เอกสารประกอบการประเมินการเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผู้ชว่ ย คร้ังท่ี 4 วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2564 ถงึ 10 พฤศจิกายน 2564 วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแกว้ สังกดั สถาบันวิทยาลยั ชุมชน กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ข้อมูลสว่ นตวั หนา้ องคป์ ระกอบที่ 1 การประเมินผลการปฎบิ ัติตน 1 8 1. ด้านวินยั และการรกั ษาวนิ ยั 9 2. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 16 3. ดา้ นจรรยาบรรณวชิ าชีพครู 22 4. ดา้ นการดํารงชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 40 5. ดา้ นจติ วญิ ญาณความเป็นครู 45 6. ดา้ นจติ สาํ นกึ ความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชีพ 63 องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลการปฎบิ ัติงาน 72 1. การจัดการเรียนการสอน 73 2. การบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน 144 3. การพัฒนาตนเอง 163 4. การทาํ งานเป็นทมี 172 5. งานกจิ กรรมตามภารกจิ บรหิ ารงานของสถานศึกษา 183 6. การใช้ภาษาและเทคโนโลยี 202
หนา้ ๑ รายงานผลการปฏิบตั ิงานการเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตําแหนง่ ครูผูช้ ่วย คร้ังที่ 4 วันท่ี 11 พฤษภาคม ๒๕๖4 ถงึ 10 พฤศจกิ ายน 2563 วิทยาลยั ชมุ ชนสระแกว้ สงั กัดสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. ข้อมูลผู้รับการประเมนิ ๑.๑ ชือ่ นายกฤษฐนชนม์ นามสกุล หาระไชย ๑.๒ เกดิ เม่ือวันท่ี 19 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2524 อายุ 40 ปี 10 เดือน ๑.๓ ตาํ แหนง่ หนา้ ทีใ่ นปัจจบุ นั ตําแหน่ง ครผู ู้ช่วย สถานทท่ี าํ งานศึกษา วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว ตั้งอย่เู ลขท่ี - หมทู่ ี่ - ถนน - ตาํ บล/แขวง ท่าเกษม อําเภอ/เขต เมืองสระแก้ว จังหวัด สระแก้ว รหสั ไปรษณีย์ 27000 โทรศัพท์ 037 - 425487 โทรสาร 037 - 425291 e-mail - ๑.๔ ที่อยู่ปัจจบุ นั 397 หมู่ 8 ถนน - ตําบล/แขวง ทา่ เกวียน อาํ เภอ/เขต วฒั นานคร จังหวัด สระแกว้ รหัสไปรษณยี ์ 27160 โทรศัพท์ - โทรศพั ท์เคล่อื นที่ 088-496-7127 โทรสาร - e-mail kitthanachon@hotmail.com ๑.5 ที่อย่ปู ัจจุบนั ตามทะเบียนบา้ น 99 หมู่ 14 ถนน - ตาํ บล/แขวง ชุมชา้ ง อาํ เภอ/เขต โพนพสิ ยั จงั หวดั หนองคาย รหสั ไปรษณยี ์ 43120 โทรศัพท์ - โทรศัพทเ์ คล่ือนที่ - โทรสาร - e-mail - 1.6 ใบอนญุ าตผปู้ ระกอบวิชาชีพครู อยรู่ ะหว่างการสอบใบประกอบวชิ าชพี ครู คร้ังท่ี 2/2564 ๒. ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา วชิ าเอก/โท/สาขา ปที ีส่ าํ เร็จ สถาบนั การศึกษา การศึกษา ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ครู ป.บณั ฑติ 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ปริญญาโท บธ.ม /การบญั ชี 2556 มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปริญญาตรี บธ.บ/การบัญชี 2551 วิทยาลัยกรงุ เทพธนบุรี ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง ปวส./ การบัญชี 2548 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาหนองคาย ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปวช./พาณชิ ยกรรม 2544 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาหนองคาย มัธยมศกึ ษาตอนตน้ - 2540 โรงเรยี นบา้ นบวั ประถมศกึ ษา - 2536 โรงเรยี นบ้านบวั รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตาํ แหน่งครผู ชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว
หน้า ๒ ๓.ประวตั ิการทํางาน (ตงั้ แต่เรมิ่ ปฏบิ ัติงานจนถงึ ปัจจุบนั ) ระยะเวลา ชอ่ื ตําแหน่ง ชอื่ และทอี่ ยู่ ลักษณะงาน/หนา้ ท่ีความรับผิดชอบ การทํางาน ครูผชู้ ว่ ย สถานทท่ี ํางาน 11 พ.ย. วทิ ยาลยั ชมุ ชน ปฏบิ ัตงิ านด้านการสอน สระแก้ว อาจารยป์ ระจาํ หลักสตู รสาขาการบญั ชี 2562 งานสนับสนุนการจัดการศกึ ษา - งานการเงนิ และบญั ชี ปจั จบุ ัน งานแผนงานและงบประมาณ งานอน่ื ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 18 ก. นักวชิ าการเงิน สํานักงานสถาบัน ศึกษา วิเคราะห์ ชอื่ บัญชแี ละคาํ อธบิ ายของผงั พ.2562 และบญั ชี วิทยาลยั ชุมชน ปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร บัญชรี ะบบ GFMIS และระบบมอื พรอ้ มทง้ั - Mapping ขอ้ มูลทางบญั ชี เงินงบประมาณและ 10 พ.ย. เงินนอกงบประมาณ 2562 ตรวจสอบการบันทกึ ขอ้ มลู และประมวลผล ตวั เลขในระบบ GFMIS และระบบมอื จัดทําบญั ชี และทะเบียนคุมทกุ ประเภท และ ตรวจสอบรายงานการเงินประจาํ เดอื น/ประจาํ ปี ในระบบมอื และระบบ GFMIS รวบรวม และจดั ทาํ รายงานผลการดาํ เนินงาน ตามข้อเสนอแนะของ สตง. ของสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนทุกแห่ง รวบรวม วิเคราะห์ ตรวจสอบขอ้ มลู รายงาน ทางการเงนิ ประจําเดอื นของสถาบนั วทิ ยาลัย ชุมชน รายงานความเคลือ่ นไหวทางการเงนิ ทั้ง เงินงบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณ เสนอ ผ้บู ริหาร จดั ทาํ บัญชีตน้ ทนุ ตอ่ หน่วยผลติ ในภาพรวม ของ สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน บนั ทึกการปรับปรงุ บัญชี แก้ไขข้อผดิ พลาดทาง บญั ชี ในระบบ GFMIS ของสาํ นักงานสถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชนและวทิ ยาลยั ชุมชนทกุ แหง่ ทง้ั เงิน งบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณ ให้คาํ แนะนํา ปรกึ ษา ตอบปัญหาในระดับ เบือ้ งต้นเกีย่ วกับงานการเงนิ และบัญชแี ก่ บุคลากรภายในและภายนอก งานอ่ืนทีไ่ ด้รับมอบหมาย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตาํ แหน่งครผู ู้ชว่ ย ผู้รบั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หนา้ ๓ ระยะเวลา ชอ่ื ตาํ แหน่ง ชอ่ื และทีอ่ ยู่ ลกั ษณะงาน/หน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบ การทาํ งาน นายทหารบัญชี สถานท่ีทํางาน กรมขนสง่ ทหารบก ตรวจสอบการบันทกึ ข้อมูลและประมวลผล 11 เม. จังหวัด ตวั เลขในระบบ GFMIS และระบบมือ ย.2554 กรุงเทพมหานคร จัดทาํ บัญชี และทะเบยี นคมุ ทกุ ประเภท - จัดทาํ และตรวจสอบรายงานการเงนิ ประจาํ เดอื น 17 ก. พ.2562 /ประจําปี ในระบบมอื และระบบ GFMIS ทั้งเงิน (6 ปี 10 งบประมาณ และเงินทนุ หมนุ เวยี น เดอื น) ตรวจสอบ/จดั ทําบัญชีของสกรณอ์ อมทรัพย์กรม ขนส่งทหารบก ตรวจสอบเอกสารการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเชน่ ค่ารักษาพยาบาล คา่ เล่าเรยี น ของกรมขนทาง ทหารบกรวมทัง้ เขตการเบิกจ่าย จาํ นวน 11 หนว่ ย งานอืน่ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย พ.ค.2547 นักวิชาการ สาํ นักงานตรวจ ให้คําแนะนาํ ในการวางรปู แบบบญั ชแี ก่สหกรณ์ - ตรวจสอบบญั ชี บัญชสี หกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกร สระแกว้ จงั หวดั 1 พย สระแก้ว ตรวจสอบ แนะนาํ การปฏบิ ัติงานดา้ นการเงิน 2553 การบญั ชี สหกรณ์ แกลุม่ เกษตรกรและเครดิต (ระยะเวลา ยูเนียน 6 ปี ) ตรวจสอบ แนะนํา ควบคมุ ภายใน และให้ คาํ ปรึกษาแกส่ หกรณ์ แกลมุ่ เกษตรกร และ เครดิตยเู นียนใหส้ ามารถจัดทําบัญชี และปิดงบ การเงินได้ จัดอบรมใหค้ วามร้เู กี่ยวกบั การออม การจดั ทํา บัญชี แก่ชุมชน และพนกั งานสถาบันเกษตรกร งานพัสดุ สํานกั งาน งานอื่นทไี่ ดร้ ับมอบหมาย รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตาํ แหน่งครูผู้ช่วย ผ้รู ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชุมชนสระแกว้
หนา้ ๔ ๔. ความรคู้ วามสามารถพเิ ศษ ๑. ดา้ นคอมพวิ เตอร์ สามารถใช้โปรแกรม Microsoft Office ไดเ้ ป็นอย่างดี 2. ดา้ นการเงนิ การบัญชี มคี วามรูเ้ กี่ยวกบั การตรวจสอบภายใน ตรวจสอบบัญชี สามารถจดั ทํางบการเงนิ และปดิ บญั ชี ได้เปน็ อย่างถูกตอ้ งตามหลกั บัญชที ร่ี ับรองโดยทัว่ ไป 3. ดา้ นงานวิจัย มีความสามารถในการจัดทาํ วจิ ัย การประเมินโครงการ การใช้คอมพวิ เตอร์วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 4. ดา้ นอื่น ๆ สามารถเป็นวิทยากรในการบรรยาย ให้ความรู้ กิจกรรมต่าง ๆ เก่ียวกับระเบียบการเงิน การบญั ชี และพัสดุ ๕. ประวัติการสอน ๕.๑ เรม่ิ สอนคร้ังแรก เมอ่ื ๑๘ เดอื น มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาการบญั ชี สถานศกึ ษา วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว ตาํ บล/แขวง ท่าเกษม อําเภอ/เขต เมอื งสระแก้ว จังหวัด สระแกว้ รหัสไปรษณีย์ 27000 โทรศัพท์ - โทรสาร - สังกัด สถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม รายวชิ าที่ปฎบิ ัติการสอน ปีการศกึ ษา/ ระดบั การศึกษา รหัสวชิ า ชื่อรายวิชา ชวั่ โมงการสอน ภาคเรยี น บช.1321 การสอบบัญชี 3 1/2564 อนุปริญญา สาขาการบญั ชี บช.1302 หลักการจัดการ 3 อนปุ ริญญา สาขาการบญั ชี ๖. งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/หน้าท่ีพิเศษ นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย ตําแหน่งครูผู้ช่วย ปฏิบัติการสอนระดับอุดมศึกษาท่ีตํ่ากว่าปริญญา (อนุปริญญา) วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว สังกัดสถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ยึดหลักการปฏิบัติตนแก่ศิษย์ โดยให้คําปรึกษาแก่นักศึกษาโดยเท่าเทียมกันเมื่อนักศึกษามี ปัญหาด้านการเรียนสามารถขอคําแนะนํา ได้ตลอดเวลา รับผิดชอบต่อการสอน สอนนักศึกษาให้สามารถมี ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐาน การเรียนรู้และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยสรรหากระบวนการเรียน การสอนท่ีหลากหลายเพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้และมีความรู้ดี ทักษะเย่ียม เป่ียมด้วยคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์ ใช้ความรัก ความเมตตาในการสอนศิษย์ ยึดหลักความเท่าเทียมและความเสมอภาคของ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตาํ แหน่งครผู ู้ช่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว
หน้า ๕ ผู้เรียนทุกคน ติดต่อ ประสานกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนกับนักศึกษาจนสําเร็จลุล่วงไปด้วยดี และ ไดร้ บั มอบหมายปฏบิ ัติหน้าที่ ดังนี้ ๑. ดา้ นงานสอน 1.1 งานสอนหลักสตุ รอนปุ ริญญา การส่งเสริมการเรยี นรู้ พฒั นาผเู้ รียน ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบพัสดุของสถานศึกษา พัฒนาตนเองและวิชาชีพประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง บุคลากรในชุมชน และสถานประกอบการเพื่อ ร่วมกันพัฒนาผู้เรียน การบริการสังคมด้านวิชาการและด้านวิชาชีพและปฏิบัติหน้าที่อ่ืนตามท่ีได้รับมอบหมาย โดยมลี ักษณะงานทีป่ ฏบิ ัติ ดังน้ี ๑) ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การจดั การเรยี นการสอน และสง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายโดยเน้นผเู้ รยี นเป็นสําคัญ ๒) จัดอบรมสั่งสอน และจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ๓) ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบพัสดุของสถานศกึ ษา ๔) ปฏิบัตงิ านเก่ยี วกับการจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน ๕) ประสานความรว่ มมอื กบั ผูป้ กครองและบุคคลในชุมชนและสถานประกอบการ เพ่อื ร่วมกันพฒั นาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ ๖) ทํานบุ ํารงุ สง่ เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ๗) ศกึ ษาวเิ คราะห์ วิจยั และประเมินพฒั นาการของผูเ้ รียนเพ่ือนํามาพฒั นาการ เรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้ ซ่ึงมขี ้อปฏบิ ตั ติ นดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. มีจรรยาบรรณในการปฏบิ ัตงิ านและปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเคร่งครดั ความสามารถ ๒. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม สุจรติ ยุติธรรม และจริงใจ ๓. มีทักษะและเทคนิคในการถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่างเต็มกําลังและ ๔. ไม่ดุด่า กลา่ วคําหยาบคาย ข่มขู่ดูถูกหรือเหยยี ดหยามผู้เรยี นทั้งต่อหน้า และ ลับหลงั ๕. ใช้ถอ้ ยคาํ และวาจาที่สขุ ภาพเรียบรอ้ ยแก่ผู้เรยี นอย่างเสมอตน้ เสมอปลาย ๖. ไม่เลือกผู้เรียน เพราะจะทาํ ให้ผ้เู รยี นเกิดความรสู้ กึ ทไ่ี มด่ ี ๗. ตรวจเช็กอปุ กรณก์ ารสอนก่อนสอนทกุ คร้ัง ๘. ไม่ควรให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกท้อแท้ หดหู่ใจ วิตกกังวลขณะกําลังเรียนหรือเรียนจบ แล้ว ๙. ไม่ละลาบละลว้ งเรือ่ งส่วนตวั ของผูเ้ รยี นขณะทําการสอน ๑๐. ไม่ฉกฉวยโอกาสพูดจาแทะโลมหรือเกี้ยวพาราสีผู้เรียนเพ่ือหวังผลประโยชน์ ตนเอง เกินอาํ นาจหนา้ ทใี่ นการสอนของครูท่ีดีท่พี งึ มีตอ่ ผ้เู รียน ๑๑. ห้ามครูผู้ใดทําการล่วงเกินผู้เรียนขณะกําลังสอนหรือช่วยเกินขอบเขตของครูที่ พงึ กระทาํ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตําแหน่งครผู ูช้ ว่ ย ผูร้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว
หน้า ๖ ๑๒. ห้ามครูสูบบหุ ร่ี ดื่มสรุ า เปิดวทิ ยดุ งั เกินไปขณะทําการสอน ๑๓. ครผู ้สู อนไมส่ มควรใช้โทรศพั ทโ์ ดยไมจ่ าํ เปน็ ขณะสอน ๑๔. เป็นผู้ที่ตรงต่อเวลา รักษาเวลา มีกาลเทศะ มีความรับผิดชอบ ไม่โกหกและ รจู้ กั แยกแยะวา่ สง่ิ ใดควรกระทาํ สิ่งใดไม่ควรกระทาํ บนพน้ื ฐานของความถกู ต้องและศลี ธรรมอนั ดีงาน ๑๕. ทํางานด้วยความรักงาน จะทํางานด้วยความสนุกและมีความสุขกับการทํางานมี สมาธใิ นการทาํ งานไมเ่ ครยี ดและวิตกกังวลจนเกนิ ไป ๑๖. ครตู อ้ งรกั ศักดศิ์ รีและเกียรตขิ องความเปน็ ครู ๑๗. รว่ มมือรว่ มใจกนั ทาํ งานเพอ่ื สร้างภาพพจน์ท่ีดใี ห้แกต่ นเองและสาํ นักงาน ๑๘. มีความรัก ความสามัคคี ไม่เห็นแก่ตัว ไม่คิดร้าย เบียดเบียนหรือเอารัดเอา เปรียบผอู้ ื่นมีสัมพันธภาพทด่ี ี รู้จกั เอาใจเขามาใส่ใจเราถนอมนํา้ ใจ ๑๙. หลีกเล่ยี งอบายมุข ยาเสพตดิ การพนัน ส่ิงไมด่ ที ง้ั ปวง ๒๐. พยายามทาํ หน้าที่ของตนให้ดที ่ีสุด รู้จกั แก้ไข ปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเองอย่เู สมอ 1.2 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ/การฝึกงาน การนเิ ทศนักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพหลกั สตู รอนุปริญญา สาขาวิชาการบญั ชี 1.3 งานที่ปรกึ ษา 1.3.1 การดูแลและแกไ้ ขปญั หาความประพฤตินักศกึ ษา ข้าพเจ้าใช้วิธีการดูแลและแก้ไขปัญหาความประพฤตินักศึกษาท่ีสอนในห้องเรียน โดยทําการศึกษาพฤติกรรมของนักศีกษาเป็นรายบุคคล โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมหากพบพฤติกรรมของ นักศึกษาที่เปล่ียนไป เช่น การขาดเรียน การไม่เข้าร่วมกิจกรรมหรือชอบอยู่คนเดียวตามลําพัง เป็นต้น ก็จะเข้า พบนกั ศกึ ษาเพอื่ ใหค้ วามช่วยเหลอื เบ้อื งต้น ให้คําปรกึ ษาและชว่ ยเหลือปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนให้กับนักศึกษาต่อไป 1.3.๒ การจัดระบบดแู ลช่วยเหลือนักศกึ ษา ข้าพเจ้าจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักศึกษา โดยการติดต่อประสานงาน สอบถาม นักศึกษารายบุคคลโดยใช้วิธีการตั้งกลุ่ม Socail media เช่น Facebook line เพ่ือเป็นสื่อกลางให้นักศึกษามี ส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ พร้อมทําการเก็บข้อมูลพ้ืนฐานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ หากนักศึกษามีปัญหาในด้านต่าง ๆ ครูสามารถทราบรายละเอียดของนักศึกษารายบุคคล และแก้ปัญหาอย่าง ทันท่วงที นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีการออกเยี่ยมบ้านนักศึกษาในที่ปรึกษา เพื่อสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่าง วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้วกับผูป้ กครองและยังเปน็ การเก็บประวตั ิ ดา้ นครอบครัวของนกั ศึกษาอกี ด้วย 1.3.3 การดแู ลควบคมุ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม ข้าพเจ้าทําการดูแลควบคุมการทํากิจกรรมของวิทยาลัยชุมชนสระแก้วโดยเป็นครูท่ี ปรึกษานักศึกษาระดับอนุปริญญา สาขาการบัญชี กลุ่ม 12-14 ก็จะลงไปปฏิบัติหน้าที่ทํากิจกรรม Homeroom กับนักศึกษาในที่ปรึกษา เพื่อสอบถามถึงปัญหาและสาเหตุท่ีเกิดขึ้นกับนักศึกษาแต่ละคน หากพบ ปัญหาจะได้ช่วยเหลือ และให้คําปรึกษาอย่างทันท่วงทีและเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับ นกั ศกึ ษาและให้ทาํ กิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชนเ์ พือ่ ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงคต์ อ่ ไป รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตาํ แหน่งครผู ชู้ ่วย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า ๗ 2. ด้านฝกึ อบรม การฝกึ อบรมตามหลักสูตรของวทิ ยาลัยชุมชนเพอ่ื พฒั นาอาชพี และพนั าคุณภาพชีวติ 3. ด้านวิชาการ งานพัฒนาหลักสตู ร/ปรับปรุงหลกั สตู ร งานผลิตผลงานทางวิชาการ โดยการจัดทําเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นเอง ใช้ประกอบการ สอนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน สะท้อนให้เห็นเน้ือหาวิชา และวธิ กี ารสอนอยา่ งเป็นระบบ และจัดพิมพเ์ ป็นเอกสาร งานอาจารย์ประจําหลกั สูตรอนปุ รญิ ญา สาขาการบญั ชี 4. ดา้ นงานสนบั สนุนการจัดการศึกษา งานสนับสนนุ บรกิ ารวทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้ หัวหน้างานการเงิน งานบญั ชี และพสั ดุ หวั หนา้ งานแผนงานและงบประมาณ นิเทศและติดตามผลการดาํ เนนิ งานของหน่วยจดั การศึกษา 5. ด้านงานวจิ ยั งานวิจัยท่ีเป็นงานพัฒนาการเรียนการสอนหรืองานวิจัยชุมชนที่ได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการสภาวชิ าการ และเสร็จสน้ิ สมบูรณ์ 6. ปฎิบตั หิ นา้ ท่ีอนื่ ๆ ตามท่ีผู้บงั คับบญั ชามอบหมาย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตําแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 8 รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตําแหน่งครผู ู้ชว่ ย ครงั้ ที่ 4 วันท่ี 11 พฤษภาคม 2564 ถึง 10 พฤศจกิ ายน 2564 วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว สงั กัดสถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม องค์ประกอบท่ี ๑ การประเมินผลการปฏบิ ัติตน รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้
หน้า 9 เกณฑ์การประเมนิ : ๑.วินยั และการรักษาวนิ ัย เกณฑ์การประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มลู ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กริยา พฤติกรรม กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ ท่าทาง และการส่ือสารได้เหมาะสมกับ สอบสัมภาษณค์ รู ผบู้ รหิ าร เหมาะสมกบั กาลเทศะต่อผู้เรียน กาลเทศะตอ่ ผเู้ รยี น เช่น ภาพกจิ กรรม การพูดจาไพเราะประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ ลูกศษิ ย์ ยึ ด ห ลั ก คํ า ส อ น ท า ง พระพุทธศาสนาในการดําเนิน ชีวิต โดยหมั่นสวดมนต์และนั่ง สมาธิทําจิตใจให้สงบ เพ่ือให้ ข้าพเจ้าสามารถควบคุมอารมณ์ ของตนเองได้เป็นอย่างดี การแสดงความเคารพ เช่น การ ไหว้ และการแสดงออกตา่ ง ๆ ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ สมดุ ลงเวลาการปฏิบัติงาน กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ กริยา ท่าทาง แล ะก ารสื่อ สารไ ด้ สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ล เ ท ศ ะ ต่ อ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับบัญชา พฤตกิ รรม ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า เ พื่ อ นร่ ว ม ง า น เพ่ือนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น ภาพกิจกรรม ผู้ปกครอง และบุคคลอน่ื เชน่ การพดู จาไพเราะ มีสัมมาคารวะออ่ นน้อมถอ่ มตน เชื่อฟังและปฏิบัติตามคําสั่งของ ผูบ้ งั คับบญั ชา ๑.๓ การมีเจตคติเชิงบวกกับ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม สอบสัมภาษณ์ครู ผูบ้ รหิ าร ประเทศชาติ จริยธรรม เพ่ือการเป็นครูท่ีประกอบด้วย พฤติกรรม คุณงามและความดี ซ่ึงกระทําด้วยความ สาํ นกึ ในจติ ใจ เช่น ความเสยี สละ มนี าํ ใจ ความเกรงใจ ความยตุ ธิ รรม ความเหน็ อกเห็นใจ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตําแหน่งครผู ชู้ ่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว
หน้า 10 เกณฑ์การประเมนิ บันทกึ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล การมมี ารยาทท่งี ดงาม ความรักและความเมตตาต่อ ศิษย์เพ่ือเป็นกําลังสําคัญในการ ขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ ใ ห้ มี ค ว า ม เจรญิ ก้าวหนา้ ๑.๔ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมาย สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บริหาร หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็น ระเบียบแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธี สงั เกตพฤตกิ รรม ขา้ ราชการ ปฏิบัติราชการ โดยเป็นบุคคลท่ีเคารพ คาํ สงั่ การอยู่เวร และปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาระเบียบ วินัยของทางราชการ กระทําตนเป็น แบบอย่างท่ีดี มีหลักในการปฏิบัติหน้าที่ ของครูอย่างชัดเจนยตุ ธิ รรม ๑.๕ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมายและ สอบสมั ภาษณ์ครู ผ้บู ริหาร หลักเกณฑ์ท่ีเก่ียวข้องกับความเป็น กระทําตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สงั เกตพฤตกิ รรม ข้าราชการครู และสังคมโดยใช้เหตุผลและวิจารณญาณ ในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย จนบรรลุเป้าหมายหน้าที่ ข้าราชการ ในฐานะเป็นพลเมืองท่ีดี ยึด ม่ันในหลักศีลธรรมและคุณธรรมทาง พระพุทธศาสนาในการช่วยเหลอื ผู้อนื่ ๑.๖ การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้าพเจ้ารักษาวินัยที่เป็นข้อห้ามและข้อ สมุดลงเวลาการปฏิบัตงิ าน ข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดย ศึ ก ษ า พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เ บี ย บ สมดุ บันทกึ การเขา้ สอน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร พ.ศ.๒๕๔๗ เพ่ือเตือนตนมิให้กระทํา พฤติกรรมการมาทาํ งาน ความผิดทางวนิ ยั ราชการ อย่างสม่ําเสมอ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ่วย ผูร้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หน้า 11 กิจกรรมวนิ ยั และการรกั ษาวนิ ัย ภาพท่ี 1.1.1 การแต่งกายชุดขา้ ราชการปกตสิ ีกากี ภาพที่ 1.1.2 การเข้ารว่ มกิจกรรมกับหน่วยงาน รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตาํ แหน่งครูผชู้ ่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว
หน้า 12 ภาพท่ี 1.1.3 การรับสง่ นกั ศกึ ษาเข้าเรียน ภาพท่ี 1.1.4 กจิ กรรม 5 ส รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหน่งครูผ้ชู ว่ ย ผูร้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว
หน้า 13 คาํ สั่งหนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตําแหน่งครูผชู้ ่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้
หนา้ 14 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 15 ภาพที่ 1.1.5 คําสัง่ การปฎิบตั งิ านอยเู่ วร รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตาํ แหน่งครูผู้ชว่ ย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้
หน้า 16 เกณฑ์การประเมิน : 2. คุณธรรม จรยิ ธรรม เกณฑ์การประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู ๒.๑ การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อ พฤติกรรม ศาสนาทนี่ บั ถืออย่าง การเป็นครูท่ีประกอบด้วยคุณงามและความดี ซึ่ง ภาพกจิ กรรม เครง่ ครดั กระทําด้วยความสํานึกในจิตใจ การเป็นครูนั้น ถือ ว่ า เ ป็ น ผู้ ทํ า คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น์ อ ย่ า ง ย อ ด เ ยี่ ย ม แ ก่ ประเทศชาติ เพราะครูคือแม่พิมพ์ของชาติ เป็น แม่แบบท่ีสําคัญยิ่ง ดังเป็นท่ีทราบกันอยู่แล้วว่า ครู แปลว่า ผู้หนัก หมายถึงหนักทุกส่ิงทุกอย่าง เริ่มต้น จากภาระงานที่จะต้องเตรียมตัวอย่างหนักเพื่อการ สอนให้นักเรียนได้เข้าใจ หนักในการเป็นภาระให้ นักเรียนได้ปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต หนักใน การสอนซ่อม สอนเสริม เพื่อให้นักเรียนที่เรียนไม่ทัน เพ่ือนได้เรียนทันคนอื่น นักเรียนที่เรียนเก่งให้ได้รับ การพัฒนาส่งเสริมให้สูงข้ึน หนักในการควบคุมดูแล ความปลอดภัย ความประพฤติให้นักเรียนได้รับความ ปลอดภัยและมีความประพฤติดี หนักในการทุ่มเท เวลาให้กับการสอน หนักในการเสียสละทรัพย์ ส่วนตัวให้กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หนัก ในการจัดทําข้อมูลต่าง ๆ เพื่อส่งหน่วยงานระดับ เหนือข้ึนไป หรือหน่วยงานอื่นที่ขอความร่วมมือมา หนักในการจัดทําแผนการสอน หรือแผนการจัดการ เรียนรู้ จึงได้นําคุณธรรมสําหรับครูมาใช้ในการ ดาํ เนนิ ชวี ิต หลกั ธรรมสาํ หรบั การครองตน หลกั ธรรมสําหรบั การครองคน หลกั ธรรมสําหรบั การครองงาน ๒.๒ การเข้ารว่ ม ส่งเสริม ข้าพเจ้าดํารงตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สอบสมั ภาษณค์ รู สนบั สนุนศาสนกิจของ และปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจน ผ้บู ริหาร ศาสนาทน่ี บั ถอื อย่าง ค่านิยมของสังคม ทําให้ข้าพเจ้าสามารถอยู่ร่วมกับ สังเกตพฤตกิ รรม สมา่ํ เสมอ ผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ภาพกิจกรรม รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าหนน้ากา1ร6เตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตาํ แหน่งครูผู้ชว่ ย ผูร้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว
หน้า 17 เกณฑ์การประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งขอ้ มลู ๒.๓ การเห็นความสาํ คัญ ข้าพเจ้ามีความยินดีให้ความร่วมมือกับผู้ปกครอง สอบสมั ภาษณ์ครู เขา้ ร่วม ส่งเสริม สนบั สนนุ และชุมชนในกิจกรรมต่างๆ ท่ีชุมชนจัดขึ้นท่ีเป็นวัน ผู้บรหิ าร เคารพกิจกรรมที่แสดงถึง สาํ คัญทางพระพุทธศาสนา จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ทาํ บุญตักบาตรเทโว(วันออกพรรษา) สังเกตพฤติกรรม ท้องถ่นิ หรอื ชุมชน ภาพกิจกรรม การปิดทองฝงั ลูกนมิ ติ ร การทําบุญกฐิน การไหว้พระ ฯลฯ ๒.๔ การเห็นความสาํ คญั ข้าพเจ้าเคารพธงชาติและร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง สอบสัมภาษณค์ รู เข้ารว่ ม ส่งเสรมิ สนบั สนุน ทุกเช้ามิได้ขาด จนเป็นท่ีประจักษ์แก่สายตาของ ผบู้ ริหาร กิจกรรมทแ่ี สดงถึง จารีต นักศึกษาและเพื่อนร่วมงาน แต่งกายชุดพื้นเมือง สงั เกตพฤติกรรม ประเพณี วัฒนธรรมของ รกั ษาขนบธรรมเนยี ม ประเพณีไทย ภาพกิจกรรม ชาติ ๒.๕ การมจี ิตบริการและจิต ข้ า พ เ จ้ า ใ ห้ มี ค ว า ม เ ต็ ม ใ จ ท่ี จ ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ สอบสัมภาษณค์ รู สาธารณะ ผู้ ป ก ค ร อ ง นั ก ศึ ก ษ า ท่ี ม า ติ ด ต่ อ ร า ช ก า ร กั บ ท า ง ผู้บริหาร วิทยาลัยด้วยความเต็มใจและมีจิตอาสาในการ รว่ มงานกบั ทางชมุ ชน สังเกตพฤตกิ รรม ภาพกิจกรรม ๒.๖ การตอ่ ต้านการกระทํา ข้ า พ เ จ้ า ยึ ด ม่ั น ใ น ห ลั ก ธ ร ร ม คํ า ส อ น ข อ ง สอบสมั ภาษณ์ครู ของบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลที่ พระพุทธศาสนาและเป็นแบบอย่างท่ีดีให้แก่ศิษย์ ผู้บริหาร ส่งผลตอ่ ความมั่นคงของ เพื่อนร่วมงาน และบุคคลอ่ืนๆ ดํารงชีพตามสาย สังเกตพฤตกิ รรม ชาติหรือผลกระทบเชงิ ลบ กลาง ภาพกจิ กรรม ตอ่ สงั คมโดยรวม รายงานผลการปฏิบตั งิ าหนน้ากา1ร7เตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตําแหน่งครผู ูช้ ่วย ผูร้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว
หน้า 18 กิจกรรมคณุ ธรรม จริยธรรม ภาพท่ี 1.2.1 กิจกรรมสวดมนต์ไหวพ้ ระ ภาพที่ 1.2.2 กจิ กรรมตักบาตรเทโวโรหณะ รายงานผลการปฏิบัติงาหนน้ากา1ร8เตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตําแหน่งครผู ู้ช่วย ผูร้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว
หนา้ 19 กจิ กรรมคณุ ธรรม จริยธรรม ภาพท่ี 1.2.3 กจิ กรรมปฏิบัติธรรมรว่ มกับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ภาพที่ 1.2.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมพธิ อี ปุ สมบทกับชุมชน รายงานผลการปฏิบตั งิ าหนน้ากา1ร9เตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตําแหน่งครูผูช้ ่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว
หนา้ 20 กจิ กรรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ภาพที่ 1.2.5 กจิ กรรมเคารพธงชาติหนา้ เสาธง ภาพที่ 1.2.6 กจิ กรรมดแู ลนักเรียนส่งความเรียบร้อยกอ่ นเขา้ เรยี น รายงานผลการปฏิบัตงิ าหนน้ากา2ร0เตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตําแหน่งครผู ูช้ ่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว
หน้า 21 ภาพท่ี 1.2.4 การแตง่ กายผา้ พ้ืนเมอื ง ภาพที่ 1.2.5 ให้คําแนะนํา ชแี้ จงนกั ศึกษาสาขาบญั ชี เปดิ เรยี นปีการศกึ ษา รายงานผลการปฏิบัติงาหนน้ากา2ร1เตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตาํ แหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผูร้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว
หนา้ 22 เกณฑ์การประเมิน : ๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพครู เกณฑ์การประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู ๓.๑ การพัฒนาวิชาชีพและ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเหมาะสมกับความเป็นครู บนั ทกึ ข้อความรายงาน บคุ ลิกภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีการพัฒนาตน ผลการเขา้ รว่ มกิจกรรม จนเป็นที่ยอมรับในสถานศึกษา ว่าเป็นผู้ที่ คาํ สง่ั ปฏิบัตหิ น้าที่ ประพฤติปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร ๓.๒ การมีวิสัยทัศน์ รู้และ มุ่งหวังความเจริญก้าวหน้าโดยกําหนด ภาพกิจกรรม เข้าใจ สนใจ ติดตามความ เป้าหมายในการปฏิบัติงาน และการศึกษาต่อ เปลี่ยนแปลงด้านวิทยาการ โดยมีการติดตามข่าวการเคล่ือนไหวทางการศึกษา สงั เกตพฤติกรรม เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของ ในเรื่องความก้าวหน้าในวิชาชีพอยู่เสมอ โดย ไทย และนานาชาตใิ นปัจจุบัน การศึกษาค้นคว้าอิสระจากแหล่งข้อมูลข่าวทาง อินเทอร์เน็ต หน่วยงานทางการศึกษา หรือ องค์กรต่าง ๆ เพื่อจะได้นํามาวางแผนและปรับตัว เพอ่ื ความกา้ วหน้าในวชิ าชพี https://www.aksorn.com/vocational- teacher https://inskru.com/tag/ ๓ .๓ ก า ร ไ ม่ อ า ศั ย วิ ช า ชี พ ข้าพเจ้าเห็นคุณค่าและความสําคัญของการเป็น สอบสมั ภาษณค์ รู แสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ ครูท่ีดีอยู่เสมอ โดยมีความรักและศรัทธาใน ผู้บริหารนักศึกษา ถูกตอ้ ง วิชาชีพครู พึงกระทําตนให้เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อ ผู้ปกครอง เพอ่ื น ศษิ ย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม รว่ มงาน สงั เกตพฤตกิ รรม ๓.๔ การม่งุ ม่ันต่อการพฒั นา ข้าพเจ้ามุ่งมั่นในการทํางาน โดยไม่มีความย่อ สอบสัมภาษณ์ครู ความรู้ความสามารถของ ท้อต่อปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน เพ่ือให้บรรลุ ผบู้ ริหารนกั ศึกษา ผู้เรยี น เปา้ หมายท่กี าํ หนดไว้ ผ้ปู กครอง เพอ่ื น ร่วมงาน สงั เกตพฤตกิ รรม รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ ตําแหน่งครผู ู้ชว่ ย ผูร้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หน้า 23 เกณฑ์การประเมิน บนั ทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมูล ๓.๕ การให้ความสําคัญต่อการ ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุม/การอบรม ความรู้ สรปุ รายงานผลการเข้า เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาอยู่เสมอ เม่ือเสร็จส้ิน รว่ มกิจกรรมการอบรม กิจกรรมที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพ การจัดกิจกรรม ข้าพเจ้าทําการบันทึกและ ต่างๆ ครอู ยา่ งสมํา่ เสมอ สรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรม นําความรู้ที่ได้รับมา พัฒนาตนเองและผู้เรียน และรายงานผลให้ ภาพกิจกรรม ผบู้ รหิ ารรบั ทราบอยเู่ สมอ (เอกสารสารแนบ) บนั ทึกข้อความรายงาน ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ข้าพเจ้ามีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู พึง สอบสมั ภาษณค์ รู ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน กระทําตนให้เป็นแบบอย่างท่ีดีต่อศิษย์ทั้งทางตรง ผู้บริหารนักศึกษา ให้บริการผู้เรียนทุกคน ด้วย และทางอ้อม ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือศิษย์ ผปู้ กครอง เพือ่ น ความเสมอภาค เสมอมา รว่ มงาน สังเกตพฤติกรรม ๓.๗ การประพฤติปฏิบัติตน ข้าพเจ้าดํารงตนด้วยความสุภาพอ่อนน้อม สอบสัมภาษณ์ครู เ ป็ น ท่ี ย อ ม รั บ ข อ ง ผู้ เ รี ย น สํารวมในกิริยามารยาท และการแสดงออกด้วย ผบู้ ริหารนกั ศกึ ษา ผู้ บ ริ ห า ร เ พ่ื อ น ร่ ว ม ง า น ปิยวาจา แต่งกายสะอาด เรียบร้อย และถูก ผปู้ กครอง เพือ่ น ผู้ปกครอง ชุมชน กาลเทศะ ร่วมงาน สงั เกตพฤติกรรม ๓.๘ การไม่ปฏิบัติตนที่ส่งผล ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู สอบสัมภาษณค์ รู เชิง ลบต่อ กายแล ะใจขอ ง อยา่ งเครง่ ครดั ผู้บรหิ ารนกั ศึกษา นกั ศึกษา ผู้ปกครอง เพื่อน ร่วมงาน สังเกตพฤติกรรม ๓.๙ การทํางานกับผู้อื่นได้โดย ข้าพเจ้าปฏิบัติงานต่างๆ ท่ีทางวิทยาลัยชุมชน สอบสมั ภาษณค์ รู ยึดหลักความสามัคคี เกื้อกูลซึ่ง มอบหมาย ให้ความร่วมมือกับคณะครู ในการทํา ผบู้ รหิ ารนกั ศึกษา กันและกนั กิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วย ผู้ปกครอง เพ่ือน ความเต็มใจ รว่ มงาน สงั เกตพฤตกิ รรม รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตาํ แหน่งครผู ชู้ ่วย ผรู้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 24 เกณฑก์ ารประเมิน บันทกึ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล ๓.๑๐ การใชค้ วามรู้ ข้าพเจ้าต้ังใจปฏิบัติหน้าท่ีในการถ่ายทอด สอบสัมภาษณค์ รู ความสามารถทมี่ อี ยู่ นาํ ใหเ้ กิด ความรู้ ทักษะท่ีตนเองมีให้กับนักศึกษาโดยมิได้ ผู้บรหิ ารนกั ศกึ ษา ความเปล่ียนแปลงในทาง ปิดบัง พยายามศึกษาค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม ผู้ปกครอง เพ่ือน พฒั นาให้กับผเู้ รยี น โรงเรยี น เพื่อพัฒนาตนเอง ติดตามข่าวสาร และเข้า ร่วมงาน หรือชมุ ชนในด้านใดดา้ นหนึง่ อบรมเทคนิคใหม่ๆ นํามาช่วยพัฒนาการเรียน สงั เกตพฤตกิ รรม (ด้านการอนรุ ักษ์ การสอน ให้กับนักศึกษาเพ่ือให้นักศึกษาเป็น ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา บุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และทันต่อเหตุการณ์ และสงิ่ แวดล้อม) สามารถนําความรู้ท่ีได้ไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เช่น บทความเก่ยี วข้องกบั การศกึ ษา https://www.aksorn.com/vocational- teacher แนวคดิ วธิ ีการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ https://inskru.com/tag/ แนวทางการสรา้ งรายได้ให้กับชุมชน https://edulpru.com/prores63/ ๓.๑๑ การยึดม่นั ในการ ข้าพเจ้ามีความจงรักภักดี ต่อสถาบันชาติ สอบสมั ภาษณ์ครู ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ยึดม่ันในการ ผบู้ รหิ ารนักศกึ ษา อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็น ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย โ ด ย มี ผู้ปกครอง เพอื่ น ประมขุ พระมหากษัตริย์เป็นประมุข ประพฤติตนให้เป็น ร่วมงาน สมาชิกท่ีดีของสังคมและมีจิตสาธารณะมีความ สังเกตพฤติกรรม รับผิดชอบต่อสังคม โดยช่วยเหลือเพ่ือนร่วมงาน โดยไม่ผลประโยชน์และส่ิงตอบแทนใดๆ ทั้งส้ิน อาทิ 1. เข้าร่วมโครงการจติ อาสา 2. การรกั ษาระเบียบวินัย 3. การเขา้ รว่ มกจิ กรรมวนั สําคญั ต่าง ๆ รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผู้ช่วย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 25 กิจกรรมจรรยาบรรณวิชาชพี ครู ภาพท่ี 1.3.1 การคน้ ควา้ เพิม่ เติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ๆ ภาพท่ี 1.3.2 การอบรมผ่านระบบออนไลน์ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตาํ แหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผูร้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 26 การอบรมและการพฒั นาตนเอง ( เดือนพฤษภาคม - ตลุ าคม 2564) ลําดบั วัน เดอื น ปี ระยะเวลา ชื่อหลักสูตร หนว่ ยงาน ที่ ท่ีจัดอบรม การอบรม ท่ีจัดอบรม 1 2 ตุลาคม 2564 6 ช่ัวโมง เทคนิคการสอนออนไลนใ์ ห้มันผา่ นโปรแกรม คณะครศุ าสตรอ์ ตุ รสาหกรรม OBS Studio (ด้วยระบบออนไลน์) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ธัญบุรี 2 19 กันยายน 2564 9 ชัว่ โมง ความเข้าใจเกยี่ วกับสมรรถนะ “หลกั สตู รฐาน คณะศกึ ษาศาสตร์ สมรรถนะ”และ”การพัฒนาหลักสูตรฐาน มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ สมรรถนะ” 3 27 สงิ หาคม 2564 3 ชัว่ โมง การพัฒนาระบบการจดั การศึกษา”การจัด มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื การศึกษาไทยกบั สังคมโลกและภูมภิ าค” (ออนไลน์) 4 25-26 สิงหาคม โครงการสง่ เสริมการพฒั นาการจัดการเรยี น วทิ ยาลยั เทคนคิ สระแก้ว 2564 การสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 5 17 สิงหาคม 2564 1 วัน การวิจยั เพ่อื พัฒนานวัตกรรมการเรยี น สถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน ยคุ 4.0 ด้วยแนวคิด R&DLi 6 14-15 2 วัน การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาทักษะการ สาํ นักงานคณะกรรมการ สงิ หาคม 2564 จัดการเรียนรู้รปู แบบออนไลน์ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 7 23,26 3 วนั โครงการพฒั นาการสอนในยุคดจิ ทิ ลั Digital สถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน กรกฎาคม 2564 People Tranaformation 2 สงิ หาคม 2564 8 4 กรกฎาคม 2564 1 วัน การปิดบญั ชแี ละการจดั ทํางบการเงนิ รวม มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม 9 18-22 5 วัน การพัฒนาและเรียนร้อู อนไลน์ ตามโครงการ สํานักงานคณะกรรมการ พฤษภาคม 2564 พฒั นาทักษะทางดา้ นดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การ การอาชวี ศึกษา เรียนการสอนอาชีวศึกษา หลกั สตู ร การทํา Data Visualization หลกั สตู ร การสร้างแฟม้ สะสมผลงานด้วย New Google Sites หลกั สตู ร Google Classroom หลักสูตร Online Learning Pedagogy (รายละเอยี ดประกอบ) รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ ตําแหน่งครผู ชู้ ว่ ย ผ้รู บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชุมชนสระแกว้
หนา้ 27 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 28 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 29 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 30 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 31 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 32 บทความ การจัดการเรยี นรู้ทางออนไลน์อย่างมปี ระสิทธภิ าพในยุคดิจิทลั (Efficiency in Online Learning Management of Digital Age) : จากบทเรยี นตา่ งประเทศสูก่ ารจัดการเรยี นรขู้ องไทย แหลง่ ท่ีมา ; http://www.nidtep.go.th/2017/publish/doc/20210827.pdf ; ดร. เจรญิ ภูวิจิตร์ นกั ทรัพยากรบคุ คลชํานาญการพเิ ศษ การจัดเรียนการเรียนรู้ทางออนไลน์ในยุคดิจิทัล เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนท่ี เป็นอยู่เดิมเป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าสําหรับการจัดการเรียนการสอน แบบออนไลน์อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ซ่ึงการ สอนแบบออนไลน์มี องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา ส่ือการเรียนและแหล่งเรียนรู้กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ระบบการ ติดต่อสื่อสาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและ การประเมินผล โดยรูปแบบการเรียนการสอน มีหลากหลายวิธี ท่ีจะทําให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ การ พิจารณาองค์ประกอบและรูปแบบ ที่ สอดคล้อง เหมาะสมกับลักษณะวิชา และบริบทของผู้เรียนจะนําไปสู่ การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่การเรียนรู้เป็นเร่ืองท่ีเห็นได้ ชัดเจนท่ีสุด ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันและ นวัตกรรมที่สร้างสรรค์คอนเทนต์ (Content) อํานวยความ สะดวกการสอนได้แค่ปลายนิ้ว ทําให้เราสามารถ เรียนรู้ทุกเนื้อหาได้จากทุกคน ทุกท่ี ทุกเวลา เพ่ือไปสู่ เป้าหมายเดียวกันในการเรียนรู้วิถีใหม่ (New Normal) เป้าหมายของการศึกษาอาจยังคงเดิมแต่ผู้เรียน สามารถใช้วิธีที่แตกต่างในการไปให้ถึงจุดหมายได้นักศึกษาบาง คนอาจเรียนรู้ได้เร็วกว่าหากได้ดูภาพ หรือคลิปวิดีโอ แต่นักศึกษาบางคนอาจชอบการฟังอาจารย์บรรยาย เพราะรูปแบบการเรียนรู้ของแต่ละ คนไม่เหมือนกัน การกําหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม เพ่ือให้สามารถดําเนินการเรียน การสอนให้ไปได้ย่อมแสดงให้เห็นถึงการบริหารรูปแบบการเรียนการสอนหลัง โควิด-๑๙ (Social Distancing) และการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติใหม่ (New Normal) มี ความสําคัญต่อ การบริหารจัดการ ท้ังนี้สะท้อนให้เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนน้ันต้องการการปรับเปลี่ยน รูปแบบการ เรียนรู้(Change Learning) เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- ๑๙ ที่ เกิดขึ้น1 และด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ใน ปัจจุบัน ส่งผลต่อการเล่ือนเปิดสถานศึกษา และเกิดการแพร่หลายของแนวทางจัดการเรียนรู้ออนไลน์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสารสนเทศข้ึนอย่างมากมาย ดังน้ัน ครูผู้สอนในฐานะผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่ นักเรียน ต่างก็มีการปรับตัว และเตรียมทักษะเพื่อรับมือกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใหม่อย่างทันท่วงที พร้อมรับกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนท่ีอาจเกิดขึ้นได้อยู่เสมอ ฉะนั้น การเตรียมการ และการฝึกฝนทักษะ ของครูไม่ว่าจะพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี การส่ือสาร การถ่ายทอด และการเป็น ผู้ให้คําปรึกษาที่ดี รวมท้ัง ความกระตือรือร้นในการบริหารจัดการปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ และประเมินผลท่ีเหมาะสมกับ สถานการณ์ให้ได้มากท่ีสุดเพื่อปฏิบัติหน้าที่ครู ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพให้แก่นักเรียน โดย กา้ วข้ามข้อจํากดั เร่ืองสถานทแี่ ละอุปสรรคต่างๆ ไดใ้ นทีส่ ุดจึงเปน็ เร่อื งสําคัญ รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตําแหน่งครผู ู้ช่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 33 ทั้งน้ี แนวคิดของการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning มาจากแนวคิดของการเรียน การสอน ทางไกล (Distance learning) ซ่ึงมีมากกว่า ๑๐๐ ปีเร่ิมจากการเรียนทางไปรษณีย์เมื่อปีค.ศ. ๑๘๔๐ มีการ รับส่งบทเรียนผ่านระบบไปรษณีย์ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลได้เรียน แต่ประสบ ปัญหาในการติดต่อ ท่ีใช้เวลานานและบางครั้งเอกสารสูญหายระหว่างทาง ต่อมามีการเปิด Home-study program ทางไปรษณีย์ สําหรับผู้ท่ีต้องการเรียนจากบ้านหรือผู้ที่อยู่ห่างไกลสถานศึกษา จนถึงปัจจุบัน มี การเปิดสอนในลักษณะ มหาวิทยาลัยเปิดท่ีผู้เรียนไม่ต้องมาเรียนในห้องเรียน เมื่อมีการนําคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการศึกษามากข้ึนในปี ค.ศ. ๑๙๖๐ จึงมีการพัฒนาแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์และ โสตทัศนวัสดุเป็นส่ือการเรียนการสอนเช่น เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง และต่อมาเป็นการใช้ซีดีรอม ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้ในวงการศึกษ าเรียกว่า CAI (Computer - Aides Instruction) และ CBT (Computer - Based Training) ใช้ในการฝึกอบรม ใน วงการธุรกิจและอุตสาหกรรม ในปีค.ศ. ๑๙๙๐ เป็นต้นมา เมื่อการใช้อินเทอร์เน็ตแพร่หลายผ่านโปรแกรม แสดงผล (Web browser) และโปรโตคอล TCP/IP จึงมีการพัฒนาการเรียนการสอนผ่าน World Wide Web โดยใช้ในวงการศึกษาว่า Web - based education หรือ Web - based instruction หรือ Web - based learning และใช้ในวงการธุรกิจ ว่า Web - based training เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย ออนไลน์จึงมีการใช้คําว่า Online training หรือ Online learning ซ่ึง Online training เป็นส่วนหน่ึงของ e- Learning ในปีค.ศ. ๒๐๐๐ เป็น ต้นมาคําว่า e-Learning เริ่มแพร่หลายจากการที่บริษัท Cisco (http://www.ciscolearning.org/) ได้เร่ิม แนะนําเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับ e-Learning เพ่ือใช้ในการ ฝึกอบรมโปรแกรมการอบรมพนักงานของ บริษัท e-Learning มาจากคําว่า Electronic learning หรือ Online learning เป็นการทํางานในลักษณะ Technology - based learning เป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่าน อินเทอร์เน็ตเสมือนการเรียนในห้องเรียนแต่ เป็นการส่งเนื้อหาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งรวมถึงอินเทอร์เน็ตจึง เป็นการผสมผสานการเรียนรู้และ เทคโนโลยีเข้าด้วยกัน มีการติดต่อโดยตรงระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ซ่ึงการ ติดต่อหรือการปฏิสัมพันธ์ (Interactivity) ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนน้ีเป็นหัวใจของ e-Learning ดังน้ัน การใช้ เทคโนโลยีe-Learning จึงเป็นการถ่ายทอดเน้ือหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาดาวเทียม (Satellite) ก็ ได้ซ่ึงเน้ือหาบทเรียนได้บันทึกไว้ในรูปแบบใหม่ ลักษณะของ e-Learning เป็นการเรียนรู้อย่างไม่ เป็น ทางการ ช่วยให้ผู้เรียนเลือกเรียนในเวลาท่ีสะดวก มีความรวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่าย ในการเรียนรู้ หรือฝึกอบรม เป็นการแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน และประหยัดเวลา ทําให้เกิดความ 3 สะดวกในการเรียนรู้หรือฝึกอบรมในระหว่างการทํางาน เป็นการเรียนรู้ท่ีสามารถพัฒนาประสิทธิภาพของ ตนเองได้ดยี ง่ิ ขน้ึ ปัจจุบันการเรียนรู้เร่ิมมาให้ความสําคัญกับการเรียนผ่าน e-Learning หรือผ่านทาง ออนไลน์กันมาก ข้ึน การเรียนรู้ออนไลน์จึงช่วยทําให้การเรียนง่ายและสะดวกขึ้น ขอแค่มีอินเทอร์เน็ต เข้าถึงทําให้ผู้เรียน สามารถเรียนได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง รวมถึงไม่ต้องเสียเวลาท้ิงคอร์ สไปฟรีๆ หากมีธุระ สําคัญเข้ามาแทรกในช่วงระหว่างท่ีเรียนเหมือนการเรียนในห้องเรียน แต่ทราบ หรือไม่ว่าการจัดการเรียนรู้ ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลนมีรูปแบบแนวทางอย่างไร กันบ้าง ซ่ึงลักษณะสําคัญของการ เรียนรู้ทางออนไลน์ (Online learning) คือ ผู้เรียนเป็นใครก็ได้ อยู่ที่ใด ก็ได้ เรียนเวลาก็ใด เอาตามความ สะดวกของผู้เรียนเป็นสําคัญ เน่ืองจากโรงเรียนออนไลน์ได้เปิดเว็บไซต์ ให้บริการตลอด ๒๔ ช่ัวโมง มีส่ือทุก รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผูร้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว
หนา้ 34 ประเภทที่นําเสนอในเว็บไซต์ ไม่ว่าจะท้ังข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง VDO ซึ่งจะช่วยกระตุ้นความ สนใจในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยัง ทําให้เห็นภาพของเนื้อหาต่าง ๆ มากขึ้น ผู้เรียนสามารถ เลือกวิชาเรียนได้ตามความต้องการ เอกสารบน เว็บไซต์ที่มี Links ต่อไปยังแหล่งความรู้อื่น ๆ ทําให้ขอบเขต การเรียนรู้กว้างออกไป และเรียนอย่างรู้ลึก มากขึ้น ซ่ึงย่อมมาจากการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมี ประสิทธิภาพ แต่ถึงกระน้ันการจัดการเรียน การสอนออนไลน์เป็นส่ิงใหม่ในการรับรู้ของบุคคลทั่วไป แต่ สําหรับแวดวงการศึกษาได้รับรู้และตระหนัก ถึงการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการแพร่ระบาดของไว รัสโคโรน่า ๒๐๑๙ แล้ว ด้วยกระบวน ทัศน์การเรียนการสอนในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๑ ที่มีการปรับตัวทีละน้อย แต่เม่ือมีการแพร่ระบาดของไวรัส โคโรน่า ๒๐๑๙ จึงได้มีการปรับใช้ในอัตราท่ีเร่งข้ึน การออกแบบบทเรียน การจัดการห้องเรียน การใช้ส่ือ ในการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ถึงแม้จะมีปัญหา และอุปสรรค ในการปฏิบัติ แต่ต้องยอมรับว่าการจัดการเรียนการสอนออนไลน์เป็นวิถีใหม่ที่ จะเป็นไปของการศึกษา ไทยในกระแสปัจจุบัน ดังน้ัน ทักษะในการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์ของครูผู้สอนจึง เป็นเร่อื งทีส่ ําคญั ยง่ิ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปัจจุบัน ส่งผลต่อการเรียนการสอนใน รูปแบบ ปกติและส่งผลต่อการเลื่อนเปิดสถานศึกษา และเกิดการแพร่หลายของแนวทางจัดการเรียนรู้ ออนไลน์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสารสนเทศขึ้นอย่างมากมาย ดังนั้น ครูผู้สอนในฐานะผู้ถ่ายทอด องค์ความรู้ให้แก่ นักเรียนต่างก็มีการปรับตัว และเตรียมทักษะเพ่ือรับมือกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ แบบใหม่อย่างทันท่วงที พร้อมรับกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้อยู่เสมอ ทักษะในการัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตหรือระบบปฏิบัติการรูปแบบต่างๆ ที่อาศัยการบริหารจัดการ ห้องเรียนซ่ึงแตกต่างไปจาก ห้องเรียนปกติในโรงเรียนนั้น ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ของครูที่สําคัญ อย่างย่ิงในการจัดการเรียนการสอน ไมว่ า่ จะเป็นแผนการสอน สื่อการสอน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ สามารถสรุปไดด้ ังนี่ ๑. ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และการสร้างสรรค์ เน่ืองจากสภาพแวดล้อมในการจัดการ เรียนรู้ในห้องเรียนกับการเรียนผ่านเครือข่าย มีความท้าทายที่แตกต่างกันอย่างมาก การนําเอาเทคโนโลยีเข้า มาเป็นสอ่ื หรือเปน็ ช่องทางหลักในการ ถ่ายทอดความรู้ และกระบวนการคดิ แทนท่กี ารถ่ายทอดและรับรรู้ บั ฟงั ข้อมูลแบบต่อหน้านั้น จึงควร จัดเตรียมความพร้อม และทักษะการใช้เทคโนโลยี และโปรแกรมแอพพลิเคชัน ต่างๆ เป็นอย่างดี สามารถ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับกระบวนการจัดการสอน เพื่อความสะดวกและราบรื่นใน การถ่ายทอดองค์ความรู้ หากครูผู้สอนมีทักษะ การใช้และความเข้าใจเก่ียวกับเทคโนโลยีดังกล่าวในเบื้องต้น ได้แก่ วิธีการใช้ งาน ข้อดีหรือจุดเด่น ข้อเสียหรือจุดด้อยของแต่ละโปรแกรมหรือแอพพลิเคชันออนไลน์ในการ จัดการ เรียนการสอน ความรู้เรื่องการเข้าใช้และเทคนิคการแก้ไขปัญหาระบบอินเทอร์เน็ตในเบ้ืองต้น ความ เข้าใจในเร่ืองลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญาในการคัดลอกนําข้อมูลของผู้อ่ืนมาใช้ การออกแบบเนื้อหา การ เรียน และช่องทางการสื่อสารท่ีสอดคล้องกับความสามารถของแอพพลิเคชันหรือโปรแกรมออนไลน์ เป็นอย่าง ดี รวมทั้งถ่ายทอดทักษะการใช้งานเทคโนโลยีเหล่านั้นให้แก่นักเรียนได้มีความสามารถในการ แก้ไขปัญหา ขัดข้องท่ีอาจเกิดข้ึนระหว่างการจัดการสอน จะทําให้การเรียนการสอนดําเนินการได้อย่าง ราบร่ืนมากย่ิงขึ้น ซ่ึงจะตอ้ งประกอบกบั ทักษะอ่ืนๆ ควบคกู่ นั อีกด้วย รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตําแหน่งครูผู้ชว่ ย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้
หนา้ 35 ๒. ทักษะการสื่อสารที่หลากหลาย ด้วยสภาพแวดล้อมของการเรียนผ่านเครือข่าย และโปรแกรม ออนไลน์ต่างๆ ท่ีอาจจะ ก่อให้เกิดอุปสรรคในการสื่อสาร และการตีความได้ ดังนั้น ประเด็นเรื่องทักษะการ สื่อสารท่ีชัดเจน ตรง ประเด็น และเข้าใจง่าย โดยอาจใช้ภาพ วิดีโอ หรือตัวอย่างสื่อออนไลน์ประเภทอ่ืนๆ ที่ ช่วยให้นักเรียน เข้าใจได้มากที่สุดภายในขอบเขตระยะเวลาที่จํากัด ยิ่งไปกว่านั้นครูควรเพ่ิมความถ่ีในการ สื่อสารกับ นักเรียน และผู้ปกครอง ที่มากกว่าการสื่อสารในช่วงการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ ซ่ึงปรับใช้ การ ส่ือสารทั้งแบบทางการ และก่ึงทางการเพ่ือสร้างความร่วมมือ และการสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างครู นักเรียน และผู้ปกครองให้พัฒนาไปพร้อมกัน ทุกฝ่ายเห็นพ้องร่วมกันในแนวทางและแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็นระหว่างกันเพือ่ จดั การเรยี นรูท้ ่ีมปี ระสิทธิภาพให้มากทสี่ ุด ๓. ทักษะการบริหาร และจัดเวลาการเรียนที่ยืดหยุ่นแต่มีประสิทธิภาพ ประเด็นเร่ืองการจัดการเวลา ในการเรียน และการนับชั่วโมง ซึ่งอาจมีความแตกต่างไป จากการจัดเวลาในการเรียนในชั้นเรียนปกติที่ในแต่ ละวันจะมีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิชา โดยท่ีแต่ ละวิชาใช้เวลาไม่เกิน ๑ ชั่วโมง ในทางกลับกันความ พร้อมในเรื่องของอุปกรณ์ของนักเรียนบางส่วนท่ี อาจจะต้องพ่ึงพาการดูแล และอํานวยความสะดวกจาก ผู้ปกครอง ก็ต้องมีการปรับเวลาเรียนตามความ เห็นชอบร่วมกันภายในช้ันเรียน ทําให้ต้องส่ือสารเร่ืองการ จัดการเวลาของการเรียน และการนับช่ัวโมง เรียนใหม่ ดังน้ัน ครูผู้สอนจะต้องทําการบริหารเวลาในการสอน ใหเ้ หมาะสม และมีคณุ ภาพ อาจพัฒนาและออกแบบการเรยี นการสอน ที่ใช้เวลานอ้ ยลงแตย่ งั คงเกดิ การเรยี นรู้ ได้ดีย่ิงขึ้น ผ่านการศึกษาจากส่ือ ต่างๆ ที่ครูมอบหมาย หรือเรียนรู้ผ่านค้นคว้าข้อมูล ไม่ว่าจะใช้วิธีการใดก็ ตามแต่ต้องยึดตัวผู้เรียนเป็น หลักในการจัดการเรียนการสอน แนวทางและวิธีการการเรียนรู้ทําให้นักเรียนที่มี ลักษณะการเรียนรู้ และ ความถนัดท่ีหลากหลายสามารถพัฒนาทักษะสําคัญจากกระบวนการท่ีครูออกแบบข้ึน ท้งั สิน้ ๔. ทักษะการจับประเด็นและการคิดวิเคราะห์ เนื่องจากอุปสรรค และข้อจํากัดด้านเวลาในการ เรียนรู้ การถ่ายทอด และการฝึกฝนให้ นักเรียนสามารถจับสาระ และทักษะสําคัญอันเป็นใจความหลักของ เร่ืองบทเรียนนั้น ถือเป็นอีกหนึ่ง แนวทาง ท่ีครูผู้สอนจะสามารถจัดการเรียนรู้ภายในระยะเวลาที่จํากัดได้ ปริมาณเวลาหรือการถ่ายทอด สาระข้อมูล จากครูท่ีลดน้อยลง จะไม่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคในการเรียนรู้ของ นักเรียน หากนักเรียน เข้าใจ และมีทักษะในการจับประเด็นหรือสาระสําคัญของเร่ืองท่ีเรียน หรือจากสื่อที่ ศึกษาเพิ่มเติมได้ ยิ่ง ไปกว่าทักษะการจับประเด็นสาระสําคัญแล้วน้ัน การฝึกฝนทักษะคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุ มีผล ความกล้า คิดกล้าแสดงออกบนฐานของการศึกษา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ จะช่วยให้นักเรียน สามารถเรียนรู้ และพัฒนาต่อยอดทักษะความสามารถด้วยตนเองเป็นอย่างดีเช่นกัน แต่ทั้งน้ีทั้งน้ันครูจะต้องมี การ ติดตามการเรียนรู้หรือการทํารายงานอยู่เสมอ อาจจะมีการส่ือสารหรือนัดหมายให้ตอบข้อคําถาม หลังจากการศึกษาและคน้ คว้าสือ่ ทไ่ี ดม้ อบหมายใหเ้ ป็นระยะ ๆ เป็นตน้ ๕. ทักษะการประเมินผล และให้คําแนะนําท่ีมีคุณภาพและเหมาะสม นอกจากทักษะข้างต้นท่ีครูต้อง เตรียมความพร้อมต่อการจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย ออนไลน์แล้วนั้น ประเด็นเร่ืองการประเมินผลและให้ คําแนะนําเพ่ือการพัฒนานักเรียนได้อย่างเหมาะสม กับความสามารถและความถนัดของแต่ละคนก็ยังถือเป็น ประเด็นที่ครูผู้สอนจะต้องมีการจัดการท่ีดี โปร่งใสและเป็นท่ีรับรู้ร่วมกัน อย่างไรก็ตามการประเมินผลหรือการ ตัดสินผลคะแนนของนักเรียน อาจจะ ต้องมีการปรับโครงสร้างคะแนน และลักษณะเนื้อหาตามตัวช้ีวัดท่ี รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแกว้
หน้า 36 แตกต่างจากท่ีเคยใช้ในห้องเรียน ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรต้องการประเมินนักเรียนในด้านใด ครูจะต้องปรับ ลักษณะของงาน และการทํา กิจกรรมท่ีมอบหมายน้ันให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดมากย่ิงข้ึน เพ่ือ การพฒั นานักเรียนไป ตามเป้าหมาย โดยปรบั ใช้วิธีการทมี่ อบหมายงาน ฉะน้ันเพ่ือให้การจัดการสอนออนไลน์มีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธ์ิที่ดีขึ้น พบว่ามี ๘ วิธี สอน ออนไลน์ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและผลสัมฤทธิท์ ด่ี ี ดังนี่ ๑. กําหนดแนวทางที่ชัดเจน การเรียนออนไลน์ทําให้นักเรียนมีอิสระมากขึ้น ดังนั้น ผู้สอนต้อง กําหนดแนวทางที่ ชัดเจนสําหรับนักเรียน ทั้งในการเข้าถึงการสอนออนไลน์ของผู้สอน เช่น เคร่ืองมือในการ เรียน แหล่ง ดาวน์โหลดเอกสารการเรียน รวมไปถึงตารางเวลาในการสอน รวมไปถึงความคาดหวังท่ีจะได้รับ จาก นักเรียน เชน่ การทาํ แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบ การมสี ่วนรว่ มในห้องเรยี นออนไลน์ เป็นต้น ๒. ออกแบบการสอนที่น่าสนใจ แรงจูงใจในการเรียนและการมีส่วนร่วมเป็นส่ิงสําคัญท้ังในรูปแบบ การสอนแบบตัวต่อตัว หรือการสอนออนไลน์ ดังน้ันการทําให้นักเรียนต้ังใจขณะเรียนออนไลน์มากขึ้นนั้น ผู้สอนจําเป็นต้อง วิเคราะห์ ความต้องการของผู้เรียน เพ่ือออกแบบเน้ือหาการเรียนรู้ ตลอดจนการหากิจกรรม การเรียนรู้ และการแก้ปัญหาทางเทคนิคท่ีเหมาะสม ใช้เทคนิคการสอนอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา ประสบการณก์ าร เรยี นรู้ที่ดขี องนักเรยี น ๓. เลือกเคร่ืองมือการสอนท่ีเหมาะสม เคร่ืองมือการสื่อสารออนไลน์เป็นส่ิงที่ขาดไม่ได้ในการสร้าง ห้องเรียนออนไลน์ มี ซอฟท์แวร์มากมายในปัจจุบัน เคร่ืองมือการสอนที่ดีจะช่วยให้การสอนออนไลน์ของ ผู้สอนเป็นไปได้อย่าง ราบรื่น เช่น บางซอฟท์แวร์จะมีกระดานสนทนา จอแสดงเอกสารการสอน รวมไปถึงการ บันทกึ การสอน ท้งั หมดไว้ได้อีกด้วย ๔. กระตุ้นให้นักเรียนทํางานร่วมกันแบบออนไลน์ กระตุ้นให้นักเรียนได้ส่ือสารกันระหว่างท่ีเรียน ออนไลน์ โดยการให้พวกเขาทําโปรเจกต์ หรือ มอบหมายงานให้ทําร่วมกัน ผ่านกระดานสนทนาหรือการ ประชุมออนไลน์ ก็จะช่วยให้ผู้เรียนได้สื่อสาร กันและรู้สึกว่าเหมือนอยู่ในห้องเรียนจริงๆ ซ่ึงถือเป็นการสร้าง การมีส่วนร่วมทีด่ อี กี ดว้ ย 5. ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ เนื่องจากนักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็ปเล็ต และอินเทอร์เน็ต เพื่อเข้าสู่ ห้องเรียนออนไลน์อยู่แล้ว ทรัพยากรที่ดีและง่ายที่สุดสําหรับพวกเขาก็คือ สิ่งที่อยู่บนโลกออนไลน์ ผู้สอน อาจจะให้พวกเขาค้นหาขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งบนเวบ็ ไซต์ต่างๆ แทนการอา้ งองิ จากหนังสือตาํ รา 6. มีการปิดการสอน การปิดการสอนด้วยการให้นักเรียนสรุปหรือประเมินเป็นวิธีที่ดี ซึ่งจะช่วยให้ นักเรียนได้ สะท้อนส่ิงที่เรียนรู้ และให้นักเรียนได้ไตร่ตรองเน้ือหา และแชร์ประสบการณ์ต่างๆ เพ่ือให้ทุกคน ตระหนัก ถึงสิง่ ที่พวกเขาได้รบั จากการเรียนในครั้งน้ีหรอื จากรายวิชาน่ี 7. ให้นักเรียน Feedback ในช่วงสัปดาห์ที่ ๒ หรือ ๓ ผู้สอนควรขอความเห็นจากนักเรียนโดยตรง เกี่ยวกับสิ่งที่ เกิดขึ้น และควรจะให้นักเรียนแสดงความเห็นให้ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่เนื้อหา ไปจนถึงวิธีการ สอน และสิ่งท่ีต้องปรับปรุง โดยอาจจะให้นักเรียนโพสต์ความคิดเห็นลงบนกระดานสําหรับการ Feedback โดยเฉพาะ รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตําแหน่งครูผ้ชู ่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 37 อย่างไรก็ตามในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์การเลือกแพลตฟอร์มการจัดการเรียน การสอนผ่าน ออนไลน์เป็นส่ิงสําคัญ คือ “ระบบสื่อสาร” ต้องมีความเข้าใจท่ีตรงกันระหว่าง ผู้สอนกับ ผู้เรียน การเลือกใช้ แพลตฟอร์มในการใช้สอนซึ่งแพลตฟอร์มการสอนในแต่ละแพลตฟอร์มมีค่าใช้จ่ายใน การเปิดใช้ Account ซึ่ง ผู้บริหารจําเป็นต้องทําเรื่องจัดซื้อจัดจ้างเพื่อขอเปิดใช้งานเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพการทํางานของแพลตฟอร์ม อย่างเต็มประสิทธิภาพจึงจําเป็นต้องเลือกใช้เพียงแพลตฟอร์ม เดียว ทั้งนี้การเลือกใช้แพลตฟอร์มจะต้อง เป็นไปตามความต้องการของบุคลากรส่วนใหญ่ท่ีมีความถนัด และใช้งานสะดวก ซ่ึงการเลือกใช้แพลตฟอร์ม เดียวทําให้เกิดความสะดวกแก่ผู้เรียน และการเลือกใช้ แพลตฟอร์มใด ๆ ก็ตาม จําเป็นต้องมีการฝึกอบรมใน การใชง้ านให้ท้งั ผสู้ อนและผู้เรยี น ใหส้ ามารถใช้งาน คล่องและมปี ระสทิ ธภิ าพ ***************************** การศึกษา/การอบรมสมั มนาเกยี่ วกับการจัดการศึกษา https://www.aksorn.com/vocational-teacher รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย ผู้รบั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้
หนา้ 38 เรยี นรู้เทคนิคการสอนออนไลน์ https://inskru.com การศกึ ษาการสร้างรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน https://edulpru.com/prores63/ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตําแหน่งครผู ชู้ ว่ ย ผ้รู ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว
หนา้ 39 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 40 เกณฑก์ ารประเมนิ : ๔. การดํารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกณฑก์ ารประเมนิ บันทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ ข้าพเจ้าตระหนักถึงคุณค่าของการ สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บริหาร หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผปู้ กครอง เพือ่ นรว่ มงาน และพยายามน้อมนําหลักปรัชญาของ ภาพกิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจําวัน เพ่ือความผาสุกของตนเองในปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งในปจั จบุ ันไดน้ ําความรู้ เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ เช่นการ ปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงไก่ไข่ไว้กินเอง การทําไร่นาสวน ผสม ๔.๒ มีการนําหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้านําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ป ป รั บ พอเพียงมาสอดแทรกในใบงานของ ผู้ปกครอง เพือ่ นรว่ มงาน ประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้ใน นักศึกษา พบว่านักศึกษามีความรู้ความ สังเกตพฤตกิ รรม ห้องเรยี น เ ข้ า ใ จ ใ น ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียง สามารถนําหลักของความ พอเพียง คือ พอประมาณ มีเหตุผล มี ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว บนเง่ือนไขของ ความรู้คู่คุณธรรม นักศึกษานําไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ เช่น ใน การจัดการเรียนการสอน มอบหมายให้ นักเรียนจัดทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย สําหรับตนเอง และนําไปต่อยอดในการ จดั ทาํ บญั ชีครัวเรอื น ใหน้ กั เรยี นจัดทําบญั ชรี ายรบั รายจ่ายของตนเองในรายวิชาที่สอน หลังจากในแต่ละสิ้นเดือนให้จัดทํางบ รายรับรายจ่าย และส้ินสุดการสอนให้ จัดทําการเงิน และสรุปผลรายรับ รายจา่ ย เสนอในรปู แบบงบการเงิน รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตาํ แหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ผู้รบั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้
หนา้ 41 เกณฑ์การประเมนิ บนั ทึกผลการปฏบิ ตั งิ าน หลกั ฐาน/แหล่งข้อมูล ๔.๓ มีการนําหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้าดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญา สอบสัมภาษณ์ครู ผูบ้ ริหาร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ป ป รั บ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางใน ผ้ปู กครอง เพอ่ื นร่วมงาน ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ภ า ร กิ จ ท่ี ไ ด้ รั บ การทํางานให้มีประสิทธิภาพ เช่นการ สังเกตพฤติกรรม มอบหมายอื่น นําของเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ อาทิ ดัดแปลงกล่องกระดาษ A4 ประยุกต์ เ ป็ น ที่ ก ล่ อ ง ส า ม เ ห ล่ี ย ม สํ า ห รั บ เ ก็ บ เอกสารและหนงั สอื สาํ คัญ ๔.๔ มีการนําหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้าดําเนินชีวิตโดยยึดหลัก สอบสมั ภาษณค์ รู ผู้บรหิ าร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ไ ป ป รั บ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ผู้ปกครอง เพือ่ นรว่ มงาน ประยุกต์ใช้กับการดํารงชีวิตของ ในหลวง เป็นแนวทางในการดําเนนิ ชีวิต ตนเอง เชน่ สังเกตพฤตกิ รรม การปลกู ผกั ทานเอง การจดั ทาํ บญั ชรี ายรบั รายจา่ ย ๔.๕ เป็นแบบอย่างในการนําหลัก ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป แก่ลูกศิษย์ ใช้ชีวิตบนสายกลาง ยึดหลัก ผปู้ กครอง เพอ่ื นร่วมงาน ปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน สังเกตพฤติกรรม หรือการดํารงชวี ติ ของตน การดําเนินชีวิตและเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และใฝพ่ ัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง เช่น นําไปถา่ ยทอดความรเู้ รอ่ื งการ ทําบัญชีครัวเรือนให้กับชาวบ้านท่ีเข้า รว่ มกจิ กรรมโครงการ มกี ารปลกู พืชผกั สวนครวั และ ทํ า แ ป ล ง เ ก ษ ต ร เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ใ ห้ กั บ ชาวบ้านในพ้นื ทใี่ กลเ้ คียง ได้ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตําแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 42 กจิ กรรมการดํารงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ภาพที่ 1.4.1 การถ่ายทอดความรู้การทําบัญชคี รวั เรอื น รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตาํ แหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว
หนา้ 43 กิจกรรมการดาํ รงชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ภาพที่ 1.4.2 ปลูกพชื ผักสวนครวั ไว้ทานเอง รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตําแหนง่ ครผู ู้ช่วย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว
หนา้ 44 กิจกรรมการดํารงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพที่ 1.4.3 กจิ กรรมการเรียนการสอนวชิ าบญั ชีบรู ณาการ กบั การใช้ชวี ิตประจําวัน รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตาํ แหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้
หนา้ 45 เกณฑก์ ารประเมนิ : ๕. จิตวิญญาณความเป็นครู เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล ๕.๑ การเข้าสอนตรงเวลาและ ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็ม สอบสมั ภาษณ์ครู สอนเตม็ เวลา ความสามารถ เต็มเวลา เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หนา้ ท่ีอย่างสมา่ เสมอ โดยมี ผบู้ รหิ าร การวางแผนการสอนล่วงหน้า สังเกตพฤตกิ รรม จดั ทา่ และจดั หาสือ่ ใน เหมาะสมกบั การจัดการเรียนการสอนในแตล่ ะครง้ั ส่ือการการสอน เช่น - E-Book หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ - Google sites โครงการสอน https://pubhtml5.com/center/bookcases/ แผนการจดั การ manage-bookcase.php?ln=side เรยี นรู้ สื่อการสอนรูปแบบออนไลน์ https://sites.google.com/site/skccthailand/ จัดกจิ กรรมโดยเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสา่ คญั ไม่ละท้งิ การสอนกลางคัน มกี ารปรับปรุงพฒั นางานการสอนอยู่ เสมอ ๕.๒ การตระหนักในความรู้และ ข้าพเจา้ รู้และตระหนักในหน้าท่ีของครู ดงั น้ี สอบสมั ภาษณค์ รู ทักษะที่ถูกต้องรวมถึงสิ่งท่ีดีๆ งานสอน คือ มีการเตรยี มการสอนและ ผบู้ รหิ าร ผู้ปกครอง ให้กับผู้เรียน วางแผนการสอน เพอื่ นรว่ มงาน งานครู คอื ครตู ้องรบั ผดิ ชอบงานด้าน สังเกตพฤตกิ รรม ต่าง ๆ เช่น งานธุรการ งานบริหาร งานบริการ และงานอน่ื ๆ ท่ีทา่ ให้องค์กรก้าวหนา้ งานนักเรียน งานนักศึกษา คือ ใหเ้ วลา ในการอบรม ส่ังสอน เม่ือศิษย์ต้องการค่าแนะน่า หรอื การช่วยเหลือ ๕.๓ การสร้างความเสมอภาค ข้าพเจ้าพยายามเรียนรู้และศึกษาผู้เรียน การศึกษานักศึกษา เปน็ ธรรมกับผเู้ รยี นทุกคน เป็นรายบุคคล เพ่ือจะได้ทราบความต้องการ เป็นรายบุคคล สภาพสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัวของนักศึกษา เป็นรายบุคคล แล้วน่าผลท่ีได้ไปใช้ในการจัด สมั ภาษณ์นกั ศกึ ษา กิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตาํ แหนง่ ครูผู้ช่วย ผรู้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หนา้ 46 เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏบิ ตั งิ าน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มลู เป็นรายบุคคล ท่าให้นักศึกษามีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นทีด่ ีขนึ้ การเข้าพบ พูดคุยนักเรียน นักศึกษา อยา่ งเป็นกนั เอง การจัดกจิ กรรม Hoomroom การติดต่อประสานกับผู้ปกครอง ๕.๔ การรู้จักให้อภัย ปราศจาก ข้าพเจ้าตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ในการถ่ายทอด สอบสมั ภาษณค์ รู อ ค ติ ช่ ว ย เ ห ลื อ ส่ ง เ ส ริ ม ความรู้ให้แก่นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาประสบ ผู้บรหิ าร ผูป้ กครอง ส นั บส นุ นใ ห้ ผู้ เ รี ย นปร ะ ส บ ความส่าเร็จ ตามศักยภาพ ความสนใจหรือความ เพือ่ นรว่ มงาน ความส่าเร็จ ตามศักยภาพ ความ ต้ั ง ใ จ โ ดย มี กา รติ ดต่ อ ประ ส า นง าน ทา ง สังเกตพฤติกรรม สนใจหรือความตงั้ ใจ Facebook Line Zoom Meeting การติดต่อ โดยการโทรศพั ท์และการเยี่ยมบา้ น ๕.๕ การเป็นที่พ่ึงให้กับผู้เรียนได้ ข้าพเจ้าเสียสละเวลาตนเอง มีความมุ่ง สอบสมั ภาษณ์ครู ตลอดเวลา มานะและคอยช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับ ผู้บรหิ าร ผปู้ กครอง ปัญหาของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เป็นก่าลังใจและ เพ่อื นรว่ มงาน ใ ห้ ค่ า แ น ะ น่ า เ ส ม อ ม า โ ด ย ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง สังเกตพฤติกรรม Facebook Line Zoom Meeting และการ ติดตอ่ โดยการโทรศัพท์ ๕.๖ การจัดกิจกรรมส่งเสริม ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าท่ีด้วยจิตวิญญาณเป็นการ สอบสัมภาษณ์ครู การใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ ท่าหน้าที่ด้วยใจซ่ึงท่าให้เกิดความรัก ศรัทธาและ ผู้บรหิ าร ผู้ปกครอง ถ่ า ย ท อ ด ป ลู ก ฝั ง แ ล ะ เ ป็ น ยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ มุ่งม่ัน ทุ่มเทใน เพอื่ นร่วมงาน แบบอยา่ งที่ดขี องผ้เู รยี น การท่างาน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เอาใจ สงั เกตพฤติกรรม ใส่ ดูแลและหวงั ดีต่อศิษย์ ๕.๗ การทุ่มเทเสียสละในการ ข้าพเจ้าอุทิศเวลาให้กับราชการ ไม่ว่าการสอน สอบสัมภาษณ์ครู จัดการเรียนรใู้ ห้กับผเู้ รยี น นั้นจะอยู่ในเวลาราชการหรือนอกเวลาราชการ ผู้บรหิ าร ผู้ปกครอง จนกว่านักศึกษาจะมีความรู้อย่างเต็มเปี่ยม เพอ่ื นร่วมงาน เสียสละทั้งเวลา และทุนทรัพย์ เพ่ือผลจะเกิดกับ สงั เกตพฤติกรรม นักศึกษาและสงั คม การใหค้ า่ แนะน่านกั เรียน นกั ศกึ ษา การอธิบายเพิ่มเติม นอกเหนือจากเวลา เรียน การทา่ กิจกรรมรว่ มกับนักเรียนนกั ศึกษา รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเข้ม ตาํ แหนง่ ครูผู้ช่วย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้
หนา้ 47 การรู้จักนักเรียนรายบคุ คล ภาพที่ 1.5.1 กิจกรรม Home room พบนกั ศึกษา ใหค้ า่ แนะนา่ ค่าปรกึ ษา รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตาํ แหน่งครูผู้ชว่ ย ผรู้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแกว้
หน้า 48 ภาพท่ี 1.5.2 กิจกรรม Home room พบนักศกึ ษา ใหค้ ่าแนะนา่ คา่ ปรกึ ษาในเรือ่ งตา่ ง ๆ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตาํ แหน่งครูผ้ชู ่วย ผ้รู ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชุมชนสระแกว้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214