Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:52:14

Description: พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล).

Search

Read the Text Version

ปฏจิ จสมปุ บาทสาํ หรบั คนรนุ ใหม พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล) ISBN : 974-93123-0-9 สงวนลขิ สิทธ์ิ พิมพเผยแผโดย ตามพระราชบญั ญัติ พ.ศ. 2537 พมิ พครัง้ ท่ี 1 กองทุน ธรรมวิหาร พิมพค รง้ั ที่ 2 พมิ พท ี่ ธรรมสถานมหาวิทยาลัยเชยี งใหม วดั ฝายหิน มช. 67 หมู 1 บานฝายหิน ถนนสเุ ทพ ตาํ บลสเุ ทพ อาํ เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200 โทร : 053-943684 โทรสาร : 053-943684 พฤษภาคม 2548 จํานวน 4,000 เลม กันยายน 2550 จํานวน 5,000 เลม บริษัท นันทพันธพรน้ิ ติ้ง จํากดั 33/4-5 ถ.เชียงใหม-หางดง ตาํ บลแมเหยี ะ อําเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม 50200 โทร : 053-804908-9 โทรสาร : 053-804958





กติ ิกรรมประกาศ ปฏิจจสมุปบาทสําหรับคนรุนใหมน้ี สําเร็จลงไดดวยความ อนุเคราะห ชวยเหลือของบุคคลหลายฝาย ผูเขียนขอระบุนามทานเหลาน้ีไว เพื่อแสดงมุทิตา โมทนาสาธุ กราบคารวะ และขอบพระคุณเปนอยางสูง ดังนี้ สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) วัดเทพศิรินทราวาส กทม. พระอุปชฌาย ผใู หกําเนิดในเพศบรรพชติ แกผ ูเขียน พระอาจารยนพพร อาทิจฺจวํโส พระอาจารยสมบัติ ภูริปฺโญ ทานอาจารยแมชีอุบาสิกาเพียงเดือน ธนสารพิพิธ ผูใหกําเนิดในทางธรรม ประสิทธิป์ ระสาทความรู และไดใหแ นวทางในการศึกษาวิเคราะห ตลอดจน ตรวจสอบแนะนํา จนสามารถรวบรวม สรุป และเขียน “ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรุนใหม” เลม น้ไี ดสําเรจ็ ทาน ศ.ดร.ระวี ภาวิไล บิดาผูใหกําเนิดในทางโลก ซ่ึงเปนผูให ความรูและคําปรึกษาในเร่ืองที่เกี่ยวของกับหลักอภิธรรม อีกท้ังยังมีเมตตา เขยี นคาํ นาํ ใหกับหนังสอื เลม น้ี พระมหา ดร.ไสว เทวปุฺโญ เจาอาวาสวัดฝายหิน ผูมีเมตตา รับ ผเู ขียนเขา วัด เปน ธัมมันเตวาสิก คืออันเตวาสิก หรือศิษยผูเรียนธรรม ใน สาํ นักวดั ฝายหนิ จังหวดั เชียงใหม คุณภัทร คชะภูติ กัลยาณมิตร ผูนําหลักวิปสสนาชกมวยไปใช และเผยแผอยางไดผ ล ศ.ดร.คุณหญิงพยอม สิงหเสนห ญาติมิตรสหาย และคณะศรัทธา ท้งั จากธรรมสถาน มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม และจากธรรมสถาน จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ที่รวมบริจาคปจจัย สมทบทุน สนับสนุนการจัดพิมพหนังสือ เลม นี้ เพอ่ื เผยแผเ ปนธรรมทาน ทุกๆ ทาน Mr. David Freyer ครูสอนภาษาอังกฤษ ที่มีสวนอยางสําคัญในการ พฒั นาแผนผงั ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ฉบบั ภาษาอังกฤษ

คุณเฉลิมพล เมาลีกุล และคณะผูเขียนภาพ วงจรปฏิจจสมุปบาท แบบธิเบต ในรูปแบบจิตรกรรมไทยใหกับผเู ขียน คุณอภินันท และคุณธนพันธ ศิริโยธิพันธ และทีมงานโรงพิมพ นันทพันธ ทีเ่ ออ้ื เฟอเปนธุระในการทําอารตเวิรค และจัดพิมพหนังสืออยาง พิถพี ถิ ัน อาตมภาพ ขอกราบขอบพระคุณ และมุทิตาโมทนาสาธุ ในความมี เมตตาอนุเคราะหของทุกๆ ทาน ท้ังที่กลาวนาม และไมไดกลาวนาม ท้ังที่ ระลึกได หรือระลึกไมไ ดท ั้งหมด ท่ีทําใหหนงั สอื เลม นส้ี ามารถสําเร็จออกมา เปน รปู เลมสวยงาม และสมบรู ณอยางที่ปรากฏอยูนี้ บญุ กศุ ลอนั เกิดแตการพิจารณาเผยแผธรรม ท่ีปรากฏในหนังสือน้ี อาตมภาพ ขอถวายเปนพุทธบูชา ธรรมบูชา และอริยสังฆบูชา โมทนาใน พระคุณความดบี ารมที ั้งปวง ของสมเด็จองคปฐมพระบรมสัมมาสมั พทุ ธเจา และพระสมั มาสมั พุทธเจาทุกๆ พระองค ตลอดจนถึง สมเด็จพระสัมมาสัม พทุ ธเจา พระองคปจจบุ นั พระธรรมเจา และพระอรยิ สงั ฆเจาทุกๆ พระองค ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และบุญกุศลแหงการพิจารณาธรรม ปฏิจจสมปุ บาทสาํ หรบั คนรุน ใหมนี้ จงแผไปปกปกรักษาทานผูมีอุปการคุณ ทุกๆ ทาน ใหประสบแตความสุขความเจริญ ท้ังทางโลกและทางธรรม เขา ถงึ มรรค ผล นิพพาน ในปจจุบนั โดยเร็วพลนั เทอญ พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน ภาวไิ ล ๙/๕/๔๘

กาลามสตู ร1 พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ทรงตรัสเร่ืองของวิธีปฏิบัติใน เร่ืองทคี่ วรสงสยั หรอื หลักของความเชอ่ื ไวใ นพระสูตรชอ่ื กาลามสตู ร วา ๑. อยาปลงใจเชอ่ื ดวยการฟง ตามๆ กันมา ๒. อยา ปลงใจเชอ่ื ดวยการถอื สบื ๆ กนั มา ๓. อยา ปลงใจเชอ่ื ดวยการเลาลอื ๔. อยาปลงใจเชือ่ ดว ยการอา งตําราหรอื คัมภรี  ๕. อยาปลงใจเช่อื เพราะตรรก ๖. อยา ปลงใจเช่อื เพราะการอนุมาน ๗. อยาปลงใจเชอ่ื ดว ยการคิดตรองตามแนวเหตุผล ๘. อยา ปลงใจเชื่อ เพราะเขา ไดกบั ทฤษฎที พี่ ินิจไวแ ลว ๙. อยาปลงใจเชอ่ื เพราะเห็นรปู การณว า นาจะเปน ไปได ๑๐. อยา ปลงใจเชอ่ื เพราะนับถือวา ทานสมณะนีเ้ ปน ครขู องเรา ตอเมื่อใดที่รู และเขาใจดวยตนวา ธรรมเหลาน้ันเปนกุศล เปน อกุศล มโี ทษ ไมม โี ทษ เปน ตน แลว จงึ ควรละหรอื ถือปฏิบตั ติ ามน้ัน 1 ในบาลเี รียกวา เกสปตุ ติยสตู ร มาใน พระสุตตนั ตปฎก องั คตุ ตรนิกาย ติกนิบาต

ลกั ษณะตัดสนิ พระธรรมวนิ ยั ๗1, ๘2 พระพุทธองคท รงตรัสแก พระอบุ าลี วา ธรรมเหลาใดเปนไปเพื่อ (๑) เอกันตนิพพิทา ความหนายส้ินเชิง, ไมหลงใหลเคลิบเคล้ิม (๒) วิราคะ ความคลายกําหนัด ไมยึดติดรัดตัว เปนอิสระ (๓) นิโรธะ ความดับ, หมดกิเลส หมดทุกข (๔) อุปสมะ ความ สงบระงับ (๕) อภิญญา ความรูย่ิง, ความรูชัด (๖) สัมโพธะ ความตรัสรู (๗) นิพพาน ความดบั กิเลสส้ินเชิง สขุ สงบ เยน็ ธรรมเหลา นั้นพงึ รวู า เปนธรรม เปนวนิ ัย เปนสัตถสุ าสน คอื คําสอนของพระศาสดา พระพุทธองคท รงตรสั แก พระนางมหาปชาบดโี คตมี วา ธรรมเหลาใดเปนไปเพื่อ (๑) วิราคะ ความคลายกําหนัด ความไมต ิดพนั เปน อิสระ ไมเปนไปเพื่อกําหนัดยอมใจ หรือเสริมความติด (๒) วิสังโยค ความหมดเครื่องผูกรัด ไมประกอบทุกข (๓) อปจยะ ความไมพอกพูนกิเลส (๔) อัปปจฉตา ความมักนอย ไมมักมาก (๕) สันตุฏฐี ความสันโดษ พอใจในผลอันสมดวยเหตุ (ตามมีตามได) (๖) ปวิเวก ความสงัด ไมคลุกคลีดวยหมู (๗) วิริยารัมภะ ประกอบความ พากเพียร ไมเ กยี จคราน (๘) สภุ รตา ความเล้ยี งงา ย ธรรมเหลาน้ันพงึ รวู า เปน ธรรม เปนวินัย เปนสตั ถสุ าสน คอื คําสอนของพระศาสดา 1 องฺ.สตตฺ ก. ๒๓/๘๐/๑๔๖ 2 วินย. ๗/๕๒๓/๓๓๑ ; องฺอฏฐ ก. ๒๓/๑๔๓/๒๘๙.

สารบญั ปฏิจจสมุปบาทสําหรับคนรนุ ใหม หนา 1 ๑. อวิชชา 3 ๒. สังขาร 10 ๓. วญิ ญาณ 12 ๔. นามรูป 15 ๕. สฬายตนะ 17 ๖. ผสั สะ 20 ๗. เวทนา 22 จากผัสสะไปสูเ วทนา จติ ทาํ งานอยางไร? 24 สังขารขนั ธ การปรงุ แตง ใจ จากผสั สะสูเ วทนา 27 เสน ทางของสังขาร (อภสิ ังขาร, กรรมฐาน ๔๐, วปิ สสนา) 29 69 สรปุ การทาํ งานของจติ จากผัสสะไปสเู วทนา ๘. ตัณหา 75 จากเวทนาไปสตู ณั หา จติ ทํางานอยา งไร? 77 ๙. อุปาทาน 81 จากตัณหาไปสอู ุปาทาน จติ ทาํ งานอยา งไร? 84 ๑๐. ภพ 89 ๑๑. ชาติ 94 ๑๒. ชรามรณะ 106

ความหมายของคาํ วา \"ทกุ ข\" ในพุทธธรรม หนา 108 อาสวะ ๔ วถิ เี พ่มิ พนู อวิชชา 109 กระบวนการแตกดบั ตายเกดิ ขา มภพขามชาติ (ฮโิ รชิมา) 111 แลว ภพ-ชาตใิ หม เกดิ ข้นึ มาไดอยางไร? 114 จติ สุดทาย (จตุ จิ ติ ) เปน เชนไร 117 จติ ต้งั ตนในภพใหม (ปฏสิ นธจิ ิต) กเ็ ชนน้นั โยนิ ๔ คอื กําเนิด, แบบหรอื ชนดิ ของการเกิด 126 พฒั นาการของชีวิตในครรภมารดา 129 กรณศี ึกษา ตายจากมนษุ ย แลว มาเกดิ เปนมนษุ ย 131 ตายจากโอปปาตกิ ะชั้นสงู 133 คอื พรหม เทพ เทวดา มาเกดิ เปนมนุษย ตายจากเดรจั ฉาน โอปปาตกิ ะชน้ั ตํ่า 134 คือ อสุรกาย เปรต สตั วนรก มาเกิดเปน มนษุ ย โอปปาติกะกาํ เนิด ในภพสมั ภเวสี เพอื่ ความเปนเดรัจฉาน 134 เดรัจฉานภพ ภพแหงการเสวยผลของกรรม 135 ปฏิจจสมุปบาทสายดบั 136 อรยิ มรรคมีองค ๘ 139 จากไตรสกิ ขา มาเปน สมถะและวิปส สนา 145 วปิ ส สนา คอื สังขาร การปรงุ แตง อันยังภพใหส ิน้ ไป 146

บนั ไดวปิ ส สนา หรอื วิปส สนาชกมวย หนา 149 ไตบัลลงั กแชมป 153 153 ๑. วตั ถทุ าน 155 ๒. อภัยทาน 155 ๓. ธรรมทาน 157 ๔. ศีลและวนิ ัย 163 ๕. ตรวจสอบปรบั ปรุงคุณสมบัติ กอนลงทะเบียน 165 ๖. เคลียรห น้ี ลางบญั ชี เจรจาหยา ศกึ 172 ๗. เลิกลางเปาหมายอ่ืน แลวลงทะเบียนเสยี ที 174 ๘. นกั มวยสรางกําลงั กาย นักปฏบิ ัตสิ รางกําลังใจ 177 ๙. ออกลลี าชกลม หรอื รํามวย 180 181 กรอเทปสมอง ประลองความจริงในชีวติ 182 185 ๑๐. ลีลาชกลม หรอื ราํ มวยตวั อยาง 185 ๑๑. เอากระสอบทรายเปน เปา ซอมมือเทาใหก ราวแกรง 187 ๑๒. อวสานกระสอบทราย 188 ๑๓. ลงนวมข้นึ เวทีในคา ย โดยมีครฝู ก เปน คูซอม 190 ๑๔. ไดฤกษขึ้นเวทจี ริง ไตอันดับสูความเปน แชมป ๑๕. ข้ึนเวทีใหญ ใกลค วามเปน แชมป เปดปมู ชวี ติ กวาดลางทาํ ความสะอาด \"อตตี ารมณ\"

๑๖. ขน้ึ เวทโี ลก ชวงชงิ ความเปนแชมป- หนา จากรองแชมปโลก จนถงึ แชมปโลก 191 เราตองคว่ํารองแชมป กับแชมปโ ลกใหได 193 195 ภมู ขิ องวปิ สสนา ในวิปสสนาชกมวย 200 202 เพราะวปิ ส สนาเปนปจจยั จึงละตณั หาได 203 เพราะละตัณหาในอารมณไ ด เปนปจจัย- จงึ ละได ซึ่งอปุ าทานในอารมณน ัน้ 203 เพราะละได ซึง่ อปุ าทานในอารมณนน้ั เปน ปจจยั - จึงละได ซงึ่ ภพอนั เคยมใี นอารมณน้นั 204 เพราะละได ซ่ึงภพอันเคยมใี นอารมณนน้ั เปนปจจยั - จึงละได ซง่ึ ชาติ คอื ความเกดิ แหงขันธท ั้งหลาย ในอารมณน นั้ เพราะการละได ซ่งึ ชาติ ความเกดิ แหง ขันธทง้ั หลาย- อนั เคยมใี นอารมณนน้ั เปนปจจัย ใจจงึ ปราศจาก- ซ่ึง ชรา-มรณะ คอื ความเสอ่ื มสลายและดบั ส้ินไป- แหง ขันธทงั้ หลาย ในอารมณน น้ั อวชิ ชาในอารมณน ้นั 204 จงึ ถกู แทนท่ดี ว ยวิชชา ในอารมณน ัน้ บทสรุปของปฏิจจสมุปบาท 205 โดยพระอาจารยสมบัติ ภรู ิปโฺ ญ 205 เอา \"วชิ ชา\" ไปดับ \"อวิชชา\" ปฏิจจสมุปบาทสายดบั เกดิ ขึ้น

เหลอื เพยี ง \"ใจ\" ทีเ่ ปน อิสระ หนา ส้นิ อาลยั ไรอาวรณ ปลอดจาก \"ทุกข\" 206 พนไปจาก \"กาย\" ใจถึง \"นิพพาน\" 207 ภาคผนวก 207 ทศิ ๖ 209 พธิ ีขออโหสิกรรมใหญ เพอ่ื ความไมประมาท 209 การอธษิ ฐานการปฏบิ ัติธรรม 214 ใหเ กดิ ปฏเิ วธธรรม ถงึ พระนิพพานในชาติปจจุบัน ประกาศใหอ โหสิกรรม 218 บรรณานุกรม 221 ประวัตผิ ูเ ขยี น 223 รายนามเจา ภาพรวมพมิ พห นังสอื ฯ 225 เปน สขุ เพราะศีล 227 230



ปฏิจจสมปุ บาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ปฏิจจสมปุ บาทสาํ หรับคนรุนใหม โดย พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) “ปฏิจฺจ” แปลวา อาศัยกัน “สมุปฺบาท” แปลวา เกิดขึ้นดวยกัน “ปฏิจจสมุปบาท” จึงแปลไดความวา ธรรม (มีอาการ ๑๒) ท่ีเกิดข้ึนดวยกัน โดยอาศัยกนั ปฏิจจสมปุ บาท จงึ เปนการเกดิ ข้ึนพรอมแหง ธรรมทัง้ หลาย เพราะ อาศัยกัน หรือ ธรรมมีอาการ ๑๒ อันอิงอาศัยกัน เกิดข้ึนดวยกัน โดยมิไดมี ธรรมหน่งึ ธรรมใดเกิดขนึ้ โดยอสิ ระ หรอื เปน เอกเทศ “เหตุ” แปลวา สง่ิ อนั เปนท่ตี ้ังลงของผล “ปจ จัย” แปลวา เครอื่ งอาศัย หรือเคร่ืองอาศัยเปนไป “ปจจัย” จึงหมายถึงท้ังสิ่งท่ีเปนเหตุและไมใชเหตุ แตส่ิงน้ันก็เปนเคร่ืองอาศัยใหเปนไป สําหรับในปฏิจจสมุปบาท ทานใชศัพท วา “ปจจัย” เชน “เพราะอวิชชาเปนปจจัย สังขารจึงมี” ทานมุงถึงส่ิงท่ีเปน เคร่ืองอาศัยใหเกิดขน้ึ โยงกนั ไปเปน สาย ไมไ ดห มายถึงส่ิงท่เี ปน เหตุโดยตรง องคธรรมหลักในปฏิจจสมปุ บาท มีอยู ๑๒ ประการ โดยมีอาการเปน ปจจัยแกกัน ดังพระพุทธดํารัสท่ีทรงตรัสไวใน สังยุตตนิกาย นิทานวรรค ๑๖/๑/๑-๒ วา “ภิกษุท้ังหลาย ปฏิจจสมุปบาทคืออะไร คือการที่ อวิชชาเปนปจจัย ใหเกิดสังขาร สังขารเปนปจจัยใหเกิดวิญญาณ วิญญาณเปนปจจัยใหเกิด นามรูป นามรูปเปนปจจัยใหเกิดสฬายตนะ สฬายตนะเปนปจจัยใหเกิดผัสสะ ผสั สะเปนปจจัยใหเกิดเวทนา เวทนาเปนปจจัยใหเกิดตัณหา ตัณหาเปนปจจัย ใหเกิดอุปาทาน อุปาทานเปนปจจัยใหเกิดภพ ภพเปนปจจัยใหเกิดชาติ ชาติเปนปจจัยใหเกิดชรามรณะ… โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาส ก็เกิด รว มดวย กองทุกขท ง้ั มวลน้ีเกิดขน้ึ อยา งพรอ มมลู ดวยอาการดังท่วี า มาน”้ี 1

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวิไล) สรปุ จาํ แนกอาการท่ีเปนปจ จยั กนั ไดด ังนี้ ๑. เพราะ อวชิ ชา เปน ปจจัย สังขาร จงึ มี ๒. เพราะ สังขาร เปนปจ จัย วญิ ญาณ จงึ มี ๓. เพราะ วิญญาณ เปน ปจ จัย นามรูป จึงมี ๔. เพราะ นามรปู เปน ปจ จยั สฬายตนะ จึงมี ๕. เพราะ สฬายตนะ เปน ปจ จยั ผัสสะ จงึ มี ๖. เพราะ ผัสสะ เปนปจ จัย เวทนา จงึ มี ๗. เพราะ เวทนา เปนปจจัย ตณั หา จงึ มี ๘. เพราะ ตณั หา เปนปจ จัย อุปาทาน จึงมี ๙. เพราะ อุปาทาน เปน ปจ จัย ภพ จึงมี ๑๐. เพราะ ภพ เปน ปจ จยั ชาติ จงึ มี ๑๑. เพราะ ชาติ เปนปจจยั ชรามรณะ จงึ มี ๑๒. (เพราะ ชรามรณะ เปนปจจัย หรือ เพราะธรรมท้ังปวงนี้ เปนปจจัย) ความโศก ความคร่ําครวญ ทุกข โทมนัส และความคับแคนใจ ก็มีพรอ ม 2



พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) สวนคําวา “มิจฉาทิฏฐิ” (wrong view) นั้น หมายถึง ความเห็นผิด ไดแ กความเห็นผดิ จากคลองธรรม ตามหลกั กุศลกรรมบถ หรอื เปนความเห็น ทไ่ี มน ําไปสูความพนทกุ ข จากคาํ จํากดั ความทไี่ ดแสดงมาแลว จะไดขอสรปุ วา “อวิชชา” คอื ความไมร ูถูกตองตามความเปน จริง “อวิชชา” มีช่ือวา “โมหะ” เพราะเปนความไมรูถูกตองตามความ เปนจริง ที่เกิดขึ้นเพราะถูกความเขลามาปดบังอําพรางเอาไว ประหนึ่ง หมอกควนั หรอื กาํ แพง ทีก่ าํ บงั ไวไ มใหเ หน็ แจง ชดั เจนตามทเ่ี ปนจรงิ ได “อวิชชา” มีช่ือวา “มิจฉาทิฏฐิ” เพราะเปนความไมรูถูกตองตาม ความเปนจริง ที่เกิดข้ึนเพราะ แมไดเห็นแลว ไดรูแลว แตก็เห็นผิด รูผิด ตีความผดิ ไปจากความเปนจรงิ ของสงิ่ นนั้ ๆ มีพระพุทธภาษิตตรัสอธิบายวา “อวิชชา” นั้นไดแก ความไมรูใน “อริยสัจ ๔” กลาวคือ ไมรูในทุกข ไมรูในเหตุใหเกิดทุกข ไมรูในความ ดับทุกข ไมรูในทางปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ในบางแหง เชน พระอภิธรรม พระอรรถกถาจารยไ ดอธิบายเพ่มิ ขน้ึ มาอกี ๔ ประการ รวมเปน อวิชชา ที่มี วตั ถุ ๘ หรือ “อวชิ ชา ๘” กลา วคือ ๑. ทุกฺเข อญฺ าณํ ไมรูใ นทกุ ข ๒. ทุกขฺ สมุทเย อฺญาณํ ไมรูในทุกขสมทุ ยั เหตุใหเ กิดทกุ ข ๓. ทุกฺขนิโรเธ อฺญาณํ ไมรูในทุกขนิโรธ ความดบั ทกุ ข ๔. ทกุ ขฺ นโิ รธคามินิยา ปฏิปทาย อฺญาณํ ไมร ใู นทกุ ขนโิ รธคามินีปฏิปทา ทางปฏิบัตใิ หถึงความดบั ทุกข 4

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม ๕. ปพุ พฺ นเฺ ต อฺญาณํ ไมรใู นสวนอดตี หรือในเงอ่ื นตน ๖. อปรนเฺ ต อฺญาณํ ไมร ใู นสวนอนาคต หรอื ในเงื่อนปลาย ๗. ปพุ พฺ นตฺ าปรนเฺ ต อฺญาณํ ไมรทู ้งั สว นอดตี ทั้งสวนอนาคต หรอื ทงั้ ในเงื่อนตน และทั้งใน เง่ือนปลาย ๘. อทิ ปปฺ จฺจยตาปฏิจฺจสมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อฺญาณํ ไมรูในธรรมท้ังหลายท่ีอาศัยกัน จึงเกิดมีข้ึน ตามหลัก อิทัปปจจยตา คือไมรูในปฏิจจสมุปบาท หรือธรรมท่ีอาศัยกัน บังเกดิ ขึ้น ในขอ ๕. ที่วา ไมรูในอดีตหรือในเง่ือนตน หมายถึง เม่ือไดรับผล อนั ใดอันหนึ่งในปจจุบัน ก็ไมรูวาเกิดมาแตเหตุประการใดในอดีต ไมรูดังน้ี ชอ่ื วา ไมรใู นอดตี หรือไมร ูในเงือ่ นตน ในขอ ๖. ท่ีวา ไมรูในอนาคตหรือในเง่ือนปลาย หมายถึง เมื่อ ประกอบเหตุอันใดอันหน่ึงอยูในปจจุบัน ก็ไมรูวาจะบังเกิดผลประการใดบาง ในอนาคต เปนดงั นช้ี ื่อวา ไมรูในอนาคต หรือไมร ูในเง่ือนปลาย ในขอ ๗. ท่ีวา ไมรูท้ังในอดีตทั้งในอนาคต หรือทั้งในเงื่อนตน และท้ังในเง่ือนปลาย หมายถึง ไมรูไมเขาใจในเหตุผล อันโยงใยอดีต ปจจุบัน และอนาคต วามีความสัมพันธกันเชนไร กลาวคือ ไมเขาใจกฎแหงกรรม และ กฎไตรลักษณ อันเปนกฎธรรมชาติ ท่ีแสดงความสัมพันธบนวิถีของ กาลเวลา จาก “อวิชชา ๘” สามารถประมวลไดเปน ความไมรูในกฎธรรมชาติ ทง้ั ๔ ประการ คือ 5

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ๑. ไมร ูกฎของความเปนเหตุเปนผล (ขอ ๑.-๔.) อรยิ สจั ๔ คอื “กฎความเปนเหตุเปนผลของทุกข” เปนการแสดงวา “ทุกข” นัน้ เปน ส่งิ ทมี่ เี หตมุ ีผล อยภู ายใตค วามเปน เหตุเปน ผล มีสมการดังนี้ สมการที่ ๑ “ทุกข” สภาพท่ีทนไดยาก เปนผล โดยมี “ทุกขสมุทัย” เหตใุ หเ กดิ ทุกข กลา วคือ “ตณั หา” เปนเหตุ สมการท่ี ๒ “ทุกขนิโรธ” ความดับทุกข เปนผล โดยมี “ทุกขนิโรธ- คามินีปฏิปทา” ทางปฏิบัติใหถึงความดับทุกข คือ “อริยมรรคมีองค ๘” เปน เหตุ ๒. ไมร กู ฎของความเปลีย่ นแปลง (ขอ ๕.-๗.) ไตรลกั ษณ คอื “กฎของความเปลย่ี นแปลง” ไดแ ก ๑) อนิจจตา ความเปนของไมเที่ยง เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมอาจ คงท่ีอยูได มีกาลเวลากลาวคือ อดีต อนาคต และความเช่ือมโยงแหงอดีต และอนาคต เปนพื้นฐานของความเปลี่ยนแปลงทงั้ ปวง ๒) ทกุ ขตา ความเปน ทุกข สภาวะขัดแยง อันเนื่องดว ยความไมเปนไป ตามประสงค ตราบใดท่ีบุคคลยังกอปรดวยความเห็นผิด ปฏิเสธ ไมยอมรับ ในความเปนจริงของชวี ติ และกฎของธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในความ เปนอนิจจตา คือ ความเปนของไมเที่ยง ฉะนั้น ปฏิฆะ ความขัดแยง กระทบ กระทั่ง เปนทุกข ยอมจะเกิดขึ้นตามมา น้ีก็เพราะมีการเปล่ียนแปลง อันมี พน้ื ฐานมาแตกาลเวลา กลา วคือ อดีต อนาคต และความเช่ือมโยงแหงอดีต และอนาคตนน่ั เอง ๓) อนัตตตา ความเปนของไมใชตน ในเมื่อส่ิงท้ังปวง มีสภาวะแปร เปลี่ยนไปตามกาลเวลา ไมอาจย่ังยืนคงทนอยูได ไมสามารถดํารงอยูเปน ที่พึ่งพิงอิงอาศัยแกเราได สิ่งทั้งปวงจึงปราศจากสาระความมีตัวตน ทั้งนี้ เพราะมีการเปลี่ยนแปลง อันมีพื้นฐานมาแตกาลเวลา กลาวคือ อดีต อนาคต และความเชื่อมโยงแหงอดีตและอนาคตนั่นเอง 6

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรับคนรนุ ใหม ๓. ไมรูกฎแหงกรรม (ขอ ๕.-๗.) เพราะกรรม คือการกระทําทั้งหลาย มีเหตุ คือการกอข้ึนแหง เจตนา ความจงใจ ที่นําไปสูกายกรรมและวจีกรรมน้ันๆ ในชวงเวลาหน่ึงๆ คร้ันผลวิบากแหงกรรมจกั เกดิ ข้ึน กจ็ กั ตองเกิดขึ้นเปนผล ภายหลังจากที่ได มกี ารกระทําเหตุ คือกอกรรมน้ันๆ เอาไวแลว เรือ่ งของกรรม จึงเปนเร่ืองที่ สัมพันธโดยตรงกับกาลเวลา ท้ังในสวนอดีต ท้ังในสวนอนาคต และท้ังท่ี เปนความสมั พนั ธเ ชอื่ มโยงอดตี กับอนาคต ๔. ไมรูกฎแหง ความเปนเหตุและปจจัยอันสืบเน่ืองไปสูผล หรือ กฎแหงความเปน ปจจัยโยงใยสมั พันธแ กก ันและกนั (ขอ ๘) กฎธรรมชาติ ๓ ใน ๔ ประการ คือเวนแต “กฎแหงกรรม” นั้น ปรากฏเปนจริงแกสรรพสังขาร ทั้งที่มีชีวิต คือ รูป-นาม ขันธ ๕ ทั้งหลาย ตลอดจนสง่ิ ไรช ีวิต คอื วตั ถธุ าตุ หรอื สิ่งอันประกอบดวยธาตุ ๔ ทั้งปวงดวย สวนกฎแหงกรรมน้ัน เปนไปเฉพาะในมนุษย สัตว และสิ่งมีชีวิตที่มี วญิ ญาณครอง ทส่ี ามารถปรุงแตงเจตนา คือความจงใจไดเ ทานัน้ แตค วามทคี่ นเรายังมอี วิชชา ไมรแู จง ตามเปนจริงในวัตถุ ๘ ทป่ี รากฏ ในสังขาร สิ่งปรุงแตงท้ังหลาย กลาวคือ (๑) ไมรูในทุกข (๒) ไมรูในเหตุ ใหเกิดทุกข (๓) ไมรูในความดับทุกข (๔) ไมรูในทางปฏิบัติ ใหถึงความ ดับทุกข (๕) ไมรูในสวนอดีต หรือเง่ือนตน (๖) ไมรูในสวนอนาคต หรือ เง่ือนปลาย (๗) ไมรูทั้งในสวนอดีตและอนาคต คือท้ังเง่ือนตนและ เงื่อนปลาย (๘) ไมรูในปฏิจจสมุปบาท ซึ่งสรุปก็คือ ไมรู ไมเขาใจ ไมยอมรับ ในกฎธรรมชาติทั้ง ๔ อันไดแก ๑) กฎของความเปนเหตุเปนผล ๒) กฎของ ความเปล่ียนแปลง ๓) กฎแหงกรรม ๔) กฎแหงเหตุและปจจัยที่สืบเนื่อง ไปสูผล ทั้งหมดนี้จึงรวมลงเปนอวิชชาในฝายเหตุ ที่ยังใหเกิดอวิชชาใน ฝายผล อันไดแกค วามโง ความเหน็ ผดิ ความไมเขาใจ ที่ทําใหติดยึดมัวเมา ในรา งกาย เรียกส้ันๆ วาเปน “ความโงใ นกาย” 7

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวิไล) “ความโงในกาย” เปนเชนไร ? คือความเห็นผิด หลงผิด เขาใจ ผิดๆ รูสึกผิดๆ ท่ีส่ังสมทับถมกันมา อันผิดไปจากความเปนจริงของชีวิต (อวิชชา ๘, การปฏิเสธกฎธรรมชาติทั้ง ๔) ซ่ึงความเห็นผิด (มิจฉาทิฏฐิ) ความหลงผิด (โมหะ) และความไมรูตามเปนจริง (อวิชชา) เหลานั้น ลวน รวมลงในเรื่องของ “กาย” และ “วัตถุธาตุ” ทั้งหลาย… เชนมันเห็นผิดวา เปนสิ่งท่ีใหประโยชนได เปนส่ิงที่นําความสุขมาใหได เปนสิ่งที่ม่ันคงถาวร เปนทีพ่ งึ่ พิงองิ อาศัยได สามารถแสวงหาความสุขความสบายและความมีสาระ ควรแกการยึดถอื เอาไวไ ด ความโงในกายนี้ เกิดข้ึนท้ังภายในและภายนอก ความโงในกาย ภายนอก ไดแก ความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาผิดๆ อันเปนคุณคาที่ไมได มอี ยูจริง แก “กาย” และ “วตั ถธุ าตุ” ทัง้ หลายภายนอก กลา วคือ โง ในรางกาย ชาวบาน นนั่ เอง สวน ความโงในกายภายใน ไดแ ก ความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาผิดๆ อันเปนคุณคาท่ีไมไดมีอยูจริง ใน “กาย” และใน “วัตถุ อันเน่อื งดว ยกาย” ทั้งหลายภายใน กลาวคอื โง ในรา งกายตน นนั่ เอง เพราะความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาผิดๆ ไปในกายท้ังหลาย ภายนอก ดวยเขาใจวารูป เสียง กล่ิน รส และสัมผัส อันเกิดแตกายภายนอก หรือวัตถุภายนอกเชนน้ัน จะนําความสุขมาให ใจจึงส่ังสมความเห็นผิดไปใน กายภายใน คือรา งกายของตน 8

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม เพราะการท่ีจะไดเห็นรูป ไดยินเสียง ไดดมกลิ่น ไดลิ้มรส ไดสัมผัส เย็นรอนออนแข็ง จากกายหรือวัตถุภายนอก อันตนหลงใหลใหคาใหราคา เอาไว เชน รางกายของชาวบานเปนตนน้ัน ตนจะตอง มีตาดี มีหูดี มีจมูก มีล้ิน และกายประสาทที่ดี ไวเปนประตูสําหรับสัมผัส รับรู ในกายและวัตถุ อันใจตั้งคา ไวว า มนั นาจะดเี หลานั้น ใจจึงสั่งสมความเห็นผิด ไปในรางกายของตน โดยปรารถนาท่ีจะได เกิดมามีรูปรางกายที่ดี มีอวัยวะเครื่องรับรูท่ีดี จะไดไปสัมผัสรับรูในส่ิงท่ีดีๆ ปรารถนาใหไ ดรางกายซง่ึ มคี วามสวยสดงดงาม หลอ เหลาแข็งแรง มีสขุ ภาพดี จะไดเอาเปนเหย่ือลอ ดึงดูดกายท้ังหลายภายนอกท่ีปรารถนา ใหเขามา ติดเบ็ด จะไดเสพสมอารมณหมาย อยางท่ีไดต้ังคา ตั้งความปรารถนาเอาไว ดว ยความหลงผิด เห็นผดิ รผู ิดมาแตดั้งเดิม 9



ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุนใหม สังขาร ๓ คือสภาพท่ีปรุงแตง ธรรมมีเจตนาเปนประธาน อัน ปรุงแตงการกระทํา ท่ีเปนไปดวยอํานาจของอวิชชา ความโง ความหลง และความเหน็ ผิดท่เี ปนไปในกาย ในขันธ ๕ ไดแก (๑) กายสังขาร คือ สภาพที่ปรุงแตงการกระทําทางกาย ไดแก กายสัญเจตนา คอื ความจงใจทางกาย (๒) วจีสังขาร คือ สภาพท่ีปรุงแตงการกระทําทางวาจา ไดแก วจสี ญั เจตนา คือ ความจงใจทางวาจา (๓) จติ ตสังขาร หรือ มโนสงั ขาร คอื สภาพที่ปรงุ แตงการกระทํา ทางใจ ไดแก มโนสญั เจตนา คือ ความจงใจทางใจ เพราะอวชิ ชาเปนปจจัย สังขารจึงมี… ดังน้ัน เมื่อใจโง ใจหลง ใจเห็นผิดวากายและวัตถุธาตุทั้งหลาย เปนของดี มีคุณคา “สังขาร” การคิดนึกปรุงแตง จึงปรุงแตง คิดนึก คาดหวัง และจินตนาการไปอยางมากมายวา กาย คือรางกายท้ังหลาย และ วัตถุธาตุท้ังปวงนั้น จะนําความสุขมาให มาตอบสนองตอความตองการ หรือความปรารถนาของตนไดอยางไรบาง กายสังขาร สภาพที่ปรุงแตง การกระทําทางกาย วจีสังขาร สภาพที่ปรุงแตงการกระทําทางวาจา และ จิตตสังขาร สภาพที่ปรุงแตงการกระทําทางใจ จึงเปนผลมาแตความโง ในกาย หลงผิดในกาย และเห็นผดิ ทเี่ ปนไปในกาย 11



ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ๒. วิญญาณาหาร คือ วิญญาณในฐานะที่เปนเครื่องหลอเลี้ยง คอื อาหาร กลาววา เปนปจจยั อดุ หนนุ หลอ เลี้ยงใหเ กดิ นามรปู ๓. ปฏิสนธิวิญญาณ คือ ความรูแจงอารมณ อันทําหนาท่ีสืบตอ ภพใหม จากความหมายของคาํ วาวิญญาณ และศัพทที่เกี่ยวของ ดังที่กลาวมาน้ี ถาจําแนกออกเปน ๒ ฝาย คือ (๑) ฝายเหตุ คือกิริยาการรับรู ก็ไดแก วิญญาณ ๖ ซ่ึงเกิดข้ึนเมื่อมีการผัสสะ และ (๒) ฝายผล คือความรูท่ีเกิดข้ึน เปนผลจากกิริยาการรับรู ไดแก จิต คือ วิญญาณธาตุ, วิญญาณาหาร และปฏิสนธวิ ิญญาณ นาสังเกตวา วิญญาณในลําดับที่ ๓ แหงวงจรปฏิจจสมุปบาทนี้ ไมค วรจะนับเปนฝายเหตุ คือ วิญญาณ ๖ เพราะวงจรปฏิจจสมุปบาทนั้น มี “ผสั สะ” ปรากฏอยอู ยางชดั เจนแลว (ลาํ ดบั ที่ ๖ แหงวงจรปฏิจจสมุปบาท) เพราะโดยนัยแลว เมื่อใดที่เห็นคําวา ผัสสะ ก็เสมือนกับการที่เราเห็นคําวา วิญญาณ ๖ ไปพรอมๆ กันดวย (เพราะผัสสะหมายถึง ความประจวบกัน แหง อายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวญิ ญาณ) ฉะนั้น “วิญญาณ” ในลําดับที่ ๓ แหงวงจรปฏิจจสมุปบาทนี้ จึงควร หมายถึง “จิต” โดยตรง ในสภาพที่เปน “วิญญาณธาตุ” คือ “ธาตุรู” แตเปนธาตุรูท่ีส่ังสมปรุงแตง (สังขาร) มาดวยความโง ความหลงผิด ความเห็นผิดในกาย ในรางกาย และวัตถุธาตุทั้งหลาย ดังท่ีไดกลาวมาแลว และทําหนาท่ีเปน “วิญญาณาหาร” เปนปจจัยอุดหนุนหลอเลี้ยงใหเกิด “นามรูป” ตอไป และหากมีการแตกตาย คือหมดปจจัยที่ยังใหมีชีวิต ปรากฏในภพหนึ่งภพใด ก็จะทําหนาที่เปน “ปฏิสนธิวิญญาณ” สืบตอใหเกิด นามรปู ในภพใหม 13

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) เพราะสังขารเปน ปจ จัย วญิ ญาณจงึ มี ดังน้ันเม่ือมี “สังขาร” การปรุงแตงกาย วาจา และใจ (กายสังขาร, วจีสังขาร, จิตตสังขาร) อันเปนไปดวยความโง ความหลงผิด ความเห็นผิด วารางกายและวัตถุธาตทุ ั้งหลายเปนของที่ดี มคี ณุ คา นาํ มาซ่ึงความสขุ “วิญญาณ” ความรูที่เกิดขึ้น ท่ีจิตรองรับมาจากความคิดนึกปรุงแตง จินตนาการมาอยางผิดๆ ของตนเชนนี้ จึงเกิดเปนวิญญาณ ความรูผิด ความเห็นผิด ความยอมรับและความเขาใจท่ีผิดๆ วา กายน้ี วัตถุธาตุน้ี เปนส่ิงที่มีคา เปนสิ่งท่ีถูกตองดีงาม นําความสุขความสมใจมาใหแกเราได อยางมากมาย… หมายเหตุ ท่ีแผนผัง “เบญจขันธในวงจรปฏิจจสมุปบาท” องคธรรม ๓ ลําดับแรก คือ อวิชชา สังขาร และวิญญาณ นั้น ผูเขียนใชสีเทาเปนพื้น เพื่อแสดงวา เปนสวนท่ีมีความครอบงํา ดวยความโง ความคลุมเครือ ความปดบังอําพราง ทําใหเกิดความหลงผิด เห็นผิด มีความรูท่ีผิดๆ ไปจาก ความเปนจรงิ 14



พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) เพราะวญิ ญาณเปน ปจจยั นามรูปจงึ มี เมื่อ วิญญาณ ความรูแจงอารมณ เปนความรูความเห็นท่ีผิดๆ เปนความหลง ความยอมรับ และความเขาใจที่ผิดๆ วา กายน้ี วัตถุธาตุนี้ เปนสิ่งที่มีคา เปนสิ่งที่ถูกตองดีงาม เปนส่ิงท่ีนําความสุขสมใจมาใหแกตน ไดอ ยางมากมาย มนั ก็หวังทจี่ ะไดร ับความสุขทย่ี ัง่ ยนื ถาวร จาก “กาย” และ “วัตถุธาตุ” น้ันๆ ฉะนั้นการแสวงหา “กาย” หรือ “วัตถุธาตุ” ทั้งปวง จึงเกิดข้ึน การรวมตัว คือการท่ีจิตน้ันเขาไปผนวกกับวัตถุธาตุ ท้ังท่ีเปน ของหยาบหรือของละเอียด ท่ีเรียกวา “กาย” จึงเกิดข้ึน (จุติ-ปฏิสนธิ ข้ึนมา) ฉะนัน้ สงิ่ ทที่ า นเรียกวา “นามรูป” ก็คอื “กาย” และ “จิต” น่ันเอง หมายเหตุ ท่ีแผนผัง “เบญจขันธในวงจรปฏิจจสมุปบาท” ต้ังแต องคธรรมท่ี ๔-๖ คือ นามรูป สฬายตนะ และผัสสะนั้น ผูเขียนใชสีเขียว เปน พน้ื เพอื่ แสดง ภาวะชวี ติ 16



พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) อายตนะภายนอก ๖ เปนท่ีเชื่อมตอใหเกิดความรู, เปนแดนตอ ความรูฝายภายนอก บาลีเรียก พาหิรายตนะ ไดแก (๑) รูปะ คือ รูป, สิ่งที่เห็น หรือ วัณณะ คือสี (๒) สัททะ คือ เสียง (๓) คันธะ คือ กลิ่น (๔) รสะ คือ รส (๕) โผฏฐัพพะ คือ สัมผัสทางกาย, ส่ิงที่ถูกตองกาย (๖) ธรรม หรือ ธรรมารมณ คือ อารมณท่ีเกิดกับใจ, ส่ิงท่ีใจนึกคิด ทั้ง ๖ นี้ เรียกท่ัวไปวา อารมณ ๖ คอื สงิ่ สาํ หรบั ใหจิตยดึ หนว ง เพราะนามรูปเปน ปจ จัย สฬายตนะจงึ มี จากการท่จี ิตนั้น เขาไปผนวกกับวัตถุธาตุ ท้ังท่ีเปนของหยาบ หรือ ของละเอียด จนกอใหเกิด “กาย” ข้ึนมา (จุติ-ปฏิสนธิ) เม่ือนับรวมเขากับ “จิต” จึงเขาคูเปน “กาย-จิต” ซ่ึงก็คือ “นามรูป” นั่นเอง เมื่อนามรูป เกิดข้ึนแลว เพ่อื ใหม ันสามารถเสพเสวย หรอื สมั ผสั ในสงิ่ ตางๆ ได ไมวาจะ เปนวัตถุธาตุหรือรางกายอ่ืนใดก็ตาม ที่ใจไดเคยหลงใหล ใหคา ตีราคา คิดนึก จินตนาการมาแลววา เปนส่ิงท่ีจะนํามาซึ่งความสุข หรือใหความสุข กับมันไดอยางไร มันจึงแสวงหา ประตู หรือชองทาง ท่ีจะเปดออกไปรับรู ในส่ิงตางๆ ที่อยูภายนอก “นามรูป” นั้น คือส่ิง ที่ทานเรียกวา สฬายตนะ กลาวคอื (๑) มี ตา สาํ หรับดู หรอื เหน็ รปู (๒) มี หู สําหรับฟง ใหไ ดย นิ เสียง (๓) มี จมูก สําหรับสดู ดม กลน่ิ (๔) มี ลิน้ สําหรับล้มิ รส (๕) มี กาย หรือ กายประสาท สําหรับสัมผัสรับรู สัมผัสทางกาย ทั้งหลาย ไดแก เยน็ รอ น ออน แขง็ เปนตน (๖) มี ใจ ท่ีรับรูใน ธัมมารมณ คืออารมณและความรูสึกท่ีประมวล มาแลว ทั้งหมดน้ัน 18





ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรับคนรนุ ใหม (๕) กายสัมผสั ความกระทบทางกาย คอื กาย + โผฏฐพั พะ + กายวญิ ญาณ (๖) มโนสมั ผสั ความกระทบทางใจ คอื ใจ + ธรรมารมณ + มโนวิญญาณ ขอใหสังเกตวา เม่อื ใดทเ่ี หน็ คาํ วา ผัสสะ ก็เสมือนกบั การทีเ่ ราเห็น คําวา วิญญาณ ๖ ไปพรอมๆ กันดวย (เพราะคําวา “ผัสสะ” หมายถึง ความประจวบกนั แหงอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ) เพราะสฬายตนะเปน ปจจยั ผสั สะจงึ มี เพราะฉะน้ัน เมื่อนามรูป มีแดนตอความรูฝายภายใน คือ สฬายตนะ ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ ทําหนาที่เปนประตู หรือ ชองทางในการติดตอรับรูกับโลกภายนอก ความกระทบ หรือ “ผัสสะ” กับ อารมณ คือ อายตนะภายนอก ไดแก รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และ ความรสู กึ นึกคดิ ตา งๆ จึงเกดิ มีข้นึ 21



ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุน ใหม เวทนา ๖ ความเสวยอารมณ เปนผลจากการผสั สะ ทั้ง ๖ ชองทาง คือ (๑) จกั ขสุ ัมผสั สชา เวทนา คือ เวทนาเกิดจากสัมผสั ทาง ตา (๒) โสตสัมผัสสชา เวทนา คอื เวทนาเกดิ จากสัมผสั ทาง หู (๓) ฆานสมั ผสั สชา เวทนา คอื เวทนาเกดิ จากสมั ผัสทาง จมกู (๔) ชวิ หาสัมผัสสชา เวทนา คอื เวทนาเกดิ จากสัมผัสทาง ล้นิ (๕) กายสัมผัสสชา เวทนา คอื เวทนาเกิดจากสมั ผัสทาง กาย (๖) มโนสัมผัสสชา เวทนา คอื เวทนาเกดิ จากสัมผสั ทาง ใจ เพราะผัสสะเปน ปจ จยั เวทนาจึงมี ครนั้ เกิด “ผัสสะ” ความกระทบข้ึน ผัสสะนั้นจึงเปนปจจัย นําไปสู “เวทนา” การเสวยอารมณ คือเกิดความรูสึกสุขทุกขขึ้น เปนภาวะที่วา เม่ือ ไดเห็น (ไดยิน, ไดกลิ่น, ไดล้ิม, ไดสัมผัส, ไดคิดถึง) ส่ิงน้ันสิ่งนี้แลว รูสึก เบาสบาย ปลอดโปรง โลงแจง ใจก็ถือวา นี่แหละคือความสุข อยางที่มัน ไดเคยนกึ คดิ จินตนาการ เสกสรรปนแตง เยินยอกนั มากอ น คร้ันพอไดมาประสบพบเขาจริงๆ ใจจึงสวาปาม ฮุบเขาไป แลวก็ รําพงึ กับใจตนเองวา “น่แี หละความสขุ … ส่งิ น้ี (รูปน้ี, เสียงนี้, กลิ่นนี้, รสนี้, สัมผัสนี้, ความคิดอยางนี้) ใหความสุข แกเราจริงๆ มันเบา มันสบาย มันซาบซานเสียจริงๆ” ทานผูรูจึงกลาววา เวทนา เปนการ “กลืนกินความคิด” หรือเม่ือไดเห็น (ไดยิน, ไดกลิ่น, ไดลิ้ม, ไดสัมผัส, ไดคิดถึง) สิ่งนั้นสิ่งน้ี แลว กลับรูสึกไมสบาย อึดอัดคับของใจ ก็ถือวา นี่แหละคือความทุกข เพราะมันขัดแยง ไมตรง ไมสอดคลองกับท่ีมันเคยนึกคิด จินตนาการ เสกสรรปนแตง เยินยอมากอน คร้ันมาพบเจอเขา ก็กระทบปง ! เกิดความ เศราโศก ความครํ่าครวญ คับแคนใจ แลวก็บอกวา “นี่แหละความทุกข สิ่งนี้ (รูปนี้, เสียงน้ี, กลิ่นน้ี, รสนี้, สัมผัสนี้, ความคิดอยางนี้) เราไมชอบ มันทารุณ มันอึดอัด มันขัดของไปหมด มันทําความทุกขใหกับเราจริงๆ” อยางนี้ ก็เปน การ “กลืนกินความคดิ ” อกี เชน เดยี วกัน 23

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) จากผสั สะ ไปสูเวทนา จติ ทาํ งานอยา งไร? เม่ือมีการผัสสะ คือความกระทบเกิดข้ึน ระหวางอายตนะภายนอก (อารมณ) กับอายตนะภายใน พรอมทั้งเกิดวิญญาณ (จิต) คือความรูแจง อารมณ ข้ึนในแตละชองทางของการรับรู รวม ๖ ชุด ดังที่กลาวมาแลวน้ัน จิตจึงทาํ งานดงั ตอ ไปนี้ ๑. กรณี กายสมั ผสั ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ นั้น เปนปจจัยโดยตรง ตอการเกิด เวทนาทางกาย (กายสัมผัสสชา เวทนา) เปนความรูสึกสุขกาย หรือ ทกุ ขก าย โดยตรงทันที ไมตองผา นกระบวนการปรุงแตง นกึ คิดใดๆ ทั้งสน้ิ 1 1 อภธิ มั มัตถสงั คหะ จิตตสังคหวิภาค จัดไวใ น อเหตุกจติ ๑๘ ไดแ ก (๑) สุขสหคตํ กายวิฺญาณํ อเหตุกกุศลวปิ ากจติ ตฺ ํ - จิตที่อาศยั กายประสาท เกิดรวมกับสุขเวทนา ซง่ึ เปนผลของกุศลกรรม และ (๒) ทุกขฺ สหคตํ กายวิ ญฺ าณํ อกศุ ลวิปากจติ ตฺ ํ - จติ ทอี่ าศยั กายประสาท เกดิ รวมกบั ทุกขเวทนา ซงึ่ เปน ผลของอกุศลกรรม 24

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม ๒. กรณขี อง จกั ขุสัมผัส ความกระทบทางตา คอื ตา + รูป + จกั ขุวิญญาณ, โสตสมั ผัส ความกระทบทางหู คือ หู + เสยี ง + โสตวิญญาณ, ฆานสัมผัส ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลนิ่ + ฆานวญิ ญาณ, ชิวหาสมั ผัส ความกระทบทางล้นิ คือ ล้ิน + รส + ชิวหาวญิ ญาณ แบงออกเปน ๒ ประเภท คอื (๑) วิญญาณขันธท่ีรับรูแลว แตมิไดใสใจปรุงแตง วิญญาณ คือ ความรแู จงอารมณเชนน้ี ไดแก รูป เสียง กล่ิน และรส ท้ังหลาย ที่รับรูแลว ทางอายตนะ คือ ตา หู จมูก และลิ้น ชองทางใดชองทางหน่ึง แตใจก็ไมได ใหความสําคัญหรือสนใจจะนํามาเปน อารมณที่มุงเฉพาะ ยกตัวอยางเชน ขณะท่ีเรากําลังต้ังใจมองดูคนๆ หนึ่งซึ่งกําลังยืนอยูเบ้ืองหนา สีสรรท่ีอยู โดยรอบคนๆ น้ัน เชนสีเขียวของใบไม สีแดงของหลังคาบาน ฯลฯ อีกท้ัง ในขณะเดียวกัน เสียงตางๆ ที่ไดยินอยูโดยรอบ กล่ินท่ีโชยเขาจมูก รสของ อาหารที่ตกคางอยูในปาก เปนตน หากเราไมเขาไปปรุงแตงในอารมณที่รับรู แลวเหลาน้ัน ก็จะสงผลใหเกิดเวทนาความรูสึกเปน อทุกขมสุขเวทนา ความรูสึกชนิดท่ีไมแนชัด จะวาทุกขก็ไมใช จะวาสุขก็ไมใช จะเรียกวาเปน กลางก็ไมคอยจะถูกตองเสียทีเดียว เพราะมันไมไดตั้งม่ันอยู แตมันพรอมท่ีจะ พลกิ ไปสูความทกุ ขหรือความสุขบาง แลวแตวา จะถูกนําไปปรงุ แตง ตอ เชน ไร (๒) วิญญาณขันธที่รับรูแลว และใสใจปรุงแตง ส่ิงตางๆ ที่มี การเห็น ไดยิน ไดกล่ิน หรือรูรสแลว เกิดวิญญาณ ความรูในรูป ในเสียง ในกลนิ่ ในรสแลว แตมสี ตปิ ญ ญาไมเ พยี งพอ ไมร ู ไมเทา ทนั ไมส มบรู ณใน วิญญาณความรูน้ัน จิตยังหลงใหลใหคา ในรูป ในเสียง ในกลิ่น หรือในรส นั้นอยู จิตก็จะยกเอาอารมณที่รับรูแลวน้ัน มาผนวกเขากับส่ิงที่สัญญา คือ ความจําไดหมายรู ระลึกนึกไดจากที่เคยมีวิญญาณรับรูและจดจําไวในอดีต แลวเกิดสังขาร การปรุงแตงตัดสินตออารมณน้ันๆ สงผลใหเกิดเวทนา ความรูสึกเปนสขุ เปน ทุกข หรือเฉยๆ เปน อุเบกขา ในอารมณน ัน้ ๆ 25

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) (กรณีที่มีวิญญาณความรูเดิมสมบูรณแลว ไมสงสัยในวิญญาณ ความรูน้ันแลว มีสติปญญาเพียงพอ และรูเทาทันตอวิญญาณความรูนั้นแลว จิตไมหลงใหลใหคา ในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรสน้ันแลว เพราะได ประจักษแจง ยอมรับในกฎธรรมชาติอยางแทจริงแลว แตยังมีภารกิจท่ีจะ ตองเขาไปขอ งเกี่ยวดวยรูป เสียง กล่ิน และรสน้ันอยู จิตก็จะยกเอาอารมณ ที่รับรูแลวนั้น มาผนวกเขากับสัญญา ความจําไดหมายรู ท่ีระลึกนึกได จาก ทีเ่ คยมวี ญิ ญาณรบั รอู นั ถกู ตองสมบูรณมาแลว นน้ั แลวเกิดสังขาร การปรุงแตง ตัดสินดวยปญญารูไตรลักษณ ตออารมณนั้นๆ สงผลใหเกิดเวทนา ความรูสึกเฉยๆ เปนอุเบกขาในอารมณน้ัน หรือเปนโสมนัสในกรณีเฉพาะ เชน “หสิตปุ ปาทจติ ” จติ แยม ย้มิ ของพระอรหนั ต) ๓. กรณขี อง มโนสัมผสั ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ + มโนวิญญาณ น้ัน จิตก็จะยกเอา ธรรมารมณน้ัน คือ อดีตปญจารมณ อารมณท่ีรับรูมาแลวทางทวารท้ัง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ท้ังท่ีชัดและชัดมากในทางใจ ซ่ึงเปนอดีต ไปแลว และ/หรือ ธรรมารมณท่ีเกิดแต อตีตสัญญา การคิดนึกระลึกข้ึนมา จากความรูที่ไดเคยรับรูมาต้ังแตด้ังเดิม ไมวาจะเปน “สัณฐาน” คือรูปราง “นามบัญญัติ” คือชื่อเรียกตามโวหารของชาวโลก และประสบการณตรง อันเคยไดรับรูหรือเคยมีเวทนา ความรูสึก สุข ทุกข หรือเฉยๆ ที่เคยเกิดขึ้น เกีย่ วขอ งดว ยส่งิ น้นั ๆ ข้นึ มาเปน อารมณ แลว เกดิ สงั ขาร การปรุงแตงตัดสิน ตออารมณนั้นๆ สงผลใหเกิดเวทนา ความรูสึกใหม เปนสุข เปนทุกข หรือ เฉยๆ เปนอเุ บกขา ในอารมณน ้ันๆ 26

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม สงั ขารขนั ธ การปรงุ แตง ใจ จากผสั สะสเู วทนา จากท่ีกลา วมาแลววา สังขาร มี ๒ ความหมาย คือ (๑) สิ่งอันเปน ผลจากการปรุงแตง และ (๒) กิริยาการปรุงแตง ซ่ึงในข้ันตอนของผัสสะ สเู วทนานี้ เราใชคําวา “สังขาร” ในความหมายที่ (๒) ซึ่งเปนนามธรรม คือ กิริยาการปรุงแตงของจิต โดยมีเจตนาเปนประธาน ท่ีทําหนาที่ปรุงแตง ความคิด การพูด และการกระทํา ซ่ึงมีท้ังท่ีดีเปนกุศล ที่ช่ัวเปนอกุศล และ ท่ีกลางๆ เปนอัพพยากฤต ในทางพระอภิธรรม ไดแกเจตสิก ๕๐ อยาง (เจตสิกท้ังปวง เวนแตเวทนาเจตสิก และสัญญาเจตสิก) จัดเปนนามธรรม แตอยางเดียว, อีกปริยายหนึ่ง ไดแก สัญเจตนา คือ เจตนาท่ีแตงกรรม หรือปรงุ แตง การกระทํา สงั ขาร ในฐานะกริ ิยาการปรงุ แตง น้ี มอี าการ ๒ คอื (๑) วิตก คือ ความตรึก, ตริ, เพง ไดแกการยกจิตขึ้นสูอารมณ หรือปก จิตลงสูอารมณ (๒) วิจาร คือ ความตรอง ไดแกการใครครวญพิจารณาอารมณ การตามฟนอารมณ สังขาร ในฐานะกิริยาการปรุงแตงน้ี จําแนกโดยผลที่มีตอ ภพ ได ๒ ฝายคอื (๑) สงั ขารอนั ยังภพใหเกิดข้ึน ไดแก อภิสังขาร ๓ คือ การปรุงแตง อันย่ิง, สภาพท่ีปรุงแตงผลแหงการกระทําของบุคคล, เจตนาที่เปนตัวการ ในการทาํ กรรม (๒) สังขารอันยังภพใหสิ้นไป ไดแก วิปสสนา การฝกอบรมปญญา ใหเกิดความเห็นแจง รูชัด ตรงตอความเปนจริงของสภาวธรรม, ปญญาท่ี เห็นไตรลักษณ อันถอดถอนความหลงผิดรูผิดในสังขารเสียได ซึ่งมีปจจัย สําคัญ คือ โยนิโสมนสิการ การพิจารณาโดยแยบคาย และ โอปนยิโก การนอ มเขามาสูใจ จนเห็นแจง สภาวธรรม อนั เปนไปตาม กฎไตรลักษณ 27

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) อภิสังขาร ๓ การปรุงแตงอันย่ิง, สภาพท่ีปรุงแตงผลแหงการกระทํา ของบุคคล, เจตนาทีเ่ ปน ตวั การในการทาํ กรรมน้นั มี ๓ อยางคือ (๑) ปญุ ญาภิสังขาร อภสิ งั ขารทีเ่ ปน บุญ (๒) อปุญญาภิสังขาร อภสิ ังขารทเี่ ปน ปฏปิ ก ษต อ บุญ คือ บาป (๓) อาเนญชาภิสังขาร อภิสังขารท่ีเปนอเนญชา คือ กุศลเจตนา ท่ีเปนอรูปาวจร ๔ อภสิ ังขารที่เปนบุญน้นั ยงั สามารถจาํ แนกไดอกี เปน ๒ อยาง คอื (๑/๑) กามาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ท่เี ปน กามาวจร (๑/๒) รูปาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ทเ่ี ปนรูปาวจร สว น อปญุ ญาภิสังขาร อภิสังขารที่เปนปฏิปกษตอบุญ คือ บาป นั้น มเี ฉพาะในกามาวจร ซ่งึ สามารถเรียกเตม็ ยศไดว า กามาวจร-อปุญญาภิสังขาร เชน กัน เพราะฉะนั้น อีกนัยหนึ่ง อภิสังขาร คือ การปรุงแตงอันยิ่ง, สภาพที่ ปรุงแตงผลแหงการกระทําของบุคคล, เจตนาท่ีเปนตัวการในการทํากรรมน้ัน จงึ สามารถนบั เปน อภิสงั ขาร ๔ เพราะมี ๔ อยางคอื (๑) กามาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บญุ ทเ่ี ปนกามาวจร (๒) กามาวจร-อปุญญาภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายชั่ว คือ บาป ทีเ่ ปนกามาวจร (๓) อรูปาวจร-อาเนญชาภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงภพอันม่ันคง ไมห วั่นไหว ไดแกก ุศลเจตนาทีเ่ ปน อรูปาวจร (๔) รูปาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ทเ่ี ปนรปู าวจร 28

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรับคนรุนใหม สรุปสั้นๆ ไดว า สังขาร ฝายท่ีเปนการปรุงแตง อันยังภพใหเกิดขึ้นนั้น มี ๔ อยาง คอื บุญ บาป รปู ฌาน และอรูปฌาน สวนสงั ขาร ฝา ยทีเ่ ปนการปรุงแตง อันยังภพใหสิ้นไปนั้น มีเพียง ประการเดยี ว คือ วปิ สสนา เสนทางของสังขาร ๑) กามาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ท่ีเปนกามาวจร ซึ่งบุญเหลาน้ีไดแก กุศลเจตนา ในกุศลกรรมบถ ๑๐ อนั เปนไปในกามภพ ไดแก (๑) เจตนาเวน จากการปลงชีวติ (ปาณาติปาตา เวรมณี) (๒) เจตนาเวน จากการถือเอาของที่เขามิไดให ดวยอาการขโมย (อทนิ นาทานา เวรมณี) (๓) เจตนาเวน จากการประพฤติผิดในกาม (กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี) (๔) เจตนาเวน จากการพดู เท็จ (มสุ าวาทา เวรมณ)ี (๕) เจตนาเวน จากการพูดสอเสียด (ปส ุณาย วาจาย เวรมณี) (๖) เจตนาเวน จากการพดู คาํ หยาบ (ผรสุ าย วาจาย เวรมณ)ี (๗) เจตนาเวน จากการพูดเพอ เจอ (สัมผัปปลาปา เวรมณ)ี (๘) เจตนาเวน จากการคิดเพงเล็งอยากไดของเขา (อนภิชฌา) (๙) เจตนาเวน จากการคิดรา ยตอ ผูอื่น (อพยาบาท) (๑๐) เจตนาเวน จากการคิดเหน็ ผิดจากคลองธรรม (สมั มาทิฏฐ)ิ สภาวะของจิตในขณะท่ีปรุงแตงเปนบุญน้ัน จิตเปน มหากุศลจิต โดยมีกามารมณท่ีนาปรารถนา คือ กามาวจร-อิฏฐารมณ เปนอารมณ เครอ่ื งยึดหนวงของจิต 29

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ๒) กามาวจร-อปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายชั่ว คือ บาป ท่ีเปนกามาวจร ซ่ึงบาปเหลานี้ไดแก อกุศลเจตนา ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแหงอกศุ ลกรรม อันเปนไปในกามภพ ไดแก (๑) เจตนา ในการปลงชีวติ (ปาณาติบาต) (๒) เจตนา ในการถือเอาของที่เขามิไดให ดวยอาการแหงขโมย (อทนิ นาทาน) (๓) เจตนา ในการประพฤติผดิ ในกาม (กาเมสุมจิ ฉาจาร) (๔) เจตนา ในการพดู เท็จ (มุสาวาท) (๕) เจตนา ในการพดู สอ เสียด (ปส ณุ าวาจา) (๖) เจตนา ในการพูดคาํ หยาบ (ผรสุ วาจา) (๗) เจตนา ในการพูดเพอเจอ (สัมผัปปลาปะ) (๘) เจตนา ในการคดิ เพงเลง็ อยากไดข องเขา (อภชิ ฌา) (๙) เจตนา ในการคิดรายตอ ผอู ่นื (พยาบาท) (๑๐) เจตนา ในการคิดเหน็ ผดิ จากทาํ นองคลองธรรม (มิจฉาทฏิ ฐิ) สภาวะของจิตในขณะที่ปรุงแตงเปนบาปน้ัน จิตเปนไดทั้ง โลภมูลจิต โทสมลู จิต และโมหมลู จิต คอื จิตโลภ จิตโกรธ และจติ หลง โดย (๑) จิตจะเปน โลภมูลจิต คือ จิตโลภ ก็ตอเม่ือมีกามารมณ ที่นา ปรารถนา คือ กามาวจร-อฏิ ฐารมณ เปนอารมณเครอื่ งยึดหนวงของจติ (๒) จติ จะเปน โทสมูลจติ คอื จติ โกรธ ก็ตอเมอ่ื มีกามารมณ ท่ีไมนา ปรารถนา คอื กามาวจร-อนิฏฐารมณ เปน อารมณเ ครอ่ื งยดึ หนว งของจติ (๓) ทั้งจิตโลภและจิตโกรธ ลวนมี อกุศลเจตสิก กลุมหลงผิด คือ โมจตุกก ๔ ไดแก โมหะ ความหลง, อหิริกะ ความไมละอายบาป, อโนตตัปปะ ความไมกลัวบาป, อุทธัจจะ ความฟุงซาน. ซ่ึงเปนเจตสิก ทเ่ี กดิ กบั อกุศลจติ ทกุ ดวง เกิดรว มดว ยทุกครง้ั 30

ปฏิจจสมุปบาท สําหรับคนรุนใหม (๔) จิตจะเปน วิจิกิจฉา-โมหมูลจิต คือ จิตหลง ชนิดคลางแคลง สงสัย (อุเปกฺขาสหคตํ วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ) ซ่ึงมีความลังเลสงสัยเคลือบแคลง (วิจิกิจฉา) เปนลักษณะ ขาดความปลงใจหรือปกใจ (อธิโมกข) ลงในอารมณน้ัน และไมสามารถทําความอ่ิมใจ (ปติ) และความพอใจ (ฉันทะ) ในอารมณน้ัน จึงในขณะซ่ึงกําลังปรุงแตง (วิตก-วิจาร-วิริยะ) โดยความลังเลสงสัยอยูนั้น จติ จึงมเี วทนาเปน อุเบกขา มคี วามรูสกึ เฉยๆ ไมส ขุ หรอื ทกุ ข ในอารมณน ัน้ (๕) จิตจะเปน อุทธัจจะ-โมหมูลจิต คือ จิตหลง ชนิดฟุงซาน (อุเปกฺขาสหคตํ อุทธฺ จฺจสมปฺ ยตุ ตฺ ํ) ซ่ึงมีความไมสงบ ซัดสาย หมุนพลานไป เปนลักษณะ แมจะมีความปลงใจหรือปกใจ (อธิโมกข) และไมมีความลังเล สงสัยเคลือบแคลง (วิจิกิจฉา) ในอารมณนั้น แตไมสามารถทําความอิ่มใจ (ปติ) และความพอใจ (ฉันทะ) ในอารมณนั้น จึงในขณะซึ่งกําลังปรุงแตง (วิตก-วิจาร-วิริยะ) โดยความฟุงซานอยูนั้น จิตจึงมีเวทนาเปน อุเบกขา มีความรสู ึกเฉยๆ ไมส ุข หรือทกุ ขใ นอารมณนั้น ๓) อรูปาวจร-อาเนญชาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงภพอันมั่นคง ไมห วั่นไหว ไดแก อรูปฌาน การเพงอารมณจนใจแนวแนเปน อัปปนาสมาธิ โดยมี อรปู ธรรม เปนอารมณ ไดแ ก (๑) ฌานอนั กาํ หนด อากาศ คอื ชองวางหาทส่ี ดุ มไิ ดเปน อารมณ (อากาสานญั จายตนะ) (๒) ฌานอนั กาํ หนด วิญญาณหาที่สดุ มไิ ดเปน อารมณ (วิญญาณญั จายตนะ) (๓) ฌานอนั กาํ หนด ภาวะทไ่ี มม อี ะไรๆ เปนอารมณ (อากญิ จัญญายตนะ) (๔) ฌานอันเขาถึง ภาวะมีสัญญาก็ไมใ ช ไมม ีสญั ญากไ็ มใช (เนวสญั ญานาสัญญายตนะ) ขณะท่ีปรุงแตงเปนอรูปฌานนั้น จิตเปน อรูปาวจรกุศลจิต โดยมี อรปู ๔ หรอื อรูปกรรมฐาน ในกรรมฐาน ๔๐ เปน อารมณเ ครือ่ งยึดหนวงจติ 31

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ๔) รูปาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงภพอันมั่นคง ไมหวั่นไหว ไดแ ก รปู ฌาน ๔, การเพงอารมณจ นใจแนวแนเปน อัปปนาสมาธิ โดยมี รปู ธรรม เปน อารมณ ไดแก (๑) ปฐมฌาน คือ ฌานที่ ๑ มอี งค ๕ คือ วิตก วิจาร ปติ สขุ เอกัคคตา (๒) ทุตยิ ฌาน คือ ฌานที่ ๒ มีองค ๓ คอื ปติ สุข เอกคั คตา (๓) ตตยิ ฌาน คือ ฌานท่ี ๓ มอี งค ๒ คือ สขุ เอกัคคตา (๔) จตตุ ถฌาน คือ ฌานท่ี ๔ มอี งค ๒ คอื อุเบกขา เอกคั คตา ขณะที่ปรุงแตงเปนรูปฌานนั้น จิตเปน รูปาวจรกุศลจิต โดยมี รูปกรรมฐาน ๓๖ ในกรรมฐาน ๔๐ เปนอารมณเคร่ืองยึดหนวงของจิต รปู กรรมฐาน ๓๖ น้ี ไดแ ก (๑) กสิณ ๑๐ คือ วัตถุอันจูงใจ, วัตถุสําหรับเพง เพื่อจูงจิตให เปนสมาธิ มี ๑๐ ประการ คือ ปฐวีกสิณ (กสิณคือดิน, กสิณที่ใชดินเปน อารมณ) อาโปกสิณ (กสิณคือนํ้า) เตโชกสิณ (กสิณคือไฟ) วาโยกสิณ (กสิณคือลม) นีลกสิณ (กสิณคือสีเขียว) ปตกสิณ (กสิณคือสีเหลือง) โลหิตกสิณ (กสิณคือสีแดง) โอทาตกสิณ (กสิณคือสีขาว) อาโลกกสิณ (กสิณคือแสงสวา ง) อากาสกสณิ (กสณิ คือทีว่ างเปลา, ชอ งวา ง) (๒) อสุภะ ๑๐ คือ สภาพอันไมงาม, ซากศพในสภาพตางๆ ซึ่งใชเปนอารมณแหงสมถกรรมฐาน มี ๑๐ ประการ คือ อุทธุมาตกะ (ศพเนาพองข้ึนอืด) วินีลกะ (ศพเขียวคลํ้า คละดวยสีตางๆ) วิปุพพกะ (ศพแตกปริมีนํ้าเหลืองไหลเยิ้ม) วิจฉิททกะ (ศพแยกขาดสองทอน) วิกขายิตกะ (ศพถูกสัตวกัดทึ้ง) หตวิกขิตตกะ (ศพถูกบั่นเปนทอนๆ กระจายไป) โลหิตกะ (ศพเลือดอาบทวมราง) ปุฬุวกะ (ศพมีหนอนไช คลาคลา่ํ ) อัฏฐิกะ (ศพเหลอื แตก ระดกู ) 32

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรบั คนรุนใหม (๓) อนุสติ ๑๐ คือ ความระลึกถึง, อารมณอันควรระลึกถึงเนืองๆ มี ๑๐ ประการ คือ พุทธานุสติ (มีพระพุทธเจา และคุณของพระพุทธเจา เปนเครื่องระลึก) ธัมมานุสติ (มีพระธรรม และคุณของพระธรรม เปน เครื่องระลึก) สังฆานุสสติ (มีพระสงฆ และคุณของพระสงฆ เปนเคร่ือง ระลึก) สีลานุสสติ (มีศีล อันตนประพฤติรักษาดีแลว เปนเคร่ืองระลึก) จาคานุสติ (มีทาน การบริจาคแลวดวยดี เปนเครื่องระลึก) เทวตานุสติ (มีเทวดาและคุณธรรมอันยังบุคคลใหเปนเทวดา เปนเคร่ืองระลึก) มรณสติ (มีความตาย และความไมประมาทในความตาย เปนเคร่ืองระลึก) กายคตาสติ (มีความรูเทาทันในกาย อันประกอบดวยสิ่งที่ไมสะอาด ไมงาม นารังเกียจ เปนเครื่องระลึก) อานาปานสติ (มีสติกําหนดรูชัด ลมหายใจเขาออกยาวสั้น) อปุ สมานุสติ (มีธรรมเปนท่ีสงบ และคุณของนพิ พาน เปน เคร่อื งระลกึ ) (๔) อัปปมัญญา ๔ คือ พรหมวิหาร ๔ ท่ีแผไปโดยสมํ่าเสมอ ทั่วไปในมนุษยสัตวท้ังหลาย ไมมีประมาณ ไมจํากัดขอบเขต มี ๔ ประการ ไดแก เมตตาอัปปมัญญา คือ ความรักใคร ปรารถนาดี อยากใหตนเอง และผอู นื่ มคี วามสุข ท่แี ผออกไปโดยสมํ่าเสมอ ทั่วไปในมนุษยสัตวทั้งหลาย ไมม ปี ระมาณ ไมม ีขอบเขต กรุณาอัปปมัญญา คือ ความสงสาร ปรารถนาดี อยากใหตนเอง และผอู ืน่ พน จากทุกข ทแี่ ผออกไปโดยสมา่ํ เสมอ ท่ัวไปในมนุษยสัตวท้ังหลาย ไมม ปี ระมาณ ไมมขี อบเขต มุทิตาอัปปมัญญา คือ ความพลอยยินดี ไมริษยา ในความดีและ ผลของความดี ที่บุคคลใดๆ ไดรับจากการทําความดีของเขา จึงแผความ พลอยยินดีน้ีออกไปโดยสมํ่าเสมอ ท่ัวไปในมนุษยสัตวทั้งหลาย ไมมี ประมาณ ไมมีขอบเขต 33

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวิไล) อุเบกขาอัปปมัญญา คอื ความวางใจเปนกลางได ดวยปญญาหย่ังถึง ความจริงตามกฎแหงกรรมวา สรรพสัตวยอมดําเนินชีวิตและรับผล เปนไป ตามกรรมที่ไดสรางมา เม่ือเราไดอนุเคราะหดวยใจที่กอปรดวยเมตตากรุณา จนสุดความสามารถแลว หากไมอยูในกรณีที่จะมุทิตาพลอยยินดีได ก็ตอง ปลงใจเปนอุเบกขา ต้ังอยูในความเปนกลาง แผอุเบกขาความวางใจเปน กลางไดน้ัน ออกไปโดยสม่ําเสมอทั่วไปในมนุษยสัตวทั้งหลาย ไมมีประมาณ ไมมีขอบเขต (๕) อาหาเร ปฏิกูลสัญญา คือ การกําหนดพิจารณาความเปน ปฏิกลู ในอาหาร (๖) จตธุ าตวุ วฏั ฐาน หรือ ธาตมุ นสกิ าร คือ การกําหนดพิจารณา ธาตุ ๔, พิจารณาเห็นรางกายของตน โดยสักวาเปนธาตุ ๔ (มหาภูตรูป ๔) แตละอยา งๆ คือ ปฐวีธาตุ หรือ ธาตุดิน ไดแกความแขนแข็ง คือ สภาวะท่ีแผไป หรือกินเน้ือท่ี ซ่ึงหมายความวา เปนสิ่งท่ีสามารถสัมผัสรับรูไดดวยกาย (กายสัมผัส) อาโปธาตุ หรือ ธาตุน้ํา ไดแกสภาวะท่ียึดกุม ดูดซึม เอิบอาบ ผนึกเขาดวยกัน ในทางวิทยาศาสตรปจจุบันใชศัพทวา พลังงานพันธะ (bond energy) คือพลังงานท่ียึดโยงอะตอมและโมเลกุลเขาไวดวยกัน ซึ่ง ทั้งของแข็ง ของเหลว และกาซ ตางก็มีพลังงานพันธะน้ี แตอยูในระดับที่ แตกตางกัน โดยของแข็งจะมีพลังงานพันธะน้ีมากท่ีสุด และกาซจะมี พลังงานพนั ธะนี้นอ ยท่สี ดุ อาโปธาตุ จึงหมายถงึ สง่ิ ทม่ี คี วามยดึ กมุ ภายใน แกกนั ในระดบั ตา งๆ เตโชธาตุ หรือ ธาตุไฟ ไดแกสภาวะที่ทําใหรอน ไดแกอุณหภูมิ คือระดับของความรอน หรือระดับของพลังงานในวัตถุ เตโชธาตุ จึงหมายถึง ส่ิงทีม่ ี อณุ หภมู ิ 34

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม วาโยธาตุ หรือ ธาตุลม ไดแกส ภาวะที่ทําใหเคล่ือนที่ ส่ันไหว และ ค้ําจุน ในความเห็นสวนตัวของผูเขียน ไดแกความสามารถในการเปลี่ยน ตําแหนงที่ตั้ง (position) เมื่อเปรียบเทียบกับจุดอางอิง (reference) ในอวกาศ ๓ มิติ (three-dimensional space) วาโยธาตุ จึงหมายถึง สิ่งที่ สามารถกําหนดตาํ แหนง และเคลือ่ นท่เี ปลี่ยนตําแหนง ได รูปกรรมฐาน ๓๖ ในกรรมฐาน ๔๐ ดังท่ีกลาวมาแลว ท้ังหมดน้ี แตกตา งกนั โดยความเหมาะสมกับจริตนิสัยของผูปฏิบัติ จึงควรเลือกใหเหมาะ กับจริยา คือลักษณะนิสัย ความโนมเอียงของแตละบุคคล ถาเลือกไดถูกตอง เหมาะสม ก็จะปฏิบัติไดผลดี รวดเร็ว ถาเลือกผิด ก็ทําใหเกิดความลาชา หรือทําใหไมบ รรลผุ ลในการปฏิบัติ จรติ และกรรมฐานอันเหมาะแกจ ริต จริต ๖ หรือ จริยา ๖ หมายถึง ความประพฤติปกติ, ลักษณะความ ประพฤติซึ่งหนักไปในทางใดทางหนึ่ง อันเปนปกติประจําอยูในสันดาน, แบบหรือประเภทใหญๆ แหงพฤติกรรมของบุคคล, พ้ืนเพของจิต, อุปนิสัย, พื้นนิสัย โดยเรียกตัวความประพฤติน้ันวา จริยา สวนตัวบุคคลผูมีความ ประพฤตเิ ชน นั้นๆ เรยี กวา จรติ มี ๖ ประการดังน้ี (๑) ราคจริต ไดแก ผูมีราคะเปนความประพฤติปกติ หนักไปในทาง รักสวยรักงาม ละมุนละไม ควรใชก รรมฐานคปู รับ คอื อสุภะ และ กายคตาสติ (๒) โทสจริต ไดแ ก ผูมีโทสะเปนความประพฤติปกติ หนักไปทาง ใจรอ นหงดุ หงิด รุนแรง กรรมฐานที่เหมาะคือ อัปปมัญญา ๔ (พรหมวิหาร ๔ ท่ีแผออกไปไมมีประมาณ) และกสิณ (โดยเฉพาะวัณณกสิณ คือ กสิณสี ซึง่ มสี เี ขียว, เหลอื ง, แดง และขาว) (๓) โมหจริต ไดแก ผูมีโมหะเปนความประพฤติปกติ หนักไปทาง เขลาเหงาซึม งมงาย คลอยตามงาย กรรมฐานท่ีเก้ือกูล คือ อานาปานสติ และพึงแกดวยมีการเรียน ไตถาม ฟงธรรม สนทนาธรรมตามกาล หรืออยู ใกลชิดครูอาจารยผ ูเปนกลั ยาณมิตร 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook