปรวิ รรตเอกสารสวนทีเ่ ปนพับสา ใบลาน และไมโครฟลม 5. ถอดแถบบันทึกเสียง 6. วเิ คราะหและเรียบเรียงรายงานการวิจยั 7. จัดพมิ พเปนรา งงานวจิ ัย 8. ตรวจและแกไ ขตามขอเสนอแนะของ ผูทรงคณุ วฒุ ิ 9. จัดพมิ พเปน รปู เลมงานวิจยั ฉบับสมบูรณ 8. สถานท่ีใชใ นการดําเนินการวจิ ยั 1. สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม 2. หองสมดุ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม 3. หองสมุดภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม 4. หอ งสมุดสถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม 5. สาํ นกั สมดุ มหาวิทยาลัยแมโ จ 9. คาํ นยิ ามศพั ทเฉพาะ - วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม หมายถึง ตัวบทท่ีผูประกอบพิธีใชกลาวขณะประกอบ พิธีกรรม ซึ่งในการศึกษาคร้ังน้ีจะเนนวรรณกรรมประเภทลายลักษณ หากเปนวรรณกรรม ประเภทมุขปาฐะ ผูกลาวจะตอ งเปลงเสยี งออกมาใหฟง ไดช ัดเจน เพื่อสะดวกในการบันทึกขอมูล

9 - ลานนา หมายถึง พ้ืนที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ไดแก เชียงใหม เชียงราย ลําพูน ลาํ ปาง แมฮอ งสอน แพร นา น และพะเยา - ปูจารย หมายถึง มัคนายก ซ่ึงทําหนาท่ีเปนผูนําในการประกอบศาสนพิธี และเปนผู กลา วตัวบทในการประกอบพธิ ีกรรมสาํ คัญ ๆ หลายพิธีกรรม

บทท่ี 2 องคป ระกอบของพธิ กี รรม คนลานนามีวิถีชีวิตผูกพันกับการประกอบพิธีกรรมมากมายต้ังแตเกิดจนตาย และในหลาย พิธีกรรมก็ไดนําวรรณกรรมมาใชประกอบดวย ดังนั้นการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยจึงจําเปนตอง ศึกษาท้ังในสวนของพิธีกรรม และวรรณกรรม ซึ่งในสวนของพิธีกรรม ผูวิจัยจะขอกลาวถึง รายละเอียดการประกอบพิธีกรรม จํานวน 6 ประเภท ไดแก พิธีกรรมเวนทาน พิธีกรรมสืบชาตา พธิ กี รรมเรยี กขวัญ พิธกี รรมสง เคราะห พิธกี รรมขน้ึ ทาวทั้งสี่ และพธิ กี รรมปน พรปใ หม ขอมูลที่ผูวิจัยนํามาใชศึกษาวิเคราะหองคประกอบของพิธีกรรมไดมาจากหลายแหลง ทั้ง ขอมูลเอกสาร การสัมภาษณว ิทยากร และ การสังเกตแบบมสี วนรวมจากการประกอบพิธีกรรม ซึ่ง ขอ มูลที่ไดรับ นอกจากจะใชศ ึกษาวเิ คราะหบ ทนแ้ี ลว ยงั สามารถนําไปวิเคราะหบ ทอนื่ ไดอกี ดว ย ขอมูลท่ีเปนเอกสาร ผูวิจัยไดรวบรวมจากหนังสือท่ีไดกลาวถึงรายละเอียดในการประกอบ พิธีกรรมหลายเลม เชน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ(มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2542) ประเพณีเดิม (ทวี เขื่อนแกว,2524) พิธีกรรมลานนาไทย(มณี พยอมยงค,2529) ประเพณีลานนาไทยแลพิธีกรรมตางๆ (หนานเตจา, มปป.) ตําราพิธีโบราณพื้นเมือง (หนานเตจา, มปป.) แนวพระพุทธศาสนา (อุดม อมรจักร, มปป.) วรรณกรรมลานนา(อุดม รุงเรืองศรี,2544) นอกจากน้ี ยังไดรวบรวมจากวิทยานิพนธท่ีไดศึกษาเกี่ยวกับการประกอบพิธีกรรมตางๆ หลายเลม เชน คําเรียกขวัญลูกแกว การศึกษาดานรูปแบบและเน้ือหา(นฤมล เรืองรังสี, 2532) การศึกษา บทสขู วัญและพธิ ีสขู วญั ของชาวไทลื้อ อาํ เภอปว จงั หวัดนา น(สมพงษ จิตอารีย, 2545) การศึกษา วิเคราะหคําเวนทาน(ไสว คํามูล, 2548) บทสูขวัญจากอําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ(คึกฤทธิ์ พันธุวิไล, 2527) สืบชาตา : การศึกษาเชิงวิจารณ(นิตยา จันโทภาสกร, 2526) การศึกษา วิเคราะหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมจากอําเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ(รัตนาภรณ วังคีรี, 2542) เปน ตน สวนขอมูลท่ีไดจากการสัมภาษณ ผูวิจัยไดรวบรวมจากการสัมภาษณวิทยากรท้ังท่ีเปน นักวชิ าการ พระสงฆ และปจู ารย หลายทาน ไดแก เกริก อคั รชโิ นเรศ นกั วจิ ัยประจาํ โครงการสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนอื คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม, 25 กรกฎาคม 2551 พระครสู ิรสิ ุตาภมิ ณฑ วัดสพุ รรณรังสี ต.ในเมอื ง อ. เมือง จ. ลําพูน,17 พฤศจิกายน 2550

11 พอ หนานดสุ ติ ชวชาติ ขาราชการบาํ นาญโรงเรียนก่ิวแลหลวง ตาํ บลยหุ วา อาํ เภอสันปา ตอง จงั หวดั เชยี งใหม สมั ภาษณ ณ บา นเลขที่ 96 ถนนทายวัง ตาํ บลชา งมอ ย อาํ เภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม, 14 กันยายน 2551 พอหนานเทยี น ปุดถา สัมภาษณ ณ บานเลขท่6ี 7 หมู 2 ตําบลปากกาง อําเภอลอง จงั หวัด แพร 54150, 9 ธันวาคม 2550 พอ หนานนยิ ม สองสีโย สมั ภาษณ ณ บานเลขที่ 21/1 หนอ คาํ ตําบลในเวียง อําเภอเมือง จงั หวัดนาน 55000 , 19 พฤษภาคม 2551 พอ หนานประสิทธ์ิ โตวเิ ชียร สัมภาษณ ณ บานเลขที่38/2 หมู 5 บา นแมหอพระ ตําบลแมหอพระ อําเภอแมแ ตง จังหวดั เชียงใหม, 15 กนั ยายน 2551. พอหนานภมู รนิ ทร ชุมสทิ ธิ์ สัมภาษณ ณ บา นเลขท่๔ี ๗๙ หมู ๒ บานวังหมอ ตาํ บล ตน ธงชัย อําเภอเมอื ง จงั หวดั ลําปาง ๕๒๐๐๐, 22 ธันวาคม 2550 พอ หนานสวน ยาวชิ ัย สัมภาษณ ณ บานเลขที3่ หมู 8 ตําบลทุงกอ อาํ เภอเชียงรุง จังหวัด เชยี งราย 57210, 10 พฤศจิกายน 2550 พอหนานสุทัศ หนักตอ้ื สัมภาษณ ณ บา นเลขท่9ี 8 หมู 2 ตาํ บลดอนศรชี มุ อําเภอดอกคําใต จงั หวัดพะเยา 56120, 18 พฤศจิกายน 2550 ยุทธพร นาคสขุ สถาบันวจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเพื่อพฒั นาชนบท มหาวิทยาลยั มหดิ ล วทิ ยาเขตศาลายา จ.นครปฐม, 27 กรกฎาคม 2551 อุดม รงุ เรอื งศรี ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, 25 กรกฎาคม 2551 นอกจากนี้ ผูวิจัยยังไดสัมภาษณชาวบานที่มาเขารวมพิธีกรรมอีกดวย เพ่ือใหไดรับขอมูลท่ี มีความหลากหลายมากย่ิงข้นึ อนั จะชว ยใหส ามารถศึกษาวเิ คราะหไ ด รอบดานข้ึน ขอมูลสําคัญอีกสวนหนึ่ง คือ ขอมูลท่ีไดรับจากการสังเกตแบบมีสวนรวมในพิธีกรรม ทั้ง 6 ประเภท โดยเนนพ้ืนทจ่ี งั หวัดเชียงใหมแ ละลาํ พนู ไดแ ก 1. เวนทาน - เวนทานเทศนม หาชาติ สํานกั สงเสริมศลิ ปวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม (30 พฤศจกิ ายน 2550) - เวนทานเทศนม หาชาติ มหาวทิ ยาลัยแมโจ (4 ธนั วาคม 2550) - เวนทานขา วใหมเ ดอื นสเี่ พ็ง บา นแมห อพระ ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชียงใหม (22 มกราคม 2551)

12 - เวนทานเจดยี ทรายวัดแมหอพระ ต.แมหอพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (15 เมษายน 2551) - เวนทานเจดยี วัดแมนาปา ก ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชยี งใหม (3 เมษายน 2551) - เวนทานงานพระราชทานเพลิงศพครบู าผดั วดั ศรดี อนมูล ต.ไชยสถาน อ.สารภี จ.เชียงใหม (30 มนี าคม 2551) - เวนทานงานใสข นั ดอกวดั เจดียหลวง ต.พระสิงห อ.เมือง จ.เชยี งใหม (1 มถิ ุนายน 2551) - เวนทานสลากภตั ต วดั บา นหลวง ต.โหลง ขอด อ.พรา ว จ.เชยี งใหม (2 ตลุ าคม 2551) 2. สบื ชาตา - คณะศลิ ปศาสตร มหาวิทยาลัยแมโ จ อ.สนั ทราย จ.เชียงใหม (20 มีนาคม 2551) - บา นเลขที่ 99/12 หมูบ า นซติ ีก้ ารเ ดน ต.เหมอื งงา อ. เมือง จ.ลาํ พนู (5 พฤษภาคม 2551) - บานเลขที่ 56 หมู 5 ต.แมห อพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (2 กรกฎาคม 2551) - บานเลขที่ 78 หมู 5 ต.แมหอพระ อ.แมแ ตง จ.เชยี งใหม (13 สงิ หาคม 2552) - สืบชาตาเมืองเชียงใหม อาํ เภอเมอื ง จังหวัดเชยี งใหม (12 มิถนุ ายน 2551) 3. เรยี กขวญั - งานบรรพชาสามเณร วัดแมห อพระ ต.แมหอพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (27 มีนาคม 2551) - บรรพชาสามเณรวดั รอ งบอน หมู 1 ต.ปากกาง อ.ลอง จ.แพร (3 เมษายน 2551) - งานอปุ สมบทวดั พระธาตุสุนันทา ต.แมห อพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (17 มีนาคม 2551) - งานแตง งาน บา นเลขท่ี 46 หมู 1 ต.อนิ ทขิล อ.แมแตง จ.เชียงใหม (22 พฤษจกิ ายน 2551)

13 4. สงเคราะห - สงเคราะหคนวันปากป บา นแมห อพระ ต.แมหอพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (16 เมษายน 2551) - สง เคราะหบาน บานแมห อพระ ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชยี งใหม (16 เมษายน 2551) - สง พราย บา นแมหอพระ ต.แมห อพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (30 มนี าคม 2551) - สงเคราะหคนปวย บานรองบอน หมู 1 ต.ปากกาง อ.ลอง จ.แพร (9 ธนั วาคม 2550) - สง เคราะหคนปวย บา นแมหอพระ ต.แมห อพระ อ.แมแตง จ.เชยี งใหม (25 มีนาคม 2551) 5. ขึน้ ทา วทง้ั สี่ - เน่อื งในงานสืบชาตา บา นเลขที่ 56 หมู 5 ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชยี งใหม (2 กรกฎาคม 2551) - เนอื่ งในงานสบื ชาตาบานเลขที่ 78 หมู 5 ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชียงใหม (13 สิงหาคม 2552) - เนือ่ งในงานสบื ชาตา บานเลขท่ี 99/12 หมบู า นซติ ้ีการเดน ต.เหมอื งงา อ. เมือง จ.ลําพนู (5 พฤษภาคม 2551) - เน่อื งในงานสง เคราะหบ าน บา นแมหอพระ ต.แมหอพระ อ.แมแ ตง จ.เชยี งใหม (16 เมษายน 2551) - เน่ืองในงานสบื ชาตาเมอื งเชียงใหม อ.เมอื ง จ.เชียงใหม (2 มิถนุ ายน 2551) - เน่ืองในงานใสข ันดอก วัดเจดยี ห ลวง อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม (1 มิถนุ ายน 2551) 6. ปนพร - ดาํ หัวคณบดี คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยแมโ จ (10 เมษายน 2551) - ดําหวั คณาจารยอ าวโุ ส มหาวทิ ยาลัยแมโ จ (10 เมษายน 2551) - ดําหวั เจา หนอ ย(ผีเจา นาย) บานทุงหมื่นนอย ต.หนองจอม อ.สนั ทราย จ.เชียงใหม (20 เมษายน 2551)

14 - ดําหวั พอหนานดาํ รงศักดิ์ ชยั ประภา 2 หมู 6 ต.ประตูปา อ.เมือง จ. ลําพนู (5 พฤษภาคม 2551) - ดําหวั พอ สม สายชมพู บา นวังขุมเงนิ ต.แมแฝกใหม อ.สนั ทราย จ.เชยี งใหม (17 เมษายน 2551) - ดาํ หวั พอ หนานประสิทธ์ิ โตวเิ ชยี ร 38/2 หมู 5 ต.แมห อพระ อ.แมแ ตง จ.เชียงใหม (15 เมษายน 2551) - ดําหวั แมอ ุยนาค เพ่งิ เติง บา นแมหอพระ อําเภอแมแตง จงั หวัดเชียงใหม (15 เมษายน 2551) - ดาํ หวั ผูสูงอายุ องคก ารบรหิ ารสวนตําบลแมห อพระ อาํ เภอแมแ ตง จังหวัดเชียงใหม (20 เมษายน 2552) สําหรับวิธีการเก็บขอมูลท่ัวไปน้ัน หากเปนพิธีกรรมปจเจกเชน สืบชาตา สงเคราะห บรรพชาหรืออปุ สมบท ผวู จิ ยั จะขออนุญาตเกบ็ ขอ มลู และบันทึกภาพจากเจาภาพและผปู ระกอบพธิ ี กอนทุกคร้ัง และเมื่อไดรับอนุญาตแลว ผูวิจัยจะเร่ิมเก็บขอมูลต้ังแตวันแตงดาหรือวันเตรียมงาน หากเปนพิธีกรรมที่จัดขึ้นในชุมชนทองถ่ินท่ีคุนเคยก็จะไปชวยแตงดาเพ่ือใหชาวบานรูสึกวาผูวิจัย เปนสวนหน่ึงของชุมชน และอีกเหตุผลหน่ึง คือ ตองการไปชวยจริง ๆ เพราะเปนคนในชุมชน เดียวกัน ระหวางชวยกันแตงดาก็จะชวนชาวบานพูดคุยไปดวย ทําใหไดรับขอมูลมากมาย ทั้งขอมูล ที่ตองการเบ้ืองตน และขอมูลอื่น ๆ เพิ่มเติมซ่ึงขอมูลในสวนที่ไดรับเพ่ิมเติมน้ี บางครั้งมีความ นา สนใจไมแ พข อ มูลทตี่ อ งการเบอ้ื งตน การจดบันทึกขอมูล หากเปนขอมูลที่ไมมากเกินไปจะใชวิธีจํากอน แลวกลับไปจดบันทึก ภายหลัง สาเหตุทีไ่ มนาํ สมุดขนึ้ มาจดบันทึกขณะพดู คุยกับชาวบาน เน่ืองจากไมตองการใหชาวบาน รสู กึ วา กําลังถกู สัมภาษณอยู อนั จะสง ผลใหเ กดิ ความรูสึกเกร็งและอึดอัด และอาจนําไปสูการตกแตง ใหขอ มูลออกมาดดู ี ทําใหไ ดร ับขอ มูลทไ่ี ดร ับคลาดเคลือ่ นจากความเปน จริง บรรยากาศการเก็บขอมลู ในวนั จรงิ ผวู จิ ยั จะพยายามไปใหถ งึ สถานที่จดั พิธกี อ นเร่มิ พิธี เพราะตอ งการสงั เกตดบู รรยากาศกอ นเพ่ิมพิธีวา จะตอ งมีการจดั เตรยี มอะไรเพิ่มเติมหรือไม และใคร เริ่มมารวมพิธีเปนคนแรก ๆ เพราะเหตุผลใด เปนตน โดยการเก็บขอมูลในวันประกอบพิธีสวนใหญ จะเนนสัมภาษณผูมารวมงานเพราะเจาภาพและผูจัดเตรียมงานจะสัมภาษณต้ังแตวันแตงดาแลว นอกจากจะสมั ภาษณแ ลว ตอ งคอยสงั เกตสวนอื่น ๆ ดว ย เชน ปฏิกริ ิยาของเจาภาพและผเู ขา รว มพิธี เปนตน

15 อยา งไรกต็ ามการเกบ็ ขอ มลู ภาคสนาม ผวู ิจยั จะทําหนาที่เปนเพียงผสู งั เกตการณเทาน้ัน กลาวคือ เก็บขอมลู ตามท่ีพบเห็นจริง สวนท่ีสงสัยหรือไมเขาใจก็สอบถามจากชาวบาน จะไมทําการ ใด ๆ อนั เปน การทําใหเกิดความเปลีย่ นแปลงกับพธิ กี รรม สําหรับขอ มลู ท่ผี ูวจิ ัยตองการน้นั ไดแ ก 1. สาเหตทุ ่ตี อ งประกอบพิธีกรรม ผูวิจัยตองการทราบวาเหตุใดเจาภาพจึงจัดพิธีกรรมนี้ขึ้น เพราะในบางคร้ังแมเปนการ ประกอบพิธีเดยี วกนั แตอ าจมีเหตุผลในการประกอบพธิ ที ีแ่ ตกตางกัน เชน พธิ สี บื ชาตา ซ่ึงถอื วา เปน พิธีกรรมท่ีจัดขึ้นคอนขางบอย และในการประกอบพิธีแตละคร้ังจะมีเคร่ืองประกอบพิธี ข้ันตอนการ ประกอบพิธี วรรณกรรมท่ีใชประกอบพิธี ฯลฯ เหมือนกันหมด แตส่ิงที่ไมเหมือนกัน คือ มูลเหตุ ในการประกอบพิธีกรรม เพราะในบางครั้งจัดข้ึนเพ่ือผูปวย บางครั้งจัดข้ึนเพ่ือผูไดรับตําแหนงใหม หรือไดเ ล่อื นยศ เปน ตน 2. การเลือกวนั เวลาในการประกอบพิธกี รรม ผูวิจัยตองการทราบวาเหตุใดจึงตองจัดในวันน้ี ซ่ึงคําตอบที่ไดรับจะสะทอนใหเห็น ความคิดความเช่ือบางอยางของคนลานนา เชน เลือกจัดในวันที่ไมตรงกับวันเสียประจําเดือน นอกจากนั้นอาจพบความเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ขน้ึ กบั การประกอบพธิ ีกรรม เชน เจาภาพบางทานเลือก จดั พิธีใหต รงกับวนั หยดุ เสาร – อาทิตย เปน ตน 3. การจัดเตรยี มกอนการประกอบพธิ ีกรรม ผวู ิจยั ตองการทราบวา กอ นทจ่ี ะประกอบพิธีไดน ั้นจะตอ งมีการเตรยี มตวั อยา งไรบา ง เชน ตองไปนิมนตพระสงฆอยางไร ติดตอ ปูจารยอ ยางไร ใครมาชวยเตรียมงานบาง เปนตน 4. เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรม ผูวิจัยตองการทราบวาการประกอบพิธีกรรมในแตละครั้งนั้น ตองมีเคร่ืองประกอบพิธี อะไรบาง ความหมายของเคร่ืองประกอบพิธีกรรมแตละอยางส่ือถึงอะไร ไดมาอยางไร ฯลฯ ยกตวั อยางเชน เคร่อื งประกอบพิธีสงเคราะหใหแกผูปวย เหตุใดจึงตองทําเปนสะทวง(อาน “สะตวง) ที่บรรจุเคร่อื งสงั เวยอยางละ 108 เปน ตน 5. ผูประกอบพธิ ีกรรม ผูวิจัยตองการทราบวา ผูประกอบพิธีกรรมเปนใคร เหตุใดตองเปนผูน้ี จะตองเชิญมา อยา งไร มคี า ตอบแทนมากนอ ยเพยี งใด 6. ผูเ ขารวมพิธกี รรม ผูวิจัยตองการทราบวา ผูเขารวมพิธีเปนใคร มีความเกี่ยวของกับเจาภาพอยางไร เหตุใด บางพิธีกรรมมีผูม ารวมมากมาย บางพิธกี รรมไมค อยมคี นมารว ม เปนตน

16 7. ตัวบททีใ่ ชก ลาวขณะประกอบพธิ กี รรม ผูวิจัยตองการทราบวา ผูป ระกอบพิธีกรรมใชต วั บทอะไรมากลา วขณะประกอบพธิ ีกรรม ซ่ึง ขอมูลสวนนี้อาจจะไดจากการสังเกต สัมภาษณ ถายรูปหรือขออนุญาตเจาของตนฉบับถายสําเนา ซ่ึงจะตองดูถึงวัสดุท่ีใชบันทึกตัวบท ภาษาที่ใชบันทกึ เน้ือหาของตัวบท การกลาวในสถานการณ จรงิ เปรยี บเทียบกบั ตนฉบับวา มกี ารเพมิ่ เติม ตดั ทอนสวนใดหรอื ไม ฯลฯ เปน ตน 8. ขัน้ ตอนในการประกอบพิธกี รรม ผวู จิ ัยตอ งการทราบวา การประกอบพิธกี รรมน้นั เรมิ่ จากข้ึนตอนใด ตามดว ยขน้ั ตอน ใด และส้ินสุดที่ขึ้นตอนใด การจัดลําดับข้ึนตอนแบบนี้มีความหมายอยางไร มีวัตถุประสงคอยางไร เปน ตน 9. บรรยากาศของการประกอบพิธกี รรม ผูวจิ ัยตอ งการทราบวา บรรยากาศของการประกอบพิธกี รรมเปน อยา งไรบาง นบั ตง้ั แตการ แสดงออก การพูดคุย ความรสู ึกของเจาภาพ ผูป ระกอบพธิ ี รวมถงึ แขกท่ีมารวมงาน เปนตน อยา งไรกต็ าม แมผ ูวิจัยจะตองการทราบขอมลู ทง้ั หมดท่ไี ดก ลาวมาในขา งตนเพียงใด แตใน การเก็บรวบรวมขอมูลจริง ผูวิจัยจะตองระมัดระวังเวลาถาม เพื่อไมใหผูถูกถามรูสึกรําคาญหรือรูสึก วาเราตองการท่ีจะไดแตขอมูลอยางเดียว ดังนั้น ขอมูลบางอยางจึงไดจากการสัมภาษณ แตขอมูล บางอยางอาจไดจากการสังเกต เม่ือรวบรวมขอมูลไดท้ังหมด ผูวิจัยจึงไดนํามาศึกษาวิเคราะห ซ่ีงในบทน้ีจะขอ กลาวถึงองคประกอบในการประกอบพิธีกรรมตางๆ ไดแก ความหมาย จุดมุงหมายของการ ประกอบพิธีกรรม โอกาสในการประกอบพิธีกรรม สถานที่ประกอบพิธีกรรม เครื่องประกอบ พิธีกรรม ผูเก่ียวของกับการประกอบพิธีกรรม ข้ันตอนการประกอบพิธีกรรม และตัวบทท่ีใช ประกอบพธิ กี รรม โดยแตละพิธกี รรมมีรายละเอยี ดดงั นี้

17 2.1 พิธกี รรมเวนทาน ผวู จิ ัยเคยศึกษาคําเวนทานหรือบทท่ีใชป ระกอบพธิ เี วนทานมาแลว ในดานรปู แบบและ เนื้อหา (ดู ไสว คํามูล ,2548) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี (1) ความหมาย พิธีกรรมการเวนทาน คือ พิธีการกลาวสงมอบสิ่งของถวายทานหรือกลาวรายงานขณะมี การถวายทาน ซึ่งเปนองคประกอบขั้นตอนหนึ่งของการทําพิธีกรรมหลักเทานั้น กลาวคือ จะ กระทําในงานพิธีท่ีมีการถวายทานเขามาเก่ียวของ เชน ทอดกฐิน ทานขาวใหม ถวายทาน ถาวรวตั ถุทางพระพุทธศาสนาเชน วิหาร โบสถ เปน ตน (2)จุดมุง หมายของการประกอบพิธี การกลาวคําเวนทานมีจุดมุง หมายสําคัญ 3 ประการ คอื 1) เพ่อื กลา วรายงานรายละเอียดการจดั งานครง้ั นนั้ ใหแ กผทู อ่ี ยรู วมในพธิ ีซง่ื มีพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆเ ปน ประธาน ไดท ราบ นับตง้ั แต เจา ภาพผจู ัดงาน โอกาสในการจัดงาน ผูรับ อานสิ งสหรือผรู ับผลบญุ เปนตน สวนจะมรี ายละเอียดหรือเน้ือหาที่จะกลา วมากหรือนอย กข็ นึ้ อยกู บั โอกาส และระยะเวลา 2) เพ่ือเปนการสถาปนาความศักด์ิสิทธ์ิใหแกสิ่งของถวายทาน และทําใหการถวายทาน ครั้งนั้นบรรลุจุดมุงหมายสมบูรณ กลาวคือตามความเชื่อเรื่องโลกศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงชาวบานจะเชื่อวา ตราบใดท่ียังไมมีการเวนทานส่ิงของที่นํามาถวายทานน้ันก็เปนไดเพียงแคสิ่งของธรรมดาเทาน้ัน ยกตัวอยางเชน การถวายทานขาวใหม แมชาวบานจะชวยกันขนขาวจากบานมากองไวในวัดกอง ใหญเพียงใด แตหากยังไมไดเวนทาน กองขาวน้ันก็เปนเพียงกองขาวธรรมดา แตพอมีการเวนทาน กองขาวเหลานั้นจะกลายเปนบุญทันที กลาวอีกนัยหนึ่งคือในการถวายส่ิงของถวายทานใหแก พระพุทธศาสนา หากยังไมไดมีการเวนทานก็จะถือวาการถวายทานในครั้งนั้นยังไมเสร็จส้ินสมบูรณ ยังไมบ รรลุจุดมงุ หมายในการต้ังใจทําบุญคร้งั น้นั 3) เปนชองทางในการสอดแทรกความรูใหแกผูฟง เน่ืองจากข้ันตอนการเวนทานเปน ข้ันตอนที่สําคัญและมีชาวบานรวมฟงเปนจํานวนมาก ปูจารยจึงถือโอกาสน้ีสอดแทรกความรู และเสรมิ สรางปญ ญาใหแกผูฟง เชน อธิบายถึงมูลเหตุในการประกอบพิธีกรรม หรือปลูกฝงทัศนคติ และแบบแผนในการปฏบิ ัติตนเน่อื งในพธิ ีกรรมตางๆ แกผ ฟู ง

18 (3)โอกาสในการประกอบพธิ กี รรม พิธีกรรมเวนทาน เปนเพียงกิจกรรมหรือพิธีกรรมหนึ่งท่ีแทรกอยูในพิธีกรรมสําคัญๆ ดังนั้น โอกาสในการกลาวก็จะข้ึนอยูกับโอกาสในการประกอบพิธีสําคัญนั้นๆ นั่นเอง โดยสามารถจําแนก โอกาสในประกอบพิธีกรรมเวนทานไดตามประเภทของการประกอบพิธีกรรมสําคัญๆ เปน 2 ประเภท ประเภทแรก คือ พธิ ีกรรมทเ่ี ปน ปจเจกหรือเฉพาะบุคคล และประเภทท่ีสอง คือ พิธีกรรมท่ี เปน ของชุมชนหรือสงั คม โดยในแตละประเภทมีรายละเอยี ดดงั นี้ 1) พิธกี รรมของปจ เจกหรอื เฉพาะบุคคล เปนพธิ กี รรมท่ีเก่ียวขอ งกับชีวติ ในแตล ะชว งของ บุคคล ทั้งพธิ กี รรมในระยะหัวเล้ียวหวั ตอหรอื ทเ่ี รียกวาพธิ ีกรรมแหงการเปลยี่ นผา น (Rite of Passage) และ พธิ กี รรมทีเ่ กยี่ วเนอ่ื งกับการรกั ษาหรอื ฟน ฟสู ภาพจติ ใจ พิธีกรรมในระยะหัวเล้ียวหัวตอหรือพิธีกรรมแหงการเปล่ียนผาน (Rite of Passage) หมายถึง พิธีกรรมสําหรับชวงแหงวิกฤตการณในชีวิตของปจเจกบุคคล วิกฤตการณน้ีเกิดข้ึนทุกคร้ังท่ีคนเรา ตองเปลี่ยนสถานภาพ เชน เปลี่ยนวัย เปลี่ยนอาชีพ เปลี่ยนฐานะทางสังคม ตลอดจนเปลี่ยน สิ่งแวดลอม พิธีกรรมน้ีมีความคลายคลึงกับพิธีกรรมตามปฏิทินในเรื่องมูลฐานความคิดและ พฤตกิ รรม แตอาจตางกันตรงเหตกุ ารณท่จี ะยกขนึ้ มาเฉลิมฉลอง โอกาสแหงการประกอบพิธีกรรม และระดับความสําคัญของพิธีกรรมในสังคม พิธีกรรมในระยะหัวเลี้ยวหัวตอนี้จะจดั ข้ึนในชวงท่ีมีการ เปล่ียนแปลงที่สําคัญในชีวิต ชวงวิกฤตดังกลาวเกิดข้ึนเปนระยะๆ ดังตอไปน้ีคือ การขามเขต (Territorial Crossing) การพบปะและการประชุม (Individual and Group Meeting) การต้ังครรภและ การคลอดบุตร (Pregnancy and Childbirth) แรกเกิด และวัยเด็ก (Birth and Childhood) การ สถาปนา (Initiation) หม้ันและแตงงาน (Engagenent and Marriage) งานศพ (Funeral) และอื่นๆ (ก่ิงแกว อัตถากร, 2523 : 23-26) พิธีกรรมในกลุมนี้ท่ีมีการกลาวเวนทาน เชน พิธีกรรม ท่ีเก่ียวเนื่องกับการบวช ท้ังการบรรพชา และ อุปสมบท ซ่ึงถือวามีการเปลี่ยนผานจากสถานะของ ฆราวาสเปน สมณเพศ โดยจะมีการเวนทานเปกบวช นอกจากนั้นก็ยังมีพิธีกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับ ความตาย อันเปนการเปลี่ยนผานสภาวะจากมนุษย ไปเปนวิญญาณ หรือเปล่ียนผานจากภพภูมิ มนุษย ไปสูอีกภพภูมิหนึ่ง หากเปนฆราวาสก็จะมีการ เวนทานผีตาย และ เวนทานธรรมไปหา ผีตาย สว นพระสงฆกจ็ ะมีการ เวนทานศพทเุ จา สวนพิธีกรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับการรักษาหรือฟนฟูสภาพจิตใจ เปนพิธีกรรมที่สืบเน่ืองมาจาก ความเชื่อของคนสมัยกอนท่ีเช่ือกันวาสาเหตุหนึ่งของการเจ็บปวย เนื่องมาจากการถูก “ทํา” ซ่ึงอาจ เกิดจากการถูก “เสก” ของเขาไปในรางกาย หรือไมก็เน่ืองจากถูกวิญญาณเขาสิง เม่ือเปนดังน้ี วิธี รักษาจึงตองประกอบพิธีกรรมรายเวทมนตคาถาเพื่อแกไข พิธีรักษาโรคนี้อาจหมายความ ครอบคลุมไปถึงพิธีแกไขเร่ืองรายใหกลับกลายเปนดี เปนการรักษาทางจิตใจใหแกผูที่กําลังประสบ

19 อปุ สรรคตางๆในชีวิต ความเครยี ด ความกังวลเพราะปญ หาตางๆ โดยสามารถประกอบพิธี ไดหลายแบบ เชน ทําบุญกับพระสงฆ ประกอบพิธีรับพระเคราะห สะเดาะเคราะห เปนตน (กิ่งแกว อัตถากร, 2523 : 27-29) การประกอบพิธีดังกลาวที่มีการเวนทานดวย เชน พิธีกรรมการสืบชาตา ซงึ่ มคี วามเชอ่ื วา เปน การตออายหุ รือสะเดาะเคราะห จะทําใหดวงชะตาหรือชีวิตดีข้ึน ซ่ึงในพิธีกรรม นี้ก็จะมกี ารกลา วคําเวนทานสบื ชาตา 2) พิธีกรรมของชุมชนหรือสังคมเปนพิธีกรรมท่ีทุกครอบครัวสามารถเขามามีสวนรวมดวย ได ลักษณะของพิธีกรรมประเภทนี้สวนใหญจะเกี่ยวของกับความเชื่อและความศรัทธาทาง พระพุทธศาสนา มีวัดเปนท่ีประกอบพิธีกรรม และทุกคร้ังท่ีมีการประกอบพิธีกรรมท่ีวัดก็จะมีการ เวนทานขาวบาตร และเวนทานขันดอก ดวย พิธีกรรมในประเภทนี้สวนใหญจะยึดถือปฏิบัติกัน ตามชวงเวลาใดเวลาหน่ึงในแตละรอบปหรือที่เรียกวาพิธีกรรมตามปฏิทิน (Chronological Ritual) ซ่ึงหมายถึง พิธีกรรมที่คนทุกคนทุกกลุมในสังคมปฏิบัติกันเปนประจําเมื่อถึงเวลากําหนดที่เคยทํา มากอน จะหมุนเวียนครบรอบ 1 ป ในแตละเดือนก็จะมีพิธีที่กําหนดเปนวันๆ ไป (วีรยุทธ นาคเจริญ, 2545 : 19) การประกอบพิธีกรรมตามปฏิทินน้ี ในสังคมลานนาจะถือเอาเดือนเจ็ด (เดือนหา ภาคกลาง ประมาณเดือนเมษายน) เปนเดือนเริ่มตนของการประกอบพิธีกรรมในรอบปโดยแตละเดือนจะมีการ ประกอบพิธกี รรมทีต่ องมีการเวนทาน ดังตารางตอไปน้ี เดอื น โอกาสในการประกอบพิธกี รรม พธิ กี รรมเวนทานทพ่ี บ (เฉพาะท่ีเกยี่ วขอ งกบั การเวนทาน) เจด็ ปใหมหรอื สงกรานต -เวนทานเจดยี ท ราย -เวนทานขาวลดเคราะห แปด - เกา -

20 สิบ เขาพรรษา -เวนทานเขา พรรษา สบิ เอด็ วนั พระ -เวนทานขาวบาตรและขนั ดอกทกุ ๆ วนั พระระหวางพรรษา -เวนทานขาวบาตรและขันดอกทกุ ๆ วนั พระระหวางพรรษา สิบสอง วันพระ -เวนทานขาวบาตรและขันดอกทุกๆ วันพระระหวางพรรษา เก๋ยี ง ออกพรรษา -เวนทานออกพรรษา -เวนทานสลากภัตต ยี่ ยี่เพง็ -เวนทานผางประทีป -เวนทานมหาชาติ สาม - ส่ี สเ่ี พง็ -เวนทานขาวใหม -เวนทานหลัวหิงไฟพระเจา หา -บรรพชา อุปสมบท -เวนทานเปกบวช - การเฉลมิ ฉลองถาวรวัตถทุ างพระพุทธศาสนา หรอื ปอย -เวนทานกฏุ ิ -เวนทานวิหาร -เวนทานอโุ บสถ

21 -เวนทานกฐนิ -เวนทานศาลาบาตร -เวนทานหอธรรม -เวนทานกาํ แพง -เวนทานขา วมธปุ ายาส (เวนทานขาว 49 กอ น) หก -บรรพชา อปุ สมบท -เวนทานเปกบวช - การเฉลิมฉลองถาวรวัตถทุ างพระพทุ ธศาสนา หรือ ปอย -เวนทานกฏุ ิ -เวนทานวหิ าร -เวนทานอุโบสถ -เวนทานกฐนิ -เวนทานศาลาบาตร -เวนทานหอธรรม -เวนทานกาํ แพง -เวนทานขา วมธปุ ายาส (เวนทานขา ว 49 กอ น) ตาราง 1 แสดงการประกอบพิธกี รรมของชมุ ชนในรอบสิบสองเดือนท่ีเก่ยี วของกบั การเวนทาน จากตาราง จะพบวา คนลานนา มีโอกาสประกอบพิธีกรรมท่ีเปน พธิ กี รรมชมุ ชนและเก่ยี วขอ ง กับพธิ กี รรมเวนทานหลายโอกาส และถานับรวมกบั การประกอบพิธกี รรมเวนทานในพธิ กี รรมปจ เจก ดว ยกจ็ ะพบวา ในหนึ่งป คนลานนา มโี อกาสประกอบพธิ กี รรมเวนทานมาก เกอื บทกุ เดอื นก็วาได (4) สถานทป่ี ระกอบพธิ กี รรม สถานที่ประกอบพิธีกรรมเวนทาน ข้ึนอยูกับพิธีกรรมหลักวาเปนพิธีปจเจกหรือพิธีชุมชน หากเปนพิธีปจเจก เชน งานศพ งานสืบชาตา ก็จะประกอบพิธีที่บาน แตหากเปนพิธีชุมชนเชน เขาพรรษา ออกพรรษา งานเฉลิมฉลองถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนา (ปอยหลวง) ก็จะ ประกอบพิธีทีว่ ัด

22 (5) เคร่ืองประกอบพธิ ีกรรม เครื่องประกอบพิธีกรรมเวนทาน จําแนกออกไดเปน 2 สวน คือ “สิ่งของถวายทาน” และ “ขัน หรอื พานนา้ํ ขมิ้นสม ปอย” 1) สิ่งของถวายทาน จะหมายถึงส่ิงของที่ชาวบานต้ังใจจะยกถวายทานโดยตรง ซึ่งสวน ใหญจะเปนการถวายใหแกพระพุทธศาสนา หรือบางกรณีอาจจําเพาะเจาะจงใหแกพระสงฆเทานั้น เชน ผากฐิน และเม่ือถวายเสร็จถึงจะมีการระบุความตั้งใจวาตองการอุทิศสวนบุญสวนกุศลจากการ ถวายทานครั้งนั้นใหแกผูใด ซึ่งอาจจะอุทิศใหกับตนเองในภายภาคหนา ที่เรียกวา “ทานเสวยไป หนา” หรือ อุทิศใหแกญาติพ่ีนองที่ลวงลับไปแลวก็ได สิ่งของถวายทานในแตละโอกาสก็มีความ สอดคลองกับงานหรือโอกาสในการถวายทานคร้ังน้ันๆ เชน ในโอกาสวันเดือนสี่เพ็ง มีการทานขาว ใหม สิ่งของถวายทานก็จะไดแกขาวเปลือก ขาวสารใหมที่ยังไมไดนําไปบริโภค ในโอกาสงานปอย หลวงหรืองานเฉลิมฉลองถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนา เชน ปอยหลวงวิหาร ส่ิงของถวายทานก็ ไดแ กพ ระวหิ ารนนั่ เอง เปนท่ีนาสังเกตวาส่ิงของที่นํามาถวายทานจะมีขนาดต้ังแตขนาดเล็กพอท่ีจะยกไปประเคน ได เชน กว ยสลาก ผากฐนิ ขา วบาตร ฯลฯ จนกระทั่งถึงสิ่งของใหญที่ไมส ามารถยกได เชน กองเจดียทราย โบสถ วิหาร ในการทําพิธีถวายทานน้ันสิ่งของท่ีสามารถยกไดชาวบานก็จะยกไป ประเคนใหแกพระสงฆซ่ึงถือวาเปนตัวแทนของพระรัตนตรัยเปนผูรับ ทั้งนี้อาจมีผูยกคนเดียวหรือ ชวยกันยกหลายๆคนก็ได สวนของท่ีมีขนาดใหญหรือเปนถาวรวัตถุที่ไมสามารถยกได เชน พระวิหาร โบสถ เจดีย ก็จะนําสายสิญจนไปพันลอมรอบส่ิงของถวายทานนั้นแลวนําปลายของ สายสญิ จนม าประเคนใหพ ระสงฆแทน 2. ขัน หรอื พานใสนํ้าขมนิ้ สม ปอย ซง่ึ เปนน้าํ ทป่ี รงุ ข้ึนใหม ีคณุ สมบัติอนั เปนมงคลเพอื่ ใช ในพิธีกรรมตางๆ เชน สรงนํ้าพระ ดําหัวผูใหญ หรือขับเสนียดจัญไร เปนตน วิธีปรุง สามารถทําได ดวยการนําเอาฝกสมปอยไปแชในภาชนะใสน้ําซึ่งอาจใช แกว ขัน หรือ สลุงตามแตเห็นสมควร บางแหงอาจใสดอกไมแหงที่มีกล่ินหอม เชน ดอกสารภี หรือมีชื่อที่เปนมงคล เชน ดอกคํา(ดอก คาํ ฝอย) ลงไปในนํา้ ขมนิ้ สม ปอยดวย เปน ที่นาสังเกตวา ทุกครง้ั ทม่ี กี ารเวนทานก็จะตอ งจดั เตรียมขันใสน ํา้ ขมนิ้ สม ปอยไวเสมอ ดวยเชื่อวานํ้าขม้ินสมปอยจะชวยชําระลางมลทินใหสิ่งของถวายทาน ทําใหส่ิงของถวายทาน กลายเปนของบริสุทธิ์ควรคาแกการทําบุญ ทั้งนี้เพราะชาวลานนามีความเช่ือวาในขั้นตอนที่มีการ จัดเตรียมสิง่ ของถวายทานขึ้นมานัน้ อาจมีการลว งละเมิดหรือประพฤติไมเหมาะสม ไมวาจะดวยกาย วาจา หรือใจ อันจะทําใหเปนบาปแกผูทํา ดังน้ันกอนจะถวายทานก็ตองมีการขอขมาสิ่งของถวาย

23 ทานเพือ่ ขออโหสใิ หแกพ วกตนเสียกอ น นอกจากนี้ ขนั ใสนํา้ ขม้นิ สมปอ ยยังจดั ไดวาเปนสัญลักษณท่ี แสดงใหเห็นการขอขมา โดยจะมีการพรมน้ําขมิ้นสมปอยไปที่สิ่งของถวายทานในขั้นตอนที่มีการ สมมาครวั ทาน (6) ผูเ ก่ียวขอ งกบั การประกอบพธิ กี รรม 6.1ผูจัดเตรยี มพิธกี รรม ผูจัดเตรียมพิธีกรรมเวนทานน้ันอาจจําแนกไดตามประเภทของพิธีกรรมหลัก หากเปนพิธี ปจเจก ทางฝายเจาภาพท่ีจัดงาน จะไปขอคําปรึกษาจากปูจารยเพื่อหาวันเวลาที่เหมาะสมในการ ประกอบพธิ ี และเครอ่ื งประกอบพธิ ที ่จี ะตอ งเตรยี ม จากน้ันกจ็ ะกลับมาจดั เตรยี มพธิ กี รรม โดยมีญาติ พี่นอง หรือคนที่รูจักมักคุนกันมาชวยจัดเตรียม สวนใหญนิยมจัดเตรียมในวันกอนที่จะประกอบ พิธีกรรมจริง 1 วัน เรียกวา วันดา ซ่ึงคําวาดา ในภาษาลานนา หมายถึง จัดเตรียม ซึ่งบางทองถ่ิน อาจเรียกตางจากนี้ เม่ือถึงวันประกอบพิธีกรรม กอนจะเร่ิมพิธี ปูจารย จะตรวจสอบความเรียบรอย ของเครื่องประกอบพิธีกรรมอีกคร้ัง หากมีสิ่งใดขาดตกบกพรองก็จะแนะนําใหจัดเตรียมใหพรอม กอนเร่ิมพิธี และสิ่งสําคัญท่ีสุดที่ตองจัดเตรียมไวใหพรอมกอนจะมีการกลาวเวนทานก็คือส่ิงของ ถวายทานและขนั หรือพานใสน ้ําขมิ้นสมปอย สวนพิธีกรรมท่ีเปนพิธีกรรมชุมชนซึ่งจะตองประกอบพิธีท่ีวัด ทางวัดก็จะเปนผูจัดเตรียม สถานทีไ่ วให โดยมีพระภกิ ษุ สามเณร ศษิ ยว ดั หรือฆราวาสบางคน ชว ยกันปดกวาดวิหารใหสะอาด พรอมกับปูเส่ือไวรอรองรับผูคนท่ีจะมารวมพิธีในวันงาน สวนเครื่องประกอบพิธีกรรมอื่น ๆ เชน พานใสน้ําขมิ้นสมปอย ปูจารยจะเปนผูจัดเตรียม ของท่ีจะถวายทาน ชาวบานก็จะชวยกันจัดเตรียม เปน ตน 6.2 ผูป ระกอบพธิ ีกรรม ผทู ําหนา ที่เปนผปู ระกอบพิธกี รรมเวนทาน สวนใหญจ ะเปนปูจารย (บางแหงเรียกปูอาจารย พอ จารย) แตบ างครั้งอาจเปนพระสงฆกไ็ ด 6.3ผเู ขารว มพธิ ีกรรม ผูเขารวมพิธีกรรมเวนทาน ในพิธีปจเจก นอกจากปูจารยซ่ึงทําหนาท่ีเปนผูประกอบพิธี และครอบครัวของเจาภาพท่ีเปนผูจัดเตรียมพิธีแลว ยังมีญาติพ่ีนอง ตลอดจนผูที่รูจักมักคุนกันเขา รว มพิธีกรรมดวย ซงึ่ ลักษะของการเขารวมพิธีกรรม สามารถจาํ แนกไดเปนอีก 2 กรณี คือ กรณีแรก งานมงคล เชน งานข้ึนบานใหม งานสืบชาตา ฯลฯ งานประเภทนี้ผูท่ีจะมารวมงานไดตองไดรับ เชิญจากทางเจาภาพเสียกอน สวนอีกกรณีหนึ่ง คือ งานอวมงคล เชนงานศพ งานประเภทนี้ เจาภาพจะไมไ ปเชญิ ใครใหม ารวมงาน ดังนัน้ ผทู มี่ ารวมงานจึงมาดวยความเตม็ ใจ

24 สว นพิธกี รรมชุมชน ที่จัดขนึ้ ท่วี ดั จะมพี ระสงฆ สามเณร ปูจารย และคณะศรัทธาของ หมบู านนน้ั มาเขา รวมพธิ ี ซึง่ จาํ นวนของผูเขารวมพิธีจะมากหรือนอยนั้นก็ขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน หากเปนวันท่ีตองประกอบพิธีกรรมสําคัญในรอบป ซ่ึงจะมีอยู 4 พิธีกรรม ไดแก เขาพรรษา ออกพรรษา ทานขาวใหม และปใหมเมือง ชาวบานก็จะมาเขารวมพิธีมากเปนพิเศษ หรือ ถาเปน ชวงกลางพรรษา ท่ีจะตองไปประกอบพิธีกรรมท่ีวัดทุกวันพระ หากเปนวันพระท่ีตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา และวันสุดทายของแตละเดือนทางจันทรคติ ที่คนลานนาเรียกวา วันศีลใหญ หรือ ศีลเดือนดับ เดอื นเพ็ง ชาวบา นก็จะมารว มพิธกี รรมมากกวา วันพระขนึ้ 8 คาํ่ หรือ แรม 8 คํ่าเปนตน (7) ขนั้ ตอนการประกอบพธิ ีกรรม ลาํ ดับข้นั ตอนการประกอบพธิ ีกรรมการเวนทาน มีทง้ั หมด 7 ข้นั ตอน ไดแ ก 7.1 ไหวพ ระรบั ศลี ในการประกอบพธิ กี รรมตางๆ ทจ่ี ะตองกลาวบทเวนทานนน้ั จะตอ งมีการไหวพ ระรบั ศลี เปน ข้นั ตอนแรกเสียกอ น โดยเมื่อพระสงฆม านั่งพรอ มในพธิ ี ตวั แทนชาวบานกจ็ ะจดุ เทยี นธปู บชู าพระ รัตนตรยั ซึ่งอาจจะเปนเจา ภาพ หรือผทู ีช่ าวบานเคารพนบั ถอื เชน ผใู หญบ า น ผเู ฒาผแู กป ระจาํ หมูบา น เปน ตน จากนัน้ ปจู ารยกจ็ ะนําไหวพ ระสวดมนตตามลําดับ 7.2 เร่ิมกลา วบทเวนทาน (สมมาครวั ทาน) เม่ือเสร็จสิ้นขั้นตอนของการไหวพระรับศีลแลว ปูจารยก็จะเร่ิมกลาวบทเวนทาน โดยจะเร่ิม จากการสมมาครวั ทานกอน เนือ้ หาในสว นนี้จะแยกบันทึกไวตางหากจากบทเวนทานท่ีจะใชกลาวใน แตละงาน กลาวคือ ปูจารยสามารถใชบทสมมาครัวทานบทเดียวกันซ้ํากันทุกงานได ขณะที่กลาว น้ันจะนําขันนํ้าขมิ้นสมปอยซึ่งชาวลานนาถือวาเปนเครื่องสักการบูชาที่เปนสัญลักษณแทนการขอ ขมาลาโทษ มาประพรมไปที่สง่ิ ของถวายทาน จากน้ันจงึ เริม่ กลาวบทสมมาครัวทานเปน ลําดบั ตอไป 7.3 กลา วบทเวนทาน (อัญเชญิ เทวดา) เมื่อกลาวบทสมมาครัวทานเสร็จก็จะกลาวบทอัญเชิญเทวดา ซ่ึงเปนอีกบทหนึ่งที่แยก เนื้อหาออกมาจากบทเวนทานในแตละโอกาส เพราะสามารถใชบทเดียวกันกลาวซ้ําไดทุกงาน เชนเดียวกับบทสมมาครัวทาน ทั้งน้ีคนลานนามีความเชื่อกันวา จะตองมีการอัญเชิญเทวดามารวม ในพิธีกรรมการทําบุญทําทานคร้ังสําคัญดวยทุกคร้ัง เพื่อใหเทวดาไดเปนสักขีพยาน และ “จดเอาลาย หมายเอาชื่อ” (บันทึกนาม) ของเจาภาพ ตลอดจนผูท่ีมารวมกันประกอบพิธีกรรม เหลานนั้ ไว นอกจากน้ันยังเชอ่ื วา การอญั เชิญเทวดามารว มในพิธีกรรมน้ันๆ จะชวยใหพิธีกรรมหรือ การถวายทานคร้ังน้นั เกิดความศกั ดส์ิ ิทธิ์ขน้ึ อีกดวย

25 แนวความคิดเรื่องการอัญเชิญเทวดามาเปนสักขีพยานหรือมารับรูการทําบุญน้ันจะปรากฏ แทบทุกครง้ั ที่มีการถวายทาน นับตั้งแตการ ทานขันขาว ซ่ึงเปนการถวายทานชุดสํารับอาหาร อุทิศ ไปใหแกผูตาย ทุกครั้งกอนท่ีจะมีการถวายขันขาวไปใหผูตายนั้น จะตองมีการถวายใหเทวบุตร เทวดาเสียกอน 1 ขัน หรือ 1 สํารับ จากน้ันจึงถวายไปใหผูที่ลวงลับไปแลว ดวยมีความเชื่อกัน วาเทวบตุ รเทวดาจะเปนส่อื กลางในการนาํ เอาสง่ิ ของถวายทานนั้นไปใหแกดวงวญิ ญาณของผูต าย 7.4 กลาวบทเวนทาน เมอ่ื เสร็จสนิ้ จากการกลา วบทสมมาครัวทานและบทอญั เชิญเทวดาแลว ปจู ารยก็จะเร่ิมกลาว บทเวนทาน โดยจะเริ่มต้ังแตยอคุณพระรัตนตรัย เร่ือยไปจนส้ินสุดท่ีการกลาวถวายทานเปนภาษา บาลี 7.5 ประเคนส่งิ ของถวายทานแดพ ระสงฆ เมื่อกลาวบทเวนทานเสร็จ ก็จะมีการประเคนสิ่งของถวายทานแดพระสงฆ ซึ่งสารานุกรม วัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เลม 3 (2538 : 1201-1202)ไดอธิบายไววา “เคน” ในภาษาลานนา ตรง กบั ภาษาไทยกลาง หมายถึงการประเคน คือ การยกให หรอื ยน่ื ให เปนเคร่ืองหมายแหงการอนุญาต ใหส่ิงของเครื่องใชของตนแกพระภิกษุสงฆ โดยการประเคนท่ีถูกตองจะตองประกอบดวย องคประกอบ 5ประการคือ 1. อยูในหัตถบาส คือ พระสงฆและผูประเคนอยูหางกันประมาณ 1 ศอก ซ่ึงถือวาเปน ระยะท่ปี ระเคนสะดวก 2. ของมนี ํ้าหนักพอประมาณ คอื ตองมนี ้าํ หนักพอทเี่ ราจะยกไปถวายได 3. ของหนักเกินไปหามประเคน แตจะใชส่ิงอ่ืนเปนสัญลักษณแทน เชน กรวยดอกไมหรือ ขนั นําทานทีใ่ สขาวตอกดอกไม ประเคนแทนวตั ถุทมี่ นี ้าํ หนักมาก 4. นอ มใหดว ยความเคารพ คือ ใหดว ยความเคารพ นมุ นวล เต็มใจ 5. ประเคนใหแลว ปลอยมอื ไมแ ตะตอ งของนั้นอกี เพราะไมเ ชน น้นั ตองประเคนใหม ในกรณีการเวนทานของทไี่ มสามารถยกมาประเคนได เชน วิหาร อโุ บสถ ศาลาบาตร ซ่ึง เปนอาคารขนาดใหญ กจ็ ะใชวธิ นี ําดายสายสิญจนมาโยงไวจนรอบอาคารนั้นแลว นาํ ปลายของ เสน ดายไปไวท พ่ี ระสงฆผ ูทาํ พธิ รี ับ 7.6 พระสงฆอ นุโมทนาและใหพ ร เมอื่ พระสงฆร บั เอาส่งิ ของถวายทานเสรจ็ เรยี บรอ ยแลวก็จะอนโุ มทนาและใหพ รแกผ ทู ี่รวม ในพธิ กี รรม ในข้นั ตอนนพ้ี ระสงฆบ างรูปอาจจัดทํานาํ้ พระพทุ ธมนตป ระพรหมใหแ กญาตโิ ยมที่ มารว มในพิธกี รรมดวย ชาวบานจะเรยี กข้ันตอนนว้ี า รบั พร เอาพร หรือ เอาบญุ

26 7.7 สมมาแกวทั้งสาม กอนทจี่ ะเสรจ็ สิน้ ขน้ั ตอนของการเวนทานนนั้ จะตอ งมีการสมมาแกวทั้งสามอนั ไดแ ก พระ พทุ ธ พระธรรม พระสงฆเ สยี กอ น โดยมีนัยแสดงถึงการกลาวลา หรอื ขอตวั ไปทาํ ภารกจิ อน่ื ๆ เม่ือเสรจ็ ขัน้ ตอนดงั กลาวกถ็ ือวาพิธกี รรมนั้นไดเสร็จสนิ้ อยา งสมบูรณแบบแลว (8) ตวั บทที่ใชป ระกอบพธิ ีกรรม ตัวบทที่นํามาใชประกอบพิธีกรรมเวนทาน เรียกวา บทเวนทาน ซึ่งเปนบทกลาวถวาย แบบยาว ท่ีมีการผสมผสานทั้งคํากลาวถวายเปนภาษาบาลี การกลาวอุทิศ การบอกถึง วัตถุประสงคในการทําบุญ นอกจากน้ันก็ยังมีการเพิ่มเติมรายละเอียดอ่ืนๆ สอดแทรกเขาไป เชน มูลเหตขุ องพธิ กี รรมถวายทาน แงคิดหรือคาํ สอนตางๆ ฯลฯ ทําใหคาํ กลาวถวายทานของลา นนานั้น มีลักษณะพิเศษ มีรูปแบบและโครงสรางที่เปนแบบฉบับเฉพาะตัวและยืดถือสืบทอดกันมารุนตอรุน สวนรายละเอียดปลีกยอยนั้นจะมีความแตกตางกันไปแลวแตวิจารณญาณของผูแตงหรือผูกลาว แตล ะทาน โดยมีชือ่ เฉพาะทีใ่ ชเรยี กคาํ ถวายทานของลา นนานั้นวา “ บทเวนทาน” 2.2 พิธกี รรมสบื ชาตา พิธีกรรมสบื ชาตา เปน พธิ กี รรมสําคัญพธิ หี น่ึง ทพ่ี บวาคนลานนานยิ มปฏิบตั ิ โดยสามารถ จาํ แนกพิธกี รรมสืบชาตา ออกไดเ ปน 3 ประเภท คอื สบื ชาตาคน สบื ชาตาหมบู า น และสืบชาตา เมือง ซึ่งแตล ะประเภท มอี งคประกอบของพธิ กี รรมดงั นี้ ก.สบื ชาตาคน (1) ความหมาย คนลา นนา จะมคี วามเชอื่ วา หากเกิดความเปลยี่ นแปลงข้ึนกบั ชวี ติ ในชว งเวลาใดเวลาหนึ่ง เชน การเจบ็ ปว ย การไดเล่ือนยศเลอื่ นตาํ แหนง การไดอ ยูบานใหม ฯลฯ จะตอ งประกอบพิธกี รรม สืบชาตา อนั เปนพธิ กี รรมตอ อายุ บูชาดาวนพเคราะหท ้ัง 9 คือ อาทติ ย จนั ทร องั คาร พธุ เสาร พฤหัสบดี ราหู ศุกร เกตุ เพอ่ื ใหเจา ของพธิ นี ัน้ มชี วี ิตเปนสขุ ตอไป (2) จดุ มุง หมายของการประกอบพิธี จุดมุงหมายในการประกอบพิธีกรรมสืบชาตาคนน้ัน มีหลายประการดวยกัน ขึ้นอยูกับ โอกาสในการประกอบพิธีกรรม โดยในการประกอบพิธีกรรมแตล ะครั้งนนั้ อาจมีจดุ มุงหมาย ประการ ใดประการหน่งึ ดงั ตอ ไปน้ี คือ

27 2.1เพอื่ ใหเจา ของชาตาหายปว ยและมอี ายุยืนยาว 2.2เพอ่ื ใหเจาของชาตาพบแตสิง่ ที่ดี ๆ ผา นเขามาในชวี ติ 2.3เพอื่ ใหเจา ของชาตา ใชช วี ติ ในสถานภาพใหมไดอ ยา งมน่ั ใจมคี วามสุข (3) โอกาสในการประกอบพธิ ีกรรม โอกาสในการประกอบพิธีกรรมสบื ชาตาคนน้ัน สามารถจําแนกไดเปน 2 กรณี คอื 3.1 สบื ชาตาใหแกผ ูปวย ซง่ึ ถอื วาเปนการรกั ษาหรือเยยี วยาทางจติ ใจ ใหแกผ ูป วยทอี่ าจ เจบ็ ปวยหนกั หรอื เจบ็ ปว ยเร้อื รัง โดยมีความเชอื่ วา การสบื ชาตาจะเปน การชว ยตอ อายใุ หยนื ยาว หรืออาจชว ยใหหายจากอาการเจบ็ ปวยได 3.2 สบื ชาตาใหแ กผูท กี่ าํ ลงั จะเปล่ยี นสถานภาพจากสถานภาพหนง่ึ สอู กี สถานภาพ หน่ึง ซึ่งสามารถพบไดห ลายกรณี ไดแก -เล่อื นตําแหนง เชน ผูท่ีไดร บั ตําแหนงเปนผูใหญบ า น ถือวาเปนการ เปล่ียนผานสถานภาพจากชาวบานธรรมดาคนหนึ่ง เปนผูนําหรือผูปกครองหมูบาน ทําใหวิถีชีวิต บางอยา งอาจเปลีย่ นไปจากเดมิ -ข้ึนบานใหม ถือวาเปนการเปล่ียนผานสถานภาพจากสภาพแวดลอมเดิม ที่เคยอยูบาน หลังเกา ตองเปล่ยี นแปลงไปอยใู นบา นหลังใหม ท่ีมสี ภาพแวดลอมเปล่ียนไป อาจรูสึกไมคุนเคยและ ไมมน่ั ใจเหมือนกับบานหลงั เกาทเี่ คยอาศัยอยมู ากอ น -ยางเขาสูอายุใหมในวันคลายวันเกิด ผูท่ีนิยมจัดพิธีกรรมสืบชาตาในวันคลายวันเกิด สวน ใหญมักไมคอยพบในกลุมฆราวาส แตมักพบในกลุมของพระสงฆมากกวา โดยเฉพาะพระสงฆที่มี ช่ือเสียง มีคณะศรัทธาใหความเคารพเลื่อมใสเปนจํานวนมาก ก็จะมีความพรอมท่ีจะสามารถ ประกอบพธิ กี รรมสบื ชาตาเนื่องในโอกาสครอบรอบวันเกิดไดทุกป (4) สถานทป่ี ระกอบพิธีกรรม การประกอบพิธีกรรมสืบชาตาคน นิยมจัดขึ้นท่ีบานของเจาชาตา โดยใชบริเวณหองโถง (คนเมืองเรียก เต๋ิน) ของบาน ซึ่งเปนพื้นที่ ท่ีกวางขวางท่ีสุดในบาน สามารถรองรับคนที่จะมา รวมงานไดจ ํานวนมาก กรณีท่ีเปนบานชั้นเดียว มักไมคอยมีปญหาเร่ืองสถานท่ีนัก แตหากเปนบาน 2 ช้ัน หรือบานที่มีใตถุน จะตองประกอบพิธีที่ชั้นบนของบาน ไมนิยมประกอบพิธีท่ีช้ันลาง ดวยคน ลานนามีความเช่ือวาพระสงฆที่มาประกอบพิธีควรจะไดอยูชั้นบนสุด ไมเหมาะสมท่ีจะอยูชั้นลาง เพราะชั้นบนอาจมีคนเดินไปเดินมา ถือวาเปนบาป (สัมภาษณพอหนานดุสิต ชวชาติ, 14 กันยายน 2551)

28 (5) เคร่ืองประกอบพธิ ีกรรม เครื่องประกอบพธิ กี รรมสบื ชาตา จาํ แนกไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื ขนั ตง้ั สบื ชาตา และโขงชาตา (สมั ภาษณพ อ หนานดุสติ ชวชาต,ิ 14 กนั ยายน 2551) 5.1 ขนั ตง้ั สืบชาตา หมายถงึ พานหรือภาชนะอื่น ๆ ทภ่ี ายในประกอบดวยสิง่ ของตาง ๆดงั น้ี (สัมภาษณพ อ หนานประสิทธิ์ โตวเิ ชียร, 15 ก.ย. 51) -หมาก 1 หัว บางแหง ใชพ นั สาม (หมากหนง่ึ หัว หมายถึง หมากแหง จํานวน 10 เสน ซงึ่ แตล ะเสนรอ ยดวยเชอื กปอเขา ดว ยกนั ประมาณ 10 ชนิ้ หมาก 10 เสน รวมกันเรยี กวา หมาก 1 หวั สว นหมากพันสาม คอื หมากแหง จาํ นวน 13 เสน) -พลู จํานวน 1 มดั -ขา วเปลอื ก จาํ นวน 1 ควกั (กระทง) -ขา วสาร จาํ นวน 1 ควัก -เบีย้ พันสาม (เงนิ จาํ นวน 1,300 บาท เดมิ ใชหอยเบย้ี หรือ บางทอ งถิ่นใชล กู เดือยหนิ แทน) -ผาขาว จํานวน 1 รํา(พบั ) -ผา แดง จํานวน 1 ราํ (พับ) -เทยี นเลมบาท จํานวน1 คู -เทียนเลม เฟอ ง จํานวน1 คู -กรวยหมากพลู จาํ นวน 4 กรวย -กรวยดอกไม จํานวน 4 กรวย 5.2 โขงชาตาจะประกอบไปดวย (สัมภาษณพอ หนานประสทิ ธ์ิ โตวเิ ชียร, 15 ก.ย. 51) -ไมงามใหญ 3 ลํา ลักษณะเปนไมทอนใหญพอประมาณ ยาวประมาณ 2 เมตร สวนปลาย มีลักษณะเปนงาม อาจใชกระดาษเงินกระดาษทองพันเพ่ือความสวยงาม บางแหงเช่ือวาไมท่ีนํามา ทาํ เปนไมค ํา้ ไดดที สี่ ุดคือ ไมโชค หรอื ทภี่ าคกลางเรียกวาไมตะครอ ซึ่งมีช่ือท่ีเปนมงคลพองกับคําวา โชคลาภ หากไมสามารถหาไดก ็สามารถใชไมอ ยา งอืน่ แทนได -ไมงามเล็ก พันดวยกระดาษเงินและกระดาษทอง อยางละ 108 ลักษณะเปนไมยาวเทากับ ศอกของเจา ของชาตา ปลายไมม ลี ักษณะเปน งา ม หากทํามาจากไมตะครอไดก จ็ ะเปนมงคล แตห าก หาไมได กใ็ หใ ชไ มชนดิ อ่ืนแทน -ขวั หรอื สะพาน ยาวเทา คงิ จาํ นวน 1 คู (ยาวเทา กบั ความสงู ของเจา ชาตา) -ลวดเงนิ จํานวน 1 แผง -ลวดคาํ หรอื ลวดทอง จาํ นวน1 แผง -ลวดหมากพลู ประกอบไปดว ยหมากและพลู จํานวน108 คํา

29 -ลวดบหุ รี่ ประกอบไปดวยบุหรม่ี วนเลก็ ๆ จาํ นวน 108 มวน -ลวดเม่ียง ประกอบไปดว ยหอ เมย่ี งเล็ก ๆ จํานวน 108 หอ -ลวดกรวยดอกไม จาํ นวน 1 ชุด ประกอบไปดวยกรวยดอกไมเ ลก็ ๆ จาํ นวน 108 กรวย -เทียนคาคงิ จํานวน1 แทง (ยาวเทา กบั 1 ศอกของเจา ชาตา แตบ างแหงนิยมใหไสเทียนมี ความยาวเทากบั ความสงู ของเจา ชาตา) -เทียนเลม เลก็ จํานวน108 แทง ปก ไวบ นถาดทราย -ทงุ คาคงิ จาํ นวน 1 ตวั (ยาวเทา กบั ความสูงของเจาชาตา กวา งเทา กับ 1 คบื ของเจาชาตา) -ชอ ขาว จํานวน 108 ตวั -ชอสี จาํ นวน 108 ตวั -กระบอกน้าํ จํานวน 1 กระบอก (ทาํ ดว ยกระบอกไมไผบรรจนุ ้ําไวภ ายใน) -กระบอกทราย จํานวน 1 กระบอก -กระบอกขา วเปลอื ก จาํ นวน 1 กระบอก -กระบอกขาวสาร จํานวน 1 กระบอก -หนอมะพราว จํานวน 1 หนอ -หนอ กลว ย จาํ นวน 1 หนอ -หนอ ออ ย จาํ นวน 1 หนอ -กลวยนํา้ วาดบิ จาํ นวน 1 เครอื -มะพราว จาํ นวน 1 ทะลาย -เส่อื ใหม จาํ นวน 1 ผนื -หมอนใหม จาํ นวน 1 ใบ -หมอนํา้ ใหม พรอ มกระบวยตักน้าํ จํานวน 1 ชุด -หมอเงนิ จํานวน 1 ใบ (หมอ ดนิ ทหี่ ุม ดว ยกระดาษเงนิ ) -หมอทอง จํานวน 1 ใบ (หมอ ดนิ ทหี่ มุ ดวยกระดาษทอง) 5.3 สะทวงหรอื กระบะใสเ คร่อื งบตั รพลี ซึ่งภายในประกอบไปดว ยสิ่งของตาง ๆอยา งละ 108 ดังนี้ -หมาก -เมย่ี ง -บหุ ร่ี -ขา ว

30 -อาหาร -ขนม -ผลไม -ธูป -เทียน นอกจากน้ียงั ตองเตรยี มเครือ่ งประกอบพธิ ีอื่น ๆ ดว ย ไดแก -ขนั แกว ท้ังสาม คอื พาน ทภี่ ายในใสข า วตอกดอกไมและธปู เทยี น แบงเปน 3 กอง เพอ่ื บชู า พระรตั นตรยั -ขนั ศลี คอื พานท่ใี ชส มาทานศลี กบั พระสงฆ ภายในใสขาวตอกดอกไมแ ละธปู เทยี น จํานวน 1 ชุด -บาตรนํา้ มนต ทอ่ี าจใสน ํ้าบรสิ ทุ ธิ์ หรอื บางแหง ก็ใสนา้ํ ขมน้ิ สมปอ ย พรอ มท้งั อปุ กรณ สําหรบั ใชป ระพรมน้าํ มนต ซึง่ อาจใชห ญา คาแหง มัดรวมกนั หรอื บางแหง ใชใ บมะยม ใบมะตูม มดั รวมกนั -ดา ยสายสญิ จน สาํ หรับใชโ ยงใหทั่วสถานท่ปี ระกอบพธิ กี รรม และสาํ หรบั พระสงฆใชจ บั ตอ ๆ กันไป ขณะประกอบพธิ กี รรม (6) ผเู กยี่ วขอ งกบั การประกอบพธิ ีกรรม 6.1ผูจัดเตรียมพธิ กี รรม ในการจัดเตรียมพิธกี รรมสืบชาตา ทางฝายของเจา ชาตาจะตองเปน ฝายจดั เตรยี มโดยมีญาติ พี่นอง เพ่ือนบาน ตลอดจนคนท่ีรูจักคุนเคยกัน ชวยกันจัดเตรียม กอนจะเริ่มจัดเตรียมไดนั้น ทาง เจาของชาตา จะตองไปปรึกษากับปูจารยกอนเพื่อหาฤกษยามและวันเวลาที่เหมาะสมในการ ประกอบพธิ ี จากนนั้ ปูจารยจะไปนิมนตพระสงฆต ามจาํ นวนทเ่ี หมาะสม สวนใหญนิยมใหเปนจํานวน คี่ เชน 5 รูป เปนตน 1 1 สาเหตุที่สวนใหญนิยมนิมนต 5 รูป เน่ืองจาก พระสงฆอาจจะตองประกอบพิธีกรรมอ่ืนๆ นอกเหนือจากสืบชาตา เชน ในงานข้ึนบานใหม กอนประกอบพิธีกรรมสืบชาตา พระสงฆจะตองประกอบ พิธีกรรมสูดถอดกอน ซ่ึงพิธีกรรมสูดถอน คือ พิธีกรรมท่ีทําใหพื้นที่บริเวณน้ันเปนพ้ืนท่ีท่ีบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน ท้ังปวง ในการประกอบพิธีกรรมสูดถอนน้ี จะตองใชพระสงฆจํานวน 5 รูป เปนผูประกอบพิธีกรรม เมื่อประกอบ พธิ ีกรรมนเี้ สรจ็ ก็เตรยี มตัวประกอบพิธีกรรมสืบชาตาเปนลําดับตอไป

31 เมื่อปูจารยนิมนตพระสงฆไดครบตามจํานวน ทางเจาของชาตา จึงกลับไปเตรียมการได โดยเร่ิมจากการบอกกลาวแกญาติพี่นอง เพื่อนบาน คนรูจักใหทราบวาจะประกอบพิธีกรรมวันใด พรอมขอใหบ ุคคลเหลา นนั้ มาชว ยกันจัดเตรียมพิธีดวย กอนถึงวันประกอบพิธีกรรม 1 วัน หรือท่ีเรียกวา วันดา แตละคนก็จะชวยกันจัดเตรียมทั้ง สถานที่และเครื่องประกอบพิธีกรรม ดานสถานที่สวนใหญผูชายจะเปนฝายจัดเตรียม ดวยการต้ัง โตะหมูบูชา และปูเส่ือไว หากบานใดไมมีโตะหมูบูชาและเส่ือ ก็สามารถยืมจากเพื่อนบาน ญาติ พ่ีนองหรือยืมจากวัดก็ได สวนเคร่ืองประกอบพิธีกรรมแตละฝายก็จะชวยกนั จัดเตรียม ซ่ึงสวนใหญ ก็จะรูหนาท่ีกันอยางชัดเจนเพราะเปนสิ่งท่ีปฏิบัติสืบเน่ืองกันมานาน โดยฝายชายจะเปนฝาย จัดเตรียมเกี่ยวกับของท่ีตองใชแรงงาน หรือตองใชมีดหรือของมีคมตาง ๆ เชน ตัดไมงาม ทํา สะทวง ทําขัวหรือสะพาน ทํากระบอกนํ้า กระบอกทราย ฯลฯ สวนผูหญิงก็จะจัดเตรียมเก่ียวกับงาน ที่ตองใชฝมือและความประณีต เชน พันไมงามดวยกระดาษเงินกระดาษทอง ทําเมี่ยง บุหรี่ กรวย ดอกไม เปนตน เมื่อเตรียมของทุกอยางไวพรอมแลว ชวงเย็น ปูจารยก็จะมาตรวจดูความเรียบรอยวาขาด เหลือสิ่งใดบาง จากนั้นก็จะชวยกันนําไมงามใหญ 3 ทอนมาสุมเขาดวยกันเปนซุมรูปกรวยตั้ง เรียกวา โขงชาตา ลักษณะเปนซุมท่ีสามารถเขาไปน่ังภายในได แลววางเคร่ืองประกอบพิธีกรรม อื่นๆ ประกอบ จากนั้นจึงโยงดายสายสิญจนรอบบริเวณท่ีจะประกอบพิธี หากเปนบานใหมก็จะโยง ดายไปรอบบาน บางแหงนิยมโยงดายเช่ือมตอกันเปนตาขายรูปสี่เหลี่ยมเหนือศีรษะผูเขารวมพิธี แลวปลอยใหมีเสนดายยอยลงมาเพื่อใหผูเขารวมพิธีแตละคนใชพันศีรษะขณะประกอบพิธี (สัมภาษณพอหนานดํารงศักด์ิ ชยั ประภา, 5 พ.ค. 51) 6.2ผูป ระกอบพธิ กี รรม ผทู าํ หนา ท่ปี ระกอบพธิ กี รรมสืบชาตา ไดแ ก พระสงฆแ ละปจู ารย 6.3ผูเขารว มพธิ กี รรม ผูเขารวมพิธีสืบชาตา ไดแก ญาติพี่นอง เพื่อนบานหรือคนท่ีรูจักมักคนุ กัน กรณีที่เปนการ สืบชาตาใหผูปวย ทางเจาภาพอาจจะเชิญเฉพาะญาติท่ีสนิทเทาน้ัน ซึ่งอาจเปน พ่ี นอง ลูก หลาน ของผูปวย สวนผูที่เขามารวมพิธีกรรมคนอื่น ๆ จะมาดวยความสมัครใจ แตหากเปนกรณีสืบชาตา เน่ืองในโอกาสรับตําแหนงใหม ขึ้นบานใหม หรือครบรอบวันเกิด ผูที่จะมารวมพิธีกรรมไดนั้น จะตอ งไดรับเชญิ จากเจา ภาพ

32 (7) ขนั้ ตอนการประกอบพธิ กี รรม ในวันประกอบพิธกี รรม ผรู วมพิธีกรรมจะทยอยมากอนพธิ กี รรมเร่ิม ปูจารยซ่ึงเปนผูหน่ึงที่มี หนาที่ประกอบพิธีกรรมก็จะตองมาถึงสถานท่ีกอนเวลาพอสมควร เพ่ือตรวจสอบความเรียบรอยใน การจัดเตรียมสถานท่ีและเคร่ืองประกอบพิธีกรรมอีกครั้งหน่ึง สวนพระสงฆน้ัน ฝายผูจัดพิธี หรือ เจา ภาพ จะตองสงคนไปรับ ใหมาถงึ สถานทีใ่ กลเ คียงกบั เวลาที่จะประกอบพธิ ีกรรม เมื่อไดเวลาท่ีเหมาะสม เจาของชาตาหรือเจาภาพ จะเขาไปอยูในโขงชาตา แลวนําดาย สายสิญจนท่ีปลอยชายลงมาจากโขงชาตา พันรอบศีรษะ สวนชาวบานคนอื่น ๆ อาจจับดายท่ีตอมา จากโขงชาตาตอกันไปเปนทอด ๆ หรือ ดึงดายที่หอยลงมาจากตาขายส่ีเหลี่ยมพันรอบศีรษะไว จากนั้นกจ็ ะเรม่ิ พธิ ีกรรมตามลําดบั ดงั น้ี 1)ปจู ารยป ระกอบพธิ ขี น้ึ ทาวทง้ั สี่ ซงึ่ อาจทาํ ตอนเยน็ กอ นวันเร่มิ งาน หรอื ทาํ ตอนเชา กอน เริม่ งานกไ็ ด 2)เจาชาตาหรอื ตวั แทน จุดธูปเทยี นบูชาพระรตั นตรยั 3)ปจู ารยน าํ กลา วบชู าพระรตั นตรยั อาราธนาศลี และอาราธนาพระปรติ ร 4) พระสงฆใ หศลี และสวดเจรญิ พระพทุ ธมนตโดยใชบ ทสบื ชาตา 5) ปจู ารยหรอื ผรู ว มพธิ ีคนใดกไ็ ด จุดเทยี นคาคิงท่ีโขงชาตา และจุดเทยี น 108 เลม ท่ีปก ไว ในถาดทราย 6) พระสงฆผ กู ขอมอื ใหเจาภาพ 7)ปูจารยปดเคราะห และผกู ขอมอื ใหเจาภาพ 8)เจาภาพถวายทานขันขาวใหผูท ล่ี ว งลบั ไปแลว (ขนั้ ตอนนอ้ี าจมีหรือไมม กี ไ็ ด) 9)ปูจารยนําสมมาครัวทาน 10)ปจู ารยน ํากลาวคําถวายสงั ฆทาน 11)พระสงฆอ นุโมทนาใหพ ร 12)ผรู วมพธิ ีพรอ มกันแผเ มตตาอทุ ศิ สวนบุญสว นกศุ ล อนึง่ หากเปนพธิ ีทําบญุ ขน้ึ บา นใหม และเจา ภาพประสงคใ หม กี ารแสดงพระธรรมเทศนา ก็ จะกระทาํ หลงั จากสวดเจรญิ พระพทุ ธมนต โดยคัมภีรท่ไี ดร ับความนิยมมากที่สุดในพธิ ีกรรมสบื ชาตา คอื ธรรมอุณหัสวไิ ชย และ ธรรมโลกวฒุ ิ (สมั ภาษณพ อ หนานประสิทธ์ิ โตวิเชยี ร, 15 ก.ย. 51)

33 (8) ตัวบททีใ่ ชประกอบพธิ ีกรรม บทสวดเจริญพระพทุ ธมนต บทสบื ชาตา ธรรมอุณหสั วิไชย ธรรมโลกวฒุ ิ ข.สืบชาตาหมบู า น (1) ความหมาย คนลานนาเชือ่ วา หมูบ า น ก็มีลักษณะเหมือนกับมนุษย ที่อาจไดรับผลกระทบจากโชคชาตา หากชาตาอยูในเกณฑดี ชาวบานก็จะอยูรวมกันอยางรมเย็นเปนสุข แตหากอยูในเกณฑที่ไมดี ชาวบานก็จะไดรับความเดือดรอน ดังน้ันจึงตองมีการประกอบพิธีกรรมสืบชาตาตออายุใหหมูบาน ซง่ึ หมายถงึ ชาวบานท่ีอาศัยอยูในหมูบาน ใหผานพนสิ่งเลวราย และมีความหวังวาจะไดพบกับส่ิงท่ี ดี (2) จดุ มุง หมายของการประกอบพธิ ี เพอื่ ปดเปาสง่ิ ไมดีท่เี กิดข้ึนกบั หมบู าน และเพอื่ ใหช าวบา นมีชีวติ ทรี่ ม เย็นเปน สขุ (3) โอกาสในการประกอบพิธีกรรม โอกาสในการประกอบพธิ ีกรรมสบื ชาตาหมูบาน มีดงั นี้ 3.1 เกดิ ความไมสงบสุขในหมูบ าน เชน มีชาวบานเสียชีวติ ติดตอ กนั หลายรายในระยะเวลา ใกลเ คียงกนั 3.2 มีเจา อาวาสรปู ใหมย ายมาจากทอี่ ื่น 3.3 มผี ใู หญบา นคนใหม 3.2 ทําตามวาระสําคญั เพอื่ ความเปนศิรมิ งคล เชน ขน้ึ ปใ หมส ากล สงกรานต (4) สถานทปี่ ระกอบพธิ กี รรม การประกอบพธิ ีกรรมสบื ชาตาหมบู าน สว นใหญจ ะประกอบพธิ ี ณ สถานที่สําคญั ของ หมบู า น เชน วดั ศาลาอเนกประสงค ใจบา น หอเสอ้ื บา น เปน ตน (5) เครอื่ งประกอบพธิ ีกรรม พิธีสืบชาตาหมูบาน มีเคร่ืองประกอบพิธีกรรมเชนเดียวกับพิธีสืบชาตาคน ดังท่ีไดกลาวไว ขางตน อาจแตกตางกันบาง บางประการ เชน จํานวนเครื่องประกอบพิธีกรรม กลาวคือ เครื่อง ประกอบพิธีกรรมบางอยาง ชาวบานแตละครอบครัวอาจจะนํามาสมทบกัน (ภาษาลานนาเรียกวา “ฮอม” หมายถงึ รวม) ดังน้ันอาจทาํ ใหดูเหมอื นวา มีจํานวนมากกวาเครื่องสืบชาตาคน แตทั้งน้ีก็ไมได

34 จาํ กัดจาํ นวนทแ่ี นชดั เชน ไมงา มเลก็ ควรจะมจี ํานวน 108 ชน้ิ แตบ างคร้งั อาจมมี ากกวานนั้ นับเปน จํานวนหลายรอยชิ้นเน่ืองจากชาวบานแตละคนนํามารวมพิธี เปนตน นอกจากนี้ การโยงดาย สายสิญจนก็จะตองโยงใหทั่วหมูบาน คือ บานแตละหลังใหโยงรอบบานตัวเองแลวดึงสายเขาไปผูก กบั ดายของบา นอีกหลงั หนง่ึ สืบตอกนั ไปเปน ทอด ๆ จนถงึ บริเวณทีป่ ระกอบพธิ ีกรรม (6) ผูเ ก่ียวขอ งกบั การประกอบพธิ ีกรรม 6.1ผูจดั เตรียมพิธกี รรม ในพิธีสืบชาตาหมูบาน ชาวบานทุกคนจะชวยกันจัดเตรียมพิธีกรรม ลักษณะการเตรียมก็จะ คลายกับการสืบชาตาคน คือ ตองเตรียมเคร่ืองประกอบพิธีกรรมทุกอยางใหพรอมกอนวันเร่ิมงาน ประมาณ 1 วัน หรือท่ีเรียกวา วันดา ฝายชายก็จะชวยกันทํา ไมงาม สะพาน ฯลฯ ฝายหญิงก็ เตรียมกรวยดอกไม มวนบุหรี่ พันกระดาษเงินกระดาษทอง สวนสถานท่ีประกอบพิธีหากประกอบ พิธีในวัดก็จะตองชวยกันปดกวาดวิหารใหสะอาดเรียบรอยพรอมกับปูเสื่อไว แลวจึงตั้งโขงชาตา พรอ มกับโยงดายสายสญิ จนต อกนั ไปใหท ว่ั หมูบ า น 6.2ผูประกอบพธิ กี รรม ผูประกอบพิธีกรรมสืบชาตาหมูบาน ก็ไดแกปูจารยและพระสงฆเชนเดียวกับการสืบชาตา คน แตอาจแตกตางกันที่จํานวนพระสงฆที่อาจตองใชจํานวนมากกวาสืบชาตาคน เชน มีจํานวน 9 รปู เปน ตน (สมั ภาษณพอ หนานประสทิ ธ์ิ โตวเิ ชียร, 15 ก.ย. 51) 6.3ผูเขา รว มพธิ กี รรม ผูเขารว มพธิ สี ืบชาตาหมูบา นก็ไดแ กช าวบานในหมบู านน้นั ๆ หากเปนไปได ควรจะเขารวม พิธีกันทุกคน แตหากมีความจําเปน อาจใชเปนตัวแทนครอบครัวละ 1 คนก็ได โดยขณะประกอบ พิธกี รรม ผูใหญบานจะทําหนาทีเ่ ปนตวั แทนชาวบาน เขา ไปนั่งในโขงชาตา สวนชาวบา นคนอน่ื ๆ ก็ น่ังถัดตอกันไป อยางไรก็ตาม ชวงประกอบพิธีกรรม ผูท่ีไมสามารถมารวมพิธีกรรมที่วัดได เชน ผูสูงอายุท่ีเดินทางลําบาก ก็อาจอยูในบริเวณบานของตนที่มีการโยงสายสิญจนไวรอบแลว ก็ถือวา ไดเ ขารว มพธิ ีแลว (7) ข้นั ตอนการประกอบพธิ กี รรม การประกอบพธิ กี รรมสบื ชาตาหมูบา น จะประกอบพธิ ีในชว งสาย ข้นั ตอนการประกอบ พธิ ีกรรม หลายข้ันตอนคลา ยกบั การประกอบพธิ สี บื ชาตาคน คอื (สมั ภาษณพ อ หนานประสทิ ธิ์ โต วิเชยี ร, 15 ก.ย. 51)

35 1)ปจู ารยประกอบพธิ ขี ้ึนทาวทั้งส่ี ซึ่งอาจทําตอนเย็นกอ นวันเร่มิ งาน หรือ ทําตอนเชา กอน เรมิ่ งานก็ได 2)ตวั แทนชาวบาน ซ่งึ สว นใหญ จะเปน ผใู หญบา น จดุ เทียนธูปบูชาพระรตั นตรัย 3)ปจู ารยน าํ กลา วบชู าพระรตั นตรยั อาราธนาศลี และอาราธนาพระปรติ ร 4) พระสงฆใ หศีล และสวดเจริญพระพทุ ธมนต โดยใชบ ทสืบชาตา 5) ปูจ ารยห รอื ผูรว มพธิ คี นใดกไ็ ด จุดเทยี นคา คิงทโี่ ขงชาตา และจดุ เทยี น 108 เลม ที่ปกไว ในถาดทราย 6) พระสงฆผ กู ขอมอื ใหต ัวแทนชาวบาน และชาวบา น 7)ปจู ารยปดเคราะห และผกู ขอ มอื ใหต วั แทนชาวบา น และชาวบา น 8)ปูจารยน ําสมมาครัวทาน 9)ปจู ารยนาํ กลาวคําถวายสงั ฆทาน 10)พระสงฆอนุโมทนาใหพร 11)ชาวบานพรอ มกนั แผเ มตตาอุทศิ สว นบุญสวนกุศล 12)กลา วลาพระรัตนตรัย (8) ตัวบททใี่ ชป ระกอบพธิ กี รรม บทสืบชาตา บางแหง อาจกลา วคมั ภรี อ ุณหัสวิไชยเพม่ิ เติมหลงั กลาวบทสบื ชาตา ค.สืบชาตาเมอื ง การสืบชาตาเมอื ง เปน พธิ ีกรรมหนง่ึ ท่ีมาแตโ บราณกาล และปจ จบุ ันยงั คงยึดถือ ปฏบิ ตั ิกนั อยู ทเี่ หน็ ไดช ัดเจน คือ การสบื ชาตาเมอื งเชยี งใหม ทม่ี หี ลักฐานปรากฏตัง้ แตส มยั พระ เมอื งแกว เรอ่ื ยมาจนถงึ ปจ จุบัน ดงั น้ัน ในทนี่ ้ีจึงขอกลา วถึงการสบื ชาตาเมืองเชยี งใหม ทจี่ ดั ขึ้นเปน ประจาํ ทุกป ชว งเดอื น 9 เหนือ หรือประมาณ เดือนมิถุนายน ซ่งึ เปนชว งหลังประเพณีเขา อนิ ทขลิ (1) ความหมาย การสืบชาตาเมือง เปนพิธีกรรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือปดรังควาญและสิ่งไมดีตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกับเมือง เปนการประกอบพิธีในระดับที่ใหญข้ึนมากวาการสืบชาตาบาน กลาวคือ การสืบชาตาบานนั้นจะ กระทําในกรณีทคี่ นในหมบู านนัน้ ๆ ประสบปญ หา แต นน่ั ก็หมายความวา เฉพาะหมูบา นน้ันเทา นน้ั หมูบ า นอืน่ ๆ เชน หมบู า นใกลเคยี งอาจไมป ญหาใด ๆเลยกไ็ ด แตการสืบชาตาเมือง เปน การหมาย รวมทุกหมูบานในเมืองนั้นดวย ดังนั้นจึงสืบชาตาเมืองเมื่อพบกับปญหาที่เปนปญหาใหญระดับ

36 หลายหมูบาน หรือปญหาของคนทั้งเมือง เชน ขาศึกรุกราน ขาวยากหมากแพง เกิดโรคระบาด เปนตน (2) จุดมงุ หมายของการประกอบพิธี จุดมุงหมายหลกั ในการประกอบพธิ ีกรรมมอี ยู 2 ประการสําคัญคอื 2.1 เพอ่ื ปดเปา ส่ิงเลวรา ย 2.2 เพอื่ กอ ใหเ กดิ ขวญั กาํ ลงั ใจวา จะไดพ บกับสิ่งดี ๆ และนาํ ความเจรญิ รุงเรอื งมาสเู มอื ง (3) โอกาสในการประกอบพิธกี รรม เมอ่ื บา นเมอื งเดือดรอน เชน ขา ศกึ รุกราน ขาวยากหมากแพง หรอื อาจจัดข้นึ เปน ประจํา ทกุ ปเพอ่ื ความเปน ศิรมิ งคล (4) สถานทป่ี ระกอบพิธีกรรม สถานที่ประกอบพธิ กี รรม มี 9 แหง ไดแ ก (พระครูประจักษพ ฒั นคณุ , 2537 : 123 - 124) กลางเวยี งเชียงใหม ประตเู ชียงใหม ประตชู า งเผอื ก ประตทู าแพ ประตูสวนดอก แจงศรีภมู ิ แจงขะตาํ๊ แจงกูเ รอื ง แจง หัวริน (5) เครื่องประกอบพธิ ีกรรม ในหนังสือประวัติวัดแสนฝาง (พระครูประจักษพัฒนคุณ, 2537 : 123 - 124) ไดกลาวถึง เคร่อื งประกอบพิธีกรรม สบื ชาตา ตามจุดสําคญั ตางๆ ไวดงั นี้ 5.1 กลางเวยี ง หรือ กลางเมืองเชยี งใหม มีเครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมดังน้ี

37 1) โขงชาตา ประกอบดวย -ไมค า้ํ สะหร(ี ไมค้ําตนโพธ)ิ์ ยาว 5 ศอก จาํ นวน 9 ลํา -บนั ได มี 19 ข้ัน ยาว 5 วา -หนอหมาก จาํ นวน 9 หนอ -หนอ มะพรา วจํานวน 9 หนอ -หนอกลว ยจํานวน 9หนอ -หนอออ ยจํานวน 9หนอ -เงิน จาํ นวน 100 ขอค -ชอขาว จํานวน 100 ผืน (ปกบนตน คา 1 ตน) 2)สะทวงใหญพ อหาม (กวา งประมาณ 1 เมตร) ภายในสะทวง ประกอบดว ย เคร่อื งบชู า ใหม จี าํ นวนอยา งละ 100 ไดแก -ชอ -ขาว -นํ้า -อาหาร -แกงสมแกงหวาน -ผลไม -ของหวาน -เนอ้ื สตั ว -ปลา -หมาก -พลู -บหุ รี่ -ขาวตม ขาวหนม (ขนม) -กลวย -ออ ย -ขาวตอก -ดอกไม -ธูปเทยี น

38 -จอ งแดง(รมสแี ดง) -รูปคน ชา ง มา ววั ควาย เปด ไก หมู หมา 3)เครอื่ งบชู าชาตาเมอื ง ประกอบดวย -ผาขาว -ผาแดง -เทยี นเงิน -เทยี นคาํ -กลวย -ออ ย -มะพราว อยา งละ 4 -ดอกไมเ งนิ 1 ดอก ดอกไมทอง 2 ดอก -ลวดเงนิ จาํ นวน 2 แผง -เสือ่ ใหม จํานวน 2 ผนื -หมอใหม จํานวน 2 ใบ -ไหใหม จํานวน 2 ไห -นํ้าตนใหม จาํ นวน 2 ใบ -ขันโตก 1 ใบ ใสถ วย 3 ใบทเ่ี ตม็ ไปดว ยโภชนอาหาร ชอ นทอง 1 คัน -ขาวตอกดอกไม -เบ้ีย 1,300 -หมาก 1,300 -ขา วเปลอื กหมื่น (ขา วเปลอื กจาํ นวน 10 ลติ ร) -ขาวสารพนั (ขา วสารจํานวน 1 ลติ ร) 5.2 ประตเู วียงทั้ง 5 แหง2 มีเคร่อื งประกอบพธิ ีกรรมดังนี้ 1) สะทวงใหญพอหาม ใสเ ครื่องบชู าเหมือนกับกลางเวียง คอื อยา งละ 100 2)เครอ่ื งบชู า ประกอบดว ย -ชอ ขาว 8 ผนื -ขา วตอกดอกไม 2 หนังสือประวตั ิวันแสนฝาง ระบุไวว า มีการประกอบพิธีกรรม ท่ีประตเู มือง 5 แหง แตในปจ จุบนั มกี ารประกอบพธี กี รรมเพียง 4 แหง คอื ประตชู า งเผอื ก ประตูทา แพ ประตเู ชียงใหม และประตสู วนดอก

39 -เทยี น 8 คู -หมากขด จาํ นวน 2 ขด (หมากแหง จํานวน 1 เสนมามวนเขาดวยกนั ) - หมากกอม จาํ นวน 2 กอ ม (หมากแหงทรี่ อยเปน เสน แลวนาํ มาตดั เปน ทอ น ทอ นละประมาณ 4 ชน้ิ ) - กรวยพลู จาํ นวน 2 กรวย -กลว ย จํานวน 2 หวี -ออ ย จํานวน 2 ตน -มะพรา ว จํานวน 2 ทลาย -โภชนะอยา งละ 7 5.3 แจงหรอื มมุ เมอื งทัง้ 4 มีเครือ่ งประกอบพธิ กี รรมดงั น้ี 1)สะทวงใหญพ อหาม ใสเ ครื่องบูชาเหมอื นกบั กลางเวียงคือ อยา งละ 100 2) เครอ่ื งบชู า ประกอบดวย -ชอ ขาว 100 ผืน -ขาวตอกดอกไม -เทียน 4 คู -ขาว 8 กระทง (ในเอกสารไมไดระบุวา เปนขาวชนิดใด) -ดอกไมเงนิ 1 (ในเอกสารไมไ ดระบลุ ักษณะและจาํ นวนท่ชี ัดเจน) -ดอกไมคํา 1 (ในเอกสารไมไ ดระบุลักษณะและจาํ นวนทช่ี ัดเจน) -เส่ือใหม จาํ นวน 1 ผืน -ผาขาว จาํ นวน 1 รํา -ผาแดง จาํ นวน 1 ราํ -หมอ ใหม จาํ นวน 1 ใบ -เบย้ี 1,300 -หมาก 1,300 -ขา วเปลอื กหมนื่ -ขา วสารพนั -มะพราว 4 ทลาย -กลว ย 4 หวี -ออ ย 4 เลม -แกงสม แกงหวาน 8 ชดุ