กอ่ นตำ� นานพทุ ธเจดียส์ ยาม ราว ๑๐ ปี การซอ่ มแซมแปลงรูปแบบ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย การพอกปูนและลงรักปิดทองกับพระพุทธรูปนาคปรกหินทราย ศลิ ปะเขมรในเมอื งลพบรุ ี ทชี่ า่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลายซอ่ มแซมมกั ทำ� ตลอด ทงั้ องค์ การลงรกั ทป่ี ดิ ทบั ภายนอกนท้ี ำ� ใหล้ กั ษณะภายนอกเปลย่ี นแปลงไป จากเดิม โดยเฉพาะส่วนพระเศยี รและลักษณะพระพักตร์ เหตุของการซ่อมแซมพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายศิลปะเขมรใน เมืองลพบุรี คงเกิดข้ึนจากการท่ีสมเด็จพระนารายณ์มีพระราชประสงค์ สร้างเมอื งลพบุรใี หก้ ลบั มาส�ำคัญอกี ครง้ั หนึง่ โดยการสร้างพระราชวังและ บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่าง ๆ ในเขตเมืองโบราณ ซึ่งเป็นต�ำแหน่ง เดียวกับที่พบพระพุทธรูปนาคปรกหินทราย ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการน�ำ พระพุทธรูปนาคปรกหินทรายที่ช�ำรุดมาพอกปูนและลงรักปิดทองใหม่ให้ กลับมาอยใู่ นสภาพสมบูรณแ์ ลว้ นำ� ไปประดิษฐานตามวัดต่าง ๆ พระพุทธรูปนาคปรกหินทรายที่ได้รับการพอกรักในชั้นหลัง ท�ำให้ ลักษณะภายนอกเปล่ียนแปลงรูปแบบใหม่กลายเป็นพระพุทธรูปในสมัย อยธุ ยาตอนปลาย สงั เกตไดจ้ ากรปู แบบพระพกั ตรท์ พี่ อกรกั จะมพี ระขนงโกง่ ระหว่างเส้นพระขนงกับขอบพระเนตรเป็นแผ่นป้ายขนาดใหญ่ พระเนตร หลุบต�่ำ หางพระเนตรยกขึ้น (ภาพที่ ๕) ซึ่งถือเป็นลักษณะที่พบในศิลปะ สมัยอยุธยาตอนปลาย เปรียบเทียบได้กับพระพุทธรูปที่ระเบียงคด วัดไชยวัฒนาราม พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่พระประธานในพระอุโบสถ วัดหน้าพระเมรุ ส�ำหรับส่วนพระเศียรช่างได้พอกรักให้ขมวดพระเกศา มีขนาดเลก็ มาก ปลายแหลมคลา้ ยหนามขนุน (ศักด์ิชัย สายสงิ ห์, ๒๕๕๖, หน้า ๔๓๔) บางองค์มีการดัดแปลงส่วนท่ีเป็นรัดเกล้าของพระพุทธรูป นาคปรกหินทรายศิลปะเขมรให้เป็นอุษณีษะโดยการพอกรักเป็นเม็ด พระเกศาปิดทบั สว่ นบนสดุ ทำ� เป็นรัศมรี ูปดอกบวั ตมู เนือ่ งจากสว่ นบนของ รัดเกล้ามเี คา้ โครงคล้ายดอกบวั ตมู จึงไม่สามารถพอกรกั ให้เป็นเปลวรัศมี ตามแบบทน่ี ิยมในศิลปะอยธุ ยาได้ แตถ่ งึ อย่างไรกต็ ามรัศมีรปู ดอกบัวตมู นี้ ไม่เป็นท่ีนิยมในกลุ่มพระพุทธรูปหินทรายศิลปะเขมร ส่วนชายสังฆาฏิ ชา่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลายพอกรกั ตามกรอบของสงั ฆาฏเิ ดมิ ของพระพทุ ธรปู 222
นาคปรกหินทรายศิลปะเขมรแต่มีการพอกช้ันผ้าจากชั้นเดียวเป็น ๒ ช้ัน ที่ส�ำคัญคือ ส่วนปลายของสังฆาฏิแผ่นบนเป็นรูปวงโค้งปลายแหลม (ศักด์ิชัย สายสิงห์, ๒๕๕๖, หน้า ๔๓๔) และส่วนปลายท่ีแต่เดิมปลาย ตดั ตรงกพ็ อกรกั ใหป้ ลายเปน็ ลายเขย้ี วตะขาบตามความนยิ มของชา่ งอยธุ ยา ตอนปลาย (ภาพที่ ๖) เหมือนกับพระพุทธรูปภายในวัดไชยวัฒนาราม ภาพท่ี ๕-๖ พระพุทธรปู นาคปรกหินทราย ศิลปะเขมรในประเทศไทย พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ 223
ทีส่ ร้างขนึ้ ในสมยั ของสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง ช่วงสมัยรัชกาลท่ี ๕ หรืออาจจะก่อนหน้านั้น หากกล่าวถึงภายใน เขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร คงมีการรับรู้เก่ียวกับพระพุทธรูปนาคปรกแบบ ศิลปะเขมรในประเทศไทยที่ได้รับการพอกรักในสมัยอยุธยาให้เห็นอยู่บ้าง เช่น พระพุทธรูปนาคปรก ๔ องค์ ปัจจุบันประดิษฐานภายในองค์เจดีย์ ประธาน วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม พระพุทธรูปกลุม่ นีเ้ ชื่อวา่ อัญเชญิ มา จากเมืองลพบุรี แต่เดิมน้ันประดิษฐานอยู่บริเวณศาลาริมคูเมืองเดิมก่อน จะมีการย้ายมาไว้ในเจดีย์ประธาน พุทธลักษณะที่ปรากฏก�ำหนดอายุราว พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ (ศกั ดิ์ชาย สายสิงห,์ ๒๕๖๓, หนา้ ๑๐๑-๑๐๔) อีกทั้งยังพบว่ามีการซ่อมและพอกรักปิดทับในสมัยอยุธยาตอนปลายเช่น เดียวกับพระพทุ ธรปู นาคปรกในเมืองลพบุรหี ลายองค์ กลุ่มพระพุทธรูปนาคปรกประดิษฐานภายในองค์เจดีย์ประธานน้ี คงมีลักษณะเช่นเดียวกับพระพุทธรูปนาคปรกในเมืองลพบุรีทั่วไปตามท่ี กล่าวมาแล้ว ซึ่งบางองค์อาจท�ำให้เกิดความเข้าใจท่ีคาดเคลื่อนว่าเป็น เทวรูปได้เพราะมีลักษณะไม่เหมือนกับพระพุทธรูปนาคปรกในศิลปะ รัตนโกสินทร์หรืออยุธยา ดังเช่น บางองค์พระวรกายท่อนบนเปลือย ไม่มี การครองจีวร เหนือพระเศียรท�ำเป็นรัดเกล้าทรงกรวยที่เป็นวงแหวนซ้อน กนั เปน็ ชนั้ ๆ แทนการทำ� อษุ ณษี ะและรศั มี บางองคไ์ มท่ รงสบงแตท่ รงผา้ นุง่ แบบสมพตสั้นตามประติมากรรมบุคคลศิลปะเขมร และการพบร่องรอย ของการซ่อมพอกรักในสมัยอยุธยาตอนปลายท�ำให้บางองค์คล้ายคลึงกับ พระพทุ ธรปู นาคปรกในสมยั อยธุ ยา จากกลมุ่ พระพทุ ธรปู นาคปรกวดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมารามนี้เอง น่าจะเป็นอีกกรณีของสาเหตุความเข้าใจที่คาด เคลื่อนทางด้านรูปแบบเพราะลักษณะต้นแบบเดิมแตกต่างกับงานซ่อม พอกรกั อย่างมาก คล้ายคลึงกับการซอ่ มแปลงรูปแบบพระพุทธรูปนาคปรก 224
ท่เี มอื งลพบุรีองคอ์ ่ืน ๆ สรุป กลุ่มพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายท่ีเมืองลพบุรี ซ่ึงจัดอยู่ในศิลปะ เขมรในประเทศไทย ก�ำหนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๙ บางองค์ ได้รับการซ่อมแปลงรูปแบบโดยการลงรักปิดทองในสมัยอยุธยาตอนปลาย ราวสมัยสมเด็จพระนารายณ์นี้ ภายหลังเวลาล่วงเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์ พระพุทธรูปกลุ่มน้ีได้ถูกท้ิงร้างไปนานจนบางองค์รักที่พอกไว้กะเทาะ หลุดออก ทำ� ใหเ้ หน็ รปู แบบเดมิ ทเ่ี ปน็ หนิ ทราย เมอื่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดท้ รงรับรู้เก่ียวกบั ประติมากรรมกลมุ่ นี้ กเ็ กิด ความเข้าใจว่าพระพุทธรูปนาคปรกหินทรายที่เมืองลพบุรีเป็นเทวรูป นาคปรกมากอ่ น เพราะดว้ ยความไมค่ นุ้ เคยในรูปแบบพระพทุ ธรูปในศลิ ปะ รายกรารายอก้างาอรอิง ้างอิง ดำ� รงราชานภุ าพ, สมเดจ็ ฯ กรมพระยา. (๒๕๐๓). ตำ� นานพระพทุ ธเจดยี .์ พระนคร: กรมศลิ ปากร. (ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ มิ พพ์ ระราชทานในงานพระศพ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ ณ พระเมรวุ ดั เทพศริ นิ ทราวาส วนั ท่ี ๒๖ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๓). วชริ ญาณวโรรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา. (๒๔๕๕). พทุ ธประวตั ิ เลม่ ๑. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์บ�ำรุงนุกูลกิจ (พิมพ์โดย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชอุทิศแก่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ (ในรัชกาลที่ ๓) กรมหลวงวรเสฐสุดา พระเมรุท้องสนามหลวง ร.ศ. ๑๓๑). เข้าถึงได้จาก http://adminebook.car.chula.ac.th/viewer/service/111721027183797211 410182115117108481131158266501201031036161/103/2/0/viewer.html ศักด์ิชัย สายสิงห์ และคณะ. (๒๕๖๓). ศิลปกรรมวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม. กรุงเทพฯ: วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม. ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (๒๕๕๖). พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการและความเชื่อ ของคนไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร. 225
ความรบั รเู้ กีย่ วกับสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ในแบบเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ณฐั พงศ์ ลาภบุญทรพั ย๑์ ความน�ำ เป็นที่ทราบกันโดยท่ัวไปว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชริ ญาณวโรรส ทรงมคี ณุ ปู การตอ่ วงการการศกึ ษาไทยอยา่ งมาก กลา่ วคอื การได้มีพระด�ำริให้มีการส่งเสริมการจัดการศึกษาของชาติให้แก่เยาวชน ขึ้นทั่วราชอาณาจักร สอดคล้องกับพระบรมราโชบายทางด้านการศึกษา ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี ๖) ทท่ี รงมงุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาให้แกร่ าษฎรทุกหมู่เหลา่ อนั เปน็ พนื้ ฐานของการพฒั นาประเทศ จงึ เปน็ เรือ่ งนา่ สนใจทีจ่ ะค้นควา้ ตอ่ ไปวา่ ในแบบเรยี นของกลุม่ สาระ การเรียนรู้สังคมศึกษาฯ อันเป็นวิชาท่ีมีพันธกิจโดยตรงในการถ่ายทอด เร่ืองราวของสังคมไทยจากรุ่นสู่รุ่นในสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ในสาระการเรยี นรศู้ าสนา ศลี ธรรม และจรยิ ธรรม หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำ� เนนิ ชวี ติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภมู ศิ าสตรน์ น้ั ได้มีการกล่าวถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสหรือ ไม่ และถ้ามี มีการกล่าวถึงในแง่มมุ ใดใหน้ กั เรยี นไดร้ ับทราบบา้ ง จากการศึกษาแบบเรียนในสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ เบ้ืองต้น พบขอ้ มลู ปรากฏทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณ วโรรส อยูใ่ นสาระศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม และสาระประวัตศิ าสตร์ อนั จะน�ำเสนอข้อมูลพอสังเขปต่อไป ดังนี้ ๑ นักวิชาการอสิ ระ. 227
สาระศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม ในหนงั สอื เรยี นวชิ าพระพทุ ธศาสนา ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์วัฒนาพานิชน้ัน ปรากฏแนวพระด�ำริของสมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสเกยี่ วกบั การวเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั ิ อยใู่ นหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๖: พระไตรปิฎกและพทุ ธศาสนสภุ าษิต เป็นที่เข้าใจกันโดยท่ัวไปในสังคมไทยว่า พุทธประวัติเป็นเรื่องราว พระประวัติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ีประกอบไปด้วยปาฏิหาริย์ มากมาย เนื่องด้วยสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามิใช่มนุษย์สามัญ ดังตัวอย่างเช่น เหตุการณ์การประสูติของเจ้าชายสิทธัตถะท่ีสวนลุมพินีวัน มีปาฏิหาริย์คือเม่ือพระนางสิริมหามายาผู้เป็นพระพุทธมารดาได้มีพระ ประสูติกาลพระกุมารน้ัน ได้มีเทวดาทั้งหลายมารองรับพระกุมาร ลำ� ดบั จากนนั้ พระกมุ ารไดผ้ นิ พระพกั ตรไ์ ปทางทศิ เหนอื และทรงพระดำ� เนนิ ไป ๗ ก้าวและมีดอกบัวมารองรับในทุกก้าวที่ทรงพระด�ำเนินไป เม่ือทรง พระด�ำเนินไปครบ ๗ ก้าวแล้วได้ทรงเปล่งอาสภิวาจา แสดงพระองค์เป็น ผู้เปน็ เลิศ ผปู้ ระเสรฐิ และผู้เป็นใหญ่ ดังนีเ้ ปน็ ตน้ ความรับรูด้ งั กล่าวได้ถกู ถา่ ยทอดผา่ นวชิ าพระพทุ ธศาสนาโดยครผู สู้ อน หรอื พระวทิ ยากรทรี่ บั นิมนต์ ไปบรรยายตามสถานศึกษาต่าง ๆ และด้วยเหตุที่เรื่องราวดังกล่าวเป็น เร่ืองราวเกี่ยวกับพุทธประวัติอันสัมพันธ์โดยตรงกับสมเด็จพระสัมมาสัม พทุ ธเจา้ ผเู้ ปน็ พระบรมศาสดา จงึ ทำ� ใหผ้ ทู้ ม่ี คี วามคลางแคลงใจในปาฏิหารยิ ์ เหลา่ นี้โต้แย้งไดย้ าก สง่ิ ทีเ่ กดิ ขึ้นนีข้ ดั แยง้ กับหลกั การทางพระพุทธศาสนา ทหี่ ลักสูตรพยายามสรา้ งความเข้าใจวา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาท่ีมีหลกั การอันเป็นความจริงซึ่งพิสูจน์ได้ และศรัทธาในพระพุทธศาสนาต้องเป็น ศรทั ธาทปี่ ระกอบด้วยปัญญาเท่านั้น ในหนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนา ส�ำนักพิมพ์วัฒนาพานิชระบุ แนวพระด�ำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเกย่ี ว กับเร่ืองน้ีเอาไว้ ในหัวข้อเร่ืองวิธีการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกและคัมภีร์ รองอนื่ ๆ โดยแสดงใหน้ กั เรยี นเหน็ วา่ วธิ กี ารหนง่ึ ในการศกึ ษาพระไตรปฎิ ก และคัมภีร์อื่น ๆ นั้น นักเรียนอาจใช้วิธีการอ่านเพ่ือประมวลค�ำตอบที่ หลากหลายในประเดน็ เดยี วกนั สำ� หรบั กรณพี ทุ ธประวตั ติ อนประสตู ิ นกั เรยี น อาจใช้วิธีการศึกษาว่าส่ิงใดปรากฏอยู่ในพระสูตรหรือพุทธประวัติที่ พระพุทธองค์ตรัสเล่า หรือปรากฏในคัมภีร์อรรถกถา ซ่ึงเป็นคัมภีร์ช้ันรอง ลงมา เช่น การมีดอกบัวผุดข้ึนมารองรับพระบาทน้ันเป็นเรื่องที่ปรากฏใน อรรถกถา แตไ่ ม่ปรากฏในพทุ ธด�ำรสั ท่ีตรสั เล่า และไดอ้ ธบิ ายต่อไปว่า เมื่อ นักเรียนสามารถแยกพุทธประวัติส่วนท่ีเป็นพุทธดำ� รัสและเร่ืองที่ผูกข้ึนเพ่ิม เติมให้คัมภีร์ช้ันหลังได้แล้ว ก็ควรจะศึกษาต่อไปว่า พุทธประวัติที่มีการ 228
แต่งขึ้นเพ่ิมเติมน้ันมีค�ำอธิบายไว้อย่างไร และได้ยกตัวอย่างแนวพระด�ำริ ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส มาประกอบ ดังนี้ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงอธิบายวา่ ไมใ่ ช่เร่ืองทเ่ี กดิ ขึน้ จรงิ หากแต่เป็นสัญลักษณ์ หรอื บพุ นมิ ติ การทเ่ี ทวดามารบั แสดงวา่ พระกมุ ารจะไดร้ บั การยอมรบั จากเจา้ ลทั ธทิ มี่ ชี อื่ เสยี ง เชน่ อาฬารดาบสและอทุ กดาบส การทที่ รงยนื ผนิ พระพกั ตรไ์ ปทางทศิ เหนอื แสดงวา่ จะ ทรงอยเู่ หนอื หรอื เอาชนะความเหน็ ผดิ ตา่ ง ๆ ทมี่ ใี นยคุ นน้ั การทท่ี รงชพู ระดรรชนี (นว้ิ ) ขนึ้ ฟา้ แลว้ เปลง่ วาจาแสดงวา่ จะไดป้ ระกาศสจั ธรรมทตี่ รสั รแู้ กช่ าวโลก การท่เี สด็จดำ� เนนิ ได้ ๗ ก้าวแสดงว่า จะทรงประกาศ พระศาสนาใหแ้ พรห่ ลายใน ๗ แควน้ (ธีระพงษ์ มีไธสง และคณะ, ๒๕๕๘, หนา้ ๑๓๒-๑๓๓) จึงแสดงให้เหน็ ว่า นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลายมโี อกาส ไดร้ บั รแู้ นวพระดำ� รขิ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เกี่ยวกับการตีความพุทธประวัติผ่านค�ำอธิบายในหนังสือเรียนดังกล่าว ซึ่งสะท้อนภาพของการท่ีทรงศึกษาและทรงท�ำความเข้าใจพุทธประวัติใน ฐานะวรรณกรรมและในฐานะชวี ประวตั บิ คุ คลไดใ้ นระดบั หนง่ึ อยา่ งไรก็ตาม ข้อสงั เกตกค็ อื แนวพระด�ำริน้ีไม่ไดป้ รากฏอย่ใู นเนอื้ หาเก่ียวกบั พทุ ธประวตั ิ โดยตรง แตไ่ ปปรากฏอยเู่ ปน็ เพยี งกรณศี ึกษาทย่ี กตัวอยา่ งขน้ึ ในเนือ้ หาบท อื่น ๆ จึงควรตั้งค�ำถามว่า นักเรียนจะได้เอาใจใส่เก่ียวกับเน้ือหาส่วนนี้ หรือไม่ มากน้อยเพียงใด และครูผู้สอนได้ให้ความส�ำคัญกับแนวพระด�ำริ เช่นนี้หรือไม่ เนื่องจากมีเน้ือหาปรากฏอยู่เป็นส่วนน้อยมากเมื่อเทียบกับ ปริมาณเนื้อหาวิชาทั้งหมดซ่ึงผู้เขียนเห็นว่ามีมากเกินสมดุลกับจ�ำนวน ชวั่ โมงเรยี นทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั นอกจากน้ี แนวพระดำ� รใิ นลกั ษณะนย้ี งั ไมไ่ ด้ ปรากฏอยใู่ นหนงั สอื เรยี นวชิ าพระพทุ ธศาสนาในทกุ สำ� นกั พมิ พ์ จงึ อาจสรปุ ได้ในเบื้องตน้ ว่า แม้จะมีแนวพระด�ำริเชน่ น้ีปรากฏอยูใ่ นหนงั สอื เรยี น แต่ก็ เป็นสว่ นนอ้ ยมาก และนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลายสว่ นใหญน่ ่า จะมีโอกาสไดร้ บั รู้เรอื่ งราวเหลา่ นนี้ อ้ ย หรืออาจจะไม่ไดร้ ับรเู้ ลย 229
... การพิจารณาความเป็นไปของส่ิงต่าง ๆ ด้วยเหตุด้วยผลน้ันเป็นหลักการส�ำคัญของพระพุทธ ศาสนาท่ีสอนให้ผู้คนมีศรัทธาที่ประกอบด้ วย ปัญญาก�ำกับ เพราะฉะนั้นหากครูผ้สู อนและผเู้ ขียน ต� ำ ร า ไ ด้ น้ อ ม น� ำ เอ า แน ว พ ร ะ ด� ำ ริข อ ง ส ม เ ด็ จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสมา ประยุกต์ใช้ ก็จะเกิดประโยชน์แก่การเรยี นการสอน วิชานี้ข้ึนมาก เพราะจะท�ำให้นักเรยี นเข้าใจหลักวิชา พระพทุ ธศาสนาทีแ่ ทจ้ รงิ ได้มากขนึ้ สาระประวตั ิศาสตร์ ในหนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทย จัดพิมพ์โดยส�ำนักพิมพ์ อกั ษรเจรญิ ทัศน์ ปรากฏเรอ่ื งราวของสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชริ ญาณวโรรสอยใู่ นหน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๔: ผลงานของบุคคลส�ำคญั ใน การสรา้ งสรรคช์ าตไิ ทย พระประวตั ขิ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชิรญาณวโรรสเป็นส่วนหนึ่งของหัวข้อที่ ๒: พระบรมวงศานุวงศ์ท่ีมี บทบาทในการสรา้ งสรรค์ชาตไิ ทย เน้ือความในหนังสือเรียน (ณรงค์ พ่วงพิศ และวุฒิชัย มูลศิลป์, ๒๕๕๓, หนา้ ๑๑๔-๑๑๖) เรม่ิ ตน้ กลา่ วถงึ พระประวตั ขิ องสมเดจ็ พระมหา สมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสวา่ พระองคเ์ ปน็ พระราชโอรสในพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ลำ� ดบั ถดั จากนนั้ ไดก้ ลา่ วถงึ พระกรณยี กจิ ที่ เก่ียวข้องกับการศึกษาและประวัติศาสตร์ ส�ำหรับพระกรณียกิจท่ีเกี่ยวข้อง กับการศึกษานั้น เร่ิมต้นขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลที่ ๕) หนงั สอื เรยี นกลา่ ววา่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกการศึกษาหัวเมืองออกจาก กรมศกึ ษาธกิ าร และกลา่ วถงึ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณ วโรรสไว้ว่า “... สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซ่ึงขณะน้ันทรงมีบทบาทส�ำคัญในการศึกษาธรรมะของพระภิกษุสงฆ์จึง ตอ้ งทรงรบั พระภาระหนา้ ทอ่ี ำ� นวยการใหพ้ ระภกิ ษสุ งฆร์ บั ภาระในการอบรม สงั่ สอนกลุ บตุ รใหต้ งั้ อยใู่ นพระธรรมคำ� สงั่ สอนในพระพทุ ธศาสนา ...” 230
และเนื่องจากภิกษุสงฆ์ในหัวเมืองเป็นผู้ท่ีมีบทบาทโดยตรงในการ จดั การศกึ ษาเนอ่ื งจากมคี วามใกลช้ ดิ กบั ราษฎรในทอ้ งถนิ่ และตอ้ งมคี วาม สามารถในการจัดการการศึกษาให้เกิดข้ึน จึงปรากฏว่า “... สมเด็จ พระมหาสมณเจา้ ฯ ไดท้ รงแตง่ ตง้ั พระราชาคณะไปเปน็ ผอู้ ำ� นวยการออกไป ตรวจสอบการดำ� เนนิ งานของคณะสงฆ์ พรอ้ มทงั้ แนะนำ� พระสงฆแ์ ละฆราวาส ให้จัดตั้งโรงเรียนขึน้ ใหม่ในตำ� บลตา่ ง ๆ เท่าที่สามารถจะทำ� ได้ นอกจากนี้ ยังได้มีการส่งภิกษุสามเณรให้ได้เข้ามาศึกษาต่อในกรุงเทพฯ เพื่อจะได้ กลับไปเปน็ ครตู ่อไปอีกดว้ ย ...” พระกรณียกิจทางด้านศึกษาต่าง ๆ ส่งผลให้ “... การจัดการศึกษา ในหวั เมอื งภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชิรญาณวโรรสในขณะนั้น ปรากฏว่ามีความเจริญก้าวหน้ามาก มีจ�ำนวน โรงเรยี น ครอู าจารย์ และนักเรยี นเพม่ิ จำ� นวนมากขึน้ กวา่ เดิม” พร้อมกันน้ี ในหนังสือเรียนยังได้กล่าวถึงพระกรณียกิจของสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสท่ีทรงมีต่อการศึกษา ประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยได้กล่าวถึงพระนิพนธ์เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ของไทยของพระองค์เอาไวว้ า่ ... พระองค์ได้ทรงศึกษาค้นคว้าวิชาการทางด้าน ประวัติศาสตร์ ดังจะเห็นได้จากพระนิพนธ์ประวัติศาสตร์ ท่ีปรากฏออกมาอย่างแพร่หลาย เช่น พงศาวดารสยาม ต�ำนานประเทศไทย หัวข้อในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า หมายเหตุพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ข้อความในต�ำนาน เมืองเชียงแสน เป็นต้น และยังมีงานพระนิพนธ์แปลจาก หนังสอื ต่างประเทศอีกหลายเลม่ เช่น ตำ� นานประเทศสยาม เปน็ ตน้ ผลงานนพิ นธท์ างดา้ นประวตั ศิ าสตรไ์ ทยของพระองค์ ในยคุ ทไ่ี ทยกำ� ลงั เผชญิ กบั การลา่ อาณานคิ มของชาตติ ะวนั ตก ขณะนนั้ ไดก้ ระตนุ้ ใหค้ นไทยไดร้ จู้ กั ความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย และเกิดความหวงแหนประเทศชาตมิ ากข้นึ ... (ณรงค์ พว่ งพศิ และวฒุ ชิ ยั มลู ศลิ ป,์ ๒๕๕๓, หนา้ ๑๑๔-๑๑๖) 231
และได้ให้บทสรุปเกี่ยวกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชริ ญาณวโรรสแกผ่ อู้ า่ นวา่ “... บทบาทตา่ ง ๆ ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรสท่ีมีต่อคณะสงฆ์ไทย การจัดการศึกษาของชาติ ในหวั เมือง และแวดวงวชิ าการทางดา้ นประวัติศาสตรข์ องชาตไิ ทย ท�ำให้มี ความเจริญก้าวหน้าในหมู่คณะสงฆ์ไทย การศึกษาของชาติ และวิชาการ ประวัติศาสตร์ไทย และเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองมาจนกระท่ัง ทุกวนั น้ี ...” จะเห็นได้ว่าหนังสือเรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยของส�ำนักพิมพ์ อักษรเจริญทัศน์ ได้สรุปความเก่ียวกับพระประวัติและพระกรณียกิจของ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเอาไว้พอสมควร โดย เน้นที่บทบาทด้านการศึกษาและประวัติศาสตร์ ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับชีวิต ของนักเรียนและเนื้อหาวิชาประวัติศาสตร์โดยตรง อย่างไรก็ตามหนังสือ เรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยของหลายส�ำนักพิมพ์กลับไม่ปรากฏเรื่องราว ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสในฐานะของบคุ คล ส�ำคัญ ด้วยเหตุนี้จึงสรุปได้ว่า น่าจะมีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลายท่ีใช้หนังสือเรียนของส�ำนักพิมพ์ที่มีเน้ือหาดังกล่าวอยู่เท่าน้ันท่ีมี โอกาสไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จากตำ� ราเรยี น ทง้ั น้ี หนงั สอื เรยี นวชิ าประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ของสำ� นกั พมิ พว์ ฒั นาพานชิ ไดก้ ล่าวถึงสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ในฐานะที่ ทรงเป็นบุคคลส�ำคัญในประวัติศาสตร์ไทยด้วย โดยมีใจความในลักษณะ คลา้ ยคลึงกบั ท่ียกตัวอยา่ งไวข้ า้ งตน้ จึงไมข่ อกลา่ วซำ้� ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เรื่องราวของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ในหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปรากฏอยใู่ น ๒ สาระการเรยี นรู้ คอื สาระศาสนา ศลี ธรรม และจริยธรรม และสาระประวัติศาสตร์ โดยปรากฏอยู่ในหนังสือเรียนที่จัดท�ำโดยบาง สำ� นักพิมพเ์ ท่านนั้ การเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน พบปัญหาที่ส�ำคัญ คือการที่นักเรียนจะต้องท่องจ�ำหลักธรรมจ�ำนวนมาก และวิธีการสอนของ ครูอาจารย์ขัดแย้งกับหลักพระพุทธศาสนา เป็นต้นว่าสอนให้นักเรียนเช่ือ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ใ์ นพทุ ธประวตั โิ ดยไมม่ ขี อ้ สงสยั ปฏเิ สธการ ตั้งค�ำถามต่อเร่ืองราวในพุทธประวัติโดยอ้างว่าเป็นท�ำลายศรัทธาและดู 232
หมิ่นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท้ังที่แนวพระด�ำริของสมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเมื่อราว ๑๐๐ ปีก่อนก็ได้ระบุไว้ชัด ถึงท่ีมาที่ไปของการปรากฏอยู่ของปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ในพุทธประวัติ พร้อม กันนี้ยังได้ทรงแสดงเหตุผลเอาไว้อย่างเป็นล�ำดับข้ันด้วย ซึ่งการพิจารณา ความเป็นไปของส่ิงต่าง ๆ ด้วยเหตุด้วยผลน้ันเป็นหลักการส�ำคัญของ พระพุทธศาสนาท่ีสอนให้ผู้คนมีศรัทธาท่ีประกอบด้วยปัญญาก�ำกับ เพราะ ฉะนั้นหากครูผู้สอนและผู้เขียนต�ำราได้น้อมน�ำเอาแนวพระด�ำริของสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสมาประยุกต์ใช้ ก็จะเกิด ประโยชน์แก่การเรียนการสอนวิชานี้ขึ้นมาก เพราะจะท�ำให้นักเรียนเข้าใจ หลกั วชิ าพระพทุ ธศาสนาท่แี ทจ้ รงิ ไดม้ ากข้นึ สำ� หรบั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรโ์ ดยพนื้ ฐานนน้ั มกั เปน็ การ เรยี นประวัติศาสตร์โดยล�ำดับรชั กาล (Timeline) ซ่งึ ถือวา่ งา่ ยและสะดวก ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ แต่การเรียนประวัติศาสตร์โดยวิธีนี้มีข้อจ�ำกัด ก็คือการเน้นความเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของบ้านเมืองในส่วนที่ สอดคล้องกับองค์พระมหากษัตริย์ จนอาจท�ำให้องคาพยพอ่ืน ๆ เช่น พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง หรือสามัญชนท่ีมีบทบาทในการขับเคลื่อน สังคมนั้นถูกลดทอนความส�ำคัญลงไป ส�ำหรับเนื้อหาเกี่ยวกับการต้ังต้น พัฒนาการศึกษาของไทยในความรับรู้ผ่านวิชาประวัติศาสตร์ไทยนั้น จะถือ เป็นพระราชกรณียกิจส�ำคัญของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๕) และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๖) แต่วิชาประวัติศาสตร์หรือผู้สอนอาจไม่ได้เน้นถึงองค์ประกอบของ คณะบุคคลท่ขี ับเคลอ่ื นแนวพระบรมราโชบายดังกล่าวใหส้ ัมฤทธ์ผิ ล ดงั นัน้ เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงแนวพระด�ำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเก่ียวกับการศึกษา และเพ่ือให้นักเรียนได้เห็น ถึงความคิดของชนช้ันน�ำในสมัยน้ันว่ามีวิสัยทัศน์ทางการศึกษาเช่นไร เพ่ือเป็นพ้ืนฐานความรู้ส�ำหรับการวิเคราะห์สภาวะของการศึกษาไทยใน ปัจจุบันว่าเป็นไปตามความตั้งใจของผู้วางรากฐานการศึกษามากน้อย เพียงใด จึงควรให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวพระด�ำริของสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเกี่ยวกับการศึกษามากข้ึน โดยอาจจัดให้อยู่ในเน้ือหาส่วนที่เก่ียวข้องกับพัฒนาการด้านสังคมและ วฒั นธรรมไทย ด้วยเหตทุ ่ที รงเปน็ ผู้ทรงไวซ้ ึง่ คณุ ปู การตอ่ การวางรากฐาน การศกึ ษาของชาติ ดงั ท่ปี ระจักษ์แกส่ ังคมไทยและสงั คมโลกอยู่แล้ว 233
รายการอ้างอิง ณรงค์ พ่วงพิศ และวุฒิชัย มูลศิลป์. (๒๕๕๓). ประวัติศาสตร์ไทย ม. ๔-๖. กรุงเทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น.์ ธรี ะพงษ์ มไี ธสง และคณะ. (๒๕๕๘). พระพทุ ธศาสนา ม. ๔-๖. กรุงเทพฯ: วฒั นาพานชิ . ไพฑรู ย์ มีกศุ ล และคณะ. (๒๕๕๘). ประวตั ิศาสตรไ์ ทย ม. ๔-๖. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. (๒๕๕๑). ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dm Ue5Z202Wmw5S1dvOGM/view?resourcekey=0-5dzEmHF7yips PKfkZShqjw 234
คณะสงฆส์ รา้ งชาติ ปฐม ตาคะนานนั ท๑์ สยามประเทศในชว่ งตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ ไดเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง โครงสร้างภายในรัฐคร้ังใหญ่ ทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง ลักษณะ ทางเศรษฐกิจ และสภาพทางสังคม ท้ังน้ีเป็นผลมาจากกระแสของบริบท โลกในขณะนั้น ทั้งนี้เกิดจากปัจจัยจากภายนอกท่ีส่งต่อการเปลี่ยนแปลง ของรฐั สยาม กล่าวคอื จากการล่าอาณานคิ มจากชาติตะวันตกยงั ดินแดน ต่าง ๆ ท่ัวโลก รวมถึงดินแดนของรัฐสยามด้วยท่ีได้รับผลกระทบ ดังน้ัน จึงเป็นเหตุให้ชนช้ันน�ำสยามต้องพยายามรักษาสถานะของตนไว้ให้ได้ โดยการปรบั ปรงุ และพฒั นาประเทศ นนั่ คอื การสรา้ งรฐั สมยั ใหมแ่ ทนรปู แบบ รฐั จารตี โดยสยามประเทศไดพ้ ฒั นาประเทศใหม้ คี วามทนั สมยั แบบตะวนั ตก ในหลายๆ ด้าน จึงอาจกลา่ วไดว้ ่าเป็นการสร้าง “ชาติ” แบบใหมข่ ึ้น ส�ำหรับกระบวนการสร้างชาติและรัฐสมัยใหม่ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดังเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นจุดเปล่ียนที่ ส�ำคัญในประวัติศาสตร์ของชาติไทย ซ่ึงเป็นการท�ำให้สยามพัฒนาจาก อดีตน้ัน บุคคลที่มีบทบาทส�ำคัญต่อกระบวนการสร้างชาติคือสมเด็จ พระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ผู้ซึ่งเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ ในรัชกาลที่ ๕ และยังทรงด�ำรงสถานะ “พระสงฆ์” พระองค์ทรงมี พระกรณียกิจส�ำคัญหลายประการตลอดสองรัชกาลท่ีทรงด�ำรงพระชนม์ชีพ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการวางโครงสร้างของรัฐรูปแบบใหม่ ตลอดจนการ ปรับปรุงและพัฒนาจากที่ทรงได้ริเริ่มไว้ ทั้งด้านการเชิดชูพระเกียรติคุณ ของพระมหากษตั รยิ ์ ในฐานะประมขุ ของชาติ การวางรากฐานของพทุ ธศาสนา แบบใหม่ท่ีเน้นด้านมนุษยนิยมที่เน้นความเป็นเหตุเป็นผล การจัดระบบ การศกึ ษาทางโลกและทางธรรม ฯลฯ เหลา่ นซ้ี งึ่ ไดส้ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลง และการพฒั นาของรฐั สยามจวบจนกระทง่ั ปจั จุบัน จากการสรา้ งชาตไิ ทยโดยบทบาททส่ี มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยา วชริ ญาณวโรรสทรงมบี ทบาทจงึ สามารถแบ่งเป็นบทบาทส�ำคัญได้ ๓ ด้าน คือ ๑ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาประวตั ศิ าสตร ์ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง 237
บทบาททางด้านการศกึ ษา ในกระบวนการสร้างชาติและรัฐสยามสมัยใหม่ข้ึนมานั้น การศึกษา เล่าเรียนถือเป็นภารกิจที่ส�ำคัญของการสร้างชาติข้ึนมาให้ลุล่วง ทั้งน้ี พระกรณียกิจทางด้านการศึกษาที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชิรญาณวโรรสทรงมีบทบาทกค็ ือทรงเปน็ ผวู้ างรากฐานการศึกษา ทรงจัด ระบบการศกึ ษาแบบสมยั ใหมข่ องรฐั สยาม โดยจดั ใหม้ กี ารศกึ ษาภาคบังคบั ท่ีก�ำหนดให้พระสงฆ์ตลอดจนเยาวชนของชาติต้องเข้ารับการศึกษาที่รัฐ ก�ำหนดข้ึน โดยเป็นหลักสูตรที่จัดการเรียน การสอน และการสอบ แบบเดียวกันในพระราชอาณาจักร สาระส�ำคัญท่ีผู้ปกครองรัฐต้องการคือ ปรารถนาให้ผู้เข้ารับการศึกษาพึงรู้และเห็นความส�ำคัญของสถาบันหลัก ของชาติทั้งสามคือ “ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์” ว่าสถาบันเหล่านี้ คือปัจจัยส�ำคัญต่อการด�ำรงอยู่ของรัฐสยาม ที่พลเมืองของรัฐทั้งหลาย ต้องให้ความเคารพนับถือและปฏิบัติตนเองตามหน้าท่ีของศาสนิกชนและ พลเมืองท่ีดีตามสถานะของตนอันจะเป็นการน�ำพาประเทศให้เจริญและสืบ ต่อไปได้ ขณะที่ประเทศรอบข้างสยามต้องตกเป็นประเทศอาณานิคมของ ตะวนั ตกโดยทง้ั หมด นอกจากนปี้ ระเดน็ สำ� คญั ของการจดั การศกึ ษา แ บ บ แ ผ น สมยั ใหมก่ เ็ พอื่ แกป้ ญั หาความไม่ “ศรีวไิ ล” ของรัฐสยาม นำ� พาความเจรญิ มาสบู่ ้านเมือง บทบาททางด้านวฒั นธรรม ในการสร้างชาติแบบสมัยใหม่ข้ึนให้ส�ำเร็จ ลักษณะส�ำคัญคือการที่ ท�ำให้คนในชาตินั้นมีจิตส�ำนึกร่วมกันถึงการมีอยู่ของชาติ โดยการท�ำให้ มีวัฒนธรรมแห่งชาติร่วมกัน ในที่นี้สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยา วชริ ญาณวโรรสทรงมบี ทบาทของการสรา้ งสำ� นกึ แหง่ ชาตผิ า่ นทางวฒั นธรรม ทมี่ าจากพนื้ ฐานของความร้ทู างพระพทุ ธศาสนาและการจดั ระบบการศกึ ษา ที่ทรงด�ำริให้มีขึ้น จะเห็นได้ว่าทรงสร้างวัฒนธรรมแห่งชาติข้ึนโดยมี พระพุทธศานาเป็นแกนหลัก เป็นวัฒนธรรมแห่งชาติที่ท�ำให้พุทธศาสนา สัมพันธ์ต่อท้ังเร่ืองของ “องค์ความรู้” และเป็นสิ่งท่ีสัมพันธ์กับวิถีทาง วฒั นธรรมของคนไทยในชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งแนบแนน่ ดว้ ยเพราะการศกึ ษา ในสังคมไทยกระท�ำผ่านการศึกษาจากปัจจัยทางพุทธศาสนา ท้ังที่เป็น สถานศึกษาโดยมีวัดเป็นศูนย์กลางและมีพระสงฆ์ท�ำหน้าท่ีเป็นครูผู้สอน วัฒนธรรมทางความรู้ที่พระองค์ทรงส่งผ่านระบบการศึกษานี้จะกลายเป็น วัฒนธรรมของคนภายในชาติท่ีมีร่วมกัน โดยเป็นการเน้นย�้ำให้ประชาชน ทงั้ หลายตงั้ มนั่ อยใู่ นศลี ธรรม จรยิ ธรรม ความมวี นิ ยั และหนา้ ทขี่ องพลเมอื ง 238
ท่มี ตี อ่ ชาตติ ามหลกั คำ� สอนทางพุทธศาสนา บทบาททางด้านสงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงสนพระทัย ตอ่ ความรูท้ หี่ ลากหลายและเปน็ สากล หรือกล่าวอีกอีกนัยคอื ทรงมคี วาม สนพระทยั ความรทู้ เ่ี ปน็ สหสาขาวชิ า โดยเฉพาะความรทู้ างดา้ นสงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ท้ังนี้ ด้วยความท่ีทรงเป็นผู้ที่รักในความรู้ บทบาท ดั่งกล่าวจึงปรากฏในงานพระนิพนธ์ท้ังท่ีได้รับการตีพิมพ์และท่ีเป็น ลายพระหตั ถ์ ทง้ั ทางดา้ นประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี รฐั ศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ท้ังภาษาตะวันตกและภาษาตะวันออก ท้ังที่เป็นภาษาโบราณและภาษา ร่วมสมยั ดงั ทปี่ รากฏในงานพระนพิ นธต์ ามวาระตา่ งๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ งานพระนิพนธ์ทางด้านพุทธศาสตร์ศึกษา พุทธประวัติศาสตร์ ที่ได้ทรง ริเริ่มไว้จ�ำนวนมาก และมีบทบาทส�ำคัญต่อการศึกษพระพุทธศาสนาของ ประเทศไทยจนถงึ ปจั จบุ ัน ลักษณะส�ำคญั ของศาสตรท์ างสงั คมศาสตรแ์ ละ มนุษย์ศาสตท่ีทรงมีบทบาทนั้น โดยเฉพาะความรู้แบบบูรพาคดีศึกษาซ่ึง เป็นกระแสความรู้ท่ีได้รับความสนใจในระดับนานาชาติขณะน้ันยังเป็นที่ สนพระทัยเป็นการส่วนพระองค์ ยังพบว่าสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสได้น�ำความรู้ที่เป็นสากลดังกล่าวก�ำหนดไว้ใน การศกึ ษาภาคบงั คบั อกี ดว้ ย หากกลา่ วในภาษาปจั จบุ นั นค่ี อื การบรู ณาการ ทางความรู้ โดยทรงน�ำเร่ืองท่ีทรงสนพระทัย ซึ่งเป็นความรู้ในระดับสากล แล้วทรงถ่ายทอดเป็นงานพระนิพนธ์ แล้วบรรจุในหลักสูตรให้กุลบุตร ของชาติได้มโี อกาสศกึ ษาเล่าเรยี น สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสกบั บทบาท ในเวทีโลก (Global Impact) หากจะกล่าวว่า ด้วยสาเหตุใดท่ีจะท�ำให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งกลาย เป็นคนส�ำคัญของโลก หรือประเทศใดประเทศหนึ่งขึ้นมาได้นั้น ค�ำตอบ และค�ำอธิบายท่ีผ่านมา เราท่านมักจะคุ้นเคยต่อการกล่าวถึง “มหาบุรุษ” ในทางการเมือง วีรบุรุษ หรือวีรสตรี นักประดิษฐ์ เป็นต้น ท่ีผลงานเป็น ประจักษพ์ ยานท่พี ิสจู นถ์ ึงคุณปู การของบคุ คลเหลา่ นน้ั เปน็ เครื่องยนื ยันวา่ สงิ่ ที่ไดก้ ระทำ� มาสง่ อทิ ธิพลต่อสากลโลก โดยทที่ า่ นเหล่านน้ั อาจจะไมล่ ว่ งรู้ ถงึ คณุ ประโยชนจ์ ากการกระทำ� ของตนว่าจะส่งผลในระดบั ใด บุคคลเหล่าน้ี 239
อาจเรียกได้ว่าเป็นบุคคลต้นแบบแห่งศตรรษ เป็นผู้ท่ีฝากผลงานแก่โลกนี้ แมก้ ายสงั ขารจะลับล่วงไป ทง้ั น้ี เม่อื พิจารณาถึงบคุ คลในประวัติศาสตร์ไทยที่ไดช้ อ่ื ว่าเป็นผทู้ มี่ ี บทบาทส�ำคัญไม่เฉพาะต่อสังคมไทย หากยังมีความส�ำคัญในระดับสากล กลา่ วไดว้ า่ พระนามของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงเป็นบุคคลหน่งึ ทง้ั น้ี ด้วยทรงประกอบพระกรณยี กจิ หลายด้านที่สง่ ผล ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของรฐั สยาม และไดส้ ง่ บทบาทสำ� คญั ในระดบั สากลดว้ ย ทง้ั จากงานพระนิพนธท์ ม่ี ีอยู่เปน็ จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะพระนพิ นธ์ทางด้าน พระพุทธศาสนา ประกอบกับพระกรณยี กิจต่างๆ ทที่ รงกระทำ� ตามหน้าทท่ี ี่ ไดร้ บั โปรดเกล้าฯ จากพระประมุขของรัฐสยาม ซงึ่ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสทรงปฏิบตั ิในราชการถงึ สามรชั สมยั คอื ระหว่าง รัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลที่ ๗ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ประวัติศาสตร์ไทยต้องเผชิญ กับการเปลี่ยนแปลงนานาประการ โดยเฉพาะการเข้ามาของมหาอ�ำนาจ ชาตติ ะวนั ตกทแ่ี ผอ่ ำ� นาจยงั ดนิ แดนตา่ งๆ รวมถงึ สยาม จงึ ทำ� ใหผ้ ปู้ กครอง รัฐต้องท�ำการพัฒนารัฐสยามให้เป็นไปตามแบบสากล เพ่ือด�ำรงความเป็น เอกราชของรัฐ ความเปล่ียนแปลงที่ส�ำคัญประการหน่ึงคือการเรียนรู้ทางความคิด ให้เท่าทันชาติมหาอ�ำนาจตะวันตก หรือท่ีเรียกว่าการเปล่ียนแปลงทาง ภูมิปัญญา โดยการศึกษาหลักวิชาและวิธีวิทยาแบบตะวันตก สมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงเป็นผู้ท่ีอยู่ในกระแสธาร ดงั กลา่ ว จากการทที่ รงศกึ ษาเลา่ เรยี นนานาวชิ าแบบสมยั ใหมอ่ ยา่ งตะวนั ตก จึงท�ำให้พระองค์ทรงเข้าถึงวิธีคิด ภูมิปัญญา แบบโลกสากล ประกอบกับ มรดกทางภมู ปิ ญั ญาของไทยทที่ รงมมี า ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากขอ้ ความทที่ รงนิพนธ์ ความว่า “นสิ ยั ของขา้ พเจา้ ไมเ่ ชอ่ื คำ� ทกี่ ลา่ วไวใ้ นปกรณท์ ง้ั หลาย เลือกเช่ือแต่ค�ำท่ีสมเหตุสมผล ต้ังหลักแห่งการรจนาไว้ว่า ข้อท่ีพิจารณาได้สมเหตุสมผล จึงจะเอาเป็นประมาณ ข้อที่ พริ ธุ กต็ ้องคา้ งติงไว้ ไม่วา่ ในบาลีหรือในอรรถกถา และแสดง มติของข้าพเจ้าไว้บ้างเพื่อเป็นทางด�ำริของนักวินัย ข้าพเจ้า มงุ่ ความเจริญแหง่ ความรูเ้ ป็นท่ตี ้ัง” ลักษณะดังกล่าวได้สะท้อนวิธีคิดของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ตลอดจนมรรควิธีท่ีทรงปฏิบัติสืบมาใน 240
พระชนมาชพี ทที่ รงนยิ มในเรอื่ งของหลกั เหตแุ ละผล ความเปน็ วทิ ยาศาสตร์ และหลกั ของมนษุ ยนยิ ม สง่ ผลใหก้ ารศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาทที่ รงมบี ทบาท ส�ำคัญ เป็นศาสนาแห่งหลักเหตุและผล ห่างไกลจากอวิชชา ซ่ึงถูกมองว่า ไม่ใช่การศึกษาพระศาสนาท่ีควร วิธีวิทยาดังกล่าวของพระองค์ได้ปรากฏ อยู่ในพระกรณียกิจทั้งที่เป็นงานพระนิพนธ์และงานท่ีทรงปฏิบัติตามท่ีได้ รับมอบหมาย และได้ส่งผลนับเน่ืองทวีปกแผ่ไปสู่ระดับสากล นั่นก็คือ การศึกษาพระพุทธศาสนาสมัยใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดท�ำ พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐในสมัยรัชกาลท่ี ๕ งานพระนิพนธ์พุทธประวัติ และงานพุทธศาสตร์ศึกษาจ�ำนวนมาก ซึ่งล้วนมีความเก่ียวเน่ืองกัน กลา่ วคอื ในชว่ งตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ ดนิ แดนตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชยี ทเ่ี ปน็ ชาติท่ีนับถือพระพุทธศาสนาต่างตกเป็นอาณานิคมแก่มหาอ�ำนาจตะวันตก ไม่ว่าอินเดียซ่ึงเป็นต้นก�ำเนิดของพระพุทธศาสนา หรือพม่าที่ได้ช่ือว่าเป็น ชาตทิ อี่ ปุ ถมั ภพ์ ทุ ธศาสนา และรฐั อนื่ ๆ ทปี่ ระสบสภาวะเปน็ ชาตใิ นอาณานคิ ม ของตะวันตก ท�ำให้การสืบทอดพระศาสนาตลอดจนการท่ีได้ชื่อว่าเป็นรัฐ ที่เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาของชาติท่ีนับถือพุทธศาสนาได้ขาดช่วง หรอื หายไป เปน็ เวลาเดียวกบั ทค่ี วามร้ทู างพุทธศาสนาเปน็ ท่ีสนใจศกึ ษาใน โลกตะวนั ตก ซึ่งถูกพจิ ารณาวา่ เป็นความรแู้ บบอารยธรรมทสี่ �ำคญั ของโลก ที่บรรดานักวิชาการระดับสากลให้ความส�ำคัญ จากความเปล่ียนแปลงของ พ้ืนท่ีทางความรู้เช่นนี้ ชนชั้นน�ำสยามจึงถือเป็นภารกิจส�ำคัญในการธ�ำรง สถานะของชาติท่ีสืบทอดพระพุทธศาสนาแต่เดิม ซ่ึงเหลือเพียงรัฐสยาม เพียงชาติเดียวในขณะน้ัน โดยเฉพาะการเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนา แบบเถรวาทในระดบั สากล จากความมงุ่ หมายของผปู้ กครองรฐั สยามตอ่ ภารกจิ ขา้ งตน้ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงมีบทบาทส�ำคัญที่ท�ำให้ สยามเป็นรัฐเป็นตักศิลาของการศึกษาพุทธศาสนาอย่างจริงจัง ดังเช่น การที่ทรงเป็นแม่งานดูแลการจัดท�ำพระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐในสมัย รัชกาลท่ี ๕ ซึ่งพระไตรปิฏกชุดดังกล่าวจะเป็นสดมภ์หลักของการศึกษา พระศาสนา นบั เนอื่ งไปถงึ การจดั หมวดหมคู่ ำ� สอนอยา่ งเปน็ ระบบ พระนพิ นธ์ ค�ำสวด ค�ำขานนาคในพิธีอุปสมบท รวมถึงพระนิพนธ์เร่ืองพุทธประวัติท่ี เสนอประวตั พิ ระศาสดาในแงม่ มุ ทเ่ี ปน็ มนษุ ย์ มคี วามเปน็ เหตแุ ละผลมากกวา่ เร่ืองอภินิหาร ระบุสถานที่คร้ังสมัยพุทธกาลเทียบเคียงกับปัจจุบันสมัย เหล่าน้ี ส่งผลต่อองค์ความรู้ทางพุทธศาสนาและพุทธศาสศึกษา อ�ำนวย ประโยชนต์ อ่ พทุ ธศาสนกิ ชนทงั้ มวล และการศกึ ษาพทุ ธศาสนาในระดบั สากล คณุ ปู การทส่ี มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิ รญิ าณวโรรสทรงมี บทบาทส่งผลจนถึงปัตยุบันกาล ดังที่ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางท่ี 241
รายการอ้างอิง ปฐม ตาคะนานนั ท์. คณะสงฆ์สรา้ งชาติสมยั รัชกาลท่ี ๕. กรงุ เทพฯ: ศลิ ปวัฒนธรรม, ๒๕๕๑. พระประวัติสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. พระมหาสมณานุสรณ์ เฉลิมพระเกียรติคุณวาระครบ ๑๐๐ ปี แห่งการสิ้นพระชนม์ พุทธศักราช ๒๕๖๔. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรนิ้ ตง้ิ , ๒๕๖๔. วชิรญาณวโรรส. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา ฯ. พระประวัติตรัสเล่า. พิมพ์ในการ บ�ำเพ็ญกุศลครบ ๑๓ พระนักษัตร แต่วันประสูติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. นครปฐม: สาละพิมพการ, ๒๕๕๙. วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาฯ. พระราชหัตถเลขาและลายพระหัตถ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีไปมากับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส. เลม่ ๑-๒. สเุ ชาวน์ พลอยชุม บรรณาธกิ าร. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๔. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสกับการพัฒนาสยามประเทศ. จัดพิมพ์ โดยวัดบวรนิเวศวหิ าร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพส์ ุรวฒั น,์ ๒๕๖๔. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสกับศตวรรษแห่งการพฒั นา. จัดพมิ พ์โดย วดั บวรนเิ วศวหิ าร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพส์ ุรวฒั น์, ๒๕๖๔. 242
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272