วชิรญาณวโรรส โดยพบวา่ ชา่ งไดเ้ ขยี นภาพพราหมณผ์ ู้ประกอบพิธี ราชาภิเษกนั่งอย่ใู นระดับเสมอกับกษัตริย์ ต่างจากราชาภิเษกอ่ืนท่ีจะ แสดงฐานะความส�ำคัญของกษัตรยิ ์อยา่ งเด่นชดั และมีรายละเอยี ดของ การพระราชพิธที ่นี อ้ ยกวา่ อาทิ ไม่มีการตั้งมณฑลพระกระยาสนานท่ี รักแร้ปราสาท ไม่มีการท้ิงทานต้นกลั ปพฤกษ์ สำ� หรบั ภาพประกอบทชี่ ว่ ย ในการตคี วามวา่ ภาพนค้ี อื “โภคาภเิ ษก” คอื ดา้ นขวามอื จะมภี าพการเดนิ ทางของมหาเศรษฐีจากคฤหาสน์ทรงยุโรปด้วยเสล่ียงเพื่อมารับการโภค าภเิ ษก อน่ึงตอนท้ายเร่ืองปัญจราชาภิเษกมีการอ้างถึงท่ีมาของเน้ือหาว่า “...สมเด็จพระเจ้าพิมลธรรม คัดออกจากคัมภีร์พระโลกบัญญัติ และฎีกา พระมงคลทีปนี ถวายในหลวงเม่ือข้ึนปราบดาภิเษก สมเด็จพระเจ้าธรรม เจดยี ล์ อกเอามาแตส่ มเดจ็ พระเทพมนุ ี เปน็ ตำ� รบั มาแตก่ รงุ เทพพระมหานคร ส�ำหรับราชาภิเษกสมเด็จพระมหากษัตริย์เจ้าแล” (กรมศิลปากร, ๒๕๐๙, หน้า ๘) ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงสันนิษฐานว่า“สมเดจเจ้าพระ พิมลธรรม คัดจากคัมภีร์พระโลกบัญญัติแลฎีกาพระมงคลทีปนี ชะรอย จะเปนพระเจ้าทรงธรรม” (กรมศลิ ปากร, ๒๕๑๗, หนา้ ๒๘๗) แตอ่ ย่างไร ก็ตาม คัมภีร์โลกบัญญัติท่ีกล่าวอ้างน้ี พล.ต. ม.ร.ว. ศุภวัฒย์ เกษมศรี ได้เคยเสนอว่าอาจจะไม่ใช่ฉบับเดียวกับคัมภีร์โลกบัญญัติ ที่พระสัทธรรม โฆษะ ได้รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๕ เพราะไม่มีการกล่าวถึงเรื่อง ปญั จราชาภเิ ษกเลย คมั ภรี โ์ ลกบญั ญตั อิ าจจะมฉี บบั อน่ื อกี เพราะในไตรภมู กิ ถา พระราชนิพนธ์ในพระเจ้าลิไทตอนท้ายเรื่องก็มีการอ้างพระโลกบัญญัติด้วย 172
รายการอ้างอิง กรมศลิ ปากร. (๒๕๐๙). เรอ่ื งราชาภเิ ษก และจดหมายเหตบุ รมราชาภเิ ษกรชั กาลที่ ๕. พระนคร: กรมศิลปากร. กรมศิลปากร. (๒๕๑๗). ประชุมพระราชปุจฉา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พไ์ ทยวัฒนาพานิช. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๕๒๗). จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั วนั ที่ ๑ มกราคม จุลศักราช ๑๒๖๕-๓๑ ธนั วาคม จลุ ศกั ราช ๑๒๖๖ (พทุ ธศกั ราช ๒๔๔๖-๒๔๔๗) กรงุ เทพฯ: กรงุ สยามการ พมิ พ.์ นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา และด�ำรงราชานุภาพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (๒๕๐๕). สาสน์ สมเดจ็ เล่ม ๑. พระนคร: องคก์ ารค้าของครุ ุสภา. ประกาศนามพระท่นี ัง่ แลสถานตา่ ง ๆ ในสวนดุสติ ใน ราชกิจจานุเบกษา. (๒๔๕๔). เขา้ ถึงได้ จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/428.PDF มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. (๒๕๓๐ก). พระสตู รและอรรถกถาแปล ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค เลม่ ๑ ภาค ๑. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวิทยาลัย. มหามกุฏราชวิทยาลัย. (๒๕๓๐ข). พระสูตรและอรรถกถาแปล ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม่ ๑ ภาค ๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพม์ หามกุฏราชวทิ ยาลยั . ยทุ ธนาวรากร แสงอรา่ ม. (๒๕๕๓) จติ รกรรมเรือ่ งปัญจราชาภิเษกภายในพระวหิ ารวัดโสมนัส ราชวรวหิ าร. ศิลปากร, ๕๓ (๒), ๕๕. ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน. สมาคมโบราณคดแี หง่ ประเทศไทย. (๒๕๓๒). คำ� อภปิ ราย ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ จรงิ หรอื ปลอม?. กรงุ เทพฯ: สมาคมโบราณคดีแห่งประเทศไทย. ส�ำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ, เอกสารส่วนพระองค์สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ สบ. ๒.๒๔/๓๒ “ราชประเพณีกรุงศรีอยุธยารวบรวมมาจากต�ำราและจดหมายเหตุ ที่ปรากฏ (๗).” (๒๙ พ.ค. ๒๔๗๒), หน้า ๑๔. สุเชาวน์ พลอยชุม, บรรณาธิการ. (๒๕๖๔). พระราชหัตถเลขาและลายพระหัตถ์ พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมไี ปมากบั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชิรญาณวโรรส. นครปฐม: โรงพิมพม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, ร.๕ บ.๑ ๗/๒ เอกสารกรมราชเลขาธกิ าร รชั กาลที่ ๕ เบด็ เตลด็ เรอ่ื งพระราชวนิ ิจฉยั ใน ร.๕ เรอ่ื งอภเิ ษก (๑๘ เมษายน ร.ศ. ๑๒๓). อภิลักษณ์ เกษมผลกูล และกมล การกิจเจริญ. (๒๕๖๒). “ปัญจราชาภิเษก”: วรรณกรรม ต�ำราแบบแผนพิธีราชาภิเษกของสยามเมื่อแรกสถาปนาพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุง 173
หมอเคาวัน: พระอาจารยภ์ าษาอังกฤษ ของสมเด็จพระมหาสมณะ ศรัณย์ มะกรดู อินทร์๑ นายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน (Peter Gowan) ชาวสก็อต ได้เดินทาง เขา้ มารบั ราชการเปน็ แพทยห์ ลวงในราชสำ� นกั สยาม ในราวตน้ รชั สมยั พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ นอกจากในฐานะแพทยห์ ลวง แลว้ หมอเคาวนั ยงั รบั หนา้ ทเี่ ปน็ พระอาจารยส์ อนภาษาองั กฤษใหแ้ กส่ มเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในพระบรม มหาราชวงั นบั แต่ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจ้างแหม่มแอนนา เลียวโนเวนส์ (Anna Leonowens) สอนภาษาอังกฤษให้แก่พระราชโอรสธิดา ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๑๐ ตอ่ มาในสมยั รชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงเรียนหลวงสอนภาษาอังกฤษ ณ บริเวณตึกแถวริมประตูพิมานไชยศรี มีนายฟรานซิส จอร์ช แปตเตอร์สัน (Francis George Patterson) เขา้ มารับราชการเปน็ ครูสอนภาษาองั กฤษ โดยในภาคเช้าสอนพระบรมวงศานุวงศ์ ท้ังพระอนุชาในรัชกาลท่ี ๕ และ หม่อมเจา้ ในภาคบ่ายสอนขา้ ราชการที่เปน็ ทหารมหาดเลก็ ๑ อาจารยป์ ระจ�ำ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย. 175
งานฌาปนกิจศพนายแพทย์ปีเตอร์ เคาวนั นี้ จึงนับเปน็ งานฌาปนกิจศพชาวตะวันตกคนแรกที่จัดขึ้นในสยาม โดยมี สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เมอ่ื ครง้ั ยงั ด�ำรงพระยศทกี่ รมหมนื่ ทรงเปน็ แมง่ านสำ� คัญ ทง้ั ยงั โปรด ให้ถ่ายรูปงานเพ่ือให้หนังสือพิมพ์ในต่างประเทศได้ท�ำการ ตีพมิ พเ์ ผยแพรต่ ่อไปด้วย คร้ังนั้นมีพระอนุชาท่ีทรงเข้ารับการศึกษาท่ีส�ำคัญได้แก่ พระเจ้า น้องยาเธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร๒ พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้า กาพยก์ นกรัตน์๓ พระเจา้ น้องยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอไุ ทยวงศ์๔ สมเด็จ พระเจา้ น้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ๕์ พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์ เจ้ามนุษยนาคมานพ๖ และพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร๗ (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๑๖, หน้า ๒๖๙-๒๗๑) สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสทรงสนพระทัย ในการศึกษาภาษาอังกฤษกับครูแปตเตอร์สัน ถึงแม้จักทรงบรรพชาเป็น สามเณรตลอดพรรษกาลในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ จนทรงลาสกิ ขาแลว้ กย็ งั กลบั มาทรงศึกษาภาษาอังกฤษต่อกับครูแปตเตอร์สันเป็นการส่วนพระองค์ ณ ทปี่ ระทบั สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษสี วา่ งวงศ์ ระยะหนง่ึ กท็ รงสนพระทัยในการดนตรีแทน นายแพทย์ปเี ตอร์ เคาวนั : แพทยห์ ลวงประจำ� ราชส�ำนักสยาม ในปี พ.ศ. ๒๔๒๐ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส เม่ือคร้ังยังด�ำรงพระยศที่พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้ามนุษย นาคมานพ ได้ทรงพบกับนายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน ชาวสก็อตท่ีเดินทาง ๒ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระนเรศวรฤทธ.ิ์ ๓ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ กาพยก์ นกรตั น.์ ๔ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ. ๕ สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภมิ ขุ เจา้ ฟา้ ภาณรุ ังษีสวา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช. ๖ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. ๗ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ. 176
เข้ามารับราชการเป็นแพทย์หลวงในราชส�ำนักสยาม และเป็นแพทย์ใน กรมทหารมหาดเลก็ ไดท้ รงคนุ้ เคยกบั หมอเคาวันและเรียนรอู้ ธั ยาศัยใจคอ ท้ังยังเป็นผู้กล่อมเกลาชักน�ำให้พระองค์ท่ีห่างเหินจากวัด ภายหลังทรงลา สิกขาจากสามเณรราว ๔ ปี ได้กลับไปทรงคุ้นเคยวัดบวรนิเวศวิหาร และ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระปวเรศวรยิ าลงกรณ์ (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ)์ พระอปุ ชั ฌายะอกี ครง้ั ดงั ความในพระนพิ นธ์ พระประวตั ิตรัสเลา่ ท่ีวา่ แตเ่ ปนบญุ ของเรากลบั ตวั ไดเ้ รว็ ตงั้ แตอ่ ายไุ ด้ ๑๗ ปี ฯ ทางทก่ี ลบั ตวั ได้ กเ็ ปนอยา่ งภาษติ วา่ “หนามยอก เอาหนามบง่ ” นนั้ เอง ฯ เราเขา้ เฝา้ ในวงั ทกุ วนั ไดร้ จู้ กั กบั หมอปเิ ตอรเ์ คาวนั ชาวสกอตชเ์ ปนแพทยห์ ลวง เวลานนั้ อายแุ กพน้ ยสี่ บิ หา้ แลว้ แต่ ยงั ใมถ่ งึ สามสบิ แกเปนฝรง่ั สนั โดษ อยา่ งทค่ี นหนมุ่ เรยี กวา่ ฤษี ใม่รักสนุกในทางเปนนักเลง เรานิยมแกว่าเปนฝร่ัง เราก็ผูก ความคุ้นเคยกับแก ได้เหนอัธยาศัยแลจรรยาของแก แลได้ รบั คำ� ตกั เตอื นของแกเขา้ ดว้ ย เกดิ นยิ มตาม เหนความลเลงิ ที่ หมอเคาวนั ใมช่ อบเปนพลา่ นไป นอ้ มใจมาเพอ่ื เอาอยา่ งหมอ เคาวนั จงึ หายลเลงิ ลงทกุ ที จนกลายเปนฤษไี ปตามหมอเคา วนั ทส่ี ดุ แกวา่ ยงั เดก็ แลหา้ มใมใ่ หส้ บู บหุ ร่ี แกเองใมส่ บู เหมอื นกนั เรากส็ มคั ทำ� ตาม แลใมไ่ ดส้ บู บหุ รจี่ นทกุ วนั น้ี เราก็ เหนอานสิ งฆ์ เราเปนผมู้ กี ายใมแ่ ขง็ แรง เปนผลแหง่ ความเจบ็ ใหญเ่ มอ่ื ยงั เลก็ ถา้ สบู บหุ รี่ แมม้ อี ายยุ นื มาถงึ บดั นี้ กค็ งมโี รค ภายในประจำ� ตวั หมอเคาวนั เปนทางกลับตวั ของเราเช่นนี้ เมื่อภายหลังเราจึงนับถือแกฉันอาจารย์ ในครั้งน้ันแลต่อมา แกก็ได้แนะเราในภาษาองั กฤษบา้ ง ในวชิ าแพทยบ์ า้ งเหมอื น กนั ฯ...หมอเคาวนั กลอ่ มเกลาเรา ใหเ้ รยี บเขา้ ไดอ้ ยา่ งนแี้ ลว้ ถา้ มปี จั จยั ชกั นำ� เรากค็ งเขา้ วดั โดยงา่ ย ฯ ปจั จยั นนั้ ไดม้ จี รงิ ดว้ ย ฯ ตง้ั แตเ่ ราสกึ จากเณรแลว้ ใมใ่ ชเ่ ทศกาลเชน่ เขา้ พรรษาหรอื มี งาร เราหาไดไ้ ปเฝา้ เสดจพระอปุ ชั ฌายะใม่ ยงิ่ กำ� ลงั ลำ� พองยง่ิ หนั หลงั ใหว้ ดั ทเี ดยี ว เหตนุ นั้ เราจงึ หา่ งจากทา่ น แมใ้ นเวลานน้ั กย็ งั ใมไ่ ดค้ ดิ จะเขา้ วดั ฯ (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส, 177
ภาพท่ี ๑ นายแพทย์ปีเตอร์ เคาวนั ๒๔๙๔, หนา้ ๔๗-๔๙, ๕๑) นอกจากที่นายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน จักรับราชการเป็นแพทย์หลวง ในราชส�ำนักแล้ว ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๒๙ ยังเป็นหน่ึงในคณะกรรมการ จัดสร้างโรงศิริราชพยาบาล และโรงเรียนแพทยากร เพื่อจัดการเรียน การสอนวิชาแพทย์แผนตะวันตก ทั้งยังเป็นผู้บุกเบิกงานผดุงครรภ์และ พยาบาลแผนตะวันตก ดังปรากฏมีมูลเหตุจากเม่ือคร้ังท่ีหม่อมเปี่ยมใน พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ขจรจรสั วงศ๘์ ถกู บงั คบั ใหอ้ ยไู่ ฟจนถงึ แกอ่ นจิ กรรม พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ขจรจรสั วงศจ์ งึ ทรงปฏญิ าณวา่ ถา้ มลี กู อกี จะไมใ่ ห้ หม่อมอยู่ไฟเป็นอันขาด ต่อมาเม่ือพระองค์ท่านมีพระโอรส ประจวบกับ ในเวลานั้นนายแพทย์เคาวันเข้ามารับราชการเป็นแพทย์ประจ�ำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้นายแพทย์เคาวัน เป็นผู้ผดุงครรภ์และพยาบาลตามแบบตะวันตก ต่างก็ล้วนอยู่เย็นเป็นสุข และไม่มีใครเป็นอันตราย จนเม่ือครั้งท่ีสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี ๘ พระวรวงศ์เธอ กรมหมนื่ ปราบปรปักษ์. ๙ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง. ๑๐ สมเดจ็ พระอนุชาธิราช เจ้าฟา้ อษั ฎางค์เดชาวธุ กรมหลวงนครราชสีมา. 178
พระวรราชเทว๙ี ทรงมพี ระประสตู กิ าลสมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ อษั ฎางค์ เดชาวุธ๑๐ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ทรงมีพระอาการเป็นไข้ พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ ขจรจรสั วงศจ์ งึ กราบทลู ชแี้ จงแสดงคณุ ของวธิ พี ยาบาลอยา่ งฝรงั่ จนสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตเลิกผทมเพลิง แต่น้ันก็เร่ิมเลิกวิธีอยู่ไฟในพระบรม มหาราชวงั (สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, ๒๕๐๑, หนา้ ๒๖๕) บ้ันปลายชีวติ ของนายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน ภายหลังเมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้ว ก็ยังคงคุ้นเคยกับหมอเคาวันสืบมา ในคราว จัดตั้งมหามกุฏราชวิทยาลัยได้โปรดให้หมอเคาวันเข้ามาเป็นอาจารย์สอน ในวิชาวิทยาศาสตรข์ ึ้นท่วี ดั บวรนิเวศวิหาร โดยในระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๓ ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๔ หมอเคาวันได้ทูลลากลับประเทศอังกฤษ เพ่ือพักรักษาตัว จากอาการไข้มาเลเรียที่ป่วยมาต้ังแต่เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๔๒ และ จัดการเรื่องครอบครัว คร้ังนั้นสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ได้ขอให้ช่วย จดั หาหนงั สอื ภาษาอังกฤษ จดั หากระดาษฝรั่งเพ่ือนำ� มาท�ำฉายาบัตรให้แก่ พระนวกะท่ีเข้ามาบวชในส�ำนักวัดบวรนิเวศวิหาร และจัดหาเคร่ืองมือ เครอ่ื งใชใ้ นการสอนวชิ าเคมี และฟสิ กิ ส์ ดงั ปรากฏลายพระหตั ถเ์ ลขท่ี ๙/๓๕ แจง้ ความมายงั พระยาวฒุ กิ ารบดี เสนาบดกี ระทรวงธรรมการ ลงวนั ที่ ๒๔ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) ในเร่ืองท่ีขอให้น�ำค่านิตยภัตของ พระองค์ไปช�ำระค่าเครื่องมือเครื่องใช้ในการสอนวิชาเคมี และฟิสิกส์แก่ นางสาวแมรี เคาวนั (Miss Mary Gowan) บตุ รสาวทพี่ ำ� นกั อยู่ ณ ประเทศ องั กฤษ ทีว่ ่า ...ด้วยเม่ือหมอเคาวันยังมีชีพอยู่ ฉันได้วานให้ส่ัง เครื่องมือส�ำหรับสอนวิชาเคมเมสตรี คือวิชาแปรธาตุแล วิชาฟิสิคคือวิชาสอนให้รู้จักธรรมดาของสิ่งของน้ัน ๆ เพ่ือ เอามาใช้ในการเล่าเรียน เมื่อหมอเคาวันถึงอนิจกรรมแล้ว ฉันได้ขอให้กรมขุนสมมตอมรพันธุ์ ใช้ค่าเครื่องมือเหล่าน้ี 179
แก่มิสเมรีเคาวันบุตรีของหมอเคาวัน... จนในเบ้ืองปลายชีวิต เม่อื หมอเคาวนั กลับมาถึงกรุงเทพฯ ในเดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๔๔ ก็ไดเ้ ข้าพกั รักษาตวั ทีโ่ รงพยาบาลบางรัก ครั้งน้ัน สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าฯ โปรดใหร้ ับหมอเคาวนั มาอภิบาลรกั ษาดแู ลทว่ี ดั บวรนเิ วศวิหาร ในวันที่ ๒๒ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๐ จนถงึ แก่อนจิ กรรม เม่ือวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๔ (ร.ศ.๑๒๐) เวลา ๑๐.๔๑ น. ดังความในหนังสือแม่สมบุญแจ้งความมายังแม่อะลิมะ (Mrs. Alimah Gowan) ภรรยาของหมอเคาวัน๑๑ เมือ่ เดอื นมนี าคม ศก ๑๒๐ ความตอน หนึ่งวา่ หนงั สอื แมส่ มบญุ แจง้ ความมายงั แมอ่ ะลมิ ะทราบ บัดนที้ า่ นด๊อกเต้อกาวรรณเขา้ ไปอยูใ่ นเมืองไทย ทา่ น กไ็ ดไ้ ปพกั อยกู่ บั พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมนื่ วชริ ญาณ ซง่ึ ทา่ น ไดท้ รงผนวชอยวู่ ดั บวรนเิ วศ ทา่ นทรงเปน็ พระธรุ ะในการปว่ ย ของท่านด๊อกเต้อกาวรรณป่วยคร้ังนี้ และตลอดจนถึงวัน อนจิ กรรม ทง้ั ทา่ นเปน็ ธรุ ะในการศพของทา่ นดอ๊ กเตอ้ กาวรรณ เพราะจะตอ้ งเผาเปน็ ธรรมเนยี มไทย ตามทด่ี อ๊ กเตอ้ กราบทลู ไว.้ .. ตลอดเวลาทน่ี ายแพทยป์ เี ตอร์ เคาวันพำ� นกั รกั ษาตวั อยู่ ณ วัดบวร นิเวศวิหารนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงติดตาม อาการปว่ ยอยเู่ สมอ พรอ้ มพระราชทานพระราชทรพั ย์ ๘๐๐ บาท เพอื่ เปน็ ค่ารักษาพยาบาล หากแต่หมอเคาวันถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน จึงทรงมี พระราชดำ� รใิ หจ้ ดั สง่ พระราชทรพั ยส์ ว่ นนไ้ี ปพระราชทานแกน่ างอะลมิ ะ เคาวนั ผเู้ ป็นภรรยาที่ประเทศองั กฤษ ๑๑ นางอะลมิ ะ เคาวนั (Mrs. Alimah Gowan) เป็นชาวไทย ซ่ึงภายหลังได้แตง่ งานกับหมอเคาวัน และไดย้ า้ ยไปตัง้ ถิน่ ฐาน อยู่ประเทศอังกฤษกับธิดาทง้ั ๒ คนคอื แมร่ี เคาวัน (Mary Gowan) และ ซิดนยี ์ เคาวัน (Sydney Gowan) นบั แต่เดือนมถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๓. 180
นายแพทย์ปเี ตอร์ เคาวัน : ชาวตะวันตก ที่ฌาปนกิจตามขนบสยามคนแรก ครั้งนั้น หมอเคาวันได้แสดงความประสงค์ที่จะให้จัดการปลงศพ ตามธรรมเนียมไทยไว้กับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส ดังความในลายพระหัตถ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงมีถงึ พระยา บ�ำเรอภักดิ์ เลขท่ี ๒๔๗ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ร.ศ. ๑๒๐ ความ ตอนหนึ่งวา่ ...การศพนน้ั แกไดท้ ำ� พนิ ยั กรรมไวแ้ ตเ่ ดมิ วา่ ใหฉ้ นั เผา ฉนั ไดใ้ หห้ มอ่ มราชวงศส์ วุ พรรณไ์ ปแจง้ ความแกก่ งสลุ องั กฤษ ๆ ยอมใหฉ้ นั เผาตามความประสงคข์ องผมู้ รณภาพ แลไดส้ ง่ ใบแสดงความตาย ที่เรียกว่า เซอติฟิเคต ออฟ เดธ ของ หมออาคาซนั ใหก้ งสลุ ดู วา่ ใชไ้ ดแ้ ลว้ แลใบแสดงความตาย เชน่ นน้ั ของหมอเฮลแ์ ลหมอไรเตอร์ ซงึ่ มาทำ� เมอ่ื ภายหลงั อกิ กไ็ ดไ้ ว้ แตเ่ หน็ วา่ ใบกอ่ นใชไ้ ดแ้ ลว้ กเ็ ปนแลว้ ไป ฉันเตรียมไว้ว่า จะอาบน้�ำเข้าหีบอย่างไทย แต่หมอ อาคาซันแนะน�ำข้ึนแลหมออิกหลายคนรับรองให้ฉีดยาไว้ สำ� หรบั จะได้อยู่นอกหีบ ได้นานวัน เพ่ือเพ่ือนฝูงจะได้มา เยี่ยมเยือน มกี ลนิ่ เมอื่ ใดจงึ เอาเขา้ หบี ตกลงวา่ แตง่ ศพไว้ รบั แขก ใครจะมารดนำ้� เมอ่ื ใดกไ็ ด้ ในการจะเขา้ หบี เกรงพวก สนมจะรงั เกยี จวา่ เปนคนตา่ งประเทศ ขอโปรดสง่ั ใหม้ าชว่ ย ดว้ ย หบี เตรยี มไวแ้ ลว้ (ลงพระนาม) กรมหมนื่ วชริ ญาณ ทั้งยัง โปรดให้หม่อมเจ้าจรัสโฉม เกษมสันต์ พระนัดดาในสมเด็จ พระมหาสมณะฯ ทรงเป็นธุระในการจัดท�ำพวงหรีดมาต้ังหน้าหีบศพ โดย ทรงมีรับส่ังให้ช่วยจัดท�ำพวงหรีดที่ท�ำจากดอกไม้แห้ง โดยทรงก�ำหนดให้ 181
ภาพท่ี ๒ การตง้ั แตง่ ศพนายแพทยป์ เี ตอร์ เคาวนั ใบไม้ท�ำด้วยสีเขียว และดอกไม้สีขาว เพ่ือจะได้อยู่ได้เป็นเวลานาน และ จักได้ถา่ ยรูปสง่ ออกไปใหบ้ ตุ รและภรรยาของหมอเคาวนั ได้เห็นทเี่ มืองนอก ในการฌาปนกิจศพ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงมีพระประสงค์ ทีจ่ ะจดั การฌาปนกจิ ศพหมอเคาวนั ณ สสุ านวดั เทพศริ นิ ทราวาส เมอื่ แรก จักให้มีการเผาศพในวันท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ แล้วเลื่อนเป็นวันท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ โดยทรงตกลงกับพระภทั รศลี สงั วรวา่ จกั จดั ขนึ้ ภายหลงั งานฌาปนกจิ ศพพระอรยิ มนุ ี (เผอื่ น) ในวนั ท่ี ๑๖ เมษายน ร.ศ. ๑๒๑ ด้วยเป็นพระภิกษุ แล้วจึงฌาปนกิจศพหมอเคาวันท่ีเมรุเดียวกันเป็นงาน ถัดมา โดยรับสั่งให้มีรถม้ามารับศพจากท่ีวัดบวรนิเวศวิหาร เคล่ือนไปยัง เมรุวัดเทพศิรินทร์ เมื่อศพไปถึงแล้วก็ข้ึนยังตารางเชิงตะกอน พอมีพิธี มฤตกวัตรแล้วจึงฌาปนกิจศพ โดยการศพในคร้ังน้ีท�ำขึ้นตามจารีตใน พระพุทธศาสนา มีการพระราชทานเงิน ๑๐๐ เฟื้องกับผ้าขาว ๒๐ พับ 182
ภาพท่ี ๓ รถม้าเชิญศพนายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน จากวัดบวรนิเวศวิหาร มายังเมรุวัดเทพศิรินทราวาส เม่ือวันท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ จากพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซงึ่ เปน็ ของบงั สกุ ลุ เชน่ เดยี ว กับงานศพขา้ ราชการทเ่ี ป็นคนไทย ในงานออกเมรุคราวน้ัน โปรดให้ศาลาในการบ�ำเพ็ญกุศลในพิธี โดยเป็นศาลาด้านทิศใต้ ๒ หลัง เพราะต้องการให้อยู่เหนือลม ศาลา บ�ำเพญ็ ทาน จดั เปน็ ท่ีมเี ทศน์ แตก่ ั้นฉากปันสว่ นส�ำหรบั ผูห้ ญงิ นงั่ ห้องหนง่ึ ด้วยมูล่ ีข่ งึ ผา้ ศาลาอกี หลงั หน่งึ จัดเป็นที่รับแขก ตัง้ โตะ๊ เก้าอข้ี องวดั สรา้ ง สองหลังเป็นท่ีพักพระหนึ่งหลัง พักกลอง และส�ำหรับผู้หญิงจะล้นจาก ศาลาบ�ำเพญ็ ทานออกมาอีกหลังหนึ่ง โปรดให้พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา๑๒ กรองตารางดอกไม้แต่งหีบศพและตารางเชงิ ตะกอน โปรดให้หลวงสารสาสน์พลขันธ์๑๓ แปลเทศนาในงานมฤตกวัตร ๑๒ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงสมรรตั นศริ ิเชฐ. ๑๓ พระสารสาสนพ์ ลขนั ธ์ มชี ่ือจรงิ ว่า เยโรลาโม เอมิลิโอ เยริน ี (Gerolamo Emilio Gerini). 183
ภาพท่ี ๔ งานฌาปนกิจศพนายแพทย์ปีเตอร์ เคาวัน ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๕ ภาพท่ี ๕ ข่าวงานฌาปนกิจศพนายแพทยป์ ีเตอร์ เคาวัน ในหนงั สอื พมิ พ์ The Graphic ฉบับวันท่ี ๑๑ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๐๒ 184
(คอื พิธที �ำบุญปดิ ศพ) เป็นภาษาอังกฤษ และตพี ิมพเ์ ปน็ หนงั สอื ท่ีระลึกใน งานฌาปนกิจศพ งานฌาปนกจิ ศพนายแพทยป์ เี ตอร์ เคาวนั น้ี จงึ นบั เปน็ งานฌาปนกจิ ศพชาวตะวนั ตกคนแรกทจี่ ดั ขน้ึ ในสยาม โดยมสี มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรม พระยาวชริ ญาณวโรรส เม่ือครัง้ ยงั ด�ำรงพระยศทกี่ รมหมน่ื ทรงเปน็ แม่งาน ส�ำคัญ ท้ังยังโปรดให้ถ่ายรูปงานเพ่ือให้หนังสือพิมพ์ในต่างประเทศได้ ทำ� การตีพิมพเ์ ผยแพรต่ ่อไปด้วย ในการนี้ หม่อมราชวงศ์สุวพันธ์ สนิทวงศ์ ผู้เป็นลูกศิษย์คนส�ำคัญ อีกคนหน่ึงของหมอเคาวัน ด้วยความท่ีเคารพและรักหมอเคาวันเป็น อย่างมาก ดว้ ยมคี วามประสงคจ์ ะนงุ่ ขาวในการศพหมอเคาวนั จงึ ทลู ปรกึ ษา สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ พระองค์ท่านจึงทรงมีพระด�ำริในลายพระหัตถ์ ลงวนั ท่ี ๑๕ เมษายน ร.ศ. ๑๒๑ ความตอนหนงึ่ วา่ “ฉนั คดิ ดเู รอื่ งเธอแลผอู้ น่ื จะนุ่งขาวในการศพท่านอาจารย์เคาวันน้ัน ตามน้�ำใจก็ย่อมแสดงเคารพ ต่อผู้ตาย แต่เห็นว่าจะมีผู้นุ่งขาวน้อย เรียกว่าหรอมแหรม ไม่เป็นสง่า ถ้านัดใช้ด�ำ จะได้เหมือนกันหมด ดูเป็นสง่าย่ิงนัก แลผู้ตายแกก็เป็นฝรั่ง ช่างแกเถิด แลธรรมเนียมไว้ทุกข์ในบัดนี้ ดูเหมือนก็จะหันหาด�ำโดยล�ำดับ ขอใหใ้ ชด้ ำ� กนั เถิด” นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์สุวพันธ์ ยังมีเคยมีประสงค์ท่ีจะมอบ ที่ดินให้หมอเคาวัน ๑,๐๐๐ ไร่ กอปรทง้ั ผลประโยชน์มลู คา่ ๒,๐๐๐ บาท แก่หมอเคาวัน แต่เม่ือท่านถึงแก่อนิจกรรมลง ก็ทูลปรึกษาสมเด็จพระ รายการอ้างอิง ดำ� รงราชานภุ าพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. (๒๕๐๑). นทิ านโบราณคด.ี กรงุ เทพฯ: คลังวทิ ยา. ดำ� รงราชานภุ าพ, สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. (๒๕๑๖). ความทรงจำ� . กรงุ เทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. วชริ ญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา. (๒๔๙๔). พระประวตั ติ รสั เลา่ . พระนคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย. (งานปลงศพ นางเป้า ศรีสมุทโภค วัดมกุฏกษัตริยาราม พระนคร ๒๕ เมษายน ๒๔๙๔). 185
การปรับปรุงอักษร และอักขรวิธีไทย ส�ำหรับเขียนภาษาบาลี พีระ พนารัตน์๑ บทน�ำ ภาษาบาลีอันเป็นภาษาที่ใช้รักษาพระไตรปิฎกของพุทธศาสนาฝ่าย เถรวาทน้ัน นับเป็นภาษาท่ีไม่มีตัวอักษรเฉพาะของตนเอง แต่เขียนด้วย อักษรทแี่ ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะท้องถิ่น เชน่ อกั ษรสงิ หลในลังกา อักษรธรรม ในล้านนาและลาว อักษรขอมในสยาม๒ อักษรเขมรในกัมพูชา เป็นต้น (วิสุทธ์ บุษยกุล, ๒๕๕๑, หน้า ๑๖) ภาษาบาลีจึงเป็นจารีตลายลักษณ์ หลากอักษร (multiscriptual tradition) ในโลกพทุ ธศาสนาเถรวาทในลงั กา และอุษาคเนย์ตลอดระยะเวลาหลายศตวรรษ นอกจากน้ัน ในปัจจุบัน นักวิชาการในโลกตะวันตกยังใช้อักษรโรมันเขียนภาษาบาลี ขณะท่ีใน ประเทศไทยปัจจุบันน้ัน ไม่ได้ใช้อักษรขอมเขียนภาษาบาลีอย่างแพร่หลาย เหมือนในอดีต แต่ใช้อักษรไทยเขียนภาษาบาลีเป็นหลัก ทั้งพระไตรปิฎก ฉบับตีพิมพ์ในประเทศไทย หนังสือบทสวดมนต์ ตลอดจนต�ำราภาษาและ ไวยากรณ์บาลีต่างก็ตีพิมพ์ด้วยอักษรไทยทั้งส้ิน นับว่าอักษรไทยเป็นอักษร มาตรฐานท่ีใช้ในการตีพิมพ์พระคัมภีร์และใช้ในระบบการศึกษาของคณะ สงฆ์ปัจจุบัน อย่างไรก็ดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งชี้ว่า การปรับปรุง อักษรและอักขรวิธีไทยส�ำหรับใช้เขียนภาษาบาลีเป็นความพยายามของ นักปราชญห์ ลายยคุ หลายสมยั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ผู้ทรงมีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการวางรากฐานให้ อักษรไทยใชเ้ ขียนภาษาบาลกี ระทั่งเปน็ มาตรฐานแพรห่ ลายมาจนปจั จบุ นั ๑ นกั วิจัยระดบั หลงั ปริญญาเอก หนว่ ยวจิ ัยส่คู วามเป็นเลิศว่าดว้ ยวตั ถตุ ัวเขยี น ศนู ยศ์ กึ ษาวัฒนธรรมหนังสอื ตวั เขียน มหาวิทยาลยั ฮมั บูรก์ สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี. ๒ ในท่ีน้ี ค�ำว่าอักษรขอมจะใชห้ มายถึงอกั ษรท่ใี ชใ้ นวฒั นธรรมสยามเท่านัน้ (บางทีเ่ รียกอกั ษรขอมไทย) ขณะทีอ่ กั ษรเขมรหมายถึงอกั ษรทใี่ ช้ในกมั พูชา. 187
อกั ษรทใี่ ช้เขยี นภาษาบาลี ในประเทศไทย: ขอม ไทย อรยิ กะ วัฒนธรรมสยามในบริเวณประเทศไทยภาคกลางและภาคใต้ ส่วนใหญ่น้นั ใช้อกั ษรไทยและอักษรขอมควบคกู่ นั ไปนับตัง้ แตส่ มัยสุโขทัย โดยอกั ษรไทยใชเ้ ขยี นขอ้ ความภาษาไทย (อนั เปน็ ภาษาพดู ในชวี ติ ประจำ� วนั ) ขณะทอ่ี กั ษรขอมใชเ้ ขยี นขอ้ ความภาษาบาลี (อนั เปน็ ภาษาของคมั ภรี )์ ตอ่ มา ยงั ใชเ้ ขยี นภาษาไทยดว้ ย อกั ษรขอมนค้ี ลคี่ ลายมาจากรปู อกั ษรขอมโบราณ สมัยพระนครที่ใช้อยู่ในบริเวณลุ่มน�้ำเจ้าพระยามาต้ังแต่ก่อนสมัยสุโขทัย และใช้แพร่หลายในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ (กรรณิการ์ วิมลเกษม, ๒๕๕๔, หน้า ๑๕-๑๖, ๒๕) นับได้ว่าอักษรขอมน้ีมีรูปลักษณ์ที่ใกล้เคียง กับอักษรเขมรที่ใช้ในกัมพูชา เนื่องจากพัฒนามาจากแหล่งก�ำเนิดเดียวกัน แต่ก็คลี่คลายจนเกิดข้อแตกต่างอันเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละถิ่น และ เน่ืองจากอักษรขอมใช้เขียนคัมภีร์ภาษาบาลีอันเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธ์ิทาง เถรวาท อกั ษรขอมจึงถือวา่ เปน็ อกั ษรศักด์สิ ทิ ธขิ์ องลมุ่ แม่น�ำ้ เจา้ พระยาอยู่ สืบมา (ศานติ ภักดีค�ำและนวรัตน์ ภกั ดีคำ� , ๒๕๖๑, หนา้ ๔๕) ในหลักฐานจารึกและหนังสือตัวเขียน อักษรขอมใช้เขียนภาษาบาลี ไดอ้ ยา่ งลงตวั กวา่ อกั ษรไทย อาจเนอื่ งจากคลค่ี ลายมาจากอกั ษรขอมโบราณ สมยั พระนครทใี่ ชเ้ ขยี นภาษาตระกลู อนิ เดยี เฉกเชน่ ภาษาสนั สกฤตอยกู่ อ่ นแลว้ ขณะที่อักษรไทยเกิดข้ึน (โดยดัดแปลงจากอักษรและอักขรวิธีขอมโบราณ และมอญโบราณ) เพอ่ื รองรบั ระบบเสยี งภาษาไทยทแ่ี ตกตา่ งกบั ภาษาตระกลู มอญ-เขมรและตระกลู อนิ เดยี -ยโุ รปทงั้ ในระดบั พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ ท�ำให้อักษรไทยมิได้จัดระบบเพ่ือใช้เขียนภาษาบาลี จึงมีข้อลักลั่นไม่เป็น ระบบลงตัวเหมือนอักษรขอม อาจท�ำให้อักษรไทยไม่ได้ใช้เขียนภาษาบาลี อยา่ งแพรห่ ลาย อยา่ งไรกด็ ี มหี ลกั ฐานจารกึ และหนงั สอื ตวั เขยี นทใ่ี ชอ้ กั ษร ไทยเขียนภาษาบาลีอยู่บ้าง แต่มีอักขรวิธีท่ีแตกต่างกันและไม่เป็นระบบ เดียว ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี้ 188
ภาพท่ี ๑ จารึกวัดพระยืน (พ.ศ. ๑๙๑๓) ด้านท่ี ๑ บรรทัดที่ ๑ ภาพท่ี ๒ คาถาภาษาบาลี อักษรไทย จากสมดุ ไทยเร่ือง “อาทิไทโ้ พธบิ าท” (สมัยต้นรตั นโกสินทร์) ภาพที่ ๑ ขอ้ ความภาษาบาลี อกั ษรไทยสมยั สุโขทัย ในทีน่ ี้ ไมใ่ ชร้ ูป วสิ รรชนยี แ์ ทนสระอะ ถ่ายถอดได้ว่า “นโมตสสภควโต” (ฐานขอ้ มลู จารึกใน ประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสริ นิ ธร, ๒๕๖๔) ภาพที่ ๒ คาถาภาษาบาลี อักษรไทย จากสมุดไทยเร่ือง “อาทิไท้ โพธบิ าท” (สมยั ต้นรตั นโกสนิ ทร)์ ใชว้ ิสรรชนีย์แสดงรปู สระ อะ แต่กม็ ีบาง ต�ำแหน่งที่ไมป่ ระวสิ รรชนีย์ดว้ ยเชน่ กัน รวมถึงปรากฏรูปเชิง ว แบบอกั ษร ขอมในค�ำว่า “สฺวาหาย” (สมดุ ไทยเลขที่ ๔๑๑ หมู่โหราศาสตร์ หมวดต�ำรา หอสมุดแหง่ ชาต,ิ หน้าต้น ๒๙) เห็นได้ว่าในหลักฐานจากจารึกและสมุดไทยตามตัวอย่างข้างต้นนั้น อักษรไทยท่ีใช้เขียนภาษาบาลียังมีข้อลักลั่นและมีหลายระบบไม่เป็น มาตรฐานเดียว แตกต่างกบั อกั ษรขอมท่ีแพร่หลายและลงตัวกว่า พบได้ใน หลกั ฐานจารกึ และหนงั สอื ตวั เขยี นเปน็ สว่ นใหญ่ นอกจากนน้ั แมใ้ นหนงั สอื ตัวเขียนที่มีข้อความภาษาบาลีแทรกในข้อความภาษาไทย (เขียนด้วย อักษรไทย) ก็ยังเห็นได้ว่าใช้อักษรขอมเขียนภาษาบาลีเป็นหลัก ท�ำให้ อกั ษรขอมปรากฏทใี่ ชร้ ว่ มกบั อกั ษรไทยอยบู่ อ่ ยครง้ั การใชอ้ กั ษรไทยรว่ มกบั อักษรขอมนี้ปรากฏอย่างแพร่หลายในจารีตหนังสือตัวเขียนสยามตั้งแต่ ในสมยั อยุธยา 189
ภาพที่ ๓ ตัวอย่างหนังสือตัวเขียนที่ใช้อักษรไทยร่วมกับอักษรขอมจากสมุดไทย “มหาชาติค�ำหลวง กัณฑ์ทศพร” (คัดลอกสมัยรัชกาลที่ ๒) ภาพท่ี ๓ ตัวอยา่ งหนงั สือตัวเขยี นทใี่ ช้อกั ษรไทยรว่ มกบั อกั ษรขอม จากสมุดไทย “มหาชาติค�ำหลวง กัณฑ์ทศพร” (คัดลอกสมัยรัชกาลท่ี ๒) โดยข้อความภาษาบาลีเขยี นดว้ ยอกั ษรขอม ขณะที่ข้อความภาษาไทยเขียน ดว้ ยอกั ษรไทย(สมุดไทยเลขท่ี๓๕หมรู่ า่ ยหมวดวรรณคดีหอสมดุ แห่งชาต,ิ หนา้ ตน้ ๑๓) ในสมัยรัชกาลที่ ๓-๔ อักษรขอมยังคงใช้เขียนภาษาบาลีอย่าง แพร่หลาย ขณะทวี่ ทิ ยาการการพมิ พแ์ ละองคค์ วามรแู้ บบตะวนั ตกหลงั่ ไหล เขา้ มายงั สยาม ทำ� ใหเ้ กดิ ความพยายามสรา้ งตวั พมิ พภ์ าษาบาลขี น้ึ ในสยาม ดังที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือครั้งทรงพระผนวช และด�ำรงพระยศเจ้าฟ้ามงกุฎ ได้ทรงออกแบบอักษรอริยกะข้ึนเม่ือราว พ.ศ. ๒๓๙๐ (ในแผ่นดินรัชกาลที่ ๓) เพื่อใช้เขียนและตีพิมพ์ภาษาบาลี (จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, ๒๕๕๔, หน้า ๒๔๘; ธวัช ปุณโณทก, ๒๕๔๙, หนา้ ๑๒๐) รปู อกั ษรอรยิ กะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอกั ษรตะวนั ตกอยมู่ าก รวมถงึ อาจได้รับอิทธิพลจากอักษรมอญด้วย (Tangsiriwattanakul, 2021) นอกจากนั้น ยังมีการประดิษฐ์แบบอักษรตัวพิมพ์และตัวเขียน๓เหมือน อย่างตะวันตก อักษรอริยกะนี้แยกหน่วยพยัญชนะและสระทุกหน่วยออก เปน็ หนว่ ยตวั เขยี น รวมถงึ เขยี นสระไวบ้ นบรรทดั ตามหลงั พยญั ชนะทัง้ หมด๔ ๓ ดแู บบอกั ษรอรยิ กะตวั เขยี นใน วชริ ญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา, ๒๕๑๔ข. 190
จงึ สะดวกแกก่ ารเรยี งพมิ พม์ ากกวา่ อกั ษรไทยและอกั ษรขอม แตก่ ม็ รี ปู อักษร และอักขรวิธีท่ีแตกต่างกับอักษรขอมและอักษรไทยมาก อักษรอริยกะจึงมี ที่ใช้จ�ำกัดอยู่ในพระภิกษุธรรมยุติกนิกายเท่านั้น และเลิกใช้ไปในที่สุดหลัง สมยั รชั กาลท่ี ๔ นอกจากอกั ษรอรยิ กะแลว้ รชั กาลท่ี ๔ ยงั ไดท้ รงปรบั ปรงุ อกั ษรและ อกั ขรวธิ ไี ทยเพอ่ื ใชเ้ ขยี นและตพี มิ พภ์ าษาบาลอี กี ในชว่ งหลงั ปี พ.ศ. ๒๔๐๘ (วิสุทธ์ บุษยกุล, ๒๕๕๑, หน้า ๒๓) เรียกว่าอักขรวิธีแบบ “การยุต” การเขียนภาษาบาลีตามอักขรวิธีแบบการยุตน้ัน ได้ดัดแปลงอักขรวิธีของ อกั ษรไทย (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส, ๒๕๑๔ค, หน้า ๓๖๑) กล่าวคือก�ำหนดให้พยัญชนะที่ไม่มีรูปสระก�ำกับอยู่ให้ถือว่า มีสระอะประจ�ำอยู่ทุกตัว (โดยไม่ต้องประวิสรรชนีย์), ใช้ไม้หันอากาศแทน สระอะเหนอื พยญั ชนะตน้ ในพยางคท์ ม่ี ตี วั สะกด, ใชเ้ ครอ่ื งหมายวญั ฌการ ( ์ ) ก�ำกับพยัญชนะตัวสะกดและเครื่องหมายยามักการ ( ๎ ) ก�ำกับพยัญชนะ ควบกล้�ำ, ใช้เครื่องหมายพินทุเพ่ือก�ำกับพยัญชนะโฆษะส�ำหรับส�ำเนียง สวดแบบธรรมยุต, ใช้เคร่ืองหมายหยาดแวว (ปัจจุบันเรียกหยาดน้�ำค้าง) แทนนิคหิต นอกจากน้ี ยังปรับปรุงรูปอักษรไทยโดยตัดเชิงใต้ตัวอักษร ๒ ตัวคอื ญ และ ฐ เป็น และ ๕ (แตอ่ ักษร ญ มีเชิงยงั คงใชใ้ นกรณีตัว อกั ษร ญ ซ้อนกนั สองตัว) อักษรไทยแบบการยตุ นไี้ ดใ้ ชต้ พี ิมพ์ค�ำสมาทาน อุโบสถศลี คำ� นมสั การพระและสวดมนตใ์ นสมยั รชั กาลท่ี ๔ ตอ่ มาในสมยั รัชกาลที่ ๕ ยังได้ใช้ตีพิมพ์หนังสือสวดมนต์หลวงเป็นของทรงบริจาคใน งานพระศพสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี และ สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟ้ากรรณาภรณ์เพชรรัตน์ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๒๓ แต่ อักษรไทยแบบการยุตยังไม่เป็นที่นิยมใช้ในหมู่พระภิกษุ (สมเด็จพระมหา สมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, ๒๕๑๔ค, หน้า ๓๖๒) อักษรขอมจงึ เปน็ อักษรหลักทใี่ ช้สบื ทอดพระไตรปฎิ กในสยามอยูส่ ืบมา ๕ อยา่ งไรกด็ ี ในการตพี ิมพ์หนงั สือภาษาบาลใี นสมยั รัชกาลท่ี ๕ และต้นรชั กาลท่ี ๖ ปรากฏรูป ญ และ ฐ ท่มี ีเชิงอยา่ งแพร่หลายสืบมา ขณะทรี่ ปู และ ทไ่ี มม่ เี ชงิ ใชเ้ ขียนและตพี มิ พ์ภาษาบาลอี ย่างแพรห่ ลายจนเปน็ มาตรฐานในอักขรวธิ แี บบพินท ุ หรือหลงั ปี พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นตน้ มา. 191
ภาพที่ ๔ หนงั สือสวดมนต์ รวมพระสูตรและพระปรติ รต่าง ๆ (ฉบับพมิ พ์ พ.ศ. ๒๔๔๓). ภาพที่ ๔ หนังสือสวดมนต์ รวมพระสูตรและพระปริตรต่าง ๆ (ฉบบั พมิ พ์ พ.ศ. ๒๔๔๓) จดั พมิ พต์ ามฉบบั พมิ พป์ ี พ.ศ. ๒๔๒๓ หรอื ฉบบั ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารี รัตน์ พระบรมราชเทวีและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรรณาภรณ์ เพชรรัตน์ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๒๓ เห็นได้ว่าใช้อักษรไทยแบบการยุต แต่ยัง คงปรากฏเชิง ญ และ ฐ (ตน้ ฉบับของจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ) อักษรสำ� หรับการตพี ิมพ์พระไตรปฎิ ก ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ สมัยรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกข้ึน เป็นฉบับตีพิมพ์สมบูรณ์เพ่ือเป็นของทรงบริจาคในงานพระราชพิธี รัชดาภิเษก (จัดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๖) ไดม้ ีพระบรมราชโองการให้อาราธนา พระบรมวงศานุวงศ์ทที่ รงผนวช เช่น สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา ปวเรศวรยิ าลงกรณ์ และกรมหมนื่ วชริ ญาณวโรรส (พระยศในขณะนนั้ ) เปน็ ประธานฝ่ายสงฆ์ในการสอบแก้และตีพิมพ์พระไตรปิฎก โดยมีพระเจ้า น้องยาเธอ เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดชเปน็ ประธานคณะกรรมการจัดพิมพ์ฝ่ายฆราวาสเรียกว่า “กรรมสัมปาทิกสภา” 192
(วสิ ทุ ธ์ บษุ ยกลุ , ๒๕๕๑, หนา้ ๒๐) ในการดำ� เนนิ การจดั พมิ พพ์ ระไตรปฎิ ก นี้ เป็นที่แน่ชัดว่าจะต้องจัดพิมพ์เป็นภาษาบาลี แต่มีข้อถกเถียงในหมู่ คณะกรรมการจัดพิมพ์ว่าอักษรใดจะเหมาะสมในการตีพิมพ์พระไตรปิฎก ของสยามมากท่สี ุด หลักฐานส�ำคัญท่ีเกี่ยวเนื่องกับข้อถกเถียงเรื่องอักษรส�ำหรับตีพิมพ์ พระไตรปิฎกสยามนี้ ได้แก่ พระด�ำรัสของสมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ปรารภแบบอักษรไทยที่ใช้ส�ำหรับภาษาบาลี พระนิพนธ์ในสมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส (๒๕๑๔ค) แมเ้ อกสารดงั กลา่ ว จะตพี มิ พเ์ ผยแพรค่ รงั้ แรกในประกาศคณะสงฆ์ ปี ๒๔๖๑ อนั เปน็ ชว่ งเวลา หลังจากตีพิมพ์พระไตรปิฎกสยามในสมัยรัชกาลท่ี ๕ อยู่หลายปี แต่ก็นับ เป็นหลักฐานส�ำคัญท่ีบันทึกใจความส�ำคัญของข้อถกเถียงคร้ังน้ันไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร ท้ังน้ี สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณว โรรสมิเพียงแต่ทรงเป็นหนึ่งในคณะกรรมการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเท่านั้น หากแต่ทรงภมู ิรใู้ นทางอักษรศาสตร์อย่างเปน็ ทปี่ ระจักษ์ มคี วามร้ดู ้านตัว อักษรต่าง ๆ ทั้งขอมและไทย ตลอดจนได้ศึกษาค้นคว้าศิลาจารึกภาษา ไทยอยู่หลายหลัก (ดู วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยา, ๒๕๑๔ก) พระนพิ นธพ์ ระดำ� รสั ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ปรารภแบบอักษรไทยที่ใช้ส�ำหรับภาษาบาลี จึงได้รับการอ้างอิงอย่าง กว้างขวางในวงวชิ าการสมัยหลงั จากพระนิพนธ์ดังกล่าว คณะกรรมการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในสมัย รัชกาลท่ี ๕ ได้พิจารณาอักษรต่าง ๆ ส�ำหรับจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสยาม ได้แก่ อักษรขอม อักษรอริยกะ อักษรโรมัน อักษรไทยแบบวิสรรชนีย์และ อักษรไทยแบบการยุต คณะกรรมการจัดพิมพ์ได้พิจารณาว่าอักษรขอมที่ใช้ กนั โดยแพรห่ ลายมากอ่ นในสยามนนั้ ไมส่ ะดวกตอ่ การจดั พมิ พห์ ลายประการ เนื่องจากยังไม่เคยมีตัวพิมพ์อักษรขอมและจะสิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย ในการสร้างตัวพิมพ์อักษรขอมท่ีมีรูปสัณฐานและอักขรวิธีแตกต่างกับ อักษรไทย นอกจากนั้น อักษรขอมยังใช้รูปเชิงในกรณีพยัญชนะซ้อน (ตัวสะกดและตัวควบกล้�ำ) โดยแต่ละพยัญชนะมีรูปเชิงที่แตกต่างกันไป ท�ำให้กระบวนการเรียงพิมพ์ซับซ้อนยิ่งขึ้น ขณะท่ีอักษรอริยกะที่พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประดิษฐ์ขึ้นไว้ก่อนหน้าก็ไม่เป็นท่ีรู้จัก อยา่ งแพรห่ ลาย และนบั วา่ เปน็ อกั ษรทเี่ รยี นยากสำ� หรบั พระภกิ ษุ นอกจากนน้ั คณะกรรมการพิจารณาว่าอักษรโรมันไม่เหมาะจะน�ำมาใช้จัดพิมพ์ 193
พระไตรปิฎกสยาม แม้ขณะนั้นจะเริ่มมีหนังสือภาษาบาลีตีพิมพ์ด้วยอักษร โรมันอยู่แล้ว แต่พระภิกษุในประเทศสยามสมัยน้ันก็มิได้คุ้นชินกับอักษร โรมนั อนั จะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การเผยแพรพ่ ระไตรปฎิ กได้ ทป่ี ระชมุ จงึ สรปุ จะ ใช้อักษรไทย ที่มีผู้ใช้อย่างแพร่หลายอยู่ก่อนแล้ว อีกท้ังยังเป็นอักษร “ส�ำหรับชาติ” (วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา, ๒๕๑๔ค, หน้า ๓๖๓) เพื่อตีพิมพ์พระไตรปิฎกสยามในพระราชพิธี รัชดาภิเษกในรัชกาลท่ี ๕ ท้ังน้ี คณะกรรมการได้เลือกอักษรไทยแบบการ ยุตของรัชกาลที่ ๔ โดยเหน็ ว่าแบบวิสรรชนีย์ (คือประวสิ รรชนีย์แทนสระอะ) จะใชเ้ นอ้ื ทเี่ รยี งพมิ พม์ ากเกนิ ควร พระไตรปฎิ กภาษาบาลจี งึ ไดร้ บั การตพี ิมพ์ ในสยามเป็นครง้ั แรกในปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ด้วยอักษรไทยแบบการยุต๖ การตพี ิมพ์พระไตรปิฎกในสมัยรัชกาลที่ ๕ น้นั นบั วา่ มีความหมาย ทางวฒั นธรรมอยหู่ ลายแงม่ มุ (ปฐม ตาคะนานนั ท,์ ๒๕๔๙, หนา้ ๗๕-๘๘) เม่ือพิจารณาว่า การตีพิมพ์พระไตรปิฎกนับว่าเป็นการประกาศความเป็น ศนู ยก์ ลางทางพทุ ธศาสนาในบรบิ ทรฐั ชาตสิ ยามสมยั ใหม่ ดงั พระราชปรารภ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงเห็นว่าในเวลานั้น พระพุทธศาสนายงั คงด�ำรงอยใู่ นประเทศสยามเท่าน้นั ขณะรัฐพุทธศาสนา อื่น ๆ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านนั้นตกเป็นอาณานิคมของมหาอ�ำนาจ ตะวนั ตก จงึ มพี ระราชประสงคจ์ ะใหต้ พี มิ พพ์ ระไตรปฎิ กภาษาบาลใี หส้ มบูรณ์ ส�ำหรับท�ำนุบ�ำรุงพระศาสนา (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ๒๔๖๖, หน้า ๓-๖) นอกจากน้ัน ยังได้แจกจ่ายพระไตรปิฎกฉบับตีพิมพ์ ไปยังหอสมุดในประเทศต่าง ๆ ในต่างประเทศ การเลือกใช้อักษรไทยใน การตีพิมพ์พระไตรปิฎกจึงสามารถแสดงสถานะความเป็นศูนย์กลางทาง พุทธศาสนาของรฐั สยามสมัยใหมไ่ ด้อย่างเด่นชัดที่สดุ พระไตรปิฎกฉบับตีพิมพ์ในปี พ.ศ. ๒๔๓๖ นี้ นับว่าเป็นคร้ังแรกท่ี ท�ำให้อักษรไทยเป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาบาลีในฐานะอักษรแห่งชาติ และ เป็นมาตรฐานในการเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทยในวงกว้างขวางมากข้ึน นอกจากนน้ั ยงั สงั เกตไดว้ า่ หนงั สอื ภาษาบาลที ตี่ พี มิ พข์ นึ้ หลงั พ.ศ. ๒๔๓๖ นี้ ต่างก็ใช้อักษรและอักขรวิธีไทยแบบการยุตเป็นส�ำคัญ แสดงให้เห็น ความแพร่หลายของอักขรวิธีแบบการยุตในการตีพิมพ์ภาษาบาลีในสมัย รัชกาลที่ ๕ จนถงึ ตน้ รชั กาลที่ ๖ (ดงั ภาพที่ ๕) ๖ แม้คณะกรรมการจัดพมิ พ์จะวางแผนตีพมิ พพ์ ระไตรปิฎกภาษาบาลีใหค้ รบถ้วนบริบรู ณ์ ชดุ ละ ๔๐ เล่มจบ แตไ่ ดต้ พี ิมพไ์ ปจนถงึ เล่ม ๓๙ เทา่ นน้ั ยังขาดอยู่ ๘ คัมภีร์ เนื่องจาก ติดปญั หาด้านตน้ ฉบับ (วิสุทธ์ บษุ ยกุล, ๒๕๕๑, หนา้ ๒๖–๒๗). 194
ภาพท่ี ๕ ตวั อยา่ งขอ้ ความภาษาบาลีท่ตี ีพิมพ์ด้วยอกั ษร และอกั ขรวธิ แี บบการยุต ภาพท่ี ๕ ตวั อยา่ งขอ้ ความภาษาบาลที ตี่ พี มิ พด์ ว้ ยอกั ษรและอกั ขรวธิ ี แบบการยุต จากหนังสือพระมหาเวสสันตรชาดก พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงสรา้ งไว้ ในพระพุทธสาสนายังไม่ทันส�ำเร็จก็เสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาวชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสรา้ งตอ่ มา จนส�ำเร็จบริบูรณ พระราชทานในวันบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายในวัน ตรงกบั วนั เสดจ็ สวรรคต รตั นโกสนิ ทรศก ๑๓๐ ฉบบั ตพี มิ พป์ ี พ.ศ. ๒๔๕๔ แสดงถงึ ความนิยมอกั ขรวิธแี บบการยุตในสมยั รชั กาลท่ี ๕ และต้นรัชกาล ท่ี ๖ (ต้นฉบับของหอสมดุ เอเชยี -แอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลยั ฮัมบวรค์ ) จากการยตุ สู่พนิ ทุ: การปรับปรงุ อักขรวิธีไทยสำ� หรับเขยี นภาษาบาลี ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส นอกจากจะทรงเป็นหนึ่งในกรรมการอ�ำนวยการพิมพ์พระไตรปิฎก ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ดังท่ีกล่าวไว้ข้างต้นแล้ว สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสยังได้ต่อยอดปรับปรุงอักษรไทยส�ำหรับใช้เขียน ภาษาบาลอี ยตู่ อ่ มา โดยไดด้ ดั แปลงอกั ษรไทยแบบการยตุ ใหง้ า่ ยตอ่ การอ่าน และการเขยี น ตลอดจนสะดวกตอ่ การพมิ พม์ ากยง่ิ ขน้ึ เรยี กวา่ “แบบพนิ ท”ุ ดังที่มีพระราชปรารภว่าแบบพินทุน้ัน “งามกว่า ใช้สะดวกกว่าแบบการยุต ควรใช้แทนแบบการยุตได”้ (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส, ๒๕๑๔ค, หนา้ ๓๖๗) 195
การปรบั ปรุงอักษรและอักขรวิธีไทยส�ำหรบั ใช้ เขียนภาษาบาลีเป็นความพยายามของนักปราชญ์ หลายยุคหลายสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ผทู้ รง มีบทบาทส�ำคัญย่ิงในการวางรากฐานให้อักษรไทย ใช้เขียนภาษาบาลีกระทั่งเป็นมาตรฐานแพรห่ ลาย มาจนปัจจบุ นั อักขรวิธีแบบใหม่ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส (๒๕๑๔ค, หนา้ ๓๖๕-๓๖๖) ปรบั ปรงุ ใหมข่ นึ้ น้ี ยงั คงสอดคลอ้ งกบั แบบการยุต เช่น ยังก�ำหนดให้พยัญชนะทุกตัวที่ไม่มีรูปสระก�ำกับมีสระอะ ประจำ� อยโู่ ดยไมป่ ระวสิ รรชนยี ,์ ใชเ้ ครอื่ งหมายหยาดแววแทนนคิ หติ รวมถงึ โดยตัดเชิงใต้ตัวอักษร ๒ ตัวคือ ญ และ ฐ เป็น และ อย่างไรก็ดี ได้ เลกิ ใชเ้ ครอ่ื งหมายวญั ฌการ เครอ่ื งหมายยามกั การ ตลอดจนไมผ้ ดั ทใี่ ช้ใน แบบการยุตไป เนื่องจากเป็นอุปสรรคต่อการอ่านและการพิมพ์ แล้วใช้ พินทุก�ำกับใต้พยัญชนะตัวสะกดและตัวควบกล�้ำแทน จึงเรียกอักขรวิธี แบบน้ีว่า “แบบพินทุ” ทั้งนี้ ทรงเห็นว่าพินทุที่เดิมใช้ก�ำกับพยัญชนะโฆษะ ส�ำหรับหมายส�ำเนียงสวดแบบธรรมยุตนั้นไม่เป็นประโยชน์เท่าท่ีควร การปรับปรุงอักขรวิธีแบบการยุตมาเป็นแบบพินทุจึงเป็นไปเพ่ือให้สามารถ ใช้อกั ษรไทยเขียนภาษาบาลีไดง้ า่ ยและเปน็ ระบบมากยิง่ ขน้ึ ผู้อ่านทคี่ นุ้ เคย กับอักษรไทยที่ใช้เขียนภาษาไทยอยู่แล้วเม่ือต้องเรียนอักษรไทยส�ำหรับ เขียนภาษาบาลีก็จะเรียนได้โดยง่าย แม้แต่ผู้อ่านที่คุ้นเคยกับอักขรวิธีเดิม แบบการยุตก็สามารถอ่านแบบพินทุได้ง่ายด้วยเช่นกัน เมื่อเปรียบเทียบ ข้อความภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักษรไทยตามอักขรวิธีแบบการยุตและ แบบพนิ ทุ เห็นไดว้ า่ แบบพินทุน้นั ใช้เคร่ืองหมายประกอบการเขยี นนอ้ ยกวา่ แตเ่ ขียนภาษาบาลีไดอ้ ย่างเปน็ ระบบไม่ลักลั่น แมจ้ ะไมม่ หี ลกั ฐานแนช่ ดั วา่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญ า ณ วโรรสทรงปรับปรุงอักษรไทยแบบพินทุข้ึนเม่ือใด แต่เห็นได้ว่าทรงเร่ิมมา ตั้งแต่ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ดังที่มีร่องรอยของอักขรวิธีแบบพินทุปรากฏใน พระนิพนธ์บาลีไวยากรณ์ ท่ีตีพิมพ์เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๓๖ แล้ว (ปฐม 196
ตาคะนานันท์, ๒๕๔๙, หน้า ๘๙) แต่อักขรวิธีแบบพินทุได้ใช้ในหนังสือ แบบเรยี นตามหลกั สตู รพระปรยิ ตั ธิ รรมอยา่ งเปน็ ทางการในปี พ.ศ. ๒๔๖๑ (วชิรญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยา, ๒๕๑๔ค: ๓๖๗) กลายเป็นอักษรและอักขรวิธีไทยส�ำหรับเขียนภาษาบาลีแบบมาตรฐานของ ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์มานับแต่นั้น ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ี ๗ เมื่อ มกี ารตีพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ ให้สมบูรณ์ข้ึนกว่าฉบับรัชกาลที่ ๕ (ตีพิมพ์ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๖๙-๒๔๗๔ ประกอบด้วยชุดละ ๔๐ เล่ม บรบิ รู ณ)์ กไ็ ดเ้ ปลยี่ นจากอกั ขรวธิ ไี ทยแบบการยตุ ไปใชอ้ กั ขรวธิ ไี ทยแบบพนิ ทุ ท�ำให้อักขรวิธีแบบพินทุใช้เขียนและอ่านภาษาบาลีอย่างกว้างขวางมาจน ปจั จบุ นั นบั เปน็ การรบั รองสถานภาพของอกั ษรไทยในฐานะอกั ษรประจำ� ชาติ สยามท้งั ในทางอาณาจกั ร (ใชเ้ ขยี นภาษาไทยอนั เป็นภาษาราชการ) และใน ทางพุทธจักรดังที่ใช้เขียนและเรียนภาษาบาลี โดยได้เข้าแทนที่อักษรขอม ตามจารีตเดิม ตลอดจนอักษรท้องถ่ิน (เช่น อักษรธรรมล้านนาและ ภาพที่ ๖ ตวั อยา่ งข้อความภาษาบาลีทตี่ ีพมิ พด์ ว้ ยอกั ษรและอกั ขรวธิ ีแบบพนิ ทุ ธรรมอสี าน) ไปโดยปริยาย ภาพที่ ๖ ตวั อยา่ งขอ้ ความภาษาบาลที ต่ี พี มิ พด์ ว้ ยอกั ษรและอักขรวธิ ี แบบพินทุ จากเทศน์มหาชาติ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ฉบับตีพิมพ ์ ปี พ.ศ. ๒๔๖๒ เห็นไดว้ ่ามีขอ้ ความภาษาไทยพิมพร์ ่วมกบั ขอ้ ความภาษา บาลีในอักขรวิธีแบบพินทุ (ต้นฉบับของหอสมุดเอเชีย-แอฟริกาศึกษา 197
ภาพท่ี ๗ ตัวอย่างข้อความภาษาบาลจี ากพระไตรปฎิ กฉบบั สยามรฐั เลม่ ๔ พระวนิ ยั ปิฎก มหาวรรค ปฐมภาค (พ.ศ. ๒๔๗๐) ใชอ้ กั ษรและอักขรวธิ ีแบบพินทุ (ต้นฉบับของจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย) มหาวิทยาลยั ฮัมบวร์ค) การใช้อักษรไทยเพื่อเขียนภาษาบาลีที่แพร่หลายในปัจจุบันน้ี กล่าว ได้ว่าเกิดจากการคลี่คลายและต่อยอดจากนักปราชญ์ในอดีตจากรุ่นสู่รุ่น นับต้ังแต่การประดิษฐ์อักษรอริยกะ การปรับปรุงอักขรวิธีแบบการยุตใน สมัยรัชกาลท่ี ๔ จนกระท่ังพัฒนาไปเป็นแบบพินทุท่ีมีมาตรฐานลงตัวดังท่ี ใชห้ นงั สอื ตพี มิ พใ์ นปจั จบุ นั ทงั้ ในพระไตรปฎิ กฉบบั ตพี มิ พ์ หนงั สอื สวดมนต์ ต�ำราไวยากรณ์ ตลอดจนป้ายอาเศียรวาทภาษาบาลี นับได้ว่าสมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสทรงมบี ทบาทสำ� คญั ยง่ิ ในการ ปรับปรุงอักษรและอักขรวิธีไทยส�ำหรับใช้เขียนภาษาบาลีจนกระท่ังเป็น 198
ระบบสืบมาจนปัจจุบนั บทสรปุ อกั ขรวธิ ไี ทยแบบพนิ ททุ ใี่ ชเ้ ขยี นภาษาบาลี นบั วา่ เปน็ มรดกในสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่ด�ำรงอยู่รอบตัวในสังคม ปัจจุบันท่ีเด่นชัดที่สุดประการหน่ึง แม้ว่านักศึกษาภาษาบาลีในระดับ อุดมศึกษาปัจจุบันจะคุ้นเคยกับการใช้อักษรโรมันเขียนภาษาบาลีควบคู่กับ อกั ษรไทย แตอ่ กั ษรไทยกย็ งั คงใชเ้ ขยี นภาษาบาลอี ยใู่ นบรบิ ทชวี ติ ประจำ� วนั ในแง่วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย อาจมองได้ว่าการปรับปรุง อกั ษรและอกั ขรวธิ ไี ทยสำ� หรบั เขยี นภาษาบาลแี บบพนิ ทนุ ้ี ถอื เปน็ หมดุ หมาย ส�ำคัญของการปรับปรุงระบบตัวเขียนของไทย แม้การปรับปรุงระบบตัว เขียนไทยจะเกิดข้ึนหลายคร้ังในต่างบริบท เช่น การประดิษฐ์อักษรอริยกะ อักขรวิธีแบบใหม่ของรัชกาลท่ี ๖ หรืออักขรวิธีแบบรัฐนิยมสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลย์สงคราม (อิงอร สุพันธุ์วณิช, ๒๕๒๗, หน้า ๖๓๙) แต่การปรับปรุงระบบตัวเขียนที่กล่าวมานั้น ล้วนแล้วแต่ไม่เป็นท่ีนิยมจน ตอ่ มาเลกิ ใชไ้ ปทัง้ ส้นิ (จุไรรัตน์ ลกั ษณะศิร,ิ ๒๕๕๔, หน้า ๒๔๖) แตกตา่ ง กับการปรับปรุงอักษรไทยเพ่ือเขียนภาษาบาลีของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ท่ีส่งผลให้เกิดมาตรฐานที่ลงตัวและมีที่ใช้ อย่างแพร่หลาย นบั ได้ว่าเป็นคร้ังแรกทอ่ี ักษรไทยได้รบั การปรับปรงุ เพ่อื ใช้ เขียนภาษานอกตระกูลไทได้อย่างลงตัว นับเป็นการปรับปรุงอักษรและ อักขรวธิ ไี ทยทีป่ ระสบผลส�ำเร็จมากท่ีสดุ คร้งั หนึ่งในประวตั ิตัวเขยี นไทย 199
รายการอ้างอิง เอกสารตวั เขยี น สมดุ ไทยเลขท่ี ๓๕ มหาชาตคิ ำ� หลวง กณั ฑท์ ศพร หมรู่ า่ ย หมวดวรรณคดี แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติ. สมดุ ไทยดำ� . เส้นหรดาล. อกั ษรขอมและอักษรไทย. ภาษาบาลีและ ภาษาไทย. สมุดไทยเลขท่ี ๔๑๑ อาทิไท้โพธิบาท หมู่โหราศาสตร์ หมวดต�ำรา แผนกเอกสารโบราณ หอสมุดแหง่ ชาติ. สมุดไทยด�ำ. เส้นดินสอ. อักษรไทย. ภาษาบาลแี ละภาษาไทย. เอกสารตพี มิ พ์ กรรณกิ าร์ วมิ ลเกษม. (๒๕๕๔). ตำ� ราเรยี นอกั ษรไทยโบราณ: อกั ษรขอมไทย อกั ษรธรรมลา้ นนา อักษรธรรมอสี าน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร. จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ. (๒๕๕๔). จากลายสือไทยสู่อักษรไทย. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๔๖๖). พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คัดจากท่ีสมาคมต่าง ๆ. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณ พพิ รรฒธนากร. ฐานขอ้ มลู จารกึ ในประเทศไทย ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร. (๒๕๖๔). จารกึ วดั พระยนื ดา้ นท่ี ๑. เขา้ ถึงได้จาก https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/25606 ธวชั ปณุ โณทก. (๒๕๔๙). อกั ษรไทยโบราณ ลายสอื ไทย และววิ ฒั นาการอกั ษรของชนชาตไิ ทย. กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปฐม ตาคะนานันท์. (๒๕๔๙). สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสกับ การสถาปนาอุดมการณ์แห่งรัฐของสยาม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระมหาเวสสันตรชาดก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงสร้างไว้ในพระพุทธสาสนายังไม่ทันส�ำเร็จก็เสด็จสวรรคต พระบาท สมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสรา้ งตอ่ มาจนสำ� เรจ็ บริบูรณ พระราชทานในวันบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายในวันตรงกับวันเสด็จสวรรคต รตั นโกสินทรศก ๑๓๐. (๒๔๕๔). พระนคร: โรงพิมพ์บำ� รุงนุกูลกจิ . มหามกฏุ ราชวิทยาลยั . (๒๔๗๐). สยฺ ามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ วนิ ยปิฏเก มหาวคคฺ สฺส ปโม ภาโค. พระนคร: มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . 200
วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา. (๒๕๑๔ก). ข้อความท่ีเสาศิลาเมือง สุโขทัย. ใน ประมวลพระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ประวตั ิศาสตร-์ โบราณคดี. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลยั . วชริ ญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา. (๒๕๑๔ข). คาถาชาดกแลแบบอกั ษร อรยิ กะ ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ มหามกุฏราชวทิ ยาลยั . วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา. (๒๕๑๔ค). พระด�ำรัสของสมเด็จ พระมหาสมณเจ้าฯ ปรารภแบบอักษรไทยที่ใช้ส�ำหรับภาษาบาลี. ใน ประมวล พระนพิ นธส์ มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส พระนพิ นธต์ า่ งเรอื่ ง. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพม์ หามกุฏราชวทิ ยาลยั . วสิ ทุ ธ์ บษุ ยกลุ . (๒๕๕๑). การพมิ พพ์ ระไตรปฎิ กฉบบั ร.๕ ดว้ ยตวั อกั ษรไทย. วารสารภาษาไทย และวฒั นธรรมไทย (๔)๒, ๑๓–๓๑. ศานติ ภกั ดคี ำ� และนวรตั น์ ภกั ดคี ำ� . (๒๕๖๑). ประวตั ศิ าสตรอ์ ยธุ ยาจากจารกึ : จารกึ สมยั อยธุ ยา. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี หนังสอื สวดมนต์ รวมพระสตู รแลพระปริตต่าง ๆ. (๒๔๔๓). พระนคร: โรงพมิ พ์บำ� รงุ นุกูลกิจ. หอพระสมุดวชิรญาณ. (๒๔๖๒). เทศน์มหาชาติ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. พระนคร: หอพระสมดุ วชิรญาณ. อิงอร สุพันธุ์วณิช. (๒๕๒๗). วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. การน�ำเสนอทางวิชาการ Tangsiriwattanakul, Shinnakrit. (2021, April 23). The Mon Origin of King Rama IV’s Ariyaka Script. A lecture given to the Hamburger Gesellschaft für Thaiistik in cooperation with the Asien-Afrika-Institut, Universität Hamburg (Federal Republic of Germany). 201
เล่นเปน็ พระ ศรัณย์ มะกรูดอนิ ทร์๑ เด็กไทยในสมัยโบราณ จักมีการละเล่นท่ีเลียนแบบวิถีชีวิตของ ผู้ใหญ่ที่พบเห็นได้ในชีวิตประจ�ำวัน อาทิ การเล่นขายของเลียนแบบ การคา้ ขาย การเลน่ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงเลยี นแบบการทำ� กบั ขา้ ว ตลอดจนการ เลน่ เป็นพระเลียนแบบการประกอบศาสนกจิ ของพระสงฆ์ในรูปแบบต่าง ๆ การเล่นเป็นพระนี้ ปรากฏหลักฐานเก่าแก่ท่ีสุดในรัชสมัยพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ ในพระนพิ นธเ์ รอ่ื งพระประวตั ิ ตรัสเล่า ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ที่ทรง บันทึกความทรงจ�ำเมื่อคร้ังยังเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ามนุษย นาคมานพ ความว่า “...เมอ่ื ยงั เลก็ เราพอใจเลน่ เปนพระ ครองผา้ บณิ ฑบาต ฉัน อนุโมทนา เทศนา เพียงเท่าน้ีจะว่าเปนนิมิตต์ก็ใม่เชิง เพราะนเ้ี ปนการเลน่ สนกุ ของเจา้ นายอนื่ ดว้ ย แตเ่ รามตี าลปตั ร แฉกส�ำหรับพระราชาคณะ พระนิกรมมุนี (เบญจวรรณ) เจ้าวดั พระยาทำ� ผเู้ ปนญาตนิ บั เปนชน้ั ตา ทำ� ใหใ้ บพดั เอาอไร ท�ำแลท�ำอย่างไร บอกใม่ได้ เปนอย่างหักทองขวาง ด้ามงา หรือกระดกู นีจ้ ะถอื ว่าเปนนิมติ ตก์ ็เข้าที ๚” (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส, ๒๔๙๔, หน้า ๘) การเล่นเป็นพระในครั้งนั้น เลียนแบบวิถีชีวิตพระภิกษุ โดยมีการ จำ� ลองเครอ่ื งสมณบรขิ ารสำ� หรบั ใหเ้ ดก็ เลน่ ทง้ั จวี รเพอื่ ใหเ้ ดก็ ทส่ี วมบทบาท เป็นพระภิกษุนั้นได้นุ่งห่ม บาตรเพื่อให้เด็กใช้ในการเดินบิณฑบาตและ จ�ำลองการฉันในบาตร ใบลานท่ีจ�ำลองไว้ใช้ในการถวายแสดงพระธรรม เทศนา และตาลปัตรทจ่ี �ำลองไวใ้ นถวายศลี และถวายอนุโมทนา ๑ อาจารย์ประจ�ำ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั . 203
โดยเฉพาะมีการจ�ำลองรูปแบบของตาลปัตรให้มีลักษณะเป็นพัดยศ ในชั้นต่าง ๆ ดังในพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชริ ญาณวโรรสทร่ี ะบวุ า่ พระนกิ รมมนุ ี (เบญจวรรณ) เจา้ อาวาสวดั พระยาทำ� ซึ่งเป็นพระญาตินั้นได้จ�ำลองพัดแฉก ซึ่งเป็นรูปแบบของพัดยศส�ำหรับ พระราชาคณะแดส่ มเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ เม่ือครั้งทรงพระเยาว์ การเล่นเป็นพระน้ี ปรากฏสืบมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี ๕ ดังปรากฏหลกั ฐานในจดหมายเหตุ รายวันของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎ ราชกมุ าร ลงวนั พฤหัสบดีที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๒๘ ท่วี ่า “เราตนื่ นอนเชา้ กนิ ขา้ วแลว้ ไปเรยี นหนงั สอื เทยี่ งกลบั มาเรอื น โจษกนั วา่ คณุ หญงิ ประสตู แิ ลว้ เปน็ ผชู้ าย สมเดจ็ แม่๒เสด็จ เราตามเสด็จไป ลกู อ้วนขาว แล้วเรากลบั มากิน ขา้ วกลางวนั ประสูติหมอและปี่พาทย์มาไม่ทัน เย็นเรา ไปบน สมเด็จแม่ฝากของไปถวายทูลหม่อมบน๓ เป็นของ ๆ สมเด็จแม่ฝากไปประทานโยมพระสภุ ตู เิ มอื งลังกา กับ เก้ียวทีเ่ ราใส่เมอ่ื กฐนิ ไปส่งดว้ ย เราขน้ึ ไปทลู หมอ่ มบนยงั ไม่ ประทมตืน่ เราออกไปเรียนหนังสือ ทูลหม่อมบนประทม ตื่น เรากลับเข้ามาทูล แล้วตามเสด็จไปที่ออกขุนนาง เสด็จขึ้นเกือบทุ่ม เสวยที่สวนสวรรค์ วนั นไี้ มไ่ ดเ้ ลน่ พระ เรามาเรอื น นอนสองทมุ่ นาน” (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ๒ สมเดจ็ พระนางเจ้าสวา่ งวฒั นา พระบรมราชเทวี ภายหลังดำ� รงพระอสิ ริยยศท ี่ สมเด็จพระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า. ๓ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. 204
ภาพที่ ๑-๒ ลายพระหัตถส์ มเด็จพระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟา้ อัษฎางค์เดชาวธุ ทรงมีถึงพระเจา้ น้องยาเธอ กรมหมืน่ วชริ ญาณวโรรส สยามมกฎุ ราชกุมาร, ๒๕๕๕, หนา้ ๒๗๘-๒๗๙) หลักฐานส�ำคัญท่ีแสดงรายละเอียดของการเล่นเป็นพระน้ี ปรากฏมี ลายพระหัตถ์ที่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ๔ ทรงมี ถึงพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนวชิรญาณวโรรส ด้วยทรงดีพระทัยท่ีได้รับ ประทานตาลปตั รในคราวเลน่ เปน็ พระนน้ั ดงั ความในลายพระหตั ถท์ ส่ี มเดจ็ 205
พระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเก็บรกั ษาไวค้ วามวา่ “วันที่ ๑๘ สิงหาคม ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ.๒๔๔๐) กราบทลู ขรัวลุง๕ ทรงทราบฝ่าพระบาท ด้วย เอียดเล็ก๖ ได้รับลายพระหัตถ์ทราบว่า ขรัวลุงจะพระทาน ตาลิปัตร เอียดเล็กดีใจนัก เอียดเล็กอยากให้ทอดพระเนตรเหน็ เวลาเลน่ คงจะโปรดมาก สวดมนตจ์ รงิ ๆ เอยี ดเลก็ เปน็ ขรวั ลงุ พร่ี งั สติ ๗เปน็ พระองค์ อรณุ ๘ พสี่ รุ ยิ ง๙เปน็ เจา้ พระแตร่ วม ๆ ไมแ่ นว่ า่ ใคร ทองรอด๑๐เปน็ พระขดั ต�ำนาน ตุ๊๑๑เป็นพระครู ธานี๑๒บวิเศษ๑๓ นสมุห์ ทองอนุวัตร๑๔เป็น พระอนั ดบั ทนู หมอ่ มแดง๑๕องคอ์ นสุ ร๑๖กบั วงษนริ ชร๑๗ แลปยิ บตุ ร๑๘๔ คน นเี้ ปน็ เณร สวด ๓ ตำ� นาน ๆ ที่ ๑ สรสั ชํ แลว้ สวด พหเุํ ว ยสั สะสทั ธา นตั ถิ เม มหาการุณิโก ต�ำนานท่ี ๒ เยสนั ตา สวดมงคลสตู ร ตำ� นานที่ ๓ สพั พาลี สวดวริ ปู กั เข ยยํ ํ ภวตสุ พั นักขัต์ตยกั ทสี่ วดได้หมดนค้ี อื เอียดเลก็ พ่รี ังสติ ตุ๊ ธานี นอกน้นั ไดบ้ ้าง ไม่ไดบ้ า้ ง แตพ่ อตาม ๆ ไปได้ แตฉ่ ันเชา้ นน้ั ไดห้ มด ทกุ คน เวน้ แตเ่ ณร ๔ คน ยงั กะพรอ่ งกะแพรง่ อยู่ เอยี ดเลก็ ยงั กำ� ลงั ทอ่ งยานอี ยู่ คิดจะขยายให้ถึง ๗ ต�ำนาน นอ้ งชายตว๋ิ ๑๙เปน็ คน มะยํ ตอ่ นไี้ ปเขาจะ นมิ นตเ์ อยี ดเลก็ เทศน์ ขอพระทานคำ� ภรี เ์ อยี ดเลก็ มอี ยแู่ ลว้ แตไ่ มค่ อ่ ยดี ความยาวไปดว้ ย อยากไดค้ วามสน้ั ๆ เทศนป์ ระเดย๋ี วเดยี วจะไดจ้ บ เอยี ด เลก็ ถวายมาดว้ ยเปน็ ตวั อยา่ ง ตาลปิ ตั รนนั้ มแี ลว้ แตไ่ ม่สู้ดี ขรัวลุงจะพระ ทานใหม่เอียดเลก็ ดใี จมาก ๔ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ อัษฎางค์เดชาวุธ ๙ พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจา้ สรุ ิยงประยรุ พนั ธ์ุ ภายหลังดำ� รงพระอสิ ริยยศที่ สมเด็จพระอนุชาธริ าช ภายหลังด�ำรงพระอิสรยิ ยศที่ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมหลวงนครราชสีมา. กรมหมืน่ ไชยาศรีสรุ โิ ยภาส. ๕ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมน่ื วชริ ญาณวโรรส ภาย ๑๐ หมอ่ มเจา้ ทองฑฆี ายุ ทองใหญ.่ หลงั ๑๑ หมอ่ มเจา้ มงคลประวตั ิ สวัสดกิ ลุ . ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศที่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรม ๑๒ หม่อมเจ้าธานีนวิ ตั โสณกลุ ภายหลงั ด�ำรง พระยาวชริ ญาณวโรรส. พระอสิ รยิ ยศท่ี พระวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนพิทยลาภ ๖ สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ อัษฎางค์เดชาวธุ . พฤฒิยากร. ๗ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองคเ์ จ้ารังสิตประยูรศกั ด์ิ ๑๓ หม่อมเจา้ วิเศษศกั ดิ์ ชยางกรู . ภายหลังดำ� รงพระอิสรยิ ยศท่ี สมเดจ็ พระเจ้าบรม ๑๔ หม่อมเจ้าทองอนุวัติ ทองใหญ่. วงศเ์ ธอ กรมพระยาชยั นาทนเรนทร. ๑๕ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ มหดิ ลอดลุ เดช ๘ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ พระอรุณนภิ าคุณากร. ภายหลงั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศที่ สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บ ศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก. 206
ภาพท่ี ๓-๔ การเลน่ เปน็ พระของเจ้านายเล็ก ๆ ณ ศาลารมิ สระสวนศิวาลัย ภายในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ (ทมี่ า: หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต)ิ การเล่นเป็นพระของเจ้านายเล็ก ๆ ณ ศาลาริมสระสวนศิวาลัย ภายในพระบรม มหาราชวัง เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ เรียงลำ� ดับจากซา้ ยไปขวา ไดแ้ ก่ ๗. หม่อมเจา้ วิเศษศักด์ิ ชยางกรู ๑. สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ ๘. หม่อมเจา้ ทองอนุวตั ิ ทองใหญ่ เจ้าฟา้ อัษฎางคเ์ ดชาวุธ ๙. สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ ๒. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจา้ รงั สิตประยรู ศกั ดิ์ เจา้ ฟ้ามหดิ ลอดุลเดช ๓. พระเจา้ ลกู ยาเธอ พระองค์เจ้า ๑๐. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองคเ์ จา้ อนสุ รณศ์ ิรปิ ระสาธน์ สรุ ิยงประยรุ พนั ธ์ุ ๔. หมอ่ มเจา้ ทองฑฆี ายุ ทองใหญ่ ๑๑. หมอ่ มเจ้าวงศน์ ิรชร เทวกลุ ๕. หม่อมเจ้ามงคลประวัติ สวสั ดิกลุ ๑๒. หม่อมเจ้าปิยบตุ ร จกั รพนั ธุ์ ๖. หม่อมเจ้าธานนี วิ ตั โสณกลุ ๑๖ พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจา้ อนสุ รณศ์ ริ ปิ ระสาธน.์ ๑๗ หม่อมเจ้าวงศน์ ิรชร เทวกุล. ๑๘ หมอ่ มเจ้าปยิ บตุ ร จกั รพนั ธ์.ุ ๑๙ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจา้ ฟา้ จฑุ าธชุ ธราดลิ ก ภายหลงั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศทสี่ มเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ กรมขนุ เพ็ชรบูรณอ์ ินทราไชย. 207
(ลงพระนาม) อษั ฎางค์เดชาวุธ” การเลน่ เปน็ พระในครง้ั นี้ สอดคลอ้ งกบั พระรปู เกา่ ในหอจดหมายเหตุ แห่งชาติ เป็นพระรูปท่ีพระบรมวงศานุวงศ์ตามรายพระนามที่ปรากฏอยู่ใน ลายพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ ทรงมีถึง พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนวชิรญาณวโรรส ประทับนั่งเรียงกันครองจีวร ห่มคลมุ ภายในศาลาริมสระสวนศิวาลัย เจ้านายแต่ละพระองคท์ รงสมมติ องค์เป็นพระสงฆ์รูปต่าง ๆ ในการประกอบพิธีเจริญพระพุทธมนต์ ตามท่ี ทรงเคยทอดพระเนตรเหน็ ในการพระราชพธิ ี อาทิ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธทรงสมมติองค์เป็นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่น วชริ ญาณวโรรส พระเจา้ ลกู ยาเธอ พระองคเ์ จา้ รงั สติ ประยรู ศกั ดิ์ ทรงสมมติ องคเ์ ปน็ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ พระอรณุ นภิ าคณุ ากร ดงั ปรากฏขนั นำ�้ เสวยมีฝาครอบและบ้วนพระโอษฐ์ของทั้งสองพระองค์เป็นเครื่องลงยาสี ต่างจากเจ้านายองค์อ่ืน ๆ ท่ีเป็นเครื่องทองลงหิน อันแสดงฐานานุศักดิ์ ของพระสงฆ์ที่ตำ�่ ล�ำดบั ชัน้ ลงไป พระบรมวงศานุวงศ์ท่ีเล่นเป็นพระในคร้ังนี้ จักต้องทรงสวดมนต์ได้ จริง ๆ ด้วยเป็นการจ�ำลองการเจริญพระพุทธมนต์ของพระสงฆ์ นับแต่มี มัคนายก โดยมีสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลกทรงกล่าว ค�ำอาราธนาศีล มีการขัดต�ำนาน คือ การท่ีพระภิกษุรูปที่ ๓ หรือรูปที่ ๔ จักสวดบทสรุปย่อพระปริตรน้ัน ๆ อาทิ บทชุมนุมเทวดา บท เย สนฺตา ซ่ึงเป็นบทขัดของบทมงคลสูตร หรือบท สพฺพพาสี ซ่ึงก็เป็นบทขัดของ บทขนั ธปรติ ร เปน็ ตน้ โดยในการเลน่ เปน็ พระในครงั้ นม้ี หี มอ่ มเจา้ ทองฑฆี ายุ ทองใหญ่ เป็นผู้ขัดต�ำนาน แล้วจึงเจริญพระพุทธมนต์ในบทเจ็ดต�ำนาน อาจคดั เลอื กมาเพยี งบางบทบางตำ� นานมาฝกึ หดั จนสามารถสวดทอ่ งไดจ้ รงิ ที่ส�ำคัญคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนวชิรญาณวโรรสยังได้ ประทานตาลปตั ร ตลอดจนคมั ภรี ใ์ บลานจำ� ลอง นบั เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ วา่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ พระองคน์ นั้ ตลอดจนพระบรมวงศผ์ ใู้ หญไ่ ดท้ รง ส่งเสริมและสนับสนุนการละเล่นเป็นพระเป็นคร้ังนั้น เฉกเช่นเดียวกับใน คราวที่พระนิกรมมุนี (เบญจวรรณ) ได้ท�ำตาลปัตรจ�ำลองให้แก่สมเด็จ พระมหาสมณเจ้าฯ เมือ่ ครงั้ ยงั ทรงพระเยาว์ ความในลายพระหตั ถใ์ นครง้ั นน้ั ยงั สอดคลอ้ งกบั บนั ทกึ ความทรงจำ� ของหมอ่ มเจา้ จงจติ รถนอม ดศิ กลุ ทเี่ คยทอดพระเนตรการเลน่ เปน็ พระใน 208
หมเู่ จ้านายเล็ก ๆ ดังความตอนหน่งึ ว่า “ข้าพเจ้าเป็นนักเรียนสุนันทาลัย วันเสาร์จึงจะเข้าไป อยู่ในพระบรมมหาราชวัง วันจันทร์เช้าจึงไปโรงเรียน บาง อาทิตย์ก็กลับไปวังเสด็จพ่อ๒๐ท่ีประตูสามยอด การข้างใน พระบรมมหาราชวงั สมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ๒๑มกั โปรดให้ มีงานและการเล่นเสมอ เช่น โปรดเกล้าฯ ให้ทูลกระหม่อม อษั ฎางค๒์ ๒เสดจ็ ในกรมชยั นาท๒๓กรมหมน่ื พทิ ยลาภ๒๔หม่อม เจ้ามงคลประวัติ หม่อมเจ้าพูนศรีเกษม หม่อมเจ้าปิยบุตร หมอ่ มเจา้ ทองทฆี ายุ หมอ่ มเจา้ วงศน์ ริ ชร หมอ่ มเจา้ วเิ ศษศกั ด์ิ พระเจา้ ลกู เธอพระองค์เจ้าอนสุ รณ์ศริ ิประสาธน์ ครองผา้ เปน็ พระสงฆท์ ุกองค์ แลมีงานตา่ ง ๆ เชน่ กวนข้าวทพิ ย์ เจ้านาย ฝ่ายในที่ยังไว้พระเมาฬี แลหม่อมเจ้าหญิงบางองค์แต่ง พระองคท์ รงเกย้ี ว นงุ่ จบี หม่ ตาดหาบสลากภตั ทท่ี รงแตง่ พระ ต้องสวดมนต์บนพระท่ีนั่งจักรี ท่ีศาลาริมสระสวนศิวาลัย ก็ สวดมนต์ แลตอ้ งสวดไดจ้ รงิ ๆ หมอ่ มเจา้ ทองทฆี ายุ เปน็ องค์ ขัดต�ำนาน พอลืมนึกไม่ออกก็เย่ียมหน้าออกมาจากตาลปัตร ดูว่ามีใครสังเกตเห็นบ้าง เสด็จป้ากรมหลวงสมรรัตน์ กริ้ว ตวาดรับส่ังว่า ประเด๋ียวจะตบหน้าเดี๋ยวน้ี พวกหม่อมเจ้า ตอ้ งกลวั ท่านทั้งน้นั เพราะท่านกรว้ิ เก่ง...” (หมอ่ มเจ้าจงจติ รถนอม ดิศกุล, ๒๕๒๓, หน้า ๗๙) ในบนั ทกึ ความทรงจำ� นี้ ทำ� ใหท้ ราบวา่ การเลน่ เปน็ พระนยี้ งั เลน่ รว่ ม กับพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในท่ียังเป็นเด็ก โดยมีการจ�ำลองพิธีกรรม ศาสนาที่เจ้านายผู้หญิงสามารถมีส่วนร่วมได้ เช่น พิธีกวนข้าวทิพย์ หรือ ๒๐ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. ๒๑ สมเด็จพระศรีพชั รินทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง. ๒๒ สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอษั ฎางค์เดชาวธุ . ๒๓ พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองคเ์ จา้ รงั สิตประยรู ศกั ดิ์. ๒๔ หม่อมเจา้ ธานีนวิ ตั โสณกลุ . 209
ทีส่ �ำคัญคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมน่ื วชริ ญาณ วโรรสยงั ไดป้ ระทานตาลปตั ร ตลอดจนคมั ภรี ใ์ บลานจำ� ลอง นับเป็นการแสดงให้เห็นว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ พระองค์น้ัน ตลอดจนพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ได้ทรงส่งเสรมิ และสนับสนุนการละเล่นเปน็ พระเป็นครงั้ นั้น เฉกเชน่ เดียว กับในคราวที่พระนิกรมมุนี (เบญจวรรณ) ได้ท�ำตาลปัตร จ�ำลองให้แก่สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ เมื่อคร้งั ยังทรง พระเยาว์ พธิ สี ลากภตั นอกจากการเลน่ เปน็ พระในหมเู่ จา้ นายเลก็ ๆ แลว้ ในรชั สมยั พระบาท สมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ยังทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระบรม วงศานุวงศ์ฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชบริพาร เล่นเป็นพระ มีการหัดแสดง พระธรรมเทศนา ดังปรากฏหลักฐานในจดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน รัชกาลที่ ๕ วันเสาร์ ขึ้น ๖ ค่�ำ เดือน ๘ ปีวอก ฉศก จุกศักราช ๑๒๔๖ ตรงกับวนั ที่ ๒๘ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๒๗ ความตอนหน่งึ ว่า “วันน้ีเวลา ๔ ทุ่มโปรดให้มีเทศนม์ หาเวสสันดรชาดก ข้างในที่พระท่ีน่ังบรมราชสถิตมโหฬาร คนที่ถวายเทศน์น้ัน คือ พระองค์จามรี๒๕ และหม่อมเจ้าท้าวนางเถ้าแก่พนักงาน ท้ังนั้น ทรงพระกรุณาโปรดให้หัดขึ้น การท่ีเทศน์นั้นตกแต่ง ธรรมาสนแ์ ละตน้ ไม้โคมไฟ และมีประโคมแตรสงั ข์พิณพาทย์ เหมอื นทม่ี ตี ามธรรมเนยี มขา้ งหนา้ ทพี่ ระสงฆถ์ วายเหมอื นกนั พระราชทานเงนิ บูชากัณฑ์ ๆ ละ ๕ ตำ� ลึง ผ้านุ่งหม่ ทำ� อย่าง ไตรและมีขนมต่าง ๆ ด้วย วันนี้มี ๓ กัณฑ์เพราะเมื่อข้ึน เทศนน์ ั้น ๔ ท่มุ จบยิงปืนสว่างแล้ว” (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ๒๕ พระเจา้ ราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จามรี ภายหลงั ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศท่ี พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ จามรี. 210
๒๔๘๑, หนา้ ๑๑๑) การเล่นเป็นพระของฝ่ายในน้ีมีสืบเนื่องในอีก ๒ วันถัดมา ตรงกับ วนั ท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๒๗ ความตอนหนง่ึ วา่ “เวลาบา่ ย ๔ โมงขา้ งใน มเี ทศนม์ หาเวสนั ตรชาดกผหู้ ญงิ เทศนอ์ กี ” (พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว, ๒๔๘๑, หนา้ ๑๑๕) นอกจากน้ี การเลน่ เป็นพระยังปรากฏในหมรู่ าษฎร ดงั ปรากฏความ ในพระประวตั ขิ องสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณสงั วร เมอ่ื ครง้ั ยังทรงพระเยาว์เติบโตขึ้นมาในชุมชนเมืองกาญจนบุรี ตรงกับในสมัย รัชกาลท่ี ๖ ทรงได้เคยเล่นเป็นพระ ดังปรากฏในหนังสือพระประวัติที่ รองศาสตราจารย์สุเชาวน์ พลอยชุม ซ่ึงเคยเป็นพระครูปลัด๒๖ในสมเด็จ พระสังฆราชเจา้ ฯ พระองค์นนั้ ได้เคยนพิ นธ์ไว้ว่า “เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ทรงมีนิสัยทางพระแสดงออก ต้ังแต่ทรงพระเยาว์ คอื ชอบเลน่ เปน็ พระ ทำ� คมั ภีร์เทศนเ์ ล็ก พัดยศเล็ก (ตามท่ีเห็นคือพัดพระครูของท่านพระครูอดุลย สมณกิจคร้ังนั้น) เก็บหินมาท�ำภูเขา มีถ้�ำ ท�ำเจดีย์เล็กบน ยอดเขา เลน่ ทอดกฐนิ ผา้ ปา่ เลน่ ทงิ้ กระจาด และทำ� รปู ยมบาล เล็กด้วยกระดาษแบบพิธีท้ิงกระจาดท่ีวัดญวน เมื่อทรงเจ็บ ป่วยข้ึน ผู้ใหญ่ต้องน�ำรูปยมบาลไปเผาทิ้งเสียในคราวท่ีป้า ต้องต่ืนแต่เช้ามืดออกไปท�ำงาน ก็ต้องให้เทียนไว้ส�ำหรับจุด นงั่ ดเู ล่น เพราะไม่ยอมนอน” (สเุ ชาวน์ พลอยชมุ , ๒๕๔๑, หนา้ ๖-๗) ดังจะเหน็ ได้ว่า การเล่นเป็นพระทีเ่ กิดข้ึนในหมรู่ าษฎรนี้ กล็ ว้ นมขี ึน้ ตามบริบทสังคมที่เป็นอยู่ โดยเฉพาะในชุมชนที่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณสงั วรทรงเคยพำ� นกั อยเู่ มอ่ื ครงั้ ทรงพระเยาวน์ น้ั มคี วาม หลากหลายทางพุทธศาสนาทั้งเถรวาทและมหายาน การเล่นเป็นพระใน ครั้งนั้นจึงมีการหัดเทศน์และอนุโมทนา และเล่นทอดกฐินผ้าป่าอย่าง พทุ ธศาสนาเถรวาท และมกี ารจำ� ลองพธิ กี รรมทง้ิ กระจาดตามแบบธรรมเนยี ม ๒๖ พระครปู ลัดสมั พพิ ฑั ฒญาณาจารย์ (บญุ ช่วย สชุ วโน) ฐานานกุ รมใน สมเดจ็ พระญาณสังวร. 211
มหายานตามทเ่ี ดก็ ๆ ในชมุ ชนสมัยนั้นไดพ้ บเห็นและเปน็ อยู่ จากหลักฐานท่ีกล่าวมาท้ังหมดน้ี ล้วนสะท้อนภาพการละเล่นของ เด็กไทยในสมัยโบราณ ท่ีมีการเล่นเป็นพระทั้งในส่วนราชส�ำนักและราษฎร ทงั้ ผชู้ ายและผหู้ ญงิ แตกตา่ งกนั ไปตามบรบิ ทของสงั คมทเ่ี ปน็ อยู่ ตลอดจน สะทอ้ นภาพสำ� คญั วา่ แมค้ นไทยในอดตี จกั มองสถานะพระภกิ ษสุ งฆเ์ ปน็ หนง่ึ ในรตั นตรยั ทพี่ งึ เคารพกราบไหว้ หากแตก่ ารเลน่ เปน็ พระกม็ ไิ ดเ้ ปน็ การเลน่ เพื่อความบันเทิงเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการปลูกศรัทธาทางพระพุทธ ศาสนาในหมู่เยาวชนท่ีได้รับการส่งเสริมจากผู้หลักผู้ใหญ่ในสังคมด้วยเป็น อย่างดี 212
รายการอ้างอิง จงจิตรถนอม ดิศกุล, หม่อมเจ้า. (๒๕๒๓). ค�ำปรารภ. ใน พระราชนิพนธ์และพระนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ.์ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๔๘๑).จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาค ๑๗. พระนคร: กรมศลิ ปากร. (สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดใหต้ พี มิ พพ์ ระราชทานในงานพระเมรพุ ระเจา้ บรมวงศ์เธอ พระองค์เจา้ พิศมัยพมิ ลสตั ย์ ณ พระเมรวุ ัดเทพศิรินทราวาส เม่อื วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑). มหาวชริ ณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร, สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ . (๒๕๕๕). จดหมายเหตุ รายวนั ของสมเดจ็ พระราชปติ ลุ าธบิ ดี เจา้ ฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ . (พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖). กรงุ เทพฯ: ศยาม. วชริ ญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา. (๒๔๙๔). พระประวตั ติ รสั เลา่ . พระนคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย. (งานปลงศพ นางเป้า ศรีสมุทโภค วัดมกุฏกษัตริยาราม พระนคร ๒๕ เมษายน ๒๔๙๔). สุเชาวน์ พลอยชุม. (๒๕๔๑). พระเกียรติคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) วดั บวรนเิ วศวิหาร. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลยั . 213
การซ่อมแปลงรูปแบบ พระพุทธรูปนาคปรก ท่ีเมืองลพบุรี กวิฎ ตั้งจรัสวงศ์๑ เมืองลพบุรีมีการพบพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายกลุ่มหนึ่งที่มีการ ลงรักปิดทองในสมัยอยุธยาตอนปลาย จัดเป็นกลุ่มพระพุทธรูปนาคปรก หนิ ทรายศลิ ปะเขมรในประเทศไทย กำ� หนดอายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๙ หรือ สมัยนครวัด สมัยบายน และกลุ่มที่จัดเป็นศิลปะสมัยลพบุรี (ศักด์ิชัย สายสิงห์, ๒๕๕๖, หน้า ๔๓๓) ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ตามท่ีต่าง ๆ เช่น พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ วดั กวศิ ราราม และวดั ตองปุ เป็นต้น ซ่ึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เคยมี พระด�ำรัสถึงพระพุทธรูปนาคปรกที่เมืองลพบุรีกลุ่มนี้ไว้ในหนังสือพุทธ ประวตั ิ เล่ม ๑ วา่ ประตมิ ากรรมกลมุ่ น้ีแต่เดิมนัน้ เปน็ เทวรปู แบบนาคปรก มาก่อนต่อมาได้มีการได้มีการปั้นพอกแล้วลงรักปิดทองใหม่จนมีลักษณะ เปน็ พระพทุ ธรปู นาคปรก ดงั ปรากฏความไว้ดงั น้ี ...ครั้นล่วงเจ็ดวันแล้ว เสดจออกจากร่มไม้อชิปาล นโิ ครธไปยงั ไมจ้ กิ ซงึ่ ไดน้ ามวา่ มจุ ลนิ ท์ อนั ตง้ั อยใู่ นทศิ อาเคนย แห่งพระมหาโพธ์ิ ทรงนั่งเสวยวิมุตติสุขเจ็ดวัน ทรงเปล่ง อุทาน ณะ ที่นั้นว่า ความสงัดเปนสุขของบุคคลผู้มีธรรมได้ สดับแล้ว ยินดีอยู่ในที่สงัด รู้เหนตามเปนอย่างไร ความใม่ เบยี ดเบยี ฬคอื ความสำ� รวมในสตั วท์ งั้ หลาย แลความปราศจาก กำ� หนดั คอื ความลว่ งกามทงั้ หลายเสยี ไดด้ ว้ ยประการทงั้ ปวง เปนสุขในโลก ความน�ำอัสมิมานะคือถือว่าตัวตนให้หมดได้ เปนสขุ อยา่ งยง่ิ ฯ ๑ อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. 215
พระคันถรจนาจารย์แสดงประพฤติเหตุในสถานท่ีนี้ว่า ฝนตกพรำ� เจอื ดว้ ยลมหนาวตลอดเจด็ วนั พระยานาคชอ่ื มจุ ลนิ ทเ์ ขา้ มาวงดว้ ยขนดเจด็ รอบแลแผพ่ งั พานปกพระผมู้ พี ระ ภาคเจา้ เพื่อจะป้องกันฝนแลลมมิให้ถูกพระกาย คร้ันฝน หายแล้วคลายขนดออกจ�ำแลงเพศเปนมาณพมายืนเฝ้าณะ ทเ่ี ฉพาะพระพกั ตร์ พระองค์ได้ทรงเปล่งอทุ านมคี วามดัง กลา่ วแล้วฯ เรื่องนี้เห็นว่าพรรณนาเทียบด้วยปางเทวรูป นาคปรกฯ อันปางนาคปรกนนั้ ไมเ่ ฉพาะมแี ตพ่ ระพทุ ธรปู เทวรปู กม็ ี แลเขา้ ใจว่ามีมาก่อนพระพุทธรูปด้วย พวกท่ี เรียกว่านาคน้ัน น่าจะไดแ้ กพ่ วกทนี่ ับถอื เทวรูปนาคปรกน้ี เอง ยงั ไม่เคยพบตำ� นาน เปนแต่ได้เห็นรูปท่ีท�ำไว้ฯ เทวรูป ชนิดนี้ มีท่ีเทวสถานเมืองลพบุรีเปนอันมาก ท�ำด้วยศิลา องค์ใหญ่ ๆ แต่ปั้นพอกแปลงเปนพระพุทธรูปแลปิดทองฯ ท่ียังไม่ได้แปลงหรือที่รอยปั้นหลุดออกแล้ว แลเห็นเปน เทวรูปเดิมฯ ใม่พบต�ำนานแห่งเทวรปู นาคปรก จะถอด ความใหช้ ดั ไปกว่าน้ใี ม่ถนดั ฯ... (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, ๒๔๕๕, หน้า ๙๓-๙๕) ความคลาดเคลื่อนจากรูปแบบท่ไี มค่ ้นุ เคย พระพุทธรูปนาคปรกท่ีกล่าวถึงในข้อความข้างต้น ท�ำให้ทราบว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส มีพระวินิจฉัยว่า พระพุทธรูปนาคปรกคือการแสดงออกถึงเหตุการณ์ตอนพระพุทธเจ้าเสวย วิมุตติสุขในสัปดาห์ท่ี ๖ ใต้ต้นมุจลินท์ โดยพระพุทธรูปปางนาคปรกนี้ยัง คงสร้างต่อเน่ืองเรื่อยมาในสมัยรัตนโกสินทร์ รูปแบบท่ีแสดงออกจะมี ความคล้ายคลงึ กนั คือ เป็นพระพทุ ธรปู ประทับนง่ั ขดั สมาธิราบ โดยทัว่ ไป แสดงปางสมาธิ ครองจีวรห่มเฉียง ไม่มีการทรงเครื่อง ประทับนั่งบน ขนดนาค เหนือพระเศียรด้านหลังมีเศียรนาคแผ่พังพานปกคลุม เช่น การดัดแปลงพระพุทธรูปโบราณให้เป็นพระพุทธรูปนาคปรกที่พระวิหารทิศ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ในสมัยรัชกาลที่ ๑ การสร้างพระพุทธรูป นาคปรกที่วัดสุทัศนเทพวราราม ในสมัยรัชกาลที่ ๓ รวมท้งั งานจิตรกรรม 216
ใ น ป ร ะ เ ด็ น พ ร ะ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ รู ป น า ค ป ร ก หิ น ท ร า ย ใน เ มื อ ง ล พ บุ รีที่ มี อ า ยุ ร า ว พุทธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๙ เป็นเทวรูปนาคปรกก่อนท่ี จะถูกซ่อมโดยการลงรกั ปิดทองให้มีสถานะใหม่เป็น พระพุทธรูปนาคปรกในสมัยอยุธยาตอนปลายของ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสน้ี คงเกิดจากการรบั รูท้ างด้านรูปแบบงานศิลปกรรม ท่ีไม่คุ้นเคย ฝาผนังที่เขียนภาพพุทธประวัติในเหตุการณ์ตอนน้ี จากลักษณะดังกล่าว แสดงถึงความเข้าใจในรูปแบบพระพุทธรูปปางนาคปรกท่ีคนในสมัย รตั นโกสินทร์รับรูว้ า่ เป็นแบบแผนจนเกดิ ความคุ้นเคยข้นึ มา ในประเด็นพระวินิจฉัยว่าพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายในเมือง ลพบรุ ที มี่ อี ายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗-๑๙ เป็นเทวรูปนาคปรกก่อนที่จะถูก ซ่อมโดยการลงรักปิดทองให้มีสถานะใหม่เป็นพระพุทธรูปนาคปรกในสมัย อยธุ ยาตอนปลายของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสนี้ คงเกิดจากการรับรู้ทางด้านรูปแบบงานศิลปกรรมที่ไม่คุ้นเคย เพราะพุทธ ลักษณะของพระพุทธรูปนาคปรกศิลปะเขมรในประเทศไทยช่วงเวลานี้แตก ต่างไปจากพระพุทธรูปทั่วไปท่ีพระองค์เคยทอดพระเนตรท้ังงานในสมัย รัตนโกสินทร์หรือแม้แต่ในสมัยอยุธยา ความเข้าใจในเรื่องลักษณะของ พระพุทธรูปท่ีแตกต่างอาจน�ำไปสู่ความเข้าใจว่าบุคคลประทับน่ังบนนาคน้ี เปน็ เทวรปู ได้ เพราะเทพเจา้ ในศาสนาพราหมณเ์ องกม็ บี างองคเ์ กยี่ วขอ้ งกบั นาคทสี่ �ำคญั เช่น พระวิษณกุ ป็ ระทบั อยู่บนนาคแตก่ ารแสดงออกโดยทั่วไป แลว้ พระวษิ ณจุ ะอยใู่ นทา่ ทางการบรรทมไมใ่ ชป่ ระทบั นง่ั ประกอบกบั พระวษิ ณุ ในศลิ ปะเขมรเองก็มลี ักษณะเป็นรูปบุคคลทม่ี ีการทรงเคร่อื งดว้ ย พระพุทธรูปนาคปรกในศิลปะเขมรในประเทศไทยบางองค์เป็น พระพทุ ธรปู ทรงเครอื่ งตามแบบศลิ ปะนครวดั ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๗ จาก การทรงกระบังหน้า รัดเกล้าเป็นทรงกรวย กุณฑลเป็นตุ่มทรงสามเหลี่ยม กรองศอเปน็ แผงประดบั พหู่ ้อย (ภาพที่ ๑) ซ่ึงแตกต่างจากพระพุทธรูปทรง 217
ภาพที่ ๑ พระพุทธรูปทรงเครอ่ื งนาคปรก ศิลปะเขมรในประเทศไทย ราวพุทธศตวรรษ ที่ ๑๗ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ ภาพที่ ๒ พระพุทธรปู ทรงเครอื่ งใหญ่ อย่างพระมหาจกั รพรรดิ ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร์ ราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๔ พระอุโบสถวดั นางนอง 218
เคร่ืองในศิลปะอยุธยาและรัตนโกสินทร์ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มพระพุทธรูปทรง เครอ่ื งนอ้ ยและกลมุ่ ทรงเครอ่ื งใหญอ่ ยา่ งพระมหาจกั รพรรดิ เชน่ พระพทุ ธเจา้ ทรงทรมานพระยาชมพบู ดี พระพทุ ธรปู ประธานภายในพระอโุ บสถวดั นางนอง (ภาพที่ ๒) จากความต่างของลกั ษณะเครื่องทรงเมื่อเทยี บกบั ศิลปะเขมรมี หลายประการ ที่เห็นได้ชัดคือพระพุทธรูปทรงเครื่องในศิลปะเขมรจะ สวมรดั เกลา้ และมกี ระบงั หนา้ สว่ นพระพทุ ธรปู ในศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรจ์ ะทรง มงกุฎยอดแหลม อีกท้ังลักษณะพระพุทธรูปนาคปรกในศิลปะเขมรท่ีเมือง ลพบรุ กี ท็ รงเครอื่ งเช่นเดียวกบั เทวรปู ในศลิ ปะเขมรที่อย่ใู นยคุ เดียวกันด้วย พระพทุ ธรปู นาคปรกศลิ ปะเขมรทเ่ี มอื งลพบรุ บี างองค์ ตำ� แหนง่ เหนอื พระเศียรไม่ได้ท�ำเป็นกะโหลกปูดนูนที่เรียกว่า “อุษณีษะ” อันเป็นหนึ่งใน มหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ กลับท�ำรัดเกล้าทรงกรวยท่ีมีลักษณะเป็น วงแหวนซ้อนลดหล่ันกัน และพระเกศาก็ไม่ได้ท�ำเป็นขมวดพระเกศาขด เป็นก้นหอยขนาดเล็ก ปลายแหลม แต่ใช้วิธีการสลักลายเป็นแนวเส้น พระเกศาแทน เช่น พระพุทธรูปนาคปรกตามแบบศิลปะบายน ราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๘ (ภาพท่ี ๓) อีกท้ังในเมืองลพบุรียังพบพระพุทธรูปนาคปรก ท่ีไม่ได้ครองจีวรสังเกตจากการเจาะช่องทะลุระหว่างพระกรกับพระวรกาย ท้ังท่ีโดยท่ัวไปถ้าครองจีวรจะต้องท�ำเป็นแผ่นทึบไม่เจาะทะลุ บางองค์ไม่มี ชายสงั ฆาฏิ หรอื บางองค์ไมไ่ ด้ครองจวี รและสบง แตน่ ุ่งผ้าสมพตสั้นตาม แบบเขมร (ภาพท่ี ๔) การสลักพระพทุ ธรูปให้น่งุ สมพตส้นั นพ้ี บเพยี งไม่ก่ี องค์เทา่ นน้ั จงึ อาจเป็นลกั ษณะงานช่างท้องถิน่ ทนี่ �ำเอาการนงุ่ ผ้าตามแบบ ประตมิ ากรรมบคุ คลทวั่ ไปในศิลปะเขมรมาใชก้ ับการสลักพระพทุ ธรปู ด้วย เหตุดังกล่าวจึงน่าจะเป็นหน่ึงในสาเหตุที่ท�ำให้เกิดความเข้าใจที่คาด เคลื่อนได้ เพราะความคลุมเครือทางด้านรูปแบบดังกล่าว รวมท้ังในช่วง เวลาน้ันสยามคงยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธรูปในศิลปะเขมรมาก นักท�ำให้เกิดความไม่คุ้นเคยว่าประติกรรมบุคคลประทับบนนาคนี้คือรูป 219
ภาพท่ี ๓ พระพุทธรปู นาคปรกหินทราย ศลิ ปะเขมรในประเทศไทย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ ภาพท่ี ๔ พระพทุ ธรปู นาคปรกหินทราย ศิลปะเขมรในประเทศไทย ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ สมเด็จพระนารายณ์ 220
แบบหนึง่ ของพระพทุ ธรปู นาคปรกในศลิ ปะเขมร กรณวี สั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการสรา้ งพระพทุ ธรปู โดยพระพทุ ธรปู นาคปรกศลิ ปะ เขมรท่ีเมืองลพบุรีสลักจากหินทราย ซึ่งเป็นวัสดุเดียวกับที่ใช้สร้างเทวรูป ท้ังท่ีเป็นรูปบุคคลและองค์ศิวลึงค์ ส่วนพระพุทธรูปในสมัยรัตนโกสินทร์ วัสดุที่ใช้ส่วนใหญ่จะท�ำจากโลหะผสมและการก่ออิฐสอปูนก่อนที่จะลงรัก ปิดทอง แต่ถึงกระน้ันวัดในช่วงรัตนโกสินทร์ก็มีพระพุทธรูปหินทราย ประดิษฐานอยู่บ้าง โดยพระพุทธรูปกลุ่มน้ีส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปในสมัย อยุธยา ดังนั้นประเด็นเร่ืองวัสดุจึงอาจจะไม่ใช่สาเหตุหลักของความเข้าใจ ท่ีคาดเคลือ่ นแตน่ ่าจะเป็นเพราะรปู แบบทีไ่ มค่ ้นุ เคย หากกล่าวถึงเมืองลพบุรีตามความเข้าใจของชาวสยามท่ัวไปในช่วง พุทธศตวรรษที่ ๒๕ คงรับรู้ว่าลพบุรีเป็นดินแดนที่เคยมีวัฒนธรรมเขมร รุ่งเรืองมาก่อน เน่ืองจากมีการพบศิลปกรรมมากมายทั้งศาสนสถาน เช่น พระปรางคส์ ามยอด ปรางคแ์ ขก ศาลพระกาฬ รวมทั้งประตมิ ากรรมบคุ คล และพระพุทธรูปตามแบบศิลปะเขมร ความเข้าใจว่ารูปแบบคล้ายคลึงกับ เขมรจะตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ศาสนาพราหมณน์ ค้ี งเปน็ ความเขา้ ใจกอ่ นทสี่ มเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ กับศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ จะเข้ามาท�ำ ก า ร ศึ ก ษ า ง า น ท า ง ด ้ า น โ บ ร า ณ ค ดี จ น มี ก า ร ตี พิ ม พ ์ ห นั ง สื อ ต� ำ น า น พทุ ธเจดยี ส์ ยาม เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ และกำ� หนดงานศลิ ปกรรมประเภทนวี้ า่ “สมยั ลพบรุ ”ี พรอ้ มทง้ั ไดก้ ลา่ วถงึ กลมุ่ พระพทุ ธรปู นาคปรกและพระพทุ ธรปู ทรงเคร่ืองในเมืองลพบุรีไว้ในเบื้องต้นว่า พระพุทธรูปทรงเครื่องและ พระพุทธรูปนาคปรกอาจสัมพันธ์กับการนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๐๓, หน้า ๙๘-๙๙) สว่ นพทุ ธประวตั ิ ภาคที่ ๑ พระนพิ นธข์ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ตีพมิ พค์ รงั้ แรก เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ซงึ่ เกดิ ข้ึน 221
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272