Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

Published by juthamanee.suksawai, 2023-05-19 09:09:16

Description: แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์-ป.4-2566

Search

Read the Text Version

1 1

2 คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2566 จัดทาขึ้นเพ่ือกาหนดหรือวางแผน เรื่องที่จะสอนอย่างเป็นระบบ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ผู้เรียนได้เป็น ผู้คิดและ ปฏิบัติด้วยตนเองตามสภาพแวดล้อมและบริบทของโรงเรียน คิด ออกแบบ จัดหา จัดซื้อ สื่ออุปกรณ์ท่ีเหมาะ กับสาระการเรียนรู้ วัดและประเมินผลดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับ จุดประสงค์ในการเรียนรแู้ ละวยั ของผเู้ รยี น แผนการจัดการเรียนรู้ให้ประโยชน์หลายประการ นอกจากจะช่วยทาให้ผู้สอนเกิดความม่ันใจ ในการ สอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ยังมีส่วนช่วยในการวางแผน การจัดการเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพ ซ่ึงการสอนที่มีประสิทธิภาพ จะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพ ของผู้เรียน เมื่อพบ ข้อบกพร่องและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนจากการเขียนบันทึกหลังการสอน ผู้สอนได้นาประเด็น ปัญหาที่พบเจอมาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสมกับผู้เรียนและสภาพห้องเรียนท่ี จัดการเรียนรู้ ซ่ึงช่วยให้ การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากข้ึน อันจะส่งผลไปถึงศักยภาพการเรียนรู้ ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม เป้าหมายทางการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 4 การประเมินและการให้คะแนน รวมท้ังแผนการจัดการเรียนรู้ท้ังหมด 80 ช่ัวโมง สื่อ ใบ งาน วัดผลสัมฤทธ์ิท่ีใช้ในการประเมินความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วิธีการและเกณฑ์การประเมินการ เรียนรู้ของผเู้ รียน ขอขอบพระคณุ ผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทุกท่านท่ีให้คาแนะนา และเป็นทป่ี รึกษาในการจดั ทาแผนการจัดการ เรียนรู้ที่มีประโยชน์และมีคุณค่าต่อการจัดการเรียนการสอน อันจะเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อตัวผู้เรียนไว้ ณ โอกาสนี้ อมั รา โกษารักษ์ 1

3 สำรบัญ หนำ้ เรื่อง 5 6 คำอธิบำยรำยวิชำพ้นื ฐำน 9 โครงสรำ้ งรำยวิชำพนื้ ฐำน โครงสร้ำงแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์ 14 23 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ควำมหลำกหลำยของส่งิ มชี ีวติ 33 44 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การจดั ลมุ่ ส่งิ มชี ีวิต 62 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรื่อง ความหลากหลายของพชื 71 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ศึกษากลุ่มพืชดอก 78 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เรื่อง ความหลากหลายของสตั ว์ 88 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 เรือ่ ง หนา้ ทขี่ องสว่ นต่างๆ ของพืชดอก 96 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 เรอ่ื ง ศกึ ษาท่อลาเลียงของพชื แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 เรอื่ ง การคายน้าของพชื 108 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 เรอ่ื ง การสร้างอาหารของพืช 117 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 เร่อื ง ส่วนประกอบของดอก 124 131 หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลำงของแสง 139 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก 146 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การหาน้าหนักของวัตถุ 152 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง มวลกบั การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง ตวั กลางของแสงและวัตถุทึบแสง 159 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ 3 วสั ดุและสสำร 166 175 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง ประเภทของวสั ดุ 182 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ความแขง็ ของวัสดุ 190 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 เร่ือง สภาพยดื หยุ่นของวัสดุ 198 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เรอื่ ง การน้าความร้อนของวัสดุ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง การนา้ ไฟฟ้าของวัสดุ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6 เรื่อง สถานะของสสาร แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 7 เรื่อง สมบัติของของแขง็ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 8 เรื่อง สมบตั ิของของเหลว แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 9 เรอื่ ง สมบตั ิของแก๊ส 1

สำรบัญ (ต่อ) 4 เรอ่ื ง หน้ำ หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ่ี 4 ระบบสรุ ยิ ะและกำรปรำกฏของดวงจนั ทร์ 210 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เรยี นรรู้ ะบบสรุ ยิ ะ 219 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง แบบจ้าลองระบบสุรยิ ะ 231 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรือ่ ง การขึนและตกของดวงจันทร์ 240 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 4 เรือ่ ง การเปลยี่ นแปลงรูปรา่ งของดวงจนั ทร์ 1

5 5 คำอธิบำยรำยวชิ ำ รำยวชิ ำพื้นฐำน วิทยำศำสตร์ กล่มุ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์ ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 4 เวลำ 80 ชั่วโมง/ปี ศึกษาและเรียนรู้เก่ียวกับการจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิต การจ้าแนกพืชเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจ้าแนก สตั ว์มีกระดกู สนั หลงั และสตั ว์ไม่มีกระดูกสนั หลงั ลักษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั หน้าทขี่ อง ส่วนต่าง ๆ ของพืช ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก การใช้เครื่องช่ังสปริงวัดน้าหนักของวัตถุ มวลของวัตถุท่ีมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ การจ้าแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบ แสง สมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การน้าความร้อน และการน้าไฟฟ้าของวัสดุ การน้า สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุไปใช้ในชวี ิตประจ้าวนั สมบตั ิของสสารทัง 3 สถานะ จากขอ้ มูลท่ีได้จากการสังเกต มวล การตอ้ งการที่อยู่ รปู รา่ งและปริมาตรของสสาร รวมทงั การใช้เครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปรมิ าตรของสสาร ทัง 3 สถานะ สร้างแบบจ้าลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจ้าลอง แบบรูปเส้นทางการขึนและตกของดวงจันทร์ สร้างแบบจ้าลองที่อธิบายแบบรูปการ เปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทรแ์ ละพยากรณ์รูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์ โดยมุ่งหวังใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ที่สามารถน้าไปใชอ้ ธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์พฒั นา งานในชีวิตจริงได้ ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการ ทางวิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทักษะส้าคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหา ความรแู้ ละการแก้ปัญหาทีห่ ลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขันตอน รวมทัง สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนเกดิ จิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการเรยี นวิทยาศาสตร์ ตัวชว้ี ดั ว 1.2 ป.4/1 ว 1.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ว 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ว 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ว 2.3 ป.4/1 ว 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 รวม 16 ตวั ชว้ี ดั 1

6 6 โครงสร้ำงรำยวิชำพน้ื ฐำน วิทยำศำสตร์ ป.4 ลำดับ ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ มำตรฐำนกำร สำระสำคญั เวลำ ท่ี ช่อื บท เรียนร/ู้ (ชั่วโมง) ตวั ชว้ี ัด 1. ความหลากหลายของ บทท่ี 1 ว 1.3 ป.4/1 ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด โดยแต่ละชนิดจะมี 15 สิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ว 1.3 ป.4/2 ลักษณะส้าคัญบางอย่างเหมือนกันหรือ ของส่ิงมีชวี ติ ว 1.3 ป.4/3 แตกต่างกันไป ซ่ึงสามารถใช้เป็นเกณฑ์ใน ว 1.3 ป.4/4 การจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่ม สัตว์ และกลุม่ ทไี่ มใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ ในการจ้าแนกพืชสามารถใชล้ กั ษณะการมี ดอกของพืชเป็นเกณฑ์ และในการจ้าแนก สัตว์สามารถใช้การมีกระดกู สันหลงั ของสตั ว์ เป็นเกณฑ์ได้ สัตว์มีกระดูกสันหลังแบ่งออก ได้ 5 กลุ่ม ซึ่งสัตวม์ กี ระดูกสันหลงั แต่ละกลมุ่ จะมลี ักษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้แตกตา่ งกนั บทท่ี 2 ว 1.2 ป.4/1 พชื ดอกมสี ว่ นตา่ ง ๆ ทส่ี า้ คญั ไดแ้ ก่ ราก 12 หนา้ ที่ของสว่ น ล้าต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด ซึ่งส่วนต่าง ๆ ตา่ ง ๆ ของพชื เหลา่ นีจะทา้ หน้าที่ตา่ งกันไป 2. แรงโนม้ ถว่ งของโลกและ บทที่ 1 ว 2.2 ป.4/1 แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นแรงดึงดูดที่โลก 10 ตัวกลางของแสง แรงโน้มถว่ งของ ว 2.2 ป.4/2 กระท้าต่อมวลของวัตถุทุกชนิดที่อยู่บนโลก โลก ว 2.2 ป.4/3 และที่อยูใ่ กลโ้ ลก ซึ่งมที ิศทางเข้าสู่ศูนยก์ ลาง ของโลก ท้าให้วัตถุมีน้าหนักและตกลงสู่พืน โลก เราสามารถวัดน้าหนักของวตั ถุไดโ้ ดยใช้ เคร่อื งช่ังสปริง มวลของวตั ถตุ า่ งๆ มผี ลต่อการเปลยี่ น แปลงการเคลือ่ นท่ีของวัตถุ วัตถุที่มีมวลมาก จะเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ได้ยากกว่าวัตถุ ท่ีมมี วลนอ้ ย บทที่ 2 ว 2.3 ป.4/1 เม่ือมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดมา 3 ตวั กลางของแสง กันแสง จะท้าให้มองเห็นส่ิงนัน ๆ ชัดเจน แตกต่างกันไป จึงจ้าแนกวัตถุท่ีน้ามากันแสง ไดเ้ ปน็ ตัวกลางโปร่งใส ตวั กลางโปรง่ แสง และ วตั ถทุ บึ แสง 1

7 ลำดับ ชอื่ หน่วยกำรเรยี นรู้ ช่ือบท มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ ที่ กำรเรียนรู/้ (ชวั่ โมง) 3. วัสดแุ ละสสาร บทท่ี 1 ตัวชว้ี ัด วัสดุต่าง ๆ มีสมบัติทางกายภาพที่ 15 วัสดุในชวี ิต สามารถสังเกตและทดสอบได้แตกต่างกัน ประจ้าวนั ว 2.1 ป.4/1 ไป เช่น มีความแข็ง มีสภาพยืดหยุ่น น้า ว 2.1 ป.4/2 ความร้อน น้าไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งเรา สามารถนา้ วสั ดทุ ี่มสี มบตั ิทางกายภาพด้าน ต่าง ๆ มาใช้ ประโยชนไ์ ด้ตา่ งกัน บทที่ 2 ว 2.1 ป.4/3 สสารในชวี ติ ประจา้ วันมหี ลายชนดิ แต่ 13 สถานะของสสาร ว 2.1 ป.4/4 ล ะ ช นิ ด อ า จ อ ยู่ ใ น ส ถ า น ะ ข อ ง แ ข็ ง ของเหลว หรือแก๊ส ซ่ึงสสารแต่ละสถานะ อาจมีสมบัติบางประการเหมือนกันหรือ ต่างกัน โดยสังเกตได้จากการมีมวล การ ต้องการที่อยู่ การมีรูปร่างและปริมาตร ของสสาร ซึ่งเราสามารถใช้เคร่ืองมือใน การวัดมวลและปรมิ าตรของสสารได้ 4. ระบบสรุ ิยะและการ บทท่ี 1 ว 3.1 ป.4/3 ระบบสรุ ยิ ะนนั เปน็ ระบบทมี่ ี ดวง 6 ปรากฏของดวงจันทร์ ระบบสรุ ยิ ะ อาทติ ย์เปน็ ศูนย์กลาง และมดี าวบริวาร ตา่ งๆ โคจรอยโู่ ดยรอบ ประกอบดว้ ยดาว เคราะห์8 ดวง รวมทงั ดวงจันทร์บรวิ าร ของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ ดาวเคราะห์ แคระ ดาวเคราะห์นอ้ ย ดาวหาง และวัตถุ ขนาดเลก็ อื่น ๆ โคจรอยรู่ อบดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์ท่โี คจรรอบดวงอาทติ ย์ แตล่ ะดวงจะมขี นาดของดาว ระยะห่างจากดวงอาทติ ย์ และคาบ การโคจรรอบดวงอาทิตย์แตกต่างกนั ไป 1

8 ลำดบั ชอ่ื หน่วยกำรเรียนรู้ ช่อื บท มำตรฐำน สำระสำคัญ เวลำ ที่ กำรเรียนรู้/ (ชัว่ โมง) บทท่ี 2 ตัวชว้ี ัด ดวงจันทร์โคจรรอบโลกพร้อมกับ 6 การปรากฏของ หมุนรอบตัวเอง ในขณะที่โลกหมุนรอบ 80 ดวงจนั ทร์ ว 3.1 ป.4/1 ตัวเองจะท้าให้เรามองเห็นดวงจันทร์ ว 3.1 ป.4/2 ปรากฏขึนทางด้านทิศตะวันออกและตก ทางด้านทิศตะวันตก ซ่ึงหมุนเวียนเป็น รวม แบบรูปซา้ ๆ ดวงจันทร์นันเป็นทรงกลม แต่รูปร่าง ของดวงจันทร์ท่ีปรากฏในแต่ละวันจะ แตกต่างกัน ดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏ เป็นเสียวโดยจะมีขนาดเพิ่มขึนในแตล่ ะวนั จนเต็มดวง และมีขนาดลดลงจนมองไม่ เห็นดวงจันทร์ จากนันรูปร่างปรากฏของ ดวงจันทร์จะเป็นเสยี วใหญข่ ึนจนสว่างเต็ม ดวงอีกครัง และเกดิ การเปลยี่ นแปลงเชน่ นี เปน็ แบบรูปซ้า ๆ ทุกเดือน 1

โครงสรำ้ งแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์ ป.4 9 เวลำ ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ ช่ือบท แผนกำรจดั ทักษะกำรคิด กำรเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) 2 หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี 1 บทที่ 1 1. การจัดกลมุ่ สิ่งมีชีวติ 1. ทักษะการสังเกต ควำมหลำกหลำยของ ความหลากหลายของ 2. ทักษะการส้ารวจคน้ หา 3 ส่งิ มีชีวติ ส่ิงมีชีวิต 3. ทกั ษะการจ้าแนกประเภท 4 4. ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง 6 5. ทักษะการรวบรวมข้อมลู 2 6. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 2. ความหลากหลาย 1. ทักษะการสงั เกต ของพืช 2. ทกั ษะการจ้าแนกประเภท 3. ทักษะการสรปุ อ้างองิ 4. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 5. ทักษะสา้ รวจคน้ หา 6. ทักษะการรวบรวมข้อมลู 3. ศกึ ษากลุม่ พืชดอก 1. ทกั ษะการสังเกต 2. ทักษะการจ้าแนกประเภท 3. ทักษะการเชอ่ื มโยง 4. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล 5. ทกั ษะสา้ รวจค้นหา 6. ทักษะการส้ารวจค้นหา 7. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล 4. ความหลากหลาย 1. ทักษะการสังเกต ของ 2. ทักษะการส้ารวจคน้ หา 3. สัตว์ ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู 4. ทกั ษะการจ้าแนกประเภท 5. ทักษะการสรปุ อา้ งองิ 6. ทักษะการให้เหตผุ ล 7. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 5. หนา้ ท่ขี องส่วนต่าง ๆ 1. ทักษะการสังเกต ของพชื ดอก 2. ทกั ษะการสรปุ อ้างองิ 3. ทักษะการระบุ 4. ทักษะสา้ รวจคน้ หา 1

หน่วยกำรเรยี นรู้ ชอ่ื บท แผนกำรจดั ทักษะกำรคิด 10 กำรเรยี นรู้ เวลำ หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ 1 บทท่ี 2 ควำมหลำกหลำย หนา้ ทข่ี องสว่ นต่าง ๆ 6. ศกึ ษาทอ่ ล้าเลยี งของ 1. ทักษะการสงั เกต (ชว่ั โมง) ของสิ่งมชี ีวิต (ต่อ) ของพืช 3 พืช 2. ทกั ษะการตงั สมมตฐิ าน หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ 2 บทท่ี 1 3. ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน 2 แรงโน้มถ่วงของโลก แรงโน้มถ่วงของโลก และตวั กลำงของแสง 4. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 2 5. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู 3 6. ทักษะสรปุ อา้ งอิง 4 3 7. การคายน้าของพชื 1. ทักษะการสงั เกต 3 2. ทักษะการตงั สมมติฐาน 3. ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน 4. ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง 5. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล 8. การสร้างอาหารของพืช 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการตังสมมตฐิ าน 3 ทักษะการทดสอบสมมติฐาน 4. ทักษะการสรุปอา้ งอิง 5. ทักษะการเชือ่ มโยง 9. ส่วนประกอบของดอก 1. ทักษะการสงั เกต 2. ทกั ษะการส้ารวจคน้ หา 3. ทกั ษะการระบุ 4. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 5. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 1.ผลของแรงโน้มถ่วงของ 1. ทกั ษะการสังเกต โลก 2. ทักษะการสรปุ อ้างอิง 3. ทกั ษะการระบุ 4. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 2. การหานา้ หนกั ของวตั ถุ 1. ทกั ษะการสงั เกต 2. ทกั ษะการเปรียบเทยี บ 3. ทกั ษะการตงั สมมติฐาน 4. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน 3. มวลกับการ 1. ทักษะการสังเกต เปลยี่ นแปลงการ 2. ทักษะการตังสมมติฐาน เคล่อื นทข่ี องวัตถุ 3. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน 4. ทักษะการจ้าแนกประเภท 5. ทกั ษะการส้ารวจค้นหา 1

11 หน่วยกำรเรยี นรู้ ชอื่ บท แผนกำรจดั ทักษะกำรคิด เวลำ กำรเรยี นรู้ บทที่ 2 1. ทักษะการสงั เกต (ช่วั โมง) ตวั กลางของแสง 4. ตวั กลางของแสงและ 2. ทักษะการตงั สมมตฐิ าน วตั ถทุ บึ แสง 3. ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน 3 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี 3 บทที่ 1 วสั ดุใน 4. ทักษะการจา้ แนกประเภท 1. ประเภทของวัสดุ 5. ทักษะการส้ารวจคน้ หา 2 วัสดุและสสำร ชีวิตประจา้ วนั 1. ทักษะการสังเกต 2. ความแข็งของวสั ดุ 2. ทกั ษะการสา้ รวจคน้ หา 3 3. ทักษะการจ้าแนกประเภท 3. สภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดุ 4. ทักษะการให้เหตผุ ล 3 5. ทกั ษะการสรุปอ้างอิง 4. การน้าความรอ้ นของ 1. ทกั ษะการสังเกต 3 วัสดุ 2. ทกั ษะการส้ารวจ 3. ทกั ษะการส้ารวจค้นหา 4. ทกั ษะการตงั สมมติฐาน 5. ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน 6. ทกั ษะการสรปุ อ้างอิง 7. ทักษะการน้าความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 1. ทักษะการสงั เกต 2. ทักษะการสา้ รวจคน้ หา 3. ทักษะการตงั สมมตฐิ าน 4. ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน 5. ทักษะการสรุปอ้างองิ 6. ทกั ษะการน้าความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 1. ทกั ษะการสังเกต 2. ทักษะการส้ารวจค้นหา 3. ทกั ษะการตงั สมมตฐิ าน 4. ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน 5. ทักษะการสรปุ อ้างองิ 6. ทกั ษะการนา้ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ 1

12 ช่ือหน่วยกำรเรยี นรู้ ชือ่ บท แผนกำรจัด ทักษะกำรคิด เวลำ กำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี 3 บทท่ี 1 (ชั่วโมง) วัสดุและสสำร วัสดุใน 5. การน้าไฟฟ้าของวัสดุ (ตอ่ ) ชีวิตประจ้าวนั (ตอ่ ) 1. ทักษะการสงั เกต 4 2. ทักษะการส้ารวจค้นหา 3. ทกั ษะการตงั สมมติฐาน 4. ทักษะการทดสอบ สมมตฐิ าน 5. ทักษะการสรุปอ้างอิง 6. ทกั ษะการน้าความรไู้ ปใช้ประโยชน์ บทที่ 2 6. สถานะของสสาร 1. ทักษะการสงั เกต 2 สถานะของสสาร 2. ทักษะการสา้ รวจค้นหา 7. สมบัตขิ องของแข็ง 3. ทกั ษะการระบุ 4. ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง 1. ทกั ษะการสังเกต 4 2. ทกั ษะการสา้ รวจค้นหา 3. ทักษะการระบุ 4. ทักษะการสรุปอา้ งองิ 8. สมบัติของของเหลว 1. ทกั ษะการสงั เกต 3 2. ทักษะการส้ารวจค้นหา 3. ทกั ษะการระบุ 4. ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง 9. สมบตั ิของแกส๊ 1. ทักษะการสงั เกต 4 2. ทักษะการส้ารวจคน้ หา 3. ทักษะการระบุ 4. ทักษะการสรุปอา้ งอิง หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ี่ 4 บทที่ 1 1. เรยี นรรู้ ะบบสรุ ยิ ะ 1. ทักษะการสงั เกต 2 ระบบสรุ ยิ ะและกำร ระบบสรุ ิยะ ปรำกฏของดวงจนั ทร์ 2. แบบจา้ ลอง 2. ทักษะการสา้ รวจคน้ หา ระบบสุรยิ ะ 3. ทกั ษะการสรุปอ้างองิ 1. ทกั ษะการสังเกต 4 2. ทักษะการส้ารวจค้นหา 3. ทักษะการระบุ 4. ทักษะการเปรยี บเทยี บ 5. ทกั ษะการสรปุ อ้างอิง หน่วยกำรเรยี นรทู้ ่ี 4 บทที่ 2 3. การขนึ และตกของ 1. ทกั ษะการสงั เกต 3 ระบบสรุ ิยะและกำร การปรากฏของ ดวงจนั ทร์ 2. ทักษะการส้ารวจคน้ หา ดวงจนั ทร์ 3. ทกั ษะการให้เหตผุ ล 1

13 ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ ชอ่ื บท แผนกำรจัด ทักษะกำรคิด เวลำ กำรเรียนรู้ ปรำกฏของดวงจนั ทร์ (ชัว่ โมง) (ตอ่ ) 4. การเปลีย่ นแปลงรปู รา่ ง 4. ทักษะการสรปุ อ้างอิง ของดวงจันทร์ 3 1. ทักษะการสงั เกต 2. ทกั ษะการส้ารวจ 3. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 4. ทกั ษะการสรปุ อา้ งอิง 1

14 แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี 1 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ ว 14101 ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี 4 หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ 1 ควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชวี ติ ภำคเรยี นท่ี 1 เรือ่ ง กำรจัดลมุ่ สิง่ มีชวี ติ เวลำ 2 ชั่วโมง ครูผสู้ อน นำงสำวอัมรำ โกษำรกั ษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวช้วี ัด ว 1.3 ป.4/1 จ้าแนกสง่ิ มชี ีวิตโดยใชค้ วามเหมือนและความแตกตา่ งของลักษณะของสงิ่ มีชีวติ ออกเป็นกลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และกล่มุ ทไ่ี มใ่ ช่พืชและสตั ว์ 2. จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 1. สังเกตและบรรยายลักษณะของส่งิ มีชวี ิตแตล่ ะกลุ่มได้ (K) 2. เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกต่างของลกั ษณะต่างๆ ของสิง่ มชี วี ติ แต่ละกลุ่มได้ (P) 3. จ้าแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะส่ิงมีชีวิตเป็น เกณฑ์ได้ (P) 4. มีความสนใจใฝเ่ รียนร้แู ละมุง่ มน่ั ในการท้างาน (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง สำระกำรเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน ใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะ พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา ตา่ งๆ ของสิง่ มีชีวิต มาจัดกลุ่มส่ิงมชี ีวิตได้ 4. สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด สิ่งมีชีวิตรอบตัวเรามีหลายชนิด ซ่ึงสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะส้าคัญบางอย่างเหมือนกัน และมี ลักษณะส้าคัญบางอย่างแตกต่างกนั ไป โดยเราสามารถใชค้ วามเหมือนและความแตกตา่ งของลักษณะต่างๆ ของส่ิงมชี วี ิต มาจดั กลุม่ สง่ิ มีชีวิตออกจากกันได้ 3 กลมุ่ คือ กล่มุ พืช กลุม่ สตั ว์ และกลุม่ ทไ่ี ม่ใชพ่ ชื และสตั ว์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมนั่ ในการท้างาน 2) ทักษะการส้ารวจค้นหา 1

15 3) ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล 4) ทกั ษะการจา้ แนกประเภท 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กจิ กรรมกำรเรยี นรู้  แนวคิด/รูปแบบกำรสอน/วธิ ีกำรสอน/เทคนิค : สืบเสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ขันนา้ ขั้นกระตนุ้ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครทู กั ทายกับนักเรยี น แลว้ แจ้งผลการเรียนรู้ท่ีจะเรยี นในวนั นีใหน้ กั เรียนทราบ 2. ครูใหน้ ักเรยี นทา้ แบบทดสอบกอ่ นเรียน เพ่อื วดั ความรู้เดมิ ของนักเรยี นก่อนเขา้ สู่กิจกรรม 3. ครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนกอ่ นท่จี ะเรยี นในวนั นี โดยนา้ ลกู อมทมี่ ีสตี า่ งๆ คละกนั มาแจก นักเรยี นคนละ 1 เมด็ 4. ครูสมุ่ เลอื กสีของลูกอม โดยใหน้ ักเรียนยกมือชูลูกอมทตี่ นเองไดร้ บั จากนันครเู ลือกสีลกู อมท่ีมี จา้ นวนนกั เรยี นอยู่ในสีนันน้อยทีส่ ุดออกมาหน้าชนั เรยี น 5. ใหน้ กั เรยี นในห้องสงั เกตลักษณะต่างๆ ของเพ่ือนที่อย่หู นา้ ชัน จากนันตังคา้ ถามเพื่อกระต้นุ ความคดิ เช่น 1) นกั เรียนสังเกตเหน็ อะไรเกย่ี วกับเพ่อื นๆ ทอ่ี ยหู่ นา้ ชันเรยี นบา้ ง 2) ลกั ษณะของเพอื่ นทีอ่ ยูห่ น้าห้องเปน็ อย่างไร มจี ุดสงั เกตอะไรบ้าง (แนวตอบ : ขนึ้ อยกู่ ับสง่ิ ทีน่ กั เรียนสังเกตเห็น เช่น มที ัง้ ผู้หญิงและผชู้ าย มที ง้ั ใส่แว่นและ ไม่ใสแ่ ว่น มีทงั้ ใส่กางเกงและใสก่ ระโปรง มีทั้งผมส้นั และผมยาว เป็นต้น) 6. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า สิ่งท่ีนักเรียนสังเกตเห็นและตอบมาน้ัน เป็นลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ง่าย ซึง่ สามารถใช้กาหนดเปน็ เกณฑใ์ นการจัดกลุ่มเพ่ือนๆ ได้ 7. ครูตังค้าถามเพิ่มเติมว่า หากต้องการจัดกลุ่มหรือจ้าแนกเพ่ือนหน้าชันเรียนออกเป็นกลุ่ม นักเรียน จะใช้เกณฑ์ใดได้บ้าง จากนนั ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ระดมความคิดในการตอบคา้ ถาม 8. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 2 คน ก้าหนดเกณฑ์ท่ีใช้ส้าหรบั จดั กล่มุ เพื่อหน้าห้องเรียนคนละ1 เกณฑ์ แล้วเพือ่ นในหอ้ งช่วยกันตรวจสอบว่าสามารถจดั กลุ่มเพ่อื นตามเกณฑ์นนั ไดห้ รือไม่ 9. ครูให้ค้าชมเชยนักเรียนทังห้องที่ช่วยกันท้ากิจกรรม แล้วมอบรางวัลหรือของขวัญให้กับนักเรียน กลมุ่ ตัวอย่างที่ออกมายืนหน้าชันเรียน 1

16 ขันสอน ขนั้ สำรวจคน้ หำ (Explore) 1. ครูให้นักเรียนอ่านสาระส้าคัญและดูภาพ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ จาก หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 2 จากนันถามนักเรียนว่า ภาพนีมีส่ิงมีชีวิตอะไรบ้าง นักเรียนรจู้ ักหรอื ไม่ แลว้ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบคา้ ถามอย่างอสิ ระ (แนวตอบ : ผีเสอื้ กับดอกไม้) 2. ครูให้นักเรียนดูภาพในหน้าบทท่ี 1 กลุ่มส่ิงมีชีวิต จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 3 แล้วถาม ค้าถามส้าคัญประจ้าบทว่า นักเรียนสามารถใช้เกณฑ์ใดในการจ้าแนกกลุ่มสิ่งมีชีวิตได้บ้าง จากนัน ให้นักเรียนช่วยกันอธิบายค้าตอบ โดยครูชีแจงเพิ่มเติมว่า ให้นักเรียนนึกถึงกิจกรรมที่มีการจัดกล่มุ เพื่อนหนา้ ชันเรยี นที่ผ่านมา (แนวตอบ : ลักษณะของสิ่งมีชีวิต การกินอาหาร การสร้างอาหาร การย่อยสลายสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็น อาหาร เป็นต้น) 3. ครูให้นักเรียนเรียนรู้ค้าศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนในบทที่ 1 โดยครูเป็นผู้อ่านน้าและให้นักเรียน อ่านตาม ดงั นี Organism (‘ออกะนิซมึ ) สิ่งมีชีวิต Plant (พลาน) พืช Animal (‘แอ็นนมิ ลั ) สตั ว์ Fungus (‘ฟงั กสั ) เหด็ รา 4. ครูให้นักเรียนวาดภาพหรือติดภาพสิ่งมีชีวิตต่างๆ ท่ีนักเรียนรู้จัก 5-10 ภาพ ลงในสมุดประจ้าตัว แลว้ จัดกลมุ่ สิ่งมีชวี ติ เหลา่ นนั โดยใช้เกณฑ์ทกี่ า้ หนดเอง หรอื ให้นักเรียนทา้ กิจกรรมนา้ สกู่ ารเรียนใน แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 2 (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล) 5. ครูให้นักเรียนเล่นเกมผึงสร้างรัง เพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยครู อธิบายวิธีการเล่นให้นักเรียนฟัง จากนันให้นักเรียนเล่นเกม 2-3 ครัง จนได้กลุ่มครบทุกคน ซ่ึงมี วิธกี ารเลน่ ดังนี ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะคนคดิ ว่า ตนเองตอ้ งการเป็นตัวผึง หรือตอ้ งการเป็นรงั ผึง โดยครู จะออกค้าสั่งแล้วให้นักเรียนว่ิงไปรวมกลุ่มกัน ซ่ึงก้าหนดให้นักเรียนยืนล้อมวง คือ รังผึง และ นกั เรียนท่ียืนอยใู่ นวง คอื ตัวผงึ ทังนนี กั เรยี นคนใดท่ไี มม่ ีกลมุ่ หรือนักเรียนกลุ่มใดมจี ้านวนรังผึง หรือจ้านวนตัวผึงไม่ครบตามจ้านวนท่ีครูออกค้าสั่ง จะถูกลงโทษด้วยวิธีการต่าง ๆ กันไป เช่น การเต้นตามเพลง การร้องเพลง หรืออ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม ตัวอย่างการออกค้าส่ังของครู เช่น  มีผึง 2 ตัว อยู่ในรังผึง 4 รงั  มีรังผงึ 6 รงั ล้อมผึง 3 ตวั 1  มีผงึ และรงั ผงึ ลอ้ มวง 8 ตวั

17 6. เม่ือนักเรียนแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ครูให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลและรูปภาพในหัวข้อท่ี 1 การจัดกลุม่ ส่ิงมชี ีวิต จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 4 ชวั่ โมงที่ 2 ขั้นสำรวจค้นหำ (Explore) (ต่อ) 7. ครูเปดิ PPT เรือ่ ง กล่มุ ส่ิงมีชีวติ ให้นักเรยี นดู จากนันถามคา้ ถามกระตุ้นความคดิ โดยให้นักเรียนแต่ ละกลุ่มอภิปรายและหาค้าตอบร่วมกันว่า สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มนันมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่าง กัน อยา่ งไร (แนวตอบ : มีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น บางชนิดสร้างอาหารได้ บางชนิดสร้างอาหารไม่ได้ บาง ชนิดกนิ สิ่งมชี วี ิตอนื่ เปน็ อาหาร บางชนดิ ยอ่ ยสลายสิ่งมีชวี ิตอน่ื ได้ เปน็ ต้น) 8. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิมท่ีได้แบ่งไว้เมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา จากนันครูแจ้งว่าจะให้นักเรียนได้ท้า กิจกรรมการส้ารวจและจัดกลุ่มส่ิงมชี ีวติ ในกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง การจัดกลุ่มสง่ิ มีชวี ิต ตอนที่ 1-2 จาก หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 โดยครูแจ้งจุดประสงค์ของการท้ากิจกรรมให้นักเรียนทราบก่อน ท้ากิจกรรม 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท้ากิจกรรมที่ 1 เร่ือง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ตอนที่ 1-2 โดยปฏิบัติ กิจกรรม ดังนี 1) ศึกษาขันตอนการทา้ กิจกรรมจากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 5 อย่างละเอยี ด หากมี ขอ้ สงสัยให้สอบถามครู 2) ร่วมกันก้าหนดปญั หาและตังสมมตฐิ านในการท้ากิจกรรม แลว้ บันทึกผลลงในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 4 3) ร่วมกนั ท้ากจิ กรรมตามขันตอนให้ครบถว้ นและถูกต้องทุกขนั ตอน จากนนั บนั ทกึ ผล ขั้นอธบิ ำยควำมรู้ (Explain) 1. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลจากการทา้ กจิ กรรมภายในกล่มุ 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาน้าเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชันเรียน โดยครูสุ่มจับสลาก เลอื กนกั เรียนทีละกลมุ่ 3. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานา้ เสนอผลงานหน้าชนั เรียน จากนนั ร่วมกันอภิปรายและสรปุ ผลเก่ียวกับ การจัดกล่มุ ส่ิงมชี วี ิต โดยใช้ลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ ทีส่ ังเกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์ 1

18 ขันสรปุ ขั้นขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกันศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของส่ิงมีชีวติ ในกลุ่มต่างๆ จากหนังสือ เรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 6-7 แลว้ ครูสมุ่ เลอื กตวั แทนกล่มุ ใหส้ รปุ เนอื หาที่ศกึ ษาให้เพื่อนในห้องฟงั 2. ครูขออาสามาสมัครนักเรยี น 3 คน ให้ยกตวั อย่างสิ่งมชี วี ิตทอี่ ยูใ่ นแตล่ ะกลุ่ม ดงั นี  คนท่ี 1 ใหย้ กตวั อยา่ งสิ่งมชี วี ิตกลมุ่ พืช 3 ตวั อย่าง  คนที่ 2 ใหย้ กตวั อย่างสง่ิ มชี ีวิตกลมุ่ สตั ว์ 3 ตวั อย่าง  คนที่ 2 ให้ยกตัวอย่างสิง่ มชี วี ิตกลมุ่ ที่ไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์ 3 ตวั อยา่ ง 3. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจเพ่ิมเติมเก่ียวกับส่ิงมีชีวิตกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ว่า รา แบคทีเรีย ไวรัส ยีสต์ เป็นต้น เราเรียกรวมว่า จุลินทรีย์ ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิตที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะมีขนาดเล็กมาก ซ่ึงจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์กับเราและเราสามารถรับประทานได้ใน ชีวิตประจาวัน เช่น จุลินทรีย์ที่อยู่ในโยเกิร์ต คือ แบคทีเรียท่ีสามารถย่อยสลายโปรตีนในนม ทาให้ เกิดการหมกั ของสารอาหาร จึงทาให้เกดิ ประโยชน์ต่อรา่ งกายของเราได้ เป็นต้น 4. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 5 ลงในสมุด ประจา้ ตวั นักเรยี น หรือทา้ ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 5 5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนน้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 7 ไปท้าเป็นการบ้าน โดยให้ท้าลงในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือให้นักเรียนท้าในใบงานท่ี 1.1 เรื่อง จา้ แนกสิง่ มีชวี ติ ที่ครูแจกให้แล้วนา้ มาสง่ ในช่วั โมงถัดไป ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า สิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลกมีมากมาย หลายชนิด ซ่ึงสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะต่างๆ ที่แตกต่างกันไป นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ลักษณะ ความเหมือนและความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตต่างๆ มาจัดกลุ่มส่ิงมีชีวิตได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ ส่ิงมีชวี ติ กล่มุ พืช ส่ิงมชี วี ติ กลุ่มสัตว์ และส่งิ มีชีวติ กลุ่มท่ไี มใ่ ช่พืชและสัตว์ 2. ครูตรวจสอบผลการท้าแบบทดสอบก่อนเรียน เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจกอ่ นเรียนของนักเรยี น 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤตกิ รรมการทา้ งานกล่มุ และจากการน้าเสนอผลการทา้ กิจกรรมหนา้ ชนั เรยี น 4. ครูตรวจการวาดภาพหรือติดภาพส่ิงมชี ีวิตต่างๆ ท่ีนกั เรียนรจู้ กั ในสมุดประจ้าตัวนักเรยี น หรอื ตรวจ ผลการท้ากิจกรรมน้าสกู่ ารเรยี นในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 2 5. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมท่ี 1 เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือใน แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 4 1

19 6. ครตู รวจสอบผลการทา้ กจิ กรรมหนูตอบได้ในสมุดประจา้ ตัวนกั เรยี น หรอื ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 5 7. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 1 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในใบงานท่ี 1.1 เร่ือง จา้ แนกสิง่ มชี ีวติ 7. กำรวัดและประเมนิ ผล รำยกำรวดั วิธกี ำร เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ำรประเมนิ 7.1 กำรประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินตาม เรียน หน่วยการ ก่อนเรียน สภาพจรงิ เรยี นรทู้ ี่ 1 ความ หลากหลายของ สิ่งมชี วี ิต 7.2 ประเมินระหวำ่ ง กำรจัดกิจกรรม กำรเรียนรู้ 1) การจดั กลมุ่ ส่งิ มีชีวติ - ตรวจสมุดประจ้าตวั หรอื - สมดุ ประจ้าตัว หรือ - รอ้ ยละ 60 หรอื กจิ กรรมนา้ สู่ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป. แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ การเรยี น 4 เล่ม 1 หนา้ 2 ป.4 เล่ม 1 หน้า 2 2) ผลบนั ทกึ การทา้ - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั หรอื - สมุดประจา้ ตวั หรอื - ร้อยละ 60 กจิ กรรมท่ี 1 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 4 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 4 3) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั หรอื - สมุดประจา้ ตัว หรอื ใบ - ร้อยละ 60 เรยี นรู้ท่ี 1 ใบงานที่ 1.1 งานท่ี 1.1 ผ่านเกณฑ์ 4) กิจกรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั - สมดุ ประจ้าตัว หรอื - รอ้ ยละ 60 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป. แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ 4 เล่ม 1 หน้า 5 ป.4 เลม่ 1 หน้า 5 5) การน้าเสนอผล - ประเมินการน้าเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2 การทา้ กิจกรรม ผลการทา้ กิจกรรม น้าเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 6) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 การท้างาน การทา้ งานรายบุคคล การท้างานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล 1

20 7) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 การท้างานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน 8) คณุ ลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มั่น คณุ ลกั ษณะ - ระดบั คณุ ภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ ในการท้างาน อันพงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 8. สื่อ/แหล่งกำรเรยี นรู้ 8.1 สอื่ กำรเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ติ 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิต 3) วสั ดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกจิ กรรมท่ี 1 เชน่ แผนภาพกล่มุ พชื เปน็ ต้น 4) ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง จา้ แนกส่ิงมชี ีวติ 5) PowerPoint เรอื่ ง กลุม่ ส่ิงมชี ีวิต 6) สมุดประจ้าตัวนกั เรียน 7) ลกู อมสีตา่ งๆ 8.2 แหลง่ กำรเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมดุ 3) อินเทอร์เนต็ 1

21 ใบงำนท่ี 1.1 เรอื่ ง จำแนกส่ิงมชี วี ิต ให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ แล้วรว่ มกนั ปฏบิ ตั ิกิจกรรม ดงั น้ี 1) พจิ ำรณำลกั ษณะของสิง่ มชี วี ติ ทก่ี ำหนดให้ โดยใช้ควำมเหมือนและควำมแตกตำ่ งเปน็ เกณฑ์ 2) จำแนกส่งิ มีชวี ิตเปน็ กลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มทไ่ี มใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์ 3) นำเสนอหนำ้ ชน้ั เรียนเพื่ออภปิ รำยรว่ มกนั ชมพู่ รำดำ แบคทีเรีย เสือ หญ้ำ หอยทำก เหด็ ฟำง หนูนำ มอสส์ วัว พริก มะลิ ไสเ้ ดอื นดิน มด ยีสต์  สิ่งมชี วี ติ กลมุ่ พืช ได้แก่  สงิ่ มีชีวิตกลมุ่ สตั ว์ ไดแ้ ก่  ส่ิงมีชวี ติ กลมุ่ ที่ไมใ่ ช่พชื และสตั ว์ ได้แก่ 1

ใบงำนท่ี 1.1 22 เรื่อง จำแนกส่งิ มชี ีวิต เฉลย ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แล้วร่วมกนั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ดงั นี้ 1) พิจำรณำลักษณะของสิง่ มีชีวติ ทกี่ ำหนดให้ โดยใช้ควำมเหมอื นและควำมแตกตำ่ งเป็น เกณฑ์ 2) จำแนกส่งิ มชี วี ติ เป็นกลุ่มพืช กล่มุ สัตว์ และกลมุ่ ทไ่ี มใ่ ชพ่ ชื และสตั ว์ 3) นำเสนอหนำ้ ชั้นเรยี นเพอ่ื อภปิ รำยรว่ มกนั ชมพู่ รำดำ แบคทีเรีย เสอื หญำ้ หอยทำก เห็ดฟำง หนนู ำ มอสส์ ววั พริก มะลิ ไสเ้ ดอื นดิน มด ยีสต์  สิ่งมีชีวติ กลมุ่ พืช ได้แก่ ชมพู่ พรกิ มะลิ มอสส์ หญ้า  สง่ิ มีชีวติ กลมุ่ สตั ว์ ไดแ้ ก่ หอยทาก หนนู า ไส้เดอื นดนิ เสือ วัว  สิ่งมชี วี ิตกลมุ่ ทีไ่ มใ่ ช่พชื และสตั ว์ ไดแ้ ก่ ราดา้ เหด็ ฟาง มด ยสี ต์ แบคทเี รยี 1

23 แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ี่ 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ว 14101 ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 4 หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี 1 ควำมหลำกหลำยของส่ิงมชี วี ติ ภำคเรียนท่ี 1 เรือ่ ง ควำมหลำกหลำยของพชื เวลำ 3 ช่ัวโมง ครูผู้สอน นำงสำวอัมรำ โกษำรักษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั ว 1.3 ป.4/2 จ้าแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไมม่ ีดอกโดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ข้อมูลท่รี วบรวมได้ 2. จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 1. สังเกตและอธบิ ายลักษณะภายนอกของพชื ชนิดตา่ งๆ ได้ (K) 2. จา้ แนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไมม่ ดี อก โดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ได้ (P) 3. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อจา้ แนกพืชชนดิ ต่างๆ ออกเปน็ กลุม่ ได้ครบถว้ นทกุ ขันตอน (P) 4. มคี วามสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนรู้ (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ ้องถ่ิน ใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ในการจ้าแนกพืชออกเป็น พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา พชื ดอกและพชื ไมม่ ีดอก 4. สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในโลกถูกจ้าแนกออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อง่ายต่อการศึกษา โดยส่ิงมีชีวิตที่มีลักษณะ ส้าคัญร่วมกันจะถูกจ้าแนกเอาไว้ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งในการจ้าแนกพืช เราสามารถใช้ลักษณะภายนอกของ พืชที่สังเกตได้มาเปน็ เกณฑ์ในการจ้าแนกพืชออกเป็นกลมุ่ เช่น ใช้การมีดอก มาจ้าแนกพืชได้เปน็ พืชมีดอก และพืชไมม่ ีดอก เปน็ ตน้ 1

24 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งม่ันในการทา้ งาน 2) ทกั ษะการส้ารวจค้นหา 3) ทักษะการรวบรวมข้อมลู 4) ทกั ษะการจา้ แนกประเภท 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 ขนั นา้ ขั้นกระตนุ้ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครเู ตรยี มตัวอย่างตน้ พชื มาอย่างน้อย 2 ชนดิ (เช่น มอสส์ มะเขือเทศ) มาวางไว้หน้าชนั เรยี นเพื่อให้ นักเรยี นสงั เกต แล้วให้รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ลกั ษณะภายนอกของพชื ที่สงั เกตได้ 2. ครถู ามคา้ ถามนักเรยี นเพ่อื กระตุน้ ความคิด โดยให้นกั เรยี นตอบคา้ ถามไดอ้ ย่างอสิ ระ ดงั นี 1) พืชทัง 2 ชนิด มีลักษณะภายนอกแตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ต่างกัน เช่น ใบมีลกั ษณะต่างกัน ต้นหนงึ่ มดี อก อีกต้นหนง่ึ ไมม่ ดี อก เป็นตน้ ) 2) นักเรียนคิดว่า พืชตัวอย่างต้นใดเป็นพืชดอก และพืชตัวอย่างต้นใดเป็นพืชไม่มีดอก สังเกตได้จากส่ิงใด (แนวตอบ : มะเขือเทศเปน็ พชื มีดอก ส่วนมอสส์ เป็นพืชไม่มดี อก) 3. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ถ้าสังเกตรอบๆ ตัวเราจะพบว่า พืชมีมากมายหลายชนิด พืชบางชนิดมี ล้าต้นสูงใหญ่ พืชบางชนิดมีล้าต้นขนาดเล็ก พืชบางชนิดมีดอก พืชบางชนิดไม่มีดอก จะเห็นได้ว่า พืชแต่ละชนิดมีลกั ษณะบางอย่างแตกต่างกัน และอาจมีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน ดังนัน เพ่ือให้ ง่ายต่อการศึกษาเกี่ยวกับการด้ารงชีวิตของพืช นักวิทยาศาสตร์จึงมีการแยกประเภทออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ พชื ดอก และพืชไม่มีดอก 4. ครแู จง้ ชือ่ เรื่องท่จี ะเรียนรู้ในวนั นีและจุดประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบ 1

25 ขันสอน ขน้ั สำรวจค้นหำ (Explore) 1. ครูให้นักเรียนอ่านข้อมูลและดูรูปภาพจากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 8 ในหัวข้อท่ี 2 ความหลากหลายของพืช จากนันครสู มุ่ นกั เรียนตามลา้ ดับเลขท่ี 2-3 คน ใหต้ อบค้าถาม ดังนี 1) นกั เรียนรจู้ กั พชื ท่ีอยใู่ นรูปภาพหรอื ไม่ (แนวตอบ : ขึน้ อย่กู บั คาตอบของนักเรยี น ให้อยูก่ ับดลุ ยพนิ ิจของครูผู้สอน) 2) นกั เรียนคิดว่า พชื ในภาพชนิดใดเปน็ พชื ดอก และพชื ในภาพชนดิ ใดเป็นพืชไมม่ ดี อก (แนวตอบ : กหุ ลาบ บวั และมะระ เปน็ พชื ดอก ส่วน เฟิรน์ ข้าหลวง และมอสส์ เปน็ พชื ไมม่ ีดอก) 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กลุ่มละ 4 คน แล้วให้ตังช่ือกลุ่มเป็นชื่อต้นพืชที่กลมุ่ ชอบ หรือสนใจ 3. ใหแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนชื่อพชื มดี อกและพชื ไม่มดี อกลงในกระดาษของกลุ่มให้ได้มากทส่ี ุด โดยให้ ครูจับเวลา 5 นาที หากหมดเวลาให้ครูส่งสัญญาณเพื่อให้ทุกกลุ่มหยุดเขียน จากนันให้แต่ละกลุ่ม ชว่ ยกนั ตรวจสอบวา่ กล่มุ ใดเขียนไดถ้ ูกตอ้ งมากทส่ี ุดจะเป็นผ้ชู นะ 4. ครูมอบรางวลั หรือของขวญั แกก่ ลมุ่ ทชี่ นะ เพือ่ เป็นการเสรมิ แรงในการท้ากจิ กรรม 5. ครูถามคา้ ถามนกั เรยี น แล้วใหช้ ่วยกันตอบคา้ ถามไดอ้ ย่างอิสระ ดังนี 1) พชื ดอก และพืชไม่มดี อก มีโครงสร้างภายนอกแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ตา่ งกัน พชื มดี อกประกอบด้วย ราก ลาตน้ ใบ และดอก สว่ นพืชไมม่ ดี อก ประกอบดว้ ย ราก ลาตน้ และใบ แต่จะไมม่ ีดอกตลอดชีวิต) 2) พืชมดี อกจะเร่มิ มดี อกเม่ือใด (แนวตอบ : เม่อื พืชดอกเจริญเติบโตเต็มท่แี ลว้ จะออกดอกเพอ่ื ใชใ้ นการสืบพันธ์ุ) 6. ครใู หน้ ักเรียนจับกลุ่มเดิมจากช่วั โมงทผ่ี า่ นมาแลว้ จากนันให้สมาชิกแต่ละกลุ่มท้ากจิ กรรมที่ 2 เร่ือง การจดั กลุ่มพชื ตอนที่ 1 โดยปฏบิ ตั ิ ดังนี 1) ศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 2 เร่ืองการจัดกลุ่มพืช ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หนา้ 9 อยา่ งละเอียด หากมีขอ้ สงสัยใหส้ อบถามครู 2) แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับบตั รภาพต้นพืชชนิดต่างๆ จากครู กลุ่มละ 1 ชุด ชุดละ 8-10 ใบ (บัตรภาพพืชมีดอก เช่น กุหลาบ ทานตะวัน กล้วยไม้ เป็นต้น และบัตรภาพพืชไม่มีดอก เชน่ มอสส์ เฟริ ์น ผักกดู เปน็ ต้น) 3) แต่ละกลุม่ ร่วมกนั ตังสมมติฐานกอ่ นการทา้ กิจกรรมเกีย่ วกบั การจดั กลุ่มพชื 4) ร่วมกันสังเกตบัตรภาพพืชนิดต่างๆ จากนันช่วยกันจัดกลุ่มพืชโดยใช้ลักษณะภายนอก ของพชื เปน็ เกณฑ์ แล้วบนั ทึกผลลงในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 8 1

26 5) ร่วมกันอภปิ รายและสรปุ ผลการท้ากจิ กรรม จากนันน้าข้อมลู การจา้ แนกพืชมาจดั ท้าเป็น แผนผงั แผนภาพ หรืออน่ื ๆ ลงในกระดาษแขง็ แผ่นใหญ่ เพอื่ นา้ เสนอขอ้ มลู หน้าชันเรียน ชวั่ โมงท่ี 2 ขั้นสำรวจคน้ หำ (Explore) (ต่อ) 1. ครูชวนนักเรยี นสนทนาเพื่อทบทวนการท้ากิจกรรมจากชวั่ โมงท่ีผา่ นมาวา่ พืชบางชนิดมีราก ล้าตน้ ใบ และดอก เหมือนกันจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบางชนิดท่ีมีราก ล้าต้น ใบ แต่ไม่มีดอก เหมือนกนั จดั เปน็ กลุม่ พชื ไมม่ ดี อก 2. ครขู ออาสาสมคั รนักเรียน 2 คน โดยคนหนึง่ ใหย้ กตัวอย่างพืชดอก 3 ชนดิ และอีกคนให้ยกตวั อย่าง พืชไม่มีดอก 3 ชนิด แล้วให้นักเรียนทังห้องช่วยกับตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่ จากนันครูให้ค้าชม เพ่ือเปน็ กา้ ลังใจ 3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มเดิมจากช่ัวโมงที่ผ่านมา จากนันให้สมาชิกแต่ละกลุ่มท้ากิจกรรมที่ 2 เร่ือง การจดั กล่มุ พชื ตอนท่ี 2 โดยปฏบิ ัติ ดงั นี 1) ศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การจัดกลุ่มพืช ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หน้า 10 อย่างละเอยี ด หากมีขอ้ สงสัยให้สอบถามครู 2) แต่ละกลุ่มร่วมกันก้าหนดปัญหาและตังสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการท้ากิจกรรม แล้ว บันทึกลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 9 3) ร่วมกันสังเกตลักษณะภายนอกของต้นพืช 2 ชนิด ท่ีครูเตรียมมาให้ ได้แก่ ต้นพริก และ ต้นเฟริ น์ จากนนั บันทึกผลลงในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 9 4) สืบค้นข้อมลู เพิม่ เติมจากแหลง่ การเรียนร้ตู า่ งๆ เกย่ี วกบั พชื ทัง 2 ชนดิ นี แลว้ เปรียบเทียบ ความแตกตา่ ง จากนันร่วมกันอภิปรายและสรปุ ผลการทา้ กจิ กรรมภายในกล่มุ 4. ครเู ปิด PPT เรื่อง ความหลากหลายของพชื ใหน้ กั เรียนดู จากนันให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับพืชดอกและพืชไม่มีดอกเพ่ิมเติมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 11-12 เพื่อใช้เป็น ข้อมูลในการน้ามาสรุปร่วมกับผลการท้ากิจกรรมที่ 2 ตอนที่ 1-2 โดยครูคอยอธิบายและตอบ ค้าถามใหก้ บั นักเรียนท่มี ีข้อสงสัยอยา่ งใกล้ชดิ ขนั้ อธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. ครูใช้วิธีการสุ่มวันเกิดของนกั เรยี น เพ่ือเลือกตัวแทนกลุ่มนกั เรียนให้ออกมาน้าเสนอผลงานหนา้ ชัน จนครบทกุ กลมุ่ จากนนั รว่ มกันสรปุ ผลการทา้ กิจกรรมที่ 2 เรือ่ ง การจัดกลุม่ พืช ดงั นี 1) ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาน้าเสนอแผนผัง แผนภาพ หรือตาราง ท่ีได้จากการท้า กจิ กรรมท่ี 2 เรอื่ งการจดั กล่มุ พชื ตอนที่ 1 จากนันให้ร่วมกนั อภปิ รายผลการจัดกลมุ่ พืช 1

27 2) ใหต้ ัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานา้ เสนอผลการทา้ กจิ กรรมท่ี 2 เรื่องการจัดกล่มุ พชื ตอน ท่ี 2 จากนันให้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายผลการสงั เกตความแตกตา่ งของลักษณะภายนอก ของพชื ดอกและพชื ไมม่ ีดอก 2. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการท้ากิจกรรมจนได้ข้อสรุปว่า พืชบางชนิดมีโครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกท่ีส้าคัญ ได้แก่ ราก ล้าต้น ใบ และดอก เหมือนกัน จึงจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบาง ชนิดท่ีมีมีโครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกที่ส้าคัญ ได้แก่ ราก ล้าต้น และใบ แต่ไม่มีดอกตลอดการ ด้ารงชวี ิตเหมอื นกัน จดั เปน็ กลมุ่ พชื ไมม่ ีดอก ชั่วโมงที่ 3 ขันสรปุ ขั้นขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. ครูถามค้าถามท้าทายการคิดขันสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12 แล้วให้นักเรียนช่วยกัน นา้ ความรทู้ ี่ได้จากการศกึ ษาและทา้ กิจกรรมมาตอบค้าถาม ดังนี  พืชดอก เป็นพืชที่มีดอกส้าหรับใช้ในการสืบพันธุ์ นักเรียนคิดว่า พืชดอกสามารถสืบพันธ์ุ หรือขยายพันธ์ดุ ้วยวธิ ีการอ่ืนหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ : ขึนอยู่กับดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน ยกตวั อยา่ งเช่น พืชดอกสามารถขยายพันธุ์ ด้วยวิธอี ื่นได้ เช่น การปกั ช้า การติดตา การทาบกิง่ การตอนก่งิ การเสยี บยอด เป็นตน้ ) 2. ครูชูบัตรภาพข้าวโพดและบัตรภาพไผ่ จากนันให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายว่า พืชทัง 2 ชนิดนีมี ลกั ษณะโครงสร้างภายนอกเหมอื นกันหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร 3. หากนักเรียนไม่ทราบค้าตอบ ครูอาจให้ช่วยกันสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น หนงั สอื เรียน หอ้ งสมุด อนิ เทอร์เน็ต เปน็ ต้น โดยมีครคู อยแนะน้าเพมิ่ เตมิ ในส่วนท่ีบกพร่อง 4. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 3-4 คน ให้ออกมาอธิบายค้าตอบที่สืบค้นได้หน้าชันเรียน โดยมีครูคอย ตรวจสอบความถูกต้องของค้าตอบ 5. ให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 10 ลงในสมุด ประจ้าตัวนกั เรยี น หรอื ท้าในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 10 6. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะคนน้ากจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรทู้ ี่ 2 จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 12 ไป ท้าเป็นการบ้าน โดยให้ท้าลงใสสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือให้นักเรียนท้าในใบงานท่ี 1.2 เร่ือง จ้าแนกพืชดอกและพืชไมม่ ดี อก ทีค่ รูแจกให้ แล้วนา้ มาสง่ ในชัว่ โมงถัดไป 1

28 ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 8. ครูสุ่มนักเรียนตามเลขท่ี 4-5 คน จากนันให้แต่ละคนอธิบายความรู้เกี่ยวกับความหลากหลายของ พชื การจัดกลมุ่ พืชดอก จากนนั ให้นกั เรยี นทงั หอ้ งสรปุ ความรู้ร่วมกัน 9. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤตกิ รรมการทา้ งานกลุ่ม และจากการนา้ เสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชันเรียน 10. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมที่ 2 เรื่อง การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือใน แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 8-9 11. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 10 12. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 2 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในใบงานที่ 1.2 เร่อื ง จ้าแนกพืชดอกและพชื ไม่มดี อก 7. กำรวัดและประเมินผล รำยกำรวัด วิธีกำร เครอื่ งมอื เกณฑ์กำรประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหว่ำง - สมุดประจ้าตัว หรอื - รอ้ ยละ 60 แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ กำรจดั กิจกรรม วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 8-9 - ร้อยละ 60 กำรเรยี นรู้ - สมุดประจ้าตัว หรือใบ ผ่านเกณฑ์ งานที่ 1.2 - รอ้ ยละ 60 1) ผลบนั ทึกการท้า - ตรวจสมดุ ประจ้าตวั หรือ - สมุดประจา้ ตัว หรือ ผา่ นเกณฑ์ แบบฝึกหดั กิจกรรมที่ 2 แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม - ระดับคณุ ภาพ 2 1 หน้า 10 ผ่านเกณฑ์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 8-9 - แบบประเมินการ น้าเสนอผลงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2 2) กจิ กรรมพัฒนาการ - ตรวจสมดุ ประจ้าตัว หรือ - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ เรียนรูท้ ่ี 2 ใบงานที่ 1.2 การท้างานรายบุคคล - ตรวจสมดุ ประจา้ ตวั หรอื 3) กจิ กรรมหนูตอบได้ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 10 4) การนา้ เสนอผล - ประเมนิ การนา้ เสนอ การทา้ กิจกรรม ผลการท้ากิจกรรม - สงั เกตพฤติกรรม 5) พฤตกิ รรม การทา้ งานรายบุคคล การทา้ งาน รายบคุ คล 1

29 รำยกำรวัด วิธกี ำร เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ำรประเมนิ 6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 การทา้ งานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม การท้างานกลุม่ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 7) คุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่ัน คุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2 ในการท้างาน อนั พงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ 8. สื่อ/แหลง่ กำรเรียนรู้ 8.1 สื่อกำรเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ิต 2. แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต 3. วัสดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกิจกรรมท่ี 2 เชน่ บัตรภาพพชื มดี อกและพชื ไม่มดี อก เป็นตน้ 4. ต้นพืชตวั อย่างได้แก่ ตน้ พริก ต้นเฟริ น์ ต้นมอสส์ และต้นมะเขือเทศ 5. PowerPoint เร่ือง ความหลากหลายของพืช 6. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง จา้ แนกพืชดอกและพชื ไม่มดี อก 7. บัตรภาพพืช (ต้นขา้ วโพด และตน้ ไผ่) 8. กระดาษแข็งแผน่ ใหญ่ 9. สมุดประจ้าตัวนกั เรยี น 8.2 แหลง่ กำรเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรยี น 2. หอ้ งสมดุ 3. อนิ เทอรเ์ น็ต 1

30 บตั รภาพ ตน้ ขา้ วโพด  บตั รภาพ ตน้ ไผ่  ใบงำนท่ี 1.2 1

31 ใบงำนที่ 1.2 เรอื่ ง จำแนกพืชดอกและพชื ไมม่ ีดอก ให้ดภู ำพแล้วบอกชอ่ื พชื จำกน้นั จำแนกว่ำพชื ใดเป็นพืชมีดอก พืชใดเป็นพชื ไมม่ ีดอก  พชื มีดอก ได้แก่  พชื ไมม่ ีดอก ไดแ้ ก่ 1

ใบงำนที่ 1.2 32 เรื่อง จำแนกพชื ดอกและพชื ไม่มีดอก เฉลย ใหด้ ูภำพแล้วบอกชอ่ื พืช จำกนั้นจำแนกวำ่ พชื ใดเปน็ พืชมดี อก พชื ใดเปน็ พืชไมม่ ดี อก  พืชมีดอก ได้แก่ กลว้ ยไม้ ตะบองเพชร ทานตะวัน ชบา  พชื ไม่มดี อก ไดแ้ ก่ มอสส์ เฟริ ์น 1

33 แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ 3 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์ ว 14101 ชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 4 หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ 1 ควำมหลำกหลำยของสิ่งมชี ีวิต ภำคเรยี นที่ 1 เรือ่ ง ศกึ ษำกลุ่มพชื ดอก เวลำ 4 ช่ัวโมง ครูผู้สอน นำงสำวอัมรำ โกษำรักษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด ว 1.3 ป.4/2 จ้าแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพชื ไม่มีดอกโดยใชก้ ารมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ข้อมูลทีร่ วบรวมได้ 2. จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. สังเกตและอธบิ ายลักษณะภายนอกของพชื ดอกได้ (K) 2. จา้ แนกพชื ดอกเปน็ พืชใบเลยี งเดีย่ วและพืชใบเลยี งคู่ โดยใช้ลกั ษณะภายนอกของพืชเป็นเกณฑ์ (P) 3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมเพื่อเปรยี บเทยี บลกั ษณะภายนอกของพืชดอกแตล่ ะชนดิ ไดค้ รบทุกขันตอน (P) 4. มีความสนใจในการเรยี นรู้และมคี วามรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมาย (A) 3. สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู อ้ งถิ่น พืชดอกจ้าแนกได้เป็นพืชใบเลียงเดี่ยวและพืชใบ พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา เลียงคู่ 4. สำระสำคญั /ควำมคดิ รวบยอด พืชดอก เป็นพืชท่ีมีส่วนสา้ คัญ ได้แก่ ราก ล้าต้น ใบ ดอก ผลและเมล็ด เมื่อพืชดอกเจริญเติบโตเต็มที่ แล้วจะผลิตดอกเพื่อใช้ส้าหรับการสืบพันธ์ุ หากจัดกลุ่มพืชดอกโดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ จะแบ่ง ได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือพืชใบเลียงเดี่ยว และพืชใบเลียงคู่ โดยพืชดอกทัง 2 กลุ่มนี จะมีลักษณะโครงสร้าง ส่วนต่างๆ แตกตา่ งกนั ไป 1

34 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. ม่งุ มนั่ ในการท้างาน 2) ทกั ษะการสา้ รวจค้นหา 3) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 4) ทักษะการจ้าแนกประเภท 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กิจกรรมกำรเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1-2 ขนั น้า ขัน้ กระตุ้นควำมสนใจ (Engage) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนันสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับพืชดอกและพืช ไมม่ ีดอกทไ่ี ด้เรยี นผา่ นมาจากชั่วโมงกอ่ น 2. ครูติดบัตรภาพต้นข้าวโพดและต้นทานตะวันไว้ที่กระดาน จากนันตังประเด็นค้าถามถามนักเรียนว่า นกั เรียนรจู้ กั ต้นขา้ วโพดกับตน้ ทานตะวนั หรอื ไม่ (แนวตอบ : รู้จัก/ไมร่ ู้จกั ) 3. ครูถามต่อว่า นักเรียนคิดว่าพืช 2 ชนิดนี มีลักษณะภายนอกเหมือนกันหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร โดยครูใหน้ ักเรยี นตอบคา้ ถามอยา่ งอสิ ระโดยและยังไม่เฉลยค้าตอบ (แนวตอบ : ขึนอยกู่ บั ค้าตอบของนักเรียน ให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครผู ูส้ อน) 4. ครแู จ้งชื่อเรอ่ื งทจี่ ะเรยี นรู้ในวนั นีและผลการเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบ ขันสอน ขนั้ สำรวจคน้ หำ (Explore) 1. ครูใช้เทคนิคคู่คิดส่ีสหายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้มคี วามสามารถคละกัน (เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-ออ่ น) 1

35 2. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันก้าหนดปัญหาและตังสมมติฐานก่อนการท้ากิจกรรมน จากนันให้สมาชกิ แต่ละคนของกลุ่มไปท้ากิจกรรมท่ี 3 เร่ือง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนา้ 13-14 จากนันบันทึกลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 13 3. เม่ือนักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกัน จากนัน น้าค้าตอบที่ได้จากการท้ากิจกรรมท่ี 3 เร่ือง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนท่ี 1 มาผลัดกันอธิบายข้อมูลหรอื ค้าตอบทไี่ ดจ้ ากการทา้ กจิ กรรม 4. ให้นักเรียนทัง 2 คู่ กลับมารวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จากนันร่วมกันอธิบายค้าตอบของตนเองให้ เพื่อนในกลมุ่ ฟัง แลว้ สรุปผลร่วมกัน ขน้ั อธบิ ำยควำมรู้ (Explain) ใหแ้ ต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมาน้าเสนอผลการท้ากจิ กรรมที่ 3 เร่อื ง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอน ท่ี 1 ทีละกลุ่ม แล้วร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า ต้นข้าวโพดและต้นทานตะวันเป็นพืชดอกที่ โครงสร้างส่วนต่างๆ ภายนอกมีลักษณะแตกต่างกัน ซ่ึงสังเกตได้จาก ลักษณะของราก ล้าต้น และ ใบ ดังนนั โครงสร้างสว่ นตา่ งๆ ภายนอกของพืชดอกแต่ละชนดิ มีลกั ษณะแตกต่างกัน ขันสรุป ข้นั ขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. ครูแบ่งครึ่งบนกระดาน แล้วเขียนช่ือต้นข้าวโพดไว้ฝั่งซ้าย เขียนชื่อต้นทานตะวันไว้ฝั่งขวา จากนัน แบง่ นกั เรียนออกเป็น 2 ฝา่ ย ฝา่ ยหน่ึงคือทีมตน้ ข้าวโพด อีกฝ่ายหนึง่ คอื ทมี ต้นทานตะวนั 2. ให้นักเรียนทัง 2 ฝ่ายผลัดกันออกมาเขียนช่ือพืชชนิดอ่ืนๆ ท่ีมีลักษณะภายนอกเหมือนต้นพืชที่เป็น ช่ือฝ่ายของตน้ โดยให้เวลา 5 นาที 3. เมื่อหมดเวลาให้ครูตรวจสอบความถูกต้องบนกระดาน จากนันสรุปผลและให้ค้าชมเชยแก่นักเรยี น ฝ่ายท่ีชนะ ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั ลกั ษณะภายนอกของพืชดอก 2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤตกิ รรมการทา้ งานกลุ่ม และจากการน้าเสนอผลการท้ากจิ กรรมหน้าชันเรยี น 3. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมที่ 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนท่ี 1 ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 13 1

36 ช่ัวโมงที่ 3 ขนั นา้ ขั้นกระตุ้นควำมสนใจ (Engage) 1. ครูชวนนกั เรยี นสนทนาเกย่ี วกบั พชื ใบเลียงเดี่ยวและพืชใบเลียงค่วู ่า นกั เรยี นรู้จกั หรอื ไม่ (แนวตอบ : รจู้ ัก/ไมร่ ้จู กั ) 2. ครูน้าตัวอย่างใบของพืชใบเลียงเดี่ยวและใบของพืชใบเลียงคู่อย่างละ 2-3 ชนิด มาให้นักเรียนดู แล้วให้ช่วยกันสังเกต 3. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มตัวแทนของชันเรียน 2-3 คน ให้ออกมาเขียนช่ือและชนิดของใบพืชท่ี สังเกตบนกระดาน โดยครยู ังไม่เฉลยคา้ ตอบ 4. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนทราบได้อย่างไรว่า ใบพืชชนิดใดเป็นพืชใบเลียงเดี่ยว และใบใดเป็นพืช ใบเลยี งคู่ (แนวตอบ : เช่น สังเกตได้จากเส้นใบ เน่ืองจากใบของพืชใบเลียงเดี่ยว มีเส้นใบเรียงขนาน ใบของ พชื ใบเลยี งคู่มเี สน้ ใบเป็นรา่ งแห) ขนั สอน ขน้ั สำรวจคน้ หำ (Explore) 1. ครูเปิด PPT เร่ือง พืชใบเลียงเด่ยี วและพืชใบเลยี งคู่ ให้นักเรียนดู จากนันครูให้นกั เรียนจบั กล่มุ เดิม จากชว่ั โมงทีแ่ ล้ว 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3 เรื่อง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 14 จากนันให้สมาชิกแต่ละกลุ่มก้าหนดปัญหาและ ตังสมมตฐิ านกอ่ นการท้ากจิ กรรมรว่ มกนั แลว้ ใหป้ ฏิบตั ิกิจกรรม ดังนี 1) สา้ รวจพชื ดอกชนดิ ต่างๆ ภายในบริเวณโรงเรยี นหรือบ้าน มา 8-10 ชนดิ 2) ช่วยกันสังเกตราก ล้าต้น และใบ ของพืชแต่ละชนิดท่ีส้ารวจมา แล้วบันทึกผลลงใน แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 14 3) น้าข้อมูลที่รวบรวมได้มาอภิปรายและสรุปร่วมกัน จากนันช่วยกันก้าหนดเกณฑ์ที่ใช้ใน การจ้าแนกชนิดพชื ว่า เป็นพชื ดอกประเภทใบเลียงเด่ียว หรอื พชื ใบเลียงคู่ ขน้ั อธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. ให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือนที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จากนันน้าค้าตอบท่ีได้จากการท้ากิจกรรมท่ี 3 เร่ือง การจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 2 แลว้ ผลดั กนั อธบิ ายคา้ ตอบ 2. ให้นักเรียน 2 คู่ กลับมารวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จากนันอธิบายค้าตอบของตนเองให้เพื่อนใน กลมุ่ ฟงั จากนนั สรปุ คา้ ตอบรว่ มกนั 1

37 3. ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มให้ออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรม โดยวิธีการจับสลาก หมายเลข จากนนั ตัวแทนของแตล่ ะกลุ่มออกมาน้าเสนอผลการท้ากจิ กรรมจนครบทกุ กลุ่ม นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรปุ ว่า เราสามารถใช้ลกั ษณะของราก ล้าต้น และใบของ พชื ดอกชนิดตา่ งๆ เปน็ เกณฑร์ ่วมกนั เพ่ือใช้ในการจดั กลุม่ พืชดอก ซ่งึ แบ่งพืชดอกไดเ้ ป็น 2 กลุม่ คือ กลุ่มพืชใบเลียงเดยี่ ว และกล่มุ พชื ใบเลยี งคู่ ช่วั โมงท่ี 4 ขนั สรปุ ขั้นขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) 1. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพืชใบเลียงเดี่ยวและพืชใบเลียงคู่เพ่ิมเติมจากหนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์ หน้า 15-16 2. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 4-5 คน จากล้าดับเลขท่ี จากนันให้นักเรียนแต่ละคนบอกชื่อพืชคนละ 1 ชนิด และอธบิ ายว่าเปน็ พืชใบเลยี งเดี่ยวหรือพชื ใบเลียงคู่ เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ : ขึนอย่กู บั ค้าตอบของนกั เรียน ให้อยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน) 3. ครูชบู ัตรภาพพืชดอกทีละใบ แล้วใหน้ กั เรยี นผลัดกันตอบวา่ เป็นพชื ใบเลียงเดย่ี วหรอื พืชใบเลียงคู่ 4. ใหน้ กั เรยี นยกตัวอย่างพชื 1 ชนดิ ทช่ี อบหรือสนใจ โดยให้วาดภาพและระบายสีลงในสมดุ ประจ้าตัว นักเรียน พร้อมบอกว่าพืชชนิดนันชื่ออะไร และจัดเป็นพืชประเภทใด (พืชใบเลียงเดี่ยวหรือพืชใบ เลียงค)ู่ หรอื ครูใหน้ ักเรยี นท้าใบงานที่ 1.3 เร่ือง พชื ใบเลียงเดีย่ วและพชื ใบเลยี งคทู่ ีฉ่ นั ชอบ 5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 14 ลงในสมุด ประจา้ ตัวนักเรยี นหรือท้าในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 15 ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปเก่ียวกับการจัดกลุ่มพืชดอก (พืชใบเลียงเดี่ยวและพืชใบเลียงคู่) จากนันให้ ครูอธิบายเสริมเพิ่มเตมิ ในสว่ นที่บกพรอ่ ง 2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤตกิ รรมการท้างานกลุม่ และจากการนา้ เสนอผลการท้ากจิ กรรมหนา้ ชันเรียน 3. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมที่ 3 เร่ือง การจัดกลุ่มพืชดอก ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือใน แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 13-14 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 15 5. ครูตรวจสอบผลการยกตัวอย่างพืชดอกที่นักเรียนชอบในสมุดประจ้าตัวนักเรียนหรือในใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง พืชใบเลียงเดย่ี วและพืชใบเลียงคทู่ ฉี่ ันชอบ 1

38 7. กำรวดั และประเมินผล รำยกำรวัด วิธีกำร เครื่องมือ เกณฑ์กำรประเมนิ 7.1 ประเมนิ ระหว่ำง - สมดุ ประจ้าตวั หรือ - ร้อยละ 60 แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ กำรจดั กจิ กรรม วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 13-14 - รอ้ ยละ 60 กำรเรียนรู้ - สมดุ ประจา้ ตวั หรอื ผา่ นเกณฑ์ ใบงานท่ี 1.3 - รอ้ ยละ 60 1) ผลบนั ทกึ การทา้ - ตรวจสมุดประจา้ ตวั หรอื ผ่านเกณฑ์ - สมดุ ประจา้ ตวั หรือ กิจกรรมท่ี 3 แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั - ระดับคุณภาพ 2 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม ผ่านเกณฑ์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 13-14 1 หน้า 15 - แบบประเมินการ 2) พชื ใบเลยี งเดย่ี ว - ตรวจสมุดประจ้าตัว หรอื นา้ เสนอผลงาน และ ใบงานที่ 1.3 พืชใบเลียงคู่ท่ชี อบ - ตรวจสมดุ ประจา้ ตวั 3) กิจกรรมหนูตอบได้ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 15 4) การนา้ เสนอผล - ประเมินการน้าเสนอ การท้ากจิ กรรม ผลการท้ากจิ กรรม 5) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทา้ งาน การทา้ งานรายบุคคล การท้างานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล 6) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การทา้ งานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม การท้างานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 7) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่นั คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการท้างาน อนั พึงประสงค์ 1

39 8. สอื่ /แหล่งกำรเรียนรู้ 8.1 สอ่ื กำรเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 2. แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ิต 3. บตั รภาพพืชดอกชนิดต่างๆ เชน่ ทานตะวัน ชบา กล้วยไม้ ขา้ วโพด กลว้ ย เปน็ ต้น 4. วสั ดุ-อปุ กรณก์ ารทดลองในกจิ กรรมท่ี 3 เช่น แวน่ ขยาย เป็นต้น 5. ใบงาน 1.3 เรอื่ ง พชื ใบเลยี งเด่ียวและพชื ใบเลียงคู่ทชี่ อบ 6. PowerPoint เรอ่ื ง พืชใบเลียงเดี่ยวและพชื ใบเลียงคู่ 7. ตวั อย่างใบพชื เชน่ ใบข้าวโพด ใบชบา เปน็ ตน้ 8. แผนภาพลักษณะภายนอกของต้นทานตะวัน 9. แผนภาพลักษณะภายนอกของต้นข้าวโพด 10.สมดุ ประจา้ ตัวนักเรียน 8.2 แหล่งกำรเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน 2. ห้องสมดุ 3. อนิ เทอรเ์ น็ต 1

40 แผนภาพ ตน้ ขา้ วโพด  1

41 แผนภาพ ตน้ ทานตะวนั  1

42 ใบงำนท่ี 1.3 เรือ่ ง พชื ใบเล้ยี งเด่ียวและพชื ใบเลีย้ งค่ทู ช่ี อบ คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นวำดภำพพชื ใบเล้ยี งเดย่ี วและพืชใบเลยี้ งคูท่ ช่ี อบ โดยบอกช่อื ชนดิ น้ัน พร้อมระบำยสใี ห้สวยงำม พชื ดอกทฉ่ี ันชอบคือ เป็นพชื ดอกประเภท 1

ใบงำนที่ 1.3 43 เรือ่ ง พชื ใบเลี้ยงเดยี่ วและพชื ใบเลี้ยงคู่ท่ชี อบ เฉลย คำช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นวำดภำพพืชใบเลย้ี งเด่ยี วและพืชใบเลี้ยงคู่ที่ชอบ โดยบอกชือ่ ชนดิ น้ัน พร้อมระบำยสีใหส้ วยงำม พชื ดอกที่ฉันชอบคือ เป็นพืชดอกประเภท 1

44 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 4 กล่มุ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ ว 14101 ช้ันประถมศึกษำปที ่ี 4 หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 1 ควำมหลำกหลำยของส่ิงมีชวี ติ ภำคเรยี นที่ 1 เร่ือง ควำมหลำกหลำยของสัตว์ เวลำ 6 ชั่วโมง ครผู สู้ อน นำงสำวอัมรำ โกษำรกั ษ์ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………….... 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ชี้วัด ว 1.3 ป.4/3 จ้าแนกสตั ว์ออกเปน็ สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั และสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง โดยใช้การมี กระดูกสนั หลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ ป.4/4 บรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ ังเกตไดข้ องสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั ในกลุม่ ปลา กลมุ่ สตั ว์ สะเทินนา้ สะเทินบก กลมุ่ สัตวเ์ ลือยคลาน กลมุ่ นก และกลมุ่ สตั วเ์ ลียงลกู ดว้ ย น้านม และยกตวั อยา่ งสง่ิ มชี ีวติ ในแต่ละกลุ่ม 2. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1. สงั เกตและบรรยายลกั ษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ได้ (K) 2. จา้ แนกสัตว์ออกเปน็ สตั วม์ ีกระดูกสันหลังและสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั โดยใช้การมีกระดูกสันหลงั เป็น เกณฑ์ได้ (P) 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมเพื่อจ้าแนกสัตว์ออกเป็นกลมุ่ ไดถ้ ูกต้องตามขันตอน (P) 4. มคี วามสนใจและกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ (A) 3. สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่นิ - ใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการจ้าแนก พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา สตั ว์มกี ระดูกสนั หลังและสตั ว์ไม่มีกระดกู สันหลัง - สัตวม์ กี ระดูกสันหลังมหี ลายกลุ่ม ไดแ้ ก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทนิ นา้ สะเทนิ บก กลุ่มสตั ว์เลอื ยคลาน กลุ่มนก และกล่มุ สัตวเ์ ลยี งลกู ดว้ ยน้านม 4. สำระสำคัญ/ควำมคิดรวบยอด สัตว์ต่างๆ มีมากมายหลายชนิด ในการจ้าแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มสามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ จงึ จ้าแนกสตั ว์ได้เปน็ สตั ว์มกี ระดูกสนั หลังและสตั ว์ไม่มกี ระดูกสนั หลงั 1

45 สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลือยคลาน กลมุ่ นก และกล่มุ สัตวเ์ ลียงลกู ดว้ ยนา้ นม ซง่ึ สัตว์แต่ละกลุม่ จะมีลักษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้แตกตา่ งกนั ไป 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมั่นในการทา้ งาน 2) ทกั ษะการส้ารวจคน้ หา 3) ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู 4) ทักษะการจา้ แนกประเภท 5) ทักษะการสรปุ อา้ งอิง 6) ทักษะการใหเ้ หตุผล 7) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ 1 ขันน้า ข้ันกระต้นุ ควำมสนใจ (Engage) 1. ครูให้นักเรียนดูภาพสัตว์ 5 ชนิด จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 17 แล้วให้ร่วมกัน อภปิ ราย ดงั นี 1) จากภาพ เป็นสตั วช์ นดิ ใด นักเรยี นรูจ้ กั สัตว์ทงั 5 ชนดิ นหี รือไม่ (แนวตอบ : ช้าง ปู นก ต๊กั แตน และววั ) 2) นักเรยี นคิดว่า สตั วท์ ัง 5 ชนดิ นี มีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง (แนวตอบ : ขนึ อยกู่ บั คา้ ตอบของนักเรียน ให้อยูก่ ับดุลยพนิ ิจของครูผูส้ อน) 1

46 ขนั สอน ขั้นสำรวจค้นหำ (Explore) 1. ครใู ห้นักเรยี นอา่ นขอ้ มูลในหวั ขอ้ ท่ี 3 ความหลากของสัตว์ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 17 2. ครูถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความคิดว่า สัตว์แต่ละชนิดมีโครงสร้างภายในร่างกายเหมือนกันหรือ ต่างกัน อยา่ งไร โดยให้นกั เรยี นชว่ ยกนั แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ 3. ครูสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนเคยสังเกตหรือไม่ว่า บริเวณบ้าน โรงเรียน หรือชุมชนท่ีนักเรียน อาศยั อยนู่ นั มีสัตวอ์ ะไรบ้าง แลว้ ให้นกั เรียนชว่ ยกันยกตวั อย่าง 4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า จากการสังเกตบริเวณบ้าน โรงเรียน หรือในชุมชน เราจะพบสัตว์ต่างๆ มากมายทังท่ีมีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ทังที่อาศัยอยู่บนบกและอาศัยอยู่ในน้า ทังท่ีมีขาและไม่มี ขา ดังนัน เพื่อให้สามารถศึกษาเก่ียวกับสัตว์ต่างๆ ได้สะดวกขึน นักวิทยาศาสตร์จึงจ้าแนกสัตว์ ออกเปน็ กลุม่ โดยใช้การมกี ระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลัง โดยให้นักเรียนจับคู่กับเพ่ือน (เพศเดียวกัน) แล้วให้นกั เรยี นคนหนึ่งชีกระดกู สันหลงั ของเพอ่ื นว่าอยบู่ รเิ วณใดของรา่ งกาย จากนนั ใหน้ กั เรยี นลองใชม้ อื คลา้ แนวกระดูกสันหลังของตนเอง 6. ใหน้ ักเรียนช่วยกนั อธิบายลักษณะของกระดูกสันหลงั จากนันครอู ธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเขา้ ใจว่า กระดกู สันหลัง เปน็ กระดูกที่มลี กั ษณะตอ่ กนั เปน็ ข้อๆ และทา้ หน้าทเี่ ป็นแกนกลางของร่างกาย (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทา้ งานกลุม่ ) 7. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน โดยครูใช้วิธีการจับสลากหมายเลขกลุ่มกลุ่มท่ี 1-10 หาก นักเรียนคนใดจับสลากได้หมายเลขใดก็ให้ไปอยู่ที่กลุ่มนัน จากนันครูให้นักเรียนแต่ละคนเข้ากลุ่ม ของตนเอง แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปชว่ ยกันศึกษาวิธกี ารท้ากิจกรรมท่ี 4 การจัดกลุ่มสัตว์ ตอน ที่ 1-2 จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 18 พรอ้ มกับเตรยี มวัสดุ-อุปกรณ์ส้าหรับการท้ากิจกรรม ในชว่ั โมงถดั ไปให้ครบถ้วน ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั สำรวจค้นหำ (Explore) (ตอ่ ) 8. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้จาก PPT เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ จากนันสนทนากับนักเรียน เกย่ี วกบั การเตรยี มตวั และการเตรียมวสั ดุ-อปุ กรณส์ ้าหรับการท้ากจิ กรรมของนักเรียนแต่ละกลุม่ 9. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่ ทา้ กจิ กรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุม่ สตั ว์ ตอนที่ 1 โดยปฏิบตั ิ ดงั นี 1. ให้ศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนท่ี 1 จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หนา้ 18 อยา่ งละเอียด หากมขี อ้ สงสัยให้สอบถามครู 2. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันก้าหนดปัญหาและตังสมมติฐานล่วงหน้าก่อนการท้ากิจกรรม แล้วบันทึกลงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 18 1

47 3. แต่ละกลุ่มนา้ สัตว์ 3 ชนดิ ท่นี ่ึงสกุ แลว้ ไดแ้ ก่ กุ้ง หอย และปลาทู มาท้ากิจกรรม โดยวาง สตั วล์ งในถาด จากนันสงั เกตลักษณะภายนอกของสัตว์ แลว้ บนั ทึกผล 4. ศึกษาลักษณะภายในของสตั ว์โดยใช้มีดผ่าตัดตวั สตั ว์ตามแนวยาว แลว้ บันทกึ ผล 5. รวบรวมขอ้ มลู จากนันอภิปรายผลการทา้ กจิ กรรมและสรุปผลร่วมกนั ภายในกลมุ่ ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ให้ออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชันเรียน จากนันร่วมกัน อภิปรายและสรปุ ผลการท้ากิจกรรมในชนั เรียน ชั่วโมงที่ 3 ขัน้ สำรวจค้นหำ (Explore) (ต่อ) 10. ครูสนทนกับนักเรียนเก่ียวกับผลการท้ากิจกรรมในการส้ารวจโครงสร้างภายนอกและโครงสร้าง ภายในของปลาทู หอย และกงุ้ จากช่ัวโมงท่แี ลว้ จากนนั ขออาสาสมัครนกั เรียน 1-2 ใหส้ รุปอีกครัง เพื่อทบทวนร่วมกันว่า ปลามีกระดูกเป็นข้อๆ อยู่ภายในล้าตัวจึงจัดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง ส่วน กุ้งและหอยเมือ่ ผ่าดแู ล้วไม่พบกระดูกภายในล้าตัว จงึ จัดเปน็ สตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั 11. ครตู งั คา้ ถามกระต้นุ ความคดิ โดยให้นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ดังนี 1) นักเรียนคิดว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะแตกต่างกัน อย่างไรบ้าง (แนวตอบ : สัตว์มีกระดูกสันหลังมีกระดูกแข็งเป็นแกนกลางของล้าตัว ส่วนสัตว์ไม่มี กระดกู สันหลงั เป็นสตั ว์ทไี่ ม่มีกระดกู แข็งเป็นแกนกลางของลา้ ตัว) 2) สัตว์ชนิดใดบา้ งเปน็ สตั ว์มกี ระดูกสนั หลงั สัตวช์ นดิ ใดบา้ งเป็นสตั วไ์ ม่มีกระดกู สนั หลงั (แนวตอบ : สตั ว์มีกระดกู สนั หลัง เช่น สุนัข กระต่าย แมว งู จระเข้ ลงิ เพนกวนิ เป็นต้น สัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลัง เช่น กิงกือ หอยทาก มด แมงปอ เป็นตน้ ) 12. ครูให้นักเรียนจับกลุ่มเดิมจากชั่วโมงก่อน แล้วให้แต่ละกลุ่มท้ากิจกรรมที่ 4 เร่ือง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนที่ 2 โดยปฏิบัติ ดงั นี 1) ให้ศึกษาขันตอนการท้ากิจกรรมที่ 4 เร่ือง การจัดกลุ่มสัตว์ ตอนท่ี 2 จากหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 19 อยา่ งละเอยี ด หากมีขอ้ สงสยั ให้สอบถามครู 2) แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูสัน หลังจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด หนังสือ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น จากนันน้า ข้อมูลท่ีไดม้ าสรุปร่วมกัน 3) แต่ละกลุม่ สง่ ตัวแทนรบั บัตรภาพสัตวต์ ่างๆ จากครู กลุ่มละ 8-10 ภาพ จากนนั ใหช้ ว่ ยกัน สังเกตโครงสร้างและลกั ษณะของสัตวใ์ นภาพ 4) ช่วยกันจัดกลุ่มสัตว์ในภาพ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ หรือจากเกณฑ์อ่ืนๆ ที่ สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกนั คิด 1

48 5) น้าข้อมูลการจัดกลุ่มสัตว์มาจัดท้าแผนผัง แผนภาพ หรืออื่นๆ ลงในกระดาษแข็งแผ่น ใหญ่แล้วตกแต่งให้สวยงาม จากนนั ส่งตวั แทนนา้ เสนอหนา้ ชนั เรียน 13. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ให้ออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชันเรียน จากนันร่วมกัน อภิปรายและสรปุ ผลการท้ากจิ กรรมภายในชนั เรยี น ชว่ั โมงท่ี 4 ขน้ั อธิบำยควำมรู้ (Explain) 1. ครูให้แต่ละกลุ่มผลัดกันออกมาน้าเสนอผลการจัดกลุ่มสัตว์ จากนันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ ข้อสรุปว่า สัตว์บางชนิดมีกระดูกต่อกันเป็นข้อๆ ท้าหน้าที่เป็นแกนกลางของรา่ งกาย เช่น ปลา แมว ววั เป็นต้น และสัตว์บางชนิดไม่มีกระดูกต่อกันเป็นข้อๆ ท้าหน้าที่เป็นแกนกลางของร่างกาย เช่น กุ้ง หมึก ผีเสือ เป็นต้น จากลักษณะเช่นนี จึงสามารถน้ามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจ้าแนกสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สตั ว์มีกระดกู สันหลงั และสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลัง ขันสรุป ข้นั ขยำยควำมเขำ้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 10 ลงในสมุด ประจ้าตวั นกั เรยี นหรอื ท้าในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ x 2. ครใู หน้ ักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า นอกจากการใชเ้ กณฑ์การมีกระดูกสนั หลังแล้ว นกั เรยี นสามารถจัด กลุ่มสัตว์โดยใช้เกณฑ์อ่ืนอีกได้หรือไม่ อย่างไร จากนันครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่าง อสิ ระ (แนวตอบ : ขึนอยูก่ ับดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน) 3. ครูให้นักเรียนทุกคนศึกษาข้อมูลในหัวข้อ 3.1 สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จาก หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 20 4. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละคนท้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนร้ทู ี่ 3 จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 20 โดย ให้ท้าลงใสสมดุ ประจ้าตัวนกั เรียน หรือทา้ ในใบงานที่ 1.4 เร่ือง จา้ แนกสัตวม์ ีกระดูกสันหลัง ทค่ี รูแจกให้ โดยใหด้ ูภาพสัตว์แล้วจ้าแนกวา่ เป็นสตั วม์ กี ระดูกสันหลังประเภทใด พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ 5. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์สารคดีเกี่ยวกับสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากนันครูน้าบัตรภาพ ปลา กบ จระเข้ นก และสุนัข มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายว่า เราควรแบ่งสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็นกี่ประเภท โดยสงั เกตไดจ้ ากอะไร โดยให้นกั เรียนช่วยกนั คิดและอธบิ ายคา้ ตอบร่วมกนั (แนวตอบ : ขึนอยู่กับดุลยพินิจของครผู ู้สอน เช่น เราจัดประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง โดยดู จากลักษณะสา้ คัญในการเคล่อื นที่ การหายใจ และการสืบพนั ธ)ุ์ 1

49 6. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 21-26 7. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กลุ่มละ 3-4 คน เพ่ือท้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 4 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 26 โดยให้ท้าลงใสสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือท้าในใบงานที่ 1.5 เร่ือง วิเคราะห์ลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ที่ครูแจกให้ โดยให้ร่วมกันวิเคราะห์ลักษณะ ของสตั วแ์ ละจ้าแนกว่าเปน็ สตั ว์มีกระดูกสนั หลงั ประเภทใด และยกตัวอยา่ งชื่อสัตวป์ ระเภทนี 8. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรยี น 5 คน จากกลุ่มต่างๆ ออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรมท่ีหน้าชันเรียน คนละ 1 ข้อ โดยครเู ฉลยคา้ ตอบท่ีถูกต้อง พร้อมอธบิ ายเพ่ือให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ ชั่วโมงที่ 5 ขน้ั ขยำยควำมเข้ำใจ (Elaborate) (ต่อ) 9. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์สารคดีเกี่ยวกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จากนันครูน้าบัตรภาพฟองน้า แมงกะพรุน พยาธิใบไม้ ไส้เดือน ดาวทะเล หอยแครง ผีเสือ มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปราย วา่ เราแบ่งสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลงั ไดเ้ ปน็ กี่ประเภท โดยสงั เกตไดจ้ ากอะไร (แนวตอบ : ขนึ อยกู่ ับดุลยพินิจของครผู ู้สอน) 10. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับประเภทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ หนา้ 27-29 11. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 5 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 30 โดยให้ท้าลงใสสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือท้าในใบงานท่ี 1.6 เรื่อง จ้าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ท่ีครูแจกให้ โดยให้ดูภาพและจ้าแนกว่า สัตว์ชนิดใดเป็นสัตว์มีกระดูก สันหลังหรอื สตั ว์ไม่มกี ระดูกสันหลงั พร้อมกบั บอกเหตุผลประกอบ 12. ครูสุ่มเรยี กตวั แทนนักเรยี นประมาณ 5-6 คน ออกมาน้าเสนอผลการท้ากจิ กรรมท่หี นา้ ชันเรยี น โดย ให้ครอู ธบิ ายเสรมิ เพ่ิมเติม เพือ่ ให้นกั เรียนเกดิ ความเข้าใจมากยิ่งขึน 13. ครูถามค้าถามท้าทายการคิดขันสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 12 แล้วให้นักเรียนช่วยกัน น้าความร้ทู ี่ได้จากการศึกษาและท้ากิจกรรมมาตอบคา้ ถาม ดงั นี  ถ้าน้าสุนัขและเต่าไปอยู่ด้วยกันในบริเวณที่มีอุณหภูมิต้่า นักเรียนคิดว่า อุณหภูมิภายใน รา่ งกายของสัตวท์ ัง 2 ชนิดนี จะแตกต่างกันหรือไม่ เพราะอะไร (แนวตอบ : แตกต่างกัน เพราะสุนัขเป็นสัตว์เลียงลูกด้วยน้านม จัดเป็นสัตว์เลือดอุ่น มี อุณหภูมิร่างกายคงท่ี ไม่เปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม ส่วนเต่าเป็นสัตว์เลือยคลาน จัดเป็นสัตว์เลือดเย็น มีอุณหภูมิร่างกายเปล่ียนไปตามสภาพแวดล้อมท่ีอาศัยอยู่ ดังนัน เมือ่ น้าเต่าไปอย่ใู นบริเวณท่มี อี ุณหภูมติ ้า่ อณุ หภมู ิภายในรา่ งกายของเตา่ จะต้า่ ลงไปด้วย) 1

50 ครูให้นักเรียนช่วยกันพูดสรุปเก่ียวกับลักษณะส้าคัญของสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก สนั หลัง จากนนั ครอู ธบิ ายเสรมิ เพ่มิ เตมิ ในสว่ นท่ีบกพรอ่ ง ช่วั โมงที่ 6 ขนั้ ขยำยควำมเขำ้ ใจ (Elaborate) (ต่อ) 14. ครสู นทนากับนกั เรียนเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเนอื หาท่ีได้เรียนผ่านมาจากหนว่ ยการ เรียนรู้ที่ 1 บทที่ 1 กลุ่มส่ิงมีชีวิต โดยสุ่มเรียกช่ือนักเรียนให้ออกมาเล่าว่าตนเองได้รับความรู้ อะไรบ้าง 15. ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้เก่ียวกับเร่ืองท่ีได้เรียนมาจากบทท่ี 1 ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนภาพ แผนผงั ความคดิ เปน็ ต้น ลงในสมดุ ประจา้ ตัวนกั เรียนหรอื อาจท้ากจิ กรรมสรุปความรู้ประจา้ บทท่ี 1 ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 20 16. นักเรยี นทา้ กิจกรรมฝึกทกั ษะบทที่ 1 จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 31-33 ข้อ 1-8 ลงในสมุด ประจ้าตวั นักเรียน หรือท้าในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 21-24 17. นักเรียนแต่ละคนท้ากจิ กรรมทา้ ทายการคดิ ขันสูงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 25 18. ให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 3-4 คน จากนันศึกษากจิ กรรมสร้างสรรค์ผลงานจากหนงั สือเรียนหน้า 33 แล้วให้ปฏบิ ัติกิจกรรมโดยมขี ันตอน ดังนี  ใหร้ วบรวมภาพพชื จากหนงั สอื ตา่ งๆ หรือนิตยสารตา่ งๆ ท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว  นา้ ภาพพืชทีร่ วบรวมได้มาจดั ทา้ เปน็ โมบายแขวนหนา้ ต่าง เพ่ือจ้าแนกกลุ่มพชื  ตกแต่งให้สวยงาม แลว้ นา้ เสนอหน้าชนั เรยี น พร้อมอธบิ ายเกณฑท์ ใ่ี ช้ในการจัดกลมุ่ พชื ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ให้นักเรียนดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 30 จากนันครูถามนักเรียน เป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพ่ือเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียน หลังจากการเรียน หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควรปรับปรุง ให้ครูทบทวน บทเรยี นหรอื หากิจกรรมอน่ื ซอ่ มเสริม เพ่อื ให้นักเรียนมีความรูค้ วามใจในบทเรียนมากขึน 2. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤติกรรมการท้างานรายบุคคล พฤติกรรมการท้างานกลมุ่ และจากการนา้ เสนอผลการทา้ กิจกรรมหน้าชนั เรียน 3.ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมท่ี 4 เรื่อง การจัดกลุ่มสัตว์ ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือใน แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 18 4. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 19 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook