พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 201ชางน้นั แหละ เล่ียงตรสั ดว ยอาํ นาจแหงนามบัญญตั ิจงึ ตรัสเปน ตนวา ดกู อ นจิตต ในสมัยใด ๆ กค็ รนั้ ตรสั อยางนั้นแลว เพอื่ จะสอบถามนําไปจึงตรสั อกี วา ถาสมณพราหมณท้งั หลายพึงถามอยางนั้นกะจิตตบตุ รควาญชางนน้ั เปนตน . ในบทเหลาน้ัน บทวา โย เม อโหสิ ความวา การไดอตั ตภาพท่เี ปนอดีต ของขา พระองคเ ปนจรงิ ในสมัยนน้ั . ในบทวา การไดอัตตภาพทีเ่ ปนอนาคตเปน โมฆะ ทเ่ี ปน ปจจุบันก็เปนโมฆะน้ัน จติ ตบ ุตรควาญชางแสดงเนื้อความนเ้ี พยี งเทานว้ี า ธรรมทัง้ หลายท่เี ปน อดีต ยอ มไมมีในปจ จุบันนี้แตถงึ อนั นับวา ไดมแี ลว เพราะฉะน้นั การไดอัตตภาพของขา พระองคแมน้นั จึงเปน จริงในสมยั น้ัน สวนการไดอ ัตตภาพท่เี ปน อนาคตกเ็ ปน โมฆะ ทีเ่ ปนปจ จบุ นั กเ็ ปนโมฆะในสมัยน้นั เพราะธรรมท้งั หลายทีเ่ ปนอนาคตและทเ่ี ปนปจ จบุ นั ไมมใี นเวลาน้นั . เขารบั รกู ารไดอ ตั ตภาพเพียงเปนนามโดยอรรถอยา งน.้ี แมในอนาคตและปจจุบนั กม็ ีนยั เชนเดยี วกนั . ลําดับน้ัน พระผมู ีพระภาคเจาเพือ่ จะทรงเปรยี บเทียบพยากรณของพระองคกบั พยากรณของจติ ตบ ุตรควาญชา งนน้ั จึงตรสั วา เอวเมว โข จติ ฺตดังน้ีเปนตน เมื่อจะทรงแสดงอรรถนี้โดยอปุ มาอกี จึงตรสั วา เสยยฺ ถาปจิตฺต ควา ขรี เปนตน. ในบทนั้น มีเนื้อความโดยยอดังน้ี นมสดมจี ากโค นมสมเปนตนมีจากนมสดเปนตน ในขอ นี้ สมยั ใดยงั เปน นมสดอยู สมัยน้นั กไ็ มถ งึ ซึง่ อันนับ คอื นิรุตติ์ นาม โวหารวาเปน นมสม หรอื เปน เนยใสเปน ตน อยางใดอยางหนง่ึ เพราะเหตอุ ะไร เพราะไมม ีธรรมทงั้ หลายทไ่ี ดโวหารเปนตน วานมสม แตส มยั นั้นถึงซึง่ อันนับวาเปนนมสดอยา งเดยี ว
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 202เพราะเหตไุ ร เพราะมธี รรมทัง้ หลายซง่ึ เปน อนั นบั คอื นิรตุ ติ์ นาม โวหารวา นมสด. ในบทท้งั ปวงก็นยั น้นั . บทวา อมิ า โข จิตฺต ความวา ดกู อนจติ ต การไดอัตตภาพอันหยาบการไดอัตตภาพอันสาํ เร็จแตใ จ และการไดอัตตภาพอันไมม รี ปู เหลา น้แี ล เปนโลกสญั ญา. พระผมู ีพระภาคเจาทรงแสดงการไดอตั ตภาพ ๓ อยา งเบอ้ื งตา่ํ อยางนวี้ า เหลา น้ันเปนเพียงช่อื ในโลก เปน เพยี งสัญญา เหลา นนั้ เปนเพยี งภาษาในโลก เปน เพียงแนวคําพูด เปนเพยี งโวหาร เปนเพียงนามบัญญัติ ดังน้ีแลว บัดนจี้ ึงตรัสวา น้นั ทงั้ หมด เปนเพียงโวหาร. เพราะเหตอุ ะไร.เพราะโดยปรมตั ถไมม ีสัตว โลกนน้ั สูญ วา งเปลา. ก็กถาของพระพทุ ธเจาทัง้ หลายมีสองอยางคอื สัมมตกิ ถา และปรมตั ถกา. ในกถาทัง้ สองอยา งนน้ั กถาวา สัตว คน เทวดา พรหม เปนตนชอ่ื วา สมั มตกิ ถา. กถาวา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ขนั ธ ธาตุ อายตนะสตปิ ฏฐาน สัมมัปปธานเปนตน ช่ือวา ปรมตั ถกถา. ในกถาเหลา น้ัน ผใู ดครัน้ พระผูมีพระภาคเจา ตรัสวา สตั ว คน เทวดา หรือพรหม ยอมสามารถเพื่อรแู จง เพ่ือแทงตลอด เพอ่ื นําออกจากทกุ ข เพอื่ ถือเอาซ่ึงการจับธง คือพระอรหัตดวยสมั มติเทศนา พระผูม พี ระภาคเจากจ็ ะตรัสวาสตั ว คน เทวดาหรอื วา พรหม เปน เบือ้ งตนแกผูน้ัน. ผูใดฟง ธรรมอยา งใดอยางหนึง่ เปนตนวา อนิจจัง หรอื ทุกขัง ดวยปรมตั ถเทศนา ยอ มอาจเพื่อรแู จง เพอื่ แทงตลอด เพอื่ นาํ ออกจากทกุ ข เพ่อื ถือเอาซ่งึ การจับธง คอื พระอรหตั พระผูมพี ระภาคเจา กจ็ ะทรงแสดงธรรมอยา งใดอยา งหนึ่งเปน ตนวา อนิจจัง หรือวา ทกุ ขังแกผนู ัน้ . เพราะฉะนน้ั จึงไมแ สดงปรมตั กถากอน แมแ กสตั วผูจะรูดว ยสัมมตกิ ถา แตจะทรงใหรูดวยสัมมติกถาแลว จงึ ทรงแสดงปรมตั ถกถา
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 203ในภายหลัง จะไมทรงแสดงสมั มติกถากอ น แมแ กสัตวผ จู ะรูดวยปรมัตถกถาแตจะทรงแสดงใหร ูดวยปรมตั ถกถาแลว จงึ ทรงแสดงสมั มติกถาในภายหลัง.แตโ ดยปกติเมอ่ื ทรงแสดงปรมตั ถกถากอ นเทียว เทศนาก็จะมีอาการหยาบเพราะฉะนนั้ พระพุทธเจาทง้ั หลายทรงแสดงสมั มตกิ ถากอนแลว จึงทรงแสดงปรมตั ถกถาในภายหลัง แมเมื่อจะทรงแสดงสมั มตกิ ถา กจ็ ะทรงแสดงตามความเปน จริงตามสภาพ ไมเท็จ แมเม่ือจะทรงแสดงปรมตั ถกถา ก็ทรงแสดงตามความเปนจรงิ ตามสภาพ ไมเท็จ. โบราณจารยก ลาวคาถาไววา พระพทุ ธเจาผูประเสรฐิ เมอื่ จะตรสั กต็ รสั สจั จะ ๒ อยา งคอื สมั มติสจั จะและปรมตั ถสัจจะ จะไมไดส ัจจะท่ี ๓ สงั เกตวจนะเปนสัจจะ เปน เหตแุ หงโลกสมั มติ ปรมัตถวจนะเปนสัจจะ เปน ลักษณะมจี รงิ แหงธรรมท้งั หลายดงั น้ี. บทวา ยาหิ ตถาคโต โวหรติ อปรามสนโฺ ต ความวา พระ-ตถาคตทรงประมวลเทศนาวา ชือ่ วา ไมท รงเก่ยี วของเพราะไมมีความเกย่ี วขอ งดว ยตัณหามานะ และทิฏฐิ ตรสั ดว ยโลกสมัญญา ดวยโลกนิรุตติ ทรงจบเทศนา ดว ยยอดคอื พระอรหตั . คาํ ทีเ่ หลอื ในบททั้งปวงมอี รรถงา ยทั้งนน้ั แล. โปฏฐปาทสตุ ตวณั ณนาในทีฆนิกายอรรถกถาช่ือสุมงั คลวลิ าสินี จบเพียงเทาน.ี้ จบโปฏฐปาทสูตร ที่ ๙
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 204 ๑๐. สุภสตู ร [๓๑๔] ขาพเจา ไดสดบั มาอยา งน้ี :- สมยั หนึ่ง เม่ือพระผูมพี ระภาคเจา เสดจ็ ปรนิ ิพพานแลวไมนาน ทา นพระอานนทอ ยู ณ วหิ ารเชตวนั อันเปนอารามของอนาถบิณฑกิ เศรษฐีกรงุ สาวตั ถ.ี [๓๑๕] สมยั นั้น สุภมาณพ โตเทยยบตุ ร พักอยใู นกรุงสาวตั ถีดวยธุรกจิ บางอยาง ครง้ั น้นั สภุ มาณพโตเทยยบตุ ร เรยี กมาณพนอ ยคนหน่ึงมาสั่งวา ดูกอ นพอ มาณพนอย มานี่เถดิ เจา จงเขา ไปหาพระอานนท ครัน้ เขาไปหาแลว จงนมัสการถามพระอานนทถึงอาพาธนอย โรคเบาบาง คลอ งแคลว มกี ําลัง มีความเปน อยสู บาย ตามคาํ ของเราวา สุภมาณพโตเทยยบุตรถามถงึ พระคณุ เจา ถึงอาพาธนอ ย โรคเบาบาง คลองแคลว มีกาํ ลัง มีความเปน อยสู บาย และจงกลาวอยางนว้ี า ขอโอกาส ขอพระคณุ เจา พระอานนทไดโปรดอนเุ คราะห เขาไปยงั ทอี่ ยูของสภุ มาณพโตเทยยบตุ รเถดิ มาณพนอ ยรับคําของสภุ มาณพโตเทยยบุตร แลว เขาไปหาพระอานนท ครนั้ เขา ไปหาแลว ไดสนทนากบั ทานพระอานนท คร้ันผานสัมโมทนยี กถา ใหเกดิ ระลกึถงึ กันแลว จงึ นง่ั ณ ทีส่ มควรสว นขา งหน่ึง มาณพน่งั แลว จึงนมสั การเรียนวาสุภมาณพโตเทยยบุตร ถามทานพระอานนทถ งึ อาพาธนอยโรคเบาบางคลองแคลว มีกําลงั มีความเปน อยูอยา งสบาย และส่งั มาอยางนว้ี า ขอทา นอานนทไดโปรดอนเุ คราะหเ ขา ไปยังทีอ่ ยูของสุภมาณพโตเทยยบุตรเถดิ . [๓๑๖] เมื่อมาณพนอ ยกราบเรยี นอยางน้ีแลว ทา นพระอานนท
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 205ไดกลาวกะมาณพนอ ยวา พอมาณพ ไมมเี วลาเสียแลว วนั น้ฉี ันดมื่ ยาถายถากระไรเราจะเขา ไปวนั พรงุ นี้ มาณพนอยรบั คาํ ของทา นพระอานนท แลวลกุ จากทน่ี ่ัง เขาไปหาสุภมาณพโตเทยยบุตร ไดบ อกแกสภุ มาณพโตเทยยบตุ รวา ขาพเจา ไดบ อกพระอานนทต ามคําของทานแลว เมื่อขา พเจาบอกอยางนั้นแลว พระอานนท ไดก ลา วกะขา พเจาวา พอมาณพไมม ีเวลาเสยี แลว วนั นี้ฉนั ดมื่ ยาถาย ถา กระไรไวพ รงุ น้ีเถิด ไดเ วลาและสมัยแลว ฉันจะเขาไปดวยเหตเุ พยี งเทาน้ี เปน อันวา ขา พเจาไดก ระทาํ กจิ ทเี่ ปนเหตุใหพระอานนทใหโอกาสเพือ่ เขาไปฉนั ในวันพรุงนแี้ ลว . [๓๑๗] พอรุงเชา ทา นพระอานนท ครองผา ถือบาตร มีพระเจตกภกิ ษเุ ปนปจ ฉาสมณะเขา ไปยังท่ีอยขู องสุภมาณพโตเทยยบุตร น่ังบนอาสนะท่ปี ลู าดไว. ลําดบั นนั้ สภุ มาณพโตเทยยบุตร เขาไปหาทานพระอานนทสนทนากนั จนเปนที่รืน่ เรงิ บันเทงิ ใจแลว จึงนงั่ ณ ที่ควรสว นขา งหน่งึ เมื่อนง่ั เรียบรอ ยแเลว จึงนมัสการเรียนวา พระคุณเจาเปน อปุ ฐากอยูใกลชิดกับทา นพระโคดมมานาน ยอมจะทราบดวี า พระโคดมไดต รสั สรรเสริญคุณ-ธรรมเหลา ใด และใหช มุ ชนยึดมัน่ ตงั้ อยู ดาํ รงอยใู นคณุ ธรรมเหลาใด. ทานพระอานนท ตอบวา ดูกอ นสุภมาณพ พระผูมพี ระภาคเจา ไดตรสั สรรเสรญิ ขันธสาม และใหช ุมชนยืดมนั่ ต้ังอยู ดํารงอยู ในขันธสามน.ี้ ขนั ธสามอะไรบาง ขันธสามคอื สลี ขันธอ ันประเสริฐ สมาธิขนั ธอนัประเสรฐิ ปญญาขันธอันประเสรฐิ ดูกอ นสภุ มาณพ พระผมู ีพระภาคเจา ไดตรสั สรรเสรญิ ขนั ธสามน้ี และใหชุมชนยดึ มัน่ ต้ังอยู ดาํ รงอยูในขันธสามนี้
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 206 [๓๑๘] ขา แตพ ระคุณเจา ทานพระโคดม ไดต รสั สรรเสริญสีลขันธอันประเสรฐิ ใหช มุ ชนยึดมนั่ ตั้งอยู ดาํ รงอยู ไวอยา งไร. ดกู อนสภุ มาณพ พระตถาคตไดอุบตั ิข้นึ ในโลกนี้ เปน พระอรหนั ต ตรัสรูเองโดยชอบ ถงึ พรอมดวยวชิ ชาและจรณะ เสด็จไปดแี ลว ทรงรูโลก เปนสารถีฝก บุรุษท่คี วรฝก ไมม ีผูอนื่ ยิ่งกวา เปน พระศาสดาของเทวดาและมนุษยทง้ั หลาย เปนผูตื่นแลว เปนผจู ําแนกพระธรรม พระตถาคตพระองคนัน้ทรงทาํ โลกน้ีพรอ มท้งั เทวโลก มารโลก พรหมโลก ใหแ จง ชดั ดวยพระปญ ญาอันยอดเยีย่ ม ของพระองคเ องแลว ทรงสงั่ สอนหมูสตั วพ รอมทั้งสมณพราหมณเ ทวดาและมนุษยใ หร ตู าม ทรงแสดงธรรม งามในเบื้องตนงามในทา มกลาง งามในท่สี ุด ทรงประกาศพรหมจรรย บริสุทธบ์ิ รบิ ูรณสิ้นเชิง พรอ มทัง้ อรรถ พรอมท้งั พยัญชนะ คฤหบดี บุตรคฤหบดี หรอื ผูเกิดภายหลงั ในตระกูลใดตระกลู หนึ่ง ยอ มฟง ธรรมน้ัน ครนั้ เขาฟงแลวยอมไดศ รทั ธาในพระตถาคต ครน้ั เปย มดวยศรัทธาแลว ยอ มเหน็ ตระหนักวา การอยคู รองเรอื น คบั แคบ เปน ทางมาของธลุ ี บรรพชาเปนทางปลอดโปรง การอยูครองเรอื นจะประพฤตพิ รหมจรรยใหบ ริบรู ณโดยสวนเดียว ใหบรสิ ทุ ธโ์ิ ดยสวนเดียว เหมือนสงั ขทีข่ ัดแลว ทาํ ไดไมง ายนัก เอาเถดิ เราจะปลงผมและหนวด นงุ หมผา กาสาวพัสตร ออกจากเรือนถอื บวช ตอมาเขาสละโภคสมบัตินอยใหญ ละหมูญ าติ ไปบวช เมื่อบวชแลว สาํ รวมระวงัในพระปาฏิโมกข ถึงพรอมดวยมารยาทและโคจร เหน็ ภยั ในโทษท้ังหลายเพยี งเลก็ นอ ย สมาทานศึกษาอยูใ นสิกขาบทท้งั หลาย ประกอบกายกรรม วจี-กรรมท่ีเปนกุศล มีอาชพี บรสิ ุทธ์ถิ งึ พรอ มดวยศลี คมุ ครองทวารในอนิ ทรียท้งั หลาย ประกอบดวยสติสัมปชญั ญะ เปน ผูส นั โดษ.
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 207 จุลศีล [๓๑๙] ดูกอนสภุ มาณพ ภกิ ษถุ งึ พรอมดวยศลี น้นั อยา งไร. ๑. ภิกษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ ละการฆาสตั ว เวน ขาดจากการฆา สตั ว วางไม วางมีด มีความละอาย มคี วามเอ็นดู มคี วามกรุณา ทาํ ประโยชนแกสตั วท้ังปวง ขอ นีเ้ ปน ศลี ของเธอประการหนงึ่ . ฯลฯ (ขอความตอ จากน้เี หมือนพรหมชาลสตู ร) มหาศีล [๓๒๐] บางพวก ฉันโภชนะท่เี ขาใหด วยศรัทธาแลว ยงั เล้ยี งชพีโดยมิจฉาชีพ (ขอ ความตอจากนเี้ หมอื นพรหมชาลสูตร) ดกู อนมาณพ ภกิ ษุถึงพรอมดว ยศีลอยางนี้ ยอมไมป ระสบภยั แตไ หน ๆเพราะเปนผูสํารวมดว ยศลี เหมือนพระราชามหากษัตริย ผูไดมุรธาภเิ ศกกําจัดศัตรูไดแลว ยอ มไมป ระสบภยั แมแตไหน ๆ เพราะศัตรูนัน้ ดกู อนสุภมาณพ ภิกษุผถู งึ พรอ มดว ยศลี ก็ฉนั น้นั ยอมไมประสบภยั แตไหน ๆเพราะเปนผูสํารวมดวยศลี ภิกษผุ ถู ึงพรอมดว ยสีลขันธอ นั ประเสรฐิ น้ี ยอมเสวยสุขอันปราศจากโทษในภายใน ดูกอ นสุภมาณพ ดว ยเหตุน้ีแล ภกิ ษชุ อ่ืวา เปนผูถึงพรอ มดว ยศลี . ดกู อนสภุ มาณพ สีลขันธอ ันประเสรฐิ นแ้ี ล ท่ีพระผูมพี ระภาคเจา ไดตรสั สรรเสรญิ และยงั ชุมชนใหย ึดถือ ใหต ง้ั อยู ใหดาํ รงอยู อน่งึ ในธรรมวินัย ยงั มกี ิจที่จะตองทําใหยิ่งขน้ึ ไปอยอู กี . สภุ มาณพ ไดก ราบเรียนวา ขา แตพระอานนทผ เู จรญิ นา อัศจรรยนัก ไมเคยมมี ากอ นเลย สลี ขันธอันประเสริฐนี้ บรบิ รู ณแลว มิใชไ ม
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 208บรบิ รู ณ กระผมยังไมเ หน็ สีลขันธอันประเสรฐิ ทบ่ี รบิ ูรณอ ยา งนี้ ในสมณ-พราหมณเหลา อื่น ภายนอกศาสนานีเ้ ลย ขา แตพ ระอานนทผูเ จริญสมณพราหมณเ หลาอน่ื ภายนอกศาสนานี้ พึงเห็นสีลขันธอ ันประเสริฐ ที่บริบรู ณแ ลวอยางน้ใี นตน เขาเหลานั้นจะดีใจ เพราะเหตเุ พียงเทานั้น ดว ยคิดวา เปน อันพอแลว ดว ยเหตเุ พยี งเทา น้ี เปนอนั ทาํ เสรจ็ แลวดวยเหตุเพียงเทา นี้ประโยชนแหงความเปน สมณะเราไดบ รรลุแลว ไมมกี ิจท่จี ะตองทําอยางอน่ืใหยิง่ ข้นึ ไปอกี แตพ ระคุณเจา อานนทผ เู จรญิ กย็ ังกลา ววา ในพระธรรมวนิ ัยนี้ ยงั มกี จิ ที่จะตองทําใหยิ่งขึ้นไปอกี . [๓๒๑] สุภมาณพกราบเรียนถามวา ขา แตพระอานนทผ เู จริญ สมาธิขนั ธอ ันประเสรฐิ ท่ีทา นพระโคดมตรสั สรรเสริญ และยงั ชมุ ชนใหย ดึ มน่ั ใหตั้งอยู ใหด ํารงอยูนนั้ เปน อยางไร. พระอานนท กลาววา ดูกอ นมาณพ ภิกษุเปน ผูคมุ ครองทวารในอินทรยี ท ง้ั หลาย เปน อยางไรเลา ดกู อนมาณพ ภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้เห็นรูปดวยจกั ษแุ ลว ไมถอื นิมติ ไมถ อื อนุพยัญชนะ เธอปฏิบตั เิ พอ่ื สาํ รวมจกั ขนุ ทรยี ทเ่ี มอ่ื ไมส าํ รวมแลว จะเปนเหตุใหอกุศลธรรมอันลามก คอือภชิ ฌาและโทมนัส ครอบงํา ชือ่ วา รักษาจกั ขนุ ทรยี ชอื่ วา ถงึ ความสาํ รวมในจกั ขุนทรีย. ภิกษุฟงเสียงดวยโสต.......ดมกลนิ่ ดว ยฆานะ........ลิม้ รสดวยชิวหา........ถูกตองโผฏฐัพพะดวยกาย........รูธรรมารมณด ว ยมนะ แลวไมถือนิมติ ร ไมถอื อนุพยญั ชนะ เธอปฏบิ ัติเพื่อสํารวมมนินทรยี ที่เมื่อไมสาํ รวมแลว จะเปน เหตใุ หเกดิ อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัสครอบงําชอ่ื วา รกั ษามนินทรยี ชือ่ วาถงึ ความสาํ รวมในมนินทรีย. ภกิ ษถุ ึงพรอ มดวยอนิ ทรยี สังวรอนั ประเสริฐเชน นี้ ยอมไดเสวยสุขอนั ไมระคนดว ย
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 209กเิ ลส ในภายใน ดกู อ นมาณพ ภิกษุชื่อวาเปนผูคุม ครองทวารในอินทรยี ท้งั หลาย ดวยประการฉะนี้. [๓๒๒] ดกู อนมาณพ ภิกษถุ งึ พรอ มแลว ดว ยสติสมั ปชญั ญะ เปนอยา งไร. ดกู อ นมาณพ ภิกษใุ นธรรมวนิ ัยน้ี เปน ผูรูสกึ ตวั ในการกาว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการงอ ในการเหยยี ด ในการทรงสังฆาฏิ บาตรและจีวร ในการฉัน ในการดม่ื ในการเคี้ยว ในการล้มิในการถายอจุ จาระปส สาวะ ในการเดนิ ในการยืน ในการนง่ั ในการหลบัในการตน่ื ในการพดู ในการนิ่ง ดกู อนสภุ มาณพ ภกิ ษชุ ่ือวา เปนผูถ ึงพรอ มแลวดวยสติสัมปชญั ญะ ดว ยประการฉะนี้แล. [๓๒๓] ดูกอนมาณพ ภิกษุชือ่ วา เปน ผสู นั โดษ เปน อยา งไร.ดกู อ นมาณพ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ัยนี้ เปนผสู ันโดษดว ยจวี รเปน เครือ่ งบรหิ ารกาย ดว ยบณิ ฑบาตเปน เคร่ืองบรหิ ารทอง เธอจะไปทางใด ๆ กถ็ อื ไปไดเ องดูกอ นมาณพ เหมอื นนกจะบินไปทางใด ๆ ก็มีแตป ก เปนภาระบนิ ไปไดภิกษกุ เ็ หมอื นกัน เปนผูสันโดษดวยจีวรเปนเครอ่ื งบรหิ ารกาย ดวยบิณฑบาตเปนเคร่อื งบริหารทอง เธอจะไปทางใด ๆ ก็ถอื ไปไดเ อง ดูกอนมาณพภกิ ษชุ อื่ วา เปน ผสู ันโดษดว ยประการฉะนี้แล. [๓๒๔] ภิกษถุ ึงพรอ มแลวดว ยสีลขันธอ ันประเสรฐิ ดว ยอินทรียสังวรอันประเสริฐ ดว ยสติสัมปชัญญะอนั ประเสรฐิ ดวยสันโดษอันประเสรฐิเชนนแี้ ลว ยอมเสพเสนาสนะอนั สงดั คือ ปา โคนไม ภูเขา ซอกเขา ถาํ้ปาชา ปา ชัฏ ทแ่ี จง ลอมฟาง เธอกลับจากบิณฑบาต หลงั อาหารแลวน่ังขดั สมาธิตง้ั กายตรง ดาํ รงสติไวเฉพาะหนา ละความโลภคอื ความเพง เล็ง มีจิตปราศจากความเพง เล็งอยู ชําระจติ ใหบ รสิ ทุ ธิจ์ ากความเพง เล็ง ละความ
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 210ประทษุ รา ยคอื พยาบาท มีจติ ไมม ีพยาบาท มีความอนเุ คราะหด วยทาํ ประ-โยชนแ กส รรพสัตว ชําระจติ ใหบ ริสทุ ธ์ิจากความประทุษรา ย คือพยาบาทไดละถนี มทิ ธะแลว เปนผูปราศจากถีนมิทธะ มีความกําหนดหมายอยูท ี่แสงสวา งมีสตสิ ัมปชัญญะ ยอ มชาํ ระจติ ใหบ รสิ ทุ ธจ์ิ ากถีนมิทธะได ละอุทธัจจกุกกุจ-จะไดไ มฟ งุ ซา นอยู มีจิตสงบในภายใน ชําระจิตใหบริสทุ ธิ์จากอุทธัจจกุกกจุ -จะละวจิ กิ จฉาได ขามพน วิจิกจิ ฉา ไมมีความสงสยั ในกศุ ลธรรม ยอ มชาํ ระจิตใหบ ริสุทธิจ์ ากวิจิกจิ ฉาได. [๓๒๕] ดูกอ นมาณพ เหมอื นบุรุษกหู น้ไี ปประกอบการงาน การงานของเขากส็ ําเร็จ เขาไดใชหนท้ี ่เี ปนตนทุนเดมิ หมดส้ิน ทรัพยที่เปนกําไรของเขามเี หลอื สาํ หรบั เลี้ยงภรรยา เขาไดค ดิ เหน็ อยา งนี้วา เมื่อกอ นเรากูห นี้ไปประกอบการงาน บดั นก้ี ารงานของเราไดสาํ เรจ็ แลว เราไดใ ชหนที้ ี่เปน ตนทนุ เดิมหมดสนิ้ แลว และทรัพยทเี่ ปนกาํ ไรของเราก็ยังมีเหลอื อยูสําหรบั เล้ยี งภรรยา ดังน้ี เขาพงึ ไดค วามปราโมทย ถงึ ความโสมนัสอันมคี วามไมมหี นน้ี ัน้ เปน เหตุ ฉันใด. ดูกอ นมาณพ เหมอื นบรุ ษุ ปวยหนกั มที ุกข เจบ็ หนัก ไมบริโภคอาหาร ไมมกี าํ ลงั ครั้นตอ มาเขาหายจากอาการปว ย บรโิ ภคอาหารได และมีกําลงั กาย เขาไดคดิ เห็นอยางนว้ี า เมอื่ กอ นเราปว ยหนกั มที กุ ข เจบ็ หนกับรโิ ภคอาหารไมไ ด ไมม ีกาํ ลงั บดั นเ้ี ราหายจากอาการปว ยนน้ั แลว บรโิ ภคอาหารได และมีกําลังกายเปนปรกติ ดังน้ี เขาพึงไดค วามปราโมทย ถงึความโสมนสั อนั มคี วามไมม โี รคนนั้ เปน เหตุ ฉันใด. ดกู อนมาณพ เหมอื นบุรุษถกู จองจําในเรอื นจาํ ครน้ั ตอมาเขาพนจากเรือนจํานน้ั โดยสวสั ดี ไมม ภี ยั ไมตองเสียทรัพยอะไร ๆ เลย เขาได
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 217การงาชนิดใด ๆ กท็ าํ งาชนิดนนั้ ๆ ใหสําเร็จได อกี นยั หน่งึ เหมอื นชา งทองหรอื ลกู มอื ของชา งทองผูฉลาด เมือ่ หลอมทองดีแลว ตอ งการทองรูปพรรณชนดิ ใด ๆ กท็ ําทองรูปพรรณชนิดน้ัน ๆ ใหส ําเรจ็ ได ฉนั ใด ภิกษกุ ็ฉนั นัน้ แล เมอ่ื จิตตงั้ มัน่ บรสิ ุทธ์ิ ผดุ ผอง ไมมีกเิ ลส ปราศจากอุปกิเลสเปนจติ ออน ควรแกก ารงาน ตัง้ มัน่ ถึงความไมหว่ันไหวอยา งนี้ ยอ มนอมยอ มโนม จติ ไปเพ่อื แสดงฤทธ์ิ เธอยอ มแสดงฤทธิ์ไดหลายอยาง คอื คนเดียวทาํ เปน หลายคนก็ได ฯลฯ ใชอ าํ นาจทางกายไปตลอดพรหมโลกก็ได. แมขอ น้กี ็จัดเปน ปญ ญาของเธอประการหนึง่ . [๓๓๒] ภกิ ษุน้ัน เมื่อจติ ตง้ั มั่น บริสทุ ธิ์ ผองผดุ ไมม ีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เปน จติ ออ น ควรแกก ารงาน ม่ันคง ถงึ ความไมหว่นั ไหวอยางน้ียอ มนอ มยอ มโนม จิตไปเพ่ือทิพยโสตธาตุ เธอยอ มไดย นิ เสยี งสองชนดิ คือเสียงทิพยและเสียงมนุษย ท้ังทอี่ ยูไกลและใกล ดว ยทิพยโสตธาตอุ ันบริสทุ ธ์ิเกนิ หูของมนษุ ย. ดกู อ นมาณพ เหมอื นบุรุษเดนิ ทางไกล เขาจะไดยนิ เสียงกลองบา งเสียงตะโพนบาง เสียงสังขบา ง เสยี งบัณเฑาะวบาง เสียงมโหระทึกบา ง เขายอ มมีความคดิ อยา งนี้วา เสยี งกลองดงั นี้บา ง เสยี งตะโพนดังนบี้ าง เสียงสังขดังนี้บาง เสียงบณั เฑาะวด ังนบ้ี า ง เสียงมโหระทกึ ดงั น้บี า ง ฉันใด ภกิ ษกุ ็ฉันนัน้ แล เม่ือจิตต้งั มั่น ถึงความไมหวน่ั ไหวอยางนี้ ยอ มนอ มจติ ไปเพอื่ทพิ ยโสตธาตุ เธอยอ มไดย ินเสียงสองชนิด คอื เสียงทิพยแ ละเสยี งมนษุ ย ท้ังท่อี ยูไกลและใกล ดวยทพิ ยโสตธาตอุ นั บรสิ ทุ ธิ์ เกินหขู องมนุษย แมข อ น้ีกเ็ ปน ปญญาของเธอประการหนง่ึ . [๓๓๓] เธอเม่ือจติ ตง้ั มน่ั บริสุทธ์ิ ผดุ ผอ ง ไมม ีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส เปน จติ ออน ควรแกการงาน มน่ั คง ถงึ ความไมหว่นั ไหวอยา งน้ียอ มนอมยอ มโนม จติ ไปเพอ่ื เจโตปริยญาณ เธอยอ มกาํ หนดรูใจของสตั วอื่นของบุคคลอ่ืนดวยใจ คอื จติ มีราคะกร็ ูวา จติ มีราคะ หรอื จติ ปราศจากราคะ
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 218กร็ ูว าจติ ปราศจากจากราคะ จติ มีโทสะก็รูวา จติ มโี ทสะ จติ ปราศจากโทสะกร็ วู าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะก็รูวา จิตมีโมหะ หรอื จติ ปราศจากโมหะก็รูว าจติ ปราศจากโมหะ จติ หดหกู ร็ วู าจิตหดหู หรือ จติ ฟุงซานกร็ วู า จิตฟงุ ซานจติ เปนมหคั คตะกร็ ูว า จติ เปนมหคั คตะ หรอื จติ ไมเปนมหคั คตะก็รวู า จิตไมเปนมหัคคตะ จติ เปน โลกตุ ตระกร็ วู า จิตเปนโลกตุ ตระ หรอื จติ ไมเปนโลกุตตระก็รูว า จิตไมเปนโลกุตตระ จิตเปน สมาธิกร็ วู า จติ เปน สมาธิ หรือจิตไมเปน สมาธิ กร็ วู าจติ ไมเปนสมาธิ จิตหลดุ พน กร็ วู า จิตหลุดพน หรือจติไมหลุดพนกร็ วู า จติ ไมหลุดพน. ดูกอนมาณพ เหมือนหญงิ สาว ชายหนมุ ชอบแตง ตวั เมอ่ื สอ งดหู นาของตนในกระจกทสี่ ะอาด ผดุ ผอง หรือในภาชนะน้ําอนั ใส หนามไี ฝกร็ ูวาหนา มไี ฝ หรือหนาไมม ไี ฝกร็ ูว า หนา ไมม ไี ฝ ฉนั ใด ดูกอนมาณพ ภกิ ษุกฉ็ นั น้นั แล เม่อื จติ ตง้ั มัน่ แลว ฯลฯ ถงึ ความไมหวน่ั ไหว เธอยอมนอ มยอ มโนม จิตไปเพือ่ เจโตปริยญาณ ยอมกําหนดรใู จของสตั วอ ืน่ ของบุคคลอื่นดว ยใจ คือ จิตมรี าคะก็รวู า จิตมรี าคะ ฯลฯ หรอื จติ ไมห ลุดพนกร็ ูวาจติ ไมห ลุดพน แมข อ นก้ี ็เปนปญญาของเธอประการหน่งึ . [๓๓๔] ภิกษนุ ้นั เมอื่ จิตตงั้ ม่ัง ฯลฯ ถึงความไมหวั่นไหวอยา งน้ียอ มนอ มยอมโนม จิตไปเพือ่ บพุ เพนวิ าสานุสสติญาณ เธอยอ มระลกึ ชาตกิ อนไดเ ปน อนั มาก คอื ระลกึ ไดชาติหนึ่งบา ง สองชาตบิ า ง สามชาติบางส่ชี าตบิ า ง หาชาตบิ าง สบิ ชาตบิ าง ยี่สิบชาติบาง สามสบิ ชาตบิ าง สสี่ ิบชาตบิ าง หาสิบชาตบิ า ง รอยชาติบาง พนั ชาตบิ า ง แสนชาติบา ง ตลอดสงั วัฏฏกปั เปน อนั มากบา ง ตลอดวิวฏั ฏกปั เปนอนั มากบาง ตลอดสังวฏั ฏ-ววิ ัฏฏกปั เปน อนั มากบางวา ในภพโนนเรามชี อื่ อยางน้ัน มีโคตรอยางนั้นมผี ิวพรรณอยางนนั้ มอี าหารอยางนั้น เสวยสุขเสวยทกุ ขอยา งนน้ั ๆ มี
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 219กาํ หนดอายเุ พียงเทา นั้น คร้นั จุติจากภพนนั้ แลวไดไ ปเกิดในภพโนน ในภพนั้นเราไดมีชื่ออยางน้ัน มโี คตรอยา งนัน้ มีผิวพรรณอยางนั้น มีอาหารอยา งนนั้ เสวยสุขเสวยทกุ ขอ ยางน้ัน ๆ มกี าํ หนดอายเุ พียงเทานนั้ ครน้ั จุติจากภพนั้นแลว ไดมาเกดิ ในภพนี้ เธอยอ มระลกึ ถงึ ชาตกิ อ นไดเปนอนั มากพรอมทั้งอาการ พรอมทง้ั อุเทส ดว ยประการฉะนี้. ดกู อนมาณพ เหมอื นบุรษุ จากบา นตนไปบานอืน่ แลว จากบา นน้ันไปบานอ่นื อีก จากบา นน้นั กลบั มาบา นของตนตามเดมิ เขากร็ ะลกึ ไดอยา งน้ีวา เราไดจ ากบานของเราไปบา นโนน ในบานนนั้ เราไดย ืนอยางนัน้ ไดน ัง่อยา งนน้ั ไดพ ูดอยางน้นั ไดน่ิงอยา งนน้ั เม่อื เราจากบานนั้นไปบานโนนแมใ นบา นน้นั เรากไ็ ดยืนอยา งนนั้ ไดนงั่ อยา งน้นั ไดพ ูดอยา งน้ัน ไดนิ่งอยางนั้น แลวเรากลบั จากบานน้นั มายงั บานของเรา ดงั น้ี ฉนั ใด ดกู อ นมาณพภกิ ษุกฉ็ ันนัน้ แล ฯลฯ ยอ มนอ มยอ มโนม จติ ไปเพอ่ื บพุ เพนิวาสานุสสติญาณเธอยอ มระลึกชาตกิ อ นไดเปน อนั มาก คือ ชาติหนึง่ บาง สองชาตบิ าง ฯลฯเธอยอ มระลึกชาตกิ อนไดเ ปนอันมาก พรอ มทัง้ อาการ พรอ มทั้งอุเทส. แมขอ นก้ี เ็ ปนปญญาของเธอประการหน่งึ . [๓๓๕] ภกิ ษนุ น้ั เม่อื จติ ต้งั มัน่ ฯลฯ ถึงความไมหวน่ั ไหวอยางน้ี เธอยอมนอ มยอ มโนม จิตไปเพอื่ หยง่ั รกู ารจุตแิ ละการเกิดข้นึ ของสตั วท ้งั หลาย เธอเหน็ หมสู ัตวท ก่ี ําลังจตุ ิ กําลงั เกิด เลว ประณตี ผวิ พรรณดี ผวิ พรรณทรามไดดี ตกยาก ดว ยทพิ ยจักษุอนั บริสุทธ์ิเกนิ จักษขุ องมนุษย ยอมรูชัดซงึ่ สตั วท้งั หลาย ผูเปนไปตามกรรมวา สตั วเ หลา นปี้ ระกอบดวยกายทุจริต วจีทรุ ติมโนทุจติ วา รา ยพระอริยเจา เปนมจิ ฉาทฏิ ฐิ ยึดการกระทําดวยอาํ นาจมจิ ฉาทิฏฐิ สตั วเ หลา น้นั เบอื้ งหนาแตตายเพราะกายแตก ก็เขาถงึ อบายทุคติวนิ ิบาต นรก สว นสัตวทงั้ หลายทป่ี ระกอบดว ย กายสุจรติ วจีสจุ ริต มโน-
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 220สุจริต ไมวา รา ยพระอริยเจา เปน สัมมาทิฏฐิ ยดึ ถอื การกระทําดว ยอาํ นาจสัมมาทฏิ ฐิ เบอ้ื งหนาแตตายเพราะกายแตก เขา ถึงแลวซ่งึ สุคตโิ ลกสวรรค ดงั นี้เธอยอ มเหน็ สัตวทงั้ หลายที่กาํ ลงั จุติ กําลังเกดิ เลว ประณีต ผวิ พรรณดีผิวพรรณทราม ไดด ี ตกยาก ดว ยทพิ ยจกั ษุ อันบริสุทธิ์ เกินจกั ษขุ องมนษุ ยยอมรูชัดซงึ่ หมูสตั วผูเปน ไปตามกรรม ดวยประการฉะน.ี้ ดูกอ นมาณพ เหมือนปราสาท ต้งั อยทู ามกลางทางสแี่ พรง บุรษุ ผูมีจกั ษยุ ืนอยบู นปราสาทนั้น กจ็ ะเห็นผคู นท้ังหลาย กําลงั เขา ไปสเู รอื นบาง ออกไปอยูบ า ง กําลังเดินไปมาอยตู ามถนนบา ง นง่ั อยูทามกลางทางสี่แพรง บาง เขากร็ วู า คนเหลาน้เี ขา ไปสเู รือน คนเหลานี้ออกจากเรือน คนเหลานเ้ี ดนิ ไปมาตามถนน คนเหลา นน้ี งั่ ทามกลางทางสี่แพรง ฉนั ใด ดกู อนมาณพ ภกิ ษุกฉ็ นัน้นั แล ฯลฯ เมอ่ื จิตตงั้ ม่นั แลว ฯลฯ ถงึ ความไมหวัน่ ไหว เธอยอมนอ มยอ มโนม จิตไปเพอื่ หย่งั รกู ารจุตแิ ละการเกดิ ของสัตวท ้ังหลาย เห็นสตั วท งั้ หลายที่กาํ ลังจุติ กําลงั เกดิ เลว ประณีต ผวิ พรรณดี ผวิ พรรณทราม ไดด ีตกยาก ดวยทิพยจักษุอันบริสุทธ์ิ เกนิ จกั ษขุ องมนษุ ย ยอ มรูช ัดถงึ หมสู ตั วผูเปน ไปตามกรรม แมข อ นก้ี เ็ ปน ปญ ญาของเธอประการหน่ึง. [๓๓๖] ภกิ ษุนนั้ เมือ่ จิตตง้ั มัน่ บริสทุ ธิ์ ผุดผอ ง ไมมีกิเลส ปราศจากอปุ กิเลส เปน จติ ออ น ควรแกก ารงาน มน่ั คง ถงึ ความไมหวนั่ ไหวอยางน้ี ยอ มนอ มยอ มโนมจิตไปเพอ่ื อาสวักขยญาณ เธอรชู ัดตามความเปนจรงิ วา นีท้ กุ ขน้เี หตุใหเ กิดทกุ ข นีค้ วามดับทุกข นขี้ อปฏบิ ัตใิ หถ ึงความดบั ทุกข เหลา นี้อาสวะ เหลา น้ีเหตุใหเ กดิ อาสวะ เหลา นค้ี วามดบั อาสวะ เหลาน้ขี อ ปฏบิ ัตใิ หถึงความดบั อาสวะ เม่ือเธอรูอ ยเู หน็ อยูอยา งน้ี จติ ยอมหลุดพนจากกามาสวะภวาสวะ อวิชชาสวะ เมอื่ จิตหลุดพน แลว กเ็ กิดญาณหยัง่ รวู า หลุดพนแลว
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 221รูชดั วา ชาตสิ น้ิ แลว พรหมจรรยอยจู บแลว กจิ ที่ควรทาํ ทาํ เสรจ็ แลว ไมม ีกิจอนื่ เพ่ือความเปนอยา งนีอ้ ีก. ดกู อนมาณพ เหมอื นสระน้ําบนยอดเขา ใสสะอาด ไมขนุ มัว บรุ ษุผมู ตี าดียืนอยูบนขอบสระนํ้า จะเหน็ หอยโขงและหอยกาบบา ง กอนกรวดและกระเบอ้ื งบาง ฝงู ปลาบา ง กาํ ลังวา ยอยกู ม็ ี หยุดอยูกม็ ีในสระนัน้ เขาคิดเหน็ อยางน้วี า สระนํ้านีใ้ สสะอาด ไมข นุ มัว บรรดาหอยโขง และหอยกาบกอ นกรวดและกระเบื้อง ฝงู ปลา ตางกําลงั วา ยอยูบาง กําลังหยดุ อยบู า ง ในสระนํ้านนั้ ดังนี้ ฉนั ใด ภิกษกุ ฉ็ นั น้ันแล ฯลฯ เม่ือจิตต้งั มน่ั แลว ฯลฯ ถึงความไมห ว่นั ไหว ยอ มนอมยอ มโนม จติ ไปเพอื่ อาสวกั ขยญาณ ยอ มรูช ัดตามความเปน จรงิ วา น้ที กุ ข ฯลฯ นีข้ อ ปฏิบัติใหถงึ ความดบั อาสวะ เมื่อเธอรูอยูเห็นอยอู ยา งนี้ จติ ก็หลดุ พนจากกามาสวะ ภวาสวะ อวชิ ชาสวะ เม่อื จติ หลดุพนแลว กเ็ กดิ ญาณหยั่งรวู า หลดุ พน แลว รชู ดั วาชาติส้ินแลว พรหมจรรยอยจู บแลว กจิ ทคี่ วรทําทาํ เสรจ็ แลว ไมมกี จิ อืน่ เพ่ือความเปนอยางนอ้ี ีก แมขอนก้ี เ็ ปน ปญญาของเธอประการหน่ึง. [๓๓๗] ดูกอ นมาณพ ปญ ญาขันธ อนั ประเสรฐิ น้แี ล ทพ่ี ระผมู ีพระภาคเจา ไดต รสั สรรเสริญ ทั้งยังชุมชนใหยดึ มน่ั ใหต ง้ั อยู ใหด าํ รงอยูในพระธรรมวินัยน้ี มไิ ดมีกจิ อะไรที่จะพึงกระทาํ ใหยงิ่ ข้ึนไปกวาน.้ี สุภมาณพ กราบเรยี นวา ขา แตท านพระอานนทผเู จริญ นาอัศจรรยนัก นา พศิ วงนัก ปญญาขันธอนั ประเสรฐิ น้ี บริบูรณแลว มใิ ชไมบ ริบูรณขา แตทานพระอานนทผ เู จรญิ กระผมไมเคยเห็นปญญาขันธอันประเสรฐิ ที่บรบิ รู ณแ ลว อยางนีใ้ นสมณพราหมณพ วกอ่ืน ภายนอกพระศาสนานี้เลย และไมมีกจิ อะไรอน่ื ที่จะตอ งทําใหย ง่ิ ขนึ้ ไปกวาน.้ี
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 222 ขาแตท านพระอานนทผูเจริญ ภาษิตของทา นไพเราะยิ่งนกั ไพเราะยง่ินัก เหมือนบคุ คลหงายภาชนะทีค่ ว่ํา เปดภาชนะทป่ี ด บอกทางแกคนหลงทาง หรอื สอ งประทปี ในท่มี ดื ดว ยคิดวา ผมู ีจกั ษจุ กั เหน็ รูป ดังน้ี ฉันใด พระอานนทผูเจริญประกาศธรรม โดยอเนกปริยายก็ฉันน้ันเหมือนกัน ขา แตพ ระอานนทผ ูเ จรญิ ขาพเจาขอถงึ พระโคดมผเู จรญิ พระธรรมและพระสงฆเปนสรณะ ทา นพระอานนทผ ูเจริญ โปรดทรงจาํ ขา พเจา วา เปน อุบาสกผถู งึสรณะอยางมอบกายถวายชวี ติ ตง้ั แตบดั นเี้ ปนตน ไป จบสุภสตู รที่ ๑๐
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 223 อรรถกถาสุภสตู ร สภุ สตู รมีบทเรมิ่ วา ขา พเจา สดบั มาอยางนี้ ฯเปฯ ในพระนครสาวัตถี. ตอไปนเี้ ปนการอธบิ ายบทที่ยากในสุภสูตรน้ัน บทวา เมื่อพระผูมีพระภาคเจา เสดจ็ ปรินพิ พานแลว ไมน าน อธิบายวา เมือ่ พระผูม ีพระภาคเจาเสดจ็ ปรินพิ พานแลวไมน าน. ประมาณ ๑ เดอื น ถัดจากวนั ปรนิ พิ พาน ขอ น้ีทา นกลา วหมายถึงวนั ทพ่ี ระอานนท ถอื บาตรและจีวรของพระผูม ีพระภาคเจาแลว มาน่ังฉนั ยาถา ยผสมนาํ้ นม ณ วหิ าร โดยนยั ทก่ี ลา วไวแ ลวในนิทาน. บทวา โตเทยยบตุ ร แปลวา บุตรของโตเทยยพราหมณ มีเร่ืองเลาวา ไมไกลจากกรุงสาวตั ถี มีบา นชือ่ ตุทคิ าม เพราะเขาเปน คนใหญโตในบา นตุทิคาม จงึ มชี ่ือวา โตเทยยะ เขามที รัพยส มบตั ิประมาณ ๔๕ โกฏิ แตเขาเปนคนตระหนีเ่ ปน อยา งยิ่ง เขาควิ า ช่อื วา ความไมส นิ้ เปลืองแหง โภคสมบัติ ยอ มไมมแี กผ ใู ห แลวเขาก็ไมใหอะไรแกใ คร ๆ เขาสอนบุตรวา คนฉลาด ควรดคู วามสนิ้ ไปของยาหยอดตา การกอจอมปลวก การสะสมนํ้าผงึ้ แลวพงึ ครองเรอื น เมอื่ เขาใหบ ตุ รสําเหนยี กถึงการไมใ หอยางน้แี ลว ครั้นตายไปกไ็ ปเกิดเปนสุนขั อยทู ี่เรือนหลังน้นั เอง สภุ มาณพผูเปนบตุ ร รกั สุนขั น้นั มาก ใหกินอาหารเหมอื นกบั ตน อมุ นอนบนทนี่ อนอยา งด.ี คร้ันวันหนงึ่ เมอ่ื สุภมาณพออกจากบานไป พระผูมพี ระภาคเจาเสดจ็ เขาไปบณิ ฑบาต ณ เรือนหลงั น้นั สุนขั เหน็ พระผูม ีพระภาคเจา จึงเหาเดนิ เขา ไปใกลพระองค พระผมู พี ระภาคเจาไดตรสั กะสุนัขนั้นวา ดกู อ นโต-เทยยะ แมเมอื่ กอนเจากก็ ลา วหม่ินเราวา แนะ ทาน แนะทาน ดังน้ี จึงเกิดเปน
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 224สุนขั แมบัดน้ีเจา ก็ยังเหาเรา จกั ไปอเวจีมหานรก. สนุ ขั ฟง ดังน้ัน มคี วามเดอื ดรอนจึงนอนบนขีเ้ ถา ระหวา งเตาไฟ. พวกมนษุ ยไ มสามารถจะอมุ ไปใหนอนบนที่นอนได. สุภมาณพกลบั มาถึงถามวา ใครนําสนุ ัขน้ีลงจากท่ีนอน.พวกมนษุ ยต า งบอกวา ไมมีใครดอก แลว เลา เรอ่ื งราวใหฟง. สุภมาณพไดฟ ง แลวโกรธวา บิดาของเราบงั เกดิ ในพรหมโลก แตพระสมณโคดมหาวา บดิ าของเราเปนสนุ ัข ทา นน้พี ูดอะไร ปากเสยี ใครจะทว งตงิ พระผูมพี ระภาคเจาวา พดู เทจ็ จงึ ไปยังวหิ าร ถามเร่ืองราวกะพระองค.พระผูม พี ระภาคเจา จึงตรัสแกส ุภมาณพเหมอื นอยางนั้น แลวตรัสความจรงิ วาดกู อนสภุ มาณพ ทรัพยทบ่ี ดิ าของเจายงั ไมไ ดบ อกมอี ีกไหม. สุภมาณพทูลวาพระโคดม หมวกทองคํามคี า หน่งึ แสน รองเทา ทองคํามีคา หนึง่ แสน ถาดทองคํามีคา หน่งึ แสน กหาปณะหน่ึงแสนมอี ย.ู พระโคดมตรสั วา เจา จงไปใหสุนขั บริโภคขาวมธุปายาสมีน้ํานอ ย แลวอมุ ไปนอนบนทีน่ อน พอไดเวลาสนุ ัขหลับไปหนอ ยหน่ึง จงถามดู สนุ ขั จกั บอกทกุ ส่ิงทุกอยางแกเ จา ทนี น้ั แหละเจาก็จะรูวา สุนขั นั้นคือบดิ าของเรา. สภุ มาณพไดกระทาํ ตามนั้น. สุนัขบอกหมดทกุ ส่ิงทุกอยาง เขารแู นว า สุนขั นัน้ คือบิดาของเรา จงึ เลื่อมใสในพระผูมีพระภาคเจา ไปทลู ถามปญหา ๑๔ ขอ กะพระผมู พี ระภาคเจา เมือ่ จบปญ หา เขาขอถงึ พระผมู พี ระภาคเจา เปนสรณะ ทานกลาวความขอ นนั้ หมายถึงสุภมาณพโตเทยยบุตร บทวา อาศญั อยูใ กลก รงุ สาวตั ถี ความวา สุภมาณพมาจากโภคคามของตนแลว อาศยั อยู. บทวา ไดเรยี กมาณพนอ ยคนหนึ่งมา ความวา เมื่อพระศาสดาเสด็จปรินพิ พานแลว สภุ มาณพไดสดับวา พระอานนทถอื บาตรและจีวรของพระองคม า มหาชนยอมจะเขา ไปหาทา นเพื่อเยี่ยมเยือนดังนี้ จึงคดิ วา ครั้นเราจักไปวิหาร กค็ งไมอ าจกระทําปฏิสันถาร หรือฟงธรรมกถา ได
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 225สะดวก ในทา มกลางหมูช นเปน อันมาก เห็นทานมาสูเรือนนั่นแหละ จักทาํปฏิสนั ถารไดโดยงา ย และเรามคี วามสงสัยอยูขอหนึง่ เราก็จักถามทา น แลวจงึ เรียกมาณพนอ ยคนหน่ึงมา. เวทนาอันเปน ขา ศึก ทา นกลาววา อาพาธ ในบทเปน ตน วา มีอาพาธนอย. สุภมาณพกลาววา เวทนาใดเกดิ ในสวนหนงึ่ แลว ยดึ ไวซึ่งอริ ิยาบถ ๔เหมอื นเอาแผน เหลก็ นาบ เธอจงถามความไมมแี หงเวทนานั้น. บทวา มีโรคเบาบาง ทานกลาวถึงโรคอันทําชวี ติ ใหลําบาก เธอจะถามความไมม แี มแหงโรคน้นั . สุภมาณพกลา ววา ชือ่ วาการลุกขนึ้ ของผูปวยน่ันแลยอ มหนกักาํ ลงั กายยอ มไมม ี เราะฉะน้ัน เธอจงถามความไมม ีไข และความมีกําลงั .บทวา มคี วามเปน อยสู บาย ความวา เธอจงถามความเปน อยอู ยางเปนสุข ในอริ ยิ าบถ ๔ คอื เดิน ยืน นัง่ นอน ครั้นพระคันถรจนาจารยเมอ่ื แสดงถึงอาการทค่ี วรจะถามแกมาณพนอยนน้ั จงึ กลา วคําเปน ตนวา สุโภ. บทวาอาศัยเวลาและสมยั ความวา ถือ คอื ใครค รวญ เวลาและสมัยดวยปญ ญา. มีอธิบายวา หากพรงุ น้ีจักเปน เวลาไปของเรา กาํ ลงั ของเราจักซานไปในกายจกั ไมมีความไมส บายอยา งอน่ื เพราะการไมเ ปนเหตุ ทนี ้นั เราจักใครครวญเวลานน้ั และสมัยกลาวคอื การไป เหตุ พวกหมู ถากระไรพงึ มาพรุงน้.ี บทวา เจตกภิกษุ ความวา ไดชือ่ วา เจตกะ เพราะเกดิ ในเจตยิ รัฐ-บทวา กลาวสมั โมทนียกถา พอใหร ะลกึ ถึงกนั ความวา สภุ มาณพไดก ลา วสัมโมทนยี กถา พอใหร ะลึกถึงกันอันเก่ียวกบั มรณะ ไดผ า นไปแลวโดยนยัเปน ตนอยางน้ีวา ทานพระอานนท พระทศพลไดม ีโรคอะไร พระผูมพี ระ-ภาคเจาเสวยอะไร อนึ่ง ความโศกไดเ กดิ ขึน้ แกทา นท้งั หลายโดยการปรินิพพานของพระศาสดา พระศาสดาของทา นท้งั หลายปรินพิ พานแลวอยางเดยี วก็หาไม
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 226ความเส่อื มอนั ใหญห ลวงก็เกดิ แกมนษุ ยโลก พรอมทัง้ เทวโลก บัดน้คี นอ่นื ใครเลาจกั พนความตาย กบ็ คุ คลผเู ลิศของมนษุ ยโลก พรอมท้ังเทวโลกยังเสดจ็ปรินพิ พานได บดั นม้ี จั จรุ าชจกั เห็นใครอื่นแลวละอาย สุภมาณพถวายอาหารอันสมควรแกเครือ่ งดืม่ และเภสชั แกพระเถระเม่อื วานนี้ เมือ่ เสร็จภตั ตกิจจึงนง่ั ณ สวนขางหนึง่ บทวา เปน อปุ ฐากอยใู นสํานัก ความวา เปนอปุ ฐากอยูในสาํ นกัไมแ สวงหาโทษ. บทวา อยูใกลช ิด นี้ เปน ไวพจนข องบทกอน เพราะเหตุไรสภุ มาณพจงึ ถามวา พระโคดมไดตรัสสรรเสริญคณุ แหง ธรรมเหลาใด. นัยวาสุภมาณพไดม ปี ริวิตกอยางนีว้ า พระโคดมผเู จรญิ ยังมนุษยโลกน้ใี หดํารงอยูในธรรมเหลา ใด ธรรมเหลา น้ัน โดยที่พระโคดมลวงลับไปแลวเส่ือมสญู ไปดวยหรอื หนอ หรือยงั ดาํ รงอยู หากดํารงอยู พระอานนท จักรู กระผมขอโอกาสถาม ดงั น้ี เพราะฉะน้ัน สภุ มาณพจงึ ถามขน้ึ . คร้งั นนั้ พระเถระไดส งเคราะหป ฎ ก ๓ ดว ยขันธ ๓ เมอื่ จะแสดงแกสุภมาณพ จึงกลา ววา แหง ขันธ ๓ ท้งั หลายแล ดังนีเ้ ปน ตน . สภุ มาณพคิดวาเรากาํ หนดขอทีท่ า นกลาวโดยยอ ไมไ ด จกั ถามโดยพิสดาร จงึ กลา ววา แหงขันธท้ังหลาย ๓ เปน ไฉน ดงั นเี้ ปนตน . เมื่อพระอานนทแสดงขนั ธเ หลา นั้น ดว ยบทวาแหง สีลขันธอ ันประเสริฐ ดังน้ี สุภมาณพจึงถามเปนขอ ๆ อีกวา ทา นพระอานนท ก็สลี ขนั ธอ ันประเสริฐน้นั เปนอยา งไร. แมพ ระเถระก็แสดงถึงการอุบัตขิ องพระพทุ ธเจาแกส ุภมาณพน้ัน เม่ือจะแสดงธรรมอนั เปน แบบแผนจึงวสิ ัชนาธรรมทัง้ ปวง โดยนยั ทพ่ี ระผูมพี ระภาคเจาตรัสไวโดยลําดับนั้นแล ในบทวา ในพระธรรมวินยั น้ี ยงั มีกิจทีจ่ ะตอ งกระทําใหยิ่งข้นึ ไป
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 227อยูอีก ทานแสดงวา ในศาสนาของพระผูม พี ระภาคเจานี้ มิใชศีลเทา นน้ั ท่มี สี าระศีลนัน้ เปน เพยี งพน้ื ฐานอยา งเดียวเทานัน้ ยงั มกี ิจอนื่ ทจี่ ะตองทํายง่ิ กวานอี้ ีก. บทวา ภายนอกจากศาสนาน้ี คอื ภายนอกจากพระพทุ ธศาสนา บทวาดูกอนมาณพ ภกิ ษุเปน ผูมีทวารคมุ ครองแลว ในอินทรยี ท้ังหลายอยา งไรนี้ทานพระอานนทแมถกู ถามถึงสมาธิขนั ธอยางนวี้ า ทานพระอานนทส มาธิขนั ธอันประเสริฐนั้นเปนอยางไร ทานมปี ระสงคจ ะชีใ้ หเหน็ ซ่ึงธรรมเปนอปุ การะของธรรมท้งั สอง ในระหวางศลี และ สมาธิ ซงึ่ มีอนิ ทรียส งั วรเปน ตน ทที่ านยกขึน้ แสดงในลาํ ดบั ศีลอยา งน้ีวา ภกิ ษสุ มบรู ณดว ยศลี มที วารคุมครองแลวในอนิ ทรียทง้ั หลาย ถงึ พรอมดว ยสตสิ มั ปชัญญะ เปน ผูสนั โดษแลว ดงั น้ีแลวแสดงสมาธิขันธ จึงไดกลาวเร่ิมขนึ้ . ในที่นี้แสดงถึงรปู ฌานเทาน้นั จงึ ไมควรนําอรปู ฌานมาแสดง. เพราะช่ือวาอรปู สมาบัตมิ ไิ ดสงเคราะหดวยจตตุ ถ-ฌาน จงึ ไมมี. บทวา ในธรรมวนิ ัยนี้ ยงั มีกิจทจ่ี ะตองทาํ ใหย ง่ิ ข้นึ ไปอกี ทานแสดงวาชีอ่ วา ความเกดิ ข้นึ แหงความส้ินสดุ มไิ ดมใิ นศาสนาของพระผมู พี ระภาคเจา น้ีโดยเพยี งจติ มีอารมณเปน หนึ่งเทา นนั้ ยังมีกจิ อนื่ ที่จะตอ งทาํ ยงิ่ กวานอี้ ีก. บทวา ในธรรมวนิ ยั นี้ ไมมกี จิ ที่จะตอ งทําใหย ิ่งข้นึ ไปอกี ทา นแสดงวา ชอ่ื วากจิ ทจี่ ะตองทาํ ย่ิงไปกวานีไ้ มม ี ในศาสนาของพระผูมพี ระภาคเจา นี้เพราะศาสนาของพระผูมพี ระภาคเจา มีพระอรหัตตเ ปนทส่ี ิน้ สุด. บทท่เี หลอืมีขอความงา ยในทท่ี ั้งปวง. จบอรรถกถาสภุ สูตร สุภสูตรท่ี ๑๐ จบ
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 228 ๑๑ เกวฏั ฏสูตร [๓๓๘] ขาพเจา ไดส ดับมาอยา งนี้ สมัยหน่ึงพระผูมีพระภาคเจา ประทบั อยู ณ สวนมะมวงของปาวารกิ -เศรษฐใี กลเมอื งนาลนั ทา. คร้ังนั้น เกวัฏฏะบุตรคฤหบดเี ขาไปเฝา พระผูมีพระภาคเจาถงึ ท่ปี ระทบั ครน้ั เขาไปเฝา แลวถวายบังคมพระผูม ีพระภาคเจา นง่ัณ ท่ีควรสวนขา งหน่ึง เมอ่ื นง่ั เรยี บรอ ยแลว เกวัฏฏะบตุ รคฤหบดไี ดกราบทูลพระผมู พี ระ-ภาคเจา วา ขา แตพ ระองค เมอื งนาลนั ทาน้ี เปน เมืองมง่ั คง่ั สมบรู ณ มีผคู นมากคับคั่งไปดวยมนษุ ย เล่อื มใสในพระผูมพี ระภาคเจา เปน อยา งยง่ิ ขอประทานโอกาสเถดิ พระเจาขา ขอพระผมู ีพระภาคเจาทรงบญั ชาใหภกิ ษรุ ปู หน่งึ ทจ่ี กักระทาํ อทิ ธิปาฏิหารยิ อนั เปน ธรรมที่ย่งิ ยวดของมนษุ ยได โดยอาการอยา งนี้ชาวเมืองนาลันทา จักเล่อื มใสในพระผูมีพระภาคเจา เปนอยา งยงิ่ สดุ ทจ่ี ะประมาณได. เมื่อเกวฏั ฏะกราบทูลอยา งนแ้ี ลว พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรสั กะเกวัฏฏะบตุ รคฤหบดีวา ดกู อนเกวัฏฏะ เรามไิ ดแสดงธรรมแกภกิ ษุท้ังหลายอยางน้วี าดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย มาเถดิ พวกเธอจงกระทาํ อทิ ธิปาฏหิ าริยอันเปน ธรรมยง่ิยวดของมนุษยแ กคฤหัสถผนู ุงขาวหมขาว ดงั น้ี เกวฏั ฏะบตุ รคฤหบดไี ดกราบทลู พระผมู ีพระภาคเจาเปนคาํ รบสองวา ขา แตพระองคผูเ จริญ ขาพระองคม ิไดเ จาะจงพระผมู พี ระภาคเจา เพยี งแตกราบทลู อยางน้วี า ขาแตพ ระองคผูเจรญิ เมืองนาลันทานี้ เปน เมอื งม่งั คงั่ สมบรู ณ มีผคู นมาก คับคั่งไปดว ย
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 229มนษุ ย เลอื่ มใสในพระผมู พี ระภาคเจาเปน อยา งย่งิ ขอประทานโอกาสเถิดพระเจาขา ขอพระผูมพี ระภาคเจาทรงบญั ชาใหภ กิ ษุรปู หน่งึ ทจี่ กั กระทําอิทธิปาฏหิ าริยอันเปน ธรรมยง่ิ ยวดของมนษุ ย โดยอาการอยา งนี้ ชาวเมืองนาลันทาจกั เลอื่ มใสในพระผูมีพระภาคเจา เปน อยา งยิง่ สุดที่จะประมาณได.แมค รั้งทีส่ าม ฯลฯ เกวฏั ฏะกไ็ ดก ราบทลู อยา งนั้น. [๓๓๙] พระผูมีพระภาคเจา ตรัสวา ดูกอ นเกวัฏฏะ ปาฏิหาริย ๓ อยา งนี้ เราทาํ ใหแ จง ดว ยปญ ญาอันยิง่ ดว ยตนเองแลว จงึ ประกาศใหร ู ปาฏหิ ารยิ ๓อยา งคือ อิทธิปาฏหิ าริย อาเทสนาปาฏิหารยิ อนสุ าสนีปาฏหิ าริย. ดูกอนเกวฏั ฏะอิทธิปาฏิหาริยเปนไฉน. ภิกษุในธรรมวินยั นีย้ อ มแสดงฤทธไ์ิ ดหลายอยา ง คอืคนเดยี วเปนหลายคนกไ็ ด หลายคนเปน คนเดยี วก็ได ทําใหปรากฏกไ็ ด ทําใหหายไปก็ได ทะลุฝากําแพง ภเู ขาไปกไ็ ด ไมตดิ ขดั เหมอื นไปในที่วา งกไ็ ด ผดุข้ึนดําลงในแผนดนิ เหมอื นในนา้ํ กไ็ ด เดนิ บนน้าํ ไมแยกเหมือนเดินบนแผนดินกไ็ ด นัง่ บลั ลงั กเ หาะไปในอากาศเหมอื นนกก็ได ลูบคลําพระจันทรพระอาทติ ยซ ่ึงมีฤทธ์มิ ีอานภุ าพมากก็ได ใชอ าํ นาจทางกายไปตลอดพรหมโลกกไ็ ด. ผูมศี รทั ธาเลือ่ มใสบางคนเห็นภิกษนุ ัน้ แสดงฤทธิ์ไดหลายอยาง คอื คนเดียวทาํ ใหเ ปนหลายคนกไ็ ด......คนที่มศี รัทธาเลอ่ื มใสนนั้ จะบอกแกค นทไ่ี มมีศรัทธาไมเ ล่ือมใสคนใดคนหน่งึ วา พอ มหาจาํ เริญ นาอศั จรรยจ ริงหนอ นาพศิ วงจริงหนอ ความทีส่ มณะมีฤทธ์ิมาก. มอี านุภาพมาก ขาพเจา ไดเ หน็ ภิกษรุ ูปโนนแสดงฤทธ์ิไดหลายอยาง......คนท่ีไมมีศรทั ธา ไมเ ลือ่ มใส จะพึงกลา วกะคนที่มศี รัทธาเลือ่ มใสอยา งนี้วา น่แี นะ พอ คณุ มีวิชาอยอู ยางหนง่ึ ช่ือวา คันธารีภกิ ษุรปู นน้ั แสดงฤทธ์ไิ ดหลายอยาง........ดว ยวิชาชื่อวา คันธารนี ั้น....คูกอ นเกวฏั ฏะทานสําคัญความขอ นั้นเปนไฉน คนผไู มม ศี รัทธา ไมมีความเล่ือมใส
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 230นนั้ จะพงึ กลา วอยา งนั้น กะคนผูมศี รัทธามีความเลอ่ื มใสน้ันบางไหม. พงึกลา ว พระเจาขา. ดูกอนเกวฏั ฏะ เราเห็นโทษในอิทธิปาฏหิ ารยิ อ ยา งนแี้ หละจงึ อึดอดั ระอา รังเกยี จอิทธิปาฏิหาริย. [๓๔๐] ดกู อนเกวัฏฏะ กอ็ าเทสนาปาฏหิ าริยเปน ไฉน ภิกษุในธรรมวนิ ยั น้ียอมทายใจ ทายความรูสึกในใจ ทายความตรึก ทายความตรองของสตั วอน่ื ของบุคคลอืน่ ไดวา ใจของทานเปนอยา งนบ้ี า ง ใจของทา นเปนไปโดยอาการนี้บา ง จติ ของทา นเปนดงั นบี้ าง. บคุ คลบางคน มศี รทั ธาเลือ่ มใสเห็นภิกษนุ ่นั ทายใจ ทายความรสู กึ ในใจ ทายความตรึก ทายความตรองของสัตวอืน่ บุคคลอน่ื ได วา ใจของทานเปนอยา งน้ีบาง ใจของทา นเปน ไปโดยอาการนบี้ า ง จติ ของทา นเปนดังน้ีบาง. ครนั้ แลว ผูมศี รัทธาเล่อื มใสบอกแกค นท่ีไมม ีศรัทธา ไมม คี วามเลื่อมใสคนใดคนหน่ึงวา พอมหาจําเริญ นา อัศจรรยจ ริงหนอนาพิศวงจรงิ หนอ ความทส่ี มณะมฤี ทธ์ิมาก มีอานุภาพมาก ขา พเจา ไดเ ห็นภิกษรุ ูปนที้ ายใจ ทายความรสู กึ ในใจ ทายความตรึก ทายความตรอง ของสตั วอ ่นื ของบุคคลอื่นไดว า ใจของทา นเปนอยา งนี้ ใจของทานเปน ไปโดยอาการอยางน้ี จิตของทานเปน ดงั น้ี คร้นั แลว ผไู มม ศี รัทธาไมเ ลอ่ื มใสจะพึงกลาวกะผูมศี รัทธา ผูมคี วามเลือ่ มใสวา น่ีแนพ อคุณ มีวิชาอยูอยางหนง่ึ ชอื่มณิกา ภกิ ษรุ ปู น้ันทายใจ ทายความรสู กึ ในใจ ทายความตรกึ ทายความตรองของสตั วอ่ืนของบคุ คลอืน่ ไดวา ใจของทานเปน อยางน้ี ใจของทา นเปนไปโดยอาการอยางนี้ จติ ของทา นเปนดงั นี้ ดว ยวิชาชอ่ื วา มณกิ านน้ั ดูกอ นเกวฏั ฏะ ทานจะสาํ คัญความขอ นนั้ เปนไฉน คนผไู มมศี รัทธาไมเลื่อมใสนน้ัจะพึงกลา วกะคนผมู ีศรทั ธาเลื่อมใสนั้นบางไหม พงึ กลาวพระเจาขา ดูกอนเกวฏั ฏะ เราเหน็ โทษในอาเทสนาปาฏิหาริยอ ยางนี้แล จึงอดึ อดั ระอา รังเกยี จอาเทสนาปาฏิหาริย.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 231 [๓๔๑] ดกู อนเกวัฏฏะ อนสุ าสนปี าฏิหาริยเ ปนไฉน ดูกอนเกวัฏฏะภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้ ยอ มพรํ่าสอนอยา งนว้ี า ทานจงตรึกอยา งนี้ อยา ตรึกอยา งนนั้ จงใสใ จอยางนี้ อยาใสใจอยา งนนั้ จงละสิ่งนี้ เขา ถึงสิ่งน้ีอยู. ดูกอนเกวฏั ฏะ นเ้ี รยี กวา อนุสาสนีปาฏหิ าริย [๓๔๒] ดูกอนเกวัฏฏะ ขอ อ่นื ยังมอี ยูอกี พระตถาคตอบุ ตั ิขนึ้ ในโลกน้เี ปนพระอรหนั ต ตรสั รเู องโดยชอบ ฯลฯ ดกู อนเกวัฏฏะ แมน ้กี ็เรียกวาอนุสาสนีปาฏหิ าริย. ภิกษเุ ขา ถึงทุตยิ ฌาน ตตยิ ฌาน จตุตถฌานอยู. ดกู อนเกวัฏฏะ ขอนที้ านเรยี กวา อนสุ าสนีปาฏหิ าริย ฯลฯ ภิกษุนําเขาไปนอมเขาไปซง่ึ จติ เพอื่ ญาณทัสสนะ. ดูกอนเกวัฏฏะ นี้ ทา นเรียกวา อนุสาสน-ีปาฏหิ ารยิ . ฯลฯ ภิกษุยอมรวู า ไมมจี ิตอ่ืนเพือ่ เปนอยา งนีอ้ ีก ขอนที้ า นเรียกวา อนสุ าสนีปาฏหิ ารยิ . ดกู อนเกวฏั ฏะ ปาฏิหาริย ๓ อยา งนีแ้ ล เราทาํใหแจงดวยปญญาอันยงิ่ ดว ยตนเอง แลวจึงประกาศใหร.ู [๓๔๓] ดกู อนเกวัฏฏะ เรอ่ื งเคยมีมาแลว ความปรวิ ติ กทางใจไดเ กิดข้ึนแกภ กิ ษรุ ูปใดรปู หนง่ึ ในหมูภกิ ษนุ ี้เอง อยา งนว้ี า มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐว-ีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลานี้ ยอ มดบั ไมมเี หลือในท่ไี หนหนอ.ลําดับน้นั ภิกษุไดเ ขาสมาธิ ชนิดท่ีเมื่อจติ ตง้ั มนั่ แลว ทางไปสูเ ทวโลกกป็ รากฏได. คร้ันแลว ภิกษุเขา ไปหาพวกเทวดาชั้นจาตมุ มหาราชถึงทีอ่ ยู ไดถามพวกเทวดาเหลานั้นวา ทา นทัง้ หลาย มหาภตู รูป ๔ คอื ปฐวีธาตุ อาโปธาตุเตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลาน้ี ยอมดบั ไมมีเหลือในทีไ่ หน ดูกอนเกวฏั ฏะ เมอื่ภิกษุกลา วอยา งน้ี พวกเทวดาชน้ั จาตมุ มหาราชจึงกลา ววา แมพ วกขาพเจา ก็ไมท ราบทีด่ ับไมมเี หลอื แหง มหาภตู รปู ๔ คอื ปฐวธี าตุ อาโปธาตุ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 232เตโชธาตุ วาโยธาตนุ ี้ เหมอื นกัน แตยังมมี หาราชอยู ๔ องค ซง่ึ รงุ เรอื งกวา วิเศษกวา พวกขาพเจา ทาวเธอคงจะทราบ........ภกิ ษจุ ึงไปหามหาราชทงั้ ๔ แลว ถามวา ทา นทั้งหลายมหาภตู รูป ๔ คอื ปฐวธี าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุวาโยธาตุ เหลานี้ยอ มดบั ไมม เี หลือในที่ไหน เมอื่ ภิกษุกลาวอยา งนีแ้ ลวมหาราชทั้ง ๔ จึงกลา ววา แมพ วกขา พเจา ก็ไมท ราบ........แตยังมีพวกเทวดาช้นั ดาวดึงส ซ่ึงรงุ เรอื งกวา วิเศษกวาพวกขาพเจา เทวดาเหลา นั้นคงจะทราบ........ภิกษุจึงเขาไปหาเทวดาชน้ั ดาวดงึ สแ ลว กลา ววา มหาภูตรปู คือปฐวธี าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุเหลาน้ี ยอมดับโดยไมมเี หลอื ในทีไ่ หน เม่ือภิกษุกลาวอยา งนี้ เทวดาชน้ั ดาวดึงสจงึ กลาววา แมพ วกขาพเจากไ็ มทราบ.......แตยังมที า วสกั กะผเู ปน จอมเทวดา ซงึ่ รงุ เรอื งกวา วเิ ศษกวาพวกขา พเจา ทา วเธอคงจะทราบ........ภิกษุนั้นกไ็ ดไ ปหาทาวสักกะผูเปนจอมเทวดากลา ววา มหาภูตรปู ๔ คอื ปฐวธี าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุเหลาน้ี ยอมดับโดยไมมเี หลือในท่ีไหน เมื่อภกิ ษุกลาวอยา งนี้แลว ทาวสักกะผเู ปนจอมเทวดากลา วตอบวา ขา พเจากไ็ มทราบ..........แตยงั มเี ทวดาช้นัยาม............เทพบุตรชือ่ สุยาม............เทวดาช้ันดุสติ .............เทพบุตรช่อื สนั -ดสุ ติ .........เทวดาชั้นนมิ มานรด.ี ...........เทพบตุ รชื่อสุนิมมติ ะ........เทวดาชนั้ปรนมิ มิตวสวด.ี ...........เทพบุตรช่อื ปรนิมมติ วสวดี ซึ่งรุงเรืองกวา วิเศษกวาขาพเจา ทาวเธอคงทราบ............ท่ดี ับโดยไมเ หลอื แหงมหาภตู รูป ๔ คอืปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลานไ้ี ด. [๓๔๔] ดูกอนเกวัฏฏะ คร้งั นนั้ ภิกษเุ ขาไปหาวสวดีเทพบุตรแลว กลาววามหาภูตรูป ๔ คอื ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุเหลาน้ี ยอมดับไมม เี หลือในทีไ่ หน เมอ่ื ภกิ ษกุ ลา วอยางนแ้ี ลว วสวดีเทพบุตรกลา วตอบวา
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 233แมข าพเจาก็ไมท ราบ.....แตย งั มเี ทวดาพรหมกายิกา ซงึ่ รงุ เรืองกวา วิเศษกวาพวกเรา เทวดาเหลา น้นั คงจะทราบ ลาํ ดับนนั้ ภกิ ษไุ ดเ ขาสมาธโิ ดยท่เี มื่อจติตัง้ ม่นั แลวทางไปสพู รหมโลกไดปรากฏแลว. [๓๔๕] ดูกอ นเกวัฏฏะ ตอ แตน้นั ภกิ ษุไดเขา ไปหาเทวดาพรหมกายิกาแลวกลา ววา ทานท้งั หลาย มหาภตู รูป ๔ คอื ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุวาโยธาตุ เหลานี้ ยอมดบั ไมมีเหลือในทไ่ี หน เมื่อภกิ ษุกลาวอยางน้ี เทวดา-พรหมกายิกา จงึ กลาวตอบวา แมพ วกขา พเจาก็ไมท ราบ....แตย ังมีพระพรหมผูเ ปนมหาพรหม ผูเ ปนใหญไ มมีใครยิ่งกวา รูเหน็ เหตกุ ารณโดยถอ งแท ผใู ชอาํ นาจ ผเู ปนอิสสระ เปน ผูสราง เปน ผนู ิรมิต เปนผปู ระเสรฐิ เปนผูบงการเปนผทู รงอาํ นาจ เปนบดิ าของหมสู ตั ว ซง่ึ รงุ เรอื งกวา และวเิ ศษกวาพวกขา พเจาทาวมหาพรหมนน่ั แลคงจะทราบ...... ก็บดั นีท้ า วมหาพรหมนนั้ อยทู ี่ไหนแมพ วกขาพเจาก็ไมรทู อ่ี ยขู องพรหม หรอื ทศิ ของที่พรหมอยู แตวา นมิ ติ ทงั้หลายจกั เหน็ ได แสงสวา งยอ มเกดิ เอง โอภาสยอ มปรากฏเม่ือใด พรหมจักปรากฏเมอื่ น้นั การทีแ่ สงสวางเกิดเอง โอภาสปรากฏนั้นแล เปนบพุ พนมิ ติ เพ่ือความปรากฏแหงพรหม ดกู อนเกวัฏฏะ ตอมาไมน านนกั มหาพรหมน้ันก็ไดปรากฏ. [๓๔๖] ดูกอนเกวฏั ฏะ ลําดับน้นั ภิกษไุ ดเ ขา ไปหามหาพรหมแลวกลาววา มหาภตู รปู ๔ คือ ปฐวธี าตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลา น้ียอ มดับไมมีเหลือในทีไ่ หน เม่อื ภกิ ษกุ ลา วอยา งนี้แลว ทาวมหาพรหม ไดกลา วตอบวา ขาพเจาเปน พรหม เปน มหาพรหม เปน ผใู หญย ่ิง........ เปน บดิ าของหมูสตั วท ั้งหลาย. ดูกอ นเกวฏั ฏะ แมคร้งั ท่ี ๒ ภกิ ษนุ นั้ ก็ไดกลาวกะทา ว-มหาพรหมวา ขา พเจา มิไดถ ามทานอยา งนัน้ วา ทานเปนพรหม........ขา พเจา
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 234ถามทา นวามหาภตู รปู ๔.... ยอมดบั ไมมีเหลือในที่ไหน ตา งหาก. แมคร้งั ที่ ๒ทา วมหาพรหมก็ไดต อบภกิ ษอุ ยางน้ัน แมค รง้ั ที่ ๓ ภิกษุกไ็ ดกลา วกะทา วมหาพรหมวา ขาพเจา มไิ ดถามอยางนั้น ขาพเจาถามวา มหาภูตรูป ๔ ยอ มดับไมมเี หลอื ในท่ีไหนตางหาก. [๓๔๗] ดกู อ นเกวฏั ฏะ ลําดบั นั้นทา วมหาพรหมจับแขนภกิ ษนุ ั้นนําไป ณ ทคี่ วรสว นขา งหน่งึ แลวกลาวกะภิกษุน้ันวา ทานภกิ ษุ พวกเทวดา-พรหมกายกิ าเหลานี้ รจู ักขา พเจาวา อะไร ๆ ทพ่ี รหมไมร ู ไมเห็น ไมเ ขา ใจไมแจม แจง เปนอนั ไมมี เพราะฉะนน้ั ขา พเจาจึงไมตอบตอหนา เทวดาเหลานั้นวา แมขา พเจากไ็ มท ราบทด่ี บั ไมมเี หลอื แหง มหาภตู รูป ๔ คอื ปฐวธี าตุอาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลา น้เี หมือนกัน เพราะฉะนนั้ แล การท่ที า นละเลยพระผมู พี ระภาคเจาเสยี แลว เทย่ี วแสวงหาในภายนอก เพอื่ พยากรณปญหาน้ี เปนอันทา นทาํ ผิดพลาดแลว ทา นจงเขาไปเฝา พระผมู พี ระภาคเจาทูลถามปญ หานีเ้ ถดิ พระองคท รงพยากรณแ กทา นอยางใด ทานพึงทรงจําขอนน้ั ไว. [๓๔๘] ดูกอนเกวฏั ฏะ คร้ังน้ัน ภกิ ษนุ นั้ ไดหายไปจากพรหมโลกมาปรากฏขา งหนาเรา เปรยี บเหมอื นบุรุษผูมีกําลัง เหยยี ดแขนท่คี ูอยอู อกไปหรอื คูแขนทเ่ี หยยี ดไวเขามา, ดกู อ นเกวฏั ฏะ ภิกษุน้ันเขา มาหาเรา ไหวเ ราแลว น่ัง ณ ท่ีควรสว นขา งหนึง่ ไดก ลาววา ขาแตพ ระองคผูเจรญิ มหาภูต ๔คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ เหลานี้ ยอ มดับไมมเี หลือในที่ไหนเมื่อเธอกลาวอยางน้แี ลว เราไดกลา ววา ดกู อ นภกิ ษุ เร่ืองเคยมีมาแลว พวกพอคา เดนิ เรอื มหาสมทุ ร จบั นกตีรทัสสี (นกดูฝง ) ลงเรอื ไปดวย เม่อื ไมเ ห็นฝงเขากป็ ลอ ยนกตรี ทัสสมี ันบนิ ไปยงั ทศิ บรู พา ทิศทกั ษณิ ทศิ ปจ จิม ทิศอุดรทศิ เบ้ืองบน ทิศนอ ย หากมันเหน็ รมิ ฝง มันก็บินไปทางนั้น หากมันไมเ ห็น
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 235ริมฝง มนั จะกลบั มายงั เรอื นนั้ อกี ดูกอ นภกิ ษุ เธอก็เหมอื นกัน เท่ยี วแสวงหาจนถงึ พรหมโลก ก็ไมไ ดร ับพยากรณปญ หานี้ ในทส่ี ุดกต็ อ งมาหาเรา ปญหานี้เธอไมควรถามอยางนัน้ แตควรถามอยางน้ี ........ [๓๔๙] ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ยอ มตง้ั อยไู มไดในทไี่ หน อปุ าทายรูปทีย่ าวและสน้ั ละเอยี ดและหยาบ งานและไมง าม ยอ มตัง้ อยไู มไดใ นท่ีไหน นามและรูปยอ มดบั ไปไมมเี หลือในท่ไี หน ดังน้.ี ในปญหาน้นั มพี ยากรณด งั ตอ ไปนี้ [๓๕๐] ธรรมชาตทิ รี่ ูแจง แสดงไมได ไมมีที่สดุ แจมใสโดยประการทงั้ ปวง ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ยอ มต้งั อยไู มไ ดในธรรมชาตนิ ี้ อุปาทายรูปยาวและสัน้ ละเอียดและหยาบ งามและไมง าม ยอมต้งั อยไู มไ ดในธรรมชาติน้ี นามและรูปยอมดับไปไมม เี หลือในธรรมชาตินี้ เพราะวญิ ญาณดับ นามและรูปน้นั ยอมดบั ไมมีเหลือในธรรมชาตนิ ้ีดงั นี้. พระผมู พี ระภาคเจา ไคตรสั พยากรณป ญหานี้แลว เกวฏั ฏะบตุ รคฤหบดีชอบใจเพลิดเพลินภาษติ ของพระผูมีพระภาคเจา ดังน้แี ล. จบเกวัฏฏสตู รที่ ๑๑
พระสุตตันตปฎก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 236 อรรถกถาเกวัฏฏสูตร เกวฏั ฏสตู รมีบทเร่มิ วา ขาพเจา (พระอานนทเถระเจา ) ไดสดบั มาอยางน้ี ฯเปฯ ใกลเ มืองนาลนั ทา. จะพรรณนาบทโดยลาํ ดับในเกวฏั ฏสตู รน้นั . บทวา ปวาริกมั พวนัคอื สวนมะมวงของปาวารกิ เศรษฐ.ี บทวา เกวัฏฏะนี้ เปนชื่อของบตุ รคฤหบดี. มีเรอ่ื งเลามาวา เกวัฏฏะบตุ รคฤหบดีน้นั มที รพั ยประมาณ ๔๐ โกฏิเปนคฤหบดีผูม่งั คงั่ ไดเ ปนผมู ีศรัทธาเลือ่ มใส (พระพุทธศาสนา) เปนอยางย่ิงเพราะเหตทุ ี่เขามีศรทั ธาเปน อยา งยิ่ง เขาจึงคิดวา หากจะมีภิกษสุ ักรปู หน่งึ เหาะไปในอากาศ พงึ แสดงปาฏหิ ารยิ ห ลาย ๆ อยา ง ระหวางกึ่งเดือน หรือหนึ่งเดอื น หรอื หน่ึงป มหาชนกจ็ ะพากันเล่อื มใสยง่ิ นัก ถา กระไร เราจะกราบทลู ขอรองพระผมู ีพระภาคเจา ใหท รงอนญุ าต ภกิ ษรุ ูปหนึง่ เพ่ือแสดงปาฏหิ ารยิ แลวเขาไปเฝาพระผมู พี ระภาคเจา กราบทลู อยางน.้ี บทวา มัง่ คง่ั คือ มั่งคง่ั สมบูรณ. บทวา ม่ังมี คอื ถึงความเจรญิเพราะมากดวยภณั ฑะนานาชนดิ . บทวา คับคั่งไปดว ยมนุษย อธบิ ายวาจอแจไปดวยหมมู นษุ ย สัญจรไปมา ดูเหมอื นวา ไหลกบั ไหล จะเสียดสีกนั .บทวา จงจัด หมายถึง ขอรอง คอื ตงั้ ใหดํารงตาํ แหนง. บทวา ธรรมท่ยี ิง่ ยวดของมนษุ ย อธบิ ายวา ยิง่ กวา ธรรม ของมนุษยผ ยู ่ิงยวด หรอื ธรรมของมนุษย อันไดแกกศุ ล ๑๐. บทวา เปน อยา งยิ่ง สุดทจ่ี ะประมาณได อธบิ ายวา จกั เล่อื มใสอยางยง่ิ สุดท่จี ะประมาณได เหมือนดวงประทีปทีโ่ ชตชิ ว ง แมกวา ปรกติ เพราะไดเ ชื้อนํ้ามัน.
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 237 บทวา เราไมแ สดงธรรมอยา งน้ี มอี ธิบายวา พระผมู ีพระภาคเจา ทรงบัญญตั สิ ิกขาบทไวในเรอื่ งราชคหเศรษฐี เพราะฉะนั้น จงึ ตรัสคําเปนตน วาเราไมแ สดงธรรมอยางนี.้ บทวา เราไมกําจดั อธิบายวา พระผูม พี ระภาคเจาตรัสวา เราจะไมทําลายโดยใหคณุ ธรรมพนิ าศไป คือ ใหถ งึ การทําลายศีล แลวลดลงจากฐานะสูง ต้งั อยใู นฐานะตาํ่ โดยลําดับ โดยท่ีแทเ ราหวังความเจริญของพระพุทธศาสนา จึงกลาวดงั นน้ั . บทวา แมค รั้งท่ี ๓ แล อธิบายวา ไมมีผูสามารถจะกลาวหา มพระดํารสั ของพระพุทธเจา ถงึ ๓ ครงั้ แตเ กวฏั ฏะกราบทูลถึง ๓ คร้ัง ดว ยคดิ วา เราคุนเคยกับพระผูมพี ระภาคเจา เปนคนโปรดหวังตอประโยชน ดังน.ี้ คร้งั น้นั พระผูมพี ระภาคเจา ทรงดํารวิ า อุบาสกนี้แมเมื่อเราหา ม กย็ งั ขอรอ งอยบู อย ๆ ชางเถิด เราจะชโ้ี ทษในการแสดงปาฏิหาริยแกเ ธอ จงึ ตรสั คําเปน ตน วา ปาฏิหาริย ๓. อยา งแล. ในบทเหลา นั้น บทวา อมาห ภิกขฺ ุ ตัดบทเปน อมุ อห ภิกขฺ ุ บทวาวชิ าชื่อคันธารี อธิบายวา วชิ าน้ี ฤษชี อ่ื คันธาระเปนผูทาํ หรือเปน วชิ าทีเ่ กดิ ข้ึนในแควนคนั ธาระ. มีเร่อื งเลากนั มาวา ในแควน คนั ธาระนนั้ พวกฤษีอาศัยอยมู าก บรรดาฤษเี หลานน้ั ฤษผี ูห น่งึ ทาํ วชิ านี้ขึน้ . บทวา เราอึดอดัอธบิ ายวา เราอยูอ ยา งอึดอัดคอื ราวกะวา ถูกบบี . บทวา เราระอา คือละอาย.บทวา เรารงั เกยี จ คอื เราเกดิ ความรงั เกยี จเหมือนเหน็ คูถ. บทวา แหงสตั วอื่น คอื แหงสัตวท ง้ั หลายเหลาอื่น. บทที่ ๒ คือแหงบคุ คลอน่ื เปน ไวพจนของบทน้ันนนั่ แล. บทวา ยอ มทาย คอื ยอ มกลาว.บทวา ความรูสึกในใจ หมายถึง โสมนัสและโทมนสั . บทวา ใจของทานเปนไปโดยอาการอยางน้ี อธิบายวา ใจของทา นตง้ั อยใู นโสมนสั โทมนสั หรือประกอบดวยกามวิตกเปนตน. บทที่ ๒ เปนไวพจนของบทน้นั แล. บทวา จิตของทานเปน อยา งนี้ คอื จติ ของทา นเปน เชนน.้ี อธบิ ายวา จติ ของทานคิดถึง
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 238เรอื่ งนี้และเรื่องนเี้ ปนไปแลว. บทวา วชิ าชอื่ มณกิ า ทา นช้แี จงวา มีวิชาหนึ่งในโลกไดช ่อื อยางนวี้ า จินดามณี บุคคลยอมรถู งึ จติ ของคนอ่ืนได ดว ยวิชาจินดามณนี นั้ . บทวา ทานทั้งหลายจงตรึกอยางน้ี คือ ตรึกใหเปนไปทาง เนก-ขัมมวติ กเปน ตน. บทวา อยา ตรกึ อยา งน้ี คอื อยางตรึกใหเปน ไปกามวติ กเปน ตน. บทวา จงทําในใจอยา งน้ี คอื ทําในใจถงึ อนจิ จสัญญา หรือ อยา งใดอยางหน่งึ ในทุกขสญั ญาเปนตน อยางน.ี้ บทวา อยา........อยา งน้ี คือ อยา ทาํในใจโดยนยั เปน ตนวา เปนของเท่ียง ดังน้.ี บทวา จงละสิง่ น้ี อธิบายวา จงเขา ถึงกาํ หนดั อนั เคลือบดว ยกามคณุ นี.้ บทวา จงเขา ถงึ สง่ิ นี้ อธบิ ายวา จงเขาถึงคอื บรรลุ สาํ เร็จ โลกุตตรธรรม อนั ไดแก มรรค ๔ ผล ๔ น้แี ลอย.ู พระผมู ีพระภาคเจาทรงแสดงฤทธ์ติ า ง ๆ ชอื่ อทิ ธปิ าฏหิ ริย การรจู ติ ของผอู น่ื แลวพูด ชื่อ อาเทศนาปาฏิหารยิ การแสดงธรรมเนือง ๆ ของพระสาวกและของพระพุทธเจา ช่ือ อนุสาสนีปาฏิหาริย. ในปาฏหิ าริยเหลาน้นั พระมหาโมคคลั ลานะแสดง อนุสาสนปี าฏิหาริยดวยอิทธิปาฏิหาริย พระธรรมเสนาบดสี ารบี ตุ ร แสดง อนสุ าสนปี าฏิหาริย ดว ยอาเทศนาปาฏหิ าริย. เมือ่ พระเทวทตั ทาํ ลายสงฆ ไดพาภิกษุ ๕๐๐ รูปไปแลวแสดงธรรมแกภ ิกษุเหลาน้ันดวยพทุ ธลลี า ณ ตาํ บล คยาสีสะ ครน้ั เมอื่ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงสง พระอัครสาวก ๒ รปู ไป พระธรรมเสนาบดีสารีบตุ รทราบวารจิตของภกิ ษเุ หลานั้นแลวแสดงธรรม. ภิกษุท้ัง ๕๐๐ รปู ฟง ธรรม-เทศนาของพระเถระก็บรรลุโสดาปตติผล. ตอ มาพระมหาโมคคัลลานเถระไดแสดงการแผลงฤทธิต์ าง ๆ แลว แสดงธรรมแกภ กิ ษุเหลานัน้ ภกิ ษทุ งั้ หมดฟงธรรมของทา นแลว ตางไดบ รรลพุ ระอรหตั ตผล. ครนั้ แลว พระมหานาคท้งัสองพาภกิ ษุ ๕๐๐ รูป เหาะสูเวหามาถึงวิหารเวฬุวัน. การแสดงธรรมเนือง ๆ
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 239ของพระพุทธเจาทั้งหลายเปน อนุสาสนปี าฏิหารยิ . ในปาฏหิ ารยิ เ หลานัน้ อทิ ธ-ิปาฏิหารยิ และอาเทสนาปาฏหิ าริย ยงั ตเิ ตยี นได ยงั มโี ทษ ไมยั่งยืนอยูนานเพราะไมย ง่ั ยนื อยนู าน จึงไมน ําสัตวใหพน ทุกขไ ด. อนุสาสนีปาฏิหาริยเทานั้นไมตเิ ตยี นได ไมม โี ทษ ต้งั อยไู ดน าน เพราะตั้งอยไู ดน าน จึงนาํ สัตวใหพ นทุกขไ ด. เพราะฉะนนั้ พระผูมพี ระภาคเจา จงึ ทรงติเตยี นอิทธปิ าฏิหาริย และอาเทสนาปาฏหิ าริย ทรงสรรเสริญอนุสาสนปี าฏิหารยิ อ ยางเดียว. บทวา เรอื่ งเคยมีมาแลวน้ี เพราะเหตุไร พระผมู พี ระภาคเจา จึงทรงปรารภขึ้น. ทที่ รงปรารภข้นึ กเ็ พอ่ื ทรงแสดงถึงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ และอาเทสนาปาฏิหาริยไมนําสตั วใหพ นจากทุกขได และเพื่อทรงแสดงถงึ อนุสาสนปี าฏิหารยิ เทานัน้ ทจี่ ะนําสัตวใหพ นจากทุกขได. อีกอยางหนึ่ง มีภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ช่ือมหาภตู ปริเยสกะ แสวงหามหาภูตรูป เท่ียวไปจนถึงพรหมโลก ไมไดชอ งแกป ญหา จึงมาทูลถามพระพทุ ธเจา แลวก็หมดสงสัยไป. เพราะเหตุอะไร.เพ่ือประกาศความยิง่ ใหญข องพระพุทธเจาท้ังหลาย เหตกุ ารณอนั น้ีไดป กปดแลว ครน้ั ตอมาพระผมู พี ระภาคเจาเมอ่ื จะทรงเปดเผยแสดงเหตุการณนั้น จึงตรัสคาํ เปนอาทิวา เร่ืองเคยมีมาแลว ดงั นี.้ บทวา ในทไี่ หนหนอแล อธบิ ายวา บคุ คล อาศัยอะไรแลว บรรลุอะไร มหาภตู ๔ นนั้ จงึ ดับโดยไมเหลือดว ยอาํ นาจเปนไปไมไดในท่ีไหน ก็มหาภูตกถานี้ ทานกลาวไวแ ลว ในวสิ ุทธ-ิมรรค โดยพิสดาร. เพราะฉะนั้น ควรคน หาจากวิสทุ ธมิ รรคนน้ั เถดิ . บทวา ทางไปเทวโลก คือ ชือ่ วาทางไปเทวโลกเฉพาะนนั้ ไมม.ีกบ็ ทนน้ั เปน ชอื่ ของอิทธวิ ิธญาณ. จรงิ อยู ทางน้นั เปน ไปสูอํานาจทางกายยอมไปสูเทวโลก ตลอดถึงพรหมโลกไดโ ดยทางนั้น เพราะฉะนั้น ทา นจึงกลา ววาทางไปเทวโลก. บทวา เทวดาช้นั จาตุมมหาราชโดยทใี่ ด ความวาภกิ ษไุ มทูลถามพระผมู ีพระภาคเจา แมประทบั อยูในท่ใี กล สาํ คัญวา ตาม
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 240ธรรมดา เทวดาที่เขาโจทกนั ยอ มมอี านภุ าพมากดงั นจี้ งึ เขา ไปหา. ขอทว่ี าดกู อ นภิกษุ แมพวกขา พเจา ก็ไมร ู หมายถงึ พวกเทวดา ถูกถามปญหาในพทุ ธวสิ ัยยอ มไมร ูจงึ ไดกลาวอยางน้นั . ลําดับนน้ั ภกิ ษนุ น้ั สําทบั พวกเทวดาวาพวกทานตอบปญหานข้ี องเราไมได ก็จงบอกมาเรว็ ๆ จึงถามแลว ถามอกี . พวกเทวดาคิดวา ภิกษรุ ปู นสี้ าํ ทบั เรา เราจักปลดเปล้ือง ภิกษุนน้ั ใหพน ไปจากพวกเรา จงึ ไดกลาวคําเปนตนวา ดูกอนภกิ ษุ ยังมีทา วมหาราชอีก ๔ องค. บทวา รุง เรอื งย่ิงนกั คอื งามเหลอื เกิน. บทวา วิเศษกวา คือ สงูสดุ ดว ย วรรณะ ยศ และความเปนใหญ เปน ตน. พึงทราบเนอื้ ความในทกุวาระโดยนัยน้ี. แตเ น้อื ความนี้พเิ ศษ. นัยวาทาวสกั กเทวราชทรงดาํ รวิ า ปญหานีเ้ ปนพทุ ธวิสยั คนอนื่ ไมส ามารถแกไ ด ก็ภิกษนุ ีล้ ะเลยพระสัมมาสมั พทุ ธเจาผเู ปน อัครบุคคลในโลก เท่ียวถามพวกเทวดา ดจุ คนละเวนไฟเปาหิง่ หอย และดจุ คนละเวนกลอง ตที อง เราจะสงภกิ ษุน้นั ไปยังสาํ นักพระศาสดา จักหมดสงสัยในน้ัน ทาวสกั กเทวราชทรงดาํ รอิ ีกวา ภกิ ษุนัน้ ไปไกลมากแลว จักหมดสงสัยในสาํ นักของพระศาสดา อนงึ่ ธรรมดาบุคคลเชน นก้ี ็มอี ยู เมอ่ื เดนิ ทางไปไดเพียงเล็กนอ ย มักมคี วามลาํ บาก แตภายหลงั จกั รู ดังนี้ จงึ กลา วกะภิกษนุ น้ั เปนตนวา แมเ รากไ็ มรู ดังนี.้ แมทางไปพรหมโลก ก็เชนเดยี วกบั ทางไปเทวโลก. ทางไปเทวโลกก็ดี การเขา ถงึ ธรรมก็ดี ความแนวแนชั่วขณะจิตหนึง่ ก็ดี ความคิดคาดคะเนก็ดี จติ ไปสงู กด็ ี ความรูย ิ่งก็ดี ท้ังหมดน้ีเปนช่ือของอิทธิวธิ ญาณนัน่ เอง. บทวา บุพพนมิ ิต ทานแสดงไวว า นิมติ ในสว นแรกทีจ่ ะมาถงึ เหมอื นรงุ อรณุ มเี พราะพระอาทติ ยข น้ึ เพราะฉะน้ัน พระพรหมจักมาในบัดนี้. พวกขาพเจารูเ พยี งนี้. บทวา ปาตรุ โหสิ แปลวา ไดป รากฏแลว. ครงั้ นั้นแล พระพรหม เม่อื ถกู ภกิ ษนุ นั้ ถาม รูความท่ีมใิ ชว สิ ัยของตน จงึ คิดวา หากเราบอกวา เราไมรู พวกนี้จกั ดหู ม่นิ เรา ถา เรา
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 241จักกลา วอะไร ๆ ทาํ เปน เหมอื นรู ภิกษุไมม ีจิตปรารมภด วยคาํ พยากรณ ของเรา จักยกคําพดู ของเรา เมอ่ื เราบอกวา ดูกอนภิกษุ เราเปนพรหม ดงั น้ี เปนตนใคร ๆ กจ็ กั ไมเชอ่ื ถอ ยคาํ ถา กระไร เราจะบอกปด สงภกิ ษนุ ีไ้ ปเฝาพระ-ศาสดาดงั นี้ จึงกลาววา ดกู อนภกิ ษุ เราเปน พรหม ดงั นี้เปนตน บทวา นาํ ออกไป ณ สว นขา งหน่งึ ดงั น้ี เพราะเหตไุ รจึงไดท าํ อยา งนัน้ เพราะเพือ่ ความพศิ วง. บทวาเสาะหาการพยากรณใ นภายนอก อธบิ ายวาถงึ การแสวงหาในภายนอก ตลอดถงึ พรหมโลก ดจุ คนตอ งการนาํ้ มนั บีบทรายฉะนน้ั บทวา นก ไดแ ก กา หรอื เหยยี่ ว. ขอวา ภกิ ษไุ มควรถามปญ หาอยา งนี้ มอี ธิบายวา เพราะภกิ ษคุ วรถามปญ หาใหถกู จดุ หมาย ก็ภกิ ษนุ ี้ถือ สิ่งไมม ใี จครองถามนอกจุดหมาย ฉะนั้น พระผมู พี ระภาคเจา จึงทรงปฏเิ สธ. นยั วาการแสดงโทษคาํ ถามของผหู ลงผิดในคาํ ถาม แลว ใหสาํ เนียกคําถาม จงึ ตอบในภายหลงั เปน หลกั ปฏบิ ัตขิ องพระพทุ ธเจาทั้งหลาย. เพราะเหตไุ ร. เพราะผูไมรเู พ่อื จะถามจึงถาม ช่ือวา เปนคนไมฉลาด. พระผูม พี ระภาคเจา ทรงใหส าํเหนียกปญ หาจงึ ตรัสวา อาโปธาตุ ยอ มต้ังอยไู มไ ดใ นที่ไหน ดังน้เี ปนตน . บทวา ต้งั อยไู มได คอื ดํารงอยไู มได มีอธบิ ายวา มหาภูตรปู ๔ เหลานี้อาศยั อะไรจงึ เปน อนั ต้ังอยูไ มไ ด ทานถามหมายถึงสิ่งมใี จครองเทาน้นั . บทวายาวและส้นั ทานกลาวถึงอปุ าทายรูปโดยสัณฐาน. บทวา ละเอียด หยาบหมายถึง เล็ก หรอื ใหญ. ทา นกลาวเพยี งทรวดทรงในอุปาทายรปู เทา นน้ัแมด ว ยบทน.้ี บทวา งาม และ ไมงาม คือ อปุ าทายรปู ทีด่ ี และ ไมดีนน่ั เอง
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 242ก็ทว่ี า อุปาทายรปู งามไมง าม มีอยู หรือ ไมม.ี แตทานกลาวถึงอิฎฐารมณและอนิฏฐารมณอ ยา งนี้. บทวา นาม และ รูป คือ นามและรูปอนั ตา งกนัมียาว เปน ตน. บทวา อปุ รชุ ฌฺ ติ แปลวา ยอ มดบั ไป. พระผมู พี ระภาคเจาทรงชแี้ จงคําถามวา ควรจะถามอยา งนีว้ า นามและรูปนั้นอาศยั อะไรจึงเปน ไปไมไดอยางไมมเี หลอื เมือ่ จะทรงแกป ญหา จงึ ตรัสวา ในปญ หานน้ั มีพยากรณดงั น้ี แลว ตรัสวา ธรรมชาติทีร่ แู จง เปนตน . บทวา ควรรูแ จง คือ ธรรมชาตทิ ี่รแู จง . เปน ช่อื ของนพิ พาน.นพิ พานนนั้ แสดงไมไ ด เพราะไมม ีการแสดง. นิพพานชื่อวา ไมม ที สี่ ดุ เพราะไมมเี กิด ไมมเี ส่ือม ไมมีความเปนอยางอน่ื ของผตู ้ังอย.ู บทวา แจมใส คือน้ําสะอาด. นยั วา บทนี้เปน ชอื่ ของทา น้ํา. เปนท่นี ้ําไหล ทานทาํ ป อกั ษรใหเปน ภ อักษร ทาขา มของนิพพานน้ันมีอยทู ุกแหง เพราะฉะนั้นจงึ ช่ือมีทาขา มทุกแหง ชนทั้งหลายประสงคจ ะขา มจากท่ีใด ๆ ของมหาสมทุ ร มที า เปนเสนทางที่จะไมมที า ไมมี ฉนั ใด ชนท้ังหลายประสงคจะขา มใหถ งึ พระนิพพานโดยอุบายอนั ใดในกรรมฐาน ๓๘ กรรมฐานเปน ทา เปนเสนทาง กรรมฐานจะไมใชท าของนพิ พานไมมี ฉันน้นั . เพราะเหตนุ นั้ ทา นจึงกลา ววา มที า ขา มทกุ แหง. ในบทวา อาโปธาตุนี้ ทา นอาศัยนิพพาน จึงกลาวทงั้ หมดน้นัโดยนัยเปนตน วา อาโปธาตุ ธรรมชาตทิ ีม่ ใี จครอง ยอ มดบั โดยไมม ีเหลอืคอื เปน ไปไมได พระผมู พี ระภาคเจา เม่อื จะทรงแสดง อุบายดบั ไมมเี หลือของธรรมชาตินัน้ จงึ ตรสั วา เพราะวญิ ญาณดับ นามและรปู นนั้ ยอมดับไมม ีเหลอื ในธรรมชาตนิ ้ี ดงั น.ี้ บทวา วิญญาณ คอื วญิ ญาณเดิมบา งวญิ ญาณทีป่ รุงแตง บา ง. จริงอยู เพราะวญิ ญาณเดมิ ดับ นาม และรปู นน้ัยอ มดบั ไมม ีเหลอื ในธรรมชาตนิ ้ี คือวา ยอ มถึงความไมม ีบัญญัตเิ หมอื น
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 243เปลวประทีปทถี่ กู เผาหมดไป ฉะนน้ั เพราะไมเ กิดขึ้น และดบั ไปโดยไมเ หลือแหง วิญญาณท่ปี รงุ แตง นามและรูป จึงดับโดยไมเกดิ ขน้ึ เหมือนอยา งที่ทานกลา วไววา เพราะดบั วญิ ญาณทป่ี รุงแตงดว ยโสดาปตติมัคคญาณ นามและรปู ท่ีพงึ เกดิ ในสงั สารวัฏอนั ไมมเี บ้ืองตน และท่ีสุด เวน ภพทงั้ ๗ ยอมดบัโดยไมมีเหลอื ในธรรมชาติน้ี ดงั น.ี้ ทง้ั หมดพงึ ทราบตามนยั ท่ที านกลา วไวแลว ในมหานิเทศน้ันแล. สวนทีเ่ หลือ ในทุก ๆ บทงา ยทงั้ นั้น. อรรถกถาเกวัฏฏสตู รแหงอรรถกถาทีฆนกิ าย ชือ่ สมุ งั คลวิลาสนิ จี บแลว ดวยประการฉะน้ี. สตู รท่ี ๑๑ จบ
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 244 ๑๒ โลหจิ จสูตร [๓๕๑] ขา พเจา ไดสดบั มาอยา งนี้ สมัยหนงึ่ พระผูม พี ระภาคเจา เสดจ็ จารกิ ไปในแควนโกศล พรอ มดว ยภกิ ษหุ มูใหญ ประมาณ ๕๐๐ รปู ประทบั อยูบานสาลวติกา กส็ มัยนนั้โลหิจจพราหมณ ครอบครองบา น สาลวตกิ า ซง่ึ มปี ระชาชนคบั คงั่ มหี ญาไม และนาํ้ สมบูรณ อดุ มไปดว ยธัญญาหาร ซึ่งเปนราชทรพั ย ท่พี ระเจา -ปเสนทโิ กศล พระราชทาน เปน บําเหนจ็ เดด็ ขาด. [๓๕๒] ก็สมยั น้ัน ความเห็นอันลามก เห็นปานน้ีเกดิ ข้ึน แกโลหจิ จพราหมณ วา สมณะกด็ ี พราหมณกด็ ีในโลกนี้ ควรบรรลุกศุ ลธรรมครัน้ บรรลุกศุ ลธรรมแลว ไมค วรบอกผูอ ่นื เพราะผอู ืน่ จกั ทําอะไรใหแ กผอู ืน่ ได บุคคลตดั เครอ่ื งจองจําเกา ไดแลว พึงสรา งเคร่อื งจองจําอนื่ ใหมฉันใด ขอ อปุ มยั กฉ็ นั นั้น เรากลา วธรรมคอื ความโลภวา เปน ธรรมลามกเพราะผูอ่ืนจกั ทาํ อะไรแกผ ูอ่นื ได ดังน้.ี โลหิจจพราหมณ ไดยนิ มาวา พระสมณโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล เสดจ็ จารกิ ไปไนแควนโกศล พรอมดวยภกิ ษุหมใู หญประมาณ ๕๐๐ รปู เสรจ็ ถงึ บานสาลวติกาแลว ก็กิตติศพั ทอ นั งามของพระโคดมผูเจรญิ นัน้ ไดแพรห ลายไปอยางนี้วา แมเ พราะเหตนุ ี้ พระผูม-ีพระภาคเจา พระองคน้ัน เปนผูต รัสรชู อบดว ยพระองคเ อง ถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสดจ็ ไปดแี ลว ทรงรูแจง โลก เปน สารถีฝก คนทคี่ วรฝก ไมมีผอู ่นื ยิ่งกวา เปน ศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท งั้ หลาย เปน ผตู ืน่ แลว เปน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286