พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 151ของสีหนาทสิบกอนและสหี นาทสิบกอ น. ก็ในพระสูตรอ่นื จากพระสูตรนี้สหี นาทมปี ระมาณเพียงน้ี หาไดยาก เพราะเหตนุ ้นั สตู รนี้จงึ เรยี กวา มหาสหี นาทสตู ร. พระผมู ีพระภาคเจา ทรงปฏเิ สธวาทะและอนุวาทะอยา งนวี้ า พระ-สมณโคดมยอมบนั ลอื สีหนาทแล แตบ ันลอื ในเรอื นวา งเปลา บดั นีเ้ มื่อจะทรงแสดงสหี นาท ซงึ่ เคยบนั ลอื แลวในบริษัทอีกจึงตรัสเปนอาทวิ าเอกมิทาห ดวยประการฉะน.ี้ ในบทเหลานน้ั บทวา ตตฺร ม อฺตโร เตสพรฺ หมฺ จารี ความวา เพ่อื นพรหมจารีของทานคนหนึง่ ชอื่ นิโครธปรพิ าชก(ไดถามปญ หา) กะเราผูอยูที่เขาคชิ กูฏ ใกลก รงุ ราชคฤหนั้น. บทวาอธิชิคจุ เฺ ฉ ความวา ถามปญหาในเรอื่ งการเกลียดชงั บาปดว ยวิรยิ ะ. พระผมู ีพระภาคเจา ประทบั น่งั ในมหาวหิ ารขางเขาคิชฌกูฏ ทรงสดบั ถอยคาํ สนทนาของนโิ ครธปรพิ าชก และสนั ธานอบุ าสก ผูน่งั ในอุทยานของพระนางอุทมุ พริกาเทวี ดว ยทพิ ยโสตธาตุ เสด็จเหาะมาประทบั นัง่ บนอาสนะทป่ี แู ลวในสํานักของทานท้ังสองน้ันแลว ทรงแกปญ หาท่ีนิโครธปรพิ าชกทลูถามในเรอ่ื งเกลยี ดชังอยา งยิ่งนใี้ ด ทา นกลา วหมายถึงปญหานัน้ . บทวา ปรวิย มตฺตาย ความวา โดยประมาณอยา งยิง่ คือ โดยประมาณใหญม าก. บทวา โก หิ ภนฺเต ความวา คนอ่ืนที่เปนชาตบิ ัณฑติ เวน อันธพาลผมู ที ิฏฐใิ ครเ ลา ที่ฟงพระธรรมของพระผมู ีพระภาคเจา แลวกลา ววา ไมพ งึดใี จ. เขาคิดวา เราประกอบตนในสวนทไี่ มนําออกจากทกุ ขไดรบั ความลําบากเปน เวลานานหนอ เราอาบน้าํ ในฝง แมนา้ํ แหงขอด เราเหมือนกลงิ้กลับไปกลับมาเหมอื นโปรยแกลบ ก็ไมย งั ประโยชนอะไรใหส ําเรจ็ ได เอาเถอะเราจกั ประกอบตนไวในความเพยี ร จึงทลู วา ขาพระองคพึงได ดงั น้ี. อนง่ึ เดียรถียปรวิ ารใดที่พระองคทรงบัญญตั ไิ วในขันธกะ ซง่ึ ผูเคย
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 152เปน อัญญเดยี รถยี ดาํ รงอยใู นสามเณรภูมิ จะตองสมาทานอยูป รวิ าสโดยนัยเปน ตน วา ขาแตทานผูเจรญิ ขา พเจาเคยเปน อญั ญเดียรถียชื่อนี้ หวงัอปุ สมบทในพระธรรมวนิ ยั นี้ ขา พเจา นัน้ ขอสงฆอยูปรวิ าสตลอดสเี่ ดือน ดังนี้พระผมู ีพระภาคเจา ทรงหมายถึงเดียรถยี ป รวิ าสนั้น จึงตรัสวา ดูกอ นกัสสปะผใู ดแลเคยเปนอญั ญเดยี รถยี ดังน้ีเปน ตน . ในบทเหลานั้น บทวา ปพฺพชฺช ทา นกลาวดวยอาํ นาจความสละสลวยแหงวจนะเทา นน้ั . เพราะไมอยูปรวิ าสเลย ยอมไดบ รรพชา. แตผูตอ งการอุปสมบทพึงอยูปริวาสบําเพญ็ วตั รแปดประการเปนตน วา การเขา บานตามกาลพิเศษ. บทวา อารทธฺ จติ ฺตา ความวา มีจติ ยนิ ดีดวยการบาํ เพ็ญวตั รแปด. ความสังเขปในบทนนั้ ดงั น.ี้ สว นเดียรถียปริวาสนัน้ พึงกลา วโดยพสิ ดาร ดวยนยั ทก่ี ลาวไวใ นปพ พชั ชาขนั ธกวณั ณนา ในวนิ ัยอรรถกถา ช่อืสมนั ตปาสาทิกา นัน้ เทียว. บทวา อป เมตถฺ ความวา แตว า เรารู (ความตา งแหงบคุ คล) ในขอน.้ี บทวา ปุคฺคลเวมตตฺ ตา วทิ ติ า ความวา เรารูความแตกตางแหงบคุ คล. พระผูมีพระภาคเจา ทรงรวู าบุคคลนี้ ควรอยูป ริวาส นีไ้ มควรอยูปรวิ าส จงึ ทรงแสดงวา ขอนีป้ รากฏแกเ รา. ลําดับน้ัน กัสสปะคิดวา โอหนอพระพทุ ธศาสนาเปนของอัศจรรยที่บุคคลทั้งหลาย ประกาศแลว กระพอื แลวอยางน้ี ยอ มถอื เอาสิ่งทีค่ วรเทานั้น ละทง้ิ สิ่งที่ไมควร มีความอตุ สาหะเกิดข้ึนพรอ มในบรรพชาดียง่ิ กวานัน้ จึงทูลวา สเจ ภนเฺ ต ดงั นี้เปน ตน. ลําดับนัน้ แล พระผมู พี ระภาคเจา ทรงรคู วามท่ีกสั สปะนน้ั เปนผูมฉี นั ทะแรงกลาวา กัสสปะไมค วรอยูปรวิ าส จงึ ตรัสเรยี กภิกษุรูปอืน่ มาวา ดกู อ นภกิ ษุเธอจงไป พากัสสปะนั้นอาบนํ้าแลว ใหบรรพชานาํ มา. ภกิ ษนุ ้นั ไดก ระทาํ ตามพระดาํ รสั อยา งนนั้ แลวใหกสั สปะบวชแลว พากนั ไปสูส ํานกั ของพระผูมพี ระ-
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 153ภาคเจา . พระผูม พี ระภาคเจา ทรงใหกัสสปะน้ันนั่งในทา มกลางคณะแลวทรงใหอุปสมบท. ดว ยเหตุนนั้ ทานจงึ กลาววา อเจลกสั สปะไดบ รรพชา ไดอ ปุ สมบทในสาํ นกั ของพระผมู พี ระภาคเจา. บทวา อจริ ปู สมปฺ นโฺ น ความวา เปน ผูอุปสมบทแลว ไมน าน. บทวา วปู กฏโ ความวาเปนผูมีกายและจิตสงบจากวตั ถกุ าม และกเิ ลสกามท้ังหลาย. บทวา อปฺปมตโฺ ต ความวาไมละสติในกรรมฐาน. บทวา อาตาปความวา มคี วามเพยี รดว ยวิรยิ ะ กลา วคอื ความเพียรทางกายและทางใจ.บทวา ปหติ ตโฺ ต ความวา มีจิตสงแลว คอื มอี ัตตภาพสละแลวเพราะความเปนผไู มม คี วามเยอ่ื ใยในกายและชีวิต. บทวา ยสสฺ ตฺถาย ความวา เพ่ือผลอันใด. บทวา กุลปุตตฺ า ไดแ ก กลุ บุตรผมู มี รรยาท. บทวาสมมฺ เทว ความวาดวยเหตุเทียว ดวยการณเทยี ว. บทวา ตทนุตตฺ ร ความวา ประโยชนอ ันยอดเย่ียมนั้น. บทวา พพฺ หมฺ จริยปรโิ ยสาน ความวาพระอรหตั ตผลอนั เปน ทส่ี ดุ รอบแหง มรรคพรหมจรรย. ก็กุลบุตรทั้งหลายยอมบวชเพ่อื ผลอันนน้ั . บทวา ทฏิ เว ธมเฺ ม ความวา ในอัตตภาพนี้เทียว.บทวา สย อภิฺา สจฺฉิกตวฺ า ความวา กระทาํ ใหป ระจักษดว ยปญ ญาดว ยตนเอง คอื รโู ดยไมมีคนอ่นื เปน ปจ จัย. บทวา อปุ สมปฺ ชชฺ วหิ รติ ความวา บรรลแุ ลว ใหถ งึ พรอ มแลว อยู. พระผูม ีพระภาคเจาเพอ่ื ทรงแสดงภูมิแหง ปจ จเวกขณะของกสั สปะนัน้ อยางน้ีวา ภิกษุเมอ่ื เปนอยูอยา งนี้ ยอ มรูแจง วา ชาตสิ น้ิ แลว ฯลฯ ยังเทศนาใหจ บลงดว ยยอดธรรม คอื พระอรหัตจึงตรัสวา กท็ า นกัสสปะเปน พระอรหนั ตร ูปหนึ่งในจาํ นวนพระอรหนั ตทัง้ หลายดงั น้ี. ในบทเหลานนั้ บทวา อฺตโร ความวา รูปหนงึ่ . บทวา อรหตความวา แหงพระอรหันตท งั้ หลาย. ในบทนั้นมีอธบิ ายอยางน้วี า เปน พระอรหนั ตร ูปหนง่ึ ในจาํ นวนพระอรหันตสาวกของพระผูมีพระภาคเจา . กบ็ ท
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 154ใด ๆ ไมไดก ลาวไวต ามลาํ ดบั บทนัน้ ๆ ปรากฏแลว เทียวเพราะไดก ลา วแลว ในทนี่ น้ั ๆ ดังนแ้ี ล. มหาสหี นาทสตู รวญั ณนา ในทฆี นิกายอรรถกถา ช่ือสมุ ังคลวิลาสินี จบดว ยประการฉะน้.ี จบมหาสหี นาทสตู รที่ ๘
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 155 โปฏฐปาทสตู ร เร่ือง ของปริพาชกโปฏฐปาทะ [๒๗๕] ขาพเจาไดส ดับมาแลว อยางน้.ี สมัยหนง่ึ พระผมู พี ระภาคเจา ประทับอยพู ระเชตวัน อารามทา นอนาถปณฑกิ ะ กรุงสาวัตถี. สมยั น้นั โปฏฐปาทปรพิ าชก อาศยั อยใู นสถานที่สําหรับโตตอบลัทธิ แถวปา ไมม ะพลบั มีศาลาทพี่ กั หลังเดยี ว เปนอารามของพระนางมลั ลกิ า พรอมดวยปริพาชกบริษัทหมูใหญป ระมาณ ๓,๐๐๐ ครง้ั นน้ัพระผมู ีพระภาคเจา ทรงครองอันตรวาสกในเวลาเชา ทรงถอื บาตรและจีวรเสด็จเขาไปบณิ ฑบาตในกรุงสาวตั ถี ไดทรงดาํ รวิ า จะเทีย่ วไปบณิ ฑบาตในกรงุสาวตั ถี ยงั เชา นกั ถากระไรเราเขาไปหาโปฏฐปาทปริพาชก ณ สถานท่ีโตต อบลทั ธิ แถวปา ไมม ะพลบั มีศาลาที่พกั หลงั เดียว เปน อารามของพระนางมลั ลิกา แลว จงึ เสด็จเขาไป ณ ท่นี น้ั . [๒๗๖] สมัยน้ัน โปฏฐปาทปรพิ าชก นัง่ อยูกับปริพาชกบริษทัหมใู หญ กลาวดริ ัจฉานกถาตา ง ๆ ดวยเสยี งอนั ดังล่ัน คอื พดู ถึงพระเจาแผน ดนิ พดู ถึงโจร พดู ถึงมหาอาํ มาตย พูดถงึ กองทพั พดู ถึงภัย พูดถงึ การรบ พดู ถึงขาว พดู ถึงนํ้า พูดถึงผา พดู ถงึ ทีน่ อน พูดถงึ ดอกไม พูดถงึ ของหอม พูดถึงญาติ พดู ถงึ ยานพาหนะ พดู ถงึ บา น พูดถึงนคิ ม พูดถงึ เมอื ง พูดถึงชนบท พูดถงึ สตรี พูดถึงบุรษุ พดู ถงึ คนกลา หาญ พดู ถึงตรอก พดู ถึงทานา้ํ พดู ถึงคนที่ตายแลว พูดถึงความเปนตาง ๆ พดู ถึงโลก พดู ถึงทะเล พดู ถงึ ความเจรญิ และความเสอื่ มเพราะเหตุนี.้ โปฏฐปาท-ปริพาชก ไดเห็น พระผมู ีพระภาคเจา เสด็จมาแตไกลจงึ ไดห า มบรษิ ทัของตนวา เสยี งเบา ๆ หนอย พวกทานอยาไดท ําเสยี งดังนัก. พระสมณโคดม
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 156กาํ ลังเสด็จมา ทานโปรยเสียงเบา กลา วชมเสยี งเบา ถา ไฉนทานทราบวาบรษิ ัทมีเสยี งเบา บางทีกจ็ ะเสดจ็ เขามา. เมอ่ื โปฏฐปาทปริพาชกกลา วอยา งนี้แลว พวกปริพาชกเหลา นน้ั ไดพากันน่งิ . [๒๗๗] ครั้งนน้ั พระผมู ีพระภาคเจา ไดเสดจ็ เขาไปหาโปฏฐปาทปริพาชก แลว เขาไดท ูลเชอ้ื เชญิ พระองคว า เสดจ็ มาเถดิ พระผูมีพระภาคเจาผเู จรญิ พระผูม ีพระภาคเจาเสด็จมาดีแลว นานจรงิ หนอ พระผมู ีพระภาคเจาจึงไดเ สดจ็ มาถึงทนี่ ี้ เชิญประทบั นงั่ เถิด พระเจาขา นอี่ าสนะไดแตงไวแ ลว. พระผมู พี ระภาคเจาประทบั นั่งบนอาสนะทเ่ี ขาแตง ไวแลว. ฝายโปฏฐปาทปริพาชกถือเอาอาสนะตาํ่ นงั่ ลงทางขา งหนง่ึ . พระผมู ีพระภาคเจาจึงตรสั ถามเขาวา โปฏฐปาทะ ในขณะท่เี ราจะมาถงึ นี้ พวกทา นประชมุ สนทนากนั ดว ยเร่ืองอะไรหนอ กแ็ ลกถาอะไรทพี่ วกทา นสนทนากนั คางไวก อ นแตเรามาถึง. [๒๗๘] เม่ือพระองคร บั สัง่ แลวอยางนี้ โปฏฐปาทปริพาชกไดทูลวากถาทพี่ วกขา พระองคน ่งั สนทนากันในขณะท่ีพระองคจะเสดจ็ มาถงึ น้งี ดเสียเถิดกถานจี้ ะทรงสดับภายหลงั ก็ไดไมย าก พระเจาขา. วนั กอน ๆ สมณพราหมณเดยี รถียตา ง ๆ น่ังประชมุ กันในโกตุหลศาลา ไดพากันเจรจาในอภสิ ัญญา-นิโรธวา ทา นผเู จริญ อภสิ ัญญานโิ รธเปน ไฉน ดังนี้. ในชุมนมุ นั้น บางพวกกลาวอยางนวี้ า สัญญาของคนไมมเี หตุไมมปี จจยั เกิดเอง ดบั เอง เกดิในสมยั ใด สตั วกม็ สี ัญญาในสมัยนั้น ดงั ในสมัยใด สตั วกไ็ มม ีสญั ญาในสมัยนน้ั พวกหนง่ึ บัญญัตอิ ภิสัญญานิโรธ ดวยประการอยา งนี้. เจา ลทั ธิอน่ืกลาวกะเขาวา ทา นผูเ จริญ ขอน้ีจักเปน เชน นัน้ กห็ ามไิ ด เพราะวา สญั ญาเปนอัตตาของคน ก็แลอัตตานน้ั มาสบู างไปปราศบาง มาสใู นสมยั ใด สัตวก็มีสญั ญาในสมัยนั้น ไปปราศในสมัยใด สตั วก ็ไมมสี ัญญาในสมัยนั้น พวก
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 157หน่งึ บญั ญัติอภิสญั ญานิโรธ ดว ยประการอยางน้.ี เจา ลทั ธิอนื่ กลาวกะเขาวา ทานผูเจริญ กข็ อ นี้จกั เปนเชนนนั้ หามไิ ดเพราะวา สมณพราหมณที่มีฤทธมิ์ าก มีอานุภาพมาก มอี ยู ทา นเหลา นน้ั สวมใสบา ง พรากออกบาง ซงึ่ สญั ญาของคนนี้ สวมใสในสมยั ใด สตั วก ม็ ีสัญญาในสมยั น้ัน พรากออกในสมัยใด สัตวก ไ็ มม สี ัญญาในสมยั น้ัน พวกหนงึ่บญั ญัตอิ ภิสัญญานิโรธ ดว ยประการอยางน.้ี เจาลัทธิอืน่ กลา วกะเขาวา ทานผเู จรญิ ก็ขอ นี้จกั เปน เชน นัน้ หามิได เพราะวา ทวยเทพท่ีมีฤทธ์ิมาก มีอานภุ าพมาก มอี ยู ทวยเทพเหลานัน้ สวมใสบ าง พรากออกบาง ซงึ่ สัญญาของคนน้ี สวมใสในสมัยใด สัตวกม็ สี ญั ญาในสมยั นน้ั พรากออกในสมัยใดสตั วไ มม สี ัญญาในสมยั นน้ั พวกหนึ่งบญั ญัตอิ ภิสญั ญานโิ รธ ดว ยประการอยางน.ี้ สติของขา พระองคเ กิดปรารภพระผมู ีพระภาคเจา วา นา เล่ือมใสจรงิหนอ พระสุคต ทที่ รงฉลาดในธรรมเหลา นีเ้ ปน อยางดี พระผมู ีพระภาคเจาทรงเปนผฉู ลาด ทรงรูช่ําชองซึ่งอภสิ ญั ญานิโรธ กอ็ ภสิ ัญญานโิ รธเปนไฉนพระเจา ขา. [๒๗๙] พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสวา โปฏฐปาทะ ในสมณพราหมณเหลานน้ั พวกท่กี ลาววา สัญญาของคน ไมมีเหตุ ไมมีปจ จัย เกิดเองดับเอง ความเห็นของพวกนน้ั ผดิ แตต นทเี ดยี ว. เพราะเหตุไร. เพราะวาสญั ญาของคน มเี หตุ มีปจ จยั ท้ังเกิด ทงั้ ดับ สญั ญาบางอยางเกดิ ข้นึ เพราะการศกึ ษาก็มี บางอยางดับไปก็มี กส็ กิ ขาเปนอยา งไร. โปฏฐปาทะ พระตถาคตอบุ ัตขิ น้ึ ในโลกน้ีเปนพระอรหนั ตต รสั รูเองโดยชอบ ฯลฯ พ. โปฏฐปาทะภกิ ษุถึงพรอ มดว ยศลี อยางนแ้ี ล มที วารอันรักษาแลวในอนิ ทรียทัง้ หลายประกอบดวยสติสมั ปชญั ญะ เปนผสู ันโดษ. เม่ือภิกษุนนั้ ละนวิ รณ ๕ เหลานแ้ี ลว ตามเห็นในตน ปราโมทยยอ มเกดิ เมือ่ ปราโมทยแลว ปตยิ อ มเกิด
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 158กายของผมู ีใจเปย มดว ยปต ยิ อมสงบ มกี ายสงบยอมเสวยสขุ จติ ของผมู สี ุขยอมตงั้ มน่ั . เธอสงดั แลวเทยี วจากกามทง้ั หลาย จากอกศุ ลธรรมทัง้ หลายเขา ถึงปฐมฌาน มวี ติ กวจิ าร ปตแิ ละสุขอนั เกดิ แตวิเวกอย.ู สัญญาเกยี่ วดว ยกามมีในกอนยอ มดบั ไป สญั ญาในสัจจะอนั ละเอยี ดมีปติและสขุ อันเกิดแตวิเวกยอ มมีในสมยั นัน้ . เธอเปน ผมู ีสัญญาในสัจจะอนั ละเอยี ด มีปต ิและสขุ อันเกดิ แตว เิ วกในสมัยนนั้ สญั ญาบางอยา งในสกิ ขายอ มเกดิ บางอยางยอมดบั แมด วยประการฉะนี้ แมน ี้ก็เปนสิกขาอยางหน่ึง (คอื ปฐมฌาน). [๒๘๐] อกี ขอหน่งึ ภิกษเุ ขาถึงทุตยิ ฌาน อนั ยงั จิตใหผ องใสภายในตน ยังความเปน ธรรมเอกผุดขนึ้ แหงจิตใหเกิด (ยงั สมาธิจิตใหเ จริญข้ึน)ไมมีวติ ก ไมม ีวิจาร เพราะวติ กและวิจารสงบ มปี ต ิและสขุ อันเกิดแตส มาธิอยู. สญั ญาในสัจจะอนั ละเอียดมปี ต ิและสุขเกดิ แตวเิ วกอันมใี นกอนของเธอยอ มดบั . สญั ญาในสัจจะอนั ละเอียด มปี ต แิ ละสขุ อนั เกิดแตส มาธยิ อ มมใี นสมัยนน้ั . เธอเปน ผมู ีสัญญาในสจั จะอันละเอียด มีปตแิ ละสขุ อนั เกิดแตสมาธิในสมัยน้นั สัญญาบางอยา งในสกิ ขายอมเกิด บางอยางยอ มดบั ดวยประการฉะนี้ แมน กี้ เ็ ปน สกิ ขาอยา งหนง่ึ (คอื ทุติยฌาน). [๒๘๑] อกี ขอหนึ่ง ภิกษเุ ขา ถึงตติยฌาน เพราะคลายปติประกอบดวยอเุ บกขาอยู มีสติสมั ปชัญญะและเสวยสุขดว ยนามกาย ท่พี ระอริยเจาทั้งหลายสรรเสริญผูไดฌานนั้นวา เปนผอู ุเบกขา มสี ติอยเู ปน สขุ ดงั นแี้ ลวแลอย.ู สัญญาในสจั จะอนั ละเอียดประกอบดว ยปติและสุขเกิดแตส มาธิมใี นกอนของเธอยอมดบั . สัญญาในสัจจะอนั ละเอยี ดประกอบดวยสขุ อันเกดิ แตอ ุเบกขายอมมใี นสมยั นัน้ . เธอเปนผูมีสัญญาในสัจจะอันละเอียดประกอบดว ยสุขอนัเกิดแตอเุ บกขา ในสมัยนน้ั . สัญญาบางอยางในสกิ ขายอมเกดิ บางอยางยอ มดับ ดว ยประการฉะนี.้ แมนีก้ ็เปน สิกขาอยา งหนง่ึ (คือตติยฌาน)
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 159 [๒๘๒] อีกขอ หน่ึง ภิกษเุ ขาถงึ จตตุ ถฌาน อันไมมีทุกข ไมมสี ขุเพราะละสุขและเพราะละทุกข เพราะดบั โสมนสั และโทมนสั ในกาลกอนเสยีมีความทแี่ หง สติเปนธรรมชาตบิ รสิ ุทธ์ิ เพราะอุเบกขาแลว แลอย.ู สญั ญาในสจั จะอันละเอยี ดประกอบดวยสขุ อันเกิดแตอเุ บกขา มใี นกอ นยอมดบั . สัญญาในสัจจะอนั ละเอียดอนั ไมมีทุกข ไมม ีสขุ ยอมมใี นสมัยนน้ั . เธอเปนผมู ีสัญญาในสจั จะอันละเอยี ด อันไมม ที ุกข ไมม สี ขุ ในสมยั น้ัน. สญั ญาบางอยางในสกิ ขายอมเกดิ บางอยา งยอมดับ ดวยประการฉะน้.ี แมน ้ีกเ็ ปนสิกขาอยางหน่ึง (คือจตุตถฌาน). [๒๘๓] อกี ขอหน่งึ ภิกษเุ ขาถึงอากาสานัญจายตนะวา อากาสไมม ีทสี่ ุดดังนี้ เพราะความกาวลว งรปู สัญญาโดยประการทั้งปวง เพราะดับปฏิฆสัญญา เพราะไมท าํ ไวใ นใจซึง่ สัญญาโดยประการตาง ๆ แลว แลอยู.รูปสัญญามีในกอนของเธอยอมดับไป สัญญาในสัจจะอันละเอยี ดประกอบดว ยอากาสานัญจายตนะ ยอมมใี นสมัยน้นั . เธอเปน ผมู ีสญั ญาในสจั จะอันละเอยี ดประกอบดวยอากาสานัญจายตนะ ในสมัยน้นั . สัญญาบางอยา งในสกิ ขายอมเกดิ บางอยางยอ มดบั ดว ยประการฉะนี้. แมน ี้กเ็ ปนสิกขาอยางหน่ึง(คืออากาสานญั จายตนะ). [๒๘๔] อีกขอหน่งึ ภิกษเุ ขา ถงึ วิญญาณัญจายตนะวา วิญญาณไมมีทสี่ ุดดังนี้ เพราะกาวลว งอากาสานัญจายตนะโดยประการท้ังปวงแลวแลอยู.สัญญาในสจั จะอนั ละเอยี ดประกอบดวยอากาสานญั จายตนะ มีในกอนของเธอยอมดับไป. สญั ญาในสจั จะอันละเอยี ดประกอบดว ยวญิ ญาณัญจายตนะยอมมใี นสมัยนน้ั . เธอเปน ผูมีสัญญาในสจั จะอนั ละเอยี ดประกอบดวยวิญญาณญัจายตนะในสมยั นัน้ . สัญญาบางอยางในสกิ ขายอมเกิด บางอยา งยอ มดบั ดว ยประการฉะน้ี. แมนก้ี เ็ ปน สกิ ขาอยางหนึ่ง (คอื วิญญาณัญจายตนะ).
พระสุตตันตปฎก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 160 [๒๘๕] อีกขอ หนงึ่ ภกิ ษเุ ขา ถึงอากิญจัญญายตนะวา อะไร ๆ นอ ยหนึ่งไมม ีดงั น้ี เพราะกาวลวงวิญญาณญั จายตนะโดยประการทัง้ ปวงแลว แลอยู. สัญญาในสัจจะอนั ละเอยี ดประกอบดวยวญั ญาณญั จายตนะมใี นกอนของเธอยอ มดับไป. สญั ญาในสจั จะอันละเอยี ดประกอบดว ยอากัญจัญญายตนะยอมมีในสมยั นน้ั . เธอเปนผมู ีสัญญาในสจั จะอันละเอยี ดประกอบดวยอากิญ-จัญญายตนะในสมยั นน้ั . สัญญาบางอยา งในสิกขายอ มเกิด บางอยา งยอ มดบัดวยประการฉะน.ี้ แมน ีก้ เ็ ปนสิกขาอยางหน่ึง (คืออากิญจญั ญายตนะ). [๒๘๖] โปฏฐปาทะ ภกิ ษุในพระศาสนานี้ มีสกสญั ญา (มีความสําคญั ดวยสญั ญาในฌานของตน) คือออกจากปฐมฌานนนั้ แลว มีสัญญาในทุติยฌานโนน ออกจากทุติยฌานนนั้ แลว มีสัญญาในตตยิ ฌานโนน โดยลําดบั ไปถึงยอดสญั ญา (อากญิ จญั ญายตนะ๑) เมื่อเธอต้ังอยูใ นยอดสญั ญา มีความคํานึงอยางน้วี า เม่อื เราจํานงอยู ไมดเี ลย เมื่อไมจํานงอยู ดกี วา ถาแลวา เราพึงจํานง พงึ มุง หวังอากิญจญั ญายตนสัญญาน้ขี องเราพงึ ดับ และสญั ญาหยาบอยางอื่น (ภวงั คสญั ญา) พึงเกดิ ขึน้ มฉิ ะนนั้ เราไมควรจํานงไมค วรมงุ หวัง. จึงไมจาํ นงดว ย ทง้ั ไมมงุ หวังดว ย เมื่อไมจาํ นง ไมม ุงหวงั อยู อากิญจัญญายตนสญั ญาน้นั ยอมดับดวย ทัง้ สญั ญาหยาบอยางอื่นยอมไมเ กิดขึ้นดว ย เธอยอมถงึ สัญญานิโรธ ฉนั ใด สัญญานิโรธสมาบัตขิ องภิกษุผมู สี ัมปชญั ญะโดยลาํ ดบั ยอ มมีฉนั น้ันแล. พ. ทานสาํ คัญความขอ นั้น เปน ไฉน สัญญานโิ รธสมาบตั ขิ องภิกษุผมู สี ัมปชญั ญะโดยลําดับเชน น้ี ทานเคยฟง มาแลวในกาลกอนแตกาลนบี้ างหรอื .๑. อากญิ จัญญายตนะ ชอื่ วา ยอดสญั ญา เพราะเปนองคท สี่ ุดแหงสมาบัติท่ีมีหนา ทํากจิ อนัเปน โลกยี พระโยคตี งั้ อยูในอากญิ จญั ญายตนสมาบตั แิ ลว ยอมเขาถงึ แนวสัญญานาสัญญายตนสมาบตั บิ าง นโิ รธสมาบัติบา ง. อรรกถาทีฆนกิ ายสลี ขันธวรรค หนา ๔๒๔.
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 161 ป. หามิไดพ ระเจาขา ขา พระพุทธเจา รทู ่วั ถึงธรรมท่พี ระผมู พี ระภาคเจา ทรงแสดงแลว ดว ยอาการอยางน้แี ล. พ. เพราะเหตุทภี่ ิกษมุ สี กสัญญา คอื ออกจากปฐมฌานน้ันแลว มีสัญญาในทุตยิ ฌานโนน ออกจากทตุ ยิ ฌานนน้ั แลว มีสัญญาในตติยฌานโนนโดยลําดับไปถงึ ยอดสัญญา เม่ือเธอตัง้ อยูใ นยอดสัญญา มีความคํานงึ อยางนว้ี าเม่อื เราจํานงอยู ไมด เี ลย เมือ่ ไมจํานงอยู ดกี วา ถา แลวาเราพงึ จํานง พึงมงุ -หวัง อากญิ จญั ญายตนสญั ญาน้ีของเราพึงดับ และสญั ญายาบอยางอน่ื พงึ เกิดขึ้น มฉิ ะนั้นเราไมควรจาํ นง ไมค วรมงุ หวงั . จงึ ไมจ าํ นงดวย. ทง้ั ไมม ุงหวงัดว ย เมื่อไมจ ํานงอยู ไมมงุ หวงั อยู อากญิ จัญญายตนสญั ญานนั้ ยอมดับดว ยท้ังสัญญาหยาบอยา งอ่นื ยอ มไมเกดิ ขึน้ ดวย เธอยอ มถงึ สญั ญานิโรธ. สัญญา-นิโรธสมาบตั ขิ องภกิ ษุผมู ีสัมปชัญญะโดยลาํ ดับ ยอ มมีอยา งน้ีแล. [๒๘๗] พ. ทา นจงรบั ไวด ว ยดีอยางนเี้ ถดิ . ป. พระผมู พี ระภาคเจา ทรงบัญญตั ยิ อดสญั ญาอยา งเดียวเทา นัน้ หรอืวา ทรงบญั ญัติยอดสญั ญาเปน อนั มาก พระเจา ขา . พ. เราบญั ญัติยอดสญั ญาอยางเดยี วกม็ ี มากกม็ ี. ป. พระผมู ีพระภาคเจาทรงบัญญัตยิ อดสัญญาอยา งเดียวกม็ ีน้นั อยางไรทว่ี ามากกม็ ีนนั้ อยางไร พระเจา ขา . พ. ภกิ ษถุ ึงสญั ญานิโรธฉนั ใด ๆ เราบญั ญตั ยิ อดสัญญาฉนั นนั้ ๆ เราบัญญัตยิ อดสญั ญาอยา งเดียวกม็ ี มากกม็ ี อยางน้ีแล. [๒๘๘] ป. พระเจา ขา สัญญาเกิดกอ น ญาณเกิดทหี ลงั หรือวา ท้งัสญั ญาทัง้ ญาณเกิดไมกอนไมหลงั กัน. พ. สญั ญาแลเกดิ กอน ญาณเกดิ ทีหลัง ก็เพราะสญั ญาเกดิ ขึน้ ญาณ
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 162จงึ เกดิ ขึน้ ได เขารอู ยนู ว้ี า ญาณไดเกิดข้ึนแลวแกเราเพราะสญั ญาน้ีเปนปจจยั . ทา นพงึ ทราบความขอน้ัน โดยปรยิ ายเชนดงั่ วา สญั ญาเกดิ กอน ญาณเกดิ ทีหลงั ก็เพราะสัญญาเกิดข้นึ ญาณจงึ เกดิ ขน้ึ ได. [๒๘๙] ป. สัญญาเปนตนของบุรุษ หรือวา สัญญาอยา งหนึง่ ตนอยางหนง่ึ พระเจาขา . พ. ทา นปรารถนาตนอยางไร. ป. ขา พระเจาปรารถนาตนที่หยาบ คือมีรูป เปน ทีป่ ระชมุ แหงมหา-ภูตรปู ๔ มกี วฬิงการาหารเปนภักษา. พ. ก็ตนของทานหยาบ คือมรี ูป เปนทีป่ ระชมุ มหาภูตรปู ๔ มกี ว-ฬิงการาหารเปนภักษา จกั มแี ลว . เม่อื เปน เชน นีส้ ญั ญาของทา นจักเปนอยา งหน่ึง ตนจักเปน อยา งหนงึ่ . ทา นพงึ ทราบความขอ น้นั แมโ ดยปรยิ ายเชน ดง่ัวา สัญญาจกั เปน อยางหนึ่งตางหาก ตนก็จักเปน อยางหน่ึง. ตนน้ันหยาบ คอืมีรปู เปน ท่ีประชุมแหงมหาภตู รูป ๔ มีกวฬิงการาหารเปน ภักษา ยอมตั้งอยูเทีย่ ว เมื่อเปนเชน น้ี สัญญาของบุรษุ นี้ อยา งหนึง่ ตางหากเกดิ ขนึ้ อยา งหน่ึงตางหากดับไป ทานพงึ ทราบความขอ นน้ั โดยปริยายเชน ดัง่ วา สัญญาจกั เปนอยางหนึ่งตา งหาก ตนก็จักเปน อยา งหนึง่ ด่ังนี้. [๒๙๐] ป. ขาพระเจาปรารถนาตนอันสาํ เร็จดวยใจ คือมีอวัยวะนอ ยใหญครบทุกอยางมีอินทรียไมเสอื่ มทราม. พ. ตนของทา นก็สําเร็จดวยใจ คือมีอวัยวะนอ ยใหญค รบทุกอยา ง มีอินทรยี ไ มเ ส่ือมทราม จกั มีแลว แมเ มือ่ เปนเชน นนั้ สญั ญาของทา นจักเปนอยางหนึ่ง และตนของทา นกจ็ กั เปนอยา งหน่งึ ทา นพึงทราบความขอ นั้นแมโดยปริยายเชนดงั่ วา สัญญาจักเปนอยา งหนง่ึ ตา งหาก ตนกจ็ กั เปน อยา งหนงึ่ . ตนสาํ เรจ็ ดวยใจ คอื มอี วัยวะนอ ยใหญค รบทกุ อยาง มีอนิ ทรยี ไม
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 163เสือ่ มทรามยอมตั้งอยเู ทยี ว เม่ือเปนเชน นน้ั สญั ญาของบรุ ุษนี้ อยา งหนึง่ ตา งหากเกดิ ข้นึ อยางหนึ่งตา งหากดับไป. ทา นพงึ ทราบความขอน้นั โดยปริยายเชน ดั่งวา สญั ญาจกั เปนอยา งหนง่ึ ตา งหาก ตนกจ็ ักเปนอยางหนงึ่ ดั่งน้ี. [๒๙๑] ป. ขา พระเจา ปรารถนาตนทไ่ี มม ีรูป คอื ทส่ี ําเรจ็ ดวยสัญญา. พ. ก็ตนของทา นทไ่ี มมีรปู คอื สําเร็จดวยสัญญา จักมีแลว เมอ่ื เปนเชน นั้น สัญญาของทา นจักเปน อยา งหนึ่งตา งหาก ตนของทานกจ็ ักเปน อยา งหน่ึง ทานพงึ ทราบความขอ น้นั แมโ ดยปริยายเชนดั่งวา สัญญาจกั เปน อยาง-หนึ่งตา งหาก ตนก็จกั เปน อยางหนึ่ง. ตนท่ไี มม รี ูป คอื ทส่ี ําเร็จดว ยสญั ญานี้ยอ มตัง้ อยูเทียว เมือ่ เปนเชนน้นั สญั ญาของบรุ ษุ น้ี อยางหนงึ่ ตา งหากเกดิ ข้ึนอยางหน่งึ ตางหากดับไป ทานพงึ ทราบความขอน้ัน แมโ ดยปริยายเชน ด่งั วาสญั ญาจกั เปนอยางหนง่ึ ตา งหาก ตนก็จกั เปน อยางหนง่ึ ดั่งน้.ี [๒๙๒] ป. กข็ า พระเจาอาจทราบไดหรอื ไมวา สัญญาเปน ตนของบรุ ุษ หรือสัญญากอ็ ยา งหนง่ึ ตนกอ็ ยางหน่ึง. พ. ขอวาสญั ญาเปนตนของบรุ ุษ หรอื สัญญาก็อยางหน่งึ ตนกอ็ ยางหน่งึ ดัง่ นีน้ ้ัน อันทานผมู ีทฏิ ฐิเปน อยา งอนื่ มขี นั ตเิ ปนอยางอืน่ มคี วามชอบใจเปนอยา งอ่ืน มีความพยายามในลัทธิอืน่ มอี าจารยใ นลทั ธิอ่นื รูไดย ากนกั . ป. ถา ขอ ทว่ี านั้น ขาพระเจาผมู ีทิฏฐเิ ปนอยา งอืน่ มขี นั ตเิ ปนอยา งอนื่ มีความขอบใจเปนอยางอ่นื มีความพยายามในลทั ธอิ ืน่ มีอาจารยในลัทธิ-อ่ืน รูไดยากนกั ไซร กค็ ําทีว่ า โลกเทย่ี งนแ้ี ลจรงิ คําอน่ื เปลา ดัง่ นหี้ รืออยางไรพระเจาขา . พ. คําทีว่ า โลกเทยี่ งน้ีแลจริง คาํ อ่ืนเปลา ดงั นี้ เราไมไ ดพยากรณ.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 164 ป. ก็โลกไมเ ท่ียงนี้แลจรงิ คําอน่ื เปลา ดัง่ นี้หรือ พระเจาขา . พ. แมขอ นน้ั เรากไ็ มไ ดพ ยากรณ. ป. ก็โลกมที ีส่ ดุ ฯลฯ โลกไมม ีทส่ี ดุ . ชพี กอ็ ันนน้ั สรรี ะก็อนั นน้ั .ชีพเปนอื่น สรีระก็เปน อ่ืน. ตถาคต เบอ้ื งหนาแตตายแลว ยอมม.ี ตถาคตเบือ้ งหนา แตต ายแลว ยอ มไมม.ี ตถาคต เบอ้ื งหนาแตต ายแลว ยงั มบี างไมมีบาง. ตถาคต เบอ้ื งหนาแตต ายแลว มกี ็ไมใ ช ไมมีก็ไมใ ช นี้แลจรงิคาํ อนื่ เปลา ดังนี้หรือ พระเจาขา. พ. แมขอ น้ัน ๆ เรากไ็ มไดพ ยากรณ. ป. ก็เพราะเหตุไร พระผูมีพระภาคเจาจงึ ไมทรงพยากรณ พระเจา ขา . พ. เพราะขอ นน้ั ๆ ไมป ระกอบดว ยอรรถ ไมประกอบดว ยธรรมไมเ ปน เบ้ืองตน แหง พรหมจรรย ไมเปน ไปเพ่ือความเบอ่ื หนา ย ไมเ ปนไปเพอ่ื ความปลอ ยวาง ไมเปน ไปเพอื่ ความดับ ไมเ ปน ไปเพอ่ื ความสงบ ไมเปนไปเพือ่ ความรูยิง่ ไมเปนไปเพ่อื ความตรัสรู ไมเปน ไปเพอ่ื นิพพานฉะนั้น เราจงึ ไมพ ยากรณ. [๒๙๓] ป. ก็อะไร พระผมู ีพระภาคเจา ทรงพยากรณละ พระเจา ขา. พ. ทกุ ข เหตุเกดิ ทุกข ความดับทกุ ข ขอ ปฏิบัตใิ หถึงความดบั ทกุ ขนแ้ี ล เราพยากรณ. ป. กเ็ พราะเหตไุ ร พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ทรงพยากรณอ ยา งนั้นพระเจา ขา. พ. เพราะขอ น้นั ๆ ประกอบดวยอรรถ ประกอบดวยธรรม เปนเบอ้ื งตน แหง พรหมจรรย เปน ไปเพอ่ื ความเบอื่ หนาย เปน ไปเพือ่ ความปลอ ยวาง เปนไปเพือ่ ความดบั เปน ไปเพอื่ ความสงบ เปนไปเพอื่ ความรยู ิ่งเปน ไปเพ่อื ความตรัสรู เปนไปเพ่ือนิพพาน ฉะนน้ั เราจงึ พยากรณ.
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 165 ป. ขอ นีเ้ ปนอยางนนั้ พระผมู พี ระภาคเจา ขอ นี้เปนอยางนั้น พระสุคตในบัดน้ี ขอพระผูมพี ระภาคเจาทรงทราบกาลท่ีสมควรเถดิ พระเจาขา ดงั น้ี.ลําดบั นนั้ พระผูมีพระภาคเจาเสดจ็ ลุกจากอาสนะแลวหลีกไป. [๒๙๔] ฝา ยพวกปรพิ าชกเหลา นั้น เมือ่ พระผมู พี ระภาคเจาเสดจ็ หลีกไปแลว ไมน าน ไดทําการเสียดแทงโปฏฐปาทปรพิ าชก ดว ยปฏักคือถอ ยคาํเสียดแทงโดยรอบวา ก็ทานโปฏฐปาทะน้ี อนุโมทนาตามคําทพ่ี ระสมณโคดมกลาวอยา งนี้วา ขอน้ีเปนอยางนั้น พระผมู พี ระภาคเจา ขอ นีเ้ ปน อยา งนนั้พระสุคต ด่งั น้.ี กแ็ ตวา พวกเรามิไดเ ขา ใจธรรมทพ่ี ระสมณโคดมทรงแสดงแลวโดยสว นเดยี ว แตอ ยางใดอยางหนง่ึ ที่วา โลกเที่ยงหรือโลกไมเ ทีย่ ง ฯลฯตถาคต เบ้อื งหนา แตตายแลว มกี ็ไมใ ช ไมม กี ไ็ มใ ช ดั่งน้.ี [๒๙๕] เมื่อปรพิ าชกเหลานั้นกลาวแลวอยางน้ี โปฏฐปาทปริพาชกไดบอกกบั เขาวา พอ คุณ แมฉ นั ก็มิไดเขา ใจธรรมทพี่ ระสมณโคดมแสดงแลว โดยสวนเดยี ว แตอ ยางใดอยา งหน่งึ วา โลกเทีย่ งหรอื ฯลฯ ตถาคตเบื้องหนาแตตายแลว มีก็ไมใ ช ไมม ีกไ็ มใ ช ก็แตว า พระสมณโคดมทรงบญั ญตั ปิ ฏปิ ทาทีจ่ รงิ ทีแ่ ท ที่แนนอน ทม่ี ปี กติตั้งอยูใ นธรรม ท่ถี กู ตองตามทาํ นองคลองธรรม ไฉนบุรุษผเู ปน บณั ฑติ เชนดง่ั เรา จกั ไมอ นุโมทนาสภุ าษิตของพระสมณโคดม โดยความเปนสภุ าษิตเลา . [๒๙๖] ตอมาลวงไปได ๒-๓ วัน จติ ตผเู ปนบุตรแหงควาญชาง และโปฏฐปาทปรพิ าชก พากันเขา ไปเฝาพระผูมีพระภาคเจา ครัน้ แลวจติ ตผ เู ปนบตุ รแหงควาญชา ง ถวายอภิวาทพระผมู พี ระภาคเจา นง่ั ณ ที่สวนขางหนึ่ง.ฝา ยโปฏฐปาทปริพาชก กลา วถอยคาํ ปราศรยั กบั พระผมู พี ระภาคเจา พอเปน ที่ต้ังแหง ความปลาบปลื้มเปน ทต่ี ้งั แหงความระลึก แลว นัง่ ณ ที่สว นขา งหนง่ึ
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 166แลวกราบทูลวา ขา แตพระองคผ เู จริญ ในคราวนัน้ เม่อื พระองคเ สด็จหลีกไปไมน าน พวกปริพาชกไดพ ากันรุมตอวาขาพระองคดวยถอ ยคําตดั พอ ตา ง ๆวา อยา งน้ที เี ดยี วทา นโปฏฐปาทะ พระสมณโคดมตรัสคาํ ใด ทา นพลอยอ-นุโมทนาคาํ น้ันทกุ คาํ วา ขาแตพ ระผูมีพระภาคเจา ขอนน้ั ตองเปนเชน นี้ขาแตพระสุคต ขอนนั้ ตองเปนเชน น้ี ฝายพวกเรามไิ ดเ ขาใจธรรมที่พระสมณ-โคดมทรงแสดงแลว โดยสว นเดียว แตส กั นอ ยหนงึ่ วา โลกเทีย่ งหรอื โลกไมเท่ียงโลกมที สี่ ดุ หรอื โลกไมมที สี่ ุด ชพี อันนน้ั สรรี ะกอ็ นั น้ัน หรือชพี อยางหนง่ึสรรี ะอยางหนึ่ง ตถาคตเบ้อื งหนาแตตายไปมอี ยู หรือตถาคตเบอ้ื งหนา แตตายไปไมมอี ยู ตถาคตเบ้อื งหนา แตต ายไป มีอยกู ็มี ไมมอี ยกู ม็ ี หรอืตถาคตเบ้อื งหนา แตต ายไปมีอยูก ม็ ิใช ไมม ีอยกู ม็ ิใช เม่ือพวกปริพาชกกลาวอยางนแ้ี ลว ขา พระองคไดบอกปริพาชกเหลานั้นวาทานทั้งหลาย แมขาพเจาเองก็มิไดเ ขาใจธรรมท่ีพระสมณโคดมทรงแสดงแลว โดยสว นเดยี ว แตส กั นอ ยหนึ่งวา โลกเที่ยงหรือโลกไมเ ท่ยี ง โลกมที สี่ ดุ หรอื โลกไมม ที ่สี ดุ ชพี อนั นนั้สรรี ะก็อันนั้น หรอื ชพี อยางหนึง่ สรีระอยา งหนง่ึ ตถาคตเบื้องหนาแตต ายไปมอี ยูก ม็ ี หรือตถาคตเบื้องหนาแตต ายไปไมมีอยู ตถาคตเบือ้ งหนาแตต ายไปมอี ยกู ม็ ี ไมม อี ยกู ม็ ี หรอื ตถาคตเบื้องหนา แตตายไป มอี ยูก ม็ ใิ ช ไมมอี ยูกม็ ิใช. แตว าพระสมณโคดมบัญญตั ปิ ฏปิ ทาท่จี รงิ แทแ นนอนเปน ธรรมฐติ ิธรรมนยิ าม ก็เมื่อพระสมณโคดมบัญญตั ปิ ฏปิ ทาที่จรงิ แทแ นน อน เปนธรรมฐติ ิ ธรรมนยิ าม ไฉนเลาวญิ ชู นเชน เราไมพ ึงอนโุ มทนา สภุ าษติ ของพระ-สมณโคดมโดยเปน สุภาษิต. [๒๙๗] พ. โปฏฐปาทะ ปริพาชกเหลา น้ที ้ังหมดเปน คนบอด หาจกั ษมุ ไิ ด ในชุมชนนัน้ ทา นคนเดยี วเปนคนมจี กั ษุ. เพราะเราแสดงแลว
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 167บญั ญัตแิ ลว ซงึ่ ธรรมเปนไปเพือ่ ความสิ้นทุกขโ ดยสว นเดียวบาง ซึ่งธรรมที่ไมเ ปนไปเพ่ือความส้นิ ทุกขโ ดยสวนเดียวบา ง. ก็ธรรมท่ีไมเปนไปเพ่อื ความส้นิ ทุกขโ ดยสว นเดยี ว ทเี่ ราแสดงแลว บัญญตั แิ ลว เปน ไฉน. คอื โลกเทีย่ งโลกไมเ ทีย่ ง โลกมที ีส่ ุด โลกไมมที ี่สดุ ชีพกอ็ นั น้ัน สรีระก็อนั นัน้ ชพี เปน อ่นืสรรี ะกเ็ ปนอนื่ ตถาคต เบือ้ งหนา แตต ายแลว ยอ มมี ตถาคต เบื้องหนาแตต ายแลว ยอมไมม ี ตถาคต เบอ้ื งหนา แตต ายแลว ยงั มีบาง ไมม บี า งตถาคต เบือ้ งหนาแตต ายแลว มีกไ็ มใ ช ไมมกี ไ็ มใช ด่ังนี้แลว เปนธรรมทีไ่ มเ ปนไปเพ่ือความสิ้นทุกขโ ดยสวนเดียว เราแสดงแลว บญั ญตั แิ ลว.เพราะเหตไุ ร เราจึงแสดงบัญญตั ิวา เปน ธรรมทไ่ี มเปน ไปเพื่อความส้ินทุกขโดยสวนเดยี ว. เพราะธรรมเหลานี้ ไมประกอบดวยอรรถ ไมป ระกอบดวยธรรม ไมเปน เบื้องตนแหง พรหมจรรย ไมเ ปน ไปเพอื่ ความเบ่อื หนา ย ไมเปน ไปเพอื่ ความปลอยวาง ไมเปน ไปเพือ่ ความดบั ไมเปน ไปเพ่ือความสงบไมเ ปนไปเพือ่ ความรยู ง่ิ ไมเ ปนไปเพ่อื ความตรัสรู ไมเ ปน ไปเพ่ือนพิ พานเพราะฉะน้นั เราจงึ ไดแสดงบญั ญตั วิ า ไมเ ปน ไปเพอื่ ความสนิ้ ทกุ ขโดยสว นเดียว. [๒๙๘] กธ็ รรมทเี่ ปน ไปเพื่อความส้ินทุกขโ ดยสวนเดียว เราแสดงแลวบญั ญัติแลว เปนไฉน. คือ นีท้ ุกข น้ีเหตุเกดิ ทกุ ข น้ีความดบั ทุกขนี้ปฏิปทาใหถงึ ความดบั ทกุ ข ดั่งนี้แล เปนธรรมทเ่ี ปน ไปเพ่อื ความส้ินทุกขโดยสว นเดียว เราแสดงแลว บญั ญตั ิแลว ก็เพราะเหตไุ ร เราจงึ แสดงแลวบญั ญตั ิแลววา เปน ธรรมที่เปน ไปเพื่อความสน้ิ ทกุ ข โดยสว นเดยี ว. เพราะธรรมเหลาน้ปี ระกอบดวยอรรถ ประกอบดวยธรรม เปน เบอื้ งตน แหงพรหมจรรย เปนไปเพือ่ ความเบ่ือหนาย เปน ไปเพอ่ื ความปลอ ยวาง เปน ไปเพือ่ ความดบั เปนไปเพอ่ื ความสงบ เปน ไปเพ่ือความรยู ่งิ เปนไปเพือ่ ความ
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 168ตรัสรู เปนไปเพอื่ นพิ พาน เพราะฉะนน้ั เราจึงไดแสดงบญั ญตั วิ า เปน ไปเพื่อความสิน้ ทุกขโดยสว นเดยี ว. [๒๙๙] โปฏฐปาทะ สมณพราหมณพ วกนัน้ มวี าทะอยางน้ี มที ฏิ ฐิอยางน้ีวา ตนเบือ้ งหนาแตตายไป มสี ขุ โดยสว นเดียว หาโรคมิได เราเขาไปหาสมณพราหมณพวกนน้ั กลา วอยางน้ีวา ไดยนิ วา ทานมวี าทะอยา งนี้ มที ิฏฐิอยา งนี้วา ตนเบ้ืองหนาแตต ายไป มีสขุ โดยสวนเดยี ว หาโรคมไิ ด ดงั น้ีจรงิ หรอื . ถา วา พวกเขาที่ถูกเราถามอยางนีแ้ ลว ปฏิญญารับคาํ ไซร เราก็จะกลาวกะพวกเขาอยางนว้ี า เออ ทที่ า นรเู หน็ โลก มีสขุ โดยสว นเดยี วอยูห รอื .เขาถูกถามดั่งน้ี ก็จะตอบวา หามิได เราจะกลา วกะเขาวา เออ กท็ านรสู ึกตนเปน สขุ โดยสวนเดยี ว ช่วั วนั หนง่ึ คืนหนง่ึ หรอื ครึง่ คืนคร่งึ วัน เขากจ็ ะตอบวา หามไิ ด เราจะกลาวกะเขาวา เออ กท็ า นรวู า น้ีมรรคา น้ีปฏปิ ทาเพอ่ื ทําใหแจง ซ่งึ โลก ท่มี ีสุขโดยสวนเดยี วหรือ. เขากจ็ ะตอบวา หามิได.เรากจ็ ะกลา วกะเขาวา ทา นจงฟงเสียงของเหลาเทวดา ผูเ ขา ถงึ โลกที่มีสขุ โดยสว นเดยี ว ผกู ลา วอยูวา จงปฏบิ ตั ดิ เี ถดิ จงปฏิบัติตรงเถิด ทานผนู ิรทุกขเพอ่ื ทาํ ใหแจงซง่ึ โลก ทม่ี ีสขุ โดยสว นเดียว เพราะวา แมพ วกเราปฏิบัตอิ ยา งนี้แลว จึงเขา ถึงโลกทีม่ สี ขุ โดยสว นเดียว. เขากจ็ ะตอบวา หามไิ ด. พ. โปฏฐปาทะ ทา นจะสําคญั ความขอ นนั้ เปน ไฉน เม่อื เปนเชนน้ีภิกษติ ของสมณพราหมณพ วกนน้ั จะถงึ ความไมนา อศั จรรย (ไรผ ล) มิใชห รือ. ป. แนน อน พระเจาขา เม่อื เปนเชน นั้น ภาษติ ของสมณพราหมณพวกนน้ั กย็ อมถงึ ความไมนา อัศจรรย (ไรผล). [๓๐๐] พ. โปฏฐปาทะ เชนเดียวกับบุรุษ พงึ กลา วอยางน้วี า ขาพเจาปรารถนารกั ใครซ ึ่งนางงามประจําชนบทนี้ ชนทั้งหลายจะพงึ กลาวกะเขาวาแนะ พอ หนุม นางงามประจาํ ชนบทท่ีทานปรารถนารักใครน ั้น ทา นรหู รอื วา
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 169เปนนางกษตั รยิ หรอื นางพราหมณ เปนนางแพศย หรอื นางศทู ร เม่ือเขาถูกถามดัง่ น้ี กจ็ ะตอบวา ไมร .ู ชนทงั้ หลายกจ็ ะพึงกลาวกะเขาวา แนะพอหนมุ นางงามประจําชนบททท่ี า นปรารถนารกั ใครน้ัน ทา นรหู รอื วา มีช่อือยางน้ี มโี คตรอยางน้ี สูงหรอื ตํา่ หรือพอสันทดั ดําหรอื ขาว หรอื สีแมลงทับ อยใู นบาน ในนิคม หรือในเมอื งโนน . เขากจ็ ะตอบวา ไมร ชู นทงั้ หลายก็จะกลาวกะเขาวา แนะ พอหนมุ ทา นปรารถนารกั ใครน างงามท่ียงัไมร ู ไมเ ห็นกัน ดงั น้นั หรือ. เขาก็จะพงึ กลาววา อยางนน้ั . โปฏฐปาทะทานจะสําคญั ความขอนน้ั เปน ไฉน เมื่อเปน เชน นั้น คําพดู ของบุรุษน้นั จะถึงความไมนา อศั จรรย (ไรผล) มิใชหรือ. ป. แนน อนทีเดียว พระเจา ขา คาํ พูดของบรุ ุษนน้ั จะถงึ ความไมนาอัศจรรย. พ. โปฏฐปาทะ กฉ็ นั นั้นเหมอื นกัน สมณพราหมณทมี่ วี าทะอยางนี้มีทิฏฐอิ ยางนี้วา ตนเบื้องหนาแตตายไป มีสขุ โดยสวนเดียว หาโรคมิได เราเขาไปหาสมณพราหมณพ วกน้นั กลา วอยางนีว้ า ไดยนิ วาทา นมวี าทะอยางน้ี มีทฏิ ฐิอยางนว้ี า ตนเบื้องหนา แตต ายไป มีสุขโดยสวนเดยี ว หาโรคมไิ ด ดัง่ น้ีจรงิ หรือ ถาพวกเขาทีถ่ ูกเราถามแลว ปฏิญญารบั ไซร เรากจ็ ะกลาวกะพวกเขาวา เออ กท็ า นรเู ห็นโลก มีสุขโดยสวนเดยี วอยหู รอื . เขาก็จะตอบวา หามิไดเราจะกลา วกะเขาวา เออ กท็ า นรูส ึกตนเปนสุขโดยสวนเดียว ชั่ววันหนงึ่ คนื หนึ่งหรอื คร่งึ คืน ครึง่ วัน. เขากจ็ ะตอบวา หามไิ ด. เราจะกลาวกะเขาวา เออ กท็ านรูวา น้มี รรคา นีป้ ฏิปทา เพ่อื ทาํ ใหแจง ซง่ึ โลกมสี ขุ โดยสวนเดียวหรือ. เขากจ็ ะตอบวา หามิได. เราก็จะกลาวกะเขาวา ทานจะฟง เสียงของเหลา เทวดา ผเู ขาถงึ โลกทม่ี ีสขุ โดยสวนเดยี ว ผูกลา วอยูวา จงปฏิบัตดิ ี จงปฏบิ ัตติ รงเถดิ ทา นผูนริ ทุกข เพื่อทําใหแ จงซ่ึงโลกทมี่ สี ขุ โดยสวนเดียว เพราะวา แมพ วกเราปฏบิ ัติอยางน้แี ลว จงึ เขา ถึงโลกทมี่ ีสุขโดยสว นเดียว. เขากจ็ ะตอบวา หามไิ ด.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 170 . พ. โปฏฐปาทะ ทา นจะสาํ คญั ความขอนั้นเปนไฉน เมือ่ เปน เชน นน้ัภาษิตของสมณพราหมณพ วกนนั้ จะถึงความไมน าอัศจรรย (ไรผล ) มิใชหรือ. ป. แนน อน พระเจาขา เมอ่ื เปนเชนนน้ั ภาษิตของสมณพราหมณพวกน้นั ก็ยอ มถงึ ความไมน าอัศจรรย (ไรผ ล) [๓๐๑] พ. โปฏฐปาทะ เชนเดียวกับบุรษุ พึงทําบนั ไดท่ีหนทางใหญ๔ แพรง เพอ่ื ขน้ึ สูป ราสาท ชนทัง้ หลายจะพงึ ถามเขาวา แนะ พอ คณุ ปราสาททท่ี า นทําบันไดเพอื่ จะขน้ึ ทา นรจู กั หรือวา ปราสาทน้นั อยูท างทศิ ตะวนั ออกหรือทิศใต ทศิ ตะวันตก หรอื ทิศเหนือ และสูงหรอื ต่ํา หรือพอปานกลาง.เขากจ็ ะตอบวา ยังไมรู ชนทัง้ หลาย ก็จะกลา วกะเขาวา แนะพอ คุณ ปราสาทที่ทา นไมร ไู มเ ห็น ทานจะทําบนั ไดเพือ่ ข้ึนไดหรอื . เม่อื ถกู ถามอยางน้ี เขากพ็ งึกลา วรบั คาํ . พ. โปฏฐปาทะ ทานจะสําคัญความขอ นนั้ เปนไฉน เมอ่ื เปนเชน นน้ัคําพดู ของบรุ ุษน้ัน จะถงึ ความไมน า อัศจรรย มิใชห รอื . ป. แนนอน พระเจา ขา เมอ่ื เปนเชน น้ัน คําพูดของบรุ ษุ นนั้ ถงึ ความเปนของไมน าอศั จรรย. พ. โปฏฐปาทะ ก็ฉันน้ันเหมอื นกัน สมณพราหมณท่มี ีวาทะอยางน้ีมที ิฏฐิอยา งน้ีวา เบื้องหนาแตต ายไป อตั ตามีสุขโดยสว นเดียว หาโรคมิได มีอยู เราเขาไปหาสมณพราหมณพ วกน้นั แลว กลาวอยา งนวี้ า ไดย ินวา ทานมีวาทะอยางน้ี มที ิฏฐิอยางนี้วา เบอื้ งหนาแตตายไป อัตตามีสุขโดยสว นเดียวหาโรคมิได มีอยจู ริงหรอื . ถาสมณพราหมณพวกนั้นถูกเราถามอยางนีแ้ ลวปฏญิ ญาวา จริง เราจะกลาวกะเขาวา เออก็ทานยงั รเู หน็ วา โลกมีสุขโดยสวนเดยี วบางหรือ. เมอื่ เขาถูกถามอยา งนีแ้ ลว เขาจะตอบวา หามไิ ด เราจะกลา วกะเขาวา เออกท็ า นรวู าอัตตามีสุขโดยสวนเดยี ว ชว่ั วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ หรอื ก่งึ วันก่ึงคืน เมอื่ เขาถูกถามอยางนีแ้ ลว เขาจะตอบวา หามไิ ด เราจะกลา วกะเขาวาเออก็ทานยังรวู า นีม้ รรคา น้ีขอ ปฏิบัติ เพอื่ ทาํ ใหแ จงซึ่งโลกมคี วามสขุ โดย
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 171สวนเดยี วบา งหรอื . เม่อื เขาถกู ถามอยา งน้แี ลว เขาจะตอบวา หามไิ ด เราจะกลาวกะเขาวา เออก็ทา นยังไดยนิ เสียงพวกเทวดาผเู ขา ถึงโลกมสี ุขโดยสวนเดยี ว ผูกาํ ลงั พดู กนั วา ทานผูนิรทุกข ทา นปฏบิ ตั ิดี ปฏิบัติตรงแลว เพอื่ทาํ ใหแ จง ซ่ึงโลกที่มีสขุ โดยสวนเดยี ว เพราะวา แมพวกเราปฏิบัติอยางนจ้ี งึเขาถงึ โลกที่มีสุขโดยสว นเดียว. เขากจ็ ะปฏิเสธ. พ. โปฏฐปาทะ ทานจะสําคญั ความขอ นั้นเปน ไฉน เมอ่ื เปน เชนน้นัภาษติ ของสมณพราหมณเหลา นัน้ กจ็ ะถงึ ความไมน าอศั จรรยม ใิ ชห รือ. ป. แนนอน พระเจาขา เม่ือเปน เชน นน้ั ภาษติ ของสมณพราหมณเหลา นน้ั กจ็ ะถึงความเปนของไมนาอัศจรรย. [๓๐๒] พ. โปฏฐปาทะ การไดอตั ตภาพ ๓ นี้ คอื ที่หยาบ ท่สี ําเรจ็ดว ยใจ ทหี่ ารูปมไิ ด. ก็การไดอตั ตภาพท่ีหยาบเปนไฉน. กายทม่ี ีรูปเปน ท่ีประชุมแหง มหาภูต ๔ มีคําขาวเปนภกั ษา น้คี อื การไดอัตตภาพทห่ี ยาบ. การไดอัตตภาพที่สําเรจ็ ดวยใจเปนไฉน. กายทีม่ ีรูปสาํ เร็จดว ยใจ มอี วัยวะนอ ยใหญค รบทุกอยาง มีอินทรยี ไมเ ส่อื มทราม นี้คอื การไดอัตตภาพทสี่ าํ เร็จดว ยใจ.การไดอัตตภาพอันหารปู มไิ ดเปน ไฉน. กายอันหารปู มิไดสําเร็จดวยสญั ญา นี้คอื การไดอ ัตตภาพอันหารูปมิได. [๓๐๓] พ. โปฏฐปาทะ เราจะแสดงธรรมเพอ่ื การละความไดอตั ตภาพท่ีหยาบวา พวกทานปฏิบตั อิ ยางไร จักละสงั กเิ ลสธรรมได โวทานธรรม* จักเจรญิ ย่งิ และทา นทง้ั หลายจักทําใหแ จง ซึ่งความบรบิ รู ณไ พบลู ยแหง ปญ ญาดว ยความรยู ิง่ เฉพาะตวั ในปจจุบนั แลว แลอย.ู พ. โปฏฐปาทะ ก็ทานจะพงึ มีความเห็นอยางนว้ี า สงั กิเลสธรรมจักเปนอนั ละได โวทานธรรมจกั เจรญิ ยง่ิ จักทาํ ใหแจง ซึง่ ความบริบรู ณไพบลู ยแ หงปญ ญา ดว ยความรูย งิ่ เฉพาะตัวในปจจุบนั แลวแลอยู แตเปน การอยูล ําบาก.๑. ธรรมอนั ผองแผว
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 172 พ. โปฏฐปาทะ กท็ านไมค วรเห็นอยางนน้ั แทจรงิ สังกิเลสธรรมจกั เปน อนั ละได โวทานธรรมจกั เจรญิ ย่งิ และจักทําใหแจง ซง่ึ ความบรบิ ูรณไพบลู ยแหงปญญา ดวยความรยู ิ่งเฉพาะตวั ในปจจบุ นั แลวแลอยู ปราโมทยปต ิ ปส สัทธิ และสตสิ มั ปชัญญะ จักเกิดมี มกี ารอยูอยางสบาย. [๓๐๔] พ. โปฏฐปาทะ เราจะแสดงธรรม เพื่อการละความไดอัตตภาพ แมทีส่ ําเร็จดว ยใจวา พวกทานปฏิบตั ิอยา งไร จึงจกั ละสงั กเิ ลสธรรมได โวทานธรรมจักเจริญยงิ่ ขึน้ พวกทา นจักทําความบรบิ ูรณและความไพบูลยแ หง ปญ ญาใหแจง ดวยปญ ญาอนั ยิ่งดว ยตนเองในปจจุบัน เขาถงึ อยู. ดูกอนโปฏฐปาทะ บางคราวทานจะพงึ มคี วามเหน็ อยา งนี้วา สังกเิ ลสธรรมเราจะละได โวทานธรรมจักเจริญยิ่งขึ้น ผูม ีความเพยี รจกั ทําใหแ จงซึ่งความบรบิ รู ณแ ละความไพบลู ยแ หงปญญา ดวยปญญาอนั ยง่ิ ดว ยตนเองในปจ จุบัน เขา ถงึ อยู แตความอยูไ มสบาย. ดกู อ นโปฏฐปาทะ แตเ รื่องน้ที า นไมพ ึงเหน็ อยา งนั้น ทแี่ ทส งั กเิ ลสธรรมพวกทานจกั ละได โวทานธรรมจกั เจรญิ ยง่ิ ข้นึ ผมู คี วามเพยี รจักทําใหแ จง ซึ่งความบรบิ ูรณ และความไพบูลยแ หง ปญ ญา ดว ยปญ ญาอนั ยิ่งดว ยตนเองในปจ จุบนั เขา ถงึ อยูได ความปราโมทย ปติ ปสสทั ธิ สติสัมปชัญญะ จักเกดิ มีเปนการอยูอยา งสบาย. [๓๐๕] พ. โปฏฐปาทะ เราจะแสดงธรรม เพอื่ การละความไดอตั ตภาพแมท่ไี มม รี ูปวา พวกทา นปฏิบตั อิ ยางไร จึงจกั ละสงั กเิ ลสธรรมได โวทานธรรมจกั เจริญยิ่งข้ึน พวกทา นจกั ทําความบริบูรณแ ละความไพบูลยแหงปญ ญาใหแจง ดวยปญ ญาอันยงิ่ ดวยตนเองในปจ จบุ ัน เขาถึงอยู. ดูกอนโปฏฐปาทะ บางคราวทา นจะพงึ มคี วามเหน็ อยางนว้ี า สงั กิเลสธรรมเราจกั ละได โวทานธรรมจกั เจริญขึน้ ผูมคี วามเพยี รจักทําใหแ จงซึ่ง
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 173ความบรบิ ูรณแ ละความไพบลู ยแ หงปญ ญา ดว ยปญญาอันย่งิ ดว ยตนเองในปจจบุ นั เขาถงึ อยู แตค วามอยูไมสบาย. ดูกอนโปฏฐปาทะ แตเรอ่ื งน้ี ทานไมพึงเห็นอยางนั้น ทีแ่ ทส งั กเิ ลสธรรม พวกทานจักละได โวทานธรรมจกั เจรญิ ยง่ิ ขน้ึ ผูม คี วามเพียรจะทําใหแจง ซ่ึงความบรบิ รู ณ และความไพบูลยแ หง ปญ ญา ดว ยปญญาอนั ย่ิงดว ยตนเองในปจจบุ นั เขา ถึงอยู ไดความปราโมทย ปติ ปส สัทธิ สติสัมปชัญญะเปน การอยอู ยา งสบาย. [๓๐๖] โปฏฐปาทะ ถาเจาลทั ธิพวกอน่ื จะพึงถามพวกเราวา แนะทา น การไดอ ตั ตภาพที่หยาบ ซึ่งทา นแสดงธรรม เพอ่ื ใหล ะเสียวา พวกทา นปฏบิ ตั อิ ยา งไร จักละสงั กิเลสธรรมได โวทานธรรมจกั เจริญยิง่ และทา นทง้ัหลายจักทําใหแจงซงึ่ ความบรบิ รู ณไพบลู ยแ หง ปญญา ดวยความรูยง่ิ เฉพาะตัว ในปจจบุ ันแลว แลอยู เปนไฉน. พวกเราถูกถามแลว อยางน้ี พึงพยากรณแกเขาวา การไดอ ัตตภาพอันหยาบทเี่ ราแสดงธรรมเพ่อื ละเสียวา พวกทานปฏบิ ตั อิ ยางไรจักละสังกเิ ลสธรรมได โวทานธรรมจกั เจริญยงิ่ และทานทัง้หลายจกั ทําใหแจงซึง่ ความบรบิ ูรณไ พบูลยแ หงปญ ญา ดว ยความรูย ่งิ เฉพาะตวั ในปจจบุ ันแลวแลอยู อนั นแ้ี ล. [๓๐๗] โปฏฐปาทะ ถา เจาลัทธพิ วกอืน่ จะพงึ ถามพวกเราวา แนะทา น กก็ ารไดอ ตั ตภาพท่สี าํ เร็จดวยใจฯลฯ การไดอตั ตภาพทห่ี ารปู มิไดซ ง่ึ ทา นแสดงธรรมเพ่อื ใหล ะเสยี วา พวกทา นปฏบิ ัติอยา งไร ฯลฯ แลว แลอยู ดง่ั น้ีเปนไฉน. โปฏฐปาทะ ทานจะสาํ คญั ความขอนัน้ เปน ไฉน เม่อื เปนเชน น้ันภาษติ ก็ถงึ ความนา อศั จรรย มใิ ชหรือ. ป. แนนอน พระเจา ขา เม่ือเปน เชน นนั้ ภาษิตกถ็ งึ ความนาอัศจรรย. [๓๐๘] พ. โปฏฐปาทะ เชน เดียวกับบุรุษพึงทําบันได เพอ่ื ข้นึ สู
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 174ปราสาท. ทีใ่ ตปราสาทนน้ั ชนท้งั หลายจะพึงกลา วกะเขาวา แนะพอคณุปราสาททที่ า นทาํ บันไดเพ่ือจะขนึ้ ทานรูหรอื วา อยทู ิศตะวนั ออกหรือทศิ ใตทศิ ตะวนั ตกหรือทศิ เหนอื สงู หรือตํา่ หรือพอปานกลาง. ถา บุรษุ นน้ั จะพึงตอบอยา งนี้วา ปราสาทท่ีเราทาํ บันไดเพอ่ื จะขนึ้ อยูทใี่ ตป ราสาทน้ัน นีแ้ ล. โปฏฐปาทะ ทานจะสําคัญความขอ นั้นเปนไฉน เมือ่ เปน เชน น้ัน คําพดูของบรุ ษุ นัน้ กถ็ ึงความนา อัศจรรย มิใชห รอื . ป. แนนอน พระเจาขา คาํ พูดของบุรุษนัน้ กถ็ ึงความนาอศั จรรย. พ. โปฏฐปาทะ กฉ็ นั นน้ั เหมือนกัน ถาเจา ลัทธิอืน่ พึงถามพวกเราวา การไดอตั ตภาพที่หยาบ....ท่สี าํ เร็จดว ยใจ....ทีห่ ารปู มไิ ด.... ซ่ึงทานแสดงธรรมเพอื่ ใหละเสยี วา พวกทานปฏบิ ัตอิ ยา งไร ฯลฯ แลวแลอยู ดังนี.้ โปฏฐปาทะ ทา นจะสําคัญความขอ นัน้ เปน ไฉน เมอื่ เปนเชน นั้นภาษิตจะถงึ ความนา อศั จรรย มใิ ชหรอื . ป. แนนอน พระเจา ขา . [๓๐๙] เมือ่ พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสอยา งนแี้ ลว จิตตบ ตุ รควาญชางไดท ูลวา พระเจาขา สมยั ใด ไดอ ัตตภาพอันหยาบ สมัยน้ัน การไดอตั ตภาพที่สําเรจ็ ดว ยใจเปน โมฆะ การไดอ ตั ตภาพทีไ่ มมีรปู กเ็ ปน โมฆะในสมยั นน้ั พงึ มแี ตก ารไดอ ัตตภาพอนั หยาบ เปนสัจจะ กระน้นั หรอื ?และสมยั ใด ไดอตั ตภาพทีส่ ําเรจ็ ดว ยใจ สมยั นัน้ การไดอตั ตภาพอันหยาบเปน โมฆะ การไดอัตตภาพอนั ไมมีรปู กเ็ ปนโมฆะ ในสมัยนน้ั การไดอัตตภาพที่สําเร็จดว ยใจ เปน สัจจะ กระน้นั หรอื ? และสมยั ใด ไดอ ัตตภาพอนั ไมรปู สมัยน้ัน การไดอ ตั ตภาพอันหยาบเปน โมฆะ การไดอัตตภาพ
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 181ทรงเหน็ วา เวลายังเชา นกั จึงมพี ระดํารนิ ัน่ . บทวา ยนฺนนู าห ความวา เปนนบิ าตเหมอื นแสดงความสงสยั . กพ็ ระพุทธเจาท้ังหลายไมมคี วามสงสยั . แตนั้นเปนสว นเบอื้ งตนของพระปรวิ ติ กอยา งนี้วา เราจกั ทํากจิ น้ี จกั ไมท าํ กิจน้ีเราจักแสดงธรรมแกคนน้ี จักไมแสดงธรรมแกคนน้ี ยอมไดแ กพระพุทธเจาท้งั หลาย. ดว ยเหตุน้ัน จงึ ตรสั วา ยนฺนนู าห ความวา กถ็ า เรา. บทวา อุนนฺ าทินิยา ความวา อันดงั ลน่ั . กเ็ สยี งน้ันซงึ่ บันลืออยา งนี้ชื่อวา สูง ดว ยสามารถไปในสว นเบอ้ื งสูง ชือ่ วา เสยี งดงั ดวยสามารถกระจายไปในทศิ ทงั้ หลาย เพราะฉะน้นั ดว ยเสียงอันดงั ล่นั . จริงอยู เจติยวตั รโพธวิ ตั ร อาจริยวัตร อุปชฌายวัตร หรอื โยนโิ สมนสิการ อันชอ่ื วาควรลกุ ขึน้ ทาํ แตเชา ยอมไมมแี กปริพาชกเหลานน้ั . เพราะเหตนุ ัน้ ปริพาชกเหลา นนั้ ลกุ ขึ้นแตเชา ตรแู ลวน่ังในทม่ี แี สงแดดออน ปรารภถึงอวยั วะ มีมือและเทาเปนตน ของกันและกันอยางน้ีวา มอื ของคนน้งี าม เทาของคนน้ีงามหรอื ปรารภถงึ ผิวพรรณของหญิงชาย เด็กชายและเดก็ หญงิ ทัง้ หลาย หรือปรารภถึงวตั ถอุ ืน่ ที่มคี วามยินดใี นกามและความยนิ ดีในภพเปนตน ต้งั ถอ ยคําขน้ึ แลว กลาวตริ จั ฉานกถาตา ง ๆ มพี ูดถงึ พระเจาแผนดินเปน ตน โดยลําดบั .ดวยเหตุนน้ั ทานจงึ กลา ววา กลา วตริ ัจฉานกถาตา ง ๆ ดว ยเสยี งอันดงั ลน่ัดังนี้. ตอ แตนัน้ โปฏฐปาทปรพิ าชกมองดปู ริพาชกพวกน้ันคิดวา ปรพิ าชกเหลาน้ไี มเคารพตอ กันและกนั เลย และพวกเราก็จะเปนเหมอื นหงิ่ หอ ยเมอ่ืพระอาทิตยขึ้น จําเดิมแดพระสมณโคดมเสด็จมาปรากฏ แมลาภสกั การของพวกเรากเ็ ส่อื มไป ก็ถาสมณโคดม สาวกของพระโคดม หรอื คฤหสั ถผ ูบํารงุ สมณโคดมน้นั จะพึงมาสูส ถานท่นี ไี้ ซร ก็จกั มคี วามนา ละอายเหลอื เกิน
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 182อน่งึ โทษของบรษิ ัทแล จะตกอยูก บั หวั หนา บรษิ ทั เทานัน้ ดังน้ี เหลียวมองรอบ ๆ ก็เหน็ พระผมู พี ระภาคเจา. ดว ยเหตนุ นั้ ทานจึงกลา ววา โปฏฐปาท-ปริพาชกไดเ ห็นแลวแล ฯลฯ ปริพาชกเหลา นัน้ ไดพ ากนั น่งิ . ในบทเหลา น้ัน บทวา สณฺ เปสิ อธิบายวา ใหส ําเหนียกถึงโทษแหงเสียงนัน้ คอื ใหเ งียบเสียง พักเสยี งนนั้ โดยประการที่เสยี งจะตอ งเงยี บอยางด.ีเพื่อปกปดโทษของเสยี งนัน้ เหมอื นอยางบรุ ุษเขา มาสทู ามกลางบริษัท ยอมนงุ ผาเรยี บรอ ย หมผาเรยี บรอย เชด็ ถูสถานทีส่ กปรกดวยธุลเี พอื่ ปกปดโทษฉะนนั้ . บทวา อปฺปสทฺทา โภนฺโต ความวา เม่ือใหสาํ เหนียก ก็ใหเงียบเสยี งนั้นโดยประการท่ีเสียงจะเงยี บอยา งดี. บทวา อปปฺ สทฺ กาโม ความวาโปรดเสียงเบา คนหนง่ึ น่ัง คนหน่งึ ยนื ยอ มไมใ หเ ปน ไปดว ยการคลกุ คลีดว ยหมู. บทวา อุปสงกฺ มิตพฺพ มณฺเยยฺ ความวา สาํ คญั วาจะเสดจ็ เขามาในสถานนี้. ถามวา กเ็ พราะเหตุอะไร โปฏฐปาทปรพิ าชกนัน่ จงึ หวงั การเสดจ็เขา มาของพระผมู พี ระภาคเจา. แกว า เพราะปรารถนาความเจริญแกต น. ไดยนิ วา ปรพิ าชกทั้งหลาย คร้นั พระพุทธเจา หรือสาวกของพระพุทธ-เจา มาสูสํานกั ของตนแลว ยอ มยกตนขึน้ ในสํานักของผบู าํ รงุ ท้ังหลายของตนยอมต้งั ตนไวใ นทส่ี ูงวา ในวันนี้สมณโคดมเสดจ็ มาสูส ํานกั ของพวกเรา พระ-สารบี ตุ รกม็ า ทานไมไ ปยงั สาํ นักของใครเลย ทา นท้ังหลายพงึ ดคู วามยิง่ ใหญของพวกเรา ดงั น.ี้ ยอมพยายามเพ่ือคบอปุ ฎ ฐากทงั้ หลายของพระผมู พี ระ-ภาคเจาดวย. ไดย นิ วา ปรพิ าชกเหลา นั้นเห็นอปุ ฏ ฐากท้ังหลายของพระผูม ีพระภาคเจาแลว กลาวอยางนว้ี า ครูของพวกทานจะเปน พระโคดมกต็ าม จะเปนสาวกของพระโคดมกต็ าม เปน ผูเจริญยอมมาสสู าํ นกั ของพวกเรา พวกเราพรอมเพรียงกนั แตทา นท้ังหลายไมอยากมองดูพวกเราเลย ไมท ําสามจี ิกรรม
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 183พวกเรากระทําความผิดอะไรแกพวกทา นเลา. อนงึ่ มนุษยบางพวกคดิ วา แมพระพุทธเจาท้ังหลายยอ มไปสูสาํ นกั ของปรพิ าชกเหลา นั้นได ก็จะไปสูสํานกั ของพวกเราไดมิใชหรอื จําเดิมแตน ัน้ คร้นั เหน็ พระพุทธเจา ท้งั หลายแลว ก็ไมประมาท. บทวา ตุณฺหี อเหส ความวา พวกปรพิ าชกเหลา นั้น ลอมโปฏฐปาทะแลว พากันนั่งเงยี บ. บทวา สวฺ าคต ภนเฺ ต ความวา ขา แตพระองคผ เู จรญิ การเสด็จมาของพระผมู ีพระภาคเจาเปน การดี. ทา นแสดงไววา ก็ครั้นพดู พระผูม ีพระภาคเจาเสดจ็ มา กม็ คี วามยินดี ครน้ั เสดจ็ ไปก็เศรา โศก. ถามวา เพราะเหตอุ ะไรโปฏฐปาทะจงึ ทลู วา ขาแตพระองคผเู จริญ เปน เวลานานแล แมใ นกาลกอนพระผูมพี ระภาคเจาเคยเสดจ็ ไปในที่น้ันหรอื . ตอบวา ไมเคยเสดจ็ ไป. ก็มนษุ ยทัง้ หลายยอ มทักทายดว ยคาํ นารักเปนตนอยางนี้วา ทา นจะไปไหน ไปไหนมาทา นหลงทางหรอื ทา นมานานแลวหรือ ดงั น้ี เพราะเหตุนั้น โปฏฐปาทะ จึงทลู อยา งนั้น. ก็ครน้ั ทูลอยา งนีแ้ ลว เปน ผูไ มก ระดา งดว ยมานะนั่ง แตล กุจากอาสนะแลวทําการตอนรับพระผูมีพระภาคเจา. ดวยวา เห็นพระผมู พี ระ-ภาคเจาเสดจ็ เขา ไป แลวไมเ ช้ือเชญิ ดว ยอาสนะ หรือไมทาํ การออนนอม เปนการไดยาก. เพราะเหตุอะไร. เพราะความเปน ผูมีตระกูลสูง. ปรพิ าชกแมนี้ตบอาสนะที่ตนนง่ั แลว เม่ือทลู เชื้อเชญิ พระผูมพี ระภาคเจา ดวยอาสนะไดทูลวาขอพระผูม พี ระภาคเจาประทับน่งั เถดิ พระเจาขา นี่อาสนะไดแ ตงไวแ ลว ดงั นี.้ บทวา อนตฺ รากถา วปิ ปฺ กตา ความวา ทรงเปดเผยอยา งพระสัพพัญูวา ตั้งแตพวกทา นนงั่ มาแตต น จนถงึ เรามา สนทนากันเร่อื งอะไรทค่ี า งไวในระหวางนั้น คือ ถอ ยคําอะไรทย่ี งั ไมจบ เพราะเหตเุ รามาถงึ ขอพวกทานจงบอกเถิด เราจะนําถอ ยคํานนั้ แสดงใหจ บ. ลาํ ดับนั้น ปริพาชกแสดงวา
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 184กถาน้ันเปน กถาไรประโยชน ไมมีสาระ องิ อาศยั วฏั ไมค วรนํามากลา วเฉพาะพระพักตรของพระองค จงึ ทลู คาํ เปน ตน วา กถาน้ันจงงดเสยี เถดิ พระเจาขา. บทวา ตฏิ เตสา ภนฺเต ความวา ปรพิ าชกแสดงวา ถา พระผูม-ีพระภาคเจาจักประสงคจะฟงไซร กถานั่นจะทรงสดับภายหลังกไ็ ดไมย าก ก็ประโยชนด วยกถานี้ไมมีแกพวกขา พระองค แตพวกขา พระองคไ ดก ารเสด็จมาของพระผมู ีพระภาคเจาแลว จะทูลถามถึงเหตุการณด อี ยา งอื่นเทียว. ตอแตนน้ั เมอื่ จะทลู ถามเหตกุ ารณน ั้น จึงทูลคาํ เปนตน วา ปรุ มิ านิ ภนฺเต ดงั น้ี. ในบทเหลานัน้ บทวา โกตูหลสาลาย ความวา ศาลาแตล ะหลังช่ือวา ศาลาอลหมานไมม ี แตส มณะและพราหมณทัง้ หลาย ผถู อื ลทั ธติ าง ๆกลา วถอ ยคาํ ชนดิ ตา ง ๆ ใหเปนไปในศาลาใด ศาลานนั้ เรียกวา โกตูหลสาลาเพราะเปนสถานทเ่ี กิดความอลหมานสับสนแกช นมากวา คนนก้ี ลา วอะไร คนนีก้ ลา วอะไร. คําวา อภิ ในบทวา อภสิ ฺานิโรเธ นน้ั เปน เพียงอุปสรรค.บทวา สฺ านิโรเธ ความวา กถาเกิดข้ึนแลว ในจิตตนโิ รธ คอื ขณิกนโิ รธ.ก็คําวา สัญญานิโรธน้ี เปน เหตุการณเกดิ ขน้ึ แหง กถานนั้ . ไดยินวา ในกาลใด พระผมู พี ระภาคเจา แสดงชาดกหรือทรงบญั ญตั -ิสกิ ขาบท ในกาลนน้ั เสียงสรรเสรญิ เกยี รติคณุ ของพระผูมพี ระภาคเจาก็แผกระจายไปท่ัวชมพทู วีป. พวกเดียรถยี ไดฟ งเกียรติคณุ นั้นแลว ก็กระทํากริ ยิ าตรงขา มกับพระผมู พี ระภาคเจา วา นัยวา พระโคดมผูเจริญทรงแสดงบรุ พจรยิ าพวกเราไมสามารถเพื่อแสดงบุรพจรยิ าบางอยา ง เชน นนั้ บา งหรอื แสดงลทั ธิระหวา งภพหน่ึง. บญั ญัติสกิ ขาบทบางอยา งแกสาวกของตนวา พระโคดมผูเจริญไดบญั ญตั สิ ิกขาบทแลว พวกเราจะไมสามารถบัญญตั หิ รอื . กใ็ นกาลน้ันพระผมู พี ระภาคเจา ประทบั น่ังในทา มกลางบริษทั ทงั้ ๘ ทรงแสดงนิโรธกถา.
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 185พวกเดยี รถียไดฟ ง นิโรธกถานัน้ แลว พากนั ประชมุ กลา ววา นัยวา พระโคดมผเู จริญทรงแสดงกถาชอ่ื นโิ รธ แมพ วกเราก็จกั แสดง. ดว ยเหตนุ ั้นทา นจึงกลาววา กถาไดเ กิดแลว ในอภสิ ญั ญานิโรธ ดังน.้ี บทวา ตเตรฺ กจเฺ จ ความวา ในบรรดาสมณพราหมณน้ัน บางพวก. กใ็ นเร่อื งน้ี บรรพชติ ในลทั ธิเดียรถียภายนอกคนแรกบางคนเห็นโทษในความเปนไปของจิต เจริญสมาบตั วิ า ความไมมจี ติ สงบแลว จุตจิ ากโลกนไ้ี ปตกอยใู นอสญั ญภี พสน้ิ ๕๐๐ กัลป ก็มาเกดิ ในโลกนี้อีก เมอื่ ไมเหน็ความเกดิ ข้ึนของสัญญาและเหตใุ นความดับของคนน้ัน จึงกลาววา ไมมเี หตุไมมปี จ จยั . คนทีส่ องปฏเิ สธคาํ กลา วน้ัน ถอื เอาความทีม่ คิ สงิ คิดาบส ไมมสี ญั ญาจึงกลาววา มาสบู าง ไปปราศบาง. นัยวา มคิ สิงคดิ าบสสมีตบะรอ น มีตบะกลา มีอินทรียต ั้งมน่ั อยา งยงิ่ . ดว ยเดชแหง ศลี ของดาบสนั้น ทําใหว ิมานของทา วสักกะรอนได. ทาวสกั กะเทวราช ทรงคดิ วา ดาบสตอ งการตําแหนงทาวสักกะหนอแล จึงสง เทพกญั ญา นามวา อลมั พุสา ดวยเทพบญั ชาวา เธอจงมาทําลายตบะของดาบส. เทพกญั ญานน้ั ไปแลว ในท่ีน้นั . ดาบสเหน็ เทพ-กัญญาในวันแรก ก็หลีกไปสูบ รรณศาลา. ในวันทส่ี อง ดาบสถูกนีวรณค อื กามฉันทะกลุมรมุ จงึ จับมอื เทพกญั -ญานัน้ . ดาบสนัน้ ถกู ตองทิพยส มั ผสั นน้ั กส็ ้ินสัญญา ตอเมื่อลวงไปสามปจงึ กลบั ไดสญั ญา. เขาเหน็ มคิ สิงคิดาบสนั้นแลว มคี วามเห็นแนว แนส าํ คญั วาออกจากนิโรธโดยลว งไปสามป จึงกลาวอยางน้นั . คนทสี่ ามปฏิเสธคาํ กลา วของคนท่สี องน้นั มงุ ถึงการประกอบอาถรรพณจงึ กลาววา สวมใสบาง พรากออกบา ง ดังนี้. ไดย ินวา พวกอาถรรพณ
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 186ประกอบอาถรรพณ กระทําสัตวแสดงเหมอื นศีรษะขาดมอื ขาดและเหมือนตายแลว . เขาเหน็ สัตวน้นั เปนปกตอิ ีก จงึ มคี วามเหน็ แนวแนว า สัตวน ีอ้ อกจากนิโรธ จึงกลาวอยา งน้นั . คนท่สี ่คี ดั คา นคนที่สามมงุ ถึงการเมาและการหลบั ใหลของนางยกั ษทาสที งั้ หลาย จงึ กลาวคาํ เปนตนวา ดูกอ นผเู จริญก็เทวดาทัง้ หลายมีอยู ดงั นี.้ไดย นิ วา พวกนางยักษท าสที าํ การบํารงุ เทวดาตลอดทั้งคืน ฟอ นรํา รอ งเพลงในวนั อรุณขน้ึ ก็ดื่มสรุ าถาดหน่งึ กล้ิงไปมาหลับแลว ต่ืนในกลางวัน. เขาเหน็ เหตกุ ารณน ัน้ ก็มีความเห็นแนว แนส ําคัญวา ในเวลาหลบั ประกอบดวยนโิ รธ ในเวลาต่นื ออกจากนิโรธ ดงั นี้ จึงกลา วอยางนนั้ . ก็โปฏฐปาทปริพาชกน้เี ปนชาติบณั ฑติ ดว ยเหตนุ ัน้ เขามีความเดอื ดรอนเพราะฟงกถานี้ กถาของพวกนน้ั เปนเหมอื นถอยคําของแพะใบ ยอ มถงึ นโิ รธส่ีน่นั และธรรมดานโิ รธนีพ้ ึงมอี ยา งเดยี ว ไมพงึ มีมาก แมนโิ รธนนั้พงึ เปน อยา งอื่นอยา งเดยี วเทา นัน้ ก็เขาอันคนอ่ืนไมอ าจจะใหรูได นอกจากพระสพั พญั ู จงึ ระลกึ ถึงพระทศพลเทาน้นั มา ถา พระผูมพี ระภาคเจาจกั มีในท่ีนี้ กจ็ กั ระทาํ นิโรธใหปรากฏในวนั น้ที เี ดียว เหมอื นตามประทปี ต้ังพนั ดวงใหโชตชิ วงชัชวาล นีน้ ิโรธ นม้ี ิใชน โิ รธ เพราะฉะนัน้ จึงทูลคาํเปน ตนวา สติของขา พระองคน้นั พระเจาขา. ในบทเหลาน้ัน คําวา อโห นูน ทัง้ สองเปน นบิ าตลงในอรรถวาระลึกถงึ . ดวยเหตุนัน้ เขาเมอ่ื ระลกึ ถึงพระผูมพี ระภาคเจา จงึ มีสติอยางนี้วา นาเล่ือมใสจริงหนอ พระผมู พี ระภาคเจา นา เลอ่ื มใสจรงิ หนอ พระสุคต ในบทวาโย อิเมส นัน่ มอี ธบิ ายอยางน้วี า พระผูมีพระภาคเจา พระองคใ ด ทรงฉลาดดีคอื ฉลาดดวยดี เฉยี บแหลม เฉลยี วฉลาดในนโิ รธธรรมเหลา นั้น โอหนอ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 187พระผูม ีพระภาคเจา พระองคน ัน้ พงึ ตรัส โอหนอพระสุคตพระองคนน้ั พึงตรัส.บทวา ปกตฺ ู ความวา พระผูมีพระภาคเจาเชอื่ วา ทรงรูปกติ คอื สภาพเพราะความทีพ่ ระองคทรงฉลาดเปนเนือ่ งนิตย เพราะฉะนั้น พระองคจึงชื่อวา ปกตญั ู ทรงรชู ํา่ ชอง. ปรพิ าชกเม่อื จะทลู ขอวา ขา แตพระผูมพี ระภาคเจาขาพระองคไมรู พระองคทรงรู โปรดตรัสบอกแกขาพระองคเถดิ จงึ กลาวคํานว้ี า กอ็ ภสิ ัญญานิโรธเปน ไฉนหนอ พระเจาขา . คร้นั พระผมู พี ระภาคเจาจะทรงแสดง จึงตรสั วา ตตรฺ โปฏ ปาท เปนตน . ในบทเหลานี้ บทวา ตตรฺ ความวา ในสมณพราหมณเ หลา นัน้ .บทวา อาทิโต ว เตส อปรทฺธิ ความวา ความเห็นของพวกน้ันผิดแตตน ทีเดียว. ทานแสดงวา ผิดพลาดในทา มกลางเรอื นทเี ดยี ว. เหตุก็ดี ปจจยั ก็ดีในบทนี้วา สเหตุสปฺปจฺจยา เปนชื่อของเหตกุ ารณน ัน้ เทียว. ความวา มีการณ. ก็เมือ่ จะทรงแสดงการณนัน้ จงึ ตรัสวา สกิ ขฺ า เอกา. ในบทเหลานั้นบทวา สกิ ฺขา เอกา สฺ า อุปฺปชชฺ ติ ความวา สัญญาบางอยางยอ มเกิดข้ึนเพราะศึกษา. บทวา กา จ สิกขฺ าติ ภควา อโวจ ความวา กส็ กิ ขาน้นั เปนอยางไร เพราะฉนนั้ พระผมู ีพระภาคเจา จึงตรสั ดว ยอํานาจการถามเพราะมีพระประสงคจ ะใหส กิ ขานัน้ พิสดาร. อน่งึ เพราะสกิ ขามีสามประการคอื อธิสีลสกิ ขา อธจิ ิตตสกิ ขาอธปิ ญญาสกิ ขา เพราะฉะน้ันพระผูมพี ระภาคเจา เมอ่ื จะทรงแสดงสกิ ขาเหลา นั้นจงึ ทรงต้งั ตนั ตธิ รรมจาํ เดมิ แตการเสด็จอบุ ัติของพระพทุ ธเจา เพ่ือทรงแสดงนโิ รธเกิดขึ้นอยางมเี หตุเพราะสัญญา จึงตรสั วา ดกู อ นโปฏฐปาทะ พระตถาคตอบุ ัติข้ึนโลกนเ้ี ปน ตน . บรรดาสิกขาทั้งสามนนั้ สกิ ขาสองอยา งนี้คอื อธ-ิลลี สิกขา อธิจิตตสิกขา เทานนั้ มาโดยยอ สวนสกิ ขาทสี่ ามพึงทราบวามาแลว
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 188เพราะเปนสิกขาทเ่ี กย่ี วเน่ืองดว ยอํานาจแหง สมั มทฏิ ฐแิ ละสมั มาสงั กปั ปะในพระบาลีน้วี า ดูกอ นโปฏฐปาทะ ธรรมโดยสว นเดยี วอนั เราแสดงแลววา นี้ทุกขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา ดงั น้แี ล. บทวา กามสฺ า ไดแกร าคะอันระคนดวยกามคุณหาบาง กาม-ราคะอนั เกิดขึ้นไมสม่าํ เสมอบา ง. ในสองอยา งนั้น ราคะอนั ระคนดวยกามคุณหา ยอ มถงึ การกาํ จัดดวยอนาคามิมรรค สว นกามราคะอนั เกิดขึน้ ไมสมํา่เสมอยอ มเปน ไปในฐานะนี้ เพราะฉะนั้น บทวา ตสสฺ ยา ปุริมา กามสฺาจึงมีอรรถวา สญั ญาใดของภกิ ษุนนั้ ผปู ระกอบพรอมดวยปฐมฌาน พงึ เรยี กวา สญั ญาเก่ียวดว ยกามมใี นกอ น เพราะเปนเชนกับกามสญั ญาทเ่ี คยเกดิ ในกาลกอ น สญั ญานัน้ ยอมดับ และท่ีไมเกิดแลว กย็ อมไมเ กิด. บทวา วิเวก-ชปตสิ ุขสุขมุ สจจฺ สฺา ตสฺมึ สมเย โหติ ความวา สัญญาอนั ละเอียดกลาวคอื มีปตแิ ละสขุ อนั เกดิ แตว เิ วกในสมยั ปฐมฌานนัน้ เปนสัจจะ คอื มีจรงิ .อนง่ึ สญั ญาน้นั อนั ละเอียดดว ยสามารถละองคอนั หยาบมีกามฉนั ทะเปน ตนและช่อื วา เปนสัจจะ เพราะเปน ของมีจรงิ เพราะฉะนนั้ สญั ญาน้ัน จึงเปนสญั ญาในสจั จะอนั ละเอยี ด สญั ญาในสจั จะอันละเอยี ดท่ีสมั ปยตุ ดว ยปตแิ ละสุขอันเกิดแตวเิ วก เพราะฉะน้นั จึงชื่อวา วเิ วกปตสิ ุขสขุ มุ สจั จสัญญา.สัญญานั้นของภิกษุมีอยู เพราะฉะน้นั ภิกษนุ ัน้ จึงช่ือวา มสี ญั ญาในสจั จะอนั ละเอยี ดมปี ต แิ ละสุขอันเกิดแตว เิ วก พงึ เหน็ อรรคในบทนน้ั เพียงเทา นี้.ในบทท้ังปวงกม็ นี ยั เชนนน้ั . ในบทวา เอว ป สกิ ฺขา นั้น ความวา เพราะภกิ ษเุ ขา ถึงและอธิษฐานปฐมฌานศกึ ษาอยู เพราะฉะนนั้ ปฐมฌานนั้นเรยี กวา สิกขา เพราะเปนกิจทค่ี วรศกึ ษาอยา งน้ี สัญญาในสัจจะอันละเอยี ดมีปตแิ ละสุขอันเกดิ แตวเิ วกบาง
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 189อยาง ยอ มเกดิ ข้ึนอยางนี้ ดวยปฐมฌานกลา วคือสิกขาแมนนั้ กามสญั ญาบางอยางยอมดบั อยางน้.ี บทวา อย สิกฺขาติ ภควา อโวจ ความวา พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา นก้ี เ็ ปนสิกขาอยางหน่ึงคอื ปฐมฌาน. พึงเหน็ เน้อืความในบททง้ั ปวง โดยทาํ นองน้นั . กเ็ พราะการพจิ ารณาโดยองคแ หง สมาบัติที่แปดยอมมีพระพุทธเจาท้งั หลายเทา น้ัน ยอ มไมมีแกสาวกท้ังหลาย แมเชน กบั พระสารบี ุตร แตก ารพิจารณาโดยรวมกลุม เทา น้ันยอมมแี กสาวกทัง้ หลาย และการพิจารณาโดยองคอยางนี้วา สัญญา สญั ญา น้ีไดย กขึ้นแลว เพราะฉะน้ัน พระผูมีพระภาคเจาจงึ ตรสั วา ดกู อ นโปฏฐปาทะ เพราะภิกษุ ฯลฯ ถงึ ยอดสัญญา ดงั น้ี เพื่อทรงแสดงอากญิ จัญญายตนสัญญาอนั ยอดเยย่ี มแท แลว แสดงสญั ญาน้ันอีกวายอดสัญญา. ในบทเหลานนั้ บทวา ยโต โข โปฏปาท ภกขฺ ุ ความวา ดกู อนโปฏฐปาทะ ภกิ ษุช่ือใด. บทวา อธิ สกสฺี โหติ ความวา ภิกษใุ นพระศาสนานี้มีสกสัญญา. อกี ประการหน่งึ บาลกี เ็ ปนอยา งน้ี ความวา ภกิ ษุมีสัญญาดว ยสญั ญา ในปฐมฌานของตน. บทวา โส ตโต อมุตรฺ ตโต อมุตฺรความวา ภกิ ษนุ ั้นมีสกสญั ญา ดวยฌานสญั ญานั้น ๆ อยางน้คี อื ออกจากปฐมฌานนน้ั แลว มสี ัญญาในทตุ ิยฌานโนน ออกจากทุตยิ ฌานนั้นแลว มีสัญญาในตตยิ ฌานโนน โดยลาํ ดบั ไปถงึ ยอดสัญญา. อากญิ จญั ญายตนะ เรยี กวาสัญญคั คะยอดสัญญา. เพราะเหตุอะไร. เพราะเปนองคท่ีสดุ แหงสมาบัตทิ ีม่ ีหนา ที่ทาํ กิจอนั เปนโลกีย. กภ็ ิกษุต้ังอยูในอากญิ จญั ญาจตนสมาบตั แิ ลว ยอ มเขาถึงเนวสญั ญานาสญั ญายตนสมาบตั ิบาง นิโรธสมาบตั ิบา ง. อากญิ จญั ญาย-ตนสัญญาน้นั เรียกวา ยอดสัญญา เพราะเปนองคท่สี ดุ แหง สมาบัตทิ มี่ ีหนาท่ี
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 190ทาํ กจิ อนั เปน โลกีย ดวยประการฉะน้.ี ความวา พระภิกษุถึงคอื บรรลยุ อดสัญญานน้ั . บัดน้ี เพื่อทรงแสดงอภสิ ญั ญานิโรธ จึงตรัสวา เมอ่ื เธอต้งั อยูในยอดสัญญาเปน ตน . ในบทเหลา น้ันความวา ภิกษเุ ขาถงึ ฌานในสองบทวาเราพงึ จาํ นง เราพงึ มุงหวงั ชือ่ วายอมคิด คอื ใหส ําเรจ็ บอย ๆ. ภกิ ษุกระทาํความใคร เพอื่ ประโยชนแ กสมาบัตชิ ั้นสงู ขึ้นไป ชื่อวา พึงมุงหวัง. บทวาอิมา จ เม สฺา นริ ุชฺเฌยยุ ความวา อากญิ จญั ญายตนสัญญาน้ี พึงดับ.บทวา อฺา จ โอฬาริกา ความวา และภวงั คสัญญา อนั หยาบอยา งอื่นพึงเกดิ ขนึ้ . ในบทนี้วา เธอจึงไมจ ํานงดวยทงั้ ไมมุงหวงั ดวย ภกิ ษุนนั้ เม่อืจาํ นง ชือ่ วาไมจ าํ นง เมื่อมุงหวัง ชื่อวา ไมมงุ หวังแนแ ท การพิจารณาโดยผูกใจวา เราออกจากอากิญจญั ญายตนแลว เขา ถงึ เนวสญั ญานาสญั ญายตนตง้ั อยชู ั่ววาระจิตหนง่ึ สอง ยอมไมมีแกภ กิ ษุน้ี แตยอ มมเี พอื่ ประโยชนแกนโิ รธสมาบตั ิชนั้ สงู เทา นนั้ . เน้ือความนน้ี ้ัน พงึ แสดงดวยการมองดเู รอื นของบตุ ร. ไดยนิ วา พระเถระถามภกิ ษหุ นุมผูไปโดยทา มกลางเรือนของบิดาแลวนาํ เอาโภชนะอนั ประณตี จากเรอื นของบตุ รในภายหลังมาสอู าสนศาลาวา บิณ-ฑบาตซึง่ นา พอใจอนั เธอนํามาจากทีไ่ หน. เธอจึงบอกเรือนทไี่ ดโภชนะวาจากเรือนคนโนน. กเ็ ธอไปแลว ก็ดี มาแลวกด็ ี โดยทา มกลางเรอื นบิดาใด แมความผูกใจของเธอในทามกลางเรือนน้ัน ยอมไมม .ี ในเร่อื งน้ัน พึงเหน็อากญิ จัญญายตนสมาบตั ิ เหมือนอาสนศาลา. เนวสญั ญานาสัญญายตนสมาบัติเหมอื นเรือนของบิดา นโิ รธสมาบตั เิ หมอื นเรอื นของบตุ ร การท่ไี มพจิ ารณาโดยแยบคายวา เราออกจากอากิญจัญญายตนแลว เขา ถึงแนวสัญญานาสญั ญาย
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 191ตนจักต้งั อยชู ว่ั วาระจิตหนงึ่ สองแลวมนสกิ าร เพือ่ ประโยชนแกน ิโรธสมาบตั ิช้ันสูงเทานั้น เปรียบเหมอื นการยืนอยใู นอาสนศาลา ไมส นใจถงึ เรอื นของบิดาแลวบอกเรือนของบุตรฉะนนั้ . ภิกษุน้นั เมื่อจาํ นง ก็ชอื่ วา ยอ มไมจาํ นงเม่ือมุงหวงั กช็ ่อื วา ยอ มไมม ุงหวงั ดว ยประการฉะน้.ี บทวา ตา เจว สฺา ความวา ฌานสัญญาน้ันยอ มดับ. บทวาอฺา จ ความวา ท้งั ภวังคสญั ญาอยางหยาบอน่ื ยอ มไมเกดิ ข้ึน. บทวาโส นโิ รธ ผสุ ติ ความวา ภิกษนุ ้ันปฏิบัตอิ ยา งน้ี ยอมถึง คอื ยอมได ยอมไดรับสัญญาเวทยิตนโิ รธ. คาํ วา อภิ ในบทวา อนุปพุ ฺพาภสิ ฺ านโิ รธสมฺป-ชานสมาปตฺตินั้น เปน เพยี งอปุ สรรค. บทวา สมฺปชาน ไดกลาวไวในระหวา งนิโรธบท. ก็ในบทวา สมฺปชานสฺ านิโรธสมาปตฺติ นั้นมีเน้ือความตามลําดบั ดงั น้.ี แมใ นบทนนั้ บทวา สมปชานสฺานีโรธสมาปตตฺ ิ มอี รรถพิเศษอยา งน้ีวา สญั ญานิโรธสมาบัตใิ นที่สุด ยอมมแี กภิกษผุ รู ตู วั อยู หรือแกภิกษุผูเปน บณั ฑิตรูตวั อยู. บดั น้ี ทา นทีอ่ ยูในทน่ี ้ี พึงแสดงนิโรธสมาบตั ิกถา. ก็นิโรธสมาบตั กิ ถาน้นี ั้น ไดแ สดงไวแลว ในหัวขอ วาดวยอานิสงสแ หงการเจริญปญญา ในวิสทุ ธิมรรคโดยอาการทัง้ ปวง. เพราะฉะน้นั พงึ ถอื เอาจากท่ีกลาวแลว ในวสิ ทุ ธิมรรคนน้ั . พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสนิโรธกถาแกโปฏฐปาทปรพิ าชกอยา งนีแ้ ลวตอมา เพือ่ ใหโ ปฏฐปาทปริพาชกนน้ั รับรูถงึ กถาเชนนัน้ ไมมีในท่อี ืน่ จงึ ตรัสวาเธอสําคัญความขอนัน้ เปน ไฉนเปนตน. ฝา ยปริพาชกเมือ่ จะทลู รับรูวา ขา แตพระผูมพี ระภาคเจา ในวนั น้ี นอกจากกถาของพระองคแลว ขาพระองคไ มเ คยไดฟงกถาเหน็ ปานน้ีเลย จึงทลู วา หามไิ ดพระเจาขา เมื่อจะแสดงถึงความท่ีกถาของพระผมู ีพระภาคเจา ตนไดเรียนโดยเคารพอีก จึงทูลวา ขาพระองคร ู
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 192ท่วั ถึงธรรมดว ยอาการอยา งน้แี ล เปน ตน . ลาํ ดับนั้น พระผมู ีพระภาคเจา เมือ่จะทรงอนุญาตแกป รพิ าชกน้ันวา เธอจงรบั ไวดว ยดเี ถดิ จงึ ตรัสวา อยางนนั้โปฏฐปาทะ. ครัง้ นน้ั ปรพิ าชกคิดวา อากิญจญั ญายตนะอนั พระผูม พี ระภาคเจาตรัสวา ยอดสญั ญา อากิญจัญญายตนะเทานัน้ หนอแล เปนยอดสญั ญา หรือวา ยงั มียอดสัญญาแมใ นสมาบัตทิ ่เี หลืออกี เมอื่ จะทูลถามอรรถน้นั จึงทลู วา อยา งเดยี วเทา น้นั หรอื หนอแล เปน ตน . ฝายพระผมู ีพระภาคเจา ทรงแกค ําถามของปริพาชกน้นั แลว. บรรดาบทเหลา น้นั บทวา ปุถปู ไดแกม ากกม็ ี. บทวายถา ยถา โช โปฏ ปาท นิโรธ ผุสติ ความวา ดว ยกสิณใด ๆ ในบรรดากสณิ ทงั้ หลายมีปฐวกี สณิ เปน ตน หรือดว ยฌานใด ๆ บรรดาฌานทัง้ หลายมีปฐมฌานเปน ตน . ทา นกลาวอยางน้วี า ก็ถาภิกษเุ ขาถงึ ปฐวีกสิณสมาบัตดิ วยปฐวกี สณิ เปนเหตเุ พียงครั้งเดยี ว ยอมถึงสญั ญานโิ รธอันกอ น ยอดสญั ญาก็มีอันเดยี ว ถา เขาถงึ สองครง้ั สามครง้ั รอยครั้ง พันครงั้ หรอื แสนคร้ังก็ยอ มถงึ สัญญานโิ รธอนั กอ น ยอดสญั ญาก็มถี ึงแสน. ในกสณิ ท่ีเหลือทั้งหลายกม็ ีนัยเชน เดยี วกนั . แมในฌานทงั้ หลาย ถา เขา ถงึ สญั ญานโิ รธอนั กอนดว ยปฐมฌานเปน เหตเุ พียงคร้ังเดยี ว ยอดสัญญาก็มีอยา งเดียว ถา เขาถงึ สัญญา-นโิ รธอนั กอนสองครง้ั สามครัง้ รอยคร้ัง พันคร้งั หรอื แสนคร้ัง ยอด-สญั ญาก็จะมีถึงแสน. ในฌานสมาบัตทิ เ่ี หลือท้ังหลายกน็ ยั นี้. ยอดสญั ญายอ มมีหนง่ึ ดวยอาํ นาจการเขา ถงึ เพยี งครง้ั เดยี ว หรือเพราะสงเคราะหวารแมทั้งปวงดว ยลักษณะแหง การรจู ํา. ยอดสัญญายอมมีมากดวยสามารถการเขา ถงึบอ ย ๆ. บทวา สฺ า นโุ ข ภนเฺ ต ความวา ปริพาชกทลู ถามวา สัญญาของ
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 193ภิกษุผูเ ขาถงึ นโิ รธ ยอมเกดิ ขึ้นกอนหรือพระเจา ขา . พระผมู ีพระภาคเจาทรงพยากรณแกปรพิ าชกนน้ั วา สญั ญาแลเกิดกอน โปฏฐปาทะ. บรรดาบทเหลาน้นั บทวา สฺ า ไดแกฌ านสญั ญา. บทวา าณ ไดแก วปิ สสนา-ญาณ. อกี นัย. บทวา สาฺ ไดแ ก วิปส สนา. บทวา าณ ไดแ กมรรคสญั ญา. อกี นยั . บทวา สฺา ไดแ ก มรรคสญั ญา. บทวา าณไดแกผลญาณ. ก็พระมหาสิวเถระทรงไตรปฎ กกลาววา ภิกษเุ หลานีพ้ ูดอะไรกัน โปฏฐปาทะไดท ลู ถามนิโรธกะพระผมู พี ระภาคเจา มาแลว บัดนี้ เมอ่ืจะทูลถามถงึ การออกจากนโิ รธ จึงทูลวาขาแตพ ระผมู พี ระภาคเจา เมือ่ ภกิ ษุออกจากนโิ รธ อรหัตตผลสัญญาเกดิ กอ น หรอื วา ปจ จเวกขณญาณเกดิ กอนลําดบั น้นั พระผูมีพระภาคเจา ตรัสแกปริพาชกน้นั วา ผลสญั ญาเกิดกอ นปจจเวกขณญาณเกิดทหี ลงั เพราะฉะนนั้ สัญญาแลเกดิ กอ น โปฏฐปาทะดังน้ีเปนตน. ในบทเหลา นัน้ บทวา สฺ ปุ ฺปาทา ความวา ความเกิดขึน้ แหงปจ จเวกขณญาณยอมมอี ยางนว้ี า เพราะอรหตั ตผลสัญญาเกิดขนึ้ อรหัตตผลน้ีจึงเกดิ ทีหลัง. บทวา อทิ ปปฺ จจฺ ยา กิร เม ความวา นยั วา ปจจเวกขณญาณไดเ กิดขนึ้ แลวแกเ รา เพราะผลสมาธิสัญญาเปนปจจยั . บัดนี้ สกุ รบา นถูกใหอ าบในนํ้าหอม ลูบไลด วยเคร่อื งหอม ประดับประดาพวงมาลา แมย กใหน อนบนทนี่ อนอนั เปนสิริ ก็ไมไดความสขุ ปลอ ยใหไปสูสถานคถู โดยเรว็ ยอ มไดค วามสขุ ฉันใด ปรพิ าชกก็ฉันนนั้ เหมือนกันถกู พระผูมีพระภาคเจาใหอ าบ ลบู ไล ประดับประดาดวยเทศนาท่ปี ระกอบดว ยไตรลักษณอนั ละเอยี ดสขุ มุ บาง ยกข้ึนสูท ี่นอนอันเปนสริ คิ อื นโิ รธกถา เมอื่ ไมไดความสขุ ในนโิ รธกถานั้น ถอื เอาลัทธขิ องตนเชน เดียวกับสถานคถู เม่อื
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 194จะทูลอรรถนน้ั เทยี ว จึงทลู วา พระเจา ขา สัญญาหนอแลเปน ตนของบรุ ษุ ดงั นี้เปน ตน ลําดับน้ัน พระผมู ีพระภาคเจา ทรงถือมติเล็กนอ ยของปรพิ าชกน้ันมีพระประสงคจะพยากรณ จงึ ตรัสวา กเ็ ธอปรารถนาตนอยา งไร เปนตน.โดยทปี่ รพิ าชกนน้ั เปน ผูม ลี ัทธอิ ยา งนีว้ า ตนไมม ีรูป จงึ คดิ วา พระผมู พี ระ-ภาคเจา ทรงฉลาดดใี นการแสดงพระองคค งไมก ําจดั ลัทธขิ องเราตั้งแตต น เทยี วเมื่อจะนําลทั ธขิ องตน จึงทูลวา อันหยาบแลเปน ตน . ครัน้ พระผูม พี ระภาคเจาจะทรงแสดงโทษในลัทธินนั้ แกป รพิ าชกน้นั จึงตรสั คาํ เปนตนวา กต็ นของเธอหยาบ ดงั น.้ี บรรดาบทเหลา น้นั บทวา เอว สนฺต ความวา คร้นั เมอ่ื เปนอยางนน้ั .จรงิ อยูคาํ น้นั เปน ทุติยาวิภัตตลิ งในอรรถแหง สตั ตมวี ภิ ตั ติ. อกี อยางหนง่ึ ในบทนวี้ า ครนั้ เม่อื เปนเชนนัน้ เมื่อเธอปรารถนาตนมอี รรถดังน้.ี ทา นกลา ววากเ็ พราะความที่ขนั ธ ๔ เกิดพรอ มกบั ดบั พรอมกัน สญั ญาใดเกดิ สัญญานนั้ ดบักเ็ พราะอาศยั กนั และกัน สญั ญาอ่ืนเกดิ และสญั ญาอื่นดบั . บดั นี้ ปรพิ าชกเมือ่ จะแสดงลัทธอิ น่ื จงึ กลาวคําวา ขา แตพ ระองคผูเจรญิ ขา พระองคปรารถนาตนอนั สาํ เรจ็ ดวยใจแล ดังน้ีเปนตน ครัน้ แมในลัทธนิ ้นั ใหโทษแลว ถือลัทธิอนื่ ละลทั ธิอนื่ เม่อื จะกลา วลทั ธิของตนในบัดนี้ จึงทลู วา ไมมีรูปแล ดังน้ีเปนตน เหมอื นคนบาถือสัญญาอืน่ สละสญั ญาอ่นื ตราบเทาท่สี ญั ญาของเขาไมต งั้ มน่ั แตจะกลา วคาํ ทค่ี วรกลา วในกาลท่มี ีสัญญาตงั้ ม่ัน. ในลัทธแิ มน ั้น เพราะเขาปรารภความเกดิ และความดับแหงสญั ญา แตส าํ คญั ตนวาเทย่ี ง เพราะฉะนัน้ พระผูม ีพระภาคเจา เมือ่ ทรงแสดงโทษแกปรพิ าชกอยางนั้น จึงตรัสวา ครั้นเปนอยางนน้ั เปน ตน . ลําดบั นัน้ปรพิ าชกไมรูตนตา ง ๆ น้นั แมท ี่พระผูมพี ระภาคเจา ตรัส เพราะความทตี่ นถูก
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 195ความเห็นผิดครอบงาํ จงึ ทลู วา ก็ขา พระองคอาจทราบไดหรือไมว า สญั ญาเปน ตน ของบุรุษ หรอื สัญญาก็อยา งหน่ึง ตนก็อยา งหนงึ่ ดงั นเ้ี ปน ตน.ลําดับนั้น เพราะปริพาชกน้ันแมเหน็ อยซู ่ึงความเกิดและความดับแหงสญั ญาจึงสําคญั ตน อนั สําเร็จดวยสัญญาเปนของเทย่ี งทีเดยี ว เพราะฉะนั้น พระผูพระภาคเจาจึงตรสั คําวา รูไดย าก เปนตนแกป รพิ าชกนน้ั . ในบทนนั้ เนือ้ ความโดยยอ ดงั นี้ เธอมที ฏิ ฐเิ ปน อยา งอื่น มีขันติเปนอยางอน่ื มีความชอบใจเปนอยา งอนื่ มที สั นะเปนไปโดยประการอ่ืนและทัสนะอยางอ่นื ควรแกเ ธอ และพอใจแกเธอ มีความพยายามในลทั ธิอน่ื มอี าจารยใ นลัทธิอน่ื เพราะความท่ปี ระกอบความขวนขวายปฏบิ ตั ิอยางอืน่ คือความเปน อาจารยในลัทธิเดยี รถยี อยา งอ่นื ดวยเหตนุ นั้ ขอ ที่วา สญั ญาเปน ตนของบรุ ุษ หรือสญั ญาก็อยา งหนึง่ ตนก็อยางหนง่ึ ดังน้ันนั่น อันเธอผมู ีทิฏฐิอยางอ่ืนมขี ันติเปนอยางอ่ืน มคี วามชอบใจเปน อยา งอ่นืมคี วามพยายามในลัทธอิ ืน่ มีอาจารยในลัทธิอ่นื รไู ดย ากนกั . ลําดับนน้ั ปริพาชกคดิ วา สัญญาเปนตนของบุรษุ หรอื วา สัญญาเปนอยา งอน่ื เราจักทูลถามถึงความทตี่ นนั้นเปนของเท่ียงเปน ตน นน่ั จึงทูลอกี วา กึ ปน ภนเฺ ต เปน ตน . บรรดาบทเหลาน้นั บทวา โลโก ความวาปริพาชกกลา วหมายถึงตน. บทวา น เหต โปฏปาท อตถฺ สฺหติ ความวาดกู อ นโปฏฐปาทะ ขอนั่นอิงทฏิ ฐิ ไมป ระกอบดวยประโยชนใ นโลกนี้หรอืในโลกอ่นื ไมประกอบดว ยประโยชนต นและประโยชนค นอ่นื . บทวาน ธมมฺ สฺหติ ความวา ไมประกอบดวยโลกุตตรธรรมเกา. บทวาน อาทพิ รฺ หมจฺ รยิ ก ความวา ไมเ ปน เบื้องตนแหง พรหมจรรยในศาสนากลาวคือไตรสิกขา ท้ังไมเ ปนอธลิ ีลสกิ ขาดวย บทวา น นพิ ฺพทิ าย ความวา
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 196ไมเปนไปเพอื่ ประโยชนแหง ความเบื่อหนายในสงั สารวัฏ. บทวา น วิราคายความวา ไมเ ปนไปเพอ่ื ประโยชนแ หง การสํารอกวัฏ. บทวา น นิโรธธายความวา ไมเปนไปเพ่ือประโยชนแหงการกระทาํ การดบั วฏั . บทวาน อปุ สมาย ความวา ไมเ ปน ไปเพอื่ ประโยชนใ นการสงบระงบั วฏั . บทวาน อภิฺาย ความวา ไมเปนไปเพ่อื รแู จง ซึ่งวัฏ คือ เพ่ือกระทาํ ใหป ระจักษ.บทวา น สมฺโพธาย ความวา ไมเ ปน ไปเพอ่ื ประโยชนแ กก ารรูชอบซ่งึ วฏั .บทวา น นิพพฺ านาย ความวา ไมเปน ไปเพ่ือกระทําใหป ระจักษ ซ่งึ อมต-มหานิพพาน. ในบทวา นท้ี ุกข เปนตน มอี รรถวา ขนั ธหา อันเปน ไปในภมู ิสามเวน ตัณหา เราพยากรณว าทุกข ตณั หาอันมขี นั ธหา น้ันเปนปจ จัย เพราะเปนบอ เกดิ แหง ทกุ ขน ้นั เราพยากรณว า ทุกขสมทุ ยั ความไมเปนไปแหงขันธ และตัณหาทั้งสองนั้น เราพยากรณวา ทกุ ขนิโรธ มรรคมอี งคแ ปดอนั ประเสริฐ เราพยากรณว า ทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทา. กพ็ ระผมู พี ระภาคเจาครนั้ ตรสั ดังนแ้ี ลว ทรงดาํ รวิ า ชื่อวา ความปรากฏแหง มรรคหรือการกระทําใหแจงซงึ่ ผล ไมม แี กป ริพาชกน้ี และเปน เวลาภกิ ษาจารของเราแลว จงึ ทรงน่งิ เสยี . ฝายปรพิ าชกรพู ระอาการนัน้ เหมือนจะทลู บอกถึงการเสดจ็ ไปของพระผมู พี ระภาคเจา จงึ ทลู วา เอวเมต เปน ตน. บทวา วาจาย สนฺนิปโตทเกน ความวา ดวยปฏักคอื ถอยคํา. บทวาสฺชมภฺ ริมภ สุ ความวา ไดท ําการเสยี ดแทงโปฏฐปาทปรพิ าชกโดยรอบคือกระทบเนอ่ื งนติ ย. ทา นกลา ววา เสยี ดแทงเบือ้ งบน. บทวา ภูต ความวา มอี ยูโดยสภาพ. บทวา ตจฉฺ ตถ เปนไวพจนข องบทนน้ั แล. บทวา ธมมฺ ฏ ิตต ความวา สภาพตง้ั อยใู นโลกตุ ตรธรรมเกา .
พระสุตตันตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 197บทวา ธมมฺ นิยามต ความวา แนน อนถกู ตอ งตาม ทํานองคลองโลกตุ ตรธรรม.จรงิ อยู ขน้ึ ช่ือวา กถาทีพ่ น จากสจั จะท้ังส่ี ยอ มไมม ีแกพ ระพุทธเจาทงั้ หลายเพราะฉะน้นั กถาจงึ เปน เชน น้ี. บทวา จิตโฺ ต จ หตถฺ ิสารปิ ตุ โฺ ต ความวา ไดย ินวาจิตตหัตถิสารบี ตุ รนน้ั เปนบตุ รของควาญชางในกรุงสาวตั ถี บวชในสาํ นักของพระผูมีพระภาคเจา เลาเรียนไตรปฎ ก เปนผฉู ลาดในระหวา งแหง อรรถทงั้ หลายอนั ละเอียด.แตบ วชแลว สกึ เปนคฤหสั ถถ ึงเจด็ ครง้ั ดว ยอํานาจแหง บาปกรรมท่เี คยกระทําไวในกาลกอ น. ไดย ินวา ในพระศาสนาของพระสัมมาสัมพทุ ธเจา พระนามวา กัสสปะยงั มีสหายสองคนพรอ มเพียงกนั สาธยายรว มกนั . ในสหายทัง้ สองน้ัน สหายคนหน่งึ ไมค วามยนิ ดี ยงั จติ ใหเ กิดข้ึนในความเปน คฤหสั ถ จึงกลาวแกสหายอกี คนสหายคนหน่ึงนนั้ แสดงโทษในความเปน คฤหัสถแ ละอานสิ งสแหงบรรพชาส่ังสอนเธอ. สหายคนแรกนน้ั ฟงสหายอกี คนนัน้ แลว ยินดีในวันหน่ึงอกีครั้นจิตเชน นัน้ เกิดขน้ึ แลว จึงบอกกะเพื่อนวา ทานผูม ีอายุ จติ เห็นปานนัน้เกดิ ขึน้ แกผ ม ผมจักใหบาตรและจีวรนี้แกทา น. สหายอีกคนนัน้ เพราะมีความโลภในบาตรและจีวร จึงแสดงอานสิ งสในความเปนคฤหัสถ แสดงโทษแหงบรรพชาอยา งเดยี ว. ครง้ั น้นั เพราะความท่ีเขาฟงเพ่ือนแลว เปน คฤหสั ถจิตก็เบื่อหนายยนิ ดีในบรรพชาอยางเดยี ว. เธอนั้นไดส ึกถึงหกคร้ังในบดั นี้เพราะความทเี่ ธอแสดงอานิสงสใ นความเปน คฤหสั ถแ กภ กิ ษผุ มู ศี ลี ในกาลน้ันแลวบวชในครงั้ ท่ี ๗ ไดโตแ ยง สอดขน้ึ ในระหวา งทีพ่ ระมหาโมคคลั ลานะและพระมหาโกฏฐิตเถระ กลา วอภธิ รรมกถา. ลาํ ดับน้นั พระมหาโกฏฐิตเถระจึงไดร กุ รานตเิ ตยี นเธอ. เธอเมือ่ ไมอาจเพื่อดาํ รงอยใู นวาทะทมี่ หาสาวกกลา วได
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 198จงึ ไดส กึ เปน ฆราวาส. ก็เธอผูน้ี เปนเพอ่ื นคฤหัสถของโปฏฐปาทปริพาชกเพราะฉะนน้ั จงึ สึกไปสูสาํ นกั ของโปฏฐปาทปริพาชกโดยลว งไปสองสามวัน.ตอมาโปฏฐปาทะนัน้ เหน็ เขาแลว จงึ พดู วา แนะเพื่อน ทา นทําอะไร ทา นจึงหลีกออกจากศาสนาของพระศาสดาเห็นปานนี้ จงมา ทานสมควรบวชในบดั น้ีพาเขาไปสสู ํานักของพระผมู พี ระภาคเจา. ดวยเหตนุ น้ั ทา นจึงกลา ววา จติ ต-หัตถิสารีบตุ รและโปฏฐปาทปรพิ าชก ดังน้.ี บทวา อนฺธา ความวา เพราะความทีจ่ ักษุคือปญ ญาไมม.ี ช่อื วาไมม ีจกั ษุ เพราะไมมีจกั ษคุ อื ปญญาน้ัน. บทวา ตฺวเฺ จว เนส เอโก จกฺขมุ าความวา มจี ักษคุ อื ปญญาสกั วา รสู ภุ าษิตและทุพภาสติ . บทวา เอก สกิ า ความวาสว นหนึ่ง. บทวา ปฺ ตฺตา ความวา ตง้ั แลว . บทวา อเนก สิกา ความวาไมใ ชส ว นเดียว อธบิ ายวา ไมไ ดต รสั วา เท่ยี ง หรือวาไมเทีย่ งโดยสวนเดียว. พระผูม พี ระภาคเจาทรงปรารภคาํ วา สนฺติ โปฏ ปาท นี้ เพราะเหตุไร.เพอ่ื ทรงแสดงถงึ บัญญัตทิ ี่สดุ อนั เจา พาเหยี รทง้ั หลายบัญญัติไว ไมเ ปน เคร่ืองใหอ อกจากทุกขได. เดยี รถยี แ มท ั้งปวง ยอ มบัญญตั ิทส่ี ุดดวยอํานาจวา โลกมีที่สุดเปน ตน ในลทั ธขิ องตน ๆ เหมือนพระผมู ีพระภาคเจาทรงบญั ญัติอมตนพิ พานฉะนน้ั . กบ็ ัญญตั ิทสี่ ุดนั้น ไมเปน ทนี่ าํ ออกจากทุกขไ ด เปนเพียงบญั ญตั ิยอ มไมราํ ออกจากทุกข ไมไ ป อันบณั ฑิตท้ังหลายปฏิเสธเปน ไปกลบั โดยประการอืน่ เพื่อทรงแสดงบญั ญัตทิ ส่ี ุดน้นั พระผมู พี ระภาคเจาจึงตรัสอยางนี้ในบทเหลานั้น บทนี้วา เอกนตุ สขุ โลก ชาน ปสฺส ความวา ทา นทัง้ หลายเมื่อรเู มื่อเหน็ อยา งนีว้ า ในทิศตะวันออก โลกมีสุขโดยสวนเดียว หรอื ในทศิ ใดทิศหนงึ่ บรรดาทศิ ท้งั หลายมีทิศตะวันตกเปน ตน อยเู ถดิ วัตถทุ ง้ั หลายมีทรวดทรงแหงรางกายเปนตนของมนุษยท ง้ั หลายในโลกน้นั ทานทั้งหลายเคย
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 199เห็นแลว . บทวา อปฺปาฏหิ ิรีกต ความวา ภาษติ ไรผ ล คอื เวนจากการแจง ใหทราบ ทา นกลา ววาเปนทไี่ มน าํ ออกจากทุกข. บทวา ชนปทกลยฺ าณี ความวา ไมเปนเชน กับหญิงทั้งหลายอ่ืน ท่ีมีผวิพรรณทรวดทรงลีลาอากปั กิริยาเปนตนในชนบท. พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสดงความที่บัญญัตทิ สี่ ุด ในสมณพราหมณเหลา อืน่ ไมเปน ทน่ี าํ ออกจากทุกขอยางนีแ้ ลว จึงตรัสวา ตโย โข เม โปฏ-ปาท เปน ตน เพือ่ ทรงแสดงความท่ีบญั ญัตขิ องพระองคเ ปนธรรมนําออกจากทกุ ขได. ในบทเหลานน้ั บทวา อตฺตปฏลิ าโภ ความวาการกลบั ไดอัตตภาพ.กใ็ นบทวา อตตฺ ปฏลิ าโภ นน้ั พระผูมพี ระภาคเจาทรงแสดงภพ ๓ ดวยการกลับไดอ ัตตภาพ ๓ อยา ง. ทรงแสดงกามภพตัง้ แตอ วจี ิ มปี รนมิ มติ วสวสั ดีเปนท่ีสุดดว ยการกลบั ไดอัตตภาพท่หี ยาบ. ทรงแสดงรูปภพต้ังแตช น้ั ปฐมฌาน ถงึ อกนิฏ-ฐพรหมโลกเปน ทสี่ ุด ดว ยการกลบั ไดอัตตภาพท่ีสาํ เรจ็ ดวยใจ. ทรงแสดงอรปู -ภพตงั้ แตอากาสานญั จายตนพรหมโลกมีแนวสัญญาณสญั ญายตนพรหมโลกเปนท่สี ุด ดวยการกลบั ไดอ ัตตภาพทไี่ มมรี ปู . อกศุ ลจิตตปุ บาทสิบสองอยาง ช่ือวา สงั กเิ ลสธรรม สมถวปิ ส สนา ชื่อวาโวทานธรรม. บทวา ปฺ าปารปิ ูรึ เวปลุ ลฺ ตตฺ ความวา ซง่ึ ความบรบิ ูรณและความไพบูลยแ หง มรรคปญญาและผลปญ ญา. บทวา ปามชุ ชฺ ไดแ กปต ิอยา งออน. บทวา ปต ิ ไดแกความยนิ ดีมีกาํ ลัง. ทา นกลาวอยางไร. ทานกลาวอยา งนวี้ า ในบทที่ทา นกลาววา กระทําแจงดว ยอภญิ ญาดว ยตนเอง จกั เขา ถงึอยนู ้นั เมอ่ื ภิกษนุ ั้น อยูอ ยา งน้ี กจ็ ักมคี วามปราโมทย ปต ิ ความสงบใจและกาย สติดาํ รงดี อดุ มญาณและอยอู ยา งสุข และในบรรดาการอยูท ัง้ ปวง การอยูอยางน้ีนัน้ เทยี ว สมควรกลา ววา เปน สุข คือสงบแลว มคี วามหวานอยางยิ่ง.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 200 บรรดาฌานเหลาน้นั ในปฐมฌาน ยอมไดธ รรมแมหกอยา งมีความปราโมทยเ ปน ตน. ในทตุ ิยฌาน ความปราโมทยก ลาวคอื ปต อิ ยางออ น ยอ มเปน ไป ยอ มไดธรรมหาอยางที่เหลอื . ในตตยิ ฌาน แมปตทิ ีย่ อ มเปน ไป ยอ มไดธรรมสอ่ี ยางทเ่ี หลอื . ในจตตุ ถฌานกเ็ หมอื นกัน. ก็ในฌานเหลาน้ี ทานกลาวฌานทีเ่ ปนบาทแหงวปิ ส สนาบริสทุ ธเ์ิ ทา นั้นไวในสมั ปสาทสูตร. กลา ววิปสสนาพรอ มกับมรรคสี่ในปาสาทกิ สูตร. กลา วผลสมาบตั ิอนั เกี่ยวกับจตตุ ถญานในทสุตตรสตู ร. ผลสมาบัตเิ ก่ยี วกบั ทุตฌิ านทําปราโมทยใหเปน ไวพจนของปติพึงทราบวา ทา นกลา วไวแลว ในโปฏฐปาทสูตรน้ี. วา ศัพทใ นบทนว้ี า อย วา โส เปนอรรถลงในการทําใหแจง . เราใหแจม แจง แลว ประกาศแลววา นนี้ น้ั พงึ พยากรณ. ความวา สมณพราหมณเหลา อื่น ถูกเราถามอยางน้ีวา ทานท้งั หลายรูจกั ตนอนั มีสุขโดยสวนเดียวหรือกจ็ ะกลา ววา ไมร จู กั โดยประการใด เราจะไมก ลา วโดยประการนนั้ . บทวาสปฺปาฏิหิรกี ต ความวา ภาษิตจะมกี ารแจงใหทราบ คือเปนทีน่ ําออกจากทกุ ข. บทวา โมโฆ โหติ ความวา เปน ของเปลา. อธบิ ายวา การไดอตั ตภาพนั้น ยอมไมมีในสมยั น้นั . บทวา สจโฺ จ โหติ ความวา เปน ของมีจรงิ . อธิบายวา การไดอัตตภาพนน้ั เทยี ว เปนของจริงในสมัยนั้น. กใ็ นขอน้ี จติ ตบตุ รควาญชางนแี้ สดงการไดอ ตั ตภาพ ๓ อยางเพราะความท่ีตนไมเ ปน สัพพญั ู จึงไมส ามารถยกข้ึนอางวา ธรรมดา การไดอัตตภาพนัน่ เปน เพยี งบญั ญตั ิ จงึ กลาวเล่ียงวา การไดอตั ตภาพเทานัน้ . ลาํ ดบั นัน้ พระผูมีพระภาคเจา ทรงประสงคจ ะแสดงแกจิตตบ ตุ รควาญชา งนน้ั วา กใ็ นขอ นี้ ธรรมทั้งหลายมรี ูปเปน ตน การไดอัตตภาพน้ันเปน เพยี งสกั วาชื่อ คร้นั ธรรมทัง้ หลายมีรปู เปนตน น้นั ๆ มีอยูโวหารมรี ูปปานนี้ ก็ยอมมี เพ่ือทรงจับเอาถอยคําของจติ ตบ ตุ รควาญ-
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286