Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมชุดเตรียมพร้อม หลวงตามหาบัว

ธรรมชุดเตรียมพร้อม หลวงตามหาบัว

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-26 02:26:27

Description: (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน).

Search

Read the Text Version

๓๓๘ สุดจุดสุดทายของทุกขวา มันจะแสดงไปถึงไหน มนั เกดิ แลว มนั กต็ อ งดบั เหมอื นกนั ไมดับในขณะหนึ่งก็ดับในขณะหนึง่ หรือดับในขณะที่ตาย ! นีแ่ หละหลกั สําคญั มีสองส่ิง (๑) รางกายทั้งรางนี้เราก็แบก ทั้ง ๆ ที่ทุกข ทั้ง ๆ ทเ่ี ปน ไฟ เราก็แบกวาเปนเราเปนของเราอยางแยกไมออก ถาไมพิจารณาใหทราบชัดวา รา งกายเปน รา งกาย (๒) รา งกายเปน ธาตอุ นั หนง่ึ ตา งหาก มโนธาตคุ อื ใจน้ี กเ็ ปน ธาตุ อันหนึ่งตา งหาก ไมใ ชอนั เดียวกนั แตอ าศยั กนั อยเู พยี งเทา น้ี นเ่ี ปน ความรเู หน็ อนั ถกู ตอง ทนี ร้ี ะหวา งจติ กบั รา งกายกเ็ หมือนกัน แมจ ะอาศยั กนั อยู เราก็เปนเรา คอื จติ อวยั วะคอื รา งกายกเ็ ปน รา งกาย เวทนาก็เปนเวทนา เปนแตจิตเปนผูรับทราบในเรื่อง เวทนาที่เกิดขึ้นวาเปนสุขเปนทุกข รบั ทราบแลว เราตอ งมปี ญ ญาเปน เครอ่ื งปอ งกนั ตวั เราอีก เวทนาไมวาจะเกิดขน้ึ เพยี งเทา น้ี แมจ ะเกดิ ขน้ึ มากกวา น้ี จนกระทั่งเวทนาทนไม ไหว มันจะแตกลงไป ก็ตอ งเปน เวทนาอยวู ันยังค่ํา คอื เวทนาเกดิ เวทนาตั้งอยู เวทนา ดับ มเี ทา นน้ั ไมม อี ยา งอน่ื ถา เราไมเอาเราเขา ไปแทรกแลว มันมีเทานั้นตามความจริง นเ่ี ปน ขอ หนง่ึ ทเ่ี ราจะทาํ ความเขา ใจใหก บั สง่ิ นโ้ี ดยถกู ตอ ง ถาทําความเขาใจกบั สิง่ เหลา นโ้ี ดยถกู ตอ งดว ยปญ ญาแลว ถึงจะอยูในทามกลางกองไฟ คอื ธาตขุ นั ธนเ้ี หมอื นกองไฟ กต็ าม แตเขาไมท ราบความหมายของตวั เองวาเขาเปนไฟ เราพดู เพอ่ื แกเ รานน้ั เอง ตวั อยใู นทา มกลางกองไฟ แตเราไมเปนไฟดวยนี่ เราเปนเรา รทู ุกส่งิ ทกุ อยา งท่ีปรากฏข้ึน ตง้ั อยกู ร็ ู มากนอยเพียงไรก็รู ความรนู ้ี ไมไดอาภัพ มีรอู ยตู ลอดเวลา ขอใหม สี ติเถิดจะรบั ทราบกนั ตลอดสาย เอา ทนไมไหว หรือเวทนามันขึ้นขนาดไหน ทนไมไหว จะแตก เอา แตกไป เวทนาดับไป ผรู นู ไ้ี มไ ดด บั ผรู คู อื ใจ ใจมปี า ชา ทไ่ี หน ใจไมด บั ไมม กี ารดบั ตง้ั แตไ หน แตไรมา ถกู ทอ งเทย่ี วเกดิ อยใู น “วฏั สงสาร” ก็คือใจดวงนี้เอง เปน แตไ ปตามบญุ ตามกรรมของตนเทา นน้ั เพราะยงั ไมม คี วามสามารถ ถาเราพจิ ารณาทางดานปญ ญาน้ี จติ จะแนว ลงสคู วามจรงิ ไมส ะทกสะทา นกบั ทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น สญั ญาทไ่ี ปหมายวา นน้ั เปน เรา นี้เปนเราเปนของเรา กเ็ ปน ความ หมายความหลอก เราก็ทราบแลววาความจริงมันเปนอยางนี้แลว จะมาหมาย มา หลอกวาเปนเราเปนของเราอยางไรอีก วา เราจะเกดิ เราจะตาย หมายไปทําไม เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธม ีการประชุมกัน หรอื การผสมกนั เขา มกี ารตง้ั อยู มกี าร สลายไปตามเรอ่ื งของเขา อยาไปเสกสรรปนยอเขา อยาไปแบกไปหามเขา ใหเ ขาอยู ตามความเปน จรงิ ของเขา เมอ่ื เขาทนไมไ ดเ ขาจะแตกกใ็ หแ ตกไป นน่ั เปน “ทางหลวง” เราจะไปปลูกบาน ปลูกพืชตางๆ ขวางถนนหลวงไมไ ด เปนโทษ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๓๘

๓๓๙ เรอ่ื งคตธิ รรมดา กค็ อื ความตาย เกดิ แลว ตอ งตาย ตน ทางคอื ความเกดิ ปลาย ทางคือความตาย กลางทางคอื ความทกุ ขค วามลาํ บาก หากเปนมาอยางนี้ เราเห็นอยู แลว มนั มแี ตก องทกุ ขทงั้ นั้นในธาตุในขันธน้ี มอี ะไรใหเ ปน ความสขุ ความสบาย ถา ไม ประกอบขึ้นภายในจิตใจเรา ใหเ ปน ความรน่ื เรงิ ดว ยคณุ งามความดี ก็จะหาความสุขไม มใี นขนั ธอ นั น้ี หรอื ในโลกอนั น้ี จะไมมีใครเจอความสุขเลย นว่ี ธิ พี จิ ารณา หรือรบกนั ระหวา งกองทกุ ขก บั เรา วญิ ญาณ กเ็ ปน วญิ ญาณ มนั เหมอื น ๆ กนั พิจารณาใหเห็นความจริง อะไรจะ เกดิ มากนอยใหรู ทุกขเวทนาจะเกิดขึ้นมากนอย ใหร ตู ามความจรงิ ของมนั เราเปนเรา ทุกขเปนทุกขแท ๆ ไมเ ปน อยา งอน่ื หลักธรรมชาติเปนอยา งนน้ั ความจริงเปนอยางนั้น ย้ํากันลงที่ตรงนี้ พจิ ารณาจนคลอ งแคลว ถอยหนา ถอยหลงั ยอ นหนา ยอ นหลงั กลบั ไป กลบั มา พิจารณาอยู นแ่ี หละเรยี กวา “ขนั ธเ ปน หนิ ลบั ปญ ญา” การพจิ ารณาอยา เอาเพยี งหนเดยี ว อนั เปน ความขเ้ี กยี จมกั งา ย ใหจิตกับ ปญญาหมุนอยูกับทุกขเวทนา เกิดขึ้นมาเทาไรกาํ หนดใหรทู นั โดยลาํ ดบั ๆ ไมใหเผลอ ไมใ หห ลง เพราะมันแยกกันออกได เอา! ตายก็ตายไปเถอะ สบายเลย คืออยสู บาย ตายสบาย แยกกนั ได ไมใหไฟรอบบานเขามาไหมในบานเรา ไมใ หไ ฟในธาตใุ นขนั ธ ที่มันเปนอยูตามธรรมชาติของมันมาไหมจิตใจใหเดือดรอนไปตาม นีค่ ือวธิ ีดําเนนิ วธิ แี กท กุ ข วิธรี ูเทา ทกุ ข วธิ ถี อนทกุ ข ไมใ หท กุ ขภ ายในรางกาย ทเ่ี กดิ ขน้ึ อนั เปน “ทุกขเวทนา” เขามาเผาลนจิตใจของเรา เรากอ็ ยสู บาย ผาสกุ จติ นเ้ี ปน สาระอนั สาํ คญั ไมไ ดม แี ตกมสี ลายไปตามรา งกายธาตขุ นั ธ เราสงวน รกั ษาอนั นไ้ี วใ หด ี ดวยสติดวยปญญาของเรา เราไมไ ดลม จมไป รางกายจะแตกก็เปน เรื่องของรางกายแตก จะวา รางกายลมจมไปก็ลม จมไป ลงหาดนิ นาํ้ ลม ไฟ จติ ใจไม ลม จม ไมแตกไปดวย จิตใจไมฉิบหาย เพราะฉะนน้ั การตายจึงเปนเรื่องธรรมดา ไม ใชไ ปลม จมกนั ผปู ฏบิ ตั เิ พอ่ื ความฟน ฟตู วั เอง จะไปลม จมอยา งนน้ั ไดอ ยา งไร กม็ แี ตท รงตวั ไว ไดดวยความภูมิใจ จติ เมอื่ มีปอ งกันตวั ได มีการรักษาตัวไดในปจจุบัน เฉพาะอยา งย่ิง ในขณะทเ่ี ปน ทกุ ขอ ยา งมากมายจนถงึ วาระ คอื ตาย เรามีการปองกัน เรามีการพิจารณา ของเราอยา งรอบขอบชิดแลว ไปไหนก็ไปเถอะ รา งกายแตก แตกไป เราเปน ผปู อ งกนั ตัวไดแลวโดยหลักธรรมชาติของตัวเอง ผปู อ งกนั ตัวไดแ ลว น้แี ลเปน ผูปลอดภัย จะไป ทไ่ี หนกไ็ ปเถอะ เม่ือเปนผูปลอดภยั อยกู บั ตัวแลว ไปไหนก็ปลอดภัย นี่เปนหลักสําคัญ สาํ หรบั ใจ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๓๙

๓๔๐ นแ่ี หละการปฏบิ ตั ธิ รรมใหผ ลประจกั ษอ ยา งน้ี และตอ งเหน็ เมอ่ื ปฏบิ ตั อิ ยา งวา น้ี ไมเ ปน อยา งอน่ื ไปไดเ ลย จงทาํ ใจใหเ ขม ขน ตอ ความเพยี รเพอ่ื เอาตวั รอด เพราะใจตาย ไมเปน อยา ไปออ นแอ อยา ไปทอ ถอย ทกุ ขเวทนามนั มีมาแตดั้งเดมิ ใครจะทอ ถอย หรอื ไมท อ ถอยกบั มนั มันก็เปนทุกขเวทนา ไมเ กดิ ประโยชนอ ะไรกบั ความทอ ถอย นอก จากจะมาทับถมเจาของเทานั้นเอง นเ่ี รยี กวา “สงครามจติ สงครามขนั ธ” อนั เปน สงครามใหญโ ตยง่ิ กวา อะไร พูด ถงึ เรอ่ื งกองทกุ ขก น็ แ่ี หละ คอื กองทกุ ขอ นั แทจ รงิ ทเ่ี รารบั ผดิ ชอบ และกระทบกระเทอื น กบั เราตลอดกาล คอื ธาตุ คอื ขนั ธ คอื กเิ ลสอาสวะ ทม่ี อี ยภู ายในจติ ใจของเรานเ้ี ทา นน้ั ไมมอี ันใดที่จะมาทําใหเ ราไดรับความเดอื ดรอ น ภเู ขาทง้ั ลกู กเ็ ปน ภเู ขา ไมเคยมาทับใคร ดิน ฟา อากาศ เขาก็อยูตามสภาพของ เขา แตผ ูรบั กองทกุ ขท ั้งหลาย คือธาตุ คอื ขนั ธ คือจิตใจของเรานี้ เปน ผรู บั สง่ิ เหลา น้ี รบั เปน สญั ญาอารมณวา รอนมาก หนาวมาก อะไรยุงไปหมด นอกนน้ั กว็ า เจ็บนน่ั ปวดนี่ ในธาตใุ นขนั ธ จะไมเ จบ็ ปวดอะไร กเ็ รือนของโรค มนั เปน โรค ความแปรสภาพ อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา นค่ี อื โรคชนดิ หนง่ึ ๆ มีเต็มตัวของเราแลว จะไมใ หเขาแสดงตวั ได อยา งไร อนั ใดที่มมี นั ตอ งแสดงตามเรื่องของมัน เราทมี่ ีสตปิ ญ ญาก็ใหท ราบตามเรอื่ ง ของมัน เรากไ็ มเ สยี ทา เสยี ทใี หเ ขา เราพจิ ารณาอยางนี้ จติ ใจเรายง่ิ มคี วามเดน ดวงขน้ึ มาโดยลาํ ดบั เกดิ ความกลา หาญ เกิดความผองใสเต็มที่ กลา หาญกก็ ลา หาญ และเหน็ จติ เปน อนั หนง่ึ จากขนั ธอ ยา ง ชัดเจน เมื่อเปนเชนนี้ก็ไมทราบจะไปหวั่นไหวอะไร มนั แนว แนอ ยูภายในจติ ใจเตม็ ท่ี แลว มีหลักใจ มเี รอื นใจ มเี กราะปอ งกนั จิตใจ แมจะอยูในทามกลางแหงกองเพลิง คือ ทกุ ขเวทนาทง้ั หลายทเ่ี ปน อยใู นขนั ธน ้ี ก็เพียงรับทราบกันเทานั้น ไมมีอะไรจะมาทําจติ ใจใหล ม จมเสยี หายไปเพราะทกุ ขเวทนานน้ั เลย ถาเราไมไ ปทําความเสียหายใหกับเรา เอง เพราะความลุมหลงในขันธน ้เี ทานัน้ ฉะนน้ั จึงตอ งเอาปญ ญามาใช พจิ ารณาใหร อบคอบกบั สง่ิ เหลา น้ี โลกนี้มันเปน โลกเกิดตาย ไมใ ชโ ลกอน่ื ใดทม่ี เี กดิ แตไ มม ตี าย ในแดนสมมตุ ทิ ง้ั สามโลกน้ี เต็มไปดวยการเกิดกับการตาย ซง่ึ มพี อ ๆ กนั ไมมีอะไรยิ่งหยอนกวากัน ไป ท่ไี หนมนั จงึ มปี าชา เหมือนกนั หมด เราจะหลบหลกี ปลกี ตวั ไปไหน จะไปพน ความตายน้ี ซึ่งมีเปนเหมือนกันหมด เรอ่ื งเทา กนั ผดิ กันแตเ วล่ําเวลานดิ หนอยเทานั้น ความจรงิ แลวมันเทากัน ใหพ จิ ารณาแยบคายดว ยปญ ญา เราตอ งสู หาท่หี ลบที่หลกี ไมไ ด ตองสจู นกระทั่งเขาใจแลว นน่ั แหละคอื วธิ กี าร หลบหลกี เขาใจอยา งเต็มทีก่ ็หลบหลกี ไดอยางเต็มที่ ปลอดภยั ไดอยา งเตม็ ตวั ไมม ี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๐

๓๔๑ อะไรที่จะเปนภัยตอเรา เราเชื่อกเิ ลสมานานแลว คราวนเ้ี รากาํ ลงั ถา ยเทเอากเิ ลสออก สํารอกปอกกิเลสออกมาดวยความเชื่อธรรม เชื่อพระพุทธเจา ที่ตรัสไวชอบยิ่ง ไมม ผี ดิ ไมมีพลาด ปฏบิ ตั ติ ามพระองคแ ลว แคลว คลาดปลอดภยั ไมม อี ะไรเขา มาเหยยี บยาํ่ ทําลายจิตใจ อยูก็เปนสุขปลอดภัย ไปก็ไมมีภัยมีเวร เพราะตวั ปลอดภยั อยกู บั ตวั เอง ตัวเองรกั ษาตวั อยดู วยดแี ลว ไปไหนก็ไป ภพไหนกภ็ พเถอะ ผมู ีธรรมครองใจตองเปน สุขทั้งนั้น ไมม คี าํ วา ลม วา จม ความดเี ราสรา งใหเ หน็ ประจกั ษช ดั เจนอยกู บั ใจเชน น้ี มนั จะลม จมไปทไ่ี หน มี แตค วามสขุ กายสบายใจ ไปไหนกส็ บาย อาํ นาจแหง การปฏบิ ตั ธิ รรมเปน คณุ คา เหน็ ประจกั ษก บั ใจของผปู ฏบิ ตั ิ เราเกิดมาในภพนี้ไดพบพระพทุ ธศาสนา ไดป ระพฤติ ปฏิบัติเต็มสติกําลังความสามารถ คนทไี่ มม ศี าสนาหาหลกั หาแหลงไมไ ดน้ันนะ รอ ยจะ หาสักหนึ่งนาจะไมมี ถา เราเทยี บกนั ทง้ั โลกน้ี ยงุ กนั แตจ ะหาความสขุ แตไมป รากฏวา ใครเจอความสขุ เจอแตความทกุ ขก นั ทัง้ น้ัน ไปที่ไหนบน อื้อไปหมดท้งั โลก ทําไมจึง เปน อยางนั้น? กไ็ มห าในจดุ ทค่ี วรจะเจอแลว มนั จะเจอไดอ ยา งไร ตองหาจุดที่ควรเจอ ซิ มันถึงจะเจอ ! พระพทุ ธเจา ทรงคน พบแลว เจอแลว แลว นาํ สงิ่ ทที่ รงพบแลว น้นั มาสอนโลก โลกปฏิบตั ติ ามนน้ั จะผิดหวงั ไปไหน เพราะเปน จดุ อนั เดยี วกนั กบั พระพทุ ธเจา ทท่ี รงคน และทรงพบมาแลว วธิ กี ารกเ็ ปน วธิ กี ารอนั เดยี วกนั สิ่งที่จะใหพบก็เปนอยางเดียวกัน ไมใ ชเ ปนอยางอื่นอยา งใด ไมม กี อ นไมม หี ลงั ความจรงิ นน้ั เปน จรงิ เหมอื นกนั หมด ใคร จะปฏบิ ตั เิ มอ่ื ใดกไ็ ด พระพทุ ธเจาปรนิ พิ พานแลว กไ็ มข ดั ขอ ง เพราะทางเดนิ ไดประทาน ไวแ ลว คือปฏิปทา เครอ่ื งดาํ เนนิ ถงึ ความสน้ิ ทกุ ข ซึ่งมีอยูภายในจิตใจของสัตว ผมู ศี าสนากม็ ที างพน ทกุ ขไ ปไดโ ดยลาํ ดบั ผไู มม นี น่ั ซิ หลักใจไมมี เอาแตภาย นอกเปนสรณะ ตายแลว กห็ มดคณุ คา เอาความสุขไปไวกับสิ่งโนนสิ่งนี้ ไปไวก บั โลกโนน โลกนี้ ทวีปนั้น ทวีปนี้ เอาความสขุ ไปไวก บั วตั ถสุ ง่ิ ของอนั นน้ั อนั น้ี เอาความสุขไปไวสิ่ง โนน เอาจติ ใจไปไวส ิง่ โนน พอสิ่งโนนสลายไปเทานั้นก็หมดทา ! ถึงอันนน้ั ไมสลาย เวลาเราจะตายก็หมดทา อีก ! หาความเปน สาระไมไ ดเลย นน่ั แหละเรยี กวา “คน ขาดที่พึ่ง” เราไมใ ชค นเชน นน้ั เรากาํ ลงั สรา งทพ่ี ง่ึ ภายในจติ ใจ พง่ึ ภายนอกเราไดพ ง่ึ มาแลว ทุกสิ่งทุกอยา งไดอาศยั มาพอสมควรพอรหู นกั เบาของมันแลว ทีน้ีเราจะสรางสาระ สาํ คญั ขน้ึ ภายในจติ ใจทเ่ี รยี กวา “อัตสมบัต”ิ หรือ “อรยิ ทรพั ย” ข้นึ ภายในใจของตน อนั เปนทรพั ยอนั ประเสริฐน้ี ใหสมบูรณพูนสุขขึ้นมาโดยลําดับ จึงขอใหมคี วาม พยายาม การพยายามหนกั เบามากนอ ยกเ็ พอ่ื เราเทา นน้ั ความลําบากลําบนอยาถือเปน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๑

๓๔๒ อุปสรรค อยา ถอื เปน มาอารมณจ ะเปน อปุ สรรคตอ ทางดาํ เนนิ อนั ใดทค่ี วรเปน ประโยชนแกเราในขณะนี้ หรอื ขณะใดกต็ าม ใหรีบเรง ขวนขวาย เพราะความตายนั้น เหมอื นเซน็ สญั ญาไวก บั เราแลว วา เราตองตายแน ๆ นะ แตไ มไ ดบ อกวนั เวลาไวเ ทา นน้ั เราจะนอนใจไดที่ไหนวาวันไหนเราจะตาย เราทราบแตว า “จะตาย” เซ็น สัญญาไวแลว, ตีตราไวแลวกับเราทุกคน แตวันเวลาไมตี เรายงั จะนอนใจอยูหรือ? ถงึ แมวาเขายังไมตีวันเวลา เขามาเอาเมอ่ื ไรกไ็ ด ใหร บี เสยี แตบ ดั นเ้ี พอ่ื ทนั การ อชเฺ ชว กจิ จฺ มาตปปฺ  โกชญฺ า มรณํ สเุ ว, น หิ โน สงฺครนฺเตน มหาเสเนน มจฺจุนา. “ควรทํากิจที่เปนผลประโยชน เปน สาระสาํ คญั แกต นเสยี ในวนั น้ี ไมควรคํานงึ ถงึ วันนัน้ วนั ไหน เพราะความตายทเ่ี ปนพญามัจจุราชนน่ั นะ ไมไ ดก าํ หนดเวลาํ่ เวลาวา จะ มาเมื่อใด” เชา สายบา ยเยน็ อะไร ไมว า ทง้ั นน้ั และไมม ใี ครที่จะรอดพน ไปได ปญญา เฉลยี วฉลาดขนาดไหนกไ็ มพ น เรอ่ื งความตาย เพราะใหญกวาทุกสง่ิ ทกุ อยาง เนอ่ื งจาก เบอ้ื งตนคือตนเหตุความเกิดเปน ขนึ้ มาแลว ความตายจะไมม นี ั้นเปนไปไมได จงึ วา “ทําเสียในบัดน”ี้ ขน้ึ ชอ่ื วา “ความดที ง้ั หลาย” อยา นอนใจ กลางคนื กลางวนั มนั มแี ต มืดกับแจงเทานั้น อยาไปสําคัญมั่นหมาย อยา หวงั ไปเอาความสขุ ความเจรญิ กบั มดื กบั สวา งนน้ั ถาหากมืดกับสวางนี้จะใหความสุขกับคนไดจริง ๆ แลว ทกุ คนเกดิ มาพบแลว ความมดื ความสวา ง บรรดาคนทม่ี นี ยั นต า ความสวางก็เห็น ความมืดก็เห็น ทาํ ไมมกี อง ทกุ ขอ ยเู ตม็ หวั ใจดว ยกนั หากวา สง่ิ เหลา นจ้ี ะเอาความสขุ ความสบายใหค น ตามมโน ภาพทว่ี าดไวน น้ั เพราะฉะนั้นจงึ เปนเรื่องโมฆะ ใหห ยง่ั จติ ลงในจดุ ทจ่ี ะเปน สขุ ทุกขมันเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อแกจ ดุ น้ันแลว สุขจะ เกดิ ขึ้นทนี่ ่นั แหละ แลว ทกุ ขม นั จะเกดิ ทไ่ี หนเวลาน้ี นอกจากเกดิ ในธาตใุ นขนั ธใ นจติ ใจ น้ี ไมม ที อ่ี น่ื เปน ทเ่ี กดิ ของทกุ ข แตล ะคน ๆ เปนเรือนรบั รองทกุ ขท ั้งหลายดว ยกนั เมื่อ เปน เชนนีจ้ ึงจาํ ตองสราง “เรือนรับรองธรรม”ขน้ึ มา ดวยสติปญญา ศรทั ธา ความ เชื่อความเลื่อมใส ใหเ กดิ ขน้ึ ในสถานทแ่ี หง เดยี วกนั แลว กาํ จดั สง่ิ ทม่ี ดื มนอนธการทง้ั หลายนี้ออก เหลอื แตค วามสวา งกระจา งแจง ภายในจติ ใจ ผนู น้ั แลกลางคนื กต็ ามกลาง วนั กต็ าม เปนผูมี “ราตร”ี อันเดียวเทานั้น คอื มคี วามสวา งไสวอยตู ลอดเวลา ไมน ยิ ม วาเปนกลางวันกลางคนื รทู ใ่ี จนน้ั แหละ คอื ผมู หี ลกั ใจ ผูมอี ริยทรัพย ผมู คี วามสขุ สขุ อยทู ห่ี วั ใจ การแสดงกเ็ หน็ วา สมควร จึงขอยุติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๒

๓๔๓ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ อุบายวิธีถอดถอนอุปาทานขันธ คาํ วา “จิต” เปน ความรเู พยี งเทา นน้ั ไมมีเรื่องราวอะไรมากนัก ยิง่ มคี วามรูอยู โดยเฉพาะจิตก็ไมมีเรื่อง พอจิตกระเพอ่ื มตัวออกสคู วามคดิ ความปรงุ ความจดจํา สาํ คัญมนั่ หมายตา งๆ ในสิ่งที่เคยผานเคยรูเคยเห็นมาแลว น่ันจิตเร่ิมกอเรอ่ื ง และ ขยายตัวออกไปไมมที ีส่ ้ินสดุ ยตุ ลิ งได เรอื่ งจึงมอี ยูเ รอ่ื ยๆ และขยายตวั ออกไปเรอ่ื ยๆ จนกระทง่ั ออกไปแลว เขา ไมถ กู เหมอื นกบั กอ ไฟแลว ดบั ไมเ ปน ไฟกล็ กุ ใหญ จิตคิด ออกไปแลว ระงับดับความคิดของตนไมได จึงกลายเปนเรื่องราวเขามาสูตนเอง ใหเกิด ความเดอื ดรอ นวนุ วายอยตู ลอดเวลา “อกาลโิ ก” คอื ไมก าํ หนดสถานกาลเวลา มอี ยเู ชน นน้ั ทกุ หวั ใจ ถามีแตความรูเทานั้นก็ไมมีเรื่อง ถาเทียบก็เหมือนเมล็ดผลไม ที่มีแตเมล็ดเทา นั้นมันก็ไมมีเรื่องมาก แตพ อมนั แตกออกมาเปน ตน แลว กม็ ีใบ รากแกว รากฝอย เปลอื ก กระพี้ แกน กิ่งนอยใหญ ใบออ น ใบแก มีดอกผลเต็มไปหมดทั้งตน ไม สามารถจะพรรณนาได พอมนั แตกออกจากเมลด็ แลว เทา นน้ั มนั ขยายตวั ออกไปจนไม อาจท่จี ะนบั ไดวา รากแกว รากฝอย มีเทาไร แผอ อกไปกวา งแคบขนาดไหน รากแกว มันลงลกึ ขนาดไหน เปลอื กกห็ มุ ตวั กระพแ้ี กน ลาํ ตน ขยายตวั ออกไปเรอ่ื ยๆ ก่งิ กา นสาขา ใบออ นใบแก กง่ิ นอ ยกง่ิ ใหญ ดอกใหมด อกเกา สลับซับซอนเต็มไปหมดในตนไมตน เดียวกัน จนไมส ามารถจะนบั ได นเ่ี ราเทยี บกบั จิต ที่กระเพื่อมตัวออกคิดปรุงเรื่องตางๆ ขยายตวั ออกไป ไมมีที่ สน้ิ สดุ เรื่องเกาผานมานานเพียงไรก็ไปคิดไดหมด นาํ อารมณน น้ั ๆ มายงุ ตัวเอง สิ่งที่ไม เคยผาน ก็คิดไปเดาไปดนไป สาํ คัญมนั่ หมายไปเรอ่ื ยๆ ซึ่งลว นแตเ รื่องยุง ออกไปจาก ใจที่คิดปรุงทั้งนั้น ถาเราไมเคยเห็นความยุง เวลาภาวนาจะรเู รอ่ื งความยงุ ไปเอง วา จิตเปนตัวยุงที่ สดุ ในโลก ไมมีสิ่งใดจะยุงยิ่งกวาจิต รางกายของเราเวลาหิวกระหายมา พอรับประทาน เสยี กร็ ะงบั ดบั กนั ไป กระหายนาํ้ ดื่มเสียก็ระงับความกระหาย ไมก วนอยตู ลอดเวลา เหมือนจิต เวลางว งเหงาหาวนอนกพ็ าพกั ผอ นนอนหลบั ไปเสยี เวลาเมื่อยเพลียก็พัก ผอนเสีย เกิดโรคภัยไขเ จบ็ ขึน้ มาก็บาํ บดั รกั ษาเสยี กย็ งั มกี าลมเี วลาระงบั ดบั ลง พอเปน ความสขุ กายสบายธาตขุ นั ธบ า ง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๓

๓๔๔ สวนจิตใจไมเปนอยางนั้น กอ กวนอยตู ลอดเวลา เพราะความกระเพื่อมตัวเปน ไปอยูเสมอ และมเี คร่อื งผลักดันออกมาใหคิดใหปรุงอยเู ชน นน้ั จติ จงึ เปน เหมอื น “ ลูก ฟุตบอล”นน่ั เอง ถกู เตะใหกลง้ิ ไปน่นั กลง้ิ ไปนี่ กลิ้งไปกลิ้งมา ถกู ฝา เทา ของกเิ ลสทง้ั เตะ ทง้ั เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายขยจ้ี ะเอาใหแ หลกจรงิ ๆ แตจิตก็เปนสิ่งที่ทน ไมมีอะไรที่จะทนยิ่ง กวา จติ เหนยี วแนน ยง่ิ กวา จติ จะทาํ ลายใหฉ บิ หายไปกฉ็ บิ หายไมไ ด เปนแตเพียงความ ทุกขความทรมาน เพราะสง่ิ เหลา นน้ั บบี บงั คบั เทา นน้ั เอง นี่แหละจึงไดรูวา “เรื่องทั้ง มวลออกจากจติ ดวงเดยี วนเ้ี ทา นน้ั ”ไมม อี ะไรทจ่ี ะกอ เรอ่ื งนอกจากจติ เปน ผกู อ การ ระงับเรื่องจึงตองระงับที่ตนเหตุ คอื จติ เปน ตน เหตแุ ละผลติ ผลขน้ึ มาในจติ นน้ั ดว ย จึง ตอ งระงบั ทต่ี รงนน้ั ดว ยอบุ ายวธิ ตี า งๆ อบุ ายวธิ นี น้ั ก็ไมมีสิ่งใดที่จะสามารถนํามาใชไดผล เหมอื นอบุ ายวธิ ีที่พระพุทธ เจา ทรงสง่ั สอนไวทท่ี า นเรยี กวา “สวากขาตธรรม”คอื ตรสั ไวช อบ สมควรแกก ารแก กเิ ลส หรือระงับดับกิเลสที่เกิดขึ้นกับตนได ดว ยความถกู ตอ งแมน ยาํ เหมาะสมกบั การ แกก เิ ลสนน้ั ๆ ทุกประเภท การทก่ี ระทบความทกุ ขค วามลาํ บากนน้ั นะ กระทบดว ยกนั ทกุ คน ไมวาสตั วไ มว า บคุ คล ใครจะมคี วามรมู ากนอ ยเพยี งใดกต็ อ งไดร บั สมั ผสั ไดรับรูความทุกข ที่ไดรับ ความกระทบกระเทอื นอยภู ายในจิตใจและรา งกายตลอดมา แตไมมีใครจะสามารถหา อบุ ายวธิ แี กไ ขความกระทบกระเทอื น อันเปน ส่ิงสําคัญระหวา งจิตกบั อารมณท ป่ี รุงขน้ึ มาภายในตนเองได จติ ชอบถือสง่ิ ภายนอกเปนนมิ ติ เปน เครือ่ งหมาย แลว นาํ เขา มาคดิ ปรุงแตงตางๆ ใหเกิดความทุกขความทรมานแกตน อบุ ายวธิ รี ะงบั ดบั สง่ิ เหลา น้ี มีแตพระพุทธเจาเทานั้น ทเ่ี ปน ผเู ฉลยี วฉลาด สามารถทาํ จนไดผ ล แลวทรงนําทั้งเหตุทั้งผลนั้นมาสอนพุทธบริษัท คอื สตั วโ ลกทว่ั ๆ ไปใหร วู ธิ กี าร ผใู ดมคี วามสนใจเชอ่ื ตามหลกั ธรรม ที่ทรงประพฤติปฏิบัติและไดผลมา แลว นาํ มาปฏบิ ตั ติ นตามทท่ี า นสอนไว ผนู ัน้ ก็ไดร บั ผลไปโดยลาํ ดบั จนเปนท่ีพงึ พอใจ การระงบั ดบั ทกุ ข จงึ หมายถงึ ใจเปน สาํ คญั เอา“ใจ”เปน เปา หมายแหง การพจิ ารณา เพราะตัวนี้เปนตัวการ ถา พดู กว็ า ผู ตองหาคือจิตดวงน้ี คนขี้คุกขี้ตะรางก็คือจิตดวงนี้ ถกู กกั ถกู ขงั อยใู น “วฏั สงสาร” ภพ นอ ยภพใหญ ลวนแลว แตเ ปน ภพทไี่ ดรับความทุกขความทรมาน รบั วบิ าก คาํ วา “วบิ าก” กค็ อื ผล ผลที่เกิดขึ้นจากเหตุ กต็ อ งทาํ ใหผ กู ระทาํ นน้ั ไดร บั ความทกุ ขค วาม ลาํ บากในภพนอ ยภพใหญ ทองเทยี่ วอยูอ ยางน้นั เพราะหาทางออกไมได ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๔

๓๔๕ พระพทุ ธเจา จงึ ทรงเปด ทางใหร ทู างออกรวู ธิ อี อก เรียกวา “นยิ ยานกิ ธรรม” นํา สัตวโลกที่ติดของดวยสิ่งมืดมัว อันเปน เครื่องปดบังทั้งหลายนี้ ใหอ อกไดโ ดย “นิยยา นิกธรรม”สง่ั สอนโดยลาํ ดบั ๆ นับตั้งแตธรรมขั้นต่ําจนถึงขั้นสูงสุด ทาน การใหท าน กเ็ ปน ธรรมแกก เิ ลสประเภทหนง่ึ คอื ความตระหนเ่ี หนยี วแนน ความเหน็ แกต วั ซึ่งเปนคูมิตรกับความโลภมาก นเ่ี ปน กเิ ลสผกู มดั รดั รงึ ใจจนหาทาง ออกไมไ ด ผูที่มีศรัทธา ความเชื่อ ความเลอ่ื มใส มคี วามพอใจในการใหท าน จึงชื่อวา เปน ผแู กก เิ ลสตวั เหนยี วแนน อยภู ายในจติ ใจนอ้ี อกไดโ ดยลาํ ดบั จนกระทง่ั เปน ผเู สยี สละไมม คี วามอาลยั เสยี ดาย เปน ทพ่ี อใจ เมื่อไดเสียสละอะไรลงไปเพื่อประโยชนแกผู อน่ื มากนอ ย เกดิ เปน ความสขุ ขน้ึ มาภายในใจ นค่ี อื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการแกก เิ ลสตวั เหนียวแนน ตวั ตระหนถ่ี เ่ี หนยี ว ตัวเหน็ แกตัว ตัวสงเสริมใหเกิดความโลภมากไมมี เมืองพอ จนเห็นความเบาบางประจักษใจ วตั ถนุ น้ั เปน อนั หนง่ึ ตา งหาก ที่จะทาํ ใหจิตไปเกาะไปยึดแลวส่ังสมกเิ ลสและ ความทุกขข้นึ แกตัวเอง วตั ถุนน้ั ไมไดเปนสง่ิ สําคัญอะไรนัก ที่สําคัญก็คือผูไปยึดไปถือ วัตถุสิ่งของทองเงินเปนตน นี้แลคอื ผูเ ปน ภัยตอจติ ใจ ความยนิ ดใี นการเสยี สละเพอ่ื ประโยชนต ามเหตุตามผลที่จะเสยี สละมากนอ ยแกบ คุ คลใด แกส ตั วต วั ใด หรอื แกผ ใู ด จนมีความเสียสละไดดว ยความปต ิยินดี พอใจ ไมอาลัยเสียดาย นเ่ี ชอ่ื วา เปน ผชู นะกเิ ลส ประเภทนี้ไปแลวโดยลําดับ มหิ นาํ ซาํ้ ยงั เกดิ ความปลม้ื อกปลม้ื ใจในเมือ่ ไดท ําตามความ ตองการแลว นค่ี อื ผลแหง การชนะกเิ ลสประเภทเหนยี วแนน นอ้ี อกได นก่ี เ็ รยี กวา “นยิ ยานิกธรรม”เปน ทางทน่ี าํ สตั วอ อกจากทกุ ข คอื ความผกู มดั รดั รงึ เหลา น้ี ดวยอํานาจของ กเิ ลสตวั หวงแหนไปไดเ ปน ขน้ั ๆ ศีลกม็ ลี กั ษณะอยา งเดยี วกนั แกก เิ ลสในขอ หนง่ึ ๆ นน้ั ปาณาฯ สัตวมีชีวติ คนมชี วี ติ อะไรมีชีวิต ผูนั้นเปนผูรักสงวนชีวิตของตนเทา เทียมกันกับเรา การไมทําเขาใหมีความกระทบกระเทือนหรือเจ็บช้ํา ตลอดถงึ ความลม ตายไป ก็เพราะเห็นคุณคาของเขาของเรา ความไมเ หน็ คณุ คา ของเขา โดยความเห็น แกต วั เปน กเิ ลสประเภทหนง่ึ คนทั้งโลกสัตวทั้งโลก เหน็ เปน คนแตเ ราคนเดยี วแลว ทาํ ลายคนอน่ื สตั วอ น่ื ได โดยไมม คี วามละอายบาป ไมมีความนึกคิดในเรื่องบุญเรื่อง บาปเลย ขอแตเ ปนความพอใจของตน ใครจะฉบิ หายวายปวงดว ยชวี ติ จิตใจรา งกาย อะไรก็ตาม นี่เปนกิเลสประเภทสําคัญมากเชนเดียวกัน การไมใหท ําเพราะเหน็ ความ สําคัญแหงชีวิตของเขาของเรานี้ เรยี กวา เปน การแกก เิ ลสประเภททเ่ี หน็ แกต วั ใน ลกั ษณะดงั ทก่ี ลา วมานอ้ี อกได ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๕

๓๔๖ อทนิ นาฯ พงึ เทยี บลกั ษณะเดยี วกบั กาเม มสุ า สรุ า ลว นแลว แตเ ปน เรอ่ื งของ กเิ ลส เครื่องผูกมัดจิตใจของสัตวใหไดรับความทุกขความทรมานทั้งสิ้น เหลา นล้ี ว นแต กเิ ลสดว ยกนั จึงสอนวิธีแก ดว ยการรกั ษาศลี ขอ นน้ั ๆ ไมใ หใจกําเรบิ ไปตามความ ละเมดิ ทค่ี ดิ อยากทาํ บาป ดว ยการทาํ ลายศลี ขอ นน้ั ๆ ไปในตัว พระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนเพอ่ื การแกก เิ ลส ไมใ ชส ง่ั สอนอยา งปาวๆ หรอื สอน อยางไมมีเหตุผล พระองคทรงทราบหมดวา กเิ ลสมนั แทรกซอ นอยใู นอะไรบา ง จะทรง แกไ ขวธิ ใี ด ทรงแยกแยะไวหมด ใหถ งึ ตวั ของกเิ ลสจรงิ ๆ ซึ่งมีอยูในจิตใจของสัตวโลก และแสดงออกโดยอาการทก่ี ลา วมาน้ี อาการ ๕ อยาง ถา พดู ถงึ เรอ่ื งศลี กอ็ าการ ๕ อยา ง “ปาณา อทนิ นา กาเม มสุ า สุรา” เปนแตละประเภท ๆ แหงศีลธรรม เพอ่ื แก กเิ ลส และศลี ธรรมเหลา น้ีกค็ อื “ธรรม” นน่ั เอง แกก เิ ลสประเภทนน้ั ๆ ทห่ี ยาบคาย ดว ยธรรมหา ขอ ทใ่ี หน ามวา “ศลี ” การทาํ ลงไปนน้ั เปน เรอ่ื งใหญ เปนเรื่องทําลายศีล การคิดไมทํา หรืองดเวน อยู ภายในใจนน้ั เปน เรอ่ื ง “ธรรม” เปน เรอ่ื งแกก เิ ลสอยภู ายในใจ มีความหมายทุกสิ่งทุก อยา ง ที่พระองคทรงสั่งสอนไวอยางไรตองมีความหมายเต็มตัวทีเดียว เราทั้งหลายมี ความรกั ชอบในศลี ในธรรมดงั ทก่ี ลา วมาน้ี ชอ่ื วา เปน ผรู กั ธรรมในการแกก เิ ลสอนั เปน ขาศึกตอธรรม ดงั ทก่ี ลา วมาน้ี ภาวนา คาํ วา “ภาวนา” ยิ่งเปนความละเอียดของจิตเขาไปอีก รวมความละเอยี ด ของกิเลสเขาไปเปนชั้น ๆ ทา นจงึ สอนใหเ รยี นเขา มาหาตวั จติ ใหรูเรื่องของจติ จิต แสดงออกในอาการอยา งใด เชน ทก่ี ลา วเมอ่ื สกั ครนู ว้ี า “บอแหงเหตุ บอ แหง ความยงุ เหยงิ วนุ วาย ตน เหตขุ องกองทกุ ขอ ยทู ไ่ี หน”กค็ อื อยทู ใ่ี จ ทา นสอนใหภ าวนา ใหร ูตน เหตุ คือความคิดเปนเหตุ สอนใหบ รกิ รรมภาวนา หรือใหก าํ หนดอารมณอ นั ใดอนั หนง่ึ ใหเ ปน เครอ่ื งผกู จติ ใจ ไมใ หไ ปคดิ ในแงต า ง ๆ ซึ่งจะเปนการสั่งสมกิเลสขึ้นมาโดยลําดับ ใหจ ติ มอี ารมณอ นั เดยี วกบั ธรรมทก่ี าํ หนด ที่ คําบริกรรมเทานั้น จนจิตมคี วามสบื ตอ กนั ดว ยความรทู เ่ี กย่ี วกบั ธรรมบทนน้ั ๆ ไมขาด วรรคขาดตอน แลว กลายเปน ความสงบขน้ึ มาภายในตน ทานเรียกวา “จิตสงบ” จิตแนว แนไ ปแลว เรยี กวา “จิตเปนสมาธิ” คาํ วา “สมาธ”ิ เปน ฐานะอนั สาํ คญั ของจติ เมื่อจิตมีความสงบ ทกุ ขก ต็ อ งสงบ ลงไป เพราะทุกขเกดิ ขึ้นจากความไมสงบ จติ แสดงความไมส งบกค็ อื จติ กอ ทกุ ข เมื่อจิต ปรากฏเปนความสงบขึ้นมา กค็ อื ความสงบทกุ ข ความสงบจากความฟงุ ซา นอนั เปน สาเหตุใหเกิดทุกข ทกุ ขกต็ อ งดับไปดว ยกัน เพยี งเวลาเดยี วหรอื ขณะเดยี วเทา นน้ั เราก็ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๖

๓๔๗ พอเหน็ เปน สกั ขพี ยานวา ความฟงุ ซา นของจติ กบั ความสงบของจติ นม้ี ผี ลตา งกนั อยา งไรบา ง พอจะเห็นเหตุเห็นผล เห็นโทษเห็นคุณ ของความฟงุ ซา นกบั ความสงบ วา ตา งกนั อยา งไรบา ง แลวกม็ ีทางท่จี ะแยกแยะเลอื กเฟน เอาตามท่ีปรากฏแลวทง้ั สองเรือ่ ง คอื ความสงบกบั ความฟงุ ซา น เราเลือกทํา แมจ ะมคี วามยากลาํ บากเพราะฝน แตเ หตผุ ลและสกั ขพี ยานบอก แลว ภายในตวั วา ความสงบสุขเกิดขนึ้ เพราะความอตุ สา หพ ยายาม และผลจะปรากฏขึ้น มาเรื่อย ๆ เปนความสงบเย็นใจ ขณะท่ีจิตมีความสงบตวั นน้ั ยอ มไมค ดิ ถงึ กาลเวลา สถานทใ่ี ด ๆ ทง้ั สน้ิ รน่ื เรงิ บนั เทงิ อยกู บั ความสงบอนั เปน ความสขุ อยโู ดยถา ยเดยี ว นง่ั อยกู เ็ พลนิ เพลินอยูในความสงบสุขของจิต ยนื อยกู เ็ พลนิ นค่ี อื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความ สงบของใจไมก อ กวนตวั เอง ความคิดปรุงระงับเขามาเพราะบทธรรมเปนเครื่องกํากับใจ การกระทําความเพียรทาง “ จิตตภาวนา”มคี วามอดุ หนนุ กนั ไปโดยลาํ ดบั ความ ตอ เนอ่ื งกนั ไปโดยลาํ ดบั ผลยอ มมคี วามสบื เนอ่ื งกนั เปน ลาํ ดบั เชน เดยี วกนั จนกลาย เปน จติ ทอ่ี อ นโยน นม่ิ นวล สงา ผา เผย มองดภู ายในตวั เองกร็ ู นเ่ี ปน ระยะหรอื เปน ขน้ั หนึ่งของจิต เรอ่ื งราวทเ่ี คยกอ กวนตวั เองนน้ั ยอ มลดนอ ยลงไปเปน ลาํ ดบั เรื่องราวคือ ความคิดความปรุงในแงตาง ๆ ตามยถากรรมที่เคยเปนมา ก็ไมไดเปนอยางนั้นอีก มี กฎเกณฑในการคิดการปรุงเพราะเริ่มมีสติ เริ่มมีความระมัดระวังขึ้น และเริ่มมีสาระ สาํ คญั อนั เปน สมบตั อิ นั หนง่ึ ขน้ึ มาภายในใจ ไมอ ยากจะใหส ง่ิ ใดเขา มากอ กวนทาํ ลาย สมบัติ คอื ความสงบสขุ ทเ่ี คยปรากฏกบั ตนอยแู ลว ยอ มมคี วามระมดั ระวงั สมบตั นิ น้ั ไว เสมอดว ยความมสี ติ ดว ยความเตม็ ใจ ดว ยความพอใจ จติ เลยกลายเปน สมบตั อิ นั มี คาขน้ึ มาอยา งชดั เจน แตก อ นกไ็ มไ ดค ดิ วา จติ นเ้ี ปน สมบตั อิ นั มคี า นอกจากเหน็ วา สง่ิ อ่ืนมีคา ไปเสียท้งั ส้ิน จนหลงเพลนิ เพราะเรายงั ไมเ คยเหน็ จติ แสดงตวั ออกมาเปน สง่ิ ท่ี นาพึงใจ นาอัศจรรย เปนสมบัติอันพึงใจ นา ไวใ จ ฝากเปน ฝากตายได ทนี ป้ี รากฏขน้ึ มาแลว จิตจึงกลายเปนที่พึ่งอันหนึ่ง กลายเปน ทอ่ี าศยั หรอื กลาย เปน สง่ิ ทอ่ี บอนุ ขน้ึ ภายในตวั เอง จติ นน้ั เลยกลายเปน สมบตั อิ นั รกั สงวนขน้ึ มา แลว กร็ กั สงวนมาก พยายามกาํ จดั ปด เปา สง่ิ ทจ่ี ะมากอ กวนทาํ ลายจติ ใจนน้ั ดว ยสติ นเ่ี ปน อกี ขน้ั หนง่ึ คือใจมีความละเอียดเขาไปโดยลําดับ นท่ี า นเรยี กวา “จติ มฐี าน” จติ มหี ลกั เกณฑ จติ ปรากฏเปน สมบตั ขิ องผทู าํ อยา งชดั เจนแลว สมบตั อิ นั นเ้ี รยี กวา “ธรรมสมบัติ” มี ประจักษใจ ในธรรมอกี แงหนง่ึ ทท่ี า นสอนใหส มบตั อิ นั นม้ี คี วามสวา งกระจา งแจง ขน้ึ ไปและ มีความรูรอบตัว เพอ่ื กาํ จดั สง่ิ ทแ่ี ทรกซมึ อยภู ายในใจใหข าดจากกนั โดยลาํ ดบั วา “จิตนี้ มคี วามเกย่ี วเนอ่ื งผกู พนั กบั อะไรบา ง?”ทา นจงึ สอนใหใ ช “ปญ ญา” พิจารณา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๗

๓๔๘ โดยยกธาตขุ นั ธข องเรานข้ี น้ึ เปน อนั ดบั แรก พจิ ารณาคลค่ี ลายตลอดถงึ สง่ิ ภายนอก บรษิ ทั บรวิ าร สมบัตติ างๆ คิดไป และนาํ มาเทยี บเคยี งวา “จิต มคี วามหนกั เบาในสง่ิ ใด ในแงใด ในบคุ คลใด ในสมบตั อิ นั ใดบา ง”แลว นาํ สง่ิ นน้ั ๆเขา มาคลค่ี ลายดใู หเ หน็ ตาม ความจริงของมัน เพื่อจิตจะไดถอยตัวเขามา ปลอ ยความกงั วล หรอื ความผกู พนั นน้ั ๆ ซง่ึ เปน ตวั “อุปาทาน” ยดึ ม่ันถอื มน่ั แลว ทาํ ความกดถว งจติ ใจใหเ ปน พษิ ภยั แกต น ให ถอยตวั เขา มาสู “ความเปน ตวั ของตวั ” คือจิตโดยเฉพาะ พิจารณาเรื่องธาตุเรื่องขันธ ธาตขุ นั ธถ า พจิ ารณาตามความจรงิ แลว เราจะเห็น ประจักษทั้งวันทั้งคืน เพราะเปนความจริงลวนๆ ตลอดมา ตั้งแตวันอุบัติจนกระทั่งถึง วนั สน้ิ ชพี วายชนม ไมล ะความจรงิ อนั นเ้ี ลย เปนแตความรูของเรายังจอมปลอมอยู ของ ปลอมกับของจริงจึงเขากันไมได ทา นจงึ สอนใหใ ชป ญ ญาซง่ึ เปน ความจรงิ อนั หนง่ึ สอด แทรกลงไป ใหร คู วามจรงิ ทม่ี อี ยภู ายในธาตขุ นั ธ หรอื รา งกายนด้ี ว ยการพนิ จิ พจิ ารณา หากจะพจิ ารณาแยกอาการของมนั หรือตามความเปนอยูของมัน กแ็ ยกออกไป ดูใหเ ห็นชัดเจนดว ยปญญา จะไมมีที่ตรงไหนแยงความจริงอันนี้เลย ดูเขาไปตั้งแตหนัง ขางนอก หนงั ขางใน เน้ือ เอ็น กระดูก ดูเขาไป ๆ มนั เปน อยา งไร ตรงไหนที่เปนเรา ตรงไหนท่ีนา รักนา ยนิ ดี ตรงไหนที่เปนเขา ดูเขา ไปจนหมดทกุ ส่ิงทุกสวนแลว มนั กเ็ ปน กองธาตกุ องขนั ธ เปน กองอสภุ ะอสภุ งั เปน ปา ชา ผดี บิ เราดๆี นแ่ี หละ แยกออกเปน เรอ่ื งของธาตุ ก็ไมเ ห็นมอี ะไร มแี ตธ าตุ ๔ ดินน้ําลมไฟเต็มเนื้อ เต็มตัวของเราตั้งแตวันเกิดมาจนกระทั่งบัดนี้ แลวยังจะเปนเชนนี้ตลอดไปจนกระทั่งถึง วนั อวสาน คอื วนั สลายตวั ของสว นประชมุ แหง ธาตทุ ง้ั หลายเหลา น้ี ถา “ปญญา” ไดหยั่งลงไปใหถึงเหตุถึงผลถึงความจริงซึ้งถึงจิตใจแลว ไมต อง บอกใหป ลอ ย แตม นั ปลอ ยของมนั เอง สลัดลงไป ๆ ปลอ ยวางลงไปในสว นหยาบ คือ ธาตสุ ่ี ดนิ นาํ้ ลมไฟน้ี มีอันหนึ่งเปนสิ่งที่ปดบังความจริง หรอื วา ความสําคัญมนั่ หมายของเรา มันปด บงั ตัวเราก็ถูก มันปดบงั เพราะอะไร เพราะธาตุเพราะขันธอันนี้ จงึ ตอ งเอาธาตขุ นั ธอ นั น้ี มาแจงดู คลี่คลายดูใหเห็นชัดเจน แลว กม็ าเหน็ ตวั “ผูจอมปลอม” ไปเที่ยวยึดนั้น ปก ปน มน่ั หมายวา สิ่งนั้นเปนเรา สิ่งนี้เปนของเรา กอ ความยงุ ยากใหแ กต น ขนทุกขมาทับ ตนหนักเทาไร จนกระทั่งไปไมไดก็ยอมทน เพราะความหลงนี้เอง ปญญา กําหนดพิจารณาใหเห็นชัดเจนตามเปนจริง แลว กป็ ลอ ยกนั ไปเองโดย ลาํ ดบั ๆ เมอ่ื จิตมีความรูความเขา ใจในสง่ิ นอ้ี ยางชัดเจนแลว มองลงไปที่ไหนมันทะลุปรุ โปรง ไปหมดภายในรา งกาย เห็นตามความเปนจริงอยางประจักษใจไมมีทางสงสัย ดู ภายนอกกเ็ ชน เดยี วกบั ภายใน ดภู ายในกเ็ ชน เดยี วกบั ภายนอก มันเปนเชนเดียวกัน น่ี ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๘

๓๔๙ จัดวาเปน“โลกวทิ ”ู คอื รแู จงเหน็ จรงิ โลกทง้ั โลกนอกโลกใน เปน สภาพเหมอื นกนั นท้ี ง้ั นน้ั น่ี “โลกวทิ ”ู เปนคุณสมบัติของพุทธบริษัททั้งหลายได ไมใชจะเปน “โลกวทิ ”ู แตพระ พุทธเจาเพียงพระองคเดียว แลว ยงั มอี ะไรเปน ตวั การสาํ คญั ทค่ี อยแตห ลอกหลอนอยตู ลอดเวลา ก็พวก สญั ญา พวกสงั ขาร นี่เองเปนตัวสําคัญ เวทนาเกดิ ขน้ึ มนั กไ็ ปสาํ คญั มน่ั หมายวา “เวทนา เปน เรา”เสีย เวทนาเปนเราเพราะเหตุไร เพราะรางกายนี่เปนเรา รางกายเปน เรา เวทนาก็เปนเรา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ มันก็เปนเราเสีย กม็ าเปน อนั เดยี วกนั หมด ทั้งๆ ที่ “เขา” ไมใ ช “เรา”“เรา” ไมใ ช “เขา” แตค วามสาํ คญั มน่ั หมายนน้ั มนั หลอกเรา พิจารณาดูใหเห็นชัดเจน ความปรุง ก็เพียงคิดขึ้น ดี ชว่ั กต็ าม คดิ ขน้ึ ขณะเดยี วกด็ บั ไป พรอมๆ ในขณะนั้น ไมไดตั้งอยูจีรังถาวรอะไรเลย เปน แตเ พยี งความสาํ คญั มน่ั หมาย นน่ั แหละมนั ไปยดึ เอา เลยยืดยาวไปเรื่อยๆ ไมมีที่สิ้นสุด ยดึ มน่ั ถอื มน่ั ตดิ ตอ สบื เนอ่ื ง กนั เปน ลกู โซ ทกุ ขก เ็ ลยกลายเปน เหมอื นลกู โซไ ปตามกนั คนทั้งคนมีแตลูกโซ คอื ความทกุ ขเ ตม็ หัวใจ การตดั ลกู โซจ งึ ตดั ดว ยการ พิจารณาในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ใหท ราบวา เปน อาการหนง่ึ ๆ ของขนั ธน ่ี เทาน้ัน เวทนา ความสขุ ความทุกข ทกุ ขก ายทกุ ขใ จ สขุ กายสขุ ใจ ก็ อนตตฺ า แนะ !สรุป ความกค็ ือ อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ไปลงที่นั่นไมไปไหน เพราะความจรงิ อยทู ีน่ น่ั คาํ วา “อนตฺตา”มันจะเปน“อตฺตา” ไดอ ยา งไร มนั ปฏเิ สธตวั ตนอยแู ลว ชดั ๆ เกิด ขน้ึ แลว ดบั ไป ทกุ ขก ายกเ็ หมอื นกนั ทุกขใ จกเ็ หมอื นกนั มนั กเ็ ปน เวทนาอนั หนง่ึ ๆ ที่ ปรากฏตัวขึ้นมา สขุ กายสขุ ใจมนั กเ็ ปน เวทนาอนั หนง่ึ เหมอื นกนั พจิ ารณาใหเ ปน สภาพ อนั เดยี วกนั คอื “ไตรลกั ษณ”ลว นๆ เห็นประจกั ษดว ยปญ ญาแลวยอมเปนไตรลกั ษณ ลว นๆ จรงิ ๆ สญั ญา ความหมาย ฟงแตวา “ความหมาย” มนั วนไปเวยี นมาอยอู ยา งนน้ั หมายนน่ั หมายน่ี ดีไมดีก็หมายไป จําไป ลืมไปแลว เอามาจําใหม ยุงกันไปหมด วญิ ญาณ ก็ปรากฏขึ้นในขณะที่มีสิ่งมาสัมผัส เปนความกระเพื่อมแหงความรูรับ กนั กบั สง่ิ ทม่ี าสมั ผสั ทาง ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ซึ่งกระทบกับรูป เสยี ง กลน่ิ รส เครื่อง สัมผัส กเ็ กดิ ความรับรูขึน้ เปนขณะๆ ที่สิ่งนั้นสัมผัส แลว กด็ บั พรอ มกบั สง่ิ สมั ผสั นน้ั ดบั ไป นที่ า นเรียกวา “ วญิ ญาณ”ความกระเพอ่ื มแหง ความรเู ทา นน้ั เอง ความรูจริงๆ ไม เปน เชน นน้ั ถงึ สง่ิ เหลา นน้ั จะมาสมั ผสั หรอื ไมส มั ผสั กต็ าม ความรกู ร็ อู ยโู ดยสมาํ่ เสมอ นที่ า นเรยี กวา “ใจ”หรอื เรยี กวา “จิต”แตค วามกระเพอื่ มของจติ ที่แสดงออกรบั กับสิ่งที่ มาสัมผัสชั่วขณะ ๆ ที่สิ่งนั้นมาสัมผัส ทา นเรยี กวา วญิ ญาณ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๔๙

๓๕๐ “วญิ ญาณในขนั ธห า ” กบั “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” จึงผิดกัน วญิ ญาณในขนั ธห า ปรากฏขึ้นในขณะที่มีสิ่งมาสัมผัส “ปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ” นห้ี มายถงึ “ตัวจิตลวน ๆ” ที่เขา มาปฏสิ นธกิ อ กาํ เนดิ เกดิ ขน้ึ ทน่ี น่ั ทน่ี ่ี หมายถงึ จติ ทก่ี ลา วถงึ “ ในสถานทน่ี ”้ี ในขณะน้ี “วญิ ญาณ”หมายถงึ วญิ ญาณในขนั ธห า ซึ่งมีสภาพเหมอื นกับรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร มนั เสมอกนั ดว ย “ไตรลกั ษณ” เหมอื นกนั ดว ย “ไตรลกั ษณ” เหมอื นกนั ดว ยความเปน “อนตตฺ า” มันไมเหมือนกับเรา เราไมเ หมอื นกบั สง่ิ นน้ั เหตุนั้นสิ่งนั้นจึงไมใชเรา เราจึง ไมใชสิ่งนั้น แยกดว ยปญ ญาใหเ หน็ ตามความเปน จรงิ อยา งน้ี แลว จิตจะปลอ ยความกงั วล ปลอ ยคาํ วา “รูปเปนเรา เวทนาเปนเรา สัญญาเปนเรา สังขารเปนเรา วิญญาณเปนเรา” ปลอ ยออกไป เราไมใชอาการหานี้ อาการหานี้ไมใ ชเ ราเหน็ ประจกั ษ ตดั ตอนมนั ออกไป โดยลาํ ดบั ๆ จนกระทั่งขาดไปจริง ๆ จากอาการ แมจะแสดงขึน้ มากท็ ราบวา “อาการน้ี แสดง” แสดงข้ึนเพยี งไรก็ทราบวามนั แสดง ดวยความรูของเรา ดวยปญญาของเรา ที่ ทานเรียกวา “คลค่ี ลายดว ยปญ ญา” ในบรรดาขนั ธท ม่ี อี ยู ซง่ึ เปน เครอ่ื งปกปด กาํ บงั หรอื รวมเขา มาวา “เปนตน”โดย ความสาํ คญั ของจติ แยกออกดว ยปญ ญาใหเ หน็ ชดั เจน นแ่ี หละตดั กง่ิ กา นสาขา ตัดราก ใหญ ๆ รากฝอยของกิเลสเขา มา เหลือแต “รากแกว ” พอถงึ “รากแกว ” แลว กถ็ อนขน้ึ รากแกว คอื อะไร?คือ ตัวจิต มกี เิ ลสตวั สาํ คญั อยใู นนน้ั หมด ผูปฏิบัติจึงมักจะ หลงที่ตรงนี้ ถาหากไมม ผี แู นะเลยจะตอ งมาตดิ ที่ตรงนี้แนน อน ถอื สง่ิ นเ้ี ปน ตน คิดวา “อะไร ๆ กห็ มดแลว รูหมดแลว รูแลว” ยกเราวารูหมด! แตเ ราหาไดร ู “เรา” ไม นน้ั คือเราหลงเรา รสู ง่ิ ภายนอกแตม าหลงตวั เอง สง่ิ ภายนอกในสถานทน่ี ้ี ไมต อ งพดู ถงึ สง่ิ ภายนอกทน่ี อกจากตวั เรา หมายถงึ รูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ นน้ี แ่ี หละ รูสิ่งเหลานี้แลวยังไมรูตัวจริงคือจิต จิต เลยยกตัวขึ้นวารูส่ิงทงั้ หลายเสีย ทั้ง ๆ ทต่ี วั กาํ ลงั หลงอยใู นตวั เอง จึงตองใชปญญาคลี่ คลาย หรอื ขยข้ี ยาํ เขา ไปทต่ี รงนเ้ี พื่อความรูรอบตัว ไมใหมีอะไรซุมซอนอยูเลยขึ้นชื่อ วา “ยาพษิ ” คือกิเลสประเภทตาง ๆ แมจะละเอียดเพียงไร มี “อวชิ ชา” เปน ตน กใ็ ห กระจายไปดว ยอาํ นาจแหง ปญ ญาคลค่ี ลาย จนกระทั่งกระจายไปจริง ๆ หรอื สลายไป จรงิ ๆ ดว ยอาํ นาจของปญ ญาอนั แหลมคม แลว คาํ วา “เรา” คาํ วา “ของเรา” กห็ มด ปญหา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๐

๓๕๑ คาํ วา “รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ หรอื วา ขนั ธห า อาการทง้ั หา นี้เปนเรา เปนของเรา” ก็หมดปญหาไปตาม ๆ กนั วาเปน “อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา”กห็ มดปญ หาไป ตามกัน เพราะสน้ิ ปญ หาภายในใจ คอื “อวชิ ชา” ซึ่งเปนตัวปญหาไดสิ้นไปแลว ปญหา ทั้งหลายจึงไมมีภายในใจ ใจจึงเปน ใจท่บี รสิ ุทธิ์ลวน ๆ ! นน่ั แหละคอื บอ แหง ความสขุ ! เมอ่ื กาํ จดั ความทกุ ข เหตใุ หเ กดิ ทกุ ขอ อกจาก ใจหมดสน้ิ ไปแลว ใจจงึ กลายเปน ใจทบ่ี รสิ ทุ ธข์ิ น้ึ มา นยิ ยานกิ ธรรม พระพทุ ธเจา ทรงสง่ั สอนสตั วโ ลกมาตั้งแตพื้น ๆ ดังที่กลาวมา แลวเบ้ืองตน จนกระทง่ั ถึงจดุ สดุ ทายอยางนี้ เปน “นิยยานิกธรรม”โดยสมบูรณ นาํ สตั ว ผูของ พดู งา ยๆ นําจิตผูของ ใหพ น จากความของนน้ั โดยประการทั้งปวง กลายเปน “โลกวทิ ”ู รแู จง เหน็ จรงิ ในธาตใุ นขนั ธท ง้ั ภายนอกภายใน แลวก็หมดปญหากันเพียงเทา น้ี จากนั้นทานก็ไมไดทรงสอนอะไรตอไปอีก เพราะพนจากทุกขแลวจะสอนเพื่อ อะไร ถงึ ทอ่ี นั เกษมแลว สอนกนั ไปเพอ่ื อะไรอกี ! นแ้ี ลทเ่ี คยกลา วเสมอวา “มชั ฌมิ า” ในหลกั ธรรมชาตอิ นั เปน ฝา ยผล ไดแ ก “จิต ทบ่ี ริสทุ ธล์ิ ว น ๆ” น้ี ไมมีอะไรที่จะ “กลาง” ยง่ิ กวา จติ ทบ่ี รสิ ทุ ธน์ิ ้ี เสมอยง่ิ กวา จติ ท่ี บรสิ ทุ ธน์ิ ้ี ไมม ใี นโลกทง้ั สามน้ี! เพราะฉะนั้นจึงไมมีอะไรประเสริฐยิ่งกวาจติ บริสุทธิ์ลวน ๆ อนั เปน “มชั ฌมิ า” ในหลักธรรมชาตนิ ี้ นี่แหละความเปนเอก กค็ อื น้ี จิตเปนเอก ก็คือจิตที่บริสทุ ธ์ิน้ี ธรรมอันเอก ก็คือ ธรรมอนั บรสิ ทุ ธภ์ิ ายในใจน้ี มีอันเดียว ไมม สี องกบั สง่ิ ใด โลกทง้ั หลายมีคู ๆ ธรรมชาตินี้ไมมีคู มอี นั เดยี วเทา นั้น พระพุทธเจาสมกับพระ นามวา เปน “โลกวทิ ”ู เปนศาสดาเอกของโลก ทรงรวู ธิ แี กไ ขกเิ ลสนอ ยใหญม าโดย ลาํ ดบั ๆ แลว นาํ มาสง่ั สอนโลก ใหพ วกเราทงั้ หลายแมเกดิ สดุ ทา ยภายหลงั ตามคตนิ ิยม กต็ าม แตเรากไ็ ดรับพระโอวาทคาํ ส่งั สอน คือศาสนธรรมจากพระองคมาปฏบิ ตั ิตนเอง ไมเสียชาติที่ไดเกิดมาเปนมนุษย “ธรรม” กบั “พระพุทธเจา” คือธรรมคําสั่งสอนของพระองค นํามาเปน เครอ่ื ง ประดับกายประดับใจของเรา ขอใหม คี วามภาคภมู ใิ จในวาสนาของเราทไ่ี ดเ ปน อรรถ เปนธรรม ปฏิบัติตามพระองค ใหส มช่อื วา “เปนพุทธบริษัทโดยสมบูรณ” จึงขอยุติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๑

๓๕๒ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๖ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ ใจปลอม วธิ ปี ฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน การฝก หดั ภาวนา กรณุ าปฏบิ ตั หิ รอื ดาํ เนนิ ตามทท่ี า นแนะไว เกย่ี วกบั เรอ่ื ง ภาวนา ซง่ึ เปน สาระสาํ คญั ของศาสนาแท เปน แกน หรอื เปน รากแกว ของศาสนา กอนอื่นใหใจไดรับการอบรมศีลธรรมคุณงามความดีตาง ๆ หลงั จากนน้ั กฝ็ ก หดั ทางดานจิตใจ ทดสอบอารมณท เ่ี คยเปน พษิ เปน ภยั แกต นมานานแสนนาน คือ ทดสอบดว ยการภาวนา ไดแ กก ารสอดรคู วามเคลอ่ื นไหวของจติ ทีค่ ิดปรุงในแงตาง ๆ เมือ่ ทําความสังเกตอยูเสมอ เราจะทราบเรอ่ื งของจิตที่คิดปรุงในเรื่องตาง ๆ ทั้งที่ เปนพิษเปนภัย ทั้งที่เปนคุณแกเราไดด ี การฝก หดั เบอื้ งตน ก็เหมือนกับเราเรมิ่ ทํางาน งานนั้นเรายังไมเคยทํา ผลก็ยังไม เคยปรากฏ เปนแตเพียงเหตุผลเปนเครื่องบังคับใหตองทํางาน เราก็ทําตามเหตุผลนั้น ๆ แตความเขาใจ ความชาํ นาญในงานนน้ั ยงั ไมม ี เรายังไมเขาใจ ผลกย็ งั ไมปรากฏ จึง ตองมีการฝนเปนธรรมดาที่เริ่มฝกหัดทํางานในเบื้องตน เมอ่ื ทาํ ไปนานๆ ความชาํ นิ ชาํ นาญในงานกค็ อ ยมขี น้ึ ความคลอ งแคลว ในงานกค็ อยเปน ไปโดยลําดับ ผลของงานก็ คอ ยปรากฏขึ้น ยอมจะรูทิศทางที่จะดําเนินงาน หนกั เบามากนอ ยไดโ ดยลาํ ดบั ความ หนกั ใจกค็ อ ยลดลง เพราะรูวิธีทาํ งานนั้น ๆ ตลอดทว่ั ถงึ แลว พรอมทั้งผลก็ไดรับโดย ลาํ ดบั งานดา นภาวนากม็ ลี กั ษณะเชน เดยี วกนั คอื อาศยั การฝน บา ง เหตทุ จ่ี ะฝน ก็ เพราะเราอยากดี ผทู ม่ี าสอนเราคอื พระ นอกจากพระแลว ทา นยงั นาํ พระศาสนามาสอน เรา ศาสนธรรมทง้ั หลายออกมาจากพระพทุ ธเจา พระพุทธเจาเปนผูรูจริงเห็นจริง ไมไดตั้งพระองคเปนผูหลอกลวงตมตุนโลก มนุษย แตเปนผูรื้อฟน ขนสตั วใ หพน จากความทุกขเ พราะความโงเงา ตาง ๆ ตางหาก ธรรมที่แสดงออกทุกบททุกบาท จึงออกมาจากการพสิ จู นค น พบของพระพทุ ธเจา อยา ง แนพระทัยแลว จึงไดใหนามธรรมนั้นวา “สวากขาตธรรม” คือธรรมที่ตรัสสอนไวชอบ แลว ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง ไมมีอะไรผิดเพี้ยน เปนธรรมตรงตอเหตุตอผล ตอ ความสตั ยค วาม จรงิ หรอื ตอ ความเปน จรงิ ทุกแงทุกมุมแหงธรรมที่แสดงไวแลวนั้น พระองคเปนผูรับ รองในความบริสุทธิ์ แมพระองคจะไมประกาศวาพระองคเปนผูรับรองก็ตาม ความ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๒

๓๕๓ บริสุทธิ์หมดจดในพระทัย ทท่ี รงคน พบแลว นาํ ออกสอนโลก นั้นเปนเครื่องประกาศ ออกมาเอง ศาสนธรรมทอ่ี อกมาจากพระโอษฐ ออกมาจากพระทัยนั้น จึงเปนศาสนธรรมที่ บริสุทธิ์หมดจด เปนท่ีเชื่อถอื ไดทุกขั้นแหง ธรรม เราหาความเชื่อถือตามความจริงจาก คนทง้ั หลายนน้ั หาไดย าก ยิ่งสมัยทุกวันนี้มีแตเรื่องปลอมแทบทั้งนั้น จะหาความสัตย ความจรงิ ตอ กนั รสู กึ วา หาไดย าก ไมเ หมอื นกอ น ๆ เพราะเหตุไร ? เพราะจติ ใจของ มนุษยมันปลอมไปมาก จนอาจกลายเปนเรื่อง “มนษุ ยป ลอม” ไปดวย สกั แตว า รา ง มนุษยแตจิตใจปลอม เพราะฉะนั้นธรรมของจริงหรือความสัตยความจริง จึงไมสามารถ สถิตอยูในที่จอมปลอมได ของปลอมอยดู ว ยกนั จงึ อยไู ดส นทิ เวลาระบายออกมากอ็ อก มาจากความจอมปลอมของใจ ผูฟงก็ปลอมดวยกัน ตางอันตางปลอม ฟงกันก็เชื่อ และ ตม ตุน กันไปอยางสะดวกสบายไมเขด็ ไมหลาบ โลกมกั ชอบกนั อยา งนน้ั แตศ าสนธรรมซง่ึ เปน ความจรงิ ไมมกี ารหลอกลวงตม ตุน จิตใจคนกลับหางเหนิ จากธรรมของจริง หรือไมสนใจประพฤติปฏิบัติ เมอ่ื หา งเหนิ จากธรรมของจริงแลว กม็ ี แตความจอมปลอมเขาแทรกสิงหรือกลุมรุมจิตใจ ใหประพฤติไปตาง ๆ นอกลนู อก ทาง ผลจงึ ทาํ ใหไ ดร บั ความทกุ ขล าํ บากราํ คาญอยเู สมอในทท่ี ว่ั ไป เราทั้งหลายเปนผูมุงมาเพื่ออรรถเพื่อธรรม อันเปนความจริงที่พระองคทรง สอนไวแ ลว จึงควรพิสูจนความจอมปลอมซึ่งมีอยูในจิตใจของตนวา มมี ากนอ ยเพยี งไร และมมี านานเทา ไร จะควรปฏบิ ตั แิ กไ ขอยา งไรบา ง เพือ่ ความจอมปลอมซ่งึ เปน สาเหตุ กอ ทกุ ขใ หเกดิ ขนึ้ แกเราไมแลวไมเ ลา นี้ จะคอยหมดไปโดยลําดับ พอใหม คี วามสขุ ใจ บางจากการประพฤติปฏิบัติธรรม ธรรมนั้นเปนเครื่องเชิดชูคนใหดีงาม และปลดเปลื้องสิ่งที่เปนพิษเปนภัยออก ใหไดร บั ความสุขทางดา นจิตใจโดยลําดับ ธรรมจึงไมเปนภัยแกผูใดทั้งนั้น ไมว า สมยั ใด ธรรมเปนคุณสมบตั ิอันหนงึ่ ทค่ี ูควรแกใ จ และมีใจเทานัน้ เปน คูควรแกธ รรม คือ สามารถที่จะรับธรรมไวได และเปนภาชนะอนั เหมาะสมอยา งยงิ่ ไมมีภาชนะใดที่จะ เหมาะสมยงิ่ กวาใจ ที่ใจปลอมก็เพราะวา สิ่งจอมปลอมมันแทรกอยูภายในใจ จนกลายเปน ใหญ เปนโตขึ้นมาคลอบงําจิตทั้งดวงใหปลอมไปตามหมด จึงทาํ ใหม นษุ ยเ ดอื ดรอ นวนุ วาย อยทู ไ่ี หนกไ็ มม คี วามผาสกุ เยน็ ใจ เพราะสง่ิ เหลา นไ้ี มเ คยทาํ ความผาสกุ เยน็ ใจใหแ กใ คร นั่นเอง ขน้ึ ชอ่ื วา “ของปลอม” ยอ มกอ ความเดอื ดรอ นเสยี หายเชน นม้ี าตง้ั แตไ หนแตไ ร การปฏิบัติธรรมก็เพื่อจะกําจัดสิ่งที่ปลอมแปลงนั้นออก ใหเ หลอื แตแ กน ให เหลอื แตของจริงลว น ๆ ภายใน เฉพาะอยา งยง่ิ การฝก หดั ภาวนา ควรจะทําใหเปนล่ํา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๓

๓๕๔ เปนสัน เปนเนื้อเปนหนังพอสมควร เพราะงานอน่ื เราเคยทาํ มาแลว ตง้ั แตไ หนแตไ ร จน บัดนี้เราก็ยังทําได หนกั กท็ าํ เบากท็ าํ ผา นไปโดยลาํ ดบั จนถงึ ปจ จบุ นั น้ี จะเปน งานสกั ก่ี ชน้ิ จนนบั ไมถ ว น เพราะมากตอมาก เราเคยผา นความหนกั เบา ความลาํ บากลาํ บน ทกุ ข รอนเพราะสิ่งเหลานี้มามากมายเพียงไร ยงั อตุ สา หส ทู นกบั งานนน้ั ๆ มาได แตเวลาจะ ทาํ จติ ตภาวนา ซึ่งเปนธรรมประเภทคุณสมบัติอันสูงสงภายในจิตโดยเฉพาะ ซึ่งเปน ความจาํ เปน เชน เดยี วกบั งานอน่ื ๆ หรอื ยง่ิ กวา นน้ั ทําไมเราจะทําไมได นเ่ี ปน ปญหาท่ี เราจะคดิ แกก ลอบุ ายของกเิ ลสซง่ึ เปน ตวั หลอกลวง ไมอ ยากใหเ ราทาํ ใหข าดออกจากจติ ใจเปน ลาํ ดบั ไมถอยทัพกลับแพมันอีก เทา ทถ่ี กู มนั กดขบ่ี งั คบั มาแลว กแ็ สนทกุ ขท รมาน นา เคยี ดแคน อยา งฝง ใจ ไมนาจะมีวันหลงลืมไดเลย ถาเปน ใจชาวพทุ ธ ลูกศิษยพระ ตถาคต นะ เบอ้ื งตน จติ ยอ มลม ลกุ คลกุ คลาน เพราะไมเคยถูกบังคับดวยอรรถดวยธรรม มี แตถ กู บงั คบั จากกเิ ลสโดยถา ยเดยี ว เรอ่ื งของกิเลสตอ งบังคับจติ เสมอ บงั คบั ใหล งทาง ต่ํา เมอ่ื จิตเราเคยถกู บงั คบั ลงฝา ยตาํ่ อยแู ลว จะฉดุ ขน้ึ มาทส่ี งู คอื “พระสัทธรรม” จงึ เปน การยาก เอา ! ยากกต็ าม เราตองฝน เพอ่ื ฉดุ ลากจติ ใจทก่ี าํ ลงั ถกู กลมุ รมุ ดว ยพษิ ภยั ทง้ั หลายนน้ั ใหพ น ขน้ึ มาโดยลาํ ดบั เปน สง่ิ ทค่ี วรทาํ อยา งยง่ิ สาํ หรบั เราผหู วงั ความสขุ ความ เจริญ และความพน ทกุ ขโ ดยสน้ิ เชงิ ทา นผใู ดมคี วามสนใจ หรอื มจี รติ นสิ ัยชอบในธรรมบทใด กรณุ านาํ ธรรมบทนน้ั ไปบริกรรม คาํ วา “ถกู กบั จรติ นสิ ยั ” นั้น ไดแกเวลาเรากําหนดนําธรรมบทนั้นๆ มา บรกิ รรมทดสอบดู จะมคี วามรสู กึ เบา หรอื คลอ งแคลว ภายในจติ ใจ ไมหนักหนวง นี่ชื่อ วา “ถกู กับจริตนิสัยของเรา” เชน “พุทโธ” เปนตน เมอ่ื ถกู แลว กพ็ งึ นาํ ธรรมบทนน้ั มา กาํ กบั จติ ใจ ทาํ ไมจงึ ตอ งนาํ คาํ บรกิ รรมมากาํ กบั จติ ใจ ? เพราะปกติของใจนั้นมีแตความรู เราไมทราบวารูอยา งไรบา ง ลกั ษณะความรนู น้ั เปน อยา งไร ตวั ความรแู ทเ ปน อยา งไร ไมส ามารถทราบได ทราบแตว า “รู” เทา น้ัน รูไปทั่วสารพางคร า งกาย แตจ บั เอา “ตวั ร”ู จริง ๆ ซง่ึ เปน ตวั สาํ คญั ไมไ ด เพราะฉะนั้นจึงตองนํา “คําบริกรรม” เขา มากาํ กบั เพอ่ื เปนที่ยึดเหนี่ยวของใจ จนสามารถทรงตัวได ถาจะเทียบกับภายนอกกเ็ หมอื นเขาตก เบด็ เอาปลานน่ั เอง ถา มแี ตเ บด็ เฉย ๆ ปลากไ็ มก นิ เบด็ ตอ งมเี หยอ่ื ลอ ดว ย การเอา เหยอ่ื ลอ ใหป ลากนิ เบด็ นน้ั เพราะเราตองการปลาที่จะมากินเบ็ดเพราะเหยื่อลอนั้น เรา ไมไดมุงหวังจะเอาเหยื่อ เรามุงจะเอาปลาตางหาก จงึ หาเหยอ่ื มาลอ คอื ตดิ เหย่อื เขากบั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๔

๓๕๕ ปลายเบด็ แลว หยอ นลงไปในนาํ้ เพอ่ื ใหป ลามากนิ เบด็ ปลาเหน็ เขา กม็ ากนิ โดยเขาใจวา เปน อาหาร นี่เปนขอเทียบเคียง คาํ วา “พุทโธ” กด็ ี “ธัมโม” กด็ ี “สังโฆ” กด็ ี หรือคําบริกรรมบทใดก็ตาม นี่เปน เหมอื นทว่ี า นน่ั แล คอื เปน เหยอ่ื สาํ หรบั ลอ จติ หรอื เหมอื นกบั เชอื กมดั ใหจ ติ อาศยั อยู กบั คําบรกิ รรมนั้น ๆ ดว ยความมสี ตอิ ยเู สมอไมใ หค ลาดจากกนั จะกาํ หนด “พุทโธ” ก็ ใหม คี วามรสู กึ อยกู บั “พุทโธ” สบื เนอ่ื งกนั ไปโดยลาํ ดบั เมอ่ื จติ ใจไดท าํ งานในหนา ทอ่ี นั เดยี วไมม สี ง่ิ อน่ื มาเกย่ี วขอ ง หรือจติ ไมไดเล็ด ลอดออกไปคดิ ในแงต า ง ๆ ซง่ึ เปน เรอ่ื งกวนใจ ใหเ กดิ ความฟงุ ซา นวนุ วาย จติ ก็จะงบ ตัวลงไป โดยอาศัยคําบริกรรมเปนเครื่องผูกมัดอยู กระแสของจติ ทซ่ี า นไปสสู ถานท่ี หรือสิ่งตาง ๆ วตั ถอุ ารมณต า ง ๆ จะรวมตัวเขามาสูจุด คอื “พุทโธ” แหงเดียว จนกลาย เปนจุดที่เดนชัดขึ้นมาภายในใจ เมอ่ื ใจมคี วามสงบดว ยอบุ ายอยา งน้ี จนปรากฏผลขึ้น มา คอื ความสขุ เกดิ ขน้ึ จากความสงบ เรียกวา “ไดผล” งานคือการภาวนาของเราเริ่มได ผลแลว ไดผลเปนความสงบ เปน ความเยน็ ใจ เปน ความสขุ และสขุ ละเอยี ดออ นขน้ึ ไป ตามลําดับแหง ความสงบที่มีมากนอย นี่เปนผลที่จะยังจิตใจใหดูดดื่ม และเปนพยาน เปนเครื่องยึดของจิต เปนเครื่องอบอุนของใจ ในเมื่อไดรับผลปรากฏเปนที่พอใจเชนนี้ จะมีความพากเพียร มีความเช่อื ม่ันขน้ึ เรื่อย ๆ แมผ ลกจ็ ะมคี วามละเอยี ดขน้ึ ไปอยา งแนน อนไมส งสยั เพราะเทา ทป่ี รากฏนก้ี ็ เปนที่พึงพอใจอยูแลว ยง่ิ ไดภ าวนาใหม คี วามละเอยี ด กย็ ง่ิ จะปรากฏผลคอื ความ ละเอยี ดมากขน้ึ โดยลาํ ดบั เปน เชอ้ื แหง ความเชอ่ื ความเลอ่ื มใสในพระศาสนา และเชื่อ ตอ งานของตนทจ่ี ะพงึ บกึ บนึ หรอื พยายามตอ ไปไมล ดละทอ ถอย เมื่อจิตไดรับความ สงบเห็นประจักษครั้งหนึ่งแลว ตอไปความขยันหมั่นเพียร ความสนใจตอ งานทเ่ี คยทาํ น้ี จะคอ ยเดนขน้ึ ๆ ไมค อ ยไดถ กู บงั คบั บญั ชามากนกั เหมอื นแตก อ น แตป ระการสาํ คญั ขณะทป่ี รากฏขน้ึ แลว คอื ขณะทผ่ี ลปรากฏขน้ึ แลว ในวนั น้ี หรอื ในคราวน้ี คราวตอ ไปอยา ไดไ ปคาดไปหมายอารมณท เ่ี กดิ ขน้ึ แลว และผา นไป แลวนั้น อยา ไดถ อื เอาอนั นน้ั มาเปน อารมณใ นขณะทท่ี าํ ภาวนาในวาระตอ ไป ใหต ง้ั หนา ตง้ั ตาทําตามหนา ท่ี หรอื ตามงานของเราทีเ่ คยทําอยา งทีเ่ คยทาํ มาแลว โดยไมต อ งคาด ผลวา จะเปน อยา งใด เมอ่ื สตคิ วามรบั รสู บื ตอ อยกู บั คาํ บรกิ รรม ความรสู กึ กต็ ดิ ตอ อยกู บั คาํ บรกิ รรม เปนลําดับ ๆ นนั้ แลเปน งานทีท่ าํ โดยถูกตอ งแลว ผลจะปรากฏขน้ึ มากบั งานนน้ั เชน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๕

๓๕๖ เดยี วกับทเี่ คยปรากฏมาแลว หรือยงิ่ กวา นัน้ ไปโดยลําดับ นค่ี อื ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการ ภาวนาเปน อยา งน้ี การไปคาดหมายผลทผ่ี า นมาแลว จะทําใหจ ติ เขวจากงานในวงปจจุบัน ซึ่งเปน งานจะยังผลใหเกิดขึ้นโดยสมบูรณ ฉะนน้ั จงึ ไมค วรไปยดึ อารมณอ ดตี มาทาํ ลายงาน ในวงปจจุบัน ความสุขใดกต็ ามไมเหมอื นความสุขท่ีเกดิ ข้นึ จากความสงบของใจ ทา นกลา วไว ในธรรมวา “นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุข”ํ สุขอ่นื ยง่ิ กวาความสงบน้ีไมมี ทั้งนี้เริ่มไปแตความสงบ ในเบือ้ งตน จนถึงสันติ คอื ความสงบในวาระสดุ ทา ย ไดแ กค วามสงบราบคาบแหง จิต ทไ่ี มม กี เิ ลสแมน อ ยหนง่ึ เหลอื อยเู ลย! เราทุกคนที่เกิดมาในโลก มงุ หาความสขุ ความเจรญิ ดว ยกันท้ังน้นั ไมวาหญงิ วา ชาย ไมว า ชาตชิ ัน้ วรรณะใด มคี วามรสู กึ อยเู ชน น้ี มคี วามหวงั อยเู ชน น้ี หวงั อยากได ความสุขความเจริญ แตแลวทาํ ไมโลกน้ีจึงเตม็ ไปดวยความรมุ รอนวนุ วาย มแี ตค วาม ทุกขเต็มจิตใจ และรา งกายของสตั วโ ลก ทําไมจึงไมเจอความสุขดังที่มุงหมายบางไม มากกน็ อ ย เพราะเหตใุ ด ? กเ็ พราะวาแสวงหาความไมถ กู จดุ เปน ท่พี อใจ ความสขุ ทเ่ี ราทง้ั หลายแสวงหานน้ั จงึ เปนแตเ พียงมโนภาพที่วาดไปแลวก็กอความกังวลใหแ กตน เมื่อปรารถนาไมสมหวัง กเ็ พ่ิมความทุกขข น้ึ มาใหแ กตนเทานน้ั เพราะฉะนนั้ เพอ่ื ความเหมาะสมเพื่อความสมหวงั จึงควรดําเนินตาม “ศาสน ธรรม” ที่พระพุทธเจาทรงคนพบซึ่งความสุข และเหน็ ความสขุ ประจกั ษพ ระทยั แลว จงึ นาํ มาประกาศสอนโลกดว ยพระเมตตา พวกเราชาวพทุ ธควรพากนั ดาํ เนนิ ตามหลกั ศาสนธรรมมีดานจิตตภาวนาเปนตน เพอ่ื ใหใ จไดร ับความสงบสุข ถา ทาํ ถกู ตามหลกั ธรรมทท่ี า นสอนไว ไมต อ งสงสยั วา ความสขุ จะไมป รากฏขน้ึ มากนอ ยภายในใจทส่ี งบตวั ตอ งปรากฏขน้ึ มาอยา งแนน อนไมว า ผหู ญงิ ผชู าย ไมว า นกั บวช ฆราวาส จิตเปนธรรมชาติกลาง ๆ ไมข ึ้นอยกู บั เพศกบั วัยอะไรทัง้ นั้น หลกั ใหญอ ยตู รงน้ี การแสวงหาความสขุ ทางใจ แสวงหาอยา งน้ี สว นความสขุ ภายนอกเรากพ็ อทราบกนั เพราะเคยเสาะแสวงหา เคยไดอาศัยสิ่ง เหลา นน้ั มาแลว ใคร ๆ กท็ ราบดอี ยแู ลว ไมจ าํ เปน ตอ งแนะนาํ สง่ั สอนกนั ทส่ี าํ คญั กค็ อื การเสาะแสวงหาความสขุ ทางดา นจติ ใจอนั เปน หลกั สาํ คญั ในรา งกายและใจเรา ควร แสวงหาวธิ ใี ดจงึ จะเจอความสขุ ? จติ ใจทเ่ี จอความสขุ ยอ มไมก วดั แกวง วนุ วาย ไมเดือดรอน ไมฟุงเฟอเหอเหิม มี ความสงบตวั อยเู ปน ปกติ อยใู นอริ ยิ าบถใดกท็ รงตวั อยไู ดด ว ยความสงบสขุ และความ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๖

๓๕๗ สวยงาม ไมวิ่งเตนเผนกระโดด หรอื กวดั แกวง อยภู ายใน เพราะไมมีสิ่งกวนใจ เนอ่ื งจาก ความสงบเปน อาหารหลอ เลย้ี งจติ ใจ ใหไดร บั ความสขุ ความรมเย็นอยูภายในตัว ซึ่งเปน ผลเกดิ ขน้ึ จากการภาวนา เราควรจะเสาะแสวงหาใหเ จอความสขุ บา งไมมากกน็ อย ทาง ดานจิตใจ ยากกท็ นบา ง เพราะงานไมวางานไหน ตอ งฝน ความยงุ ยาก ฝน ความลาํ บาก ตองฝนทุกขบางเปนธรรมดาเมื่อพอฝนได นอกจากจะสุดวิสัยฝนไมได กจ็ ําเปน ดว ยกนั ไมว า งานในงานนอก งานนอกไดแ กก ารงานตา ง ๆ งานใน ไดแ ก “จติ ตภาวนา” ตอ งมคี วามยากบา ง เปนธรรมดาดวยกัน พระพทุ ธเจากเ็ ปน องคพ ยานสาํ คญั แลว ในเรอ่ื งความทกุ ขค วาม ทรมาน เกย่ี วกบั การบาํ เพญ็ พระองคก อ นจะไดต รสั รู ปรากฏวา สลบไสลถงึ สามหน คํา วา “สลบ” คอื ตายแลว ฟน ถาไมฟ นกไ็ ปเลย จะทุกขขนาดไหนจนถึงขั้นสลบ? ถา ไม ทุกขมากจะสลบไดอยา งไรคนเรา ! ตองถึงขนาดจึงสลบได เรียกวา “รอดตาย” นั่นเอง ครูของเราทําอยางนี้ เพราะศาสนานีไ้ มใ ชศาสนาเพ่อื ลางมือเปบ เกดิ ขน้ึ ดว ย เหตุดวยผล เหตุดีผลดี การทําเหตุไดมากนอย ผลยอมปรากฏขึ้นตามเหตุที่ทํา ไมทํา เลยผลจะปรากฏไดอยางไร แตความตองการของเรา ตองการความสุขความเจริญ ความสมหวงั ดว ยกนั ทง้ั นน้ั ไมว า หวั ใจใด จะนาํ สง่ิ ใดมาเปน เครอ่ื งสนองความตอ งการ ใหส มความมงุ มาด ปรารถนาเลา นอกจากจะทําในสิ่งที่ชอบอนั เปน ทางเดินเพอ่ื ความถกู ตอ งเทานั้น ความ สมหวังน้นั จึงสาํ เรจ็ ไปโดยลาํ ดบั จนสําเร็จโดยสมบูรณ เพราะฉะนน้ั ในวาระน้ี จึงจําเปนอยางยง่ิ ท่ีเราจะบําเพญ็ ทางดานจติ ใจ อันเปน จุดหมายใหเ กิดความสขุ ความสมหวงั ขน้ึ ภายในใจของตนดวย “จติ ตภาวนา” เหนอ่ื ย บา งกท็ นเอา จติ มันเคย วอกแวกคลอนแคลน เคยคิดเคยปรุงมานมนาน ซึ่งไมเกิดผลดี อะไรเลย จึงบังคับไวบาง การปลอ ยใหค ดิ ไปในแงต า ง ๆ ตามอารมณของใจนั้นไมเกิดประโยชนอะไร นอกจากไปเทย่ี วกวา นเอาความทกุ ขค วามรอ นจากอารมณต า ง ๆ เขามาเผาลนจิตใจ ของตนใหเดือดรอนวุนวายไมขาดวรรคขาดตอนเทานั้น ไมเ หน็ ผลดอี นั ใดทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก การปลอยใจไปตามลําพังของมัน การฝก จติ การทรมานจิต ไมใหคิดไปในแงตาง ๆ ที่เปนพิษเปนภัย ดวยอรรถ ดวยธรรมอนั จะนําความสุขมาใหนี้ ถึงจะยากขนาดไหนเราก็พอจะทําได เพราะเรา ทราบเหตผุ ลอยแู ลว วา นเ่ี ราฝก ฝนทรมานเพอ่ื หาความสขุ เพอ่ื ใหจ ติ ใจมคี วามสขุ ดว ย การฝกการทรมาน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๗

๓๕๘ พระพุทธเจากเ็ คยฝก มาแลวจนสลบไสล สาวกกเ็ คยฝก มาแลว ทรมานมาแลว ตอ งเปน ผผู า นทกุ ขม าแลว ดว ยกนั ทา นจงึ ไดร บั ความสขุ อนั สมหวงั เราไมตองผานทุกขใด ๆ ดว ยการฝก ฝนอบรมบา งเลย แตจ ะเอาความสขุ ความ สมหวังเลยทีเดียว ก็รูสึกวาจะเกงเกินครูไป จึงควรดาํ เนนิ ตามรอ งรอยของครู สมคาํ วา “พุทฺธํ ธมมฺ ํ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ” ทา นดาํ เนนิ อยา งไรกด็ าํ เนนิ อยา งนน้ั หนกั บา งเบา บา ง ทกุ ขย ากลาํ บากบา งกท็ นเอา เพราะเปนลูกศิษยที่มีครู การฝกเพื่อเปนความดีมี ความสุข ตอ งผา นทกุ ขด ว ยกนั ทง้ั นน้ั แหละ ใครบาํ เพญ็ อยทู ไ่ี หนกต็ อ งทกุ ข แตก าร บําเพ็ญตนตามหลักธรรม เปนทางที่จะใหแคลวคลาดปลอดภัยไปโดยลําดับ เปน สง่ิ ท่ี เราควรสนใจอยางยิ่ง การทอ งเทย่ี วใน “วฏั สงสาร” ดว ยความลม จมความทกุ ขท รมานนน้ั เรา ตอ งการกนั มากหรือ ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ เชน นน้ั เพราะการปลอ ยตวั เพราะความออ นแอ เพราะไมส นใจในหลกั เกณฑท จ่ี ะทาํ ใหเ กดิ ความสขุ ขน้ึ มา จึงมีแตความทุกขเผาลน อยทู กุ ภพทกุ ชาติ ตงั้ กปั ต้ังกัลปน บั ไมถ ว น เปนสิ่งที่สัตวโลกรายไหน ๆ ก็ตามไม ตอ งการกนั ทง้ั นน้ั แตท าํ ไมเราจะเปน ผไู ปเจอเอาสง่ิ เหลา นน้ั เพราะความไมเ อาไหน ของใจ สมควรแลว หรอื ? นค่ี อื ปญ หาซกั ถามตวั เอง เปน อบุ ายแหง ปญ ญาทจ่ี ะปราบปรามกเิ ลสทห่ี ลอกเรา ทุกขเราก็ตองทน เพราะทุกขในทางที่ดีตองทนบาง จติ นถ้ี กู กเิ ลสครอบงาํ มานาน อะไร ๆ กเ็ ปน ไปตามกเิ ลส ธรรมแทรกเขาไปไมไดเลย เวลานก้ี าํ ลงั พยายามทจ่ี ะเอา “ธรรม” แทรกเขา ไปภายในใจ เพอ่ื ฉดุ ลากจติ ใจทก่ี าํ ลงั จะมคี ณุ คา อยู แตเพราะสิ่งที่ไม มีคุณคาครอบงํา จติ จงึ หาคณุ คา ไมไ ดน น้ั ใหถ อนตวั ออกมา เพื่อใหมีคุณคาดวยธรรม การฝกจิตเพื่อมีคุณคา จะทกุ ขย ากลาํ บากกเ็ พอ่ื คณุ คา ของใจ ทาํ ไมจะลาํ บากลาํ บนถึงกับทนไมไ ด สูไมไหว ตอ งหาอบุ ายแกเ ราใหไ ด อยา ใหเ สยี ที วนั คืน ป เดือน กนิ ไปทกุ วนั ๆ ชีวิตใครจะมีมากนอยเพียงไรก็ตาม วนิ าทกี นิ ไป นาทีกนิ ไป ชว่ั โมงกนิ ไป กนิ ทกุ วท่ี กุ วนั ทกุ เวลาํ่ เวลา หลบั ตน่ื ลมื ตากนิ ไปตลอดสาย แมจ ะมอี ายกุ ล่ี า นปก เ็ ถอะ เพราะมนั ถกู กนิ ไปอยเู สมอไมห ยดุ ไมถ อยอยา งนม้ี นั ตอ ง หมดไปได ชีวิตเปนลาน ๆ กเ็ ถอะ เพราะความกินอยูเสมอ เวลานาทกี นิ ไปอยเู รอ่ื ย ๆ กนิ ไมห ยดุ ไมถ อยก็ถงึ จดุ หมายปลายทางนะซิ แลว กส็ ลายหรอื ทาํ ลายไปได เวลานช้ี วี ติ ยงั ไมห มด แมก าลจะกนิ ไปทกุ วนั ทกุ เวลา แตย งั เหลอื อยพู อทจ่ี ะได แบง ทาํ คณุ งามความดี หาสาระเปน ทพ่ี ง่ึ ของใจเราไดใ นขณะน้ี จึงควรตื่นตัว ตาย แลว ไปหาทาํ บญุ ทาํ ทานทไ่ี หนกนั ตายแลว ถงึ จะตน่ื ตวั มนั ตน่ื ไมไ ด จึงเรียกวา “คน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๘

๓๕๙ ตาย” รักษาศีลไมได ภาวนาไมได นอกจากจะเสวยผลท่ีเราไดทาํ แลว ตอนที่ยงั มชี วี ติ อยู เทา นน้ั เราตอ งคาดปญ ญาเราไวใ หก วา งขวางกวา กเิ ลส กิเลสมันไมคาดอะไรกับเรา มัน ใหไดอยางใจก็เปนที่พอใจของมัน ขอใหม นั ไดอ ยดู ว ยความสนกุ สนานรน่ื เรงิ กลางหวั ใจ เราก็พอ สวนเราผูเปนเขียงสับยําของกิเลส มคี วามสนกุ สนานทไ่ี หน รื่นเริงที่ไหน พิษ ของกิเลสมันทําใหคนรื่นเริง ใหม คี วามสะดวกสบายทไ่ี หน มีแตบีบคั้นจิตใจใหไดรับ ความทกุ ขค วามทรมานตลอดมาเทา นน้ั ถาไมเ ห็นโทษของมันกจ็ ะตองถูกมนั กดขบ่ี ังคับ อยูตลอดไป ถา เหน็ โทษของมนั แลว ธรรมกจ็ ะแทรกเขา ไปภายในจติ ใจได เรากจ็ ะ กลายเปน “ผมู สี าระ” ขน้ึ มา การทาํ คุณงามความดีท้ังหมดนี้ เพื่อเปนเครื่องสนับสนุนจิตใจ เปนเครื่อง อดุ หนนุ จติ ใจ เปน หลกั ของใจ ใหไ ดย ดึ เปน หลกั เปน เกณฑ เมื่อใจมีธรรมเปนเครื่องยึด มีธรรมเปนเครื่องอาศัยแลว อยทู ไ่ี หนกส็ บาย เพราะมีหลักถูกตองดีงามเปนเครื่องยึด “ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมมฺ จาร”ึ พระธรรมยอมรักษาผูปฏิบัติธรรมไมใหตกไปใน ที่ชั่ว คําวา “ทช่ี ่วั ” คอื ที่ที่ไมพึงปรารถนานั่นเอง ความทกุ ขร อ นลาํ บากตา ง ๆ เปน สง่ิ ท่ี ไมพึงปรารถนา และอยทู ่ชี ั่วนัน้ ทั้งหมด แตผูที่ปฏิบัติธรรมจะไมไดไปสูสถานที่เชนนั้น การที่ธรรมจะรักษาเราไมใหตก ไปในที่ชั่ว เราตองเปนผูรักษาธรรม รกั ษาตวั เราดว ยการบาํ เพญ็ คณุ งามความดที ง้ั หลาย ดังที่เราทั้งหลายไดบําเพ็ญอยูเวลานี้ ชอ่ื วา “เรารักษาธรรม” เมื่อเรารักษาธรรม ธรรมก็รักษาเรา เหมือนบานเรือนที่เราปลูกขึ้นมานี้ ปลกู ขน้ึ มาแลว กใ็ หค วามรม เยน็ ให ความปลอดภัยแกเรา ถาเราไมปลูกใครจะปลูก เราตองเปนผูปลูกเอง บานเรือนก็ให ความปลอดภัยแกเราเอง นี่เราสรา งธรรมขึ้นภายในจติ ใจเรา ธรรมกเ็ ปน ผลใหเ ราไดร บั ความสขุ สบาย อยกู เ็ ปน สขุ ตายไปก็เปนสุข ไปเกิดในภพใดชาติใด ขน้ึ ชอ่ื วา “ผูมีธรรม ภายในใจ” ไดบําเพ็ญคุณงามความดีไวในใจแลว กเ็ ทา กบั ไปเสวยผลโดยถา ยเดยี ว ขน้ั “จิตตภาวนา” ในเบอ้ื งตน ใหพ ยายามทาํ จติ ของเราใหส งบ พอจิตสงบ เทานนั้ ผลแหง การภาวนาเปน อยา งไรเราไมต อ งถามใคร จะทราบภายในจติ ใจของผู บาํ เพ็ญนน้ั แล เพราะคําวา “สนทฺ ฏิ ฐ โิ ก” ผูปฏิบัติจะพึงเห็นเองรูเองนั้น พระพุทธเจาไม ทรงผูกขาด มอบใหก บั ผปู ฏบิ ตั ดิ ว ยกนั ทกุ คน จะพงึ รผู ลทต่ี นปฏบิ ตั มิ ากนอ ยตามกาํ ลงั ของตน ทา นกลา วเรอ่ื งสมาธิ คอื ความสงบภายในใจ สงบจากอารมณเ ครอ่ื งกอ กวนทง้ั หลาย เรียกวา “สงบ” เม่อื ไมม ีอะไรกอ กวน ถาเปน “นาํ้ ” กใ็ สสะอาด จิตใจก็ผองใส ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๕๙

๓๖๐ ปราศจากอารมณที่คิดปรุงตาง ๆ ซง่ึ เปน เรอ่ื งกวนใจ ใจยอ มสงบแนว แน มีความสุข สขุ อยา งละเอยี ดลออ มคี วามสงบมากเพยี งไร ความสขุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความสงบนย้ี ง่ิ ละเอียดสุขุมมากขึ้น จนกลายเปน ความสขุ ท่ี “อัศจรรย” เพยี งขน้ั ความสงบแหง สมาธิ เทาน้ัน กแ็ สดงผลใหผูปฏบิ ตั ิเห็นประจกั ษใจอยา งดมื่ ดํ่าไมอิม่ พออยูแลว ในกายเรานี้ ความจริงก็คือธาตคุ อื ขนั ธ อายตนะ อันเปน เคร่ืองมอื ของจิตทใ่ี ช อยเู ทาน้ันเอง เมอ่ื หมดกาํ ลงั แลว กส็ ลายตวั ไป คาํ วา “สลายตัวไป” นน้ั ไดแ กตาย ที่ โลกสมมตุ ใิ หช อ่ื กนั วา “ตาย” รา งกายนม้ี นั ตายจากความเปน สตั วเ ปน บคุ คล ทโ่ี ลก สมมตุ วิ า เปน สตั วเ ปน บคุ คล ลงไปสูธาตุเดิมของเขา คอื ดนิ นาํ้ ลม ไฟ ใจกอ็ อกจาก รางนี้และเปนใจตามเดิม เพราะใจเปนใจอยูแลวมาตั้งแตไหนแตไร เปนเพียงมาอาศยั “เขา” อยู เพราะตนไมส ามารถชว ยตวั เองจนเปน อสิ รเสรโี ดยไมต อ งพง่ึ อะไรได เมื่อ ปญญาพิจารณาตามธาตุตามขันธ ตลอดถึงความคดิ ความปรุงของใจ ใหรูเห็นวาเปน สภาพ อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า ดว ยกนั ประจักษดวยปญญาลงไปโดยลําดับ ๆ ความยดึ ม่ันถอื มนั่ สําคัญผิดวานั่นเปนเรา นเ้ี ปน ของเราในอาการใดกต็ าม กถ็ อนตวั เขา มา ๆ คือ ปลอ ยกรรมสิทธิ์ กรรมสทิ ธอ์ิ นั นน้ั แลทา นเรยี กวา “อปุ าทาน” ความยดึ มน่ั ถอื มน่ั มัน กดถวงจิตใจของเราไมใชนอย ๆ ใหไ ดร บั ความทกุ ขค วามลาํ บากเพราะอปุ าทาน เมือ่ ปญญาพิจารณาสอดแทรกใหเ ห็นตามความเปน จรงิ แลว ยอ มถอนความยดึ มั่นถือมั่นเขามาไดเปนลําดับ ๆ ถอนเขา มาจนไมม อี ะไรเหลอื ภายในจิต กาํ หนดเขา ไป จนกระทั่งถึงจิต เชอ้ื ของกเิ ลสตณั หาอาสวะมารวมตวั อยภู ายในจิตดวงนเ้ี ทา นน้ั สง่ิ อน่ื ตดั ออกหมดแลว ไมย ดึ ถอื ในสว นใดอาการใด ปญญาสอดแทรกเขาไป ตัดขาดไปเปน สาํ ดบั ๆ กิเลสไมมีที่อยู วง่ิ เขา ไปหลบซอ นอยภู ายในจติ พิจารณาคนควาเขาไปใหเห็น ตามหลัก อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา เชน เดยี วกบั สภาวธรรมทว่ั ๆ ไป จนกเิ ลสทนไมไ หว แตกกระจายออกไปจากจติ นน่ั เรยี กวา “ทาํ ลายภพชาติ” เพราะเชื้อของภพชาติมันอยู ในใจ สติปญ ญาถอดถอนไดโดยลาํ ดบั จนไมม ีสิง่ ใดเหลือ นแ่ี ลคอื จิตเปน อสิ ระแลว! ไมต อ งไปอาศยั อะไรอกี ตอ ไป เรื่องเกิด เรื่องแก เรื่องเจ็บ เรื่องตาย ที่เปนปาชาประจําสัตวสังขารที่เคยเปนมา นน้ั เปน อนั วา หมดปญ หากนั เพราะจิตพอตัวแลวไมตองพึ่งอะไรทั้งสิ้น นค่ี อื ความสขุ อันสมบูรณของผูปฏิบัติธรรมที่ไดจากการปฏิบัติศาสนธรรม จนปรากฏเปนผลขึ้นมา คือความสขุ อนั สขุ มุ ละเอยี ดนอกสมมตุ ิ “นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ” นิพพานเปนสุขอยางยิ่ง กห็ มายถงึ จิตทบ่ี ริสทุ ธเ์ิ ต็มทีแ่ ลว เปน ความสขุ อยา งย่ิงนี้แล ไมมีอันใดเสมอเหมือน! ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๐

๓๖๑ จติ ดวงน้ีแหละ ดวงที่ถูกสิ่งไมมีคุณคา ดวงที่ถูกสิ่งที่จอมปลอม สกปรกโสมม ทง้ั หลายครอบงาํ อยตู ลอดเวลานแ่ี หละ เมื่อชําระสิ่งที่สกปรกทั้งหลาย สิ่งที่ไมมีคุณคา ทั้งหลาย ออกไปโดยลําดับ ๆ จิตกก็ ลายเปน ของมคี ณุ คา ขน้ึ มาเรอ่ื ย ๆ จนมีคุณคา อยางเต็มภูมิ ถงึ ขน้ั “วสิ ทุ ธิ จิต” เปนจิตที่สมบูรณเต็มภูมิ ไมตองอาศัยอะไรทั้งหมดที่ น่ี เพราะฉะนน้ั ทา นจงึ ไมเ กดิ ทไ่ี หน และกไ็ มต ายทไ่ี หนอกี ดว ย เพราะไมม เี ชอ้ื คอื สาเหตใุ หเ กดิ ความตายกไ็ มม ี เพราะไมมีการจับจองปาชา ปา ชาจะมใี นตวั ไดอ ยา งไร ไมมีเกิด ความตายจะมีไดอยางไร นค่ี อื จิตทพ่ี อตวั แลว ไมตองอาศัยอะไรเลย ตอนทย่ี งั อาศยั รา งตา ง ๆ ภพชาติ ตาง ๆ อยนู น้ั เพราะยังไมสามารถพึ่งตัวเองได ตอ งอาศยั บญุ กศุ ลเปนเครื่องพยุง เพราะฉะนั้นการสรางคุณงามความดีสําหรับเราผูมีความรับผิดชอบในตัวเรา จึงมีความ จาํ เปน อยตู ลอดไป ถายังมกี ารทองเท่ยี วใน “วฏั สงสาร” อยตู ราบใด คุณงามความดีซึ่ง เปนเครื่องพึ่งพิงอาศัย กเ็ ปน ความจาํ เปน อยตู ราบนน้ั ขอใหท า นท้ังหลายทเ่ี ปน พทุ ธบริษทั อยา ไดม คี วามประมาทนอนใจ ดว ยชวี ติ สังขารรา งกายไมม กี ฎมีเกณฑ จะตายเมื่อไรก็ได แตกเมอ่ื ไรกไ็ ด ไมม อี ะไรมอี าํ นาจ เหนือสิง่ เหลานี้ได เมื่อไมประมาท คณุ งามความดีจึงควรตกั ตวงเอาไวเสียต้งั แตบ ัดนี้ จะไมเสียทาเสียที ไมเ ดอื ดรอ นในภายหลงั อยกู เ็ ปน สขุ ตายไปก็เปนสุข ไมมีอะไรเดือด รอ น จึงขอยุติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๑

๓๖๒ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ สสู มรภมู ิ ขณะฟง กาํ หนดใจไวใ หด ี เพราะธรรมอยกู บั ใจ ! ทแี รกกอ นปฏบิ ตั เิ ราไมอ ยากจะเชอ่ื วา “ธรรมอยกู บั ใจ ทไ่ี หนกนั ” อยกู บั ความ เพียรในใจนั้น นา ฟง กวา ทว่ี า “ธรรมอยกู บั ใจ” “ธรรมอยทู ใ่ี จ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ อยทู ใ่ี จ ธรรมทั้งหลายอยูที่ ใจ” เราไมยักเชื่อ พระธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ อยทู ใ่ี นคมั ภรี ท ง้ั นน้ั ทาํ ไมวา อยทู ่ี ใจ นเ่ี ปน ความรสู กึ ของเจาของ คอื ความรสู กึ ดง้ั เดมิ เปน อยา งนน้ั แตพอฟงเทศนไป เรื่อยๆ องคไ หนเทศนท า นกบ็ อกอยา งนน้ั ไมเคยเทศนผ ิดเพีย้ นกันไปเลยวา “ธรรมอยู กบั ใจ ธรรมอยูที่ใจ” พอไดฟงไปโดยลําดับ จติ มนั ปรากฏเปน ความสงบขน้ึ มาในขณะ ที่ฟง คือทีแรกเวลาฟงทานเทศน จิตมันสงไปหาทานนี่ ไมไดอ ยกู ับตัว ทา นบอกวา “อยา สง จติ ออกมาภายนอก ใหท าํ ความรไู วภ ายในตวั เอง ธรรมจะ เขาไปสัมผัสเอง จากกระแสธรรมทท่ี า นแสดงออกไป เราก็ไมฟง ยงั สง ออกไปหาทา น เทศน ดีไมดีอยากจะมองดูหนาทานดวยจนถึงขณะฟงเทศน ถา ไมม องดหู นา ทา นเทศน หรอื ดปู ากทา นเทศนร สู กึ มนั ไมถ นดั นี่เปนความรูสึกดั้งเดิม เวลาฟง นาน ๆ มนั ปรากฏผลเปน ความสงบขน้ึ มาภายในใจ ในขณะที่ฟงทาน เทศนเริ่มเกิดความเชื่อวา “สมาธธิ รรมนอ้ี ยทู ใ่ี จนน่ั เอง” เริ่มมีสักขีพยานขึ้นมาคือเจา ของเอง ทีนข้ี ณะฟง เทศนท า น จติ ไมส ง ไปทอ่ี น่ื สง ไปหาทา นกไ็ มส ง มนั เพลนิ กบั ความสงบ ใจเกดิ ความสงบ เกดิ ความเยอื กเยน็ ขน้ึ มาในขณะฟง และเพลินไปเรื่อย ๆ เลยทาํ ใหเกดิ ความเชอ่ื วา ธรรมอยูที่ใจนั้นถูกตองแลว นี่เริ่มเปนความเชื่อขึ้นมา ในขณะที่ “สมาธิธรรม คือ ความสงบ เย็นใจ” ปรากฏ ขึ้นในจิตของเราขณะที่ฟงเทศนจากทาน ตอ จากนน้ั กเ็ ปน เหตใุ หอ ยากไดย นิ ไดฟ ง เรอ่ื ย ๆ เพื่อเปนเครื่องกลอมจติ ใจเรา ลาํ ดบั แรกเปน อยา งน้ี ลาํ ดบั ตอ ไปการปฏบิ ตั ธิ รรม จะ เดินจงกรมก็ดี นง่ั สมาธภิ าวนากด็ ี ผลปรากฏขน้ึ มากนอ ย ปรากฏขึ้นท่ใี จท้ังนั้น ไมไ ด ปรากฏขน้ึ ทอ่ี น่ื ขณะที่จิตไมมีความสงบ วนุ วายตวั เอง กอ็ ยทู ใ่ี จ นี่ทราบวา “วนั น้ี จิต ไมสบายเลย” มคี วามฟงุ ซา นวนุ วายตามอารมณต า ง ๆ เอะ ทําไมวนั น้ีจติ ไมส บาย กท็ ํา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๒

๓๖๓ ใหเ กดิ ความสนใจขน้ึ อกี แงห นง่ึ พยายามหาทางสงบใหได พอเขา ทภ่ี าวนา ใจก็เปน ความสงบขึ้นมา นี่ก็ยิ่งเปนความชัดเจนขึ้นมาวา “ธรรมอยทู ใ่ี จ” โลกมนั อยทู ใ่ี จ ธรรมกอ็ ยทู ใ่ี จ เพราะฉะนั้นผูฟงเทศนจึงควรทําความรูสึกไว จําเพาะตวั เทา น้ัน ไมจ าํ เปน ตอ งสง จติ ออกไปสภู ายนอก เชน ไปเกย่ี วขอ งกบั ทา นผู เทศนเปนตน เมอ่ื เราทาํ ความรสู กึ ไวก บั ตวั เชน น้ี ธรรมเทศนาทท่ี า นแสดงออกไปมาก นอ ย จะเขาไปสัมผัสสัมพันธกับความรูของเรา จิตเปนผูรู กระแสเสยี งท่ีเกยี่ วกบั ธรรมเขามาสมั ผสั ใจ และสัมผสั อยูเร่อื ย ๆ จิต ไมม โี อกาสสง ออกไปสภู ายนอก เพราะธรรมเปนเครื่องเย็น และก็ทาํ ใหเ พลนิ ไป เพลิน ไปกบั ขณะนข้ี ณะนน้ั คือธรรมสัมผัสเปนขณะ ๆ ตามกระแสเสียงของทานผูเทศน เปน บทเปน บาท สัมผัสตอเนื่องกันไปเรื่อย ๆ จิตก็คอยสงบเย็นลงไป ๆ นี่เปนผลขึ้นมา แลวจากการฟงธรรม เพราะฉะนั้นการฟง ธรรมทถ่ี กู ตอ งเพอ่ื ใหไ ดผ ลประจกั ษ จึง ตอ งตัง้ จิตไวภายในตวั เอง ไมต อ งสง ออกไปภายนอก และไมตองคดิ ตองตรองอะไร มากมายในขณะทฟ่ี ง คอยฟงใหเปนความรูสึกตามกระแสแหงธรรมที่ทานแสดงไปเทา นน้ั ธรรมจะซมึ ซาบเขา ไปสจู ติ ใจเรา จติ ใจเมอ่ื ไมก วนตวั เองดว ยความคดิ ในเรอ่ื งตา ง ๆ กส็ งบเทา นน้ั แตต อ งสงบดว ยวธิ แี กก นั คือจะใหจิตสงบไปเฉย ๆ อยา งนน้ั ไมไ ด ตองอาศัยบทธรรมบทใดบทหน่ึง หรอื อาศยั การฟง ธรรมในขณะทา นแสดง อยางนี้จึง จะเกดิ ความสงบ อะไรเลา ทว่ี นุ มากในโลกน้ี ? ไมม อี ะไรทจ่ี ะวนุ มากยง่ิ กวา ใจ ถา พดู ถงึ เรอ่ื งของ ความขนุ มวั กไ็ มมอี ะไรท่จี ะขนุ มวั ยิ่งวา ใจ ความทุกขความเดือดรอนมากมายเพียงไร ไมมีอะไรที่จะสูใจได ไฟทีว่ ารอ นกไ็ มร อนเหมือนใจของเราท่ีรอนท่ที ุกขเ พราะอํานาจ กเิ ลส เรื่องของกิเลส มีแตแสดงใหเกิดความทุกขไปโดยลําดับ ๆ เทา น้นั ทานจึงสอน ใหเ หน็ โทษ พยายามตง้ั สตพิ จิ ารณาในแงต า ง ๆ ดว ยความจงใจ เมอ่ื สตกิ บั ความรมู ี ความเกย่ี วเนอ่ื งกนั ไปโดยลาํ ดบั ๆ การทําสมาธิหรือการพิจารณาในแงตาง ๆ จะเปน ทางดา นปญญาในแงใ ดกต็ าม ยอ มไดค วามสงบและอบุ ายแยบคายขน้ึ มาโดยลาํ ดบั ดงั ทา นสอนวา “ชาตปิ  ทกุ ขฺ า มรณมปฺ  ทุกขฺ ํ อริยสจฺจ”ํ ทานบอก “อรยิ สจั ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทกุ ขฺ า” ชาติความเกดิ เปน ทกุ ข แตเ รากลบั มคี วามดใี จ เพลิดเพลินในการเกิด พอลกู เกดิ ขน้ึ มากด็ ใี จ หลานเกดิ ขน้ึ มากด็ ใี จ บตุ รหลานของญาตมิ ติ รสหายเกดิ ขน้ึ มาก็ ดีใจ ไมไ ดค าํ นงึ ถงึ ความทกุ ขข องเดก็ ที่เกิดขึ้นมาแตละราย ๆ ทร่ี อดตายจากชอ ง แคบ ๆ แลว เกดิ มานน้ั เลย ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๓

๓๖๔ ถาเรามองดู “เงื่อนตน” คือ ความเกิด กบั “เงื่อนปลาย” คอื ความตาย ยังไมเห็น ชัดเจนแลว กเ็ ขา ใจวา ทั้งสองเงื่อนนี้จะทําใหเกิดความเพลิดเพลิน และความเศราโศก ไดไมมีสิ้นสุดจุดหมายปลายทางเลย ความจริง เดก็ รอดตายแลว ถงึ จะเปน มนษุ ยข น้ึ มา ถา ไมรอดก็ตอ งตายไปในขณะนนั้ เชน ตายในทอ งกม็ ี ตายขณะทต่ี กคลอดออกมาก็ มี กเ็ พราะความทกุ ขถ งึ ขนาดตาย มันถึงตายไดคนเรา! การเกิดขึ้นมาเปนคน อายมุ ากนอ ยเพยี งใด มนั กท็ กุ ขถ งึ ตายมนั จงึ ตายได ความ ทุกขนี้มีมาตั้งแตขณะแรกเกิด แตเราไมไดพิจารณาวาเปนทุกข คือสัจธรรม ซง่ึ เปน สง่ิ ท่ี นา เหน็ โทษเหน็ ภยั เปนความขยะแขยง เพื่อจะกําจัดปดเปาใหผานพนไปไดดวยความ พากเพียรของเรา มีสติปญญาเปนสําคัญ เมอ่ื เรามคี วามเพลดิ เพลนิ พอใจในตอนตน แตไมพอใจในตอนปลาย เชน ความเกิดเราพอใจ แตความตายเราไมพอใจ มันก็ขัด แยง กนั อยวู นั ยงั คาํ่ ความขดั แยง กนั มนั เปน ความสขุ ทไ่ี หนในหวั ใจคนเรา ตองเปน ความทุกขอยูโดยดี เพราะฉะน้ันเพ่ือใหต น กบั ปลายตรงกัน จึงตองพิจารณาไปตั้งแต “ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทกุ ขฺ า มรณมปฺ  ทุกฺขํ” ตลอดสายไปเลย เพราะเปนเรื่องของกองทุกข และเปน ทางแหงความทุกขเดินทั้งนั้น ไมใชทางมรรคผลนิพพานอะไรจะเดินได ถาไมพิจารณา ใหเ ปน พจิ ารณารอบรใู นสง่ิ ทง้ั หลายนแ้ี ลว กว็ า “ทกุ ขฺ ํ นตฺถิ อชาตสสฺ ” ทกุ ขย อ มไมม ี แกผ ไู มเ กดิ นน่ั ! เมอ่ื ไมเ กิดแลวมันจะมีทุกขที่ไหนกัน เพราะเชื้อใหเกิดไมมี คือเชื้อ แหงความทุกขไมมีนั่นเอง ทกุ ขก ไ็ มม ใี นหวั ใจ เพราะฉะนั้นพระอรหันตทานจึงไมมี ทกุ ขเวทนาภายในใจ เวทนาทางใจนท้ี า นไมม ี คอื สขุ เวทนากด็ ี ทุกขเวทนาก็ดี อุเบกขา เวทนาก็ดี ภายในใจของพระอรหันตทานไมมี มีเวทนาเฉพาะแตจิตของพวกเรา กายของพวกเรา สว นกายของทา นมเี วทนา ทั้งสาม ทา นทกุ ขเ หมอื นกนั กบั พวกเรานแ้ี หละ แตจ ิตของทานไมม เี วทนา เวทนาทง้ั สามไมสามารถกระทบกระเทือนจิตใจของทานได ทา นไมห วน่ั ไหว เหมอื นจติ ของ ปถุ ชุ น สุขทานก็รู ทกุ ขท า นกร็ ู ในสว นรา งกายเฉย ๆ ทา นกร็ ู แตท างดานจิตใจของทาน ไมมีเวทนา เพราะจิตนั้นพนไปจากเวทนาซึ่งเปนสมมุติแลว ไมมีอะไรจะเขาไปแทรกสิง ไดเลย ใจเปนธรรมลวน ๆ เชนที่วา “ทุกขเวทนา เปน อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา สขุ เวทนาก็ เปน อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา อเุ บกขาเวทนากเ็ ปน อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา จึงไปเกี่ยวของกับ ธรรมชาตินั้นไมได ถา ใครอยากมคี วามเจริญภายในใจ ก็ใหพยายามสรางคุณงามความดี ศลี ทาน อยา ไดข าด เปน ความดสี าํ หรบั หลอ เลย้ี งจติ ใจ สืบภพสืบชาติที่ดีตอไป คนเราที่มีพื้น ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๔

๓๖๕ ฐานอนั ดดี วยคุณงามความดเี ปนเครอื่ งหลอเลี้ยงแลว ไมวา จะเกิดในภพใดชาติใด ก็ ตองมีความดีติดตามเสมอ สุคติเปนที่หวังได ในเมอ่ื ยงั ไมพ น จากความทกุ ข ทา นสอนไมใ หเ กยี จครา น ใหพ ยายาม ถา มี ความสามารถเจรญิ เมตตาภาวนา เพอ่ื สอ งดจู ติ ใจของตนทเ่ี ตม็ ไปดว ยความทกุ ข รอนตางๆ น้ี กจ็ งทาํ ไปอยา ไดล ดละ ขัดไปทุกวัน ๆ จติ ใจเมอ่ื ไดร บั การขดั เกลาอยู เสมอยอ มมคี วามผอ งใส เมอ่ื จติ มคี วามผอ งใสยอ มเหน็ เงาตวั เองได เหมือนกบั นาํ้ ใส มองเห็นอะไรไดชัดเจน จะเปน ขวากเปน หนามหรอื เปน สตั วช นดิ ใดทอ่ี ยใู นนาํ้ นน้ั ก็ สามารถมองเห็นไดชัดเจน อะไรที่เปนพิษเปนภัยอยูภายในจิตใจ เมื่อใจมีความสงบ แลวสามารถมองเห็นได รไู ดง า ยยง่ิ กวา จิตทข่ี นุ มวั ไปดว ยกเิ ลสอาสวะและความวา วนุ ทง้ั หลายอยมู าก ทานจึงสอนใหชําระจิตใจ ในโอวาททร่ี วมไวใ น “โอวาทปาฏิโมกข” วา “สพฺพ ปาปสสฺ อกรณ”ํ การไมท าํ ความชว่ั ทง้ั หลายนน้ั ประการหนง่ึ “กสุ ลสปู สมปฺ ทา” การยงั กุศลใหถึงพรอมประการหนึ่ง “สจิตฺตปริโยทปน”ํ การทําจิตใจใหผ องแผวถงึ ความ บรสิ ทุ ธน์ิ ป้ี ระการหนง่ึ “เอตํ พุทฺธาน สาสน”ํ นี่เปนคําสอนของพระพุทธเจา ทั้งหลาย พระพทุ ธเจาองคใ ดกต็ ามทา นสอนอยา งนท้ี ง้ั นน้ั เรื่องที่เปนบาปเศราหมองทาน ไมใหทํา ใหพยายามทําแตกุศลคือคุณงามความดี เพราะความฉลาดของตน “กสุ ลสฺ สปู สมปฺ ทา” คอื ยงั ความฉลาดใหถ งึ พรอ มนน่ั เอง การทาํ จิตใหมคี วามผอ งใสจนถงึ ข้ันบริสทุ ธิ์นีเ้ ปน สงิ่ ทาํ ไดย าก แตอ ยใู นความ สามารถของมนุษยเราที่จะทําได พระพทุ ธเจา ทา นกล็ าํ บาก พระสาวกทง้ั หลายทา นก็ ลาํ บาก บรรดาทา นผถู งึ ความบรสิ ทุ ธต์ิ อ งลาํ บากดว ยกนั ทง้ั นน้ั ลาํ บากเพอ่ื ความบรสิ ทุ ธ์ิ เพื่อความหลุดพน ไมใชล ําบากเพื่อความลมจม จึงเปนสิ่งที่นาทํา จติ เวลามสี ่งิ สกปรกโสมมครอบงาํ อยูกไ็ มป รากฏวามคี ุณคาอะไร แมต วั เองก็ ตําหนิติเตียนตัวได บางทอี ยกู ไ็ มอ ยากอยู อยากจะตายเสยี ดกี วา อยา งน้ี เพราะความอิด หนาระอาใจความเปนอยขู องตน ไมอ ยากอยใู นโลกใหโ ลกเขาเหน็ หนา ทั้งนี้เพราะจิต มนั อบั เฉา จิตมันขุน มัวมากจนกลายเปนไฟทง้ั กอง ไมน า อยู เวลามนั อบั เฉาขนาดนน้ั เพราะสิ่งที่อับเฉา สิ่งไมมีคุณคาครอบจิต จนมองหาสาระสาํ คญั ของจติ ไมม เี ลย จน คิดอยากจะตายไปเสียไดแหละดี แมต ายไปแลว จะไปเอาดมี าจากไหน? ปจ จบุ นั มนั กย็ งั ไมม อี ยแู ลว ถา ดดี ว ยความตาย โลกนก้ี ม็ คี นตายกนั มานาน ทําไมไมเห็นดี มนั ไมดนี น่ั เองจงึ ไมอ ยากตาย ถา มนั ดอี ยแู ลว ตายหรอื ไมต ายกไ็ มม ปี ญ หาอะไร เพราะดีอยูแลว ขณะทม่ี สี ง่ิ ไมม คี ณุ คา อะไรมาครอบงาํ จติ นน้ั ทาํ ไมจติ ไรส าระไปหมด ? ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๕

๓๖๖ เมอ่ื ชาํ ระสะสางออกไดโ ดยลาํ ดบั ๆ กค็ อ ยสอ งแสงสวา งออกมาใหเ หน็ ประจกั ษ ภายในใจ คอื ความสงบเยน็ ใจ ทั้งจิตใจก็ผองใส สบาย ยิ้มแยมแจมใส นงั่ อยู ยนื อยู เดินอยู นอนอยู หรอื ทาํ หนา ทก่ี ารงานอะไรอยู ก็มีความรื่นเริงบันเทิงดวยความสุขที่ ปรากฏอยกู บั ใจ คนเราเมอ่ื จิตใจมคี วามสงบเยน็ แลว อยทู ไ่ี หนกพ็ ออยทู ง้ั นน้ั แหละ มนั สาํ คญั อยทู ใ่ี จ ถา ใจไมด ี อยูทีไ่ หนกไ็ มดี ทน่ี ว่ี า จะดี ที่น่นั วาจะดี หลอกเจาของไปเรื่อย ๆ ที่ โนน ละจะดี ชาตินี้ไมดี ชาตหิ นา จะดี เปนอยูไมดี ตายแลวจะดี นน่ั มันหลอกไปเรื่อย ๆ ผูที่รอน รอ นอยทู น่ี แ่ี หละ มนั หลอก ผทู ถ่ี กู กลมุ รมุ อยดู ว ยความรมุ รอ นทง้ั หลายนะ มนั หลอกเรา อนั นน้ั จะดี อันนี้จะดี แตมันไมไดดี ไปอยูท่ีไหน ๆ กเ็ ทา เดมิ นแ่ี หละ เพราะ ตัวนี้ไมดี ตอ งแกเ พอ่ื ใหด ี แกดวยความเพียร จงพยายามพิจารณากําจัดมันดวยความเพียร ทาํ สมาธกิ ใ็ หม คี วามสงบได บงั คบั บญั ชาจติ ใจขณะนน้ั ขณะทท่ี าํ สมาธภิ าวนา ขณะทบ่ี งั คบั จติ ฝก ทรมานจติ ดว ยการภาวนานน้ั ไมใ ชเ ปน ขณะทจ่ี ะปลอ ยไปตามอาํ เภอใจ เรยี กวา “ความเพยี ร” เพียรเพื่อแก เพอ่ื ถอดถอนสง่ิ ทเ่ี ปน ขา ศกึ ตอ ใจ จนใจไดรับความสงบข้นึ มา ใจไดร บั ความสงบนน้ั เพราะ “ความเพียรบังคับใจ” ตา งหาก ไมใชเพราะความปลอยตามใจ เรา คงจะเห็นผลหรือคุณคาของความเพียรนี้บางแลว เพราะเรามีความสงบใจลงไดดวย ความเพียร และสงบไปไดเรื่อย ๆ เพราะความเพียรเปนลําดับ ๆ คณุ คา ของความ เพียรก็จะเดนขึ้น ๆ ตามคุณคาของจิตที่เปนผลมาจากความเพียร เอา ! เมื่อพิจารณาทางดานปญญา ก็กาํ หนดพจิ ารณาใหเ หน็ ชดั เจน ไตรตรอง สง่ิ ทง้ั หลายใหเ หน็ ตามความสตั ยค วามจรงิ ของมนั ทม่ี อี ยใู นโลกทง้ั หลายน้ี โลกนก้ี วา ง แสนกวา ง แตส ิง่ ที่คบั แคบท่สี ุดกค็ ือจิตใจทีถ่ กู ปดบงั ดวยกเิ ลส มนั แคบทน่ี ่ี นง่ั อยนู อน อยกู ไ็ มส บาย อยทู ไ่ี หนกไ็ มส บาย เพราะมันคับแคบใจ มนั ทบั ตวั เอง แกตรงที่มันแคบ ๆ นอ้ี อกใหใ จไดร บั ความกวา งขวางเบกิ บานยม้ิ แยม แจม ใสขน้ึ มา จิตใจกโ็ ลง เย็นสบาย เอา ! ทนี จ้ี ะพจิ ารณาเรอ่ื งทกุ ข มนั กม็ กี าํ ลังทจี่ ะพิจารณา พอใจที่จะพิจารณา เพราะทกุ ขเ ปน หนิ ลบั ปญ ญาใหค มกลา ขน้ึ เปน ลาํ ดบั ได ฟาดฟน กเิ ลสอาสวะออก ดว ยสมาธิปญ ญา การถอดถอนกเิ ลสตอ งถอดถอนดว ยปญ ญา จบั กเิ ลสมามดั ไดด ว ย สมาธิ คือจิตสงบลง สมาธกิ ร็ วมตวั เขา มาในจติ ดวงเดยี ว ไมซานออกไปในทีต่ าง ๆ จนจับตัวไมได ปญ ญาคลค่ี ลายออกใหเห็นชัดเจนวา จติ นม้ี คี วามตดิ ขอ งอยกู บั สง่ิ ใด รูป เสยี ง กลน่ิ รส เครื่องสัมผัส หรือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แยกแยะดใู ห เหน็ ละเอยี ดถถ่ี ว นตามหลกั ความจรงิ ของมนั ทม่ี อี ยู ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๖

๓๖๗ ใครครวญแลวใครครวญเลา พิจารณาแลวพจิ ารณาเลา เปนจุดที่ทองเที่ยวของ ปญญา เปน หนิ ลบั ปญ ญา พจิ ารณาเทา ใดกย็ ง่ิ แตกฉานออกไปโดยลาํ ดบั เขาใจไปตาม เปนจริงแลวปลอยวางไปเรื่อย ๆ การปลอ ยวางลงกค็ อื ปลอ ยวางภาระ ซง่ึ กดถว งอยู ภายในใจเราดว ยอาํ นาจแหง อปุ าทานนน้ั แล จิตคิดเรื่องอะไรบาง เกิดผลเกิดประโยชนอะไร คิดขึ้นในขณะก็ดับไปในขณะ คิดดีก็ดับ คดิ ชว่ั กด็ บั คิดอะไรขึ้นมาก็ดับทั้งนั้น ทา นเรยี กวา “สงั ขาร ความปรงุ ” ความปรุงขึ้น ความเกิดขึ้น ความปรงุ กับความดบั ไปน้ันเปน ของคกู ัน เกิดดับพรอมอยู ในเวลานน้ั แลว เราจะถอื เอามาเปน ตวั เปน ตนอยา งไรไดก บั ความเกดิ ๆ ดบั ๆ อยา ง นน้ั จงพิจารณา ทกุ ขเวทนา อนั เปน สง่ิ ทน่ี า กลวั อยแู ลว ใคร ๆ กก็ ลวั คาํ วา “ทุกข” เราจะมาถอื วาเปนเราเปนของเราไดอยางไร ทกุ ขท ง้ั กองยงั จะถอื วา เปน เราอยอู กี หรอื ? ถอื เปน เรากถ็ อื เอาไฟมาเผาใจเรานน่ั แล ทกุ ขใ หท ราบวา เปน “ทุกข” ผทู ท่ี ราบวา เปน ทกุ ขไ มใ ชท กุ ขน น้ั คอื ใจ ใจเปน ผูรูเ ร่ืองทกุ ขท ง้ั หลาย ทุกขเกิดขึ้นใจก็รู ทุกขตั้งอยูใจก็รู ทกุ ขด บั ไปใจกร็ ู รูดวยปญญา ปญ ญาเหน็ แจม แจง ชัดเจนแลววา ทกุ ขเ ปน ทกุ ข เราเปน เรา ผรู เู ปน ผรู ู น้ี ประการหนึ่ง สญั ญา จาํ ไดเทาไรมันก็ลืมไปหมด ถา ตอ งการจะจํากม็ าตง้ั ใจจํากนั ใหม จําไปพรอมดับลงไปพรอม ๆ ขณะเดียวเชนกัน เหลา นห้ี รอื เปน ตน ? ความจาํ ได หมายรูแลวดับไป ๆ เกดิ ดับ ๆ เชนเดียวกับสิ่งอื่น ๆ นั้นนะหรือเปนเราเปนของเรา ? ถาวานั้นเปนเราเปนของเรา เรากด็ น้ิ อยตู ลอดเวลาซิ เพราะทุกข เพราะสัญญาจําไดแลว ดับไป ความทกุ ขเ กิด ๆ ดับ ๆ ใหไ ดร บั ความเดอื ดรอ นวนุ วายอยไู มห ยดุ ไมถ อย เพราะฉะนั้นจึงตองพิจารณาใหเห็นสภาพที่เกิดที่ดับ มีอยูรอบใจเรา อยรู อบตวั คอื ขนั ธ วญิ ญาณ เราเคยไดยินมาตั้งแตเมื่อไร เห็นมาตั้งแตเมื่อไร ตั้งแตเกิดนี่ แลวเราไดสาระ อะไรจากมัน พอรับทราบ พบั ในทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย มนั กด็ บั ไป พรอม ๆ แนะ เอาอะไรมาเปนสาระ ? ไมเห็นมีอะไรเปนสาระเลย รูปนั้นหรือเปนตน เสียงนั้นหรือเปนตน กลน่ิ รส เครื่องสัมผัสนั้นหรือเปนตน วิญญาณ ความรับทราบสิ่งที่มาสัมผัสหรือเปนตน มันรับทราบพับ ๆ แลว ดบั ไปพรอ ม ๆ อนั นน้ั หรอื เปน ตน เปนตนเมื่อไร ความเกิดความดับพรอมมาถือวาเปนตนไดหรือ เราจะนอนใจกบั มนั ไดอ ยา งไร มนั เกดิ แลว มนั ดบั ๆ เรายงั จะถอื ความเกดิ ความดบั นน้ั วาเปนตน เรากย็ ุงไปวนั ยังคาํ่ ซิ เพราะสิ่งทั้งหลายมันมีเกิดมีดับตลอดเวลา ไมวารูป เวทนา สขุ ทุกข เฉย ๆ ไมวาสัญญา สังขาร วิญญาณ มันมีเกิดมีดับของมันเปนประจํา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๗

๓๖๘ อยทู กุ อยา งทกุ อาการ แลวเราจะไปควาเอาวานั่นเปนเรานี่เปนของเราไดอยางไร ทั้ง ๆ ที่มันเกิดดับก็ทราบอยางประจักษ จึงตองใชปญญาพิจารณาใหเห็นชัดเจนตามเปนจริง แลวปลอยวางไวตามความจริงของมัน ผูรูไมดับ ใจแท ๆ คือผูรู ผูนี้ไมดับ อะไรเกิดก็รูอะไรดับก็รู ผูที่รูนี้ไมดับ ดบั แต สิ่งที่ปรากฏขึ้นดับไปตามเรื่องของเขา เชน รูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ นี้เปน สภาวธรรม ทา นวา “เปน ไตรลกั ษณ” ไตรลักษณ คือ อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา จะมาถือเปนเราเปนของเราไดอยางไร ถา พิจารณาใหถ งึ เหตุถึงผลดวยสตปิ ญญาแลวกไ็ มอ าจไปยดึ ถือได เวลากเิ ลสหนา ๆ ใจไม ไดพิจารณา ทั้งไมทราบวาอะไรเปนอะไรจึงหลงยึดถือ เมื่อพิจารณาเห็นตามเปนจริง แลว มนั ปลอ ยวางของมนั เอง พอออกแนวรบ ถงึ เวลาจะเปน จะตาย ใหเ อาอนั นแ้ี หละเปน สนามรบ เฉพาะ อยางยงิ่ “ทุกขเวทนา” นน่ั แลจะออกหนา ออกตาทส่ี ดุ ในขณะจะแตกดบั เอาทกุ ขเวทนา กบั จติ นแ้ี ลเปน สนามรบ พิจารณากันใหเห็นตามความจริงของมัน จะทกุ ขมากมาย ขนาดไหนมันไมเลยตาย ทกุ ขน ถ้ี งึ แคต าย ธาตขุ นั ธน ถ้ี งึ แคต าย ใจไมถ งึ แคต าย แต เลยความตาย เพราะจิตไมเคยตาย มนั เหนอื สง่ิ เหลา น้ี ความทุกขก็ทกุ ขถ ึงแคตายเทา นน้ั ไมเ ลยจากนน่ั ไป เวทนาพวกไหนจะปรากฏขึ้นมากถ็ ึงแคดบั ของมันเทา นั้น จะ ทกุ ขม ากทกุ ขน อ ยจติ รบั ทราบ รับทราบอยูตลอดเวลา เมอ่ื มสี ตแิ ลว จะรบั ทราบทกุ ระยะของทกุ ขเวทนาทเ่ี กดิ ขึ้น ผรู ไู มไ ดด บั เราจะ ไปวิตกวิจารณอะไรกับเวทนาซึ่งไมใชเราไมใชของเรา มันเปนสภาพที่เกิดขึ้น อาศยั จติ เกดิ ขน้ึ แตไ มใ ชจ ติ อาศยั ธาตเุ กดิ ขน้ึ อาศยั กายนเ้ี กดิ ขน้ึ แตไ มใ ชก าย มนั เปนเวทนา ของมัน เชนทุกขเวทนา เปน ตน มนั เปน คนละชน้ิ ละอนั คนละอยา ง ความจรงิ ลว น ๆ เปน อยา งนี้ ! ถา เราไมป นเกลยี วกับความจริง ใจเราก็สงบเพราะการพิจารณาทุกขเวทนาทั้ง หลาย เฉพาะอยา งยง่ิ ในวาระสดุ ทา ยจะแตกดบั เอาใหเต็มเหนี่ยวทีเดียว อะไรจะดับ กอ นดบั หลงั ใหม นั รู เพราะผูรูนี้จะรูตลอด จนกระทั่งทุกสิ่งทุกอยางดับไปหมด ผนู ก้ี ย็ งั ไมด บั นแ่ี หละการพจิ ารณา ถา ไดเหน็ เหตเุ ห็นผลกันเสียครง้ั หนึง่ เทา นน้ั ความอาจ หาญในเรื่องเหลานี้จะเกิดขึ้นทันที ถึงคราวจําเปนขึ้นมามันจะเตรียมทาสูกันเลย เตรียม ทา เปน นกั รบเขาสูสงครามระหวา งขันธก บั จิต พิจารณาดวยปญญา เอาสติปญญาเปน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๘

๓๖๙ เครอ่ื งมอื ฟาดฟน หน่ั แหลกลงใหถ งึ ความจรงิ เมอ่ื แหลกลงไปแลว ไปถงึ ไหน ? กไ็ ปถงึ ความจริงนั้นแล จงใชส ติปญญาฟาดฟนลงไปใหถ งึ ความจรงิ ทกุ ส่งิ ทุกอยา ง เมอ่ื ถงึ ความจรงิ แลว ราบไปหมด สงบไปหมด ไมม อี ะไรอนั ใดทจ่ี ะมากอ กวนจติ ใจ อันใดทีย่ งั กอ กวนจติ ใจไดอ ยู อนั นน้ั เรยี กวา “จิตยังพิจารณาไมถึงความจริงเต็มที่” ถาถึงความจริง เต็มที่ทุกสัดทุกสวนแลว ไมมีอะไรที่จะมาแหยมายุมาแทงมากวนใจได เปนสภาพที่จริง ทว่ั ถงึ กนั หมด นน่ั ทา นเรยี กวา “ราบคาบลงแลว ดว ยความจรงิ ” เพราะอํานาจแหงสติ ปญญาพิจารณาเห็นชัด นี่แหละพระพุทธเจา พระสาวกทง้ั หลาย หรอื ทา นผสู น้ิ ทกุ ขแ ลว ทง้ั หลาย ทา น สิ้นตรงนี้ ตรงทีท่ ุกขมนั อยู ทกุ ขม นั อยทู ไ่ี หน ? ทกุ ขม อี ยทู ก่ี าย ทข่ี นั ธอ นั น้ี ทจี่ ิตดวงนี้ การแยกแยะกแ็ ยกกนั ทน่ี ่ี รูก็รูกันตรงที่เราเคยหลงนี้แหละไมรูที่ไหน ผูที่จะทํา ใหร กู ค็ อื ปญ ญาเครอ่ื งมอื บกุ เบกิ หาความจรงิ ไมมีอะไรที่จะเทียบเทาสติปญญาไดที่ เปนเครื่องมือ ทบ่ี กุ เบกิ ใหถ งึ ทส่ี ดุ แหง ธรรมทง้ั หลาย และเปน เครอ่ื งสาํ รอกปอกกเิ ลส ออกจากจติ ใจไดโ ดยสน้ิ เชงิ ก็ไมมีอะไรเสมอเหมือนปญญา จึงเปนเครื่องมือที่ทันสมัย ในการแกก เิ ลสอาสวะทง้ั มวล เราจงนําเอาสติปญญานไี้ ปใชใ นเวลาจําเปน เฉพาะอยา งยง่ิ เวลาจวนตวั เขา แลว ไมมีใครจะชวยเราได ญาติมติ รสายโลหิตใกลไกล พอแม พน่ี อ ง สามภี รยิ า ลูกเล็กเด็ก แดง แมมีหอมลอมเต็มไปหมดก็ไมสามารถชวยเราไดทั้งนั้น เปนหนาที่ของเราโดย เฉพาะ ทานเรียกวา “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ” เอาใหเต็มภูมิ! ตนนั้นแลเปนที่พึ่งของ ตน เราจะทําอยางไรจึงจะเปนที่พึ่งของเราได และจะไมก ลายเปน ขา ศกึ ตอ เราเอง ถา เปนเรื่องความลมุ หลง ความออ นแอ ความขาดสติปญญาที่จะนํามาใช กเ็ ปน ขา ศกึ ตอ ตนเอง ถามีสติปญญา ศรทั ธา ความเพียร มคี วามแกลว กลา สามารถตามหลกั ธรรมท่ี พระพุทธเจาทรงสอนไว พิจารณาลงไปใหถึงเหตุถึงผล ถงึ ความสตั ยค วามจรงิ แหง สภาวธรรมทง้ั หลายแลว นัน้ แลถือวา ตนเปน ทพ่ี ่งึ ของตนไดโ ดยแท เอาใหไดที่พึ่ง มอี ยทู ไี่ หนละ ? “พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ” กระเทอื นอยภู ายในจิตใจ ไมมีที่ไหน “ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ” กระเทือนอยูที่จิตใจ “สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” ก็ กระเทือนอยูที่ใจดวงเดียวนี้เทานั้นเปนภาชนะ ทั้งพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ รวมอยูที่จิตดวงเดียวนี้ เพราะจติ เปน ภาชนะทเ่ี หมาะสมกบั ธรรมทง้ั หลาย เอาให เห็น เฉพาะอยา งยง่ิ “จิตทั้งดวงนี้แลคือธรรมทั้งดวง” ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๖๙

๓๗๐ ขอใหช าํ ระจิตน้ี ยิง่ ใหหลุดพนในขณะน้ดี วยแลวยงิ่ ดี “พุทโธ ธมั โม สังโฆ” ไม ทราบจะไปถามทา นทไ่ี หน ไมถามเพราะไมสงสัย มองดูความรขู องตัวทีแ่ สดงความ สมบรู ณอ ยเู ตม็ ทแ่ี ลว ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ นี่เปน “เอกธรรม” ธรรมอนั เดียว เปนธรรม แทงเดียวกัน นค่ี อื ผลแหง การปฏบิ ตั กิ าํ จดั กเิ ลสอาสวะของตวั ตั้งแตเริ่มแรกที่ไมมีคุณคา ราคา มแี ต “ข”้ี เตม็ หวั ใจ คือขี้โลภ ขี้โกรธ ขห้ี ลง ชําระ “ขี”้ นอ้ี อกโดยหลกั ธรรม เมื่อ หมดของสกปรกนี้แลวก็เปนธรรมขึ้นมา เปน ธรรมขน้ึ มาแลว แสนสบาย! อยไู หนกส็ บาย “นพิ ฺพานํ ปรมํ สุ ญฺ ”ํ อะไรสูญก็รนู ่ี อะไรยังอยูก็รู ใครจะไปรยู ่งิ กวา ผสู นิ้ กเิ ลสแลวเลา เพราะคําวา “นพิ พฺ านํ ปรมํ สุ ญฺ ํ” นี้ ทา นพดู ออกมาจากความทส่ี น้ิ กเิ ลสแลว ผเู หน็ นพิ พานแลว พดู ออกมา คือพระพุทธเจา พวกเราไมเห็น วา เทา ไรมนั กย็ งั อยอู ยา งนน้ั จงพจิ ารณาใหเ หน็ จรงิ กบั สง่ิ เหลา น้ี คาํ วา “นิพฺพานํ ปรมํ สุ ญฺ ํ” จะไมมี ปญหาอะไรเลย เพราะประจักษก ับใจแลวอนั ใดสูญอันใดยัง! “นพิ พฺ านํ ปรมํ สขุ ํ” ฟงซิ คําวา “ปรมํ สขุ ”ํ อนั เปน ความสขุ อยา งยง่ิ นน้ั ไมใ ช “สขุ เวทนา” เปน สขุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความบรสิ ทุ ธข์ิ องใจลว น ๆ โดยไมม คี าํ วา “ เกดิ ดับ” เหมือนเวทนาของพวกเรา มีทุกขเวทนา เปนตน อนั นไ้ี มใ ชไ ตรลกั ษณ “ปรมํ สขุ ”ํ ที่มีประจําจิตที่บริสุทธิ์นี้ไมใชไตรลักษณ ไมใชสิ่งที่เปน อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตตฺ า จึงไมมี ความแปรสภาพ คงเสนคงวา ทา นวา “นิพพานเที่ยง” อะไรเที่ยง? จิตที่บริสุทธิ์นี้เทานั้น “เที่ยง” จงเอาใหเห็น เอาใหร!ู การแสดงธรรม ก็ขอยุติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๐

๓๗๑ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมื่อวันที่ ๖ กมุ ภาพนั ธ พุทธศักราช ๒๕๑๙ ความตายเปน ธรรมดา คาํ วา “เที่ยง” หรือ “แนน หนามน่ั คง” หรือ “จีรังถาวร” เปนสิ่งที่โลกตองการใน สวนที่พึงปรารถนา เชน ความสขุ เปนตน แตส ง่ิ ดงั กลา วจะหาไดท ไ่ี หน ? เพราะในโลก นี้เต็มไปดวยสิ่งที่ขัดตอความตองการของโลกทั้งนั้น คอื เปน อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตตฺ า ไป เสยี สน้ิ มีแตเรื่อง อนิจฺจํ ความไมเ ทย่ี งถาวรรอบตวั ทง้ั ภายในและภายนอก ถา วา สขุ กม็ ี ทุกขแทรกเขามาเสีย อนตฺตา แทรกเขามาเสีย ทุกสิ่งจึงเต็มไปดวย “ไตรลกั ษณ” คือ อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตา ซึง่ หาสงิ่ ใดมาทาํ ลายเพ่อื ความจรี ังถาวรไมไ ด นอกจาก “ธรรม ปฏิบัต”ิ อยา งเดยี ว ดังปราชญดําเนินมาแลว และผา นพน แหลง อนั แสนทกุ ขก นั ดารนไ้ี ป ไดแ ลว พระพุทธเจา ทรงสั่งสอนไวโดยถูกตองหาที่คัดคานไมไดเลย ในเรื่องสภาวธรรม เหลา น้ี เพราะเปน ของตายตวั ธรรมกแ็ สดงความจรงิ ทม่ี อี ยอู ยา งตายตวั นน้ั ไมตองหา อะไรมาเพิ่มเติม คําสั่งสอนของพระพุทธเจาแตละพระองค อยา เขา ใจวา ทา นหาอะไรมาสง เสรมิ เพิม่ เติมสงิ่ ที่มอี ยูแ ลวใหม ากขนึ้ หรอื ใหล ดนอยลงไป หรือไมมกี ็หาเรื่องวามี อยา งนไ้ี ม มี ! ทานแสดงตามหลักความจริงลวน ๆ ทั้งนั้นไมวาพระพุทธเจาพระองคใด จดุ ของศาสนาอนั แทจ รงิ ทส่ี อนเพอ่ื ดาํ เนนิ และหลกี เลย่ี ง “ไตรลักษณ” เหลา นไ้ี ด พอควร ทา นกส็ อนไวแ ลว วา “สพพฺ ปาปสสฺ อกรณ”ํ – การไมทําชั่วทั้งปวง หนง่ึ “กสุ ลสฺ สปู สมปฺ ทา” – การยงั กศุ ลหรอื ความฉลาดในสง่ิ ทช่ี อบธรรมใหถ งึ พรอ ม หนง่ึ “สจติ ตฺ ปริ โยทปนํ” – การทาํ จิตของตนใหผ อ งใสจนกระทง่ั ถงึ ความบรสิ ทุ ธ์ิ หนง่ึ “เอตํ พุทฺธาน สาสน”ํ – เหลา น้ี เปนคําส่งั สอนของพระพทุ ธเจา ทั้งหลาย คอื วาน้ีเปน คําสง่ั สอนของพระพทุ ธเจาทุก ๆ พระองค ไมม อี งคใ ดแสดงใหแ ตกตา งจากนไ้ี ป เพราะความจริงทั้งหลายไมมีของแตกตาง ไมวา จะเปน สมยั ใดกต็ าม มีเรื่องของ อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตฺตา อยปู ระจาํ โลกมานมนานแม พระพุทธเจายังไมไดตรัสรูขึ้นมา คือเปนเวลาระหวาง “สญุ ญกปั ” ไมม คี าํ สง่ั สอนแสดง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๑

๓๗๒ เรื่องความจริงเหลานี้ก็ตาม ความจริงเหลานี้เคยมีมาดั้งเดิม มีมาตั้งกัปตั้งกัลปโนนอยู แลว ส่ิงทเี่ ราตองการจะหาไดจ ากทีไ่ หน โลกอนั แสนกวา งกเ็ ตม็ ไปดว ยสง่ิ เหลา นท้ี ง้ั นน้ั เมอ่ื คดิ อยา งนก้ี เ็ หมอื นจะหาทเ่ี หยยี บยา ง หาที่ปลงจิตปลงใจลงไมได เพราะหมด สถานที่จะวางใจพึ่งเปนพึ่งตายได แตสถานท่ีวา ปลงจติ ปลงใจลงไมไดนัน้ แล คอื สถานท่ี ที่ปลงจิตปลงใจลงได เพราะเปนหลักธรรมที่พึงปลงลงได ดว ยการพิจารณาใหเห็นตาม ความจริง พระพุทธเจา ทรงสําเร็จความมุงหวังจากสถานที่นั้น พระสงฆสาวกที่เปนสรณะ ของพวกเราทั้งหลายก็สําเร็จความมุงหวังในจุดนั้น ธรรมทไ่ี ดน าํ มาประกาศสอนโลกให สตั วท ง้ั หลายไดย ดึ ถอื ตลอดมากอ็ อกมาจากจดุ นน้ั คอื ใจ ซง่ึ หอ มลอ มอยดู ว ยกอง อนิจฺ จํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า นน้ั แล แมเ ปน ท่ียอมรบั กันเกี่ยวกบั เรอ่ื ง อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ที่มีอยูเต็มโลกก็ตาม แต ก็ไมมีผูเฉลียวใจตอไตรลักษณ พอจะนาํ มาพจิ ารณาเพอ่ื ถอื เอาประโยชนไ ดบ า ง นอก จากตาํ หนโิ ดยไมค ดิ หาทางออกจากสง่ิ เหลา น้ี ดวยการพิจารณา “ไตรลกั ษณ” นเ้ี ปน ทาง เดินเพื่อกาวลวงไปได ดังปราชญทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ดวยเหตุนี้เราชาวพุทธจึงควรพิจารณา เพือ่ แกไ ขสงเสรมิ สิง่ ทบี่ กพรองให สมบรู ณดวยคุณธรรมขั้นตา ง ๆ ที่จะพึงไดรับจากการพิจารณา อนิจฺจํ ทกุ ขฺ ํ อนตฺตา ซึ่ง เปนสัจธรรมอันประเสริฐ การทเี่ ราบาํ เพญ็ อยูเวลาน้ี และบาํ เพญ็ เรอ่ื ยมานแ้ี ล คอื การดาํ เนนิ เพอ่ื หลบหลกี ปลกี ภยั ทง้ั หลายโดยลําดบั จนบรรลถุ งึ “มหาสมบตั อิ นั พงึ หวงั ” จากนนั้ จะเรยี กวา “นิจฺ จ”ํ เปนของเที่ยงก็ได เพราะไมมีอะไรเขามาเกี่ยวของ ไมมอี ะไรเขา มาทาํ ลายจิตใจให เดอื ดรอ นวนุ วาย จะเรียกวา “บรมสขุ ” กไ็ มผ ดิ จะเรียกวา “อตฺตา” ก็ไมนาจะผิด เพราะ เปน”ตน” แท คอื ตนในหลกั ธรรมชาติ ไมมี “สมมติ” นอ ยใหญ แมปรมาณูเขามาเกี่ยว ของใจ แตไมไดหมายถงึ วา “อตตฺ า” ที่เปนคูกับ “อนตฺตา” นน้ั เปนความสมมุติอีกขัน้ หนง่ึ ซึ่งเปนทางดําเนินเพื่อพระนิพพาน แนวทางแหง การประพฤติปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ความแคลว คลาดปลอดภยั ไปโดยลาํ ดบั ทง้ั ภายนอกภายใน ไมม ีสิ่งใดจะนอกเหนือไปจากพระโอวาทคาํ ส่งั สอนของพระพุทธเจา นเ้ี ลย เพราะฉะนั้นศาสนาจึงไมมีทางลาสมัย เปน “มชั ฌมิ า” อยใู นทา มกลางแหง ความ ประพฤติ เพื่อแกกิเลสทุกประเภทเสมอไป ไมมีคําวา “ลา สมยั ” เปนธรรมเหมาะสมกับ โลกทกุ กาลทกุ สมยั จึงเรียกวา “มชั ฌมิ า” คอื ถกู ตอ งดงี าม เหมาะสมกับความประพฤติ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๒

๓๗๓ จะประพฤติตัวใหเปนเชนไรในทางที่ดี ดว ยหลกั ธรรมทท่ี า นสอนไวแ ลว น้ี ยอ ม เปนไปเพื่อความราบรื่นดีงามดวยกันทั้งนั้น เฉพาะอยา งยง่ิ การประพฤตติ อ จติ ใจ การอบรมจิตใจยิ่งเปนสิ่งสําคัญมากในตัวเรา เวลานี้เรามีความแนใจหรือยังวา เราได หลักเปนที่พึงพอใจ หรือเริ่มจะไดหลักเปนที่พึงพอใจบางแลว ไมเ ดอื ดรอ นวนุ วายเมอ่ื คิดถึงเรื่องอนาคต ? นบั ตง้ั แตข ณะตอ ไปนจ้ี นกระทง่ั อวสานแหง ชวี ติ และตลอดไปถงึ ภพหนา ชาติ หนา เราเปน ทแ่ี นใ จไดแ ลว หรอื ยงั ? พระพทุ ธเจา ทา นไมส อนใหค นโงแ ละนอนใจ อยไู ปอยา งไมค ดิ นักปฏิบัตธิ รรม ตองคิดตองพิจารณาเสมอเรื่องความเปนมาวา อายุเราเปนมาผานมาแลวเทาไร เมอ่ื ลบ แลว มอี ะไรบา งทเ่ี หลอื อยู ตอ ไปจะหาอะไรมาบวกมาเพม่ิ ขน้ึ ในสง่ิ ทเ่ี ราตอ งการ หรือจะ มีแตเครื่องหมายลบ(-) ไปเรื่อย ๆ ถา อยา งนน้ั กแ็ สดงวา “ขาดทุน”! เราทุกคนเกดิ มาไมต อ งการ “ความขาดทุน” การคา ขายขาดทนุ ยอ มไมด ี โลกไม ปรารถนากนั อะไร ๆ กต็ ามขน้ึ ชอ่ื วา “ขาดทุน” ขาดแลวขาดเลา ขาดไมห ยดุ ไมถ อยก็ ลมจมไปได เราถา ขาดทนุ ภายในใจ ขาดทุนจากคุณธรรมที่พึงไดพึงถึง มีแตสิ่งที่ไมดีคือ กเิ ลส เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายอยตู ลอดมา หาเวลาเอาชนะมนั ไมไดส กั ที กย็ อ มลม จมไดเ ชน เดยี วกบั สมบตั ภิ ายนอก เพราะฉะนั้นจึงควรสังเกตสอดรูเรื่องของตัวตั้งแตบัดนี้เปนตน ไป ดวยการใครครวญโดยทางสติปญญา เฉพาะอยา งยง่ิ จิตตภาวนาเปน เรอ่ื งสาํ คญั มาก ทจ่ี ะนาํ มาทดสอบตนใหเ หน็ ประจักษ ไมมีความรูใดที่จะแหลมคมยิ่งกวาความรูที่เกิดขึ้นจากดานจิตตภาวนา จะ สอดแทรกไปหมดบรรดาความจริงที่มอี ยูท ั่วสรรพางคกายและจิตใจ ตลอดสง่ิ เกย่ี วขอ ง ทั่วไป ไมว า ดี ชว่ั หยาบ ละเอียด จะนอกเหนือปญญาไปไมได การคิดคนดสู ่ิงท่ไี มเ ปนสาระในการนี้ เพื่อใหยึดเอาสิ่งที่เปนสาระขึ้นมา จากการ คนคิดพินิจพิจารณานี้เปนสิ่งที่ทําได ดังพระพุทธเจาเคยดําเนินมาแลว การพจิ ารณา อนิจฺจํ คือความไมเที่ยง ความแปรสภาพแหง สงั ขารรา งกายและ สิ่งทั่ว ๆ ไปนน้ั แล เปน อารมณใ หจ ติ มหี ลกั ยดึ อนั เปน หลกั เกณฑ เปน สาระแกน สารทาง ภายใน นกั ปราชญท านพจิ ารณารา งกายซ่ึงเปน ของไมเ ทย่ี งนีแ้ ล ที่ไดคุณธรรมซึ่งเปนที่ แนใจขึ้นมาเปนพัก ๆ ตอน ๆ จนตลอดทว่ั ถงึ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๓

๓๗๔ หนงั สอื เราอา นมาจนตดิ ปากชนิ ใจ อา นทไ่ี หนกเ็ จอแตเ รอ่ื ง อนิจฺจํ เรื่อง ทกุ ขฺ ํ เรื่อง อนตฺตา ซง่ึ มอี ยกู บั ตวั เราทน่ี ง่ั เฝา นอนเฝา กนั อยตู ลอดเวลา แตไมสะดุดจิตสะดุด ใจอยา งนก้ี ไ็ มเ กดิ ประโยชนอ ะไรขน้ึ มา พระพทุ ธเจา ทรงสอนไมไ ดส อนอยางลอย ๆ น่ี ผูที่ทานจดจารึกในคัมภีรตาง ๆ ก็ไมไดจารกึ แบบลอย ๆ ผอู า นอา นแบบลอย ๆ ไมไดคิด กเ็ ลยกลายเปน วา “ศาสนา เปนของไมจําเปน เปน ของลอย ๆ” ไปเสีย เหลอื แตต าํ ราคือตัวหนังสือในกระดาษ ทั้ง ๆ ที่ตัวเราเปนคน “ลอย ๆ” เรากไ็ มร ู ไพลไปเห็นศาสนธรรมอันเปนธรรมประเสริฐเลิศ โลกวา เปน เรอ่ื ง “ลอยๆ” ไปเสีย ความจรงิ กค็ อื ตวั เรานน้ั แล “ลอยลม” หาหลกั ยดึ ไมไ ด และก็มาเสียตัวเราที่ตรงนี้ ! เพราะมองขามตัวและมองขามธรรม ซง่ึ เปน สารคณุ อนั ยง่ิ ใหญไปเสีย ฉะนั้นจงึ ตองใชค วามพยายามพิจารณาใหถ งึ ใจ เรื่อง “ทกุ ขฺ ํ” ก็ใหชัดในตัวเรา เพราะมีอยูในตัวเราทําไมไมรู พระพุทธเจาทําไมทานรูวาอะไรเปนทุกข และเปนอะไร อนั ความทกุ ขน น้ั นอกจากขนั ธแ ละจติ ใจแลว ไมม ีอะไรเปนทุกขในโลกนี้ เพราะเราเปน ผรู บั ผดิ ชอบในธาตใุ นขนั ธน ้ี ตง้ั แตว นั อบุ ตั ขิ น้ึ มาจนกระทง่ั วนั อวสานแหง ชวี ติ จะตอง รบั ผดิ ชอบกนั เรอ่ื ยไปเชน น้ี หนักเบาอยางไรเราตองรับภาระทั้งมวลตลอดไป จนกวา จะ ถงึ จดุ หมายปลายทางทพ่ี น ภยั “เรื่อง อนิจฺจ”ํ มีอะไรแปรบาง หรือไมแปร ดภู ายในตวั เรานี้ซิ ดูทอี่ นื่ มันหา งไกลไป จะกลายเปน “งมปลานอกสมุ ” งมเอาในสุมคือในตัวเรา เองนี้แหละ คนที่ตรงนี้ มีอะไรแปรบางเราเห็นอยูทุกระยะ ถา ใชป ญ ญาพจิ ารณา ทา นวา “ชาตปิ  ทุกขฺ า ชราป ทุกขฺ า มรณมปฺ  ทุกฺขํ” เราสวดเสยี จนชนิ ปากแต ใจไมอ ยกู บั “ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทุกฺขา มรณมปฺ  ทกุ ขฺ ํ” เผน ไปไหนกไ็ มรู เลยสกั แตวา สวด สกั แตว า กนั ไป เปนทํานองธรรมเนียมกันไป แตก เิ ลสทอ่ี ยบู นหวั ใจเรามนั ไมไ ด “ทาํ นองธรรมเนยี ม” มันเปนกิเลสจริง ๆ มนั กอ กวนจรงิ ๆ ทําความทุกขใหเราจริง ๆ ไมสนใจคิดกัน จะตามทันกิเลสตัววางเพลิง คอื ความทกุ ขร อ นแกต วั เราไดอ ยา งไร การแกก เิ ลส การแกค วามไมด ภี ายในตวั ภายในใจ จึงตองทําดวยความจดจอ ทํา ดว ยความอตุ สา หพ ยายาม ทําดวยความปกจิตปกใจจงใจจริงๆ ทาํ ดวยความพากเพียร จรงิ ๆ หนกั กส็ เู บากส็ ู เชน เดยี วกบั เราตกนาํ้ แลว พยายามแหวกวา ยขน้ึ บนบก กาํ ลงั มี เทาไรตองทุมเทกันลงไป จนกระทั่งชีวิตหาไมแลวจึงจะยอมจมน้ําตาย หากมกี าํ ลงั พอ ตะเกียกตะกายอยูแ ลวจะไมยอมจมน้ําตาย อนั นก้ี เ็ ชน เดยี วกนั ใหสมกับที่พระพุทธเจา ประทานโอวาทแกส ัตวโลกดวยพระเมตตาอยางเต็มพระทัย จะเขากันไดกับหลักพระ เมตตา ที่ทรงสั่งสอนโลกดว ยอรรถดวยธรรมทุกสว น เราสนองพระเมตตาทานดว ยการ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๔

๓๗๕ ประพฤติปฏิบัติเพื่อความสุขความเจริญแกตัว ทําไมจะทําไมได ควรสนองพระเมตตา ทานดวยการปฏิบัติธรรม ก็ทาํ เพอ่ื เราอยา งเดียวเทา นั้น พระพุทธเจาไมไดมาแบงสัน ปนสวนอะไรจากพวกเราเลย ! วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ ผา นไป ผา นไปอยเู รอ่ื ย ๆ ถาจะสะดุดใจเราก็ควรจะสะดุด ผา น ไปเทาไรก็หมดไปเทานั้น ไมม กี ารยอ นกลบั มาอกี ในความผา นไปแหง รา งกายเราทกุ สว น วนั คนื ป เดือน มีมืดกับแจง จะผานไปหรือผานมา กม็ แี ต “มืด กบั แจง”เทานน้ั ตื่น “มืด” ตื่น “แจง” หาประโยชนอะไรกัน ? สงั ขารรา งกายนบั วนั เวลา “ผา นไป ๆ” โดยลาํ ดบั ไมม กี ารยอ นกลบั สาํ หรบั รา ง กายอนั น้ี จะตอ งผานไปถึงท่สี ุดจดุ หมายปลายทางของเขาในวนั หน่ึง! ทว่ี า “ปลายทาง” นน้ั กค็ อื ทส่ี ดุ แหง ชวี ติ นน้ั แล ไมใชปลายทางที่เราตองการ ความตายไมม ใี ครตอ งการ! ตอ งกลวั ดว ยกนั ทกุ คน เพราะความเกดิ กบั ความตายเปน ของคกู นั อยแู ลว เมื่อเกดิ แลว ตองตาย แตส ตั วโ ลกกลวั กนั แตค วามตาย สว นความเกดิ ไมก ลวั จึงโดนความตายอัน เปนผลของความเกิดอยูไมหยุด เรียนตรงนี้ใหเห็นชัดเจนจะไดหายสงสัย เรียนอะไรก็ไมหายสงสยั ถา ไมเ รียนตัว เอง เพราะตัวเองเปนผูหลง ตัวเองเปนผูยึด ตัวเองเปน ผูรบั ผลแหงความยึดถือของตน หรือเรียกวา “ตัวเองเปนผูรับผลแหงความทุกขของตัว ตองเรียนที่ตรงนี้ ปฏิบัติใหเขา ใจที่ตรงนี้ จะไดห ายสงสยั “ชาตปิ  ทกุ ฺขา” เรยี นใหถ งึ ใจ ขณะที่เริ่มเกิดนั้นมันเปนทุกขแสนสาหัส แต เราจําไมได รอดตายมาแลว ถงึ มาเปน มนษุ ย! ทา นบอกวา “ชาตปิ  ทุกฺขา” ทานพูดดวย ความจริง แตเ ราจับไมไ ดเ สยี จึงเหมือนไมใชของจริง “ชราป ทกุ ขฺ า” ความงก ๆ งนั ๆ สี่ขาหาขา สี่เทาหาเทา ไมย นั นนู ยนั นด้ี ที ไ่ี หน ? เปนสุขที่ไหน ? มนั กองทกุ ขท ง้ั มวล ! “มรณมปฺ  ทุกขฺ ํ” กอ นทจ่ี ะตายกเ็ ปน ทกุ ขก ระวนกระวายแสนสาหสั ทั้งผูมีชีวิตทั้งผูที่จะ ผานไป ตางคนตา งมคี วามทุกขเ ดือดรอนดว ยกนั ไมมีกองทุกขอันใดที่จะมากยิ่งกวา กองทกุ ขใ นเวลานน้ั ผูเปนญาติเปนมิตร ผเู กย่ี วขอ ง ลกู เตา หลานเหลน สามีภรรยา ตองเดือดรอน เต็มหัวใจ ในขณะนั้นผูที่จะผานไปก็เดือดรอนเต็มตัว กลวั จะตายเพราะไมอ ยากตาย เมื่อเปนเชนนั้นจะไมเรียกวา “ทกุ ข” อยางไรเลา ถา เรยี นใหเ หน็ ตามความจรงิ แลว ทําไมจะไมไดสติปญญาจากการพิจารณานี้ สง่ิ ทั้งปวงทําไมจงึ เปน “ไตรลกั ษณ” เลา ก็เพราะเปน “กฎธรรมชาต”ิ มาดั้งเดิม ใคร ๆ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๕

๓๗๖ บังคับไมไดทั้งนั้นมันถึงเปนไปเชนนั้น หากเปนสิ่งที่บังคับไดโลกนี้ไมมีปาชา เพราะ สตั วห รอื บคุ คลบงั คบั มนั ไดด ว ยกนั วา ไมใ หแ ก ไมใหเจ็บ ไมใหต าย แตน เ่ี ปน สง่ิ ทส่ี ดุ วสิ ยั ทว่ั โลกดนิ แดนจงึ ตอ งยอมรบั กนั ทั้งที่ขัดใจฝนใจ นี่คือ เรื่องของ ชาตปิ  ทกุ ขฺ า ชราป ทุกขฺ า มรณมปฺ  ทกุ ขฺ ํ สง่ิ เหลา นอ้ี ยทู ไ่ี หนทอ่ี ธบิ ายอยเู วลาน้ี กอ็ ยกู บั เราทกุ คนไมบ กพรอ ง จําตอ งเจอ ดวยกนั แมผูเทศนก็พนไปไมไดเพราะเปนความจริงเสมอกัน ทานจึงเรียกวา “สจั ธรรม” พวกเราจงเรียน “สัจธรรม” ใหเ ขา ใจสจั ธรรม และพยายามตักตวงสติปญญา ความฉลาดแหลมคมใหพ อในขณะทส่ี ง่ิ เหลา นย้ี งั ไมส ลายตวั ซึ่งขณะนี้กําลังเปนเครื่อง มอื ทาํ งานอยดู ว ยดี ใหไ ดร บั ผลประโยชนต ามกาํ ลงั ไมเสียเวลาไปเปลา การภาวนานน่ั แหละทาํ ใหเ ราทราบเรอ่ื งเหลา นไ้ี ดด ี พระพุทธเจาก็ภาวนาจึงทรง ทราบเรื่องเหลานี้ และนาํ ธรรมเหลา นม้ี าสอนสตั วโ ลก เราก็ดําเนินตามทาน ใหทราบ เรื่องธรรมเหลานี้ประจักษใจ และพน ทกุ ขไ ปอยา งหายหว ง ในปจจุบันชาติไดเปนดีที่สุด สมภูมิผูปฏิบัติเพื่อความหลุดพน ไมต อ งมาเกดิ และตายอกี ตอ ไป เราเคยไปเมืองนอกเมืองนา ทวีปไหนเราก็เคยไป ไปดโู ลกนน้ั โลกน้ี ดโู ลกไหนก็ ไมหายสงสัย ดโู ลกไหนกแ็ บกกองทกุ ข ไมมีอะไรบกพรอง มี “ทกุ ข” ติดตามไปทุกแหง ทกุ หน ตัวเราไปที่ไหนเปนทุกขในที่นั่น ถา เปน สขุ รน่ื เรงิ บา งกเ็ ปน ความสาํ คญั ของตน ตางหาก แตพอไดเหน็ ทกุ ขภายในนี้ เพราะการดโู ลกภายในตวั น้ี ดว ยการปฏบิ ตั ิ ภาวนา ก็จะปรากฏเปน “โลกวทิ ”ู ผูรูแจงโลกขึ้นมา หายสงสยั เรอ่ื งโลก โลกนอกโลกใน โลกใกลห รอื ไกลกต็ าม เม่ือไดพจิ ารณารเู หน็ เบญจขนั ธนตี้ ลอดทวั่ ถึงแลว จะมีความสุข ขึ้นมาในจุดนี้ จนถงึ ขั้นสุดทายอันสมบูรณอยางไมมปี ญหา พจิ ารณาอยา งไร การพจิ ารณาขนั ธ ? เรม่ิ ตน กพ็ จิ ารณารปู กายอยา งทว่ี า นแ้ี หละ ดูความแปรปรวน ซึ่งเราก็ทราบอยูชัดๆ ความทกุ ขก เ็ กดิ ขน้ึ ในขนั ธอ นั น้ี พจิ ารณาให เห็น ใจน้นั ตามหลักธรรมชาติแลวไมใ ชเปนผูส ุข ไมใชเปนผูทุกข เปนผูรูเฉยๆ ถา พิจารณาใหเขาถึงความจริงจริงๆ แลว ตอ งเปน อยา งนน้ั ทุกขเปน อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตฺตา เพราะมันเปนไตรลักษณ สุขก็เปนไตรลักษณ ที่ อยใู น “วงสมมตุ ”ิ และเปน ไตรลกั ษณด ว ยกนั ทัง้ นนั้ ปญญาพิจารณาใหชัดเจน โดย อาศยั ธาตขุ นั ธเ ปน “หนิ ลบั ปญ ญา” ใหค มกลา ขึน้ โดยลําดบั เพราะแยกสว นแบง สว น แหง รา งกายใหเ หน็ ตง้ั แตย งั ไมต าย เรม่ิ ดปู า ชา ภายในนแ้ี หละกอ นตาย ดูตั้งแตขณะยัง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๖

๓๗๗ เปน ๆ นแ้ี หละ อยา ดว นใหเ ขานาํ ไปสปู า ชา ไปสเู มรุ เราดปู าชา ของเรากอ น ดูตั้งแตขาง นอกขา งใน ดูเขาไปโดยละเอียดทั่วถึง จิตจะมีความเพลิดเพลินใน “ธรรมวิจารณ” เมอ่ื เหน็ ของจรงิ ของสกลกายนม้ี าก นอ ย แทนทจ่ี ะมคี วามอดิ หนาระอาใจ มคี วามทอ ถอยออ นแอ เศรา หมองภายในจติ ใจ หรอื อบั เฉาเศรา ใจเหมอื นโลกทส่ี มั ผสั และเปน กนั แตไมเปนเชนนั้น ยิ่งเปนความรื่นเริง บนั เทงิ ไปตามกระแสแหง การพจิ ารณา เพราะเปน สายทจ่ี ะนาํ ใจออกจากทกุ ขโ ดยลาํ ดบั เนอ่ื งจากใจถกู กดถว งจากอปุ าทานเครอ่ื งจองจาํ ของกเิ ลสมานาน พอมีทางออกไดจึง กระหายวา ยแหวกเพอ่ื พน ไป ขณะพิจารณารางกาย จติ ใจสงบเบาโดยลาํ ดบั เพราะการพิจารณาก็ดี การรเู หน็ กด็ ี เปน ไปเพอ่ื ความเบอ่ื หนา ยคลายความกาํ หนดั ยนิ ดี และปลอ ยวางภาระหนกั คอื “ภารา หเว ปจฺ กขฺ นธฺ า” “พรอม” อปุ าทานในจติ ที่เคยคิดวาเปนเราเปนของเรา ทั้ง ๆ ทก่ี องทกุ ขเ ตม็ อยกู บั ความยดึ ความถอื นน้ั เมื่อไดหยั่งทราบดวยปญญาแลว ความยึดความถือจะทนอยูไมได ยอ มถอยและ สลดั ตวั ออกตามกาํ ลงั สตปิ ญ ญา จนสลัดออกไดโดยสิ้นเชิง การพจิ ารณา “ขนั ธห า ” มีรูปเปนตน อนั ไดแ กร า งกาย และเวทนา คอื ความสขุ ความทุกข และเฉย ๆ ไมสุขไมทุกข โดยยึดเอาทุกขซึ่งเปนเรื่องสําคัญขึ้นมาพิจารณา ใหเห็นท้ังทางทอ่ี าศยั กายเกดิ ขนึ้ ระหวา งกายกบั ทกุ ขเวทนากระทบกนั หรอื รบกนั ที่พูด วา “รบกนั ” ตอ สกู นั กไ็ ด เพราะความชอกชาํ้ ยอ มเขา มาสจู ติ ซึ่งเปนสถานทตี่ ั้ง“ชยั สมรภูม”ิ ของกายกบั ทกุ ขเวทนา และสตปิ ญญาสูร บกัน สว นกายกบั ทกุ ขเวทนาเขาไมท ราบความหมายใดๆ มจี ิตเทา นน้ั เปน ผรู บั ความ หมาย ถา ปญ ญาไมส ามารถตา นทานหรอื ปด กน้ั ไวไ ด จิตใจจะมคี วามชอกชาํ้ มากทเี ดยี ว แตเ ม่ือพิจารณากายและพิจารณาทกุ ขเวทนา ใหเห็นชัดเจนตามความจริงของ กาย ของเวทนาแลว แทนทจ่ี ติ จะบอบชาํ้ เลยกลายเปน จติ ทผ่ี อ งใสและอาจหาญขน้ึ มา ไมส ะทกสะทา นตอ ทกุ ขเวทนาทเ่ี กดิ ขน้ึ มากนอ ยในเวลานน้ั ทง้ั สามารถกาํ หนดดู ทกุ ขเวทนาไดอ ยา งอาจหาญ นน่ั ! การพิจารณาเพยี งสองอยางน้ี คือกาย กบั ทกุ ขเวทนา กพ็ อแกก ารพจิ ารณาอยู แลว เพราะเปน สง่ิ เกย่ี วโยงกนั ในระหวา งขนั ธท ง้ั หา กบั จติ ผรู บั ผดิ ชอบในขนั ธ แตเมื่อ จิตสมั ผสั ในขนั ธใ ดมาก จะพจิ ารณาขนั ธน น้ั เพอ่ื เชอ่ื มโยงกนั กช็ อบธรรม “สัญญา” เปน ความจดจํา สาํ คญั มน่ั หมาย มีความละเอียด หลอกใหค นลมุ หลง ตามไดอ ยา งงายดาย ไมต อ งทอ งคาถากลอ มกห็ ลบั ได “สังขาร” คอื ความคดิ ความปรุง ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๗

๓๗๘ ชั่วขณะๆ แตส ง่ิ ท่ปี รากฏอยางเดนชัดกค็ อื รูป ไดแ กส กลกายของเรา กบั เวทนาทง้ั สาม ทแ่ี สดงตวั อยเู สมอๆ ภายในกายในใจ อธิบายเพียงเทานี้ก็พอจะเขาใจได เมื่อเขาใจ สองอยา งนแ้ี ลว เรื่องสัญญา คอื ความสาํ คญั มน่ั หมาย เรอ่ื งกาย เรื่องเวทนา กท็ ราบกนั ชดั เจนดว ยปญ ญาเหมอื นกนั และเขาใจในระยะเดียวกัน ยิ่งเปนวาระสําคัญ คือถึงขณะจะเปนจะตายจริงๆ แลว นักปฏิบัติจะถอยไปไม ได ถอยกแ็ พน ่ี เราไมต อ งการความแพ ทุกขเวทนาจะมีมากมายเพียงไร จะตอ งตอ สใู ห เขาใจเรื่องทุกขเวทนาดวยปญญา ไมม คี าํ วา “ทอ ถอย” จงพิจารณาใหเขาใจเรื่องกายเรื่องเวทนา ทก่ี าํ ลงั พวั พนั กนั อยใู นขณะนน้ั เรยี กวา “พวั พนั กนั ” บา ง “กาํ ลงั ชลุ มนุ วนุ วายกนั อยใู นขณะนน้ั ” บา ง ถาสติปญญาไมมีเพียงพอ ในการตอ สกู จ็ ะเหมาเอาวา “เราทั้งคนนี้แหละเปนทุกข” เราทั้งคนนี้แหละจะตาย แตเรา กไ็ มอ ยากตายไมอ ยากทกุ ข อนั น้ีแลคอื การส่ังสมทุกขขึน้ ทับถมตนเองโดยเราไมรตู วั จึง ควรระวังใหมาก เดย๋ี วจะเปน การยน่ื ดา มดาบใหก เิ ลสความสาํ คญั นน้ั ๆ ฟนเอา ฟนเอา ลมทั้งหงายไมเปนทา นา สงั เวชและเสยี ดายนกั ปฏบิ ตั ิ เสยี เลห ก ลใหก เิ ลสบนเวที ตาย ไปทั้งคน แตถ า พจิ ารณาตามหลักธรรม คอื ความจรงิ แลว เอา! ทกุ ขก ท็ กุ ขซ ิ มีเทาไรจง แสดงขึ้นมา ! เราเปนผูฟง “สัจธรรม” คือ “ทุกขสัจจะ” วา เกิดขึ้นจากอะไร เกิดขึ้นที่ ไหน คนดูตามเนอื้ ตามหนงั ตามเอ็น ตามกระดูก ที่วา “เปนทุกข, ๆ” ดแู ลว มนั กไ็ ม เห็นมีอะไร สว นไหนกส็ ว นนน้ั อยู ตั้งแตวันเกิดมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน ไมม คี วาม เปลี่ยนแปลงไปจากหนังจากเอ็นจากกระดูก ไปเปนอยางอื่น มันเปนความจริงของมัน! อยเู ชน นั้น ทกุ ขแ สดงขน้ึ มากเ็ ปน ความจรงิ ของเขาอยอู ยา งนน้ั ทุกขไมแสดงขึ้นมาก็เปน อยอู ยา งนน้ั นแ่ี ลคอื การพจิ ารณาดว ยปญ ญา เอา! จิตไมตาย ทุกขเวทนาเปนสิ่งที่เกิดไดดับได จติ ดับไมได จติ จงึ ทนตอ การ พิสูจน ทนตอความรูที่จะรูสิ่งตาง ๆ เพราะจิตไมฉิบหาย นั้นแลเราจึงมีทางพิจารณา ดวยปญญาอยางเต็มที่ ไมอัดไมอน้ั ไมมีอะไรมาบังคับกีดขวางได ใชปญญาย้ําลงไปวา “เอา ตายกต็ าย แตกกแ็ ตก ผไู มแ ตกมอี ยู เราจะทราบถึงความแตกดับของเวทนาวา ดับ ไปเมื่อไร ใหทราบ กายจะแตกใหท ราบ ไมม กี ารทอ ถอย จะแตกกแ็ ตกไป อยา ปรารถนาอยา อยากใหท กุ ข และสิ่งไมตองการดับไปดวยความปรารถนา ดว ยความ อยาก นน่ั เปน ตณั หา นน่ั คือคมดาบของกิเลสเงอื ดเงื้อไว อยา ถลาํ เขา ไป จงสคู วามจรงิ ดวยปญญา ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๘

๓๗๙ จงพิจารณาใหเห็นตามความเปนจริงของมัน จะแตกกแ็ ตกไป จะสลายก็สลาย ไป นี่ชื่อวาพิจารณาตามความเปนจริงแท จะสนุกเพลินในธรรมทั้งหลายที่พิจารณาเห็น ความจริงอยางเต็มสัดเต็มสวน แมทสี่ ุดรางกายจะสลายลงไปเราก็เปน “สคุ โต” หรอื ยงั อยู กเ็ ปน สขุ ใจ องอาจกลา หาญ ไมม คี วามอบั เฉาเศรา หมองภายในใจเลย นี่เรียกวา “สคุ โต” ดว ยการพจิ ารณา เปนประการหนึ่ง ประการสาํ คญั กค็ อื พจิ ารณาอยา งนแ้ี ล จนกระทั่งเขาใจจริง ๆ ในเรอ่ื งขนั ธท ง้ั หา คือรูปขันธกใ็ หเปนรปู ขันธ เปนอยางอื่นไปไมได เวทนาขนั ธก เ็ ปน เวทนา กองเวทนา หมวดของเวทนา จะเปนอยางอื่นไปไมได สญั ญาก็เปนสัญญา สงั ขารกเ็ ปน สงั ขาร วญิ ญาณกเ็ ปน วญิ ญาณ แตล ะอยา ง ๆ เปนอยางอื่นไปไมได จิตตองเปนจิต เปน อยา ง อื่นไปไมได ตางอันตา งจริงอยา นํามาคละเคลากนั พิจารณาแยกออกตามความจรงิ ของ สง่ิ นน้ั ๆ ดวยสติปญญาอันทันสมัย ตา งอนั กต็ า งจรงิ ตามหลกั ธรรมชาติ จิตก็จริง ดว ยอาํ นาจของปญ ญา พิจารณาแยกแยะใหเห็นตามความเปนจริง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ กจ็ รงิ จริงทั้งที่ยังมีชีวิตอยู จริงท้งั เวลาสลายลงไป กส็ ลายลงไป ตามความจริงของเขา จิตก็จริงเต็มภูมิของจิต พอถงึ ขน้ั นแ้ี ลว จติ กห็ มดความหวน่ั ไหว ไมก ระทบกระเทอื นระหวา งขนั ธก บั จติ เพราะตางอันตางจริง เรื่องความเปนความตายไมเห็นมีความหมายอะไรเลย! เปน ความจรงิ แตล ะ อยา งๆ เชน เดยี วกบั สิ่งทั้งหลายทแ่ี ปรสภาพลงไปนัน้ แล ผนู ค้ี อื ผกู าํ ชยั ชนะไวไ ดอ ยา ง สมบรู ณ จะไมเดือดรอนเวลาตาย จิตเปนธรรมดา…ธรรมดา เพราะไดพิจารณาถูกตาม หลักธรรมชาติธรรมดาไมปนเกลียว ไมฝนกับหลักธรรมชาติหลักธรรมดา สติปญญา เดินตามหลักธรรมชาติ เพราะธรรมทานสอนตามหลักธรรมชาติ ทา นไมใ หฝ น ความ จริง เมื่อพิจารณาตามความจริง รูตามความจริงแลว จะไมมีอะไรฝนกันเลย ปลอ ยตาม ความจริง ยอมจะหมดภาระการแบกหามไปเปนทอดๆ เอา เปนก็เปน ตายกต็ าย เมือ่ ยังมีชวี ิตอยูกร็ ับผิดชอบกนั ไป หากชวี ติ หาไมแ ลว ก็ปลอยไปเสีย เพราะเปน บอ ความกงั วลวนุ วาย ไฟทง้ั กองไดแ กธ าตขุ นั ธน เ้ี อง และได เรียนรูแลว “ภารา หเว ปจฺ กขฺ นธฺ า ภารหาโร จ ปุคฺคโล” ขนั ธท ง้ั หา นแ้ี ลเปน ภาระอนั หนกั ยง่ิ กวา ภเู ขาทง้ั ลกู เมอ่ื ปลอ ยวางขนั ธท ง้ั หา นไ้ี ดด ว ยปญ ญาอนั ชอบแลว ตัวเปนผู ดับสนิทซึ่งทุกขทั้งปวง หาอะไรเกิดข้ึนไมไดภ ายในใจ ตั้งแตบัดนั้นไปนั่นแลทานเรียก วา “นพิ ฺพานํ ปรมํ สขุ ”ํ คอื สขุ ลว นๆ ไมไดสุขดวยเวทนา แตเ ปน สขุ ในหลกั ธรรมชาติ เปนสุขของจิตที่บริสุทธิ์ ไมใชสขุ ในสมมตุ ิ เปน สุขในวิมุตติ จงึ “ปรมํ สุข”ํ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๗๙

๓๘๐ นค่ี อื สารคณุ อนั สงู สดุ ยอด จะเรียกวา “นิจฺจ”ํ หรือ “นิจธรรม” ธรรมเปนของ เที่ยงก็ไมผิด เมื่อไมมีอะไรจะแยงภายในตัวแลว คนอน่ื ไมส าํ คญั ขอใหเ จาของรตู าม ความเปนจริงเถิดหมดทางขัดแยงเจา ของซึ่งเปนตัวสําคัญ เมอ่ื รรู อบเจา ของนแ้ี ลว ก็ หมดปญหาไปในทันที นแ่ี หละ ทก่ี ลา วเบอ้ื งตน วา “สง่ิ ทจ่ี รี งั ถาวรโลกตอ งการ” แลว สง่ิ นก้ี ม็ อี ยใู นสง่ิ ท่ี ไมถ าวรดงั กลา วแลว ตะกน้ี ้ี คอื อมตํ ไดแกจิตที่ไมตายนี้ ตอนหนง่ึ ไมต ายแตห มุนเวียน เพราะอาํ นาจของกเิ ลสมนั ผลกั ไสใหไ ปสภู พ ตางๆ เมื่อชําระกิเลสจนหมดโดยสิ้นเชิงแลวก็เปน “อมต”ํ ไมตายแตไมหมุนเวียน เรา จะเรียกวาธรรมชาตินี้เที่ยงหรือนิพพานเที่ยง กบั อนั นเ้ี ทย่ี งกอ็ นั เดยี วกนั ! จีรังถาวรก็ได แกอ นั น้ี เปนที่พึงใจก็ไดแกสิ่งนี้ หมดความหวาดความระแวงอะไรทง้ั สน้ิ กค็ อื ธรรมชาติ อนั น้ี เพราะถอดถอนยาพษิ อนั เปน ขา ศกึ ออกจากตนแลว โดยสน้ิ เชงิ ! คาํ วา “ตัว” ในสมมตุ ทิ ถ่ี กู ปลอ ยวางโดยสน้ิ เชงิ นน้ั เปนตัวของพิษของภัย ตวั ของกเิ ลสตณั หาอาสวะ ตัวกอง อนิจฺจํ ทุกขฺ ํ อนตฺตา ซึ่งตองเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เมื่อ ปลอยธรรมชาตินี้ไดโดยสิ้นเชิงแลว จึงไมมีอะไรจะพูดตอไปอกี ถงึ เวลากไ็ ปอยา งสบาย หายหว ง เมอ่ื ชวี ติ ยงั อยกู อ็ ยไู ป กนิ ไป หลบั นอนไป เหมอื นโลกทว่ั ๆ ไป เมอ่ื ถงึ กาลจรงิ แลว กไ็ ป ไมม ีปญ หาอะไรในความเปนอยูหรือความตายไป สาํ หรบั ผทู ส่ี น้ิ ปญ หาภายใน จติ ใจโดยสน้ิ เชงิ แลว เปน อยา งนน้ั นแ่ี ลคอื สารคณุ ของมนษุ ยซ ง่ึ ไดจ ากศาสนธรรม สมกบั นามทว่ี า “มนุษยเปนผูมี ความเฉลยี วฉลาด” นําศาสนธรรมซึ่งเปนของประเสริฐเลิศโลก มาเปนเครื่องยึดและ เปนแนวทางดําเนิน หลบหลีกเล่ียงทกุ ขท้ังหลายไปได จนทะลุปรุโปรงพนจากภัยโดย ประการทั้งปวง ชอ่ื วา “มนษุ ยผ ฉู ลาดแหลมคม” ตรงกับที่วา “สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสน”ํ ทาํ จติ ใหผ อ งใสจนกระทง่ั บรสิ ทุ ธแ์ิ ลว นน้ั แลชอ่ื วา “เปนผูทรงคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ไวได” การทรงธรรมของพระพุทธเจา ไดตองทรงไวที่จิตนี่แล ทง้ั เปน มหาสมบตั ติ ลอดอนนั ตกาล การแสดงธรรม กเ็ หน็ วา สมควร ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๐

๓๘๑ เทศนโปรดคุณเพาพงา วรรธนะกลุ ณ วดั ปา บา นตาด เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ หัดตาย การปฏบิ ตั ถิ ึงคราวเด็ดมันตองเด็ด ถงึ คราวเฉยี บขาดตองเฉียบขาด มันเปนไป ตามจังหวะหรือตามเหตกุ ารณท เ่ี กย่ี วขอ งกบั จติ นเ่ี องแหละ ถงึ คราวจะอนโุ ลมกต็ อ ง อนโุ ลม ถงึ คราวจะผอ นสน้ั ผอ นยาวไปตามเหตตุ ามกาลตามธาตตุ ามขนั ธก ม็ ี ถงึ คราว หมนุ ตวิ้ ไปตามอรรถตามธรรมโดยถา ยเดยี วกม็ ี เวลาจําเปน ใจซึ่งควรจะเด็ดเดี่ยวตองเด็ดเดี่ยวจนเห็นดําเห็นแดงกัน อะไรๆ จะสลายไปทไ่ี หนกไ็ ปเถอะ แตจติ กบั ธรรมจะสลายจากกนั ไมไ ด การปฏบิ ตั เิ ปน อยา ง นน้ั เราจะเอาแบบเดียวมาใชนั้นไมได เพราะธรรมไมใ ชแ บบเดยี ว กิเลสไมใชประเภท เดยี วแบบเดยี ว ประเภทที่ควรจะลงกนั อยางหนักก็มี ประเภทที่ควรจะผอนผันสั้นยาว ไปตามบา งกม็ ตี ามกาลตามสมยั หรอื เกย่ี วกบั เรอ่ื งธาตเุ รอ่ื งขนั ธก าํ ลงั วงั ชาของตวั กม็ ี ถึงคราวจะทุมเทหมดไมมีอะไรเหลือเลยก็มี เมือ่ ถงึ คราวเชนนนั้ อะไรจะเหลอื อยูไมไ ด มนั หากบอกในจติ เอง รอู ยกู บั จติ เอง “เอา ? ทุมลงไปใหหมด กําลังวังชามีเทาไรทมุ ลง ไปใหห มดอยา สงวนไว กระทง่ั จติ ตวั คงทนไมแ ปรไมแ ตกสลายเหมอื นสง่ิ อน่ื ๆ กไ็ ม สงวนหวงแหนไวใ นขณะนน้ั ” “เอา ! จิตจะดับไปดวยการพิจารณาในสิ่งทั้งหลายที่เห็นวาดับไป ๆ กใ็ หร ูวาจติ นมี้ ันดับไป จะไมมีอะไรเหลือเปน “ความรู” อยใู นรา งกายเราน้ี กใ็ หร ดู ว ยการปฏบิ ตั ิ ธรรมนี้เทานั้น ไมม สี ง่ิ อน่ื ใดมาเปน แบบฉบบั ” ถงึ คราวท่ีจติ มันจะลาง ลา งโลกออกจากใจนน่ี ะ โลกคอื กเิ ลสนน่ั แล จะรั้งรองอ มืองอเทาอยูไมได ตอ งสจู นหวั ใจขาดดน้ิ ไมม คี าํ วา “ถอย” สมมุติทั้งปวงที่มันแทรกอยู ภายในจติ ใจรวมเปน กองสงู เทา ภเู ขานก้ี ต็ าม ตอ งสจู นตายหรอื ชนะแลว หลดุ พน อยา ง เดียว! เพราะเปน “สงครามลางโลก” ถงึ คราวทจ่ี ะลา งใหห มด ตอ งสตู ายขนาดนน้ั ลา ง จนจิตไมมีอะไรเหลืออยูเลย “เอา ใหมันหมดไปดวยกันเสีย กเิ ลสมนั กด็ บั ไป ๆ จิตที่รูนี้จะดับไดดวยเพราะ ถกู ทาํ ลายดว ยสตปิ ญ ญากใ็ หม นั รมู นั เหน็ ซิ ไมตองเสียดาย ! เพราะเราหาความจริง ใจ จะดบั ลงไปดว ยกใ็ หร วู า เปน ความจรงิ อนั หนง่ึ ” ถา กิเลสดับไปใจกด็ บั ไปดวย ไมม คี วาม ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๑

๓๘๒ รูใดๆ เหลอื อยู เหลือแตรางกายเปนหัวตอเพราะไมมีใจครอง กใ็ หม นั รกู นั ในขณะ ปฏบิ ตั นิ แ้ี ลดกี วา กาลอน่ื ใด” “ที่พระพุทธเจาตรัสรูแลว ธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธท์ิ าํ ไมยงั เหลอื อยใู นโลก สาวก อรหัตอรหันตทานบําเพ็ญไดบรรลุธรรม อะไรๆ ขน้ึ ชอ่ื วา กเิ ลสดบั สญู ไปหมดภายในจติ ใจ แตทําไมใจที่บริสุทธิ์จึงไมดับ แลว เหตใุ ดพวกเราถึงจะมาดบั ท้ังจิตดวยจนหาความ บริสุทธิ์ไมเจอเลย! ถา มนั จะแหวกแนวจากหลกั ธรรมของพระพทุ ธเจา จรงิ ๆ กใ็ หม นั รู ใหม นั เหน็ แตถ า จะไมแ หวก ลงถงึ กเิ ลสดบั หมดจรงิ ๆ แลว จะไมแ หวกแนว ยิ่งจะเห็น ของจริงอันวิเศษไดอยางชัดเจน” อะไรจะหนกั ยง่ิ กวา การสรู บกบั กเิ ลส และอะไรจะทุกข ยง่ิ กวา กเิ ลสทบั จติ เปน ไมม ใี นโลกน้ี! ความโกรธเปนกิเลสประเภทหนึ่ง ความโลภ ความหลง ก็เปนกเิ ลส แตล ะ ประเภทลวนทับถมจิตใจเปนฟนเปนไฟเผาใจเราเรื่อยๆ มาไมมีเวลาสรางซา ไมมีอะไร จะทุกข ยง่ิ กวา น้ี การแกค วามโกรธดว ยอบุ ายตา งๆ แกค วามโลภ ความหลง ดว ยอบุ าย ตางๆ กต็ อ งไดท าํ หนกั มอื ยอ มเปน ทกุ ขล าํ บากเพราะการกระทาํ เหมอื นกนั กเิ ลสทบั ถมเราใหเ ปน ทกุ ขแตไมเกิดประโยชนอะไร เวลาเราสกู บั กเิ ลสยอ มเปน ทกุ ข แตได รับผลประโยชนตามกําลังของความเพียร คอื กเิ ลสสลายตวั ลงไปเปน ลาํ ดบั จนกเิ ลส ไมมีเหลือเลย นั่นคือผลซงึ่ เกดิ จากการทําดวยความเปนทกุ ข การสกู บั กเิ ลสดว ยความ เปนทุกข หรือเราเปนทุกขเพราะการสูกับกิเลส ผลปรากฏขน้ึ มาเปนความสุขอยางไม คาดไมฝน ตองเทียบเคียงเหตุผลอยางนั้น เพื่อหาทางรอดพนจากบวงแหงมารตัวมีเลห เหลี่ยมรอยสันพันคม และทาํ สตั วใ หล ม จมอยใู ตฝ า เทา ของมนั อยา งเกลอ่ื นกลน ลน โลก เรื่อยมา ยากจะมีผูเล็ดลอดไปได ปกติจิตใจเสาะแสวงหาเหตุกอกวนตนอยูเสมอไมวาจิตของใคร เรื่องของกิเลส เคยเปนอยางนั้นเรื่อยมา ไมเคยเปล่ียนแปลงแผนการมาทางดตี อ มนษุ ยแ ละสัตวท ั่ว โลกเลย เรอ่ื งของสตปิ ญ ญากต็ อ งตามสอดสอ ง อนั ไหนทเ่ี หน็ วา เปน ภยั ตอ งไดร ะงบั และ ตองฝนกัน ถา ไมฝ น ไมเ รยี กวา “ตอ สเู พอื่ ปอ งกนั ตัว” หรอื เอาตวั รอดเพอ่ื แกค วามทกุ ข ทก่ี เิ ลสเปน ตน เหตสุ รา งขน้ึ นน้ั ออกจากใจ แมล าํ บากกต็ อ งสู ขืนคิดไปมากพูดบนไป มากกย็ ่ิงปลอยไฟใหเ ผาเรามากขึ้นในดวงใจ หาความสขุ ไมไ ดเ ลย อบุ ายวธิ แี กเ จา ของแกอ ยา งน้ี ปกตขิ องจติ ถาเราเสริมเทาไร คลอยไปตามเทา ไร มันยิ่งจะปรุงแตเรื่องที่จะเกิดความเดือดรอนวุนวายแกตนเรื่อยๆ นง่ั อยกู เ็ ปน ทกุ ข ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๒

๓๘๓ นอนอยกู เ็ ปน ทกุ ข อยทู ไ่ี หนกม็ แี ตก องทกุ ขห าความสขุ ไมไ ด จติ เปน ไฟทัง้ กองจาก ความคิดปรุงตางๆ เพราะฉะนนั้ การแกจ ึงแกลงทจ่ี ติ นี้ การระงับ การแกก เิ ลสตา งๆ ดว ยอบุ ายปญ ญา ถงึ จะหนกั บา งเบาบา งทกุ ขบ า ง ลาํ บากบา งยงั พอสู เพ่ือจติ ไดพ นจากภัยคือความทกุ ขค วามเดือดรอนจากกเิ ลสกอ ไฟ เผาดว ยความคดิ ปรงุ และความสาํ คญั มน่ั หมายตางๆ เราตองยอมรับความทุกขที่จะ เกดิ ขน้ึ จากการตอ สนู น้ั ๆ จะชอ่ื วา “เปน ผรู กั ตน” ไมป ลอยอะไรใหเขามาเผาลน ราวกับ ใจไมมีเจา ของรับผิดชอบ ทป่ี ลอ ยใจใหเ รา รอ นหากาํ หนดกฎเกณฑไ มไ ดว นั ยงั คาํ่ คนื ยงั รุง แลวแตจะเปนอยางไรตามบุญตามกรรมนั้น มนั ก็เจอแตเ รอ่ื ง “ตามบุญตามกรรม” เรอ่ื งยถากรรมไปเรอ่ื ย ๆ หาสาระภายในใจเลยไมม ี สดุ ทา ยกห็ าความหมายในตวั ไม ม!ี การแกต วั เองนน้ั เพอ่ื หาสารคณุ เพื่อหาความจริง เพ่อื พบความมงุ หมายอัน สาํ คญั ภายในใจ เพราะเราทั้งคนมีความหมายเต็มตัว จะปลอยใหสิ่งที่จะมาทําลาย ความหมายมาทาํ ลายสารคณุ ภายในจติ ใจ โดยไมมีการตานทานไมมีการแก ไมมีการตอ สกู นั เลยนน้ั ไมส มควรอยา งยง่ิ ถา เราแพว นั นว้ี นั หลงั เรากแ็ พอ กี เพราะเราไมสูศัตรูนั้น ถา เราไมส แู ลว เขาไมถ อยเปนอนั ขาด เพราะไดทาไดทีแลว ย่งิ จะเหยียบยํ่าทําลายหนัก มือเขาไปโดยลําดับ ถา เรามที างตอ สมู ที างแกก นั บา ง สง่ิ นน้ั กเ็ บาลง อะไรที่เกิดขึ้นคิดขึ้น เหน็ วาเปน ของไมดีรีบแกมันไมนอนใจ สิ่งนั้นก็ไมมีทางกําเริบตอไป เพราะมีสิ่งระงับมีสิ่งดับกัน อยเู สมอ ภยั ของจติ ใจกค็ อื กเิ ลสนน้ั แล ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความรัก ความ ชัง น้ันเปน ภยั เราใหรูมันเราแกมัน แมจะยังพนไปไมไดก็ตาม การมสี ง่ิ แกก นั นน้ั กพ็ อสู กันไปได ถามแี ตพ ษิ อยา งเดยี วไมมียาแกเ ลยน้นั มันกแ็ ย การสง่ั สมแตพ ษิ ภยั ขน้ึ ภายใน จิต อบุ ายแกไ ขไมม เี ลยมนั แยจ รงิ ๆ แมจ ะบน ตาํ หนติ นมากนอ ยกไ็ มเ กดิ ประโยชน มนั ตองแก! เราเปนคนทั้งคน จติ ทั้งดวงมีสาระเต็มดวง จะปลอ ยใหก เิ ลสเหยยี บยาํ่ ทาํ ลาย โดยไมม กี ารแกไ ขการตอ สกู นั เลยนน้ั ไมสมควรกบั เราซง่ึ เปน เจาของจติ ใจ ตองคิด อยางนี้เสมอ และเรงเครื่องเขาเผชิญหนาทาทายกับกิเลสทุกประเภทวา “มาเถิด กเิ ลส ตัวใดที่ยังไมเคยตาย จะไดทราบความตายเสยี ในวันน้ีเดย๋ี วนี้ เรากําลังรอเขียนใบตาย ใหอ ยแู ลว เวลาน้ี กเิ ลสตวั ใดไมเ คยมใี บตายตดิ มอื ใหโ ผลต วั ออกมารบั มอื กบั เรา” น่ี วธิ ปี ลกุ ใจใหม คี วามอาจหาญชาญชยั เพราะใจไมผิดอะไรกับชางมาตัวพาเขาสูสงคราม ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๓

๓๘๔ ในครง้ั กอ นๆ โนน พอไดร บั การปลกุ ใจจากเจา ของผฉู ลาดเทา นน้ั ชาง มาจะเกิดความ ฮึกเหิมผาดโผนโลดเตนขึ้นทันที แลว พาเจา ของวง่ิ เขา สแู นวรบไมก ลวั ตาย แตก ารฝก จติ นส่ี าํ คญั มาก เพราะจิตเราไมเคยฝก เคยแตปลอยไปตาม ยถากรรมตั้งแตไหนแตไรมา หรอื ตง้ั แตวนั เกิด จะมาหกั หา มเอาใหไ ดอ ยา งใจในวนั หนึ่งขณะเดียวนั้นมันเปนไปไมได การเรม่ิ ฝก กค็ อื เรม่ิ หกั หา มจติ ใจ ไดบา งเสียบาง เพราะถือวาเปนขั้นเริ่มแรก ทเ่ี รายงั ไมส ามารถอนโุ ลมปลอ ยไปกอ นกม็ ี เมื่อมันหนักเขา จรงิ ๆ เราก็ตองอนโุ ลมไปกอน แตห าทางแกไ ขหกั หา มมนั อยเู สมอภายในใจเพราะ กําลังเรายังไมพอ ถา ไมป ลอ ยบางจะไปสเู ขาไดอ ยางไร กต็ อ งยอมปลอ ยไปกอ น โดยทํา ความเขาใจไว แลว คอ ยขยบั ความเพยี รเขา ไปเรอ่ื ยๆ เรงไปเรื่อยๆ ดว ยวธิ กี ารตา งๆ เอา ทุกขบางทนเอาบางจะเปนไรไป เพราะเราเคยทน ทาํ ไมโลกนเ้ี กิดข้ึนมาใคร ก็ไมเคยคิดทนเรื่องทุกข แตมันจําเปน เขาทนไดเ รากท็ นได แตเ วลาเราจะทนบา งเกย่ี ว กับการฝกจิตที่ไดรับความทุกขตางๆ นั้นทําไมจะทนไมได สิ่งที่ควรทนและพอจะทนได เราก็ตองทน โลกนไ้ี มใ ชโ ลกสขุ ลว นๆ มนั มที กุ ขเ จอื ปนอยดู ว ยกนั ทกุ คนและไมว า งาน ใด มันมีทุกขเจือปนอยูดวยกันทั้งนั้น ขน้ึ ชอ่ื วา การทาํ งานแลว งานทางโลกกต็ องมีทกุ ข เพราะการทํางาน งานทางธรรมกต็ อ งมที กุ ขเ พราะการทาํ งาน ใหอ ยเู ฉยๆ จะไมใหมี ทุกข ทั้งๆที่เราตองทํางานอยูมันเปนไปไมได ตองมีทุกข เราก็ยอมรับเพราะการทํางาน แตท กุ ขเพราะการทํางานทางดานกศุ ลนี้มนั เกิดผล ไมใชเปนทุกขเฉยๆ โรคเกิดขึ้นภาย ในกายเรา เปน ความทกุ ขค วามลาํ บากและไมเ กดิ ผลดอี ะไร เรายังตองอดทนตอมัน ถา เราไมพิจารณาใหเกิดผลดี ถา เราพจิ ารณาใหเ กดิ ผลดว ยอบุ ายวธิ ตี า งๆ ของสติปญญา ทุกขก็เปนเครื่องหนุนปญญาใหแหลมคมได และเกิดผลเปนความสงบ เปนความรูเทา ทันกัน ปลอ ยความกงั วลได เพราะทราบความจริงดวยการพิจารณา นกี่ ็เปนผลดี จะทํา ใหเกิดผลดีผลชั่วมันเกิดไดทั้งนั้น ทว่ี า จะทาํ อะไรลงไปกก็ ลวั จะลาํ บาก กลัวจะทุกข หาแตเรื่องยงุ เหยิงวุน วายใสตวั น้ี มันเคยมีเคยเปนมาแลว ขออยา ใหม นั มารบกวนเรามากมายนกั เลย ไมว าอะไรถา เปนของดีแลว มักจะมีอะไรมาตานทานมาขัดขวางไมอยากจะใหทํา นค่ี อื อบุ ายของ กิเลสที่เคยอยูเหนือหัวใจเรามานาน จงทราบไวเสียบางวานี้คือเรื่องของฝายต่ํามา เหยียบย่ําทําลายเรา และอยูเหนือจิตใจเราตอไปไมยอมลง ควรจะผลกั มนั ออกไปกใ็ ห ผลักไปบาง ควรจะตอ สดู ว ยวธิ ใี ดกต็ อ สบู า ง หรือจะตอสูจนเวทีพังกิเลสพังก็จะเปนไร ไป ขอแตอ ยา ใหเ ราพงั กแ็ ลว กนั คาํ วา “เราพัง” นไ้ี มอ ยากไดย นิ เลย เอา แพบา งชนะบา งไมเปน ไร! ยังมีการตอสู แสดงวายังไมตายใจกับเขาทีเดียว ตอ งฝน กนั บา งอยา งน้ี ฝน ไปฝน มาความฝน กค็ อ ยมี “วันเคยชนิ ” ขึ้นมา อบุ ายทจ่ี ะ ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๔

๓๘๕ สนบั สนนุ การฝน กม็ ขี น้ึ มา ตอไปก็ทนั กนั ไปเอง อยา ลมื คาํ วา “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ”ที่ เคยแสดงแลววาพระองคเปนนักรบ นกั ปราบขา ศกึ องคเ อก จงยึดทานเปนขวัญใจเวลา เขา สแู นวรบหรอื เวลาปกติ ไมมีอะไรขวาง นอกจากเปน สิริมงคลอยางเดียว พระพุทธเจาไมเปนผูลางมือคอยเปบ ทา นถงึ ขน้ั สลบไสลนน้ั นะ! คนไมทุกขมาก จะสลบไสลหรอื ทา นมคี วามลาํ บากลาํ บนแคไ หน การทาํ งานเปนอยา งนน้ั เปนคติตัว อยา งไดท กุ พระอาการทแ่ี สดงออกมา เราในฐานะพุทธบริษัทไมไดเหมือนพระพุทธเจา ทกุ กระเบยี ดนว้ิ กต็ าม ไดแบบศิษยมีครูก็ยังดี ถือทา นเปน คตติ วั อยา งทัง้ การบาํ เพญ็ ทัง้ การยดึ ถอื ฝากเปน ฝากตายในองค “พุทธะ” หรือพระพุทธเจาผูบริสุทธิ์ ไมใ ชเ อากิเลส เปนครูทาเดียว จะทําความเพียรเมื่อไรทาใด ถกู แตท า กเิ ลสดดั เอา ๆ ฟง เสยี งแพว า “ยอมแลว ๆ” กระเทือนไปทั่วจักรวาล เสียงชางสารก็ไมดังเทาเสียงนักรบยอมแพกิเลส นี่มันนาโมโหจะตายไป! คนเราถา เหน็ กเิ ลสเปน ภยั บา งแลว ผูนั้นยังมีทางจะแกไขและผานพนไปได ถา เหน็ กเิ ลสกบั เราเปน อนั เดยี วกนั หรือเห็นวาไมเปนเรื่องของกิเลส แตเปนเรื่องของเรา หมด กห็ าทางแกก นั ไมไ ด เพราะจะกระเทือนคําวา “เรา” ดไี มด ถี กู กลอ มใหห ลบั สนทิ ไมมีวันรูสึกตัวไดเลย แบบนค้ี อื แบบ “จม” ถาสิ่งที่เปนขาศึกตอเรา สง่ิ ทใ่ี หค วามทกุ ขค วามลาํ บากแกเ รานน้ั เราเห็นวาเปน กเิ ลส เรากบั กเิ ลสกถ็ อื วา เปน ขา ศกึ กนั และตอ งตอ สกู นั ถา มกี ารตอ สกู นั กแ็ สดงวา เปน คนละคน ไมใชเปนอันเดียวกนั เสยี จนหมดเน้อื หมดตัว ยงั พอมสี ตบิ า ง ความเปน ผมู ี สตบิ า งนแ้ี หละ เปน เหตใุ หต อ สคู วามคดิ ในแงต า งๆ ทเ่ี หน็ วา ไมเ ปน ประโยชนห รอื เปน โทษแกเ รา พยายามฝาฝนและแกไ ขดวยปญ ญาจนเร่อื งนั้นผานไป และพยายาม แกไ ขใหผ า นไปดว ยอบุ ายสตปิ ญ ญาเรอ่ื ยๆ ตอไปใจกร็ าบรนื่ ไมฝ น มากเหมือนขนั้ เริ่ม แรกฝก แมทุกขก็ยอมรับ การทาํ งานตอ งทกุ ข ทุกขเพราะผลอันดีไมเปนไร ขณะที่เราสู สไู ดข นาดไหนกส็ กู นั ไป ทาํ กนั ไป ฝา ฝน กนั ไปดว ยความเหน็ ทกุ ข นี่เปนทางเดินของนัก ปราชญทานเคยตะเกียกตะกายมาแลว กอ นทท่ี า นจะหลดุ พน ลว นแตต ะเกยี กตะกายมา ดวยกนั ทง้ั น้ัน จะมาลา งมอื เปบ เอาเฉพาะเราคนเดยี วซง่ึ เปน ลกู ศษิ ยข องตถาคต แต กลบั แหวกแนวยง่ิ กวา ครมู อี ยา งหรอื ! ครมู คี วามทกุ ข ลกู ศษิ ยก ต็ อ งมคี วามทกุ ขบ า ง เพราะเดินตามครู รอ งรอยทา น เดนิ อยา งนน้ั เราจะหนีจากรองรอยทานไปไหน กต็ องยอมรับทกุ ขซึง่ เกิดจากการปฏบิ ตั ิ หนาที่ของตนโดยชอบธรรม ทุกขเพราะการบําเพ็ญไมสําคัญเทาใดนัก แตทุกขเวลาจะ ตายนซ่ี ใิ ครจะชว ยเราได ! ทกุ ขเ วลาทาํ งาน ถา มนั ทกุ ขม ากๆ เรายงั พักผอ นการงานได ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๕

๓๘๖ ทุกขก็ระงับไป ถา จะสไู มไ หวเพราะความทกุ ขน ห้ี นกั มากเกนิ ไป เราผอนงานลงบาง ความทกุ ขก ผ็ อ นลง เราหยดุ งานความทกุ ขก ด็ ับไป เชน เรานง่ั ภาวนานานมนั เปน ทกุ ข มาก เราหยดุ เสยี กอ นพกั นท้ี กุ ขก ด็ บั ไป กพ็ อระงับกันไปได แตท กุ ขเ วลาจะตายนน้ั นะ มนั ระงบั ไมไ ด! นอนอยมู นั กท็ กุ ข ทุกขหมดทั้งตัวใน ขณะนอน ลกุ ขน้ึ นง่ั มนั จะหายไหม กไ็ มห าย เดนิ จะหายไหม กไ็ มห าย อาการใดกไ็ ม หายทั้งน้นั อริ ยิ าบถทง้ั สเ่ี อามาตอ สู หรือเอามาใชก บั ความทุกขในขณะทจี่ ะตายนั้น ไม ไดผลทั้งนั้น เราเอาอนั นม้ี าเทยี บบา งซิ เวลานง่ั นานยนื นานเดนิ นาน หรอื ตอ สกู บั เวทนาขณะที่มันเจ็บมากปวดมากขึ้นตอนทเ่ี ราน่ังภาวนานาน ทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นใน ขณะที่เราพิจารณานี้จะเกิดขึ้นมากนอย ถา สไู มไ หวเราถอยได นอ่ี นั หนง่ึ เปน ขอ ลด หยอนผอ นผนั ไปตามความจําเปน แตอ ยา ถอื เปน ความจาํ เปน จนกเิ ลสไดใ จ ถงึ กบั นง่ั ภาวนาไมไ ด เดินจงกรมไมได ใหท าน รักษาศีล ไมได ตอ งมีทาตอ สูอยเู สมอ ในขณะที่เราจะตาย ทุกขเวทนามันเผาเราหมดทั้งตัวเพราะถอยไมได ถอยไป อริ ยิ าบถใดกเ็ ปน ไฟไปดว ยกนั ทกุ ขอ นั ไหนจะมนี าํ้ หนกั มากกวา กนั เอาสองขอ นม้ี า เทยี บกันดู กอ นตายเรายงั ตอ งทนทกุ ขอ ยู ขนาดที่สูไมไหวยังตองทนจนกระทั่งตาย การ ภาวนานานบา งนย้ี งั พอสไู หวน่ี พอถอยได ทําไมเราจะทําไมได คดิ ดเู รามาเทยี บกนั ดู ความขยนั ความบกึ บนึ ความมแี กใ จ ความอาจหาญยอ มเกดิ ขน้ึ ไดด ว ยอบุ ายปญ ญาแง หนง่ึ เวลาจติ มนั ถอยมนั ทอ ตอ งเอาอบุ ายปญ ญานม้ี าใช เพอ่ื เปน กาํ ลงั ใจหนนุ ขน้ึ มาให เกดิ ความกลา หาญไมส ะทกสะทา น ตอสูกันไดชัยชนะไปโดยลําดับๆ ในขณะนน้ั กม็ ดี ว ย อบุ ายปญ ญา คดิ ดใู หด ี ใหท นั กลมายาของกเิ ลส เวลาจะตายมนั เปน อยา ง นน้ั ดว ยกนั ทกุ คนไมม ใี ครมขี อ ยกเวน ! อริ ยิ าบถทง้ั ส่ี จะเอาไปใชป ระโยชนใ นการผอ นคลายทุกขเวทนาซ่งึ แสดงขนึ้ ใน เวลาจะตายนน้ั ไมไ ดผ ลเลย มีแตจะ “แตก” ทาเดียว มแี ตท กุ ขท า เดยี ว กระทง่ั แตกไป ขณะที่เราจะสกู บั ทกุ ขเ พ่อื การทําความดี ทําไมจะสูกันไมได กม็ นั ยงั ไมแ ตกน่ี มนั ทกุ ข ขึ้นมาจริงๆ เราถอยได น่กี ็ยงั พอฟด พอเหวีย่ งกนั ไปดว ยอบุ ายปญญา เวลาจะเอาจริง “เอา ขณะที่มันจะตาย อะไรจะตายกต็ ายไปเถอะ เรอ่ื งสตปิ ญ ญาถงึ ขน้ั แหลมคมเตม็ ท่ี แลว ภายในใจ จะรกั ษาดวงใจนไ้ี ดอ ยา งสมบรู ณ ไมมีทุกขเวทนาตัวใดที่จะเขามา เหยยี บยาํ่ ทาํ ลายจิตใจนใ้ี หเ สยี ไปได นเ่ี รยี กวา “แนใจเต็มที่ !” ทุกขเกิดขึ้น ทกุ ขน น้ั กด็ บั ไป ไมม อี ะไรดบั นอกจากทกุ ขท เ่ี กดิ ขน้ึ แลว ดบั ไป เทา นน้ั มที กุ ขเวทนาทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในกาย มีกายที่เปนตัวเกดิ นี้เทา นนั้ เปน ทุกข เปน ผู จะดบั จะสลาย ไมม อี นั ใดดบั อนั ใดสลาย นอกจากสง่ิ น้ี สง่ิ ทผ่ี สมกนั นส้ี ลายเทา นน้ั ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๖

๓๘๗ สว นจติ ไมม อี ะไรผสม นอกจากกเิ ลสเทา นน้ั ที่มาผสมจิต กเิ ลสเปน สง่ิ ทด่ี บั ไป ได แตจิตลวนๆ ดบั ไมไ ด ไมมีดับ จิตจะดับไปไหน อะไรจะสลายกส็ ลายไปจะเสยี ดาย มันทําไม ความเสยี ดายเปน ความเยอ่ื ใย เปน เรอ่ื งกดถว งจติ ใจ ความเสยี ดายนน้ั คอื ความฝน คตธิ รรมดาแหง หลกั ธรรมทท่ี า นสอนไว และเปน ขา ศกึ และผอู าลยั เสยี ดายอกี ดวย เอา ทุกขเ กดิ ขน้ึ มากนอ ยกเ็ ปน เร่ืองของทกุ ข ทุกขจะดับไปก็เปนเรื่องของทุกข เราเปน ผรู ู รูทั้งที่ทุกขเกิดขึ้น ทั้งทุกขตั้งอยู ทั้งทุกขดับไป ธรรมชาตนิ เ้ี ปน “ผูรู” ไมใ ช ผเู กดิ ผดู บั จะกลวั ความเกดิ ความดบั กลวั ความลม ความจมในจติ อยา งไรกนั มันจะลม จมไปไหน พิจารณาอยางนี้เพื่อจะฟนฟูจิตใจขึ้นมาจากตมจากโคลน เพอ่ื ใหใ จไดเ หน็ ชัดรูชัดตามความจริง จิตใจจะลมจมไปไหนถึงกลัวนักหนาในขณะจะตาย มันหลอกกัน เฉยๆ น!่ี ตามความเขาใจของทานของเรา ถา พดู ถงึ วา หลอกกนั นะ แตไมมีใครจะมี เจตนาหลอกใครแหละ ตายๆๆนน่ี ะ โลกเขาสมมตุ กิ นั มาอยา งนน้ั นบั กปั กลั ปไ มไ ดแ ลว เม่ือพิจารณาเขาถึงความ จรงิ แลว “โอ นม่ี นั หลอกกนั ” ความจรงิ ไมม อี ะไรตาย! ธาตสุ ่ี ดนิ นาํ้ ลม ไฟ สลายลง ไปแลวก็ไปอยูตามธาตเุ ดมิ ของเขา จิตที่กลัวตายนี้ยิ่งเดน มันไมไดตายนี่ เหน็ ชดั ๆ อยา งน้ี อะไรเปน สาเหตใุ หจ ติ ตายไมม ี เห็นชัดๆ อยูวาไมมี ใจยิ่งเดน ผูที่รูที่พิจารณา สิ่งท้ังหลายนน้ั ยง่ิ เดน เราไมหวงอะไร จะไปกไ็ ปเม่อื ถึงคราวแลว ผูที่รูก็รูตามเหตุตามผล ไมถ อยใน เรื่องรู ผทู ส่ี ลายกส็ ลายไป ไมอาลัยไมเสียดาย ไมห วง หวงทําไม? มนั หนกั ยดึ ไวท าํ ไม? ส่งิ เหลาน้ีเปนของหนักมาก การรูตามเปนจริง ปลอ ยวางตามสภาพของมนั นน่ั แลคอื ความจรงิ ไมก งั วล ถงึ อยไู ปอกี มนั กจ็ ะตายอยา งน้ี อยเู พือ่ ตาย! อยูเพื่อแตก! เวลาน้ี พจิ ารณาใหเ หน็ ความ แตกดับเสียกอนตั้งแตยังไมแตก นี่เปนสิ่งที่เหมาะสมอยางยิ่งสําหรับผูมีปญญา นข่ี น้ั สาํ คญั ! ผพู จิ ารณาเชน นจ้ี ะเปน ผไู มห วน่ั ไหว เห็นชัดตามเปนจริง ที่ชื่อวา “เวทนา”นน้ั มนั เปน อะไร มนั กเ็ วทนานน่ั แล มันเปนเราเมื่อไร มันเกิดขึ้นมันดับไป เราทําไมจะเกิด ขึ้นดับไปอยูวันยังค่ําคืนยังรุงเชนนั้น ถาเวทนาเปนเรา ถาเวทนาเปนเราแลว เอาทไ่ี หน เปนทแี่ นใจวา “เปน เรา” หรือสาระอะไรวาเปนเราได ทุกขเวทนาเกิดขึ้นก็วาเราเกิดขึ้น ทุกขเวทนาดบั ไปกว็ า เราดบั ไป มแี ตเ ราเกดิ เราดบั อยวู นั ยงั คาํ่ คนื ยงั รงุ หาความแนน อน ที่ไหนได! ถา เราจะไปเอาเรากบั ทกุ ขเวทนามาบวกกนั มนั ไมไ ดเ รอ่ื ง เหลวไหลทั้งน้ัน ธรรมชดุ เตรยี มพรอ ม ๓๘๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook