Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:22:28

Description: อจท.หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Search

Read the Text Version

รายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาฯ วชิ า หนา้ ท่ีพลเมืองฯ ม.4-6

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สังคมมนุษย์

สังคมมนุษย์ สถาบนั ทางสังคม แนวทางการป้องกนั สังคมมนุษย์ การจัดระเบียบ และแก้ไขปัญหา ทางสังคม สังคมไทย การเปลยี่ นแปลง การขัดเกลา ทางสังคม ทางสังคม ปัญหา สังคมไทย

สังคมมนุษย์

สังคม หมายถึง กลุ่มคนอยา่ งนอ้ ย 2 คนข้ึนไปมาอาศยั อยรู่ วมกนั ในบริเวณใดบริเวณ หน่ึง ซ่ึงคนเหล่าน้ีจะมีความสมั พนั ธห์ รือการกระทาตอบโตก้ นั ท้งั ทางตรงและทางออ้ ม เช่น การพดู จาทกั ทาย การทางานร่วมกนั การติดต่อสื่อสารระหวา่ งกนั เป็นตน้

องค์ประกอบของสังคม • ประชากร จะตอ้ งมีจานวนต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป สังคมที่มีขนาดเลก็ ทส่ี ุดกค็ ือ ครอบครัว ประกอบดว้ ย พอ่ -แม่-ลูก • อาณาเขต โดยทวั่ ไปคนในสังคมจะอาศยั อยใู่ นบริเวณใดบริเวณหน่ึง ซ่ึงพ้นื ท่ี อาจมีขนาดจากดั เช่น ในบริเวณบา้ น ในบริเวณโรงเรียน • ความสัมพนั ธ์ สมาชิกในสังคมจะตอ้ งมีความสัมพนั ธ์และการปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งกนั เช่น การพดู จาทกั ทาย การทางานกลุ่ม

• การจดั ระเบยี บทางสังคม เพอื่ ป้องกนั ความขดั แยง้ ระหวา่ งสมาชิกในสงั คม ช่วยใหก้ ารติดต่อกนั ทางสงั คมเป็นไปอยา่ งเรียบร้อย เช่น การจดั ระเบียบ การจราจร การควบคุมเวลาปิ ด-เปิ ดของสถานบนั เทิง เป็นตน้ • การมีวฒั นธรรมของตนเอง เมื่อคนในสงั คมมาอยรู่ ่วมกนั เป็นหมู่เหล่าภายใต้ สภาพแวดลอ้ มเดียวกนั กจ็ ะสร้างวฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีข้ึน ก่อใหเ้ กิดเป็นวฒั นธรรมเฉพาะของตนเองท่ีเป็นเอกลกั ษณ์

หน้าที่ของสังคม • ดูแลสมาชิกในสังคมใหอ้ ยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข • สร้างความเป็นธรรมใหเ้ กิดข้ึนในสังคม • ประสานประโยชนร์ ะหวา่ งสมาชิกในสังคม • ส่งเสริมการคิดอยา่ งสร้างสรรคใ์ นสังคม • ปลูกฝังจิตสานึกท่ีดีใหแ้ ก่สมาชิกในสังคม

สถาบนั ทางสังคม

สถาบันครอบครัว บทบาทหน้าท่ี • อบรมเล้ียงดูสมาชิกในครอบครัวใหเ้ ป็นคนดีของสงั คม เช่น รู้จกั การเสียสละ ความตรงต่อเวลา การมีน้าใจต่อคนรอบขา้ ง เป็นตน้ • ถ่ายทอดวฒั นธรรมใหแ้ ก่สมาชิกใหม่ท่ีกาเนิดข้ึนมาในสงั คม เช่น การเคารพ ผใู้ หญ่ การอ่อนนอ้ มถอ่ มตน เป็นตน้ • กาหนดแนวทางปฏิบตั ิแก่สมาชิกในครอบครัว เช่น การใชจ้ ่าย การเลือกคู่ การหม้นั การแต่งงาน เป็นตน้

สถาบันเศรษฐกจิ บทบาทหน้าท่ี • พฒั นาและสร้างความเจริญกา้ วหนา้ ในทางเศรษฐกิจเพือ่ ความอุดมสมบูรณ์ และความมน่ั คงแก่สมาชิกในสงั คม • เป็นตวั กลางในการกาหนดกลไกราคา โดยตอ้ งคานึงถึงความเหมาะสมและ ประโยชน์ของผบู้ ริโภคเป็นหลกั • กระจายสินคา้ และบริการใหเ้ พียงพอและทว่ั ถึงแก่ผบู้ ริโภคมากที่สุด โดย สินคา้ และบริการตอ้ งมีมาตรฐานตามที่กฎหมายกาหนด

สถาบนั การเมืองการปกครอง บทบาทหน้าที่ • รักษาความสงบเรียบร้อยของชาติบา้ นเมืองใหอ้ ยใู่ นสภาวะปกติ สร้างระเบียบ กฎเกณฑใ์ หแ้ ก่สงั คม บาบดั ทุกขบ์ ารุงสุขใหแ้ ก่ราษฎร • วนิ ิจฉยั ขอ้ ขดั แยง้ ระหวา่ งสมาชิกในสงั คม มอี งคก์ รตุลาการใหค้ วามยตุ ิธรรม แก่สมาชิกท่ีมีความขดั แยง้ กนั • สร้างความสมั พนั ธอ์ นั ดีกบั นานาประเทศ มีการติดต่อส่ือสาร เพอ่ื สร้างความไวเ้ น้ือ เชื่อใจระหวา่ งกนั นาไปสู่ความร่วมมือกนั ในดา้ นต่างๆ

สถาบนั การศึกษา บทบาทหน้าท่ี • จดั การศึกษาใหเ้ ยาวชนมีความรู้ ความสามารถ เพ่อื จะไดน้ าไปใช้ ในการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวติ ในอนาคตต่อไป • ส่งเสริมคา่ นิยมที่ดีงาม ใหเ้ ยาวชนรู้จกั ใชส้ ิทธิและหนา้ ที่ของตน ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสงั คมและประเทศชาติ โดยไม่ละเมิดสิทธิของผอู้ น่ื • ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มุ่งเนน้ ใหเ้ ยาวชนเป็นผมู้ ีความรู้คู่คณุ ธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจริต และรู้จกั เสียสละเพื่อส่วนรวมและประเทศชาติ

สถาบันศาสนา บทบาทหน้าท่ี • เป็นศูนยร์ วมความศรัทธาของสมาชิกในสังคม เป็นท่ียดึ เหน่ียวจิตใจ ช่วยใหส้ มาชิกทางสงั คมสามารถใชห้ ลกั ธรรมในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได้ • เป็นแบบแผนการดาเนินชีวติ ของสมาชิกในสังคม ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม ใหแ้ ก่สมาชิกในสงั คมเพ่ือนาไปปรับใชใ้ นการดาเนินชีวติ • สอนใหบ้ ุคคลกระทาความดี ละเวน้ ความชว่ั เพ่ือความร่มเยน็ เป็นสุขของ ตนเองและผอู้ ื่น

สถาบนั นันทนาการ บทบาทหน้าที่ • ส่งเสริมการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ใหส้ มาชิกในสงั คมเห็นคุณค่าของ การทากิจกรรมท่ีสร้างสรรคเ์ พอ่ื ตนเองและส่วนรวม • สร้างความบนั เทิงใหแ้ ก่สมาชิกในสงั คม เพ่ือใหก้ ารดารงชีวติ มีความสุข สมบูรณ์มากยงิ่ ข้ึน • ช่วยผอ่ นคลายความตึงเครียด เพม่ิ พนู อนามยั ที่ดี รวมท้งั เสริมสร้างสุขภาพจิต ท่ีดีใหก้ บั สมาชิกในสงั คม

สถาบนั ส่ือสารมวลชน บทบาทหน้าที่ • มีความเป็นกลางในการนาเสนอขอ้ มูลข่าวสาร ไม่นาเสนอขอ้ มูล เอนเอียงไปทางฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึง • เปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนไดแ้ สดงความคิดเห็นผา่ นสื่อมวลชน เพอ่ื สะทอ้ นความเป็นจริงท่ีเกิดข้ึนในสงั คมปัจจุบนั • มีส่วนร่วมตรวจสอบการทางานของบุคคลและกลุ่มบุคคล ไดแ้ ก่ ผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง ขา้ ราชการ เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ เป็นตน้

การจัดระเบียบทางสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง วธิ ีการต่างๆ ท่ีคนในสงั คมกาหนดข้ึน เพอ่ื ใชเ้ ป็น ระเบียบกฎเกณฑใ์ นการอยรู่ ่วมกนั เป็นการควบคุมสมาชิกใหม้ ีความสมั พนั ธ์กนั ภายใตแ้ บบแผน เดียวกนั เพ่อื ใหเ้ กิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสงั คม

องค์ประกอบ • ระบบคุณค่าทางสังคม เป็นเป้าหมายสูงสุดท่ีสงั คมปรารถนาใหเ้ กิดข้ึน เป็นสิ่งที่สงั คมยอมรับและสมควรกระทาใหบ้ รรลุผล ไดแ้ ก่ ความรักชาติ ความยตุ ิธรรม ความเสมอภาค เป็นตน้ • บรรทัดฐานทางสังคม คือ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตามบทบาทของแต่ละบุคคล ท้งั น้ีเพื่อใหเ้ ป็นไปตามทิศทางของระบบคุณคา่ ทางสงั คม • สถานภาพและบทบาท มีความเก่ียวขอ้ งกนั สมั พนั ธก์ นั โดยสถานภาพเป็น ตาแหน่งที่บุคคลครอบครองอยู่ และบทบาทกค็ ือหนา้ ท่ีของผดู้ ารงตาแหน่งน้นั ๆ จะตอ้ งกระทา เช่น นกั เรียนตอ้ งต้งั ใจเรียนหนงั สือ ขา้ ราชการตอ้ งต้งั ใจปฏิบตั ิ หนา้ ที่ เป็นตน้

การขัดเกลาทางสังคม

การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง กระบวนการเรียนรู้การเป็นสมาชิกของสงั คม โดยซึมซบั บรรทดั ฐานและคา่ นิยมทางสงั คมมาเป็นของตนและเรียนรู้ในการปฏบิ ตั ิตนตาม บทบาทหนา้ ท่ี เพื่อท่ีจะสามารถปรับตวั เขา้ กบั สงั คมที่ตนเป็นสมาชิกอยไู่ ดเ้ ป็นอยา่ งดี

การขดั เกลาทางสังคมทางตรง • การอบรมเลยี้ งดูของพ่อแม่ ตอ้ งใชเ้ หตุผลในการอบรมเล้ียงดูลูก ไม่ใช้ อารมณ์ในการตดั สินใจหรือแกไ้ ขปัญหา รับฟังความคิดเห็นของลูก รวมท้งั เปิ ดโอกาสใหล้ ูกไดแ้ สดงความสามารถที่ตนมีอยู่ • การอบรมสั่งสอนของครูอาจารย์ ครูตอ้ งอบรมและเสริมสร้างทกั ษะความรู้ และพฤติกรรมที่ดีงามใหแ้ ก่นกั เรียน ฝึกฝนใหน้ กั เรียนไดพ้ ฒั นาศกั ยภาพ อยา่ งรอบดา้ น ไม่วา่ จะเป็นในเร่ืองของการเรียน การทากิจกรรม ตลอดจน การใชช้ ีวติ ในสงั คมอยา่ งมีความสุข

การขดั เกลาทางสังคมทางอ้อม • การอ่านหนังสือ ช่วยเพม่ิ พนู ความรู้ใหม้ ีความหลากหลาย สร้างเสริม ประสบการณ์ใหม่ๆ สามารถนามาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิตน ใหช้ ีวติ มีคุณค่าและมีระเบียบแบบแผนท่ีดียงิ่ ข้ึน • การฟังอภิปราย ช่วยเปิ ดโลกทศั น์ใหก้ วา้ งไกลมากข้ึน ไดร้ ับฟังขอ้ มูลจาก ผมู้ ีความรู้ ซ่ึงสามารถนาขอ้ คิดที่ไดม้ าปรับใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ • การทากจิ กรรมกล่มุ ช่วยใหเ้ กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั เสริมสร้าง ความสามคั คีในหมู่คณะ รู้จกั เสียสละเพอ่ื ใหก้ ิจกรรมท่ีทาน้นั ประสบ ความสาเร็จสูงสุด

องค์กรท่ีทาหน้าทขี่ ัดเกลาทางสังคม • ครอบครัว เป็นองคก์ รที่มีบทบาทสาคญั ซ่ึงทาหนา้ ท่ีอบรมสง่ั สอนสมาชิก ใหเ้ ป็นพลเมืองดี ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑท์ ่ีสงั คมกาหนด • โรงเรียน เป็นองคก์ รที่ทาหนา้ ที่เสริมสร้างความรู้ ความสามารถ ตลอดจน การปรับตวั ในการใชช้ ีวติ ในสงั คม • ส่ือมวลชน เป็นองคก์ รที่ทาหนา้ ที่ถ่ายทอดข่าวสาร ความรู้ ศิลปะ ประเพณี รวมท้งั กฎระเบียบทางสงั คมไปยงั สมาชิกของสงั คมทุกหมู่เหล่า • สถาบันศาสนา เป็นองคก์ รท่ีทาหนา้ ท่ีถ่ายทอดแนวทางการดาเนินชีวติ ใหแ้ ก่ สมาชิกในสงั คม โดยมุ่งเนน้ ใหค้ นกระทาความดี ละเวน้ ความชว่ั

การเปลย่ี นแปลงทางสังคม

การเปล่ียนแปลงทางสังคม หมายถึง การเปล่ียนแปลงระเบียบของสงั คมในการกระทา ในเรื่องต่างๆ ซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลงท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ความสมั พนั ธแ์ ละแบบแผนความประพฤติ ของสมาชิกในสงั คมที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น การเปลี่ยนวตั ถุส่ิงของท่ีใช้ การเปล่ียนแปลง ความคิดความเช่ือ เป็นตน้

การเปลย่ี นแปลงระดบั จุลภาค เป็นการเปล่ียนแปลงขนาดยอ่ ยในระดบั บุคคล กลุ่มบุคคล และรวมถึงพฤติกรรม ต่างๆ ของบุคคล ตวั อยา่ งเช่น • การผลติ สินค้า จากเดิมท่ีผลิตสินคา้ ดว้ ยมือ เปล่ียนมาเป็นการใชเ้ ทคโนโลยี สมยั ใหม่ในการผลิตสินคา้ เพ่ือใหไ้ ดป้ ริมาณมาก เพียงพอกบั ความตอ้ งการใน ปัจจุบนั • การศึกษาของนักเรียน จากเดิมที่ครูจะเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้ใหแ้ ก่นกั เรียนฝ่ าย เดียว เปลี่ยนเป็นการศึกษาท่ีเนน้ ใหน้ กั เรียนเป็นศูนยก์ ลางการเรียนรู้ เพอ่ื กระตุน้ ใหน้ กั เรียนคิดเป็น ทาเป็น มีภาวะความเป็นผนู้ า

การเปลยี่ นแปลงระดบั มหภาค เป็นการเปล่ียนแปลงขนาดใหญท่ ี่เก่ียวขอ้ งกบั ระบบสงั คม มีผลกระทบต่อแบบ แผนการดาเนินชีวติ ของผคู้ นในสงั คมเป็นจานวนมาก ตวั อยา่ งเช่น • การเลกิ ทาสในสมยั รัชกาลท่ี 5 ส่งผลใหร้ าษฎรทุกคนมีความเท่าเทียมกนั มี เสรีภาพในการดาเนินชีวติ การประกอบอาชีพ นอกจากน้ียงั มีผลทาใหป้ ระเทศมี แรงงานอิสระเพม่ิ มากข้ึน • การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นการเปล่ียนแปลงจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยม์ าเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายหมายสูงสุดใน การปกครองประเทศ ประชาชนมีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกนั

ปัญหาสังคมไทย

ปัญหายาเสพติด สาเหตุของปัญหา • ความอยากรู้อยากลอง ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ • ไม่ไดร้ ับคาแนะนาที่ถูกตอ้ งจากผใู้ หญแ่ ละบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง • การชกั ชวนของเพื่อน โดยส่วนมากมกั เกิดจากความเกรงใจเพ่อื นหรือตอ้ งการ แสดงตนวา่ เป็นพวกเดียวกบั เพอ่ื น แนวทางการป้องกนั แก้ไข • รัฐบาลควรมีนโยบายปราบปรามยาเสพติดอยา่ งจริงจงั และเป็นรูปธรรม • พอ่ แม่ควรปลูกฝังคา่ นิยมท่ีดีใหแ้ ก่ลกู เพื่อป้องกนั ปัญหายาเสพติด • องคก์ รเอกชนควรมีบทบาทในการใหค้ วามรู้เก่ียวกบั พิษภยั ของยาเสพติด

ปัญหาการทุจริต สาเหตุของปัญหา • ความโลภ ความตอ้ งการบริโภคที่เกินพอดี • การเห็นแก่ประโยชนส์ ่วนตนมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนรวม • ขาดจิตสานึกทางศีลธรรมและไม่เกรงกลวั กฎหมาย แนวทางการป้องกนั แก้ไข • ภาครัฐควรมีบทลงโทษทางกฎหมายท่ีเขม้ งวดเกี่ยวกบั การทุจริต • พอ่ แม่ควรปลูกฝังค่านิยมที่ดี เนน้ ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตใหแ้ ก่บตุ รหลาน • องคก์ รทุกภาคส่วนควรตระหนกั ถึงความสาคญั และเป็นตวั อยา่ งท่ีดีในการ แกไ้ ขปัญหาการทุจริตอยา่ งเป็นระบบ

ปัญหาสิ่งแวดล้อม สาเหตุของปัญหา • การตดั ไมท้ าลายป่ า • ควนั พษิ จากท่อไอเสียรถยนต์ • การทิ้งขยะลงในแม่น้าลาคลอง • การปล่อยน้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรม แนวทางการป้องกันแก้ไข • ปลูกฝังความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม • รณรงคใ์ หป้ ระชาชนหนั มาใชพ้ ลงั งานทดแทนกนั มากข้ึน • ปลูกตน้ ไมเ้ พ่ือเพิ่มพ้นื ท่ีสีเขียวในบริเวณชุมชนและที่สาธารณะ

แแนกว้ไทขาปงัญกาหราปส้อังงคกมนั ไแทลยะ

แนวทางการป้องกนั และแก้ไข • รัฐบาลควรออกกฎหมายเพ่อื กาหนดมาตรการป้องกนั และปราบปราม ผกู้ ระทาความผดิ อยา่ งจริงจงั • รัฐบาลควรวางแผนแกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึนโดยร่วมมือกบั องคก์ รภาคเอกชน อยา่ งมีประสิทธิภาพ • ใหค้ วามรู้แก่สมาชิกในสงั คมเพือ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและสามารถป้องกนั แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนได้ • จดั ใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศึกษาอยา่ งทวั่ ถึงและมีงานทา เพ่ือยกระดบั คุณภาพ ชีวติ ของผคู้ นใหด้ ีข้ึน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 วฒั นธรรมไทย

ความรู้ทวั่ ไป วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรม เกย่ี วกบั วฒั นธรรม ท้องถน่ิ ภาคเหนือ วฒั นธรรมไทย แนวทางการอนุรักษ์ วฒั นธรรม วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรม ท้องถ่นิ ภาคกลาง ท้องถน่ิ ภาคใต้ ความแตกต่างระหว่าง วฒั นธรรมท้องถ่ิน วฒั นธรรมไทยกบั ภาคตะวนั ออก วฒั นธรรมสากล เฉียงเหนือ



วฒั นธรรม หมายถึง แบบอยา่ งหรือวถิ ีการดาเนินชีวติ ของชุมชนแต่ละกลุ่ม เป็นตวั กาหนดพฤติกรรมการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งปกติสุขในสงั คม วฒั นธรรมแต่ละสงั คมจะแตกตา่ งกนั ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรต่างๆ ลกั ษณะอีก ประการหน่ึงของวฒั นธรรมคือ เป็นการสงั่ สมความคิด ความเชื่อ วธิ ีการ จากสงั คมรุ่นก่อนๆ มีการเรียนรู้ และสามารถถ่ายทอดไป ยงั รุ่นต่อๆ ไปได้ เช่น ภาษา กฎหมาย ศิลปะ เป็นตน้

ความสาคญั ของวฒั นธรรม • วฒั นธรรมช่วยสร้างระเบียบให้กบั สังคม โดยเป็นตวั กาหนดแบบแผนพฤติกรรม ของสมาชิกในสงั คม รวมถึงการสร้างแบบแผนของความคิด ความเช่ือ และคา่ นิยม ของสมาชิกใหอ้ ยใู่ นรูปแบบเดียวกนั • วฒั นธรรมช่วยให้เกดิ ความสามัคคี สงั คมที่มีวฒั นธรรมเดียวกนั ยอ่ มจะมีความรู้สึก ผกู พนั เกิดความเป็นปึ กแผน่ อุทิศตนใหก้ บั สงั คมทาใหส้ งั คมอยรู่ อด • วฒั นธรรมเป็ นตัวกาหนดรูปแบบของสถาบัน ไดแ้ ก่ รูปแบบของสถาบนั ครอบครัว ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่ ลกั ษณะของครอบครัวแต่ละสงั คมต่างกนั ไป ท้งั น้ีเนื่องจาก วฒั นธรรมในสงั คมเป็นตวั กาหนดรูปแบบ เช่น วฒั นธรรมแบบสามีภรรยาเดียว เป็ นตน้

• วฒั นธรรมเป็ นเคร่ืองแสดงเอกลกั ษณ์ของชาติ ชาติที่มีวฒั นธรรมสูง ยอ่ มไดร้ ับการ ยกยอ่ งและเป็นหลกั ประกนั ความมนั่ คงของชาติ • วฒั นธรรมช่วยให้ประเทศชาตเิ จริญก้าวหน้า หากสงั คมใดมีวฒั นธรรมที่ดีงาม เหมาะสม เช่น ความมีระเบียบวนิ ยั ขยนั อดทน เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตน เป็นตน้ สงั คมน้นั ยอ่ มจะเจริญกา้ วหนา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว • วฒั นธรรมเป็ นเคร่ืองมือในการแก้ไขปัญหา มนุษยไ์ ม่สามารถดารงชีวติ ภายใต้ ส่ิงแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ ดงั น้นั มนุษยต์ อ้ งแสวงหาความรู้จากประสบการณ์ท่ี ตนไดร้ ับ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อชีวติ และถ่ายทอดจากสมาชิกรุ่นหน่ึงไปสู่สมาชิกรุ่น ต่อไปได้

ประเภทของวฒั นธรรม • คติธรรม เป็นวฒั นธรรมท่ีเก่ียวกบั หลกั ในการดาเนินชีวติ ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองของ จิตใจซ่ึงไดเ้ รียนรู้จากศาสนา เช่น ความเมตตากรุณา ความกตญั ญูกตเวที เป็นตน้ • วตั ถุธรรม เป็นวฒั นธรรมทางวตั ถุ ท่ีสามารถจบั ตอ้ งสมั ผสั ได้ เช่น บา้ นเรือน อาหาร เครื่องแต่งกาย เป็นตน้ • เนตธิ รรม เป็นวฒั นธรรมทางกฎหมาย รวมท้งั ระเบียบประเพณีท่ียอมรับนบั ถือ เช่น กฎหมาย กฎศีลธรรม จารีตประเพณี เป็นตน้ • สหธรรม เป็นวฒั นธรรมทางสงั คมท่ีเก่ียวกบั หลกั การปฏิบตั ิทางสงั คม รวมท้งั มารยาทต่างๆ ในสงั คม เช่น มารยาทในการเขา้ สงั คม มารยาทบนโตะ๊ อาหาร



ลกั ษณะของวฒั นธรรมไทย • เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั ริย์ พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นศนู ยร์ วมจิตใจของ คนไทยท้งั ชาติ พสกนิกรทุกหมู่เหล่าใหค้ วามเคารพเทิดทูน ทาใหเ้ กิดความสมคั ร สมานสามคั คีเป็นหน่ึงเดียวกนั • ยดึ ถือขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นส่ิงที่บรรพบุรุษยดึ ถือเป็นแนวปฏิบตั ิในรูป ของความคิด ความเชื่อ ค่านิยม ซ่ึงเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวติ ของคนในสงั คมจากอดีตจนถึงปัจจุบนั • ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติท่ีคนไทยสามารถพดู และ เขียนอ่านได้ ภาษาไทยจึงเชื่อมโยงคนในชาติใหเ้ ขา้ ใจวฒั นธรรมไทยไดเ้ ป็นอยา่ งดี

• การนับถือผู้อาวุโส เป็นวฒั นธรรมท่ีมีการปฏิบตั ิมาชา้ นาน โดยผทู้ ่ีมีอายนุ อ้ ยกวา่ จะให้ ความเคารพนบั ถือผทู้ ่ีมีอายมุ ากกวา่ แสดงความเคารพโดยการไหว้ การทกั ทาย เป็น ตน้ • เป็ นวฒั นธรรมเกษตรกรรม โดยประชากรส่วนใหญอ่ าศยั อยใู่ นชนบทและมีวถิ ีชีวติ ความเป็นอยทู่ ่ีผกู พนั กบั การประกอบอาชีพเกษตรกรรม อนั เป็นรากฐานแห่งภูมิปัญญา ทอ้ งถ่ินจากอดีตจนถึงปัจจุบนั



วฒั นธรรมด้านอาหาร อาหารของภาคเหนือ มีลกั ษณะสาคญั คือ รสชาติไม่จดั ไม่นิยมใส่น้าตาลในอาหาร ความหวานจะไดจ้ ากส่วนผสมของอาหารน้นั ๆ ไดแ้ ก่ • แกงฮังเล เป็นอาหารประเภทแกงรสชาติเคม็ -เปร้ียว ส่วนประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือหมู พริกแหง้ หอมแดง ขา่ ตะไคร้ ผงฮงั เล เป็นตน้ • แกงแค เป็นแกงท่ีประกอบดว้ ยผกั หลายชนิด และมีเน้ือสตั วเ์ ป็นส่วนผสมดว้ ยหน่ึง อยา่ ง เช่น แกงแคไก่ แกงแคปลา ส่วนประกอบท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ผกั ตาลึง ผกั ชะอม ถวั่ ฝักยาว พริกแหง้ ข่า ตะไคร้ หอมแดง และดอกแค • นา้ พริกหนุ่ม เป็นอาหารพ้ืนบา้ นลา้ นนาที่รู้จกั กนั ทว่ั ไป ส่วนประกอบสาคญั ไดแ้ ก่ พริก กระเทียม ผกั สดต่างๆ เป็นตน้ โดยมกั จะรับประทานกบั แคบหมู

วฒั นธรรมด้านศาสนาและลทั ธิความเช่ือ วฒั นธรรมของภาคเหนือ เป็นวฒั นธรรมท่ีมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ท่ียงั คงยดึ มน่ั ใน ขนบธรรมเนียมประเพณีของพระพทุ ธศาสนา ที่มีการสืบทอดมาเป็นเวลายาวนาน ไดแ้ ก่ • การทาบุญทอดผ้าป่ าแถว โดยกระทาพร้อมกนั ทุกวดั ในคืนวนั ลอยกระทงหรือ วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 12 โดยชาวบา้ นจะจดั หาก่ิงไม้ เทียนไข ผา้ ขา้ วสาร อาหารแหง้ และบริขาร ไวป้ ระกอบพิธี • งานบุญตานก๋วยสลาก จะทาในช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายนของทุกปี เพอื่ เป็นการอุทิศ ส่วนกศุ ลไปใหผ้ ปี ่ ูยา่ ตายายท่ีลว่ งลบั ไปแลว้ และเพอื่ ความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองสืบไป • งานประเพณีสืบชะตา ไดร้ ับอิทธิพลจากพระพทุ ธศาสนา กระทาข้ึนเพอื่ ยดื ชีวติ ดว้ ยการทาพิธีเพือ่ ใหร้ อดพน้ ความตาย เป็นประเพณีท่ีคนลา้ นนานิยมกระทามาจนถึง ทุกวนั น้ี



วฒั นธรรมด้านอาหาร อาหารของภาคกลาง มีลกั ษณะสาคญั คือ มีความหลากหลายในการปรุง การตกแตง่ อาหาร โดยรสชาติจะมีรส เคม็ เผด็ เปร้ียว หวาน เคลา้ กนั ไปตามชนิดของอาหาร ไดแ้ ก่ • แกงส้ม เป็นแกงท่ีใส่เน้ือสตั ว์ ส่วนใหญเ่ ป็นปลาหรือกงุ้ ส่วนประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือสตั ว์ น้าพริกแกงส้ม พริกข้ีหนู หอมแดง กะปิ เป็นตน้ • ห่อหมก เป็นอาหารที่มีมาต้งั แตโ่ บราณ ส่วนประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือปลา ใบยอ หวั หอม ใบมะกรูด พริกแกง ข่า ตะไคร้ เป็นตน้ • น้าพริกปลาทู เป็นอาหารที่ไดร้ ับความนิยม เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ของภาคกลาง เป็นที่ราบลุ่ม มีความอุดมสมบูรณ์ โดยส่วนประกอบท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ปลาทู พริกข้ีหนู หอมแดง กระเทียม มะนาว เป็นตน้

วฒั นธรรมด้านศาสนาและลทั ธิความเช่ือ วฒั นธรรมของภาคกลาง เป็นวฒั นธรรมท่ีเก่ียวเน่ืองกบั พระพทุ ธศาสนา ที่มีความ เช่ือมโยงกบั ประเพณี พิธีกรรม ความเช่ือ และการดาเนินชีวติ ไดแ้ ก่ • ประเพณีรับบัวโยนบัว เป็นประเพณีประจาทอ้ งถ่ินของชาวอาเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ ซ่ึงจดั ข้ึนเป็นประจาทุกปี ในวนั ข้ึน 14 ค่า เดือน 11 โดย ชาวบา้ นจะพากนั มาคอยนมสั การหลวงพอ่ โสธรอยรู่ ิมคลองและเดด็ ดอกบวั โยนข้ึน ไปบนเรือของหลวงพอ่ จนกลายเป็นประเพณีท่ีสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั • การบูชารอยพระพทุ ธบาท จงั หวดั สระบุรี เป็นท่ีเคารพสกั การะของพทุ ธศาสนิกชน ทวั่ ไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเทศกาลบูชารอยพระพทุ ธบาท คือ ช่วงวนั ข้ึน 1 ค่า เดือน 3 จะมีประชาชนทวั่ ทุกสารทิศมานมสั การรอยพระพทุ ธบาทในพระมณฑปอยา่ ง มากมาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook