Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมคือหน้าที่

ธรรมคือหน้าที่

Published by Piyaphon Khatipphatee, 2021-10-29 13:11:39

Description: ธรรมคือหน้าที่

Search

Read the Text Version

84 ธรรมะคอื หน้าที่ ทนี เ้ี รามคี วามรทู้ กุ ขน้ั ตอนแหง่ ชวี ติ กเ็ รยี กวา่ ปฏบิ ตั ธิ รรมะ ใหค้ วามเปน็ มนษุ ย์ มันมคี วามเปน็ มนุษยท์ ถี่ กู ต้อง แลว้ มันกไ็ ม่เปน็ ทกุ ข์ ฉะนนั้ อยา่ ประมาท มัวแตเ่ ล่นหวั โงเ่ ง่า เตา่ ปู ปลา รจู้ กั แต่สนกุ สนานเหมือนกับเดก็ ๆ รจู้ ักเหมือน กบั คนที่ไมร่ ูอ้ ะไร เห็นแตเ่ รอ่ื งสนุกสนาน เร่ืองปากเร่อื งทอ้ ง สนุกแต่เรอื่ งอยา่ ง น้ัน สนุกกับธรรมะไม่เป็น ท่วี ่าสนุกเป็นสุขกบั ธรรมะน้นั มนั เป็นสุขเพราะพอใจ ว่าเราเปน็ คนมคี วามถูกตอ้ ง สนกุ กับพระธรรม สนกุ ที่ว่าเรามีความถกู ต้อง ทนี ส้ี นกุ ของคนบา้ คนโง่ คนปถุ ชุ น กม็ นั สนกุ เพราะมนั ไดก้ นิ เหลา้ เมา ยาอบายมขุ ทงั้ หลาย มนั สนกุ อยา่ งนนั้ ไมเ่ ทา่ ไรมนั กล็ งอบาย แตถ่ า้ วา่ สนกุ ของ สตั บุรษุ อรยิ ชน เขาสนกุ ในการท�ำ ความถกู ตอ้ ง แล้วก็พอใจในความถูกตอ้ ง โดยเป็นสุข คนโบราณชั้นปู่ย่าตายายของเรานั้น เขาสนุกในการทำ�งานท้ังน้ัน มาในชั้นลกู หลานน้ีไปสนกุ ทอี่ บายมขุ มนั ก็น่าเห็นใจเหมือนกัน เดี๋ยวน้ีในโลกมันมีสถานท่ีอบายมุขเต็มไปหมดจนจะหลีกไม่ไหว เด็กๆ ของเราก็ไปสุข ไปสนกุ ทีส่ ถานอบายมขุ ไม่สนกุ กบั ววั กบั ควาย กับไร่ กบั นา กับ เรือก กับสวน สมัยก่อนเขาสนุกกันอยู่ในการงาน แม้แต่ไถนาอย่างน้ีก็เป็นสุข พอใจ ยิ้มกริ่มอยู่เสมอ เด๋ียวน้ีไม่เอาไม่อยากทำ�นา อยากจะไปหางานทำ� เงิน เดือนแพงๆ และเที่ยวกันสนุก ทีนี้มันก็ไม่ได้อย่างท่ีต้องการ มันก็เกิดเป็น อนั ธพาลไปลกั ไปขโมย ไปหารวยลดั กนั เขา้ มา ไปจบอยใู่ นคกุ ในตะราง ซง่ึ เหมอื น กบั อบาย

85ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ เพราะเราไม่สนุกในการทำ�หน้าที่ท่ีถูกต้อง คนแต่ก่อนเขาสนุกอยู่กับ การทำ�หนา้ ท่ที ี่ถกู ตอ้ ง ทำ�ไร่ ทำ�นานั่นแหละ หน้าท่ีทถ่ี กู ตอ้ ง สมัยกอ่ น คนไถนา ไถนาอยู่ด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส จิตใจเย็น เพราะมันไม่ทะเยอทะยานอะไร มากกวา่ นนั้ มนั ท�ำ นากบั ควายกส็ บายใจไดข้ า้ วกนิ ไดใ้ ช้ ไดส้ อยเหมอื นกนั เดยี๋ ว น้ีมันจะทำ�นากับเครื่องจักรด้วยจิตใจท่ีร้อนรนเหมือนกับไฟติดอยู่ในอก แล้ว มนั ก็จะบงั คบั จติ ไม่ได้ เพราะมนั จะท�ำ นาเอาเงนิ ไปซือ้ หาอบายมขุ คนสมยั นกี้ อ็ ยากรวยเพอื่ ไปซอ้ื หาอบายมขุ คนกอ่ นๆ เขาท�ำ งานเพอ่ื เอา เงินไปท�ำ บุญ คนแก่ไถนาอยู่ เดนิ ไปใกลๆ้ เขาพดู ข้นึ มาเองว่า “ไถนา เอาข้าว ตกั บาตรสักหนอ่ ยเถอะเจ้าเอย้ ” เขาพดู กับพระว่า “เจา้ เอย้ ” ไถนา หว่านเทา่ ไร ไมร่ ูก้ ี่ถัง เอาข้าวใสบ่ าตรสักหน่อยเจา้ เอย้ น้คี นแกร่ ุ่นปตู่ ายา่ ยาย คนสมัยนม้ี นั ไมค่ ดิ วา่ ท�ำ นาเอาขา้ วใสบ่ าตรหรอก ถา้ มนั จะท�ำ และมนั กไ็ มท่ �ำ ดว้ ย ถา้ มนั จะท�ำ มนั กค็ ดิ วา่ ทำ�นาเอาเงนิ ไปซอ้ื อบายมขุ ทง้ั หลาย ไปกามารมณท์ ง้ั นน้ั ฉะนน้ั จติ ใจเขา กต็ อ้ งตา่ งกนั เดย๋ี วนลี้ กู หลานของเรามนั ท�ำ นาท�ำ งานเพอื่ กามารมณ์ เพอ่ื อบายมขุ ในเมอื่ สมยั กอ่ นเขาท�ำ นาเพอ่ื บญุ เพอื่ กศุ ล ท�ำ งานเพอื่ การบญุ การกศุ ล แลว้ มนั กเ็ ปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ เขาก็อยกู่ นั ดว้ ยความสงบ ไมห่ รูหรา สนุกสนานอย่าง อันธพาล เขาสนุกก็สนุกอย่างสัตบุรุษ อุบาสก อุบาสิกา รู้ว่าทำ�งานน้ีมันเป็น ประโยชน์ มนั เปน็ หนา้ ที่ แลว้ กพ็ อใจ ไดท้ �ำ หนา้ ทข่ี องมนษุ ยแ์ ลว้ กพ็ อใจ ถา้ พลาด ไปไม่ได้มันก็ว่าเช่นน้ันเอง มันก็ปลงอนิจจัง เช่นนั้นเอง ก็ทำ�ใหม่ได้โดยไม่ต้อง

86 ธรรมะคือหน้าที่ เปน็ ทุกข์ มันจึงไม่มกี ารฆา่ ฟนั กนั ใครจะมาทำ�อะไร มาลัก มาขโมย มาตัดคอ อะไรบา้ ง กไ็ ม่มกี ารฆ่าฟนั กัน เพราะมันเหน็ เช่นนัน้ เอง ธรรมเนียมโบราณเราสอนไว้เสรจ็ แลว้ ว่าใหท้ �ำ เผอื่ เผ่อื คนขโมย เผ่อื นก เผอ่ื หนมู นั กนิ บา้ ง มนั จงึ ไมต่ อ้ งเปน็ ทกุ ขเ์ พราะท�ำ เผอ่ื ไวแ้ ลว้ คนเดย๋ี วนไี้ มเ่ คยคดิ ทท่ี �ำ เผือ่ อย่างน้ี กพ็ ร้อมท่จี ะฆ่า จะแกง จะยงิ จะฟัน จะอะไรกันไปตามเรื่อง โลกมนั เปน็ อย่างนี้เดีย๋ วนี้ เราก็เปน็ พระ เปน็ เณร สว่ นหนึ่งก็มีหน้าทีท่ ีจ่ ะชว่ ยสง่ั สอนธรรมะ แก้ไขปญั หาเหล่าน้ี แล้วอีกส่วนหน่ึงก็คือเรานั้นแหละจะไปเป็นเสียเอง พระ เณร น้ีจะไป เปน็ ประชาชนเหลา่ นน้ั เสยี เองกม็ ี แตถ่ า้ วา่ ยงั เปน็ พระ เปน็ เณรอยู่ พยายามศกึ ษา สังเกตธรรมะ สำ�หรับที่จะช่วยมนุษย์กันดีกว่า การช่วยมนุษย์ด้วยเรื่องของ ธรรมะนี้ ชว่ ยไดม้ ากกวา่ คือชว่ ยให้เขาเป็นสขุ ได้กว่า ช่วยด้วยเงินด้วยของ น้ันเป็นเรือ่ งหลอกๆ เลน่ ๆ เดีย๋ วก็หมดๆ ชว่ ยไม่ไหว แต่ถ้าชว่ ยให้เขามธี รรมะ เปน็ การช่วยทถี่ าวร เขาไมท่ �ำ ผิด เขาทำ�ถูก เขาก็แกป้ ญั หาได้ แล้วกห็ มดความ ทุกข์ไปได้ มันเปน็ การชว่ ยทจ่ี ริงและสำ�เรจ็ ประโยชน์ ดังนนั้ เราทุกคนจงหันหน้าไปหาธรรมะ โดยแนใ่ จเหลอื เกินว่าสง่ิ อืน่ มัน ช่วยไม่ได้ ส่ิงที่จะช่วยได้ก็คือ ธรรมะ มันก็คงจะมีปัญหาบ้างท่ีว่าธรรมะนี้มัน ลึกลบั อยเู่ หมอื นกัน แตว่ ่าไม่เหลือวสิ ยั ทเี่ ราจะเข้าใจ ขอใหจ้ ำ�ไว้ อยา่ งเมื่อตะก้ี พดู แล้ว ธรรมะคอื การประพฤติกระท�ำ ที่ถกู ต้องแก่ความเปน็ มนุษย์ของเรา ท่ี

87ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ ทำ�ให้มนุษย์เป็นมนุษย์ถูกต้องนั้นแหละคือธรรมะ ทีนี้จะให้ชัด ก็คือหน้าที่ หน้าทข่ี องมนุษย์ ในธรรมะนนั่ ภาษาธรรมดา ภาษาคนธรรมดา กแ็ ปลว่าหน้าที่ ธรรมะคอื หนา้ ท่ี ภาษาอินเดีย ชาวอินเดียมีค�ำว่าธรรมะแล้วก็แปลว่าหน้าที่ ส่ิงท่ีมีชีวิต ทกุ ชนิดมหี นา้ ทท่ี จี่ ะตอ้ งท�ำเพอื่ จะให้รอดชีวิตและใหด้ ยี ่ิงๆ ขนึ้ ไป นั่นแหละคือ หนา้ ท่ี ให้รอดชวี ติ และให้ดีย่ิงๆ ข้นึ ไป นน่ั แหละคอื หนา้ ท่ี สงิ่ ใดทมี่ ชี วี ติ สง่ิ นน้ั จะตอ้ งมหี นา้ ท่ี ถา้ ไมท่ �ำหนา้ ทกี่ จ็ ะตอ้ งตาย ตน้ ไม้ ท้ังหลายรอบตัวเราที่เห็นอยู่นี้ มันก็มีชีวิตและมันก็มีหน้าที่ท่ีจะต่อสู้ ที่จะ ต้องหาน้�ำกิน ต้องหาแร่ธาตุกิน จะต้องหาแสงสว่างให้เพียงพอ แล้วก็รอด ชวี ติ อยูไ่ ด้ หนา้ ทีข่ องต้นไม้ สตั ว์เดรจั ฉานมันก็มหี น้าทีด่ ว้ ย มนั มหี นา้ ท่ที ีจ่ ะ ตอ้ งใหไ้ ดก้ นิ และใหไ้ ดร้ อดชวี ติ อยไู่ ด้ ไมท่ �ำหนา้ ทม่ี นั กต็ าย ทนี ค้ี นมนั กม็ หี นา้ ที่ อยา่ งคนสงู ขน้ึ ไป ตอ้ งท�ำหนา้ ทส่ี �ำหรบั ใหค้ นมนั รอดชวี ติ อยไู่ ด้ ใหม้ นั สงู ขนึ้ ไป คือใหม้ ีจิตใจสงู จิตใจสูง สูง สงู จนบรรลมุ รรคผลนิพพาน นค้ี ือหนา้ ท่ี ธรรมะ แปลว่าหน้าท่ี ถูกตอ้ งร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ ถูกต้องทีส่ ดุ เลย ธรรมะ แปลวา่ หนา้ ทส่ี �ำ หรบั เปน็ มนษุ ย์ หนา้ ทข่ี องมนษุ ยค์ อื ธรรมะของ มนษุ ย์ มนษุ ยม์ หี นา้ ทอ่ี ยา่ งไร เมอ่ื ท�ำ เพอื่ เปน็ มนษุ ยส์ มบรู ณ์ สมบรู ณค์ อื เมอ่ื เปน็ พระอรหนั ต์ เดย๋ี วนย้ี งั ไมส่ มบรู ณห์ รอก เพยี งใหม้ นั รอดอยไู่ ดๆ้ แลว้ ดขี น้ึ ๆ จนกวา่ จะสมบูรณ์ ทัง้ หมดน้นั เป็นหนา้ ที่ เพราะฉะนน้ั เราทำ�เถดิ จะต้องหาอาหารกนิ

88 ธรรมะคอื หน้าท่ี จะตอ้ งกินอาหาร จะต้องบรหิ ารร่างกายให้ถูกตอ้ ง เรือ่ งกนิ เรอ่ื งอาบ เร่อื งถ่าย เรื่องยนื เดนิ น่งั นอน อะไรตา่ งๆ ให้มนั ถูกต้อง นน่ั กเ็ ปน็ หน้าที่ เกดิ โรคภัยไข้ เจบ็ มนั กร็ กั ษาเยยี วยามนั กเ็ ปน็ หนา้ ที่ มคี วามทกุ ขอ์ ยา่ งไรเกดิ ขน้ึ มนั กต็ อ้ งก�ำ จดั ให้หมดไปน่นั มนั กเ็ ปน็ หน้าท่ี หน้าทีท่ ัง้ หมดคือธรรมะ คนไหนยากจน รแู้ ตว่ า่ คนนน้ั มนั ไมท่ �ำ หนา้ ท่ี คอื มนั ไมป่ ฏบิ ตั ธิ รรมะ มนั พูดแต่ปาก แลว้ คนไหนข้ีโรค อมโรค ก็รู้ว่าคนนนั้ มนั ไมป่ ระพฤติธรรมะ คือมัน ไม่ทำ�หนา้ ท่ที ่ีถูกตอ้ ง หรือคนไหนมันพกิ ลพิการอย่างใดอยา่ งหนึง่ กเ็ รยี กวา่ มัน ไม่ทำ�หน้าที่ คนไหนยากจนก็ไม่ทำ�หน้าท่ี คนไหนไม่รู้จักต่อสู้ให้ชนะกิเลสก็คือ มนั ไมร่ หู้ น้าท่ี มนั ไม่มหี น้าท่ี เพราะฉะนั้นค�ำว่าหนา้ ทีม่ ันก็มตี ัง้ แต่ต่�ำสดุ จนถึงสูงสดุ ขอใหเ้ ราทกุ คน อย่าบกพร่องในหนา้ ท่ี จะเป็นอุบาสก อบุ าสิกา เปน็ พระ เปน็ เณร เปน็ อะไรก็ มีหน้าที่ ตัง้ แตต่ ำ่� จนถึงสงู สดุ ตอ้ งรอบรู้ในเรื่องหน้าทีท่ กุ ชนดิ แล้วก็ปฏบิ ัติ อยา่ ใหบ้ กพรอ่ งในหนา้ ที่ แลว้ กจ็ ะไดผ้ ลดี ไมเ่ สยี ทที เ่ี กดิ มาเปน็ มนษุ ย์ และพบ กบั พุทธศาสนา ถ้าบกพร่องแล้วก็เสียชาตเิ กิด เปน็ ค�ำทเ่ี ลวร้ายมาก คนเสียชาติ เกิดมนั เลวรา้ ยมาก เพราะมันบกพร่องในหน้าทข่ี องมนษุ ย์นัน่ เอง ฉะนั้นเราต้องรู้ว่าเรามีหน้าที่ที่จะศึกษาธรรมะ ช่วยตัวเราให้ได้และก็ ชว่ ยผอู้ นื่ ดว้ ย ชว่ ยผอู้ น่ื ชว่ ยทงั้ ในทางวตั ถแุ ละชว่ ยในทางจติ ใจ เราท�ำ งานไดม้ าก กินแต่พอดี เหลอื ก็ไปชว่ ยผอู้ ่นื นเ้ี รียกว่าชว่ ยทางวตั ถุ ทีนีเ้ ราศึกษาเลา่ เรยี นให้

89ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ มาก ดบั ทกุ ขใ์ ห้ไดม้ าก ให้ความรู้แก่ผูอ้ นื่ น้กี ช็ ว่ ยทางจติ ใจ ช่วยทางวตั ถุกใ็ ห้ สิง่ ของ ช่วยทางจติ ใจก็ให้วชิ าความรู้ สตปิ ัญญา น้เี ราจะต้องมี ถ้าไมม่ อี ะไร จะชว่ ยเพอื่ นเสียเลย เราจะพูดว่าเสยี ชาตเิ กดิ เหมอื นกัน ท�ำ นาไม่เหลอื กนิ ให้ หมาได้กินบ้าง น้ีมนั เสยี ชาติเกิด ชาวนามนั ต้องท�ำ นาใหม้ ขี า้ วเหลอื กิน ใหห้ มาได้กินบา้ ง มันจงึ จะไมเ่ สยี ชาตเิ กิด คอื มันไมข่ ้ีเกียจ มนั ไมเ่ หลวไหล ให้มนั เอาใจใส่ ฉะนน้ั มนั จึงทำ�นาให้ มนั เหลอื กิน แลว้ ก็ท�ำ บุญบ้าง ใส่บาตรบ้าง อะไรบ้าง น้ีก็ทางวตั ถุ ส่วนทางจติ ใจนีเ้ ป็นหน้าทข่ี องบรรพชติ เสยี มากกว่า บรรพชิตเลา่ เรยี น กเ็ หมอื นกับทำ�นา เพราะใช้เองไมห่ มด กส็ อนผู้อนื่ บา้ ง แจกจ่ายให้ผู้อนื่ บ้าง ผู้ อ่ืนก็จะได้รับประโยชน์ แต่ว่าแม้จะเป็นฆราวาสก็ทำ�ได้ ฆราวาสที่ไม่เหลวไหล ฆราวาสท่ีไม่โง่เขลา เขาเรียนธรรมะ จนรู้ธรรมะช่วยตัวเองได้ แล้วก็สอนผู้อื่น กไ็ ด้ ในครั้งพทุ ธกาลกม็ หี ลายคนเหมอื นกนั เปน็ ฆราวาสสอนธรรมะใหผ้ อู้ ื่น ถงึ เดย๋ี วนก้ี ม็ ไี ด้ฆราวาสทร่ี ธู้ รรมะเพยี งพอแกก่ ารปฏบิ ตั ขิ องตนแลว้ ก็ ช่วยผูอ้ น่ื ให้ปฏบิ ตั ธิ รรมะด้วยก็ได้ กม็ ีเหมือนกนั เพราะว่าความร้นู ีม้ ันไม่ใช่ แตม่ ีแกพ่ ระแลว้ แกฆ่ ราวาสมนั กม็ ีได้ ถ้าเขาขวนขวายศกึ ษาเล่าเรียน หาก ประพฤติปฏิบตั ติ ั้งแตห่ นมุ่ จนแก่ คนแกน่ กี้ ็มคี วามรู้พอที่จะช่วยแนะน�ำ สงั่ สอน ลกู เดก็ ๆ เป็นธรรมดา จึงขอใหส้ นใจ ที่วา่ ท�ำ ใหม้ ากใหก้ ินแต่พอดี ใชแ้ ต่พอดี เหลอื กช็ ว่ ยผอู้ ่นื ทายก ทายกิ า อบุ าสก จงถอื หลกั วา่ เราจะเหน็ วา่ การท�ำ งานนนั้ เปน็ ธรรมะ ธรรมะ

90 ธรรมะคอื หน้าที่ คอื หนา้ ที่ หน้าทค่ี ือธรรมะ ธรรมะคือหน้าท่ี การงานคอื ธรรมะ ทำ�การงานให้ดี ที่สุด คือปฏิบัติธรรมะในหน้าท่ีแล้วก็พอใจ แล้วก็เป็นสุขอยู่ท่ีนั่น อย่าต้องไป เป็นสุขเมื่อไปเล่นไพ่ เลน่ โป กนิ เหลา้ เมายา ไปเที่ยวกามารมณ์ อบายมขุ เลย ไม่ว่าเด็กๆ หรือคนวัยรุ่น คนหนุ่มสาว คนแก่ คนอะไรก็ตาม อย่าไป แสวงหาความสุขด้วยอบายมุขเลย แสวงหาความสุขด้วยการทำ�หน้าท่ีท่ีไร่ ที่นา ที่บา้ น ท่ีเรอื น มีธรรมะอยทู่ ี่เนื้อท่ีตวั แล้วมคี วามสุขอย่ทู ่นี ่ัน ความสขุ อย่างนไี้ ม่ต้องจา่ ยเงนิ ไม่ต้องไปกนิ เหล้าแพงๆ ไม่ต้องไปขนึ้ โรงแรมแพงๆ ไม่ ต้องไปทำ�อะไรชนิดทมี่ ันแพงๆ จนไมพ่ อกิน พอใช้ จนต้องเป็นหนี้ เป็นสิน จน ต้องลัก ตอ้ งขโมย ติดคุก ตดิ ตะราง มนั เปน็ อย่างนน้ั มันเดนิ ไปทางน้นั เด๋ียวน้ีมันเป็นสุขอยู่ท่ีการงานเป็นสุขไหว้ตัวเองได้ ยกมือไหว้ตัวเองได้ เพราะมองเหน็ แตค่ วามดแี ตข่ องตน ยกมือไหว้ตัวเองได้กไ็ ม่มปี ัญหา คนอยา่ งน้ี ไม่มีปัญหา คือไม่ยากจนท้ังภายในและภายนอก ทั้งภายนอกและภายใน ทาง โลก ทางวัตถุ กไ็ มย่ ากจน ทางจิต ทางวิญญาณ ทางธรรมะ ก็ไม่ยากจน เขาเปน็ คนม่งั มี ทั้งทางภายนอกและภายใน คอื ทง้ั ทางวตั ถแุ ละทง้ั ทางจิตใจ น้คี ือเป็น พทุ ธบรษิ ัททีถ่ กู ตอ้ ง ดังนั้นจึงขอให้ทุกคนเป็นพุทธบริษัทที่ถูกต้อง เป็นคนไม่ยากจน ท้ัง ภายนอกและภายใน ทางวัตถุก็ไม่ยากจน ทางจติ ใจก็ไมย่ ากจน ไม่ต้องพดู อะไร กันแลว้ มันรอดตัวแล้ว มันพอจะเรียกว่ารอดตวั แลว้

91ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ อย่างท่พี ดู เมอ่ื ตะกีน้ ว้ี ่า ขอแสดงความยนิ ดีในการมาของท่านท้ังหลาย โดยอาตมาคิดว่าท่านมาท่ีน่ีเพ่ือแสวงหาความรู้หรือวิธีปฏิบัติ เพ่ือจะกำ�จัดเสีย ซึง่ กเิ ลสและความทกุ ขท์ ง้ั ของตนเองและของผอู้ ่ืน ถา้ มาจรงิ กศ็ กึ ษาตามทมี่ ใี หศ้ กึ ษาจรงิ กจ็ ะไดค้ วามรทู้ จ่ี ะก�ำ จดั ความทกุ ข์ ทง้ั ของตนเองและของผอู้ น่ื แตถ่ า้ มาเพอ้ ๆ มนั กไ็ มไ่ ดอ้ ะไรกลบั ไปเปลา่ เราเขยี น เป็นรปู ภาพที่ตึก ไปเงยดบู า้ ง แจกลกู ตาไม่มใี ครเอากค่ี น นอกน้นั วง่ิ กลับไปเป็น ฝงู ๆ หวั ขาดไมม่ ลี กู ตา รปู ภาพทผี่ นงั ตกึ นนั้ ควรจะดกู นั ทกุ คนทม่ี า มาแจกลกู ตา ๒-๓ คนรบั เอา นอกน้นั เปน็ ฝงู ๆ ไม่รบั เอา มาจากสวี มาจากชมุ พร มาจากบา้ น ดอน มาจากนคร มาจากพัทลุง เหมือนๆ กนั เลย กลบั ไปหัวขาด เพราะมันไม่ สนใจวา่ มนั มีอะไรให้ ไมส่ นใจธรรมะทีม่ ใี ห้ มนั กไ็ มไ่ ดอ้ ะไรเหมือนกัน เพราะฉะนน้ั พยายามที่สดุ ท่จี ะให้ไดแ้ สงสวา่ ง ความรู้ ซง่ึ เปรยี บเหมือน กับลกู ตา กอ่ นนี้ไม่มีลกู ตา แล้วกม็ ารับลูกตา คือไดแ้ สงสวา่ ง ไดค้ วามรู้ ว่าจะไป ด�ำ เนนิ ชีวติ กันอยา่ งไร แสงสวา่ งคอื ปัญญาคอื ความรู้ ท�ำ ให้เราประพฤตปิ ฏิบตั ิ ถูก เหมอื นอยา่ งท่ีว่ามาตะก้ี ธรรมะคือหน้าท่ี ทำ�หน้าที่ให้ดีท่ีสุดและกอ็ ย่าเปน็ ทุกข์เลย ความทุกข์นั้นเกิดมาจากความโง่ คิดไม่ถูก ต้ังใจไว้ไม่ถูก มันก็เป็น ทกุ ข์ หมา แมว มนั ดกี ก็ วา่ คน เพราะหมาหรอื แมว มนั ไมเ่ ปน็ ทกุ ข์ คนมนั เปน็ ทุกข์มากเกินไป เลยชักชวนให้ใคร่ครวญเปรียบเทียบกันดูว่า หมาทุกตัวนอน หลบั แตค่ นหลายคนนอนไม่หลบั นอนไม่หลบั กระสบั กระสา่ ย ต้องกนิ ยานอน

92 ธรรมะคือหน้าท่ี หลับ คนหลายคนมันปวดหัว หมา แมวไม่ปวดหัว หลายคนเป็นโรคประสาท หมา แมวไม่เปน็ โรคประสาท คนเปน็ บ้าไปอยู่โรงพยาบาลบ้ากันมากมาย หมา แมวสกั ตวั หนง่ึ กไ็ มเ่ ห็นวา่ เปน็ บา้ ชนดิ ทีเ่ ปน็ โรคจติ อย่างนั้น หมาบา้ นนั้ มนั เปน็ โรคชนดิ อน่ื ไมใ่ ชบ่ า้ อยา่ งทคี่ นเปน็ บา้ มนั เปน็ เชอ้ื โรค อย่างอื่น คนมันเปน็ บา้ เพราะมนั คดิ ไม่เป็น ระบบสมอง ระบบประสาท อะไร สญู เสียหมดเลย มนั เลยเปน็ บา้ ต้องไปอยูโ่ รงพยาบาลบา้ หมา แมวมนั ไมเ่ ปน็ น้ี ลองนึกอย่างน้ีไว้บ้างสิจะได้ระมัดระวังตัวดีข้ึน อย่านอนไม่หลับ อย่าเป็น โรคประสาท อย่าเป็นโรคจิตกันเลย ธรรมะช่วยได้ ธรรมะป้องกนั ใหไ้ ด้ ถ้าไมม่ ี ธรรมะมันก็ยนิ ดี ยนิ รา้ ย มันรกั มนั โกรธ มันเกลียด มันกลวั มนั อิจฉาริษยา มันพยาบาท ปองรา้ ย หรือวา่ มนั อาลัยอาวรณ์ มันหงึ มนั หวง ไปตา่ งๆ มนั ก็ เลยนอนไม่หลบั เพราะไมม่ ีธรรมะ ถ้ามีธรรมะ มันก็ทำ�งานสนุกไปมันไม่ต้องมามัวรัก โกรธ เกลียด กลัว อะไรอยู่ ถงึ จะยงั มอี ะไรทนี่ า่ รกั มนั กเ็ ชน่ นนั้ เอง กไู มไ่ ปรกั มนั ใหเ้ สยี เวลา จะตอ้ ง ท�ำ อย่างไร ท�ำ ดกี ว่า ไมไ่ ปหลงรักให้เสยี เวลา หรอื มันมาให้โกรธ ให้เกลยี ด กูก็ ไม่ไปโกรธไปเกลียดมนั ใหเ้ สียเวลา มนั เป็นเช่นน้นั เอง อย่างน้ีเรียกว่าเรามีใจคอปกติอยู่เสมอ มันจึงไม่เป็นบ้า มันจึงไม่เป็น โรคประสาท มนั จงึ นอนหลบั สนทิ มนั ไมป่ วดหวั อยา่ ท�ำเลน่ กบั เรอื่ งอยา่ งน้ี ปวด หวั นอนไมห่ ลบั นนั่ แหละ มนั แสดงวา่ มนั มคี วามเปน็ มนษุ ยเ์ หลอื นอ้ ยแลว้ ถา้ มนั มเี รอื่ งปวดหวั นอนไมห่ ลบั อดึ อดั ขดั ใจอยเู่ สมอ และกเ็ รยี กวา่ ความเปน็ มนษุ ยม์ นั

93ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ เหลือน้อยแลว้ ระวังใหด้ ี รีบๆ แกไ้ ขให้หายไปเสยี ใหม้ คี วามอมิ่ อกอิ่มใจ พอใจ ในตัวเอง ยกมอื ไหว้ตวั เองได้ อันน้นั ก็เรียกว่าใชไ้ ด้ พอค�่ำลงจะนอน คดิ บัญชีดู วันน้ีมนั มอี ะไรดีพอจะไหว้ตวั เองได้ไหม ถา้ ดแู ลว้ ทง้ั วันมนั น้ไี มม่ ีอะไรดีพอที่ จะไหว้ตวั เองได้ ก็โขกหวั มนั สกั ๔ - ๕ ที มนั เลวจนไม่มอี ะไรดใี ห้ไหวต้ วั เอง ได้ ถ้าท�ำอยู่อย่างน้ีมันจะเจริญ มันจะท�ำให้มีอะไรท่ีพอท่ีจะไหว้ตัวเองได้ ทุกวนั ๆ ก็คือมีความเจริญงอกงามแนน่ อน เป็นอันว่าต้องท�ำให้มีส่ิงที่เรียกว่าธรรมะคือหน้าท่ี แล้วมีผลของหน้าที่ จนเป็นที่พอใจ มีความรู้ในการท�ำหน้าท่ี รู้ธรรมชาติ รู้กฎของธรรมชาติ แล้ว ก็รู้หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ และก็ท�ำหน้าที่ ก็ได้รับผลจากหน้าที่ ตามกฎ ของธรรมชาตินั่นแหละ คือหนทางด�ำเนินของมนุษย์จากต่�ำที่สุดไปถึงสูงสุดคือ มรรคผลนพิ พาน มรรคผลนพิ พานคอื ไมม่ คี วามทกุ ข์ ทกุ ขน์ อ้ ยลงๆ จนไมม่ คี วาม ทุกขเ์ ลย เรียกว่านพิ พาน ถา้ มคี วามทุกขม์ าก มากกวา่ แมว มากกวา่ หมา กย็ ังใช้ไม่ได้ มนั เป็นคน ท่ีเลวเกินไป นเ่ี รากม็ ีความทกุ ขน์ อ้ ยลงจนเหลือนอ้ ยมาก เราก็เป็นพระอริยเจ้า ขนั้ ต้นๆ ถา้ หมดเลยก็เปน็ พระอรหนั ตเ์ ลย เพราะฉะนนั้ การบวชน้ี ทงั้ พระท้งั เณรนี้ ขอใหถ้ ือว่าเปน็ การบวชเข้ามา เพื่อจะศึกษาเร่ืองนี้ ไม่มีเรื่องอื่น บวชเข้ามาน้ีเพื่อจะศึกษาเรื่องที่ก�ำลังพูดคือ ธรรมะ แล้วกป็ ฏิบัตธิ รรมะและกไ็ ดผ้ ลของธรรมะ แล้วกส็ อนผอู้ ่นื สอนธรรมะ แก่ผูอ้ น่ื ต่อไป

94 ธรรมะคอื หน้าที่ ตลอดเวลาทย่ี ังบวชอยูก่ ็ขอใหบ้ วชจริง เรียนจริง ปฏบิ ัตจิ ริง ไดผ้ ล จริง แล้วก็สอนต่อๆ กันไปจริงๆ เมื่อสึกออกไปเป็นฆราวาสแล้วก็ยังท�ำได้ ตามสมควร ประพฤติธรรมะจริงคอื ประพฤติแตค่ วามถูกตอ้ งจรงิ ไดผ้ ลจริง เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อ่ืน ช่วยเหลือผู้อ่ืน ท้ังทางวัตถุและทั้งทางธรรมะหรือทาง จติ ใจ สร้างบ้านสร้างเมือง สรา้ งโลกใหม้ ีความสขุ ตอ้ งท�ำอย่างนี้ ไม่ว่าท่ีไหน ไม่ ว่าชาติไหน ภาษาไหน ถอื ศาสนาอะไรก็ตาม ถา้ จะชว่ ยสรา้ งโลกกนั จรงิ ๆ แลว้ กต็ อ้ งท�ำ อยา่ งนคี้ อื รธู้ รรมะหรอื ศาสนา แล้วกป็ ฏิบัติ แลว้ ก็ไดผ้ ล แล้วก็สอนต่อๆ กนั ไป การทเ่ี รามาพบกันบา้ งอย่างน้ี มันกด็ จี ะไดป้ รึกษาหารือ เพราะว่ามันก็เปน็ เรือ่ งท่ลี ึกหรือยากอยู่สกั หน่อย ถา้ ไม่พบปะปรึกษาหารือ มันก็ไม่ค่อยจะเข้าใจ พระพุทธเจ้าท่านจึงวางหลักไว้ว่า ให้คบหาสัตบุรุษ คือผู้ที่มีคุณธรรม ให้น่ังใกล้สัตบุรุษจะเป็นโอกาสให้ได้ยิน ได้ฟัง เม่ือได้ยินได้ฟังแล้วก็ไปใคร่ครวญ เห็นว่าเป็นประโยชน์แล้วก็ปฏิบัติ ตาม กไ็ ดร้ บั ผลเปน็ ความสขุ แลว้ กอ็ าจจะสอนผอู้ น่ื ได้ ทกุ คนท�ำ อยา่ งนี้ มนษุ ย์ นีก้ เ็ ป็นมนษุ ย์แนค่ อื มจี ิตใจสูง อยเู่ หนือกิเลส เหนือความทกุ ข์ เหนอื ปญั หา โดย ประการทงั้ ปวง เอาละ, เป็นอันว่า แม้ว่านานๆ เราจะมาพบกันทีหนึ่ง และเวลามันก็ จำ�กดั มันมีน้อย แต่เรากจ็ ะพยายามใหด้ ที สี่ ุด ทีจ่ ะใช้เวลาอนั น้อยนี้ ทำ�ความ เขา้ ใจกันให้มาก ใหล้ ึก ไม่ใชจ่ ะตอ้ งพูดกนั ทุกวนั ๆ จนตลอดชีวติ พูดกนั ครั้ง เดียว ถ้าเข้าใจแล้วก็ใช้ได้จนตลอดชีวิต ฉะนั้นขอให้สนใจ ขอให้ฟังให้ดี ให้ เขา้ ใจ แลว้ มนั กจ็ ะใชไ้ ปได้ ใชป้ ฏบิ ตั ไิ ปไดจ้ นตลอดชวี ติ แลว้ มนั ยงั มอี กี วเิ ศษทว่ี า่ ชีวติ นน้ั มนั จะคอ่ ยรู้และค่อยสอนของมันเอง

95ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ ชีวิตนั้นจะเป็นการศึกษาในตัวมันเอง จะเป็นครูในตัวมันเอง จะ เป็นการสอบไล่ในตวั มันเองน้ี ถา้ คิดดำ�เนินชีวติ ถูกตอ้ ง มนั กน็ า่ ปล้มื ใจ ชวี ติ นี้ มนั เปน็ ของมคี า่ อยา่ งนี้ มนั เปน็ การศกึ ษาอยใู่ นตวั ชวี ติ เปน็ การสอนอยใู่ นตวั ชวี ติ ท�ำ อะไรมนั กส็ อนใหเ้ อง รู้ย่งิ ๆ ขน้ึ ไปในสง่ิ น้นั แล้วมันก็สอบไล่ดูเองว่าคนนี้มัน มคี วามรพู้ อหรอื ไม่ ถา้ มนั มคี วามทกุ ขอ์ ยกู่ แ็ สดงวา่ ความรมู้ นั ไมพ่ อมนั ตอ้ งศกึ ษา ตอ่ ไปอกี มาก ถา้ มนั อยอู่ ยา่ งไม่มคี วามทุกขเ์ ลยมนั กบ็ อกน่ีสอบไลไ่ ด้ สอบไล่ได้ มันใชไ้ ด้ มนั อยู่อยา่ งไม่มคี วามทุกข์ เพราะฉะนัน้ ทุกคนอย่าทำ�เลน่ กบั สง่ิ เหลา่ นี้ อยา่ ประมาทกบั สิง่ เหล่านี้ พยายามจดั ใหม้ นั เปน็ ชวี ติ ทม่ี ปี ระโยชนท์ กุ เวลานาทเี ลย ใหเ้ ปน็ ชวี ติ ทม่ี ปี ระโยชน์ ทกุ เวลานาที อย่าเอามนั ไปใชเ้ ลวๆ ในการทำ�อบายมุข แม้แต่สูบบุหรี่ก็เป็นเรื่องทำ�ลายความดี นี่กล้าพูดว่าแม้แต่สูบบุหรี่ก็ เป็นการท�ำ ลายความดขี องมนุษย์คนน้นั คือมนั ท�ำ ใหโ้ ง่ แล้วก็มนั ทำ�ใหเ้ สียเวลา มันทำ�ให้เกิดโรค มันทำ�ให้เปลืองสตางค์ท่ีไปซ้ือเอามา มันไม่มีอะไรที่เป็นฝ่าย บวกหรอื ฝ่ายดี มนั มีแต่ฝา่ ยลบ ปอดมนั อยู่ดีๆ เอาควันไฟไปรม นค่ี ิดดูเถิด ของ มนั อยดู่ ีๆ เอาควนั ไฟไปรมมนั มนั จะเปน็ อยา่ งไร มันก็ตอ้ งวินาศฉบิ หาย นีป่ อด มันอยู่ดีๆ เอาควนั บหุ ร่เี ขา้ ไปรม มนั กต็ ้องเสียเรว็ แล้วมันก็ต้องมีโรคภัยไขเ้ จบ็ ในอนาคต เพราะฉะน้ันอย่าเห็นเป็นส่ิงเล็กน้อยเลย แล้วมันก็มีสิ่งท่ีใหญ่โตกว่าน้ี อีกมาก เพราะฉะนั้นเราจะต้องควบคุมให้ได้ ประพฤติให้ถูกต้อง ส่ิงท่ีไม่เป็น

96 ธรรมะคือหน้าท่ี ประโยชนม์ นั ใหโ้ ทษมนั ตอ้ งท�ำ ดว้ ยความโงเ่ ขลาอยา่ ท�ำ เลย อยา่ ท�ำ เลย เปน็ พทุ ธ- บรษิ ัท แปลว่า ผรู้ ู้ ผตู้ ่ืน ผเู้ บิกบาน เปน็ ผู้ลมื หู ลืมตา เหน็ อะไรถกู ต้องตามที่ เป็นจริง เหมือนพระพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้ส่ิงทั้งหลายทั้งปวงถูกต้องตามท่ีเป็นจริง ด้วยพระองคเ์ อง เรากเ็ ป็นสาวกของท่าน ร้จู กั สงิ่ ท้งั หลายทั้งปวงใหถ้ ูกต้องตาม ทเี่ ปน็ จรงิ แลว้ กด็ �ำ เนนิ อยแู่ ตใ่ นทางทเ่ี ปน็ จรงิ คอื มนั ถกู ตอ้ ง มนั กม็ แี ตเ่ จรญิ โดย ส่วนเดยี ว จะเจรญิ ขึ้นมาตามล�ำ ดับๆ จนถึงทีส่ ุดในการบรรลุมรรคผลนพิ พาน เป็นอันว่า เราต้องไต่บนั ไดธรรมะ จากตำ่� ข้ึนมาๆ จนถึงขนั้ สูงสุดของ มนุษย์ อย่เู หนือความทกุ ขท์ งั้ ปวง มีสงิ่ สง่ิ เดียวทจี่ ะตอ้ งท�ำคอื ธรรมะ คือเรียน ธรรมะ คอื ปฏบิ ตั ธิ รรมะ ไดผ้ ลของธรรมะ แลว้ กส็ ง่ั สอนเพอ่ื นมนษุ ยข์ องเราตอ่ ๆ กนั ไปคอื แจกธรรมะ เหมือนกับท�ำนาได้ข้าวกินพอแล้ว เหลอื ไปแจกผอู้ ื่น เดยี๋ วนพ้ี ระเณร เราก็เรียนธรรมะ ประพฤติธรรมะ ปฏบิ ัติธรรมะ ได้ผล ของธรรมะ เหลอื กแ็ จกผู้อืน่ ธรรมะน้ีไมร่ ้จู กั หมดจกั ส้ิน ยิง่ แจก ยิง่ มาก ย่ิงแจก ยิ่งมาก มันกจ็ ะเต็มไปในโลก เดยี๋ วนโ้ี ลกมนั ขาดธรรมะ มนั จงึ อยใู่ นสภาพทไี่ มม่ คี วามสงบสขุ เลย กเิ ลส ครอบง�ำ แลว้ มนั กไ็ ปท�ำ ตรงกนั ขา้ มหมด อยา่ งทพี่ วกอนั ธพาลทง้ั หลายเขาท�ำ กนั อยู่ พลอยเดอื ดร้อนกนั ทง้ั บา้ นทงั้ เมอื ง เพราะมนั ไมม่ ีธรรมะ เพราะฉะนน้ั ชว่ ยกนั ดแู ลอบรมสงั่ สอนลกู หลานใหด้ ๆี ใหเ้ ขามธี รรมะ ลกู หลานของเราอยา่ ตอ้ งเปน็ อนั ธพาลเลย ใหต้ ง้ั จติ อธษิ ฐานตอ่ สใู้ หเ้ ตม็ ท่ี ลกู หลาน

97ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ของเราอย่าเป็นอันธพาลเลย ลูกศษิ ย์ของเราอย่าเป็นอนั ธพาลเลย ต้ังใจให้ตอ่ สู้ กันไวอ้ ยา่ งเต็มที่อยา่ งน้ี เราก็จะได้ชือ่ ว่าเปน็ พทุ ธบริษัทของพระสมั มาสมั พทุ ธ- เจ้าที่ดี สบื อายพุ ระศาสนาไวไ้ ด้ ศาสนาน้ยี ังอยู่เพราะพทุ ธบรษิ ทั สืบไว้เปน็ อย่าง ดี ถา้ มนั จะสูญไปกเ็ พราะเราไมช่ ว่ ยกนั สืบไว ้ วธิ ที �ำ ลายพระพทุ ธศาสนาอยา่ ง รวดเรว็ คือสอนให้ผิดๆ สอนให้มนั ผิดๆ ไปเสียหมด เดี๋ยวพทุ ธศาสนามันกห็ มด หมดไม่มเี หลอื การท่จี ะทำ�ลายพุทธศาสนามนั เปน็ อย่างนั้นไมย่ าก เพราะฉะนนั้ จงระมดั ระวงั ให้ดี ใหม้ ีความถกู ต้องในการศึกษาก็ถกู ต้อง การปฏิบัติก็ถูกตอ้ ง หวังผลในการปฏบิ ตั กิ ็ถกู ตอ้ ง สอนกันตอ่ ๆ ไปก็สอนใหม้ นั ถูกต้อง ก็มแี ต่ความถูกต้องคือธรรมะ มนษุ ย์ก็เป็นมนษุ ยไ์ ดจ้ ริง มีความสงู ทาง จติ ใจไดจ้ รงิ น้ีเรื่องที่ผมมีอยู่หรือนึกคิดอยู่ทั้งวันท้ังคืนก็คือเร่ืองน้ี วันนี้ก็มีโอกาส ระบายออกมา ในเมอ่ื ทา่ นทง้ั หลายมา จงึ ขอแสดงความยนิ ดีว่ามาแลว้ กพ็ บกัน เพอ่ื ระบายความรสู้ กึ ความตอ้ งการ ความประสงค์ หรอื วา่ สงิ่ ทเี่ ราควรจะกระท�ำ ชว่ ยกันกระทำ�ขน้ึ ในโลกหรือวา่ ในพระศาสนาน้ี ขอให้เราได้พบกันในลักษณะน้ีบ่อยๆ แล้วขอให้เราได้เอาไปประพฤติ กระท�ำ ให้ส�ำ เร็จประโยชน์ ตามที่เราไดศ้ ึกษา ไดย้ ิน ไดฟ้ งั มา ให้มีแตค่ วามเจรญิ งอกงามก้าวหนา้ ตามทางของพระธรรมอย่ทู ง้ั วนั ท้ังคนื

98 ธรรมะคือหน้าที่ ขอตง้ั จิตอธษิ ฐานวา่ ท่านท้ังหลายทกุ ท่านจงมีความเชอ่ื ทถี่ ูกตอ้ ง และ มีความกล้าหาญอย่างย่ิงยวด ในการท่ีจะประพฤติจะกระท�ำไปตามความเชื่อท่ี ถูกตอ้ ง แม้ยงั จะล�ำบากต้องอดกล้นั อดทนจนน�ำ้ ตาไหลกต็ อ้ งท�ำให้มนั ได้ จะไม่ ยอมทอดทิ้งไป ในท่ีสุดก็จะส�ำเร็จตามความปรารถนา มีความสุข ความเจริญ งอกงามก้าวหนา้ อยู่ทุกทพิ าราตรีกาลเทอญ.

เอกสารจดหมายเหตพุ ทุ ธทาส อินทปัญโญ. รวมภาพวาดลายเสน้ และค�ำ กลอน. (พ.ศ.2472-2496). BIA 5.2/1 (2/2) กลอ่ ง 1. หน้า 338.

ธรรมบรรยายเรอื่ ง มรรคมอี งค์แปด (สัมมาทิฏฐ)ิ ในการประชมุ ทางวิชาการโครงการพฒั นากิจกรรม การเรียนการสอนจริยศึกษา (ส�ำ นักงานการประถมศกึ ษาแหง่ ชาต)ิ ณ สวนโมกขพลาราม จ.สุราษฎร์ธานี วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ผูถ้ อดคำ�บรรยาย คุณรชั นกี ร ลาภวณชิ ชา ผู้ตรวจทาน คณุ มยุรตั น์ รกั เกียรต์ิ

99ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ มรรคมอี งคแ์ ปด (สัมมาทฏิ ฐิ) ในการบรรยายครั้งที่สามนี้ จะได้วินิจฉัยกันเฉพาะหัวข้อที่เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ และจะอธิบายชนิดท่ีเป็นตัวอย่างสำ�หรับเทียบเคียงหัวข้ออ่ืนๆ ได้ ดว้ ยตนเอง ขอใหท้ �ำ ความเขา้ ใจเปน็ พเิ ศษในหวั ขอ้ น้ี ซง่ึ จะเปน็ ตวั อยา่ งแหง่ ทกุ ๆ ขอ้ เราไดพ้ ดู กนั ถงึ เรอื่ งอรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด สรปุ ความวา่ เปน็ ทางทตี่ อ้ งเดนิ คอื ประพฤตใิ หถ้ กู ตอ้ งในองคน์ นั้ ๆ องคแ์ รกสดุ เรยี กวา่ “สมั มาทฏิ ฐ”ิ สมั มาทฏิ ฐิ ท่านเปรียบอุปมาไว้ซ่ึงเป็นการง่ายแก่ความเข้าใจในการท่ีแสดงว่า ถ้าเรามี “ทฏิ ฐ”ิ คอื “ความเหน็ ” ถกู ตอ้ งแลว้ จะไมม่ อี ะไรตดิ ขดั มนั จะส�ำ เรจ็ ยงิ่ กวา่ ครง่ึ กไ็ ด้ เพยี งแต่มี “ทฏิ ฐิอนั ถกู ตอ้ ง” ในเร่ืองทจ่ี ะกระทำ�นน้ั ๆ ขอ้ ประพฤติตา่ งๆ หรือองค์ท่ีเหลือนั้น มันอยู่ภายใต้การนำ�ของสัมมาทิฏฐิ ท่านจึงเปรียบอุปมา สมั มาทฏิ ฐวิ า่ เหมอื นกนั กบั “รงุ่ อรณุ แหง่ ธรรมทง้ั ปวง” รงุ่ อรณุ แหง่ ธรรมทงั้ ปวง มชี ่อื ว่าอย่างน ้ี ถา้ มีสมั มาทฏิ ฐิแลว้ ก็จะดึงเอาธรรมท้งั ปวงมาไดเ้ ป็นแถวเป็น

100 ธรรมะคือหน้าท่ี หางไปเลย และมีความหมายว่า เป็นนิมิตหมายอันแสดงให้รู้ว่าจะมี การกระท�ำ ทถี่ ูกต้องเต็มรปู แบบเกดิ ขน้ึ เพราะรงุ่ อรุณแหง่ ธรรมะนน้ั ทนี ถ้ี า้ จะเปรยี บกบั อยา่ งอน่ื กย็ งั ได้ จะเปรยี บเหมอื นกบั วา่ เปน็ มคั คเุ ทศก์ มคั คเุ ทศกค์ อื คนน�ำ ทาง ไดค้ นน�ำ ทางทด่ี ี ทจี่ รงิ ทถ่ี กู ตอ้ ง การเดนิ ทางนนั้ กส็ �ำ เรจ็ ประโยชน์ เรามองเห็นความจำ�เป็นของคนนำ�ทางในที่ที่ไม่เคยไป ในข้อนี้ก็ เหมอื นกนั ถา้ มีสัมมาทฏิ ฐิข้ึนมาได้ในเร่ืองนัน้ ๆ แลว้ กไ็ ม่มีปัญหา หรือจะเปรียบ อกี อยา่ งหนึ่ง กเ็ ปรียบกนั ได้กับแผนที่ เมือ่ จะไปท่ีไหน เดินเรือหรืออะไรเขากม็ ี แผนที่ รู้อย่างทั่วถึงในเขตในถ่นิ ที่จะไป สัมมาทิฏฐิก็มีลักษณะเหมือนอย่างนั้น หรือเปรียบอีกอย่างหน่ึงเข็มทิศ เข็มทิศที่ใช้ประกอบกันกับแผนท่ี มันก็จะชี้ ทศิ ทางหรอื ชว่ ยใหก้ �ำ หนดทศิ ทางได้ ฉะนนั้ ทา่ นจงึ ถอื วา่ เปน็ ธรรมะรวบยอดดว้ ย ดังบาลีท่ีว่า “บุคคลจะล่วงพ้นความทุกข์ท้ังปวงได้ เพราะสมาทานสัมมา- ทฏิ ฐ”ิ จะตอ้ งเนน้ ไวใ้ หผ้ ศู้ กึ ษามองเหน็ คณุ คา่ ของสมั มาทฏิ ฐใิ หเ้ พยี งพอ จนเกดิ มคี วามสนใจความพอใจทีจ่ ะสร้างสมั มาทฏิ ฐิในเบ้ืองต้น กม็ ีสมั มาทฏิ ฐิเป็นหลกั ถือไว้เป็นอยา่ งดี ไมใ่ ช่ถืออย่างยึดม่ันถอื ม่นั แตถ่ อื ดว้ ยการ “สมาทาน” คือ การ มี การใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทนี กี้ จ็ ะพดู กนั ถงึ ค�ำแตล่ ะค�ำ ค�ำแรกกค็ อื ค�ำวา่ “ทฏิ ฐ”ิ ค�ำวา่ ทฏิ ฐิ ทฏิ ฐิ นก้ี ถ็ อดรปู มาโดยตรงจากบาลี เปน็ การเหน็ เพราะการดดู ว้ ยปญั ญา สมั ผสั ลงไป จริงๆ ในสงิ่ นั้นๆ เป็น “ความเห็น” ไมใ่ ช่ “ความคดิ เห็น” หรอื จะเปรยี บเทียบ กับว่าไมใ่ ช่ opinion ไม่ใช่ opinion แตว่ า่ เป็น view, view คอื ส่ิงที่มองลงไป

101ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ตรงๆ เหน็ ตามท่เี ป็นจรงิ ถา้ เปน็ ความเห็น ความเห็นอย่างค�ำวา่ opinion น้นั เป็นเร่ืองคาดคะเนโดยไม่ต้องเห็นตัวจริง ของจริงน้ันก็ได้ เรียกว่าสัมผัสด้วยใจ แล้วก็เห็นส่ิงนั้นตามที่เป็นจริง ไม่มีทางที่จะผิดพลาด แต่ก็ต้องปรับปรุง ตระเตรยี มอะไรมากเหมอื นกนั ตระเตรยี มจติ ใจ ใหเ้ หมาะทจ่ี ะมสี มั มาทฏิ ฐิ แลว้ กเ็ จริญสมั มาทิฏฐ ิ จงึ จะเกิดการเห็นอย่างถกู ต้อง โดยการสัมผัสดว้ ยใจ ถา้ จะ เปรยี บความหมายทม่ี นี ำ้� หนกั มากนอ้ ยของถอ้ ยค�ำเหลา่ นี้ กอ็ ยากจะขอใหส้ งั เกต ค�ำตามล�ำดับ “ความร”ู้ ค�ำ แรก “ความเขา้ ใจ” ค�ำ ถดั มา “ความเหน็ แจง้ ” ค�ำ สดุ ทา้ ย ความรู้น้ัน เพียงแต่ไดฟ้ งั แล้วจำ�ไวไ้ ด้ ก็เป็นความรูแ้ ลว้ มนั เปน็ แต่ความรู้ ถา้ เอาความรนู้ น้ั มาคดิ ดว้ ยเหตผุ ล ตามหลกั แหง่ วธิ คี ดิ มเี หตผุ ล กเ็ ขา้ ใจ กเ็ กดิ ความ เขา้ ใจ แตค่ วามเหน็ แจง้ ไมใ่ ชอ่ ยา่ งนนั้ ตอ้ งเปน็ การสมั ผสั ดว้ ยใจ เหมอื นอยา่ งเรา รสู้ กึ ตอ่ กเิ ลส เพราะเราเคยเกดิ กเิ ลส กร็ สู้ กึ ตอ่ กเิ ลส สมั ผสั กเิ ลสนน้ั ดว้ ยใจ กร็ จู้ กั กเิ ลสด ี แต่ถ้าเพียงบอกกันให้รู้ มนั กไ็ ม่เห็นกิเลส หรอื ถา้ จะคิดเอา คำ�นวณเอา วา่ กเิ ลสคงจะเป็นอยา่ งน้ันๆ ก็ไม่เห็นกเิ ลส แตถ่ ้าดลู งไปท่ีกิเลสทม่ี อี ยู่จรงิ หรอื เคยมอี ยจู่ ริง มันก็ “เหน็ ” คำ�ว่าเห็น หมายถึงอันนี ้ ความรูน้ นั้ ผวิ ผวิ มาก ความ เข้าใจ ลกึ เข้าไปหนอ่ ย ความเห็นแจง้ หรอื ทเี่ รยี กสมั ผสั ดว้ ยใจนีถ้ ึงขีดสดุ ทนี มี้ นั กอ็ อกมาเปน็ ความเชอ่ื เรารเู้ ทา่ ไรเราเชอ่ื เทา่ นน้ั เราเหน็ เทา่ ไรเรา เช่ือเท่าน้นั เราเห็นแจง้ เทา่ ไรเราก็เชอื่ เท่าน้นั ดังนนั้ สิ่งท่ีเรียกว่า “ความเชื่อ” น้ี รวมเข้าไว้ในค�ำ ว่าทฏิ ฐดิ ้วย เพราะความเช่ือมันไปตามทฏิ ฐิ เราจงึ รวบหมดเลย ว่าความรู้ ความเขา้ ใจ ความเหน็ แจง้ และความเชอ่ื นเ้ี ป็นทิฏฐิตามล�ำ ดบั ๆ แต่

102 ธรรมะคอื หน้าท่ี ที่เป็นตวั จุดส�ำ คัญทีส่ ดุ กค็ ือ “ความเหน็ แจง้ ” นน่ั เอง ความรคู้ วามเข้าใจนนั้ ไม่ ถึงขนาดทีจ่ ะเรียกวา่ ความเห็นแจง้ ในที่น ี้ ทนี กี้ ด็ สู งิ่ ทเี่ หน็ สงิ่ ทถ่ี กู เหน็ สงิ่ ทถี่ กู เหน็ กต็ ามหลกั อรยิ สจั ๔ นนั่ เอง เหน็ ทกุ ขว์ า่ เปน็ อยา่ งไร เหน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ขว์ า่ เปน็ อยา่ งไร ความดบั ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งไร ทางใหถ้ ึงความดับทกุ ข์เป็นอย่างไร ก็อยา่ งเดียวกันอีกท่จี ะต้องเหน็ ดว้ ยใจ เห็น ดว้ ยใจ การสอนอรยิ สจั เดก็ ในหอ้ งเรยี น เพยี งแตก่ ารบอกใหจ้ ดๆ ไวน้ น้ั ไมส่ �ำ เรจ็ ประโยชน์ จะต้องรูส้ ึกตอ่ ความทุกขท์ เี่ กดิ ข้นึ จรงิ ๆ นีถ่ งึ จะเรยี กวา่ “เห็นความ ทกุ ข์” แลว้ ใคร่ครวญจนพบว่ามันมี “เหต”ุ อะไรจึงไดม้ ีความทกุ ข์อยา่ งนี้ อยู่ใน เวลานี้ มนั มเี หตุจงึ คน้ ได้ สำ�หรับ “ความดับทุกข”์ น้ันมนั กต็ รงกันข้าม เมอ่ื รูจ้ ักวา่ ความทุกขเ์ ปน็ อย่างนๆี้ และความดับทกุ ขก์ ค็ ือตรงกันข้าม คอื ไม่มีความ เปน็ อยา่ งน้ี และเพราะวา่ ดบั เหตแุ หง่ ความทกุ ขไ์ ปได้ ความดบั ทกุ ขจ์ งึ เปน็ อยา่ ง เดยี วกนั ดบั เหตแุ หง่ ความทกุ ข์ ทนี ี้ “หนทาง” หนทางแหง่ การปฏบิ ตั เิ พอื่ จะดบั เหตแุ หง่ ความทกุ ขไ์ ปได้ กม็ อี ยู่คอื อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ น้เี อง สัมมาทิฏฐิอย่างนี้กล่าวไว้ในพระบาลี เป็นสัมมาทิฏฐิท่ีประสงค์ สำ�หรบั การกา้ วหนา้ ไปสพู่ ระนพิ พาน แม้จะไมเ่ ล็งถงึ นพิ พาน กเ็ ลง็ ถึงความ ดบั ทกุ ขท์ ร่ี องๆ ลงมา ถา้ จะแจกโดยละเอยี ดกก็ ลายเปน็ เรอื่ ง “ปฏจิ จสมปุ บาท” หนงั สอื ปฏจิ จสมปุ บาทกม็ อี ยแู่ พรห่ ลาย หามาตรวจดแู ตล่ ะขอ้ ๆ ๑๒ ขอ้ ๑๒ ขน้ั หรอื ๑๒ ห่วง ก็จะเหน็ อรยิ สัจ ชนดิ ทเ่ี ป็นสมั มาทิฏฐิย่ิงข้นึ ไป ถา้ อยา่ งธรรมดา ก็เหน็ เพยี งอริยสัจ ๔ ถ้าอย่างเตม็ ทพี่ ิเศษกเ็ หน็ โดยปฏิจจสมปุ บาท สำ�รวจเอา จากหนังสือเรอ่ื งปฏจิ จสมุปบาท

103ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ ทนี ยี้ งั มที างทจ่ี ะเหน็ อยา่ งอนื่ อกี ซง่ึ จะสะดวก หรอื ไมย่ ดื ยาวไมต่ อ้ งฉลาด มาก ไม่ต้องยุ่งยากมากก็ยังมี คือเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เห็นความ เปลย่ี นแปลงของสงั ขาร เหน็ ความทนยาก คงตวั อยไู่ ดย้ ากของสงั ขาร เหน็ ความ ที่ไม่ใช่ตน ไม่ควรจะถือว่าเป็นตัวตนของสังขาร ท่ีเรียกว่าเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนตั ตา กต็ อ้ งดทู ต่ี วั จรงิ อกี เหมอื นกนั เรากส็ อนกนั ในโรงเรยี น แลว้ กม็ คี �ำ อธบิ าย เยอะแยะ แลว้ มนั ไมส่ �ำ เรจ็ ประโยชน ์ ตอ้ งมาท�ำ จติ ใหเ้ หมาะสมคอื เปน็ สมาธแิ ม้ ไมส่ มบรู ณ์ กเ็ ปน็ สมาธเิ พยี งพอ จติ ชนดิ นก้ี ว็ อ่ งไวเฉยี บแหลมพอทจี่ ะสงั เกตเหน็ อะไรตา่ งๆ ได้ เชน่ มองเขา้ ไปในตวั เองกเ็ ห็นความเปลี่ยนแปลงของแต่ละสว่ นๆ ของรา่ งกาย และแมท้ เี่ ปน็ ความรู้สกึ ความรูส้ กึ พอใจ ไม่พอใจ ความสขุ ความ ทกุ ข์ ก�ำ หนดดูเรอื่ ยไป จะเห็นความเปลย่ี นแปลง เปลี่ยนแปลงไปจนกวา่ จะดบั ดับแล้วก็จะเกิดใหม่อย่างอื่นสืบต่อกันไป อย่างน้ีเรียกว่าเห็นความไม่เที่ยงของ ส่งิ ทม่ี เี หตปุ ัจจยั หลายอยา่ งประกอบกนั เข้าทีเ่ รยี กวา่ สงั ขาร สงั ขาร แปลวา่ ปรงุ เม่ือพูดวา่ ปรงุ มนั กต็ ้องหมายถงึ มขี องหลายอย่าง จึงจะเป็นการปรงุ เห็นอนจิ จัง แล้วก็เป็นเหตใุ ห้เห็นทุกขังไดโ้ ดยไมย่ าก ทุกขัง สงั ขารทมี่ ชี วี ติ จติ ใจมนั กร็ สู้ กึ เปน็ ทกุ ขไ์ ดด้ ว้ ยตวั ของมนั เอง สงั ขารทไี่ มม่ ชี วี ติ จติ ใจ เหมือนก้อนหินอยา่ งน้ี ผ้ดู ูจะต้องดูในลักษณะวา่ มันก็มีความเปล่ยี นแปลง และ มนั กท็ นอยไู่ ปไมไ่ ดอ้ ยา่ งน้ี มนั จะตอ้ งเปน็ อยา่ งอนื่ แตว่ า่ ไมค่ วรจะยดึ ถอื โดยความ เปน็ ตวั ตนเหมอื นกันทัง้ น้นั เร่ืองไม่ยึดถือว่าอะไรเป็นตัวตนนี้ส�ำคัญ คือเป็นตัวเรื่องท้ังหมดของ พระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นอนัตตวาที มีวาทะว่า ไม่ใช่ตน เห็นอนิจจัง ทุกขัง

104 ธรรมะคือหน้าท่ี อนัตตา ก็เรียกว่ามีสัมมาทิฏฐิ ทีน้ียังมีอีกสองค�ำ ท่ีมีน�้ำหนักมากคือ เห็น “สุญญตา” ถา้ เหน็ อนิจจงั ทกุ ขงั อนัตตาเพียงพอแล้ว ก็เห็นสุญญตา รวม กนั เปน็ สญุ ญตาคือวา่ ง จากตัวตน ว่างจากความหมายแห่งตวั ตน หรือไมม่ ีสิ่งที่ ควรจะเรียกว่าตวั ตน ภายนอกกด็ ี ภายในก็ดี ทีไ่ หนๆ ก็ดี ไม่มสี ง่ิ ท่ีควรเรียกวา่ ตวั ตน แมพ้ ระนพิ พานอนั สงู สดุ กเ็ ปน็ ตวั ตนไมไ่ ด้ กค็ งเปน็ พระนพิ พานเทา่ นนั้ แมว้ ่าจะไมเ่ ปล่ยี นแปลง หรือจะไม่ท�ำใหเ้ กดิ ทกุ ข์ เป็นทส่ี ้ินสุดแหง่ ความทกุ ข์ ถา้ ศกึ ษาเรือ่ งจิตปรงุ แตง่ กนั อย่างไร กเิ ลสเกิดขนึ้ อยา่ งไรใหเ้ ห็นชัดแล้ว กจ็ ะเหน็ วา่ มันไม่มตี วั ตน มนั เปน็ ส่วนประกอบหลายสว่ น ประกอบกันเขา้ แลว้ ก็ สำ�เร็จรูปเป็นอะไรอย่างหนึ่ง เหมือนอย่างนาฬิกาเรือนหน่ึง ประกอบด้วยส่วน หลายส่วน สำ�เร็จถูกต้องในการประกอบแล้ว มันเดินได้ มันกระดุกกระดิกได้ เหมือนกับวา่ เปน็ ตวั ตน เป็นชีวิต เชน่ เดยี วกนั ไมว่ ่าร่างกายนจ้ี ะมสี ่วนประกอบ ของรา่ งกายครบถว้ นทกุ ๆ ระบบ มีจติ คดิ นกึ ได้ เคลอื่ นไหวได้ ทำ�อะไรได้ แต่ขอ ให้ดูเหมือนกับว่า เป็นเคร่ืองจักรเคร่ืองหนึ่ง เป็นรถยนต์คันหนึ่ง หรือว่าเป็น เครอื่ งจักรอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึง่ มันกระดุกกระดกิ ไดเ้ คล่ือนไหวได้ ดูคลา้ ยกับมี ชีวติ การเห็นสุญญตานเ้ี ป็นสัมมาทิฏฐิอย่างยง่ิ อีกขอ้ หนึ่งคอื ค�ำ วา่ “ตถาตา” ตถาตาหรือ “ตถตา”กไ็ ด้ ตถาตากไ็ ด้ แปลวา่ ความเปน็ เชน่ น้นั ความเปน็ เชน่ นนั้ ไม่ผดิ ไปจากความเปน็ อย่างนัน้ ไม่ เปน็ โดยประการอนื่ แตเ่ ปน็ “อทิ ปั ปจั จยตา” คอื เพราะมสี ง่ิ น้ี สง่ิ นจ้ี งึ มี เพราะ สิง่ น้มี ี สิง่ นจี้ ึงมี น้ีเรียกว่า เช่นนน้ั เชน่ นนั้ มนั เปน็ เช่นนนั้ คือเชน่ ไหน คือมนั

105ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ เป็นเชน่ ทมี่ นั เปน็ อยู่ เพราะมสี ง่ิ นี้เปน็ ตน้ เหตุจงึ มีสิง่ นี้ หรอื สงิ่ นัน้ กลายเปน็ เหตุ จึงมีสิง่ โนน้ สงิ่ โนน้ กลายเป็นเหตุ แล้วจงึ มสี ิง่ นู้น เรือ่ ยๆๆ ไปอย่างนี้ มนั เปน็ เชน่ นน้ั เอง มคี วามหมายวา่ ไมใ่ ชต่ นรวมอยดู่ ว้ ย แตค่ วามหมายส�ำ คญั ของคำ�ค�ำ นคี้ อื ใหเ้ หน็ ว่า มันเปน็ เชน่ นน้ั เอง อยา่ ไปหลงรัก อย่าไปหลงโกรธ หลงเกลยี ด หลง กลวั หลงอะไรทกุ อย่าง ถา้ เราไม่รู้ว่ามนั เปน็ เชน่ นั้นเอง เด๋ียวก็ไปรกั สงิ่ ทดี่ นู า่ รกั ไปโกรธทน่ี า่ โกรธ ไปเกลยี ดท่ีนา่ เกลยี ด แล้วก็ไปกลวั ทีน่ า่ กลัว นคี้ ือคนธรรมดา เรายังไม่เห็น “ตถตา” ทีเ่ พยี งพอ กเ็ ลยมีปญั หาเรื่องความรกั โกรธ เกลียด กลัว ทนี เ้ี หน็ ทไี่ หน นซ้ี ง่ึ จะตอ้ งร�ำ ลกึ กนั ไวต้ ลอดเวลาวา่ “เหน็ ทตี่ วั จรงิ ” เหน็ ทตี่ ัวจริง เป็นการเหน็ แบบ “สนั ทิฏฐิโก” เห็นทต่ี ัวจรงิ ทจี่ ติ สมั ผัสอยู่ เป็นความ รู้สึกเม่ือไดผ้ ่านสงิ่ นน้ั ๆ ด้วยจติ ใจ มคี วามเจนจัดหรือความอะไรแลว้ แต่จะเรยี ก เห็นภาษาฝรั่งที่เขาใช้กันอยู่เขาเรียกมันว่า Spiritual Experience คือ Experience ทางวญิ ญาณ Spiritual Experience สงิ่ นม้ี นั ตอ้ งผา่ นไปจงึ จะรจู้ กั อย่างเช่นว่าเราเคยผ่านความทุกข์ เคยผ่านความสุข เคยผ่านกำ�ไร เคยผ่าน ขาดทนุ เคยผ่านการแพ้ ผ่านการชนะมาแลว้ เป็นตน้ แลว้ เรากร็ ู้จกั สง่ิ นัน้ ๆ ดี อย่างนเ้ี ราเรยี กวา่ มี Experience ด้านนามธรรม ฝ่ายนามธรรม หรือฝา่ ยจติ ใจ เห็นท่ีนนั่ ทนี ้ี ทเี่ รียกวา่ เห็นโดยชอบ สมั มาทิฏฐิ แปลว่าเหน็ สัมมา แปลวา่ โดย ชอบ เหน็ ชอบ เหน็ โดยชอบน้ี กม็ ีปญั หานดิ หน่อย คือว่าในทางตรรกะ หรือทาง Philosophy เขาก็บญั ญัตถิ อ้ ยคำ�เหลา่ นเ้ี หมือนกันว่า ถกู คืออะไร ผิดคืออะไร ดคี อื อะไร ช่ัวคืออะไร แต่มนั ค่อนขา้ งจะยดื ยาด ดิ้นได้ ไมค่ ่อยจะแนน่ อน ถ้าใน

106 ธรรมะคอื หน้าท่ี ทางพุทธศาสนานี้ ถ้าใชค้ ำ�วา่ ถกู หรือ ถูกต้องละก็ ไมม่ ีปัญหาอะไร คอื จำ�กัด ความหมายใหว้ า่ ไม่ใหเ้ กดิ ทกุ ข์แกผ่ ูใ้ ด ให้คุณแกท่ กุ ฝา่ ย ไม่ให้โทษแก่ผู้ใด แต่ ใหค้ ณุ แกท่ ุกฝา่ ยนน้ั คือถกู ต้อง ถูกตอ้ งไมต่ ้องพูดมาก ไม่ตอ้ งอา้ งเหตุผลอะไร กันให้มากมาย เห็นถูกต้อง เหมือนกับว่าความเห็นน้ันมันมีประโยชน์ไม่ให้เกิด ทุกข์โทษแก่ฝา่ ยใด คือฝา่ ยผูเ้ ห็นหรอื ฝ่ายผู้รว่ มด้วย และกลับมีประโยชน์ คอื ให้ ท�ำ สงิ่ ท่คี วรจะท�ำ ไดต้ ามความตอ้ งการ ทนี ส้ี งิ่ สดุ ทา้ ยกจ็ ะดู คอื อทิ ธพิ ลของการเหน็ เมอื่ มสี มั มาทฏิ ฐิ หรอื ทฏิ ฐิ ท่ีถูกต้องแล้วมันมีอิทธิพลอะไรเกิดขึ้นแก่จิตใจ ข้อน้ีก็มองได้เป็นหลายๆ มุม หลายๆ แง่ เม่อื เห็นสง่ิ ใดอยา่ งแจ่มแจ้ง ก็ทำ�ใหร้ ูจ้ กั สง่ิ น้ันๆ รจู้ กั สิง่ น้นั ๆ ชนดิ ท่ี เป็นความรู้ประจักษ์ เป็นความรู้ที่ประจักษ์ ไม่ใช่สลัว หรือไม่ต้องอาศัยการ ค�ำ นวณอะไรกนั อกี เหน็ โดยชดั เจน จนไมม่ ปี ญั หาอะไรเหลอื ทนี กี้ ท็ �ำ ใหเ้ กดิ การ เปลย่ี นแปลงในระบบของปญั ญา เมอ่ื ยงั ไมเ่ หน็ แจม่ แจง้ มนั กม็ ปี ญั ญาชนดิ ทอ่ งจ�ำ ปัญญาชนิดคำ�นวณ แต่ถ้าเห็นอย่างแจ่มแจ้งแล้วมันก็เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ระบบปญั ญา คอื เปน็ ปญั ญาชนดิ ทเี่ หน็ แจง้ แทงตลอด มนั กลายเปน็ สงู กวา่ ความ รูธ้ รรมดา มนั มคี วามหมายของค�ำ วา่ Realize, Realize ทางฝา่ ยจติ ใจ หรอื กลาย ไปเปน็ ค�ำ ทเี่ รยี กวา่ Wisdom, Wisdom และกเ็ ปน็ ชนดิ ทลี่ ะเอยี ดลกึ ซงึ้ ในภายใน คอื ท่เี รียกว่า Intuitive และประจักษ์เฉพาะตนที่เรยี กว่า Subjective นพ้ี ูดกนั ใหถ้ งึ ทสี่ ดุ ของความเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ เพราะการเหน็ ชอบเปน็ ไปถงึ ทส่ี ดุ ตอ่

107ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ ไปมนั กท็ �ำ ลายความเชอื่ งมงายตามทไ่ี ดส้ ง่ั สมมา เราเกดิ มาจากทอ้ งแม่ ไมไ่ ดเ้ อา ความรู้อะไรมาด้วยเลย ก็คิดนึกไปตามความรู้สึกหรือตามที่เขาแวดล้อมอบรม ให้ มนั ก็มีความเช่อื ทง่ี มงาย เขาหลอกวา่ ยกั ษ์ ก็กลัวยักษ์ เขาหลอกวา่ ผี กก็ ลัว ผี หลอกใหก้ ลัวตกุ๊ แก ก็กลัวตุ๊กแกอย่างน ้ี ความเชื่ออยา่ งน้มี นั เปน็ สิง่ ทห่ี ลกี ไม่ ได้ มันไดก้ ลายเป็นสะสมๆๆ เข้าไว้ เดี๋ยวนี้ได้เรียนรู้มาถึงขนาดน้ี มีสัมมาทิฏฐิก็เลยไม่ต้องกลัวสิ่งเหล่านั้น ไมต่ ้องใหใ้ ครมาหลอกเพอื่ ประโยชน์อยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ได้ แล้วกไ็ ม่เพ่ิมความงม งายใหมๆ่ คอื ความรทู้ างไสยศาสตรใ์ นชนั้ ผใู้ หญ่ ผเู้ ฒา่ ดว้ ยซำ�้ ไปกย็ งั มี กไ็ มต่ กลง ไปในความรงู้ มงายชนิดน้ันด้วยเหมอื นกัน มีสมั มาทิฏฐิท�ำลายความเชื่อ ความ งมงายท่ีส่ังสมมา และป้องกันท่ีจะเกิดข้ึนใหม่ เราเรียกว่าสัมมาทิฏฐิแก้ปัญหา ไดท้ ุกอย่าง จะเรียกว่าความทุกข์ก็ได้ จะเรียกว่าปัญหาก็ได้ เพราะว่ามันเป็น ศัตรูเหมือนๆ กัน ถ้าเรียกว่าปัญหามันก็ท�ำให้เกิดความยุ่งยากล�ำบากเหมือน กัน ความทุกข์ก็ท�ำให้เกิดความทุกข์ทนทรมานเหมือนกัน ต้องกวาดล้างไป ด้วยสัมมาทิฏฐิ เมื่อสัมมาทิฏฐิถูกต้องถึงขนาดอย่างน้ีแล้ว ก็สามารถที่จะน�ำ องคม์ รรคองค์อ่ืนๆ หรือขอ้ ปฏบิ ัติอนื่ ๆ สมั มาทิฏฐจิ ะน�ำไปได้หมด นเี่ ราเรียกว่า อิทธพิ ลของการเห็นดว้ ยสัมมาทิฏฐิมมี ากถึงอยา่ งน ้ี ทีนี้ เราจะน�ำ มาใชเ้ ปน็ หวั ข้อของจรยิ ธรรม เราจะนำ�สมั มาทิฏฐิมาใช้ใน ฐานะเป็นหวั ข้อหรือหวั ข้อย่อยกแ็ ลว้ แต่ ของจรยิ ธรรม ใช้อย่างจรยิ ธรรมในการ ศึกษา ในการปฏิบัติ เราจงึ มองดหู รอื มองหาส่ิงที่มีความหมายแห่งสัมมาทิฏฐิ ดู ความหมายส่ิงท่ีมีความหมายแห่งสัมมาทิฏฐิ ซึ่งในการประชุมคราวก่อน เรา

108 ธรรมะคือหน้าท่ี เลอื กคดั กันได้ ๑๓ หวั ข้อ หวั ข้อย่อย ขอ้ น้กี ็พอจะมองเห็นได้แตล่ ะขอ้ ๆ อาตมา ก็ไม่ตอ้ งอธิบายละเอยี ดลอออะไรนัก ขอขยายความโดยยอ่ ขอ้ ๑ ความมกี ารศกึ ษามากพอ นเี้ ปน็ ตวั บท ความมกี ารศกึ ษามากพอ ค�ำ วา่ “พอ” ก็ “พอแกส่ ถานะของตนของตน” วา่ ตนเปน็ อยา่ งไร มหี นา้ ทอ่ี ยา่ งไร อยใู่ นระดบั ไหน ตอ้ งมคี วามรทู้ เี่ กย่ี วกบั สถานะแหง่ ตนๆ อยา่ งเพยี งพอ ค�ำ วา่ “อย่างเพียงพอ” ก็คอื “เฉพาะเท่าท่ีควรร”ู้ ไมร่ จู้ นเหลือเฟอื จนไมร่ จู้ ะใช้ อะไร จะกลายเปน็ ความร้ทู ่วมหวั ทกุ คนจะม่งุ หมายรู้เทา่ ทีส่ มควรจะรู้ แม้จะใช้ ค�ำ วา่ “จ�ำ เปน็ จะตอ้ งรู”้ ก็ยังได้ ทงั้ นเี้ พือ่ ไม่ให้รไู้ ปเสยี ทุกอย่างๆ จนในทีส่ ดุ ก็ ไม่มีอะไรรู้จริง ต้องเพียงพอแก่สถานะของตน เท่าที่มีหน้าท่ีจะต้องประพฤติ ปฏิบตั อิ ยา่ งไร ขอ้ ๒ การเห็นความจรงิ ของธรรมชาติ ตามหวั ขอ้ ทีพ่ มิ พไ์ วแ้ ล้ว การ เหน็ ความจริงของธรรมชาตนิ ี้ หมายถงึ ธรรมชาตทิ ง้ั สองฝา่ ย ฝา่ ยวตั ถกุ ็ได้ แตท่ ่ี ส�ำ คญั และทต่ี อ้ งการคอื ฝา่ ยจติ ใจ จติ เปน็ อยา่ งไร กเิ ลสเกดิ ขนึ้ อยา่ งไร ความทกุ ข์ เป็นอย่างไร ตามกฎเกณฑ์ของมนั อย่างไร พูดให้สน้ั ๆ ก็ว่า เห็นตามทีส่ ่งิ เหลา่ นน้ั เปลย่ี นแปลงไปตามกฎของ “อทิ ปั ปจั จยตา” เหน็ ความจรงิ ของธรรมชาติ ตอ้ งเห็นอย่างสันทฏิ ฐิโก สนั ทิฏฐิโก ตอ้ งเนน้ คำ�ว่า สนั ทิฏฐิโก ใหม้ ากพอ คือ เห็นด้วยตนเอง เหน็ ซ่ึงตนเอง เหน็ ด้วยตนเอง เห็นเพ่ือตนเอง ความเหน็ อยา่ งน้ี ป้องกันไสยศาสตร์ ถ้าเห็นความจริงของธรรมชาติมันป้องกันการตกไปสู่ ไสยศาสตร์ ซง่ึ ไมใ่ ชค่ วามจรงิ ของธรรมชาติ เปน็ ความจรงิ ชว่ั คราวตามทป่ี ลกุ หรอื ปลกู หรอื อะไรกนั ขน้ึ มาใหเ้ หน็ เปน็ ของขลงั ของศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ นเี้ ปน็ ไสยศาสตร์

109ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ถา้ เปน็ ธรรมชาติ ธรรมชาติ ไมม่ คี �ำ วา่ ขลงั ไมม่ คี �ำ วา่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ถา้ มนั ออกไปนอก แนวของธรรมชาติ มันจึงจะมีคำ�ว่าขลัง หรือศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์เดชปาฏิหาริย์อะไร เกิดข้นึ ขอ้ ที่ ๓ ความรู้สกึ ผิดชอบชว่ั ดมี ีเหตุผล นก้ี เ็ ป็นหลกั ท่วั ๆ ไปที่พูดกัน อยเู่ ป็นประจ�ำ อยใู่ นอำ�นาจแห่งเหตผุ ล ใชเ้ หตุผลเป็นเครอื่ งประกอบการคดิ นกึ พิจารณา หรือแม้แต่ศึกษา ทำ�ให้ไม่มีโอกาสท่ีจะลุอำ�นาจแก่กิเลสคือไม่ผลุน ผลนั ไมส่ ะเพรา่ นนั่ เอง แตล่ ะขอ้ นคี่ รผู สู้ อนจะแยกแยะเอาไดเ้ อง ใหไ้ วแ้ ตใ่ จความ ท่เี ปน็ สงั เขป ข้อ ๔ การรู้จักความถูกต้องหรือพอดี คำ�ว่าถูกต้องแล้วยังมีคำ�ว่า “พอดี” กำ�กับด้วย มนั ถูกต้องเกนิ พอดี มันมากเกนิ ไป หรอื มันถูกเกินไป มนั ก็ จะกลายเปน็ ผดิ รู้จกั ความถูกต้อง หรอื พอดี คำ�วา่ พอดี อธิบายได้ด้วยหมวด ธรรมที่แพร่หลายที่สุดหมวดหนึ่งคือ “สัปปุริสธรรม ๗” เอาข้อความของ สัปปุริสธรรม ๗ มาอธบิ ายค�ำ วา่ “พอด”ี ร้เู หตุ รผู้ ล รู้ตน รปู้ ระมาณ รกู้ าล รบู้ ริษัท รูบ้ คุ คล, รู้เหตุ ร้ผู ล รตู้ น รปู้ ระมาณ รู้กาล รูบ้ รษิ ัท รูบ้ คุ คล วา่ มัน เปน็ อยา่ งไรแลว้ กท็ �ำ ใหพ้ อดแี กส่ งิ่ นนั้ ๆ อาศยั หลกั สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ อธบิ ายขอ้ น้ี หรอื แมท้ ีส่ ดุ แตม่ ัชฌมิ าปฏปิ ทา คือ อรยิ มรรคมีองค์ ๘ ประการนน่ั เอง มี ความถกู ต้องและพอดยี ่งิ กว่าส่ิงใด ทีนี้ ข้อ ๕ มีความเช่ือม่ันในตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเองน้ีเป็น จริยธรรมสากลที่มากันเป็นกลุ่มว่า รู้จักตัวเอง ไว้ใจตัวเอง เชื่อตัวเอง บังคับ

110 ธรรมะคือหน้าที่ ตนเอง เคารพตนเอง ซ่งึ เดย๋ี วนี้ไม่คอ่ ยจะพูดกันเสียแลว้ เพราะวา่ ไปหลงเรื่อง อน่ื เรอื่ งทางจติ ใจทดี่ ๆี แต่เก่าๆ นนั้ ไม่คอ่ ยจะได้ยนิ พูดกนั เสยี แล้ว ความเชอื่ ม่นั ในตนเอง ค�ำ วา่ “มัน่ ” นี้ระวงั หน่อยอย่าให้เป็นยึดม่ัน ถอื มั่น มนั จะกลาย เป็นยึดมน่ั เปน็ ตัวกู ของกู ความเชื่อมนั่ คอื เชื่อความสามารถของตนเอง เพราะว่ารู้จักตัวเอง เด๋ียวนี้ร้จู ักตัวเองแลว้ รูจ้ กั ถงึ กับเคารพตัวเองวา่ ตวั เอง มีค่าๆ ที่จะทำ�เช่นนี้ได้จะมีประโยชน์ที่สุด จึงเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง มี ประโยชน์ทันทคี ือ มคี วามสุขและนอนหลบั สบาย ผูท้ ไี่ มม่ ีความเชอ่ื ม่นั ในตัวเอง จะลำ�บาก แมแ้ ตน่ อนก็หลับไมส่ นิท ทีนี้ ขอ้ ๖ การยอมรบั ความเปลย่ี นแปลง ขอ้ นก้ี ็เป็นธรรมสำ�คัญมาก ยอมรับสภาพเปลี่ยนแปลง เพื่อทำ�ตัวให้เข้ากันไดก้ บั ความเปลีย่ นแปลง ถ้า ไมอ่ ย่างน้นั มนั จะสูญพนั ธุ์ สญู พนั ธ์ุอยา่ งไดโนเสาร์ท่ีเคยเรียน เคยรูก้ นั มาแลว้ ว่าสตั ว์ชนดิ ไดโนเสารส์ ูญพนั ธุ์ไป เพราะไม่รับสภาพการเปลี่ยนแปลง คือรบั ไม่ ได้ หมายถงึ การท�ำ ตัวให้เขา้ กนั ไดก้ ับส่ิงแวดล้อมท่เี ป็นสตั ว์เป็นบคุ คลหรอื แม้ท่ี เป็นธรรมชาติล้วนๆ มีความหมายกวา้ งมาก การยอมรบั ความเปล่ียนแปลงโดย ทางวัตถุ โดยทางร่างกาย โดยทางจิต โดยทางสตปิ ญั ญา เพราะวา่ สง่ิ ทัง้ ปวงมนั ต้องเปลยี่ นแปลง ความเปล่ยี นแปลงมนั เป็น อำ�นาจของธรรมชาติท่ีจะเปล่ียนแปลง เราจะไปหวังอะไรให้ธรรมชาติมัน เที่ยงแท้ มันเป็นไปไม่ได้ แม้แต่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ฤดูกาลต่างๆ ก็ เปล่ียนแปลง มันไม่ได้คงท่ี จึงจะต้องปรับทุกอย่างให้ไม่ต้องเดือดร้อน เพราะ

111ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ความเปลยี่ นแปลง นบั ตง้ั แตว่ า่ พอเราเตบิ โตขน้ึ มาจากเดก็ ทารก เราตอ้ งรบั สภาพ การเปลี่ยนแปลงๆ แล้วก็เปลี่ยนแปลงมาด้วยกันเรื่อย มันมีมาต้ังแต่เป็นทารก ยง่ิ มาเขา้ โรงเรยี น กย็ ง่ิ ตอ้ งรบั สภาพการเปลย่ี นแปลงมากถงึ มากทสี่ ดุ จนกวา่ จะ เรียนจบ ขอ้ ๗ ความรบั ผดิ ชอบ ความรบั ผดิ ชอบเปน็ การยนื ยนั ในความถกู ตอ้ ง ของตน หรอื ว่ารกั ษาเกยี รตขิ องตนไว้ ไมห่ ลกี เลย่ี งความรบั ผดิ ชอบ และอาจ จะมากไปจนถงึ กับวา่ รับผดิ ชอบแทนผทู้ อี่ ยู่ใตบ้ ังคับบญั ชา ผบู้ ังคบั บัญชามกั จะโยนความผดิ ไปให้ผ้อู ยู่ใตบ้ ังคับบัญชารองๆ ลงไป ว่าเพราะเขาท�ำเสยี แต่ถา้ มจี รยิ ธรรมขอ้ นล้ี ะก็ จะยอมเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบแทนลกู นอ้ ง และกร็ บั ผดิ ชอบแทน เพอ่ื นบา้ น รบั ผดิ ชอบแทนเพอื่ นทรี่ ว่ มการงาน เชน่ เราอยใู่ นหมบู่ า้ นน้ี หมบู่ า้ นน้ี เกดิ อะไรขน้ึ ซง่ึ ไมน่ า่ ดู เราซง่ึ อยดู่ ว้ ยคนหนง่ึ ในหมบู่ า้ นนนั้ กย็ อมรบั ผดิ ชอบ ยอม สารภาพว่าเปน็ ความบกพร่อง ให้นำ้� ใจมันกวา้ งถงึ อย่างนใี้ นการทีจ่ ะรบั ผดิ ชอบ รบั ผิดชอบแทนผอู้ ่นื ได้ ยอมรับผิดชอบดว้ ย เปน็ เหตุให้อยกู่ ันอย่างผาสุก อยู่กนั อย่างสะดวกสบาย ขอ้ ๘ ความมนี ำ้� ใจ เปน็ ธรรม ไมล่ �ำเอยี ง นเ้ี หน็ ชดั ไมม่ อี คติ แมเ้ พอื่ ตวั เอง ท่มี อี คติล�ำเอยี งอะไรๆ เพอื่ ตวั เองนั้น ทจี่ ริงเพือ่ กเิ ลสทง้ั นัน้ ตวั เองมนั กไ็ มม่ ี โดยแทจ้ รงิ มนั มกี เิ ลส และกเิ ลสมนั กอ็ อกมาเปน็ ตวั เอง เลยหาความล�ำเอยี งเพอื่ ประโยชนแ์ กต่ นเอง โดยเนือ้ แทม้ ันเปน็ อย่างนี้ ทีนี้กม็ นี �ำ้ ใจเป็นธรรมไมล่ �ำเอยี ง ดเู รื่องอคตทิ ้ัง ๔ ทมี่ ีอยู่ในแบบเรยี น

112 ธรรมะคอื หน้าที่ ขอ้ ๙ การรจู้ กั ท�ำ ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ชวี ติ เยน็ พดู ตรงๆ กว็ า่ ทำ�ใหร้ จู้ กั เปน็ เดก็ ทเ่ี ยน็ ไมเ่ ปน็ เด็กรอ้ น เขาจะต้องร้จู กั ความรอ้ นว่ามีอย่อู ยา่ งไรเพราะเหตุไร เมื่อ ร้อนตัวเขาจะถูกลงโทษ ร้อน ร้อนยิ่งกว่าไฟ เมื่อรู้จักกิเลสที่เป็นเหตุให้ทำ�ผิด เหลา่ นัน้ แล้วกไ็ ม่ทำ� กเ็ กิดความเย็นคอื วา่ งจากไฟ เว้นจากไฟ คำ�ว่าเย็นนี้ เปน็ ความหมายของคำ�ว่า นิพพาน นิพพานแปลว่าเย็น เพราะไม่มีไฟ คือกิเลส และกม็ ลี กั ษณะสะอาด สวา่ ง สงบ ชวี ติ เยน็ หวั ขอ้ ทเ่ี กย่ี วกบั บคุ คลนน้ั โดยเฉพาะ มีอยูเ่ ทา่ น้ี ทนี ้ีต่อไปก็ทีเ่ นอ่ื งกนั อย่กู ับสงั คม ข้อ ๑๐ ความไม่เห็นแก่ตัว หมายถึง ข้ันพ้ืนฐานของศีลธรรม หรือ จรยิ ธรรม ไมไ่ ด้หมายถงึ หมดกิเลส หมดตวั ตนอย่างกิเลส นน่ั มันอกี ช้ันหนงึ่ ไม่ ต้องพูดถึงก็ได้ หรือถ้าเพ่งเล็งด้วยก็ดีเหมือนกัน ความไม่เห็นแก่ตัว ภาษาโลก ชาวบ้านน้ีกเ็ อาใจใส่ผู้อื่น เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ นี้เป็นพื้นฐานชั้นจริยธรรม แต่ถ้า ประพฤติปฏิบัติจนหมดความยึดม่ันถือมั่นเรื่องตัวตน ไม่มีตัวตน กลายเป็น พระอรหนั ตไ์ ป ขอใหเ้ หน็ ความส�ำคญั ของค�ำวา่ ไมเ่ หน็ แกต่ วั นใ้ี หม้ ากพอ ใชอ้ ยา่ ง ต�ำ่ ๆ กไ็ ด้ เปน็ ทต่ี อ้ งการอย่างย่ิง เห็นแก่ตัวจะเป็นอันตรายอย่างย่งิ ก็จะท�ำบาป ทกุ อยา่ ง เพราะมคี วามเหน็ แกต่ วั ไปฆา่ เขาบา้ ง ไปขโมยเขาบา้ ง ไปประพฤตลิ ว่ ง ของรกั ของพอใจเขาบา้ ง พดู เทจ็ บา้ ง ดมื่ นำ�้ เมาบา้ ง ทกุ อยา่ งทมี่ นั ไมน่ า่ ปรารถนา อบายมขุ ก็เพ่อื เห็นแก่ตัวของกเิ ลส หาความเพลิดเพลินให้แก่กเิ ลส ข้อ ๑๑ การรับรู้ต่อบุคคลที่ควรรับรู้ ค�ำว่า “รับรู้” น้ีเป็นค�ำกว้าง ความมนั กวา้ งหรอื มนั หลวมได้ รับรู้ หมายถงึ “รบั รใู้ นหนา้ ทที่ ่จี ะต้องประพฤติ

113ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ตอ่ กนั ” ความจริงมนั ต้องรบั รสู้ �ำหรบั บุคคลทุกคน เช่น รับรู้ว่าทุกคนเป็นมนษุ ย์ เหมอื นกบั เรา ทกุ คนเปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นกบั เรา แมเ้ ขาเปน็ คนขอทานอยู่ เขากเ็ ปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นกบั เรา ถา้ เรายอมรบั รอู้ ยา่ งน้ี เรากไ็ มด่ ถู กู ดหู มน่ิ คนขอทาน เปน็ ตน้ ฉะน้ันรับรู้ได้ต้ังแต่บุคคลต่�ำสุด สมมติว่าเป็นขอทาน กระท่ังบุคคลสูงสุด เป็น มหาจักรพรรดิหรือจะที่เรียกว่าเทวดาก็สุดแท้ เรายอมรับรู้ว่ามีอยู่ ไม่ใช่ไม่รู้ ไมช่ ้ี ไมเ่ อาใจใส่ ไม่ประพฤตติ ่อบุคคลเหล่าน้นั อย่างถกู ตอ้ ง แลว้ มันก็รวมไป ถึงส่ิงทเ่ี ก่ียวข้องกนั เชน่ หน้าท่ี เม่ือบคุ คลมีฐานะต่างๆ กนั ก็มีหน้าที่ตา่ งๆ กนั เขาก็จะตอ้ งรบั รูใ้ นหนา้ ท่ขี องตนเองหรือของผ้อู ่ืนทุกคนด้วย ข้อ ๑๒ การเคารพบชู าทีถ่ กู ต้อง การเคารพหรอื ความเคารพนี้เป็นสิ่ง ท่ีตอ้ งมี โดยเฉพาะในดา้ นจติ วิทยาแล้ว บคุ คลตอ้ งมที ีเ่ คารพ ถา้ อยูอ่ ย่างไมม่ ี ทเ่ี คารพมันวา้ เหว่ แมเ้ ป็นพระพทุ ธเจ้าแล้วทา่ นยงั มีทเี่ คารพคือธรรมะทตี่ รสั รู้ เคารพบุคคลท่ีควรเคารพอย่างถูกต้อง ค�ำว่าเคารพเป็นค�ำต�่ำหน่อย ค�ำว่าบูชา กม็ นี ้ำ� หนกั กวา่ นีร้ วมกันทัง้ เคารพและบชู า เพราะวา่ ต้องการจะกล่าวถงึ ทกุ สิง่ “อยูอ่ ย่างเสมอกันจะเปน็ ทกุ ข์” มพี ระบาลี อยู่อยา่ งเสมอกันจะเป็นทุกข์ ถ้าอยอู่ ย่างมีทเ่ี คารพหรือมี การเคารพแกก่ นั และกนั ตามลดหลน่ั ลงไป จะปอ้ งกนั ความยงุ่ ยากเหลา่ นน้ั ได้ ความเคารพกเ็ ลยไปถงึ ความเชอื่ ฟงั เคารพตามแบบสตปิ ญั ญา มเี หตผุ ลทค่ี วร เคารพบชู า และตอ้ งไมเ่ ปน็ ไสยศาสตร์ เชน่ เคารพสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ บชู าสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ แม้แต่จอมปลวก กไ็ ปนง่ั ไหวน้ ั่งบูชากนั ได้ เคารพอยา่ งนม้ี ันเปน็ ไสยศาสตรไ์ มใ่ ช่

114 ธรรมะคอื หน้าท่ี พุทธศาสตร์ ก็มีเหตุผลว่าบุคคลน้ีเป็นอย่างไรท�ำไมจึงต้องเคารพ ถามให้เด็ก นักเรียนนึกเอาเองว่า ท�ำไมเราจึงต้องเคารพพ่อแม่ เขาเป็นเด็กที่ไม่เคารพพ่อ แม่อยู่ แต่เรากลับถามเขาว่าท�ำไมเราจงึ ต้องเคารพพอ่ แม่ มันจะเป็นเหตุให้เขา นกึ ไดว้ า่ ควรจะเคารพพอ่ แม่ เพราะพ่อแม่เป็นอย่างนน้ั ๆ เรยี กวา่ ทุกๆ ปรมาณู ชีวิตรา่ งกายของเรานไ้ี ด้มาจากพอ่ แม่ พ่อแม่เล้ยี งดูมาตัง้ แต่อ้อนแตอ่ อก และก็ มีความรักเราย่งิ กวา่ ใครๆ ในโลก ขอ้ ๑๓ คุณธรรมในการอยูร่ ่วมกนั หัวข้อมีคณุ ธรรมในการอยู่ร่วมกนั ค�ำ ว่าอย่รู ่วมกันๆ นีเ้ ปน็ ความมุง่ หมายของธรรมชาติ แล้วกธ็ รรมชาตจิ ัดใหเ้ ปน็ ความร้สู ึกที่เกดิ เอง คือ สญั ชาตญาณ หรือ instinct มาดว้ ยเสร็จ คนหรือสตั ว์ จึงอยเู่ ปน็ กลุม่ ๆ ไม่อยโู่ ดดเด่ยี ว จะเพราะว่าอยู่โดดเดยี่ วไมไ่ ด้ หรือวา่ ไมเ่ ปน็ สุข กต็ าม ความรวมกลมุ่ กนั นีม้ นั เป็นสิ่งทีต่ อ้ งมี ทนี ต้ี อ้ งมีอะไร อะไรท่ที ำ�ใหม้ นั รวมกลุ่มกนั อยู่ได้ ตามหลักธรรมะ ตอบ คลา้ ยกบั กำ�ปน้ั ทบุ ดิน ถ้าความเสมอกันในสิง่ ท่ีต้องทำ�รว่ มกัน เรามีความรสู้ ึก อยา่ งเดยี วกนั ความคดิ เหน็ อยา่ งเดยี วกนั มกี ารกระท�ำ อยา่ งเดยี วกนั มพี ดู จา อยา่ งเดยี วกนั ในสง่ิ ทตี่ อ้ งท�ำ รว่ มกนั ใหม้ เี สมอๆ กนั อนั นเี้ ปน็ คณุ ธรรมส�ำ หรบั การอย่รู ว่ มกัน เช่น ในประชาธิปไตยกต็ ้องไม่มอี ภสิ ิทธิ์ ไม่มีอภสิ ทิ ธ์ิ จงึ จะช่วย ในการอยู่รว่ มกนั เราจะมองลึกตามแบบของศาสนาวา่ ทกุ คนเป็นเพอ่ื นเกิด แก่ เจบ็ ตาย ดว้ ยกนั ถา้ รสู้ กึ อยา่ งนห้ี รอื ยดึ ถอื ขอ้ นเี้ ปน็ หลกั แลว้ มนั กจ็ ะหาทางทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั

115ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ ไดโ้ ดยสะดวกสบาย มคี ณุ ธรรมประพฤติตอ่ กนั และกันในระหว่างเพ่อื นเกิด แก่ เจบ็ ตาย ถ้าจะระบุสักชอ่ื หนงึ่ สักชอ่ื หนงึ่ ก็ยงั จะตอ้ งระบุท่ี “ความไม่เห็นแก่ ตวั ” ทีเ่ ป็นเหตุใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั ไดส้ นทิ สนมกลมกลืน เหมือนนำ�้ กบั นำ�้ นม ถ้าพูด ตามส�ำนวนบาลี ความกลมกลืน ทา่ นอปุ มาดว้ ยนำ้� กับน�ำ้ นมปนกันได้สนิท แต่ ถ้าน้ำ� กบั น�ำ้ มนั ปนกันไมไ่ ด้ ทีนี้ต้องการความกลมกลืนขนาดน้�ำกับน้�ำนมก็มีคุณธรรมส�ำหรับ ประพฤติปฏิบตั ิ ก็เห็นแก่ผูอ้ ื่น เหน็ ผอู้ ื่นเหมือนกับตนเอง เหมือนตนเอง ผอู้ น่ื ก็ ตอ้ งการเหมอื นกบั เรา แลว้ กม็ ปี ญั หาเหมอื นกบั เรา คอื ยงุ่ ปญั หาเกดิ แกเ่ จบ็ ตาย เหมอื นกบั เรา มนั กไ็ มเ่ หน็ แกต่ วั ระบไุ ปยงั ความไมเ่ หน็ แกต่ วั เปน็ คณุ ธรรมส�ำหรบั อยรู่ ว่ มกนั นอี่ าตมากไ็ ดข้ ยายใจความของหวั ข้อ ๑๓ ขอ้ แหง่ องค์ที่ ๑ คือสัมมา- ทฏิ ฐิ ขอใหส้ งั เกตเป็นตวั อยา่ งแล้วก็จะสามารถขยายได้เอง ลองเทยี บเคียงดใู ห้ เปน็ ตวั อย่างแล้วก็ขยายความของหัวขอ้ ของมรรคทกุ ๆ องคไ์ ด้ ทีนอ้ี กี ส่งิ หนง่ึ ท่ี จะถือโอกาสกล่าวในตอนน้ี ในตอนน้ี เปน็ ตวั อย่างอีกเหมือนกนั คือ วธิ ีอบรม ฝึกฝนสั่งสอน ค�ำ น้แี ล้วแตจ่ ะยตุ ิ การสั่งสอนมันก็มีความหมายหน่งึ การฝกึ ฝน มนั กม็ คี วามหมายหนงึ่ การอบรมกม็ คี วามหมายหนงึ่ สงั่ สอน คอื ท�ำ ใหร้ ู้ ฝกึ ฝน คอื ใหท้ ดลองดู อบรม คอื รมใหต้ ดิ เปน็ นสิ ยั ใหร้ เู้ รอ่ื งดๆี ใหล้ องฝกึ ดู แลว้ ใหม้ นั ติดอยู่เป็นนิสัย จะเรียกว่าอะไรก็แล้วแต่ มันยืดยาว วิธีการของการทำ�ให้มี จริยธรรม ส�ำ หรับหลักโครงการชุดนี้อาตมานกึ เหน็ อยา่ งน้ี คือ

116 ธรรมะคือหน้าท่ี ๑ มตี วั บททช่ี ดั เจน ตวั บทหวั ขอ้ จรยิ ธรรมทช่ี ดั เจนเหมอื นอยา่ งทว่ี า่ มา แล้ว เช่นว่า มีการศกึ ษามากพอนม้ี ตี ัวบทชัดเจน จนนักเรียนเขา้ ใจได้ ตอ้ งท�ำ กนั จนเข้าใจได้ว่ามตี วั บทชัดเจน เพอ่ื จะได้จำ�ไว้คล่องปากคล่องใจ เรียกว่ามีตวั บท ชัดเจน จะมกี ส่ี บิ ขอ้ แตล่ ะขอ้ มีตัวบท ซ่งึ วางไวอ้ ยา่ งชดั เจน ขอ้ ที่ ๒ กบ็ อกเหตุผลท่ตี อ้ งเปน็ เช่นนั้น ทต่ี ้องทำ�เชน่ น้ัน ท่ัวกันท้งั โลก เลย ไมใ่ ช่เฉพาะเธอสองสามคน คนท้ังโลกกจ็ ะตอ้ งทำ�เชน่ น้นั ใหเ้ หตผุ ลใหเ้ พยี ง พอ บางทถี ามตวั ผู้เรยี น เดก็ ผู้ศกึ ษาเองว่ามนั มีเหตผุ ลอยา่ งไร ทดลองคิดดู เช่น ถ้าเราไม่มีการศึกษามากพอ นี้จะมนั เกิดอะไรขึ้น ตอ้ งอธิบายเหตผุ ลท่ีขอร้องให้ พอใจในการศึกษาทมี่ ากพอ ทีน้ี ๓ มบี ทอธิษฐาน จะเรียกบทอาขยาน หรือบทอะไรกส็ ดุ แท้ ผูกให้ ไพเราะ ส�ำ หรบั ปฏิญาณตวั อยู่เสมอ เหมอื นกับวธิ กี ารที่ลูกเสอื ปฏญิ าณตวั เช่น ในขอ้ ๑ น้ี กจ็ ะมีบทปฏิญาณวา่ ขา้ พเจ้าจะต้องมีความรูพ้ อตัว ให้เขาอธิษฐาน อยตู่ ามโอกาสตามเวลา เหมอื นกบั วธิ กี ารทางศาสนา จะตอ้ งอธษิ ฐานหลกั เกณฑ์ วตั ถปุ ระสงค์หรืออะไรก็ตาม ตามทก่ี �ำ หนดให้ ตามทีว่ างไว้ ทีน้ีเราต้องการให้นักเรียนของเรามีการอธิษฐานในเวลาท่ีควรอธิษฐาน ถา้ มหี อ้ งพระกเ็ มอ่ื ประชมุ กนั ในหอ้ งพระ แลว้ แตจ่ ะจดั จะเมอ่ื กอ่ นเขา้ เรยี น หรอื เลกิ เรยี น ผกู บททจ่ี ะอธษิ ฐานว่า ข้าพเจ้าจักตอ้ งอยา่ งนน้ั ๆๆๆ ไปทกุ หัวขอ้ แลว้ แตว่ นั ไหนจะสอนอะไร แมว้ า่ มนั จะมากเปน็ ถงึ หลายสบิ ขอ้ มนั กไ็ มย่ ากเยน็ อะไร ขา้ พเจา้ จกั ตอ้ งมคี วามรพู้ อตวั เพอ่ื ใหเ้ ขาหมายมน่ั ทจ่ี ะประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ อ้ นน้ั ใหไ้ ด้

117ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ขอ้ ที่ ๔ ยอมให้เพื่อนตกั เตือนทกั ทว้ ง อบรมให้นักเรียนทกุ คนมีนิสัย ยอมให้เพ่ือนตกั เตอื น หรอื ทกั ท้วง คอื รับฟงั ค�ำ วิพากษว์ ิจารณ์ ถ้าต้องการให้ เป็นการตักเตือนทักท้วงด้วยความรัก ด้วยความเมตตา มีระบบเหมือนกับ ปวารณาของพระสงฆ์ พระสงฆ์ออกพรรษา มีการปวารณาอนญุ าตใหท้ กุ คนตกั เตือนตนด้วยความรัก และเมตตา นักเรียนในโรงเรียนจะต้องมีระบบน้ี ระบบ ปวารณาให้เพื่อนว่ากล่าวตักเตือนได้ ไม่ชกปาก ยังไม่มีใครเคยทำ� ก็น่าจะทำ� มนั เป็นการลดกเิ ลสมากทเี ดยี ว เรยี กว่าเป็นผู้ยอม ยอมฟัง ยอมพิจารณา มี การปวารณาเป็นทางการในบางวันว่า ข้าพเจ้าจะยอมให้เพ่ือนตักเตือนทักท้วง กเ็ ขียนบทคำ�ตักเตอื นทักท้วงข้นึ ใหเ้ หมาะสม นี้เปน็ เพยี งแนะในส่วนหลกั การ ข้อ ๕ มีการสารภาพบาป แมจ้ ะฟังดคู ล้ายๆ คริสเตียน มกี ารสารภาพ บาป ไม่มีโรงเรยี นไหน ในฝ่ายชาวพุทธทจ่ี ะให้นกั เรยี นสารภาพบาป แต่ในฝ่าย ครสิ เตียน เขามเี ดก็ ๆ สารภาพบาปในโบสถใ์ นโรงเรียน การที่มีบาป คือ ความผิดที่ปดิ เงยี บไว้ มนั งอกงาม มันเจรญิ งอกงาม นิสัยทำ�บาปมากข้ึนมันจะเกิดขึ้น ต้องสร้างนิสัยสารภาพบาปขึ้นมาได้ก็ เปน็ การดี ก็มคี วามรู้สึกวา่ ทำ�ผิดแล้ว เสียใจตัวเอง อยากจะกลับตัว ดเู หมือน เรยี ก Repentance, Repentance ค�ำ นน้ั มคี วามหมายมาก ไมม่ ี Repentance คือ ไมม่ คี วามรู้สึกวา่ ผิดแลว้ อยากจะกลับตวั แลว้ มันก็ไมม่ กี ารสารภาพ แล้วก็ ไม่ละอาย ถ้ามคี ุณธรรมข้อนี้มากพอ ก็ข่มความละอายได้ กไ็ ปบอกเพอ่ื น แลว้ สารภาพกบั เพอื่ น ใหเ้ หมอื นกบั พระปลงอาบตั แิ กก่ นั และกนั กไ็ ด้ ไปสารภาพกบั ครูบาอาจารย์ก็ได้ ขอให้มีการสารภาพความผิด ด้วยจิตท่ีเกลียดกลัวความผิด ไม่ทำ�ผิดต่อไป จนเกิดเปน็ นิสัย เรยี กว่าใช้ได้ มนั ออกจะแปลกไปนะเรือ่ งนี้

118 ธรรมะคือหน้าที่ ทีนี้ข้อสุดท้าย ปฏิบัติธรรมจริยวัตร หรือ จริยธรรม ตามท่ีมีอยู่น้ี ประพฤตจิ รยิ ธรรมตามกฎของจรยิ ธรรมจนรสู้ กึ เปน็ สขุ ธรรมดาเมอื่ ตอ้ งประพฤติ ปฏบิ ตั อิ ะไรกร็ ูส้ กึ เหมือนถูกลงโทษหรือถูกทรมาน เพราะมนั ไม่เข้าถงึ หวั ใจของ สิ่งที่ปฏิบัติ ถ้าเข้าถึงหัวใจของส่ิงท่ีปฏิบัติ แม้จะปฏิบัติต้องอดทนจนน�้ำตา ไหล กย็ ังรู้สึกเปน็ สุข ประพฤติจนรสู้ ึกเปน็ สขุ ประพฤติธรรมะจรยิ ธรรมจน รสู้ กึ เป็นสขุ พอใจวา่ เรามธี รรมะหรอื มีจรยิ ธรรม คอยระวังรักษา เพราะเดี๋ยวน้ีจิตใจมันเปลี่ยนมาในทางฝ่ายทางดี มันก็มีสติที่คอย ระมดั ระวงั รักษาไว ้ อย่าใหต้ อ้ งไปสารภาพบ่อยๆ แม้จะไปสารภาพบาปกต็ อ้ ง รสู้ กึ เปน็ สขุ ไมใ่ ชล่ ะอาย เพราะวา่ มนั เปน็ สง่ิ ทถ่ี กู ทจ่ี รงิ และเปน็ สงิ่ ทจ่ี ะชว่ ยเหลอื เราใหด้ ขี ึ้น เปน็ สวสั ดีมงคลแก่เราเอง แม้ว่าเปน็ สิ่งทนี่ า่ ละอาย หรอื เพือ่ นจะโห่ อย่างน้ี เป็นตน้ ถา้ สร้างนิสัยใหด้ ไี ดแ้ ลว้ มันกจ็ ะสารภาพบาปด้วย และกร็ สู้ ึก เป็นสุขด้วย รสู้ กึ สบายไปทีอย่างนี้ ทนี ป้ี ระพฤตจิ ริยธรรมจนรู้สึกเป็นสขุ ให้พบแต่ความถูกต้อง มคี วามถกู ตอ้ งอยทู่ เ่ี นอื้ ทต่ี วั ทกุ กระเบยี ดนวิ้ ทกุ ครง้ั ทหี่ ายใจออกเขา้ มนั เปน็ เรอ่ื งทล่ี ะเอยี ด แต่ไม่เหลือวิสัย แม้เด็กก็เข้าใจได้ เราไม่ท�ำผิดอะไรเลยตลอดเวลา น่ันเรียกว่า เรามีความถูกต้องอยู่ท่ีเนื้อที่ตัวทุกวินาที ทุกกระเบียดน้ิว เมื่อรู้สึกอย่างนี้แล้ว ก็พอใจ ถูกตอ้ งแล้วพอใจ ถูกต้องแล้วพอใจ จดั ให้เปน็ ชีวติ ทมี่ แี ตค่ วามถกู ต้อง และพอใจ เพราะประพฤตติ ามกฎเกณฑอ์ นั ถูกต้องอยเู่ สมอ หกขอ้ ดว้ ยกนั นเ้ี ปน็ วธิ กี ารทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ มจี รยิ ธรรมขน้ึ ในนสิ ยั ในสนั ดาน ที่กาย ท่ีวาจา ท่ีใจ ของเยาวชน อาตมาแสดงไดเ้ พียงเป็นตัวอย่างวา่ มนั มีอยู่หก

119ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ ข้ออย่างนี้ จะไปใช้กับข้อไหนท้ังหมดของหัวข้อจริยธรรมก็ไปใส่ได้ ไปใส่ได้ทุก ข้อ ในท่นี ีห้ รือการบรรยายวนั น้ี เป็นเพยี งการแสดงตวั อย่างว่าจะขยายความ ของหวั ข้อออกไปอยา่ งไร และกม็ วี ิธีการหรอื นโยบายท่ีจะทำ�ให้ง่ายในการท่ีจะ ศึกษา และปฏิบัติจนถึงกับเกิดความรักที่จะปฏิบัติขึ้นมา ด้วยการกระทำ�หก ประการน้ี ทบทวนอีกทหี นึ่งว่า ๑. มีตัวบทท่ีชัดเจน เพอื่ คล่องปากคล่องใจ ๒. มี เหตุผลครบถว้ น ว่าท�ำ ไมจงึ ต้องปฏบิ ัติอยา่ งน้นั จนเขาเหน็ วา่ ตอ้ งปฏิบตั ทิ ่ัวกัน ทง้ั โลกเลย มบี ทอธษิ ฐาน จะเรยี กวา่ บทอาขยาน หรอื อะไรกไ็ มท่ ราบ แตว่ า่ มบี ท ส�ำ หรบั เดก็ จะกลา่ วแกต่ วั เอง ชดั เจนดงั ๆ ในใจความของจรยิ ธรรมแตล่ ะขอ้ เชน่ ในขอ้ แรกน้ี มบี ทวา่ ขา้ พเจา้ จกั ตอ้ งมคี วามรรู้ อบตวั มลี กั ษณะแนะน�ำ ตวั เอง เชอื้ เชญิ ตวั เอง บงั คบั ตวั เองอะไรอยใู่ นตวั ทกุ ขอ้ ของจรยิ ธรรม ยอมใหเ้ พอ่ื นตกั เตอื น หรือทักทว้ ง ไมโ่ กรธแตจ่ ะขอบใจเมอ่ื เพ่ือนเขาตักเตือน ทักทว้ ง มพี ธิ ปี วารณา ถ้าโรงเรียนจัดให้มีพิธีปวารณามันก็ง่าย ให้เด็กทุกคนมาปวารณาท่ามกลางหมู่ ทีละคนว่ายอมให้เพื่อนตักเตือน แล้วจะขอบพระคุณ ค่อยเรียงเอาเอง คำ� ปวารณาเรยี งเอาเอง ถา้ เปน็ อยา่ งของพระ ทพี่ ระใช้ กว็ า่ “ดว้ ยการไดเ้ หน็ กด็ ี ดว้ ยการไดฟ้ งั กด็ ี ดว้ ยการนกึ สงสยั กด็ ี วา่ ขา้ พเจา้ มคี วามผดิ พลาดใดๆ จงวา่ กลา่ วตกั เตอื น ขา้ พเจา้ ดว้ ยเหตนุ นั้ ๆ ขา้ พเจา้ รสู้ กึ อยู่ เหน็ อยู่ จกั ท�ำ คนื ” เรยี งใหม้ นั ไดค้ วาม คล้ายๆ อย่างนี้ เป็นคำ�ปวารณา เป็นวิธีการของพระพุทธศาสนาที่ทำ�ให้

120 ธรรมะคอื หน้าที่ พระพุทธศาสนายืนยาวมาได้ต้ังสองพันกว่าปี โดยไม่ต้องมีอาญา ไม่ต้องมี อาวธุ ไม่ตอ้ งมขี ้อกฎอะไรทีเ่ หมอื นกับกฎหมาย เพราะมันเป็นเรือ่ งสำ�หรบั ผู้ท่ี หวังดี เมื่อเขามคี วามหวังดี เขากป็ ฏิบัตติ าม แล้วก็ว่ากลา่ วซ่ึงกนั และกนั ได้ ว่า กลา่ วซงึ่ กนั และกนั ได ้ นน่ั ละ่ ความมงุ่ หมาย แลว้ กส็ ารภาพบาปทกุ ครง้ั ทรี่ สู้ กึ วา่ ท�ำ ผดิ แลว้ ๆ แลว้ ประพฤตติ นอยูใ่ นธรรมะนั้นตลอดเวลาตลอดทุกสถานท่ี จนมี แต่ความรู้สึกวา่ ถูกต้องแล้ว ขา้ พเจ้ามีความถูกตอ้ งแล้ว ข้าพเจา้ พอใจ ร้สู กึ อยู่ อย่างนี้ก็มีความสุขตลอดวันตลอดคืน ทั้งหลับท้ังตื่น คือไม่มีเวลารู้สึกว่าทำ�ผิด ท�ำ ชั่วหรือเสียหาย น้ีเป็นหลักหกประการที่ใช้ในการอบรมจริยธรรมทุกหัวข้อแก่นักเรียน นักศึกษาของเรา ขอใหเ้ อาหกประการนีไ้ ปจบั เขา้ ทกุ หัวข้อ ซง่ึ วนั หลงั อาตมาจะ ไม่พูดถึงหกหวั ข้อน้อี ีกแลว้ พูดเปน็ ตวั อย่างวันแรกแลว้ กใ็ ชก้ บั หัวข้อแรก ที่ว่ามี การศึกษามากพอ บรรยายวันนี้เฉพาะสัมมาทิฏฐิข้อเดียวก็หมดเวลา ทีนี้ส่ิงที่ อธิบายแล้วพดู แลว้ ไม่ตอ้ งอธิบายอกี ฉะน้ันวนั หลังเราคงจะอธบิ ายได้ คราวละ หลายองคม์ รรค วันนขี้ อยุตกิ ารบรรยายไวเ้ พียงเท่าน.้ี

ทกุ ขโ์ ศก เอกสารจดหมายเหตุพทุ ธทาส อนิ ทปัญโญ. รวมภาพวาดลายเส้น และค�ำ กลอน. (พ.ศ.2472-2496). BIA 5.2/1 (2/2) กลอ่ ง 1. หนา้ 332.

ธรรมบรรยายเร่อื ง ธรรมะสำ�หรบั มนุษย์ ใหโ้ อวาทแกน่ สิ ิต มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร กทม. วนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ผูถ้ อดค�ำ บรรยาย คณุ ดวงดาว ฮึงวัฒนากุล

121ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ธรรมะส�ำหรับมนษุ ย์ ทา่ นที่เปน็ ครูบาอาจารย์ และก�ำ ลังจะเปน็ ครบู าอาจารย์ต่อไปข้างหน้า อาตมาขอแสดงความยนิ ดใี นการมาของทา่ นทง้ั หลาย ในความประสงค์ ทวี่ า่ มาเพอ่ื ศกึ ษาธรรมะ เปน็ ทรี่ กู้ นั อยทู่ วั่ ไปวา่ สถานทน่ี ม้ี อี ยสู่ �ำ หรบั เผยแผธ่ รรมะ ในฐานะที่ว่าเป็นมนุษย์ท่ัวไปก็ต้องการธรรมะ ในฐานะท่ีจะเป็นครูบาอาจารย์ หรอื อะไรทเี่ นอ่ื งกนั กบั ครบู าอาจารยม์ นั กต็ อ้ งการธรรมะ เราจงึ พจิ ารณากนั ดวู า่ จะพดู ธรรมะเรอื่ งอะไร ในชัน้ แรกนี้จะพดู โดยหัวขอ้ วา่ ธรรมะสำ�หรับคนท่ัวไป เมอ่ื มีโอกาสจึง จะพูดธรรมะส�ำ หรบั ความเปน็ ครโู ดยเฉพาะ ขอให้ใช้สถานที่นี้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์

122 ธรรมะคือหน้าที่ ใหม้ ากทส่ี ดุ ในการมาครง้ั หนงึ่ ๆ แมท้ สี่ ดุ แตบ่ รรยากาศตามธรรมชาตทิ ม่ี อี ยกู่ ช็ ว่ ย ให้จิตใจของคนเราสงบลง หรือจะเรียกว่าเป็นอิสระลงสักขณะหนึ่ง เมื่ออยู่ใน บา้ นในเมอื งมนั ฟงุ้ ซา่ นหรอื ไมเ่ ปน็ อสิ ระ ไมส่ งบ จติ ใจมนั กไ็ มอ่ ยใู่ นฐานะทจี่ ะนกึ จะคิด จะฟงั จะอะไรได้ลึกซงึ้ เมอื่ มาอย่กู ับธรรมชาติเช่นน้มี ันช่วยอยโู่ ดยตวั มัน เองตามธรรมชาติหรือเรียกว่าโดยอัตโนมัติ คนเรามันก็มีจิตใจสำ�หรับจะศึกษา จะฟัง จะคิด และโดยเฉพาะอย่างยง่ิ สำ�หรับจะดจู ิตหรือดูอะไรท่ีควรจะดู การศึกษานั้นมีอยู่หลายข้ันตอน แต่ว่าโดยมากทั่วๆ ไปใช้กันเพียงว่า ศกึ ษา ศกึ ษาเล่าเรียนเขียนอา่ น แตใ่ นทางธรรมะน้ันเขาจัดไว้เป็นหลายขั้นตอน ขนั้ แรกกค็ อื ศกึ ษาอยา่ งอา่ น อยา่ งฟงั และขนั้ ที่ ๒ กเ็ รยี กวา่ แทงตลอดดว้ ยปญั ญา คิดนกึ ดว้ ยสตปิ ัญญา จนเหน็ ความหมายท่ีลกึ กวา่ ธรรมดา ขน้ั ที่ ๒ มันตา่ งกัน มากกับขนั้ ทหี่ น่ึง ซึ่งเพียงแต่อา่ นๆ ฟงั ๆ มนั ก็ไดค้ วามรูท้ จ่ี �ำ ไดเ้ อาไว้ แต่ถา้ มา คิดนึกด้วยปัญญาโดยวิธีใดก็ตามมันก็ได้ความรู้อีกช้ันหน่ึงก็เรียกว่าแทงตลอด ดว้ ยปญั ญา นถี้ า้ วา่ มาปฏบิ ตั ดิ ตู ามทไ่ี ดฟ้ งั ไดเ้ ลา่ เรยี นแลว้ ปฏบิ ตั ดิ กู จ็ ะเกดิ ความ รสู้ กึ ในผลของการปฏบิ ตั ิ ตอนนถี้ อื วา่ เปน็ ความรทู้ แ่ี ทจ้ รงิ คอื รสู้ กึ ดว้ ยจติ ใจหลงั จากการทปี่ ฏิบตั ิในสงิ่ นน้ั ๆ แล้ว นี่เราเรยี กวา่ ดดู ว้ ยปัญญา ด้วยความรูส้ ึก ไม่ใช่ คดิ ไมใ่ ชน่ กึ กลายเป็นดูคือรูส้ กึ การท่ีจะคิดกด็ ี การที่จะดูกด็ ี หรอื รสู้ กึ ก็ดี ถ้าบรรยากาศช่วยด้วยมนั ก็ ทำ�ได้มาก ดังน้ันจะทำ�สมาธิหรืออะไรในป่ามันจึงดีกว่าที่จะอยู่ในเมืองอย่างน้ี เป็นตน้ ดังนน้ั เราใชป้ ระโยชน์จากป่าให้ไดแ้ มแ้ ต่ไดฟ้ ังก็ฟังลกึ กวา่ ไดค้ ิดกค็ ิดลึก

123ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ กว่า ได้ดูด้วยจิตมันก็ดูได้ลึกกว่า มาที่สวนโมกข์ก็ขอให้ได้ใช้ประโยชน์ให้มาก ทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะท�ำ ได้ จนกระทงั่ วา่ เดนิ ไปตรงไหนมนั กค็ ดิ อะไรออกเปน็ วา่ เลน่ เหน็ อะไรลึก แปลกไปกว่าท่เี คยคิด เคยนกึ ราวกับว่าตน้ ไมท้ ุกตน้ มันก็พดู ได้ ก้อน หนิ ทกุ กอ้ นมนั กพ็ ดู ได้ เรากไ็ ดย้ นิ คอื วา่ มนั รสู้ กึ คดิ นกึ ขนึ้ มาได้ เรยี กวา่ เหมอื นกบั ได้ยินก้อนหินพูด ต้นไม้พูด เพราะถ้าไม่มาอยู่ในธรรมชาติอย่างนี้มันไม่ได้เกิด ความคดิ อยา่ งน้ี ไมไ่ ด้มานงั่ ใกล้ก้อนหินก้อนน้ีไม่เกดิ ความคดิ อันนี้ หรือเม่ือมา เพ่งดกู อ้ นหินกอ้ นนี้ ตน้ ไม้ต้นนคี้ วามคิดมันจงึ จะเกดิ ความรมู้ ันจงึ จะเกิด อยา่ ง น้เี ราเรยี กว่าต้นไมพ้ ดู ได้ กอ้ นหินพดู ได้ ความร้ชู นดิ น้แี พงมาก แพงกวา่ เรอ่ื งท่ี เขยี นๆ อา่ นๆ กนั ในบา้ นในเมอื ง นีป้ ระโยชน์ของธรรมชาตชิ นิดน้ี ทนี ม้ี ันกม็ ีอีกสว่ นหนึ่ง คือวา่ เราจะได้ชิม ชมิ รสของจิตทีม่ ันเปลย่ี น จติ ทมี่ นั สงบ เยน็ ลงไปบา้ ง หรอื จติ ทม่ี นั วา่ งจากตวั กู ของกู จติ ทว่ี า่ งจากการรบกวน แห่งความคิดประเภทตวั กู ของกู ท่ีเราเรียกวา่ จิตวา่ ง มนั มรี สของมนั เฉพาะ คอื เปน็ รสเย็น รสว่าง รสท่ยี ังไม่เคยชิม ถ้าไปในสถานท่ีที่ธรรมชาติมันช่วยให้จิตมันสงบเย็นหรือว่างได้ตาม ธรรมชาติ มนั กไ็ ดช้ มิ รสของความวา่ งหรอื ความสงบเยน็ เชน่ เราไปเทย่ี วรมิ ทะเล น้ีเราก็ได้ชิมรสของจิตที่มันว่าง ท่ีมันอิสระมากไปกว่าธรรมดาเม่ืออยู่ที่บ้านที่ เมอื งบา้ ง อนั นน้ั กว็ า่ ไมใ่ ชจ่ ะไมม่ ปี ระโยชน์ ไมใ่ ชว่ า่ ชมิ แลว้ กแ็ ลว้ กนั ไปเลกิ กนั ไป มันจะให้ความรู้ที่พิเศษอีกอย่างหน่ึงว่า จิตน้ีมันเป็นได้ถึงอย่างนี้ ก็แล้วจะเกิด ความแนใ่ จความเชอื่ วา่ จติ นม้ี นั วา่ งกไ็ ด้ มนั สงบเยน็ กไ็ ด้ และถา้ วา่ งและสงบเยน็ มันมีรสอย่างน้ซี ึง่ เราไม่เคยชมิ มากอ่ น

124 ธรรมะคือหน้าท่ี เมอ่ื เราเชื่อวา่ จิตน้ีมนั ว่างได้ สงบเยน็ ได้ อสิ ระได้ แลว้ กม็ ีแกจ่ ติ แก่ใจท่ี จะอบรมจติ น้ใี หม้ คี วามว่าง มีความสงบเยน็ ย่ิงๆ ขนึ้ ไปดว้ ยความแนใ่ จ นกี้ เ็ ป็น ประโยชน์ เมื่อมาในท่อี ย่างนี้ มีธรรมชาติอย่างน้ี กพ็ ยายามใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ ในทกุ แงท่ กุ มมุ ไมอ่ ยา่ งนนั้ จะไมค่ มุ้ คา่ มา ทหี่ มดเปลอื งเหนด็ เหนอื่ ยเสยี เวลา ขอ ยนิ ดี แสดงความยนิ ดใี นการมาของทา่ นทง้ั หลายและหวงั วา่ คงจะไดร้ บั ประโยชน์ จากการมาทีค่ ุ้มค่า ทนี ก้ี จ็ ะไดพ้ ดู ตอ่ ไปถงึ ค�ำ วา่ ธรรมะ ในประโยควา่ ธรรมะส�ำ หรบั คนทวั่ ไป กต็ อ้ งการจะพดู กนั ในเรอ่ื งของคนทวั่ ไปกอ่ น เพราะวา่ คนทกุ คนมนั มคี วามเปน็ คนหรอื ความเปน็ มนษุ ยใ์ นระดบั ทวั่ ไปดว้ ยกนั ทกุ คน แลว้ จงึ คอ่ ยมคี วามเปน็ ท่ีแตกต่างออกไป เช่น เป็นครู เป็นพ่อค้า เป็นชาวนา เป็นชาวสวน เป็น ขา้ ราชการ เปน็ บรรพชติ เปน็ อะไรตา่ งๆ นเ้ี รยี กวา่ มนั อกี สว่ นหนงึ่ แตส่ ว่ นทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานแลว้ เรามนั เปน็ คนหรอื เป็นมนษุ ย์ ในฐานะเป็นสิ่งที่มีชีวิตนี้ก็ต้องการธรรมะที่เจาะจงผู้ท่ีเป็นคนทั่วๆ ไป เลยใช้คำ�ว่าธรรมะเฉยๆ ธรรมะสำ�หรับคนทั่วไป หมายความว่าธรรมะพื้นฐาน ธรรมะกว้างขวาง ธรรมะทั้งหมดสำ�หรบั คนทั่วไป ถา้ ธรรมะส�ำ หรับเป็นครมู ันก็ จะต้องมอี กี สว่ นต่างหาก ท่ีใช้รว่ มกันความหมายร่วมกันสำ�หรับทกุ คนก็มี และ มีธรรมะเฉพาะประเภทของคนแต่ละประเภทอย่างนี้มันก็มี ขอให้สังเกตดูให้ดี ค�ำ วา่ ธรรมหรอื ธรรมะกต็ ามในภาษาไทยน้ี เราไดร้ บั ค�ำ บอกกลา่ วแตเ่ พยี งวา่ เปน็ คำ�สงั่ สอนของพระพทุ ธเจา้ แล้วก็ไม่คอ่ ยไดบ้ อกกนั ว่าสอนเรื่องอะไร อยา่ งไร ก็

125ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ จะบอกวา่ ค�ำ สอนของพระพทุ ธเจา้ นนั้ ทา่ นสอนเรอ่ื งธรรมชาตคิ อื ของจรงิ ความ จรงิ ทเี่ ปน็ อยตู่ ามธรรมชาติ ทไี่ มใ่ ชธ่ รรมชาตนิ นั้ มนั ยากทจ่ี ะจรงิ ทนี ถี้ า้ วา่ มนั จรงิ คือมันอยู่ในภาวะเดียวตลอดเวลานานเราก็เรียกว่าจริง มันก็เป็นเรื่องของ ธรรมชาติ เรื่องจริงคือเร่ืองของธรรมชาติ ดังน้ันคำ�สอนเร่ืองจริงก็คือเรื่องของ ธรรมชาติ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นสอนเรอื่ งธรรมชาตแิ บง่ ออกเปน็ สสี่ ว่ นคอื สอนเรอ่ื งตวั ธรรมชาตนิ น้ั ประเภทหนง่ึ สอนเรอ่ื งตวั กฎของธรรมชาตปิ ระเภทหนงึ่ แลว้ สอน เร่ืองหน้าท่ีตามกฎของธรรมชาติส่วนหนึ่ง แล้วผลที่เกิดมาจากหน้าท่ีนั้นอีก ส่วนหน่ึง ท่ีแจกออกเป็นสี่ส่วนอย่างน้ีสะดวกมาก ง่ายมากสำ�หรับจะกำ�หนด จดจำ� หรอื จะศกึ ษาหรือจะสังเกตต่อไป ดงั น้นั ขอให้สนใจทำ�ความเขา้ ใจคำ�สค่ี ำ� นไ้ี วใ้ หด้ ๆี จะมปี ระโยชนม์ ากในอนาคตส�ำ หรบั เขา้ ใจสง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ ธรรมะไดโ้ ดยงา่ ย ธรรมะคือธรรมชาตินี้มันเป็นคำ�ความหมาย มีความหมายตามภาษา บาลีวา่ ธรรมชาติ คอื สง่ิ ท่ีเปน็ อย่เู องเรียกว่าธรรมชาติ ในภาษาไทยเรากม็ ีใช้คำ� ว่าธรรมชาติ แต่ความหมายแคบกว่าในภาษาบาลี เพราะในภาษาบาลีคำ�ว่า ธรรมชาติหมายถึงทุกส่งิ ไมย่ กเวน้ อะไร ยงั ไม่ยกเวน้ แม้แตส่ ิง่ ทคี่ นสมัยนี้เรียกว่า ไมใ่ ช่ธรรมชาติ ธรรมชาตินี้หมายความว่าที่เปน็ ภายนอกตัวเรา เป็นดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ทั้งจักรวาล สากลจักรวาล อยู่นอกตัวเราน้ี เป็นโลก เป็นแผ่นดิน ท้ังหมดนก้ี ็เรยี กว่าธรรมชาติ และที่เป็นภายในตวั เรา เลือด เนอ้ื กระดูก ตัวเรา ทเี่ ปน็ รา่ งกาย ตวั เราทเี่ ปน็ จติ ใจ ทร่ี สู้ กึ คดิ นกึ ในจติ ใจนก้ี เ็ รยี กวา่ ภายใน กย็ งั เปน็ ธรรมชาติ ที่เปน็ วัตถกุ ็เรยี กวา่ ธรรมชาติ ที่เปน็ จติ ใจก็เรยี กว่าธรรมชาติ ฉะน้นั

126 ธรรมะคอื หน้าท่ี ค�ำ วา่ ธรรมชาตคิ ำ�เดยี วคลมุ หมดไมย่ กเว้นอะไร ทง้ั ภายนอก ท้งั ภายใน ทงั้ สิง่ ท่ี ละเอยี ด ทั้งส่งิ ทห่ี ยาบ ท้งั สง่ิ ทีม่ องเหน็ ตวั ท้งั ส่ิงที่มองไมเ่ หน็ ตัว รวมเรียกกันว่า ธรรมชาตหิ มด ทนี เี้ ราควรจะรวู้ า่ มนั เปน็ อยา่ งไร เพราะโดยมากเรากร็ กู้ นั แตพ่ วกทม่ี เี หตุ ปจั จยั ปรงุ แตง่ มนั กม็ เี หตปุ จั จยั อนั ใดอนั หนง่ึ ปรงุ แตง่ ใหม้ นั เกดิ ขน้ึ ใหม้ นั เปน็ ไป ให้มันเปลี่ยนแปลงอยู่เสมออย่างนี้เหตุปัจจัยปรุงแต่ง ธรรมชาติที่เหตุปัจจัยไม่ ปรุงแต่งน้ันเราไม่ค่อยรู้จักกันหรืออาจจะไม่เคยนึกว่ามีก็ได้ เพราะมันจำ�กัดอยู่ แต่เรอื่ งของพระนพิ พานอย่างเดียว นพิ พานคอื ธรรมชาตทิ ไ่ี มม่ เี หตปุ จั จยั ปรงุ แตง่ นอกนนั้ ทกุ อยา่ งไมว่ า่ อะไร เป็นธรรมชาติที่มีเหตุปัจจัยปรุงแต่ง มีทั้งที่มีปัจจัยปรุงแต่งและไม่มีปัจจัยปรุง แตง่ ล้วนแต่เรยี กว่าธรรมชาติ มันเลยกลายเปน็ เร่ืองทกุ เร่อื ง ทเ่ี รานง่ั อยนู่ เี้ ราเหลยี วไปรอบตวั เราจะเหน็ ธรรมชาตทิ างตา ไดย้ นิ เสยี ง เรไรรอ้ งอยมู่ นั กเ็ ปน็ ธรรมชาตริ ไู้ ดท้ างหู บางทเี รากไ็ ดก้ ลน่ิ ดอกไมใ้ บไมธ้ รรมชาติ ทางจมูก เมอื่ เราด่ืมกินอะไรก็ธรรมชาตทิ างล้นิ อะไรมากระทบผิวหนงั กเ็ รียกวา่ ธรรมชาตทิ ท่ี างผวิ หนงั รสู้ กึ ไดด้ ว้ ยใจกธ็ รรมชาตทิ างจติ ใจ เรยี กวา่ เปน็ ธรรมชาติ มอี ยเู่ องตามธรรมชาติ แลว้ กต็ อ้ งรจู้ กั เปน็ พเิ ศษทมี่ นั เปน็ ภายในของเรา ทกุ สว่ น แห่งร่างกาย ทกุ ๆ อณู กระท่ังทกุ ๆ ปรมาณูทป่ี ระกอบกันเป็นรา่ งกายเรยี กวา่ ธรรมชาติ ดูใหด้ ี นี้ธรรมชาตใิ นความหมายที่ ๑ คอื ตวั ธรรมชาติ

127ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ ทีน้ธี รรมชาติในความหมายท่ี ๒ คอื กฎของธรรมชาติ มันมีกฎหรือกฎ เกณฑ์ของธรรมชาติบังคับธรรมชาติเหล่านี้อยู่ ที่เป็นธรรมชาติภายนอก ดวง อาทติ ย์ ดวงจันทร์ สากลจักรวาล นม้ี ันกม็ กี ฎของธรรมชาติบงั คบั อยู่ มันจงึ เป็น ไปตามนัน้ เช่น ดวงดาวไมต่ อ้ งชนกัน ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ไม่ต้องชนกนั อะไร อยา่ งนี้ มนั มกี ฎของธรรมชาตบิ งั คบั อยู่ หรอื วา่ สงิ่ ตา่ งๆ ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งนน้ั ตอ้ ง มเี มฆ มีฝน มีแดด มลี ม มสี ่ิงที่มชี วี ิตก็เป็นไปตามกฎของธรรมชาติ ถงึ ในตวั เรากเ็ หมอื นกนั เรามรี า่ งกาย ดนิ นำ้� ลม ไฟ ในรา่ งกายมกี ฎของ ธรรมชาตคิ วบคมุ อยู่ ดงั นน้ั มนั จงึ รจู้ กั เจรญิ เตบิ โตตงั้ แตค่ ลอดออกมาจากทอ้ งแม่ มนั กเ็ ปลยี่ นแปลงไปตามกฎของธรรมชาตไิ มม่ หี ยดุ มนั กม็ กี ฎของธรรมชาตสิ งิ อยู่ ในตวั คน ในตัวสัตว์ ในตวั ส่ิงท่ีมีชวี ติ ใหส้ ่ิงเหลา่ นน้ั เปน็ ไปตามกฎของธรรมชาติ พูดกันอีกที ให้ธรรมชาติเป็นไปตามกฎของธรรมชาติ ธรรมชาติในฐานะที่เป็น ตวั ยืนพื้นอยู่กม็ ี ที่เปน็ ตวั กฎท่ีบังคบั สง่ิ เหลา่ นน้ั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎนีก้ ม็ ี น้เี ปน็ ข้อ ที่ ๒ เรยี กว่ากฎของธรรมชาติ เรียกวา่ ธรรมะในความหมายที่ ๒ ทนี ี้ในความหมายที่ ๓ เรียกว่าหน้าท่ี คอื หน้าทต่ี ามกฎของธรรมชาติ สิ่งท่มี ันมชี ีวิตมันเปน็ ธรรมชาติ มันมกี ฎของธรรมชาตคิ วบคมุ อยู่ มนั เกิดหนา้ ท่ี ที่สิ่งท่ีมีชีวิตจะต้องทำ�ตามหน้าที่ เป็นมนุษย์ก็ดี เป็นสัตว์เดรัจฉานก็ดี แม้แต่ เปน็ ตน้ ไมต้ ้นไล่กด็ ีทมี่ ันมีชวี ิต มหี น้าที่ท่จี ะต้องทำ�ตามกฎของธรรมชาติ หนา้ ที่ น้ีคือตัวธรรมะในความหมายท่ี ๓ เป็นธรรมะท่ีสำ�คัญที่สุดที่เราต้องศึกษาเล่า เรยี นกนั คอื ใหร้ วู้ า่ เราจะตอ้ งท�ำ อยา่ งไร เราจะตอ้ งปฏบิ ตั ศิ ลี สมาธิ ปญั ญา ปฏบิ ตั ิ ศีลธรรม ปฏิบัติอารยธรรมอะไรกต็ ามน้ันเป็นหนา้ ที่

128 ธรรมะคอื หน้าที่ ปทานุกรมในอินเดียเขาจะไม่พูดว่าธรรมะ แปลว่า คำ�สั่งสอนของ พระพุทธเจา้ เหมือนในเมอื งไทย เขาใชค้ วามหมายทกี่ วา้ งกวา่ ธรรมะก็แปลวา่ หนา้ ที่ จรงิ ๆ มีชวี ติ มีหนา้ ที่ที่ต้องทำ� มฉิ ะน้นั มันจะไม่รอดชวี ิตอยไู่ ด้ หรอื มิ ฉะนน้ั มนั จะไม่เจริญงอกงามย่งิ ขน้ึ ไป เขาตอ้ งท�ำ หนา้ ทีใ่ ห้รอดชวี ติ อยูไ่ ด้ เชน่ ตอ้ งกนิ อาหาร เมอื่ กนิ อาหารมนั ตอ้ งหาอาหารกนิ การหาอาหารกนิ กเ็ ปน็ หนา้ ที่ ต้องบริหารกายให้ถูกต้องมันก็เป็นหน้าที่ ต้องอบรมให้มันเจริญงอกงามก็เป็น หน้าที่ ทนี ที้ างกายหมดแลว้ กเ็ หลอื เรอ่ื งทางจติ ใจ กเ็ ปน็ หนา้ ทท่ี จี่ ะตอ้ งใหจ้ ติ ใจ เจรญิ ๆ ใหม้ คี วามสุขชัน้ สงู สดุ น้ีกเ็ ป็นหนา้ ท่ี ธรรมะคอื หนา้ ท่ี เรามักจะได้ยินครู สอนว่าธรรมะคอื คำ�สัง่ สอนของพระพทุ ธเจา้ กเ็ ลยเฉยๆ ก็รู้วา่ มันเปน็ หน้าทที่ ไ่ี ม่ ท�ำ ไมไ่ ด้ ไมท่ �ำ จะตอ้ งตายแลว้ จะหาความเจรญิ ไมไ่ ด้ นเี้ รากค็ งจะสนใจในธรรมะ มากขน้ึ ดงั นนั้ ขอใหร้ ไู้ วว้ า่ ธรรมะแปลวา่ หนา้ ที่ แลว้ มหี ลายระดบั เปน็ ระบบๆ ไป ตามความเหมาะสม นเ้ี รียกวา่ ความหมายที่ ๓ ของค�ำ ว่าธรรมะ ทนี คี้ วามหมายที่ ๔ กค็ อื ผลที่เกดิ มาจากการท�ำหนา้ ท่ี ไดผ้ ลอะไรออก มาก็เรียกว่าธรรมะในฐานะที่เป็นผล ถ้าเป็นเรื่องสูงทางธรรมะก็เรียกว่าบรรลุ มรรคผลนพิ พานเลย น่นั แหละคือผล ถ้าเปน็ เรอื่ งต่�ำๆ กผ็ ลท่ีไดร้ บั เชน่ ท�ำนา กไ็ ดข้ า้ ว คา้ ขายกม็ เี งนิ หรอื ท�ำอะไรกไ็ ดผ้ ลตามทตี่ อ้ งการ ผลทไี่ ดม้ าทง้ั หมดนน้ั ก็ เรยี กวา่ ธรรมะดว้ ยเหมอื นกนั ค�ำวา่ ธรรมะมคี วามหมายกวา้ งเหลอื ประมาณ จะ แยกได้เป็นส่ีความหมายหรือสี่ประเภท ดังน้ันค�ำว่าธรรมะจึงเป็นค�ำประหลาด

129ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ ประหลาดทส่ี ดุ จนเราไมอ่ าจจะแปลออกมาเป็นภาษาไทยได้ ใครมปี ญั ญาลอง ไปคดิ แปลดวู า่ ธรรมะ ธรรมะคืออะไร ฝรั่งเมื่อเขาแรกมาศึกษาธรรมะ เขาก็คงจะคิดว่ามันจะแปลเป็นภาษา ฝร่ังได้โดยเฉพาะภาษาอังกฤษก็พยายามแปลคำ�น้ี มันก็แปลเร่ือยไป รู้ธรรมะ มากข้ึนกแ็ ปลข้นึ มาอีกค�ำ ร้ธู รรมะมากขน้ึ ก็แปลใหม่อกี คำ�หน่งึ ปรากฏว่าแปล กันต้งั สามสบิ สีส่ บิ ค�ำ ก็ไมห่ มดความหมายของค�ำ วา่ ธรรมะ เลยยอมแพ้ ฝร่งั ก็ ต้องเอาคำ�วา่ ธรรม ธรรมะเขา้ ไปใสใ่ นปทานุกรมของฝรัง่ หมายถึงธรรมะ ไมม่ ี การแปล เพราะวา่ มนั แปลไม่ได้ ภาษาไทยเรากย็ งั ใชค้ �ำ ว่าธรรมะไปตามเดมิ ดังนัน้ คุณอย่าเพ่งิ อวดดีวา่ คณุ รธู้ รรมะหมดแลว้ มนั ยงั มากเกนิ ไปทจี่ ะพดู คราวเดยี วใหร้ หู้ มดไดห้ รอื วา่ รจู้ กั กันหมดได้ แต่ควรจะจำ�ความหมายสี่อย่างน้ีไว้แล้วไปรู้ทีหลังมากข้ึนๆ ธรรมะ คือตัวธรรมชาติ ธรรมะคือกฎของธรรมชาติ ธรรมะคือหน้าที่ตามกฎของ ธรรมชาติ ธรรมะคือผลอันเกดิ มาจากหนา้ ที่ และดูเอาเองว่าในสี่ความหมายนี้ ความหมายไหนส�ำ คัญ เขาดูกันมาแล้วจะเห็นว่าความหมายที่ว่าหน้าท่ีส�ำคัญท่ีสุด ไม่ท�ำมัน ก็ต้องตาย ธรรมะธรรมชาติก็รู้ไว้ก็ได้ รู้ก็ไปเอาธรรมชาติมาใช้เป็นประโยชน์ เหมือนทางวิทยาศาสตร์นี้รู้ตัวธรรมชาติ รู้เรื่องธรรมชาติเอามาใช้ให้เป็น ประโยชน์ แต่ยังไม่จ�ำเป็นเท่าหน้าท่ี กฎของธรรมชาติก็เหมือนกันถ้าเรารู้แล้ว ก็เอามาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ ก็จะบังคบั ธรรมชาติได้บางส่ิงบางอย่าง เช่น ถ้าเรา