Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมคือหน้าที่

ธรรมคือหน้าที่

Published by Piyaphon Khatipphatee, 2021-10-29 13:11:39

Description: ธรรมคือหน้าที่

Search

Read the Text Version

178 ธรรมะคือหน้าท่ี เรียน รเู้ รื่องนน้ั ๆ ใหด้ ีๆ แลว้ ท�ำความเข้าใจดๆี แล้วก�ำหนดจดจ�ำให้ดๆี แลว้ เอา ไปใชใ้ ห้ส�ำเร็จประโยชน์ น้ีแหละการทเ่ี ราบวชจริง เรียนจรงิ ปฏิบตั ิจริง ไดผ้ ล จรงิ สอนตอ่ ๆ กันไปจรงิ ๆ อยา่ งน้อยก็ขอใหเ้ ปน็ ไปใน อปัณณกปฏปิ ทา สาม ประการนเ้ี ถิด มนั เหลอื ประมาณแล้ว เรียกวา่ ประโยชนเ์ หลอื หลาย เหลอื ท่ีจะ กลา่ วแลว้ ส�ำรวม ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ น้มี ผี ลถึงความเป็นพระอรหนั ต์แล้ว รู้ ประมาณในการบรโิ ภคนอ้ี ยอู่ ย่างกเิ ลสไมค่ รอบง�ำยำ�่ ยไี ด้ ตนื่ อยเู่ สมอเปน็ การ ปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ คี วามผดิ พลาดได้ จ�ำเปน็ ทสี่ ดุ แมแ้ ตฆ่ ราวาส ฉะนนั้ ชว่ ยจ�ำใหด้ ี วา่ เรียนนักธรรมตรี หมวดสาม เร่อื ง อปณั ณกปฏิปทา มนั มเี รอ่ื งเนอื้ หาสาระ มากมายถงึ อย่างน ี้ เอ้า, ทีนี้เวลายังเหลืออยู่อีกบ้างก็จะพูดถึงว่า ฆราวาสน้ีไม่ใช่ว่าจะมี ธรรมะต่�ำๆ เตย้ี ๆ โง่ๆ เงา่ ๆ อยา่ งฆราวาส มันมีเรื่องทน่ี า่ อศั จรรย์ทวี่ ่า ฆราวาส กลุ่มหน่ึงไปทูลถามพระพุทธเจ้า ไปขอร้องให้ทรงแสดงธรรมะท่ีเป็นประโยชน์ แกฆ่ ราวาส พระพทุ ธเจา้ ทา่ นตรสั เรอ่ื งสญุ ญตา สญุ ญะตปั ปะฏสิ งั ยตุ ตา สตุ ตนั ตา คอื บทสตู รทงั้ หลายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอื่ งสญุ ญตา คอื ความวา่ ง เดยี๋ วนเี้ ขาวา่ ไม่ ไม่ เอามาสอนไมไ่ ด้เรอื่ งความวา่ ง ฆราวาสมาสอนไมไ่ ด้ แต่ท�ำไมพระพุทธเจา้ ตอบ อยา่ งนน้ั สอนอยา่ งนนั้ น่ีเพราะวา่ เราไมค่ อ่ ยจะเข้าใจเรือ่ งนี้ ความว่างมันกินความมาก แต่ว่าสรุปแล้วมันก็คือว่า ไม่มีอะไรท่ีจะ ยดึ ถอื โดยความเปน็ ตวั ตนหรอื เปน็ ของตน ถา้ จติ ไมย่ ดึ ถอื จติ กว็ า่ ง ความวา่ ง

179ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ ของจิตที่ไม่ยึดถืออะไรโดยความเป็นตัวตน มองอีกทางหน่ึงคล้ายกับว่าสูงไป ส�ำ หรบั ฆราวาส แตม่ องอกี ทางหนงึ่ กร็ วู้ า่ เหตกุ ารณท์ เี่ ลวรา้ ยทง้ั หลายมนั มาจาก ความยดึ ถอื วา่ ตวั ตนวา่ ของตนทง้ั นนั้ มนั แมจ้ ะเปน็ ฆราวาสกจ็ งบรรเทาความยดึ ม่ันถือมั่นเรื่องตัวตนของตนน้ี ให้มากเท่าที่จะมากได้ มันไม่มีเสียหาย มันไม่มี เสียหลาย อย่าเข้าใจผิดว่าเม่ือไม่ยึดมั่นแล้ว จะไม่ทำ�อะไร จะไม่ทำ�ประโยชน์ อะไร มนั ไม่ท�ำ ดว้ ยความยึดมั่นถอื มนั่ แต่มันทำ�ดว้ ยสตปิ ัญญา จะทำ�การทำ�งาน ท�ำ มาหาเลี้ยงชวี ิตกเ็ ถอะ ขอให้ท�ำ ดว้ ยสตปิ ญั ญา อยา่ ท�ำ ดว้ ยความยึดมั่นถอื ม่ัน มนั เป็นทกุ ขต์ ลอดเวลา ถา้ ยดึ มนั่ ถอื มน่ั พอสกั วา่ จะท�ำ กเ็ ปน็ ทกุ ขแ์ ลว้ ท�ำ อยกู่ เ็ ปน็ ทกุ ขแ์ ลว้ ท�ำ ได้ แลว้ ก็ยงั เปน็ ทกุ ขอ์ ยู่ เพราะมคี วามยดึ มั่นถือมนั่ มันหนักอย่บู นจิตใจ มันกดทับ จิตใจตลอดเวลา แล้วใหร้ ูว้ ่าธรรมะสงู น้ีต้องใช้แมแ้ ก่เดก็ ๆ ความไมย่ ึดมนั่ ถอื มน่ั น่ใี ห้ใชใ้ ห้มีแม้แกเ่ ดก็ ๆ เพราะเดก็ ๆ กม็ ีปญั หาอย่างเดียวกนั เด็กคนไหนขโ้ี กรธ ขโี้ มโห ดอ้ื เดก็ คนนนั้ มนั มคี วามยดึ มน่ั ถอื มนั่ มาก ถา้ มนั ลดความยดึ มนั่ ถอื มนั่ ได้ มันจะด้อื ลดลง มันจะโมโหนอ้ ยลง มันความขีโ้ กรธน้อยลง มันจะรอ้ งไหน้ ้อยลง เมื่อของแตกของหายมันไม่ร้องไห้ เม่ือมันสอบไล่ตก มันก็ไม่ต้องเป็น ทกุ ข์ มนั เรยี นใหมไ่ ด้ นเ่ี รยี กวา่ แมแ้ ตเ่ ดก็ ๆ กย็ งั มเี รอื่ งทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ เพราะความยดึ ม่นั ถอื มั่น เราเหน็ เด็กๆ ท่ีมันดอื้ บดิ ามารดา ไม่รคู้ ุณของบดิ ามารดา ไม่รสู้ มคั ร สมานสามัคคีในหมูเ่ พอ่ื นฝูง เพราะมนั มีความยดึ ม่นั ถอื มัน่ คือ ความเหน็ แก่ตวั

180 ธรรมะคือหน้าที่ ความเห็นแก่ตัว น้ีเป็นเหตุให้เกิดอาชญากรรมมากมายมหาศาลทั่วไป ทกุ อยา่ ง ถา้ ลดความเหน็ แกต่ วั ลงไปได้ มนั กเ็ กอื บไมม่ เี รอ่ื งราวอะไร มคี วามโลภ ก็เพราะเห็นแก่ตัว มีความโกรธก็เพราะเห็นแก่ตัว มีความโง่ก็เพราะเห็นแก่ตัว เรยี กวา่ โลภะ โทสะ โมหะ มันเกดิ ขึ้นมาเพราะว่าความเห็นแก่ตวั คอื จติ ท่มี นั ยดึ มน่ั ถอื มนั่ เปน็ อปุ าทาน ฉะนนั้ เราอยา่ ท�ำ อะไรดว้ ยอปุ าทาน ท�ำ ดว้ ยสตปิ ญั ญา มีหลักจำ�ง่ายๆ ว่า ถ้าเราจะถือศีลอย่าถือด้วยความยึดมั่นถือมั่น มันจะเป็น สีลพั พตปรามาส มันจะไม่ได้ผลและมนั จะบา้ ถ้าถือศีลก็ถือด้วยสติปัญญา เรียกว่าสมาทาน สมาทานศีล สมาทาน ธดุ งค์ สมาทานสมาธิ สมาทาน แปลว่า ถือเอาอย่างดี ถอื เอาด้วยสติปัญญา แต่ ถา้ ถอื ดว้ ยอปุ าทาน ดว้ ยความยดึ มน่ั ถอื มนั่ แลว้ เปน็ เรอื่ งผดิ เปน็ เรอื่ งโง่ เปน็ เรอ่ื ง หลง เป็นเรือ่ งมดื เปน็ เรอ่ื งทีใ่ หผ้ ลรา้ ย ฉะน้นั อยา่ ได้ทำ�อะไรดว้ ยอปุ าทาน ยึด ม่นั ถอื ม่นั ดว้ ยความโง่ แตท่ �ำ อะไรกท็ ำ�ดว้ ยสมาทาน คอื ดำ�เนนิ ไปดว้ ยสติปญั ญา เร่ืองนี้การศึกษาในโลกก็ยังสอนกันอยู่ผิดๆ หรือขัดกับหลักอันนี้ เขา สอนให้เด็กยึดมน่ั ถอื มั่น ให้มมุ านะ ใหห้ วงั อย่างยง่ิ ใหท้ ะเยอทะยานอย่างย่ิง และกจ็ ะไดด้ ี อย่างนม้ี นั ผดิ หลักธรรมะหมด เราจะสอนให้เดก็ รูจ้ กั ทำ�แต่พอดี ดว้ ยสตปิ ญั ญา ท�ำ ไปตามสบาย นอนหลบั สนทิ ไมต่ อ้ งเปน็ โรคประสาทตง้ั แตเ่ ลก็ ฉะนน้ั อยา่ ท�ำ ดว้ ยความยดึ มน่ั ถอื มน่ั หรอื อปุ าทาน แตท่ �ำ ดว้ ยสตปิ ญั ญา ถูกตอ้ งเรยี กวา่ สมาทาน ถา้ ใครถอื ศลี อย่างอุปาทานแล้วไม่มผี ลอะไร นอกจาก ยกหชู หู าง ขม่ ผอู้ นื่ มนั ไมไ่ ดม้ ผี ลอะไร ถา้ ถอื ศลี ดว้ ยสมาทานจะใหผ้ ลดตี ามความ

181ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ มงุ่ หมายของศลี ทกุ ๆ ประการอยา่ งน ้ี รไู้ วว้ า่ เรอ่ื งความไมย่ ดึ มน่ั ถอื มนั่ นน้ั จ�ำ เปน็ ส�ำ หรบั ทกุ คน แม้ทส่ี ดุ แตล่ ูกเดก็ ๆ อย่าให้เขาตอ้ งเป็นเดก็ ด้ือ โกรธเก่ง ร้องไห้ เกง่ เหน็ แกต่ วั เก่ง อันนเี้ ป็นเร่ืองยึดม่นั ถอื มั่นทง้ั น้นั เม่อื เด็กๆ กต็ อ้ งไดร้ บั การ ฝกึ ฝนอยา่ งนี้ ผใู้ หญก่ ไ็ มต่ อ้ งพดู ถงึ หรอก ขอใหร้ หู้ ลกั ลกึ ทเ่ี ปน็ ใจความส�ำ คญั ของ พระพทุ ธศาสนา คือเรือ่ งความไม่ยดึ มนั่ ถือม่ันหรอื สุญญตา ตามที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสสอน เรื่องความไม่ยึดมั่นถือมั่นนี้ สัพเพ ธัมมา นาลงั อภินเิ วสายะ ผมส�ำ รวจดใู นพระบาลี พระไตรปฎิ ก มีผู้มาทูลถาม ตง้ั เก้ารายสิบราย เรื่องอะไรเป็นบทสรุปของพระพุทธศาสนา ซึ่งตรัสว่า สัพเพ ธัมมา นาลงั อภนิ เิ วสายะ แต่แล้วฆราวาสทง้ั นน้ั เลย ในเกา้ รายสบิ รายทมี่ าทลู ถามนั้นเป็นฆราวาสท้ังนั้นเลย กระท่ังเป็นพระอินทร์ ไม่มีพระบรรพชิตไปทูล ถามเลย น่ีแสดงว่าในครั้งกระโน้น ฆราวาสเขามีการปฏิบัติธรรมะในระดับสูง เรอ่ื งความไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยเหมือนกัน ไม่ใช่ทิ้งไว้แต่ให้เป็นเรื่องของพระ โดยส่วนเดียว เอาละ, เปน็ อนั วา่ เราไดม้ ารเู้ รอื่ งวา่ เหตกุ ารณเ์ ลวรา้ ยทงั้ หลายมนั มาจาก ความยดึ ม่ันถอื ม่นั ซงึ่ เป็นเหตุใหเ้ หน็ แก่ตวั แล้วก็มีโลภะ โทสะ โมหะ สารพัด อยา่ ง ท�ำ ใหเ้ กดิ ความยงุ่ ยากล�ำ บาก ในทสี่ ดุ นก้ี พ็ ดู กนั สกั ขอ้ หนง่ึ ถงึ เรอ่ื งฆราวาส ธรรมอกี วา่ ฆราวาสธรรม ๔ ประการน่นั แหละ ส�ำ หรบั ฆราวาสยกตวั ข้ึนมา จากความเป็นฆราวาสมาเป็นพระอริยบุคคล เป็นพระอริยเจ้า ไม่ใช่ให้ ฆราวาสจมปลกั อยูใ่ นความเปน็ ฆราวาสโดยธรรมะสี่ประการนัน้

182 ธรรมะคือหน้าที่ ฉะนน้ั เราตอ้ งสอนเรอ่ื งนกี้ นั ใหถ้ กู ตอ้ ง แลว้ จงปฏบิ ตั เิ รอื่ งนก้ี นั ใหถ้ กู ตอ้ ง กจ็ ะเปน็ ผเู้ ดนิ ถกู ทาง เกิดมาเดนิ ถกู ทาง ถ้าไมไ่ ด้มาบวช ไม่ได้มาเรยี น ไม่ไดม้ า ศกึ ษาเรอ่ื งเหลา่ นี้ มนั จะเหมอื นกับคนหลับตา เดินไม่ถูกทาง พอมคี วามรูเ้ รือ่ งน้ี พอสมควรแล้ว มันกก็ ลายเป็นเดนิ ถูกทาง เพ่ือว่าเราจะได้ไม่หลงทางของมนษุ ย์ ฟังดูมนั ก็นา่ หัว เป็นมนุษย์ทไ่ี มห่ ลงทางของความเปน็ มนุษย์ เป็นมนุษยโ์ ง่มันก็ หลงทางของความเป็นมนุษย์น่ันเอง มันเป็นมนุษย์ไม่ได้ และมันก็ไม่ได้ส่ิงที่ดี ทส่ี ดุ ทม่ี นษุ ยค์ วรจะไดร้ บั มนั ไมไ่ ดส้ ง่ิ ทดี่ ที สี่ ดุ ทมี่ นษุ ยค์ วรจะได้ มนั นา่ ละลายสกั เทา่ ไร ฉะนน้ั เราก็อยา่ เป็นผหู้ ลงทางของความเป็นมนษุ ย์ ให้เราได้เดนิ ทางถกู หนทางของความเปน็ มนษุ ยต์ ามลำ�ดบั ๆ มา เหมอื นอยา่ งทว่ี า่ มาแลว้ ในการบวช ของเราน้ี แม้จะบวชระยะส้ันก็ขอให้สำ�เร็จประโยชนในการท่ีจะได้ไม่หลงทาง ของมนษุ ย์ มอี ะไรๆ ทตี่ อ้ งศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ หมอื นอยา่ งทก่ี ลา่ วมาแลว้ นขี้ อ้ ความ ที่ผมหวงั ต้ังใจจะพดู ให้พระราชภัฏทงั้ หลาย สรุปความว่า ขอแสดงความยินดีในการท่ีได้มีโอกาสบวชเป็นราชภัฏ แล้วต้ังใจอย่างแน่วแน่มั่นคงท่ีจะศึกษาธรรมะท่ีเหมาะสมแก่ความเป็นราชภัฏ และก็จะได้ผลท้ังว่าจะอยู่ต่อไปมันก็อยู่ได้ จะลาสิกขาออกไปมันก็ยังได้รับผล เตม็ ที่ ดที ่ีสุดกวา่ ทจ่ี ะไมไ่ ด้เรยี นรู้หรือไมไ่ ด้ศึกษาอบรมอยา่ งนเ้ี ลย เอาละ, เปน็ อนั วา่ เราไดพ้ ยายามกนั อยา่ งดที ส่ี ดุ แลว้ ในการทจี่ ะช�ำ ระปญั หาตา่ งๆ ของความ เป็นมนษุ ยใ์ หม้ นั หมดส้นิ ไป

183ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ ผมก็ขอยตุ ิการบรรยายในวนั แรกไว้เพียงเท่านี้ ขอใหก้ ำ�หนดใส่ใจไปทุก ขอ้ ถา้ กลวั จะลมื กจ็ ดไว้ แลว้ ไปใครค่ รวญตอ่ อกี โดยละเอยี ด กจ็ ะส�ำ เรจ็ ประโยชน์ ตามความประสงคม์ ุ่งหมายของการอบรมน้ีทกุ ๆ ประการ ขอยตุ ิการบรรยายในวันน.้ี

“... หนา้ ท่ีทจี่ ะต้องประพฤตปิ ฏิบัตใิ หด้ บั ทกุ ขไ์ ด้ มันตอ้ งปฏบิ ตั ิใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎของธรรมชาติ ซง่ึ เราจะตอ้ งฝึกกนั อย่เู สมอ ฝึกท�ำหน้าท่ีให้ถูกตอ้ งตามกฎธรรมชาติ หนา้ ทอ่ี ันน้กี เ็ รียกในภาษาบาลีวา่ ธรรม ...”

แก่ เอกสารจดหมายเหตพุ ุทธทาส อินทปัญโญ. รวมภาพวาดลายเส้น และค�ำ กลอน. (พ.ศ.2472-2496). BIA 5.2/1 (2/2) กล่อง 1. หน้า 340

ธรรมะบรรยายเรื่อง การปฏิบตั ไิ ม่ผิด ครง้ั ที่ ๔ อบรมพระภิกษนุ วกะในพรรษา วันท่ี ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้ถอดค�ำ บรรยาย คุณกิตติคณุ ตาดี ผตู้ รวจทาน คณุ ธีรชาติ พันธ์ุหอม

185ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ การปฏบิ ัติไม่ผิด อยากจะพดู เรือ่ ง ท่ีมใี นนวโกวาท ทีส่ �ำ หรับให้เรียนนัน่ แหละ หมวด ๓ ทเี่ รยี กวา่ อปณั ณกปฏิปทา คงจะนกึ ออกเพราะวา่ กม็ อี ยู่ ๓ ขอ้ อนิ ทรยี สงั วร โภชเนมตั ตัญญตุ า ชาครยิ านโุ ยค ๓ ขอ้ นี้ ฟังดูผวิ ๆ เผนิ ๆ มนั ก็ไม่เท่าไร แต่ใน พระบาลีแท้ๆ น้ันว่า เป็นไปเพ่ือความส้ินอาสวะ ผู้ใดปฏิบัติอยู่ในธรรมะ ๓ ประการนี้ การเกดิ ของผู้นนั้ ชือ่ วา่ เตรียมเพื่อความสนิ้ อาสวะ ดังนนั้ จึงเปน็ เร่ืองสูงสดุ แตค่ งจะยากที่จะมองเห็นในความสำ�คัญหรอื ความวิเศษของ ธรรมะ ๓ ขอ้ นี้ จึงอยากจะพดู อินทรียสังวร –สำ�รวมอนิ ทรยี ์ โภชเนมตั ตญั ญตุ า –รูป้ ระมาณในการบริโภค ชาคริยานุโยค –ประกอบความ เพียรของผู้ต่ืนอยเู่ สมอ

186 ธรรมะคอื หน้าท่ี ทนี ก้ี ็จะอธิบาย ความส้ินอาสวะนน้ั หมายถงึ ความเปน็ พระอรหันต์ อาสวะคอื กเิ ลส หรอื ความเคยชนิ แหง่ กเิ ลส ทส่ี ะสมไวใ้ นสนั ดาน สนั ดาน คอื พ้ืนฐานของจิต โดยหลักทั่วไปก็มีว่าเมื่อเราเกิดกิเลสครั้งหน่ึง เช่น เกิดโลภะ โทสะ โมหะ อย่างใดอยา่ งหน่ึงกไ็ ด้ เกดิ ขน้ึ มาครง้ั หนง่ึ มันกม็ ีอนสุ ยั คือ ความ เคยชินทีจ่ ะเกิดเช่นนน้ั อีก เกบ็ ไวค้ รงั้ หน่ึง เกิดกเิ ลสก่คี รั้งกเ็ ก็บไว้เท่านั้นครง้ั ถา้ เกดิ กเิ ลสประเภทโลภะ กม็ นั จะเกบ็ ความเคยชนิ ท่ีจะเกดิ โลภะ เรยี ก วา่ ราคานุสยั ถ้าเกิดกเิ ลสประเภทความโกรธ โทสะ หรอื โกธะ มนั กส็ ะสมความ เคยชินที่จะโกรธ หรือท่ีจะโทสะนน้ั ไว้ ท่ีสะสมไวน้ น้ั เรยี กว่า อนุสยั ถ้าเกย่ี วกบั ความโกรธก็เรียกว่า ปฏิฆานุสัย ถ้าเกิดกิเลสประเภทโมหะ มันก็สะสมอนุสัย ส�ำ หรบั จะโมหะ เรยี กชอ่ื วา่ อวชิ ชานสุ ยั ดงั นน้ั จ�ำ ชอ่ื อนสุ ยั ทง้ั ๓ อยา่ ง ราคานสุ ยั ปฏิฆานุสยั อวชิ ชานสุ ยั อนุสยั ทส่ี ะสมไวใ้ นสนั ดาน คอื เพมิ่ มากขนึ้ อาจจะเกิดได้งา่ ยขน้ึ อาจ จะเกดิ ไดเ้ รว็ ขน้ึ นี่ เรยี กวา่ สะสมไวใ้ นสนั ดาน แลว้ มนั กจ็ ะไหลออกมาอกี คอื เปน็ ความโลภ เป็นความโกรธ เป็นความหลงอีก ที่มันจะไหลออกมานี้ ก็เรียกว่า อาสวะ เรียกช่ือใหมเ่ ป็นกาม กามาสวะ คือ ออกมาเปน็ ความใครท่ ้ังหลาย ก็ พวกโลภะ ราคะ นน่ั อกี แหละ ภวานสุ ยั ออกมาเพอ่ื จะเปน็ นน่ั เปน็ น่ี อวชิ ชานสุ ยั ออกมาส�ำ หรบั จะไมร่ อู้ ะไร ส�ำ หรบั จะโงห่ นกั ขน้ึ นเ้ี รยี กวา่ อาสวะ เขามกั จะเรยี ก กนั ว่าเคร่อื งดองในสันดาน กไ็ ดเ้ หมือนกนั แต่อาจจะเขา้ ใจผดิ คลา้ ยๆ วา่ เปน็ ของเป็นด้นุ เปน็ กอ้ น เป็นของตายตัว ท่จี ริงมันเป็นเพียงความเกิดแหง่ กิเลส ซง่ึ เป็นส่วนประกอบของจิต เป็นพวกเจตสิกธรรม เครือ่ งประกอบของจิต แลว้ มัน

187ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ก็จะเกิดขึ้นได้โดยง่าย มันไม่ได้ไปเกิดอยู่ที่น่ันตลอดเวลา แต่มันจะเกิดใหม่คือ จะออกมาอยู่ พรอ้ มอยูเ่ สมอ มันควรจะถามตวั เองวา่ ท�ำ ไมท่ีเราจงึ ได้รกั รักเร็ว เรว็ จนควบคมุ ไมท่ นั ท�ำ ไมจงึ ไดโ้ กรธ โกรธเรว็ จนควบคมุ ไมท่ นั ท�ำ ไมจงึ ไดส้ ะเพรา่ โง่เงา่ หลงใหลอะไรจนควบคมุ ไมค่ อ่ ยจะทัน นีก่ ็เพราะว่ามันสร้างความเคยชิน ทจี่ ะเป็นเช่นนน้ั เพิ่มไว้ เพม่ิ ไว้ในสนั ดาน เราเคยรกั เคยโกรธ เคยโง่ เคยโลภ โกรธ หลง มาเรอ่ื ยๆ แลว้ มนั กส็ ะสม ความเคยชินทจ่ี ะเปน็ เชน่ นั้นไวม้ าก ฉะนน้ั ในตอนหลังๆ มาน้ีจึงรักเร็ว โลภเร็ว จนควบคุมไม่อยู่ จงึ โกรธเร็ว ประทษุ ร้ายผอู้ น่ื เร็ว ควบคุมไม่ทัน แลว้ กย็ งั โง่ หรือ สะเพรา่ หลงใหล มวั เมาเรว็ มันหนกั มากจนไมเ่ ชอ่ื ฟงั ใคร นเ่ี รือ่ งกิเลส ช่วยกนั สนใจใหด้ ี ถา้ วา่ มนั ควบคมุ กเิ ลสไมไ่ ดห้ รอื ละกเิ ลสไมไ่ ด้ นกี้ แ็ ปลวา่ ไมม่ สี าระอะไร ส�ำ หรับคนนนั้ สำ�หรบั บุคคลคนๆ นัน้ ทบ่ี วชเปน็ พระเป็นเณรเสียด้วยแลว้ ยัง ควบคมุ ไมไ่ ด้เสยี เลย กย็ ่ิงร้ายหนักขน้ึ ไปอีก จะพดู ถงึ ราคานสุ ยั ความเคยชนิ ทจี่ ะรกั หรอื ทจี่ ะโลภเปน็ ขอ้ แรก ท�ำ ไม มนั จงึ เหน็ แกจ่ ะกนิ ของอรอ่ ย พอเหน็ ของอรอ่ ยมา กม็ จี ติ ใจผดิ ปกติ แลว้ มนั กจ็ ะ แสดงออกมาหลายๆ อยา่ ง หลายๆ ทาง อยา่ งเชน่ วา่ ถา้ เปน็ ของทม่ี นั ทง้ิ อยกู่ ลาง บ้านมันก็จะขโมย มนั จะขโมย มนั จะเอาไปดว้ ยความโลภ หรอื แม้แตว่ ่าเราบวช แล้ว เรากย็ งั จะตอ้ งมปี ัญหา เร่ืองทจ่ี ะพอใจ โลภ หรือราคะ เมือ่ เห็นในส่ิงที่ยวั่ ราคะ มันก็มีราคะข้ึนมาทันที สิ่งที่เป็นส่วนยั่วความโลภมันก็โลภขึ้นมาทันที แมแ้ ตเ่ รอ่ื งเลก็ ๆ นอ้ ยๆ เชน่ ฉนั อาหารอยา่ งน้ี ในทเ่ี ลยี้ งฉนั อาหาร พอเหน็ อาหาร อรอ่ ย จิตใจมนั ก็หว่ันไหวไปหมดแล้ว

188 ธรรมะคอื หน้าท่ี มนั กเ็ ปน็ เหตใุ หไ้ มเ่ ออื้ เฟอ้ื ในวนิ ยั ทจ่ี ะท�ำ ผดิ หลายๆ ประการ เกย่ี วกบั เสขยิ วตั ร บ้าง อะไรบ้าง ตลอดถงึ วา่ มนั จะเอาเปรียบ มันจะตักเอามากกว่าผอู้ ่ืน เกินส่วนทคี่ วร จะได้ หรอื วา่ มนั จะกนิ มมู มาม มมู มามไมส่ มกบั เปน็ พระ มนั มบี อ่ ย บางทกี ม็ บี าง องค์มูมมาม มมู มาม หรือบางทีกต็ ักมาก อะไรดตี กั หมด น่นั เพราะความเกิดขน้ึ รวดเรว็ ของอนสุ ยั ประเภทราคานสุ ยั ซง่ึ มอี ยใู่ นจติ ใจเขาเรยี กวา่ สนั ดาน คอื พน้ื ฐาน ของจติ ไมใ่ ชต่ วั จติ เอง แตว่ า่ คลา้ ยๆ กบั เปน็ ทส่ี ะสมอะไรๆ ของจติ เรยี กวา่ สนั ดาน ในสันดาน ถา้ วา่ เปน็ เรอื่ งของโทสะ หรอื โกธะ กโ็ กรธงา่ ย ฉนุ เฉยี ว เพอื่ นวา่ นดิ หนง่ึ ก็ฟงั เป็นมาก เปน็ เรื่องใหญโ่ ต เอาไปโกรธ เอาไปแคน้ ได้มากมาย เพราะวา่ มนั สะสมปฏฆิ านุสยั ไว้มาก มนั ก็คิดพยาบาท คดิ แก้แคน้ ท�ำในสงิ่ ที่ไม่ควรกระท�ำ อย่างพระ อย่างนี้มันไมค่ วรกระท�ำ เหมือนกบั เด็กอนั ธพาลท�ำ มนั เคยมี โกรธ ข้ึนมา เอายางตาต่มุ มาใสใ่ นอาหารของเพ่อื น หรือเอาสลอดมาใส่ในอาหารของ เพอ่ื น เพราะความโกรธ เพอื่ นกินเขา้ ไปถา่ ยเกือบตาย แลว้ มันก็ดีใจ เพราะมันมี โทสะ ประทษุ ร้าย บางทกี ็เอาหมามยุ่ มาใสใ่ นน้�ำอาบของเพอื่ น ดว้ ยความโกรธ ด้วยความ โลภกย็ ังได้ ดว้ ยความโกรธ ขัดใจเขา โลภไมไ่ ด้อย่างใจ หรอื ด้วยความโงค่ วาม หลง เปน็ อวชิ ชานสุ ยั ไปกไ็ ด้ นน่ั แหละมนั เปน็ เหตใุ หเ้ สยี หายหมด ความเปน็ พระ นะ่ ไมเ่ หลือ เพราะมันท�ำอย่างอนั ธพาล เดก็ ๆ ลูกเด็กๆ อนั ธพาล ไมม่ กี ารศกึ ษา

189ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ น้ีเรียกว่า ไม่รเู้ รอื่ งของอาสวะ หรอื อนุสยั ท่สี ะสมไว้ ไมค่ อยอดกลนั้ บีบ ค้ันเอาไว้ ถา้ คอยบบี ค้ันเอาไว้ ไม่เปน็ ไปอย่างนน้ั มันลด อนุสยั ท่เี ราเก็บไว้มากๆ มากๆ ก็คราวนอ้ี ดกลั้นได้ บังคับไวไ้ ม่ท�ำ อย่างน้มี ันจะลด ท่ีเคยจะสำ�หรับจะรกั งา่ ย โลภง่ายมนั ก็ลด ทเี่ คยจะโทสะ โกรธงา่ ย ประทุษรา้ ยง่าย มนั ก็ลด ท่จี ะโง่ ทจี่ ะสะเพร่า ที่จะมวั เมาหลงใหลมนั ก็ลด ถา้ บงั คบั กเิ ลสไวไ้ ดท้ หี นง่ึ อนสุ ยั กล็ ดลงไปหนว่ ยหนง่ึ ฉะนน้ั ถา้ เราบงั คบั กเิ ลสวนั หนง่ึ หลายๆ หนว่ ย หลายๆ เรอื่ ง หลายๆ ครง้ั อนสุ ยั มนั กล็ ด มนั กเ็ ปลย่ี น นสิ ยั เรากจ็ ะเปลยี่ นนสิ ยั ได้ สมตามทว่ี า่ บวชมานี้ จะขดั เกลานสิ ยั อยา่ งไร จะเลกิ ละนสิ ยั ทไี่ ม่ถูกต้องไม่สมควร ดังนนั้ จะต้องรูเ้ รอื่ งอนสุ ยั วา่ มันมีความเลวรา้ ยอย่างน้ี แล้วก็จะเตรยี ม ส�ำ หรับแกไ้ ข ผอ่ นคลาย บงั คับจิต การท่ีทำ�ให้อนสุ ยั หรืออาสวะเบาลง เบาลง ลดลง ลดลงนนั่ แหละ เปน็ คณุ สมบตั ขิ องความเปน็ พระ เปน็ บรรพชติ เปน็ สมณะ เพราะว่าการท�ำ อยา่ งนนั้ มันทำ�ให้อาสวะบรรเทาลง บรรเทาลง ถ้ามันบรรเทาอยู่อย่างน้ันเร่ือยไป ไม่เท่าไร มันก็ต้องหมด หมดกิเลส หมดอาสวะ นน่ั เปน็ เรอื่ งสงู สดุ เปน็ เรอ่ื งเปน็ พระอรยิ เจา้ ถงึ แม้วา่ จะไม่เปน็ พระ อริยเจ้า มันกเ็ ปน็ สัตบุรุษทด่ี อี ยใู่ นบ้านเรอื น มีอนุสยั น้อย มอี าสวะนอ้ ย กเ็ ปน็ อันว่าการเกิดมานั้น เป็นการเกิดที่ดี เป็นการได้ท่ีดี ในธรรม ๓ ประการนี้ มี พระพุทธภาษิตกล่าวไวช้ ดั อย่างนั้นเรียกว่า “อปัณณกปฏปิ ทา ปฏบิ ตั ิแลว้ การ เกิดของผนู้ นั้ กช็ อ่ื วา่ ปรารภแล้วเพื่อความสิน้ อาสวะ”

190 ธรรมะคอื หน้าที่ เอ้า, ทีนี้ก็จะพูดถึงตัวธรรมะ ๓ ข้อนั้นที่ว่า ปฏิบัติแล้วจะเป็นไปเพื่อ ความสนิ้ อาสวะ ขอ้ ที่ ๑ อนิ ทรยี สงั วร อินทรียสังวร คำ�วา่ อินทรยี ใ์ นที่น้ี หมายถึง ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ทีเ่ รยี กว่าอินทรีย์ อินทรยี ์ซงึ่ แปลว่าความย่งิ ใหญ่ หรือส่ิง ท่ยี ง่ิ ใหญ่ น่นั กเ็ พราะว่า ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ มนั เปน็ เหตุทัง้ หมดของสง่ิ ท่ีจะ เกดิ เรอื่ งเกดิ ราว มนั เปน็ ใหญต่ ามหนา้ ทข่ี องมนั ตากท็ างตา หกู ท็ างหู จมกู กท็ าง จมกู ในหน้าท่ขี องมนั นนั้ มนั มีความเปน็ ใหญ่ มีความย่งิ ใหญ่ ถ้าเรยี กว่าอินทรยี ์ อนิ ทรีย์ ทั้ง ๖ นี้ ถา้ เรียกว่าอินทรยี ์ กห็ มายถึง ความยงิ่ ใหญ่ ถ้าเรียกว่าอายตนะ ก็หมายถึง เครื่องติดต่อของความรู้สึก คือ มันจะรู้สึกได้ ติดต่อได้ ก็เรียกว่า อายตนะ ถ้าเพ่งไปในทางที่มันมหี นา้ ทตี่ ดิ ต่อกับคู่ของมัน กเ็ รยี กวา่ อายตนะ แต่ ถ้าไปเพ่งถึงความท่ีมันมีอำ�นาจมาก ก็เรียกว่าอินทรีย์ อินทรีย์ ๖ แต่เด๋ียวน้ีก็ เรยี กว่าอนิ ทรีย์ อินทรยี สังวร อนิ ทรียสงั วร ก็หมายถงึ ความที่มนั สำ�คัญ ท่ีว่าถ้า มนั ไดค้ ขู่ องมันเม่ือไร มนั กม็ เี รื่อง เชน่ ตาเม่อื ไดร้ ูปเข้ามามนั กม็ ีการเหน็ มีการ เหน็ แลว้ มนั กเ็ กดิ เรอ่ื งไดใ้ หญโ่ ต ถา้ วา่ มนั ไมม่ สี ตปิ ญั ญา การเหน็ ของบคุ คลทไ่ี มม่ ี สติปญั ญา มนั มีเร่อื งราวเป็นไป เป็นไปจนเกิดมีความทกุ ข ์ ถา้ เอาตามพระบาลกี ว็ ่า ในตวั อยา่ งทีแรก เร่ืองรปู มนั มี ๖ อย่าง เอา อยา่ งแรกเรอื่ งรปู เมอ่ื รปู มากระทบตา หรอื ตากระทบรปู มนั กเ็ กดิ จกั ษวุ ญิ ญาณ คือ การเห็นทางตาขน้ึ มา การรูแ้ จง้ ทางตาข้นึ มา เป็นการเห็นทางตา คือ การรู้

191ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภกิ ขุ แจง้ ทางตา เรียกวา่ จักษุวิญญาณ ให้ตากบั รูปถงึ กนั เข้า เกิดจักษุวิญญาณ เป็น ๓ อยา่ ง ๓ ประการ ท�ำ งานอยูอ่ ยา่ งน้ี คือ จักษุวญิ ญาณรูส้ ึกตอ่ รูป โดยอาศยั ตา เปน็ เครือ่ งมืออย่างนี้ ใหเ้ รียกว่าผัสสะ ผสั สะ คือ การกระทบ กระทบของอะไร กก็ ระทบของ จกั ษุวญิ ญาณ รสู้ กึ อยทู่ ร่ี ปู โดยอาศยั ตา ประสาทตา เปน็ เครอื่ งมอื มนั เกดิ การทถ่ี งึ กนั เขา้ กเ็ รยี ก ว่าผัสสะ เรือ่ งในตัวเราแทๆ้ แตเ่ ราไมเ่ คย ไดฟ้ งั ไดย้ นิ ไมเ่ คยศกึ ษา มันก็ยังไมร่ ู้ รแู้ ตว่ า่ เรามี สง่ิ ส�ำ คญั หกอยา่ ง ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ แตล่ ะอยา่ งส�ำ คญั ในหนา้ ที่ ของตน ก็พอจะนึกออกได้เองกระมังว่า ตาก็มีความสำ�คัญในการท่ีจะเห็นรูป แลว้ กม็ เี ร่ืองไปตามแบบของรูป หกู ม็ คี วามส�ำ คญั ในการจะได้ยนิ เสยี ง แล้วเกดิ เร่ืองเกิดราวเน่ืองจากเสียงนั้น จมูกเม่ือได้กลิ่น ก็เกิดเรื่องเกิดราวเก่ียวกับการ ไดก้ ลน่ิ ล้นิ ไดร้ ส กม็ ีเรื่องเกย่ี วกบั รส ผิวหนังร่างกาย ผิวกาย ได้กระทบกันเข้า กับสิ่งที่มากระทบ มันก็เกิดเรื่องเกิดราวไปตามแบบของร่างกาย ที่ได้สิ่งมา กระทบ ทนี ใ้ี จไดธ้ รรมารมณ์ คอื ความรสู้ กึ แกใ่ จ ทางใจเกดิ ขน้ึ มนั กม็ เี รอ่ื งมรี าว ไปตามแบบของเรอื่ งทางจิตใจ น้เี รือ่ งตวั เราแท้ๆ แต่ถ้าเราไมเ่ คยไดย้ นิ ไดฟ้ งั เรากไ็ มร่ ู้เรอ่ื ง ฉะน้ันควร จะรเู้ รอ่ื งเสยี ถา้ ไมร่ เู้ รอ่ื งแลว้ มนั กเ็ รยี กวา่ แยม่ าก เพราะวา่ มนั เปน็ เรอ่ื งของตวั เอง เกดิ อยู่ในตัวเอง เป็นไปในตัวเอง อยทู่ กุ เม่ือเชอื่ วนั แล้วยังไม่รู้ ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ๖ อย่างนี้ เรยี กวา่ อนิ ทรยี ์ ท่านวา่ ให้สงั วร สงั วรในทีน่ ้ีก็หมายความว่า มีสตคิ วบคุม เช่นวา่ ตัวอยา่ ง ทางตา ตาเหน็ รปู แล้ว เกิดจกั ษุวิญญาณแลว้ จักษุ วญิ ญาณ ทำ�งานอยทู่ ร่ี ูปนั้น โดยอาศยั ตา มันก็เกดิ ผสั สะทางตา ผสั สะทางตา

192 ธรรมะคอื หน้าที่ อันนี้ถา้ วา่ ไม่มีสติปญั ญามาควบคมุ ผสั สะนั้น มันจะปรงุ ต่อไป จนได้เกิดความ ทกุ ข์ เพราะวา่ เม่ือมันไม่มสี ตปิ ญั ญา มาควบคมุ ผัสสะ มันก็เปน็ ผัสสะโง่ ผสั สะ มืดบอด ผัสสะโง ่ ผสั สะมดื บอดก็ท�ำ ใหเ้ กดิ เวทนาเกดิ ความรู้สกึ ขนึ้ มา เปน็ สุข เวทนากม็ ี ทกุ ขเวทนากม็ ี อทกุ ขมสขุ เวทนากม็ ี เปน็ ๓ ประการนี้ เรยี กวา่ เวทนา ถา้ มาจากผสั สะโง่ กเ็ ปน็ เวทนาโง่ คอื เวทนาทใ่ี หเ้ กดิ ความหลงใหล เมอ่ื เวทนามนั โง่ มันกป็ รุงแต่งตอ่ ไปให้เกดิ ความอยากหรอื ตณั หา ก็เปน็ ความอยาก ที่โง่ ความตอ้ งการหรอื ความอยากดว้ ยสติปญั ญา ไมเ่ รยี กวา่ ตัณหา เด๋ียวนี้เป็นความอยากด้วยความโง่ ความไม่มีสติปัญญา จึงเรียกว่า ตณั หา ความอยากท่มี าจากอวชิ ชา เพราะปราศจากสติปัญญา มีแต่อวชิ ชาอยู่ ตามธรรมชาติ มนั กเ็ ปน็ เวทนาโง่ เวทนาโงใ่ หเ้ กดิ ตณั หา ถา้ นา่ รกั นา่ พอใจ กอ็ ยาก ได้ อยากเอา ถา้ ไมน่ ่ารัก ไมน่ า่ พอใจ ก็อยากจะท�ำ ลายเสีย ถา้ ว่าไมร่ วู้ ่าอะไรดี มันก็สงสัยวนเวียนอยู่นั่นแหละ วนไปวนมาอยู่น่ันแหละ น่ีคือตัณหา มีความ อยากรุนแรง ตามแบบของธรรมชาติเกิดขึ้นแล้ว เกิดข้ึนในใจแล้วมันก็จะปรุง แต่งให้เกดิ ความคิดผดิ ๆ ว่ามตี วั กูผอู้ ยาก กูผูอ้ ยาก ความรูส้ ึกวา่ กผู ู้อยากเกดิ ขึน้ อยา่ งรุนแรง ก็ยึดถอื วา่ ตัวกูเปน็ ผอู้ ยาก อยากมาเปน็ ของกู อยา่ งนก้ี ็เรียกวา่ อุปาทานยึดถือ ตณั หาให้เกิดอุปาทาน ตัณหา คอื ความอยาก ทำ�ให้เกดิ ความรู้สกึ ว่ามี ตวั กผู อู้ ยากเอามาเป็นของกู อย่างน้ีเรียกว่าตัณหาใหเ้ กิดอุปาทาน พออุปาทาน แลว้ กเ็ ป็นผ้ถู อื ของหนัก แตก่ ย็ ังแยกให้ละเอยี ด เปน็ เครือ่ งศกึ ษาใหล้ ะเอียดวา่

193ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ มนั เกดิ ภพ ถา้ เกดิ ความรสู้ กึ วา่ ตวั กู เพอ่ื เปน็ ของกแู ลว้ มนั เกดิ ภพ คอื ความมแี หง่ ตวั กขู น้ึ มาแลว้ มนั กเ็ กดิ เปน็ ชาติ ความเปน็ เชน่ นน้ั มกี ารสมมตวิ า่ บคุ คลเชน่ นนั้ หรือผู้เป็นเช่นนั้น หรือจิตท่ีเป็นเช่นนั้น เรียกว่าเป็นชาติ แล้วมันก็จะเป็นทุกข์ ดว้ ยยดึ เอาสงิ่ ตา่ งๆ รอบดา้ นมาเปน็ ของกู เอาความเกดิ ตามธรรมดามาเปน็ ของ กู เอาความแกต่ ามธรรมดามาเปน็ ของกู เอาความเจบ็ ไขต้ ามธรรมดามาเปน็ ของ กู เอาความตายตามธรรมดามาเป็นของกู ก็เลยไดท้ ุกข์ เป็นทกุ ขก์ ันใหญ่ เพยี งแต่มนั เกิดความรสู้ กึ วา่ มีตวั กแู ลว้ มันก็หนักเสยี แล้ว มนั หนกั มัน ร้อนแล้ว มันมืดแลว้ มนั กลุม้ ไปแล้ว เพราะเพียงแตม่ คี วามรอู้ ย่างผดิ ๆ ความโง่ วา่ มีตัวกู ของกแู ล้วมนั ก็หนกั แล้ว กท็ รมานแลว้ เหมอื นกับจติ นแ่ี บกของหนักไว้ แลว้ หรอื วา่ จติ นถี่ กู ลนดว้ ยไฟแลว้ หรอื วา่ จติ นถี่ กู ครอบดว้ ยของครอบมดื มดิ ไป หมดแลว้ หรอื วา่ ถกู ผกู พนั หมุ้ หอ่ ทม่ิ แทง อะไรตา่ งๆ นน่ั คอื ความทกุ ข์ เพราะวา่ เขาส�ำ รวมอนิ ทรยี ไ์ วไ้ มไ่ ด้ อินทรีย์คือ ตา ไม่มีการส�ำ รวมทถี่ กู ตอ้ งจนเกิดผัสสะโง่ เวทนาโง่ เกดิ ตณั หา เกดิ อปุ าทาน เกดิ ทกุ ข์ นเ่ี รอ่ื งเปน็ อยา่ งน้ี ถา้ เรารเู้ รอ่ื งน้ี เรากจ็ ะคอยศกึ ษา ใหท้ ันท่วงทีได้ แล้วก็จะควบคุมได้ ถา้ ไม่รสู้ ึกตวั มันกค็ วบคมุ ไม่ได้ แตโ่ ดยท่มี ัน เป็นเรื่องท่ีเกิดอยู่กับเราทุกคน ทุกคนเป็นอย่างน้ีอยู่ทุกคนหรือทุกวัน มันก็จะ ต้องร้จู กั กนั เสียบา้ ง ทางตาเปน็ อย่างน้ี ทางหู ทางจมูก ทางลิน้ ทางกาย ทางใจ กเ็ ป็นอยา่ งนเ้ี หมือนกนั โดยลกั ษณะเหมอื นกนั มันผดิ กนั แตเ่ พยี งวา่ ท่ีตาบ้าง ท่ี หูบ้าง ท่ีจมูกบา้ ง ที่ลน้ิ บ้าง ทผี่ ิวกายบ้าง ท่ีใจบ้าง ถ้ามีสตปิ ัญญาควบคมุ ได้ทัง้ ๖ อยา่ ง ๖ ทาง กร็ อดตวั ทจ่ี ะไมต่ อ้ งเกดิ การปรงุ แตง่ จนเปน็ ทกุ ขข์ น้ึ มาในภายในใจ

194 ธรรมะคือหน้าท่ี ยกข้นึ มาเปน็ ข้อแรกวา่ อนิ ทรยี สงั วร ส�ำ รวมตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ระวังรักษา ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ควบคมุ ไว้เป็นอย่างดี ไมใ่ ห้เกดิ ความรู้สึก เลวๆ เช่น รสู้ ึกรัก รู้สึกโกรธ ร้สู กึ เกลียด รูส้ ึกกลัว รูส้ กึ อะไรขนึ้ มา แตว่ า่ ถ้าสรปุ ส้ันๆ ก็ไมใ่ ห้ความรู้สึกเป็น โลภะ หรอื ราคะ ไม่ใหเ้ กดิ ความรู้สกึ เปน็ โทสะ หรือ โกธะ ไมใ่ ห้เกิดความรู้สกึ เป็นอวชิ ชา หรอื ความโง่ ความหลง ขนึ้ มา ถ้าเรามองจนเห็นว่า โอ้, มันเกิดอย่างน้ี มันเสียหายหมด เสียหายแก่ ความเปน็ มนษุ ยข์ องเราหมด ถ้ามนั เกดิ มาไดถ้ ึงขนาดนี้ ความเปน็ มนุษยข์ องเรา กเ็ สียหายหมด ทนี ีเ้ ราก็ปอ้ งกันรักษา ความเป็นมนษุ ยข์ องเรา โดยการป้องกัน รกั ษาทางอนิ ทรีย์ทัง้ ๖ น้ันเอง ถ้าเราควบคมุ อินทรีย์ท้งั ๖ ไวไ้ ด้ มนั กเ็ ท่ากับ ควบคมุ ความเป็นมนษุ ยข์ องเราไวไ้ ด้ คอื ควบคมุ รกั ษาความเปน็ มนุษย์ของ เราให้อยู่ในลักษณะท่ีถูกตอ้ ง นจี่ งคิดดูวา่ พระพุทธเจา้ ได้ยกเอาธรรมะข้อน้มี าเป็นข้อแรก ใน ๓ ขอ้ ที่ให้ปฏิบัติ ระวังสังวรไว้ด้วยดี เพื่อความส้ินอาสวะ เอ้า, ทีน้ีก็พูดกันไปถึงผล ร้ายของมันท่มี ันเกิดอยู่ คุณไปสงั เกตดูเองเถดิ ความเลยรา้ ยตา่ งๆ ความโลภ ความโกรธ ความหลงทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ กเ็ บยี ดเบยี นกนั เปน็ การใหญโ่ ต นม้ี นั กเ็ พราะ ไม่ระวงั สังวร หรือไม่สำ�รวมไดใ้ นอนิ ทรยี เ์ หล่าน้ี ไมใ่ ห้หลงรัก ไมใ่ หห้ ลงโกรธ ไม่ ใหห้ ลงมวั เมา ส�ำ รวมระวังอย่างละเอียด ขน้ึ มาอกี ก็คือวา่ ส�ำ รวมตา ไม่ให้มันไป หลงเจาะจงเอาสิ่งทีเ่ ป็นท่ตี ง้ั แหง่ กเิ ลสนนั้ เชน่ วา่ เร่อื งสวยงาม เรื่องสวยงาม ถา้ ไปแยกเป็นส่วนๆ ก็เรียกว่าแยกถือเป็นส่วนๆ ให้เห็นสวยงามเป็นส่วนๆ ถ้าไม่ แยกเอาท้ังหมดทั้งกลมุ่ กถ็ ือเอาทั้งหมดทัง้ กลมุ่

195ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ เราจะไม่เขา้ ไปหลงใหล ถือเอาโดยแยกส่วน หรอื ว่าโดยทั้งหมดท้งั กลมุ่ เรื่องเสยี งก็เหมอื นกัน แยกฟังเสียงเฉพาะสว่ น วา่ ไพเราะ หรือไม่ไพเราะ เรียก เปน็ เสยี งทง้ั หมดวา่ ไพเราะ หรอื ไมไ่ พเราะ มนั มสี ว่ นยอ่ ย และสว่ นรวม ตอ้ งรเู้ ทา่ ทันทั้งส่วนย่อยและท้งั ส่วนรวม ควบคุมไว้ไดท้ ง้ั สว่ นยอ่ ยและสว่ นรวม แล้วมนั ก็ ไม่มเี รื่องรา้ ยเกดิ ข้นึ ใหร้ ู้จกั ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ให้ดีวา่ ไมใ่ ชม่ นั มมี าสำ�หรับ ใหเ้ ราใช้เพ่ือใหเ้ กดิ ความทุกข์ เราก็ใช้ตา ใชห้ ู จมูก ล้นิ น้ี เพอื่ ตามชอบใจเรา แต่ แลว้ มนั ผิดคอื มนั โง่ มนั ก็เป็นไปเพื่อความทุกข์ จะตอ้ งใชใ้ หม้ นั ถูกต้องไมใ่ ห้เกิด ความทุกข์ เรยี กว่าต้องระวงั สังวร ส�ำ รวม เราไมไ่ ด้รับค�ำ สง่ั สอนอยา่ งน้ี ทีนีเ้ ราไมเ่ คยคดิ นึกในเรอ่ื งนี้ เรากป็ ล่อยไปตามเรอื่ งตามราว ปลอ่ ยไป ตามเรอ่ื งตามราว มนั กเ็ ลยเปน็ ไปตามบญุ ตามกรรม มนั จงึ เกดิ ความรสู้ กึ ชนดิ เลว ร้ายท�ำ ให้เป็นทกุ ข์ข้ึนมา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความรักบา้ ง ความโกรธบา้ ง ความ เกลยี ดบา้ ง ความกลวั บา้ ง ความอาลยั อาวรณ์ ความวติ กกงั วล ความอจิ ฉารษิ ยา ความหึงความหวง ความหวงยงั ออ่ นกวา่ ความหึง หวงเฉยๆ มันกไ็ มเ่ ป็นไร แต่ ถา้ มันหงึ ถึงขนาดไมใ่ ห้ใครมาแตะต้อง มันก็เดอื ดรอ้ นมาก เป็นความทกุ ข์ร้อน แกจ่ ิตใจมาก ศกึ ษาดใู หด้ ี ครบทั้งหก ๖ เรอ่ื ง เรือ่ ง ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ๖ เรือ่ ง มันเกดิ ทกุ ขอ์ ยา่ งไร ผมพูดครัง้ เดียวจำ�ไมไ่ ด้ กต็ อ้ งไปทบทวน ทบทวนใหม่ จำ�ไว้ ใหด้ ีๆ หรือหาอา่ นจากหนังสือหนังหาวา่ ทไ่ี ม่ควบคุมอนิ ทรยี ์ทงั้ ๖ แลว้ มนั เกดิ ทุกข์อย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ทางตา อินทรีย์ทางตา อายตนะภายนอก คือ อารมณ์ รูป เกดิ จกั ษวุ ญิ ญาณ ๓ ประการ ท�ำ งานกันอยู่ เรียกว่า ผัสสะ ถ้าขณะ

196 ธรรมะคือหน้าท่ี นั้นโง่ เป็นผัสสะโง่ เป็นผัสสะหลับ ก็คลอดความรู้สึกที่โง่ หรือสำ�หรับจะโง่ สำ�หรับจะหลง จะเป็นอวิชชา เวทนาชนิดนั้นก็ทำ�ให้เกิดตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ จนเป็นทกุ ข์ รไู้ วส้ กั ทหี นง่ึ กอ่ นวา่ ถา้ ฝา่ ยผดิ มนั เปน็ อยา่ งนี้ ถา้ เปน็ ฝา่ ยส�ำ รวมได้ ระวงั ได้ มนั ก็มีสติปญั ญามา คอื ระลกึ ไดใ้ นขณะทม่ี ผี ัสสะ มนั ก็รู้ว่าจะเปน็ อย่างน้ีเอง จะเป็นอย่างน้ีเอง จะเป็นตามธรรมชาติอย่างนี้เอง พอมีเวทนาข้ึนมาก็เวทนา อย่างนน้ั เอง เป็นตามธรรมชาตเิ ช่นนั้นเอง จะไม่ไปหลงกับมนั เหน็ เปน็ ของเชน่ นั้นเอง ไมร่ ัก ไมโ่ กรธ ไม่เกลยี ด ไมก่ ลัวอะไรแลว้ มันก็ได้ แล้วก็มีสติปัญญารู้วา่ ควรทำ�อยา่ งไรในกรณีนี้ ในการเหน็ ครงั้ น้ีจะทำ�อยา่ งไร ถ้าต้องทำ�ก็ท�ำ ไมม่ ีเรอ่ื ง ที่ตอ้ งทำ�กไ็ ม่ต้องทำ� กเ็ ลกิ กันไป มนั ก็ไมม่ คี วามทุกขเ์ กิดขึ้น ถา้ จะตอ้ งท�ำ อยา่ งไรกท็ �ำ ใหถ้ กู ตอ้ งตามเรอื่ งตามราว ใหไ้ ดร้ บั ประโยชน์ นี่เรียกวา่ ส�ำ รวมตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ อย่างแทจ้ ริงเป็นอยา่ งนี้ ขอให้รู้เร่อื งตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ที่มันเป็นอยู่ตามธรรมชาติ ที่มันทำ�หน้าที่ของมันตาม ธรรมชาติ แลว้ ท�ำ ใหเ้ กดิ อะไรขนึ้ มาในจติ ใจ ในสนั ดาน จนกระทง่ั เกดิ เปน็ อนสุ ยั เปน็ อาสวะ อยา่ งทกี่ ลา่ วแลว้ นค่ี อื ขอ้ แรก ถา้ ผใู้ ดปฏบิ ตั แิ ลว้ มนั กเ็ ปน็ การปฏบิ ตั ิ ท่เี ปน็ ไปเพ่ือบรรเทาอาสวะ ลดอาสวะ ลดอาสวะ ขอ้ ที่ ๑ ทีน้ีข้อท่ี ๒ โภชเนมัตตัญญุตา มีหลักเสริมขึ้นมาอีกข้อหน่ึงว่า ให้รู้ ความพอดี ในการบรโิ ภค น่ใี หถ้ ือเปน็ หลกั ไวส้ ว่ นหน่งึ คำ�ว่า โภชเน โดยตาม ปกติก็หมายถึง สิ่งที่จะกินทางปากนั่นแหละ แต่ภาษาบาลี หมายถึง จะกิน

197ธรรมบรรยายโดย พทุ ธทาสภิกขุ ทางไหนกไ็ ด้ กนิ ทางตา ทางหู ทางอะไรกไ็ ด้ ของใชส้ อย กเ็ รยี กวา่ ของบรโิ ภค เหมือนกัน ของกินก็เรียกว่าของบริโภค ของใช้สอยก็เรียกว่าของบริโภค หาก ของมีไวเ้ พ่ือประโยชนแ์ กต่ นเองนั่นแหละ กเ็ รยี กวา่ ของบรโิ ภค ฉะนน้ั เราจะมปี ัจจัย ๔ อาหาร เคร่ืองนงุ่ หม่ เคร่อื งใช้ไม้สอย เครือ่ ง บำ�บัดโรคภัยไข้เจ็บ ๔ อย่างนี้ เป็นของที่จะต้องบริโภค กินทางปากก็เรียกว่า บรโิ ภค กนิ ทางตา หู จมกู ล้นิ กาย ร่างกายอะไร ก็เรยี กว่าบรโิ ภค มนั มคี วาม จริงตามธรรมดาอยวู่ ่ามากไปก็ใหโ้ ทษ น้อยไปก็ใหโ้ ทษ เท่าไรพอดี นั่นแหละ จึงจะไมใ่ ห้โทษ แต่ถา้ เราสำ�รวมอนิ ทรยี ไ์ มไ่ ด้ สำ�รวมอินทรยี ข์ ้อท่ี ๑ ไม่ได้ เราก็ ตอ้ งกนิ มากตามกเิ ลสตณั หา จะกนิ นอ้ ยนน้ั มนั ไมม่ ี ถา้ เราไมม่ คี วามรู้ เราไมส่ �ำ รวม ระวงั อนิ ทรยี ์ ไมส่ �ำ รวมอนิ ทรยี ์ มนั กต็ อ้ งกนิ มาก มมี าก อะไรมากๆ จนกลายเปน็ มวั เมา การบริโภคมาก โดยเฉพาะอาหารก็คิดดูเถอะ มันก็ต้องมีปัญหาความ ยงุ่ ยากเกิดข้นึ มนั จะเปลอื งมาก มนั จะมีโรคภัยไข้เจบ็ มาก มนั จะเกิดปัญหาเปน็ ความอว้ น ท่ที ำ�ให้เกิดความยุ่งยากล�ำ บากอย่างน้เี ปน็ ต้น เคร่ืองนุง่ ห่ม ถา้ มันมี มากเกนิ มนั กเ็ หมอื นกบั คนบา้ ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งใชไ้ มส้ อยกเ็ หมอื นกนั ถา้ มนั เกนิ ไปมันก็เหมอื นกับคนบา้ เร่อื งโรคภยั ไข้เจ็บ หยูกยาสำ�หรับบรรเทาโรคภยั ไข้เจบ็ ถา้ มันมีมากเกนิ ต้องการ มนั ก็เหมือนกับบา้ มันก็จะให้ใช้ผดิ ๆ ไปในทางอืน่ ท่ี มันเกินความจำ�เปน็ เกินความตอ้ งการ ดังนัน้ เราจะต้องดวู า่ เทา่ ไรพอดี เทา่ ไรพอดีก็คอื เท่าท่ีมันจะไม่เกิดโทษ มันจะมแี ตป่ ระโยชนล์ ว้ นๆ นัน่ แหละคอื พอดี คำ�ว่าพอดี หรือค�ำ วา่ ถูกต้อง ใน

198 ธรรมะคอื หน้าที่ ทางธรรมะนเี้ ขาวางหลักไว้ตายตวั วา่ เทา่ ที่มันเกิดประโยชน์ มันไมเ่ กิดโทษ แกต่ นเองหรอื แก่ผอู้ ่นื นัน่ แหละคือ พอดี คอื ถูกตอ้ ง ถา้ มันเกิด โทษแกต่ นเอง หรอื แก่ผู้อ่ืน หรอื แกอ่ ะไรกต็ าม มนั กเ็ รียกว่ามันไมถ่ ูกตอ้ ง ไมพ่ อดี ทำ�ไปอย่าง เกนิ ไป หรอื ไมพ่ อดี มนั กเ็ ปน็ เรอ่ื งของกเิ ลสไปทนั ที ถา้ ท�ำ อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะ สมมนั กเ็ ปน็ เรอ่ื งของสตปิ ญั ญา ท�ำ ถกู ตอ้ งเปน็ เรอื่ งของสตปิ ญั ญา ท�ำ ไมถ่ กู ตอ้ ง เป็นเรอื่ งของกเิ ลสตัณหา เปน็ เร่ืองของความไมร่ ู้ มนั มผี ลตรงกนั ขา้ ม ความพอดี มันจะตอ้ งเลยไปถงึ วา่ แสวงหากพ็ อดี ไดม้ ากพ็ อดี เก็บ ไว้กพ็ อดี กนิ อยู่ใช้สอยก็พอดี จะแบ่งปัน แจกปนั ใหแ้ กผ่ อู้ ื่นก็พอดี นี่เรียกวา่ มนั เปน็ ความพอดไี ดร้ อบดา้ นรอบตวั ทกุ อยา่ ง ส�ำ หรบั ความพอดี ฉะนน้ั เราจะ ตอ้ งรู้ประมาณ ถา้ หาเกินพอดี มนั กม็ กั จะประสบความลม้ เหลว เพราะมันเกนิ ความสามารถ เกนิ ก�ำ ลงั เกินแลว้ มนั กจ็ ะลม้ ละลายเสียมากกว่า ได้มากถ็ กู ตอ้ ง และพอดี เกบ็ ไวก้ ถ็ กู ตอ้ งและพอดี กนิ อยใู่ ชส้ อยกถ็ กู ตอ้ งและพอดี แจกปนั เพอ่ื น ฝงู กถ็ กู ตอ้ งและพอดี การใชท้ รพั ยส์ มบตั ใิ หเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กต่ วั เองโดยแทจ้ รงิ นั้น มันขึน้ อยกู่ ับความถูกตอ้ งและพอดี เดยี๋ วนี้ พวกเราดเู ถิด เพ่ือนฝูงของเรา ญาติพน่ี ้องของเรา ดจู ะไม่คอ่ ย รู้จกั ความพอดี ท�ำ ผดิ พลาดเร่ืองความพอดี จนเกดิ ปัญหายงุ่ ยาก เมอื่ เกนิ ฐานะ ของตนไป มนั กส็ ร้างปัญหา สรา้ งหน้ีสนิ สรา้ งอะไรตา่ งๆ หลายๆ อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง เป็นอยู่อย่างอดอยาก นอ้ ยไปมนั ก็ไมถ่ กู ต้อง เปน็ อยู่อยา่ งฟุ่มเฟือยมาก ไป มนั ก็ไมถ่ กู ตอ้ ง จงบงั คับความรูส้ ึก ใหถ้ ูกตอ้ งพอดี แล้วก็ทำ�ไปอย่างถกู ตอ้ งและพอดี ถ้าทำ�อย่อู ยา่ งน้ี มนั ป้องกนั กเิ ลสอยใู่ นตัว เมือ่ ป้องกนั กเิ ลส มัน

199ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ ก็ป้องกันอนุสัย ป้องกันอาสวะอยู่ในตัว มันจึงเป็นการบรรเทากิเลส บรรเทา อนุสัย บรรเทาอาสวะอยใู่ นตัว เพราะเรารักษาความถูกตอ้ งและพอดีไวไ้ ด้ อยา่ เหน็ เป็นเรือ่ งเล็กน้อยกันเสียโดยมาก โดยมาก โดยทวั่ ๆ ไป จะเห็นเปน็ เร่อื งเล็ก น้อย ไม่สนใจว่าถูกต้องและพอดี เอาตามความต้องการ เอาตามกิเลสตัณหา เหมอื นกับคนเมา ไม่รคู้ วามถกู ต้องและพอดี นี่ก็เป็นข้อปฏิบัติท่ีไม่ผิด ให้มีความถูกต้องเก่ียวกับสิ่งที่จะต้องบริโภค ใชส้ อยอยา่ งน้ี ไดอ้ ยา่ งน้ี อยู่ในระเบียบอยา่ งนี้ มนั จะลดกเิ ลส ลดความเคยชนิ แหง่ กเิ ลส ลดนำ�้ หนกั ของกเิ ลสทจี่ ะไหลกลบั ออกมา ก�ำหนดไวว้ า่ เปน็ ขอ้ ท่ี ๒ ถา้ ท�ำแลว้ มันจะเป็นไปเพื่อความสน้ิ อาสวะ ทนี ขี้ อ้ ท่ี ๓ เรียกว่า ชาคริยานุโยค –ประกอบความเพยี รของบุคคลผู้ ต่นื อยเู่ สมอ ค�ำ วา่ ต่ืน ในทน่ี มี้ ันฟังยาก มนั ฟงั ยาก อาจจะฟงั ผดิ วา่ ไมต่ อ้ งนอน แคน่ ้ัน ไมต่ อ้ งหลับไม่ตอ้ งนอนกัน กบ็ ้าเลย ค�ำ ว่า ตื่นนั้น มนั หมายถึงความมี สติสมั ปชญั ญะ มสี ตปิ ญั ญา สตสิ ัมปชญั ญะอยู่เสมอ ถา้ คนมันหลับ มนั ก็ไมม่ ี สติปัญญาอะไร เพราะมนั หลับ จะเกดิ เรื่องอะไรขนึ้ มนั กไ็ ม่รู้ มันก็เสียหายหมด ทเ่ี รามสี ตปิ ญั ญาอยตู่ ลอดเวลานน่ั แหละ เรยี กวา่ เปน็ ผตู้ น่ื อยเู่ สมอ แลว้ กเ็ อาความ หมายใหถ้ กู ตอ้ ง เอาความหมายใหถ้ ูกตอ้ งท่วี า่ ความตื่นอยู่เสมอ แม้ไมห่ ลับแต่ ถา้ งัวเงยี งวั เงยี แมจ้ ะไม่หลบั กใ็ ช้ไมไ่ ด้ มันมผี ลเท่ากบั หลบั เพราะฉะนน้ั ตอ้ ง แจ่มใสอยูเ่ สมอ จงนกึ ถงึ เวลาทเ่ี ราแจม่ ใส มจี ติ ใจแจม่ ใสสดชน่ื รน่ื เรงิ ดว้ ยกไ็ ด้ แตใ่ นทาง ถูกต้อง มีจิตใจแจม่ ใสอยเู่ สมอ ถา้ จะต้องหลับก็หลับไปเลย แตจ่ ะใหง้ ัวๆ เงียๆ

200 ธรรมะคือหน้าที่ ครงึ่ หลบั ครง่ึ ตน่ื น้ไี มม่ ี ฉะนนั้ เวลาไหนกต็ าม เวลาท่ียังไมไ่ ด้ฉนั อาหารก็สดชน่ื แจม่ ใส ฉันอาหารแล้วก็สดชน่ื แจม่ ใส ไมง่ ัวเงยี มึนชา เพราะกินเข้าไปมาก แลว้ มันกช็ วนใหง้ ่วงนอน เหลอื ที่จะบงั คบั ได้ มนั ก็เลยไปนอน ถ้าอย่างนี้เรียกวา่ มนั หลับแล้ว มันเป็นเหมือนกับคนหลับแล้ว ไม่ใช่เหมือนคนตื่นแล้ว รักษาจิตให้ ปราศจากนวิ รณอ์ ยู่เสมอนน่ั แหละเรยี กว่า ต่ืนอย่เู สมอ นวิ รณ์ ๕ กไ็ ดย้ นิ ไดฟ้ งั กนั มาแลว้ กามฉนั ทะ พยาบาท ถนี มทิ ธะ อทุ ธจั จะ- กุกกจุ จะ วจิ กิ จิ ฉา ๕ อย่างนี้เรียกวา่ นิวรณ์ ถา้ พอครอบง�ำ จติ แล้ว มนั ก็ท�ำ จิตให้ งัวเงีย ให้ซมึ เซา ไมแ่ จ่มใส ไมส่ ว่างไสว ไม่สดช่ืนรืน่ เรงิ ฉะนน้ั ท�ำ จติ ใหส้ ดชืน่ รน่ื เรงิ อยเู่ สมอ อยา่ ใหม้ นั มเี วลาทว่ี า่ แมแ้ ตง่ ว่ งนอนกไ็ มต่ อ้ ง ถา้ จะตอ้ งนอนกน็ อน เท่าน้นั แหละ แตถ่ า้ ยงั ไม่ใชเ่ วลานอน ยังไมค่ วรจะนอน ก็ตอ้ งไมม่ อี าการทเ่ี รียก ว่างว่ งนอน บางคนน่ังหาวหวอดๆ นอนก็ไม่นอนกน็ งั่ หาวอยู่นัน่ แหละ อย่างนี้ มันสดช่ืนแจม่ ใสไมไ่ ด้ เราจะทำ�จิตให้เหมือนกับว่าเวลาท่ีสบายที่สุด ผ่องใส แจ่มใส สดชื่น รืน่ เรงิ ไมใ่ ห้มที ่ีมันงวั เงยี ถา้ ท�ำ สมาธกิ ็ท�ำ สมาธไิ ปเลย ถา้ หลับกห็ ลับไปเลย ถา้ ไม่ทำ�สมาธิ มันก็ตอ้ งสดชืน่ แจม่ ใส ร่นื เรงิ ซ่ึงมนั ไม่ใชง่ า่ ยนะ คุณฟงั ใหด้ ๆี นะ ไมใ่ ชง่ า่ ยนะ ท่จี ะท�ำ จิตใหส้ ดใส แจ่มใส รื่นเรงิ อยูเ่ สมอนี้ไม่ใช่งา่ ย มนั ก็จะมเี วลา งัวเงีย เพราะง่วงนอน เพราะเหนื่อยออ่ น หรอื เพราะอะไรก็ไม่รู้ บางทรี ่างกาย มันไมผ่ ดิ แตม่ ันผิดปกติอยา่ งน้ีเปน็ ต้น ผู้ที่จะมีจิตใจแจ่มใสไดต้ ลอดเวลา ทไี่ ม่ หลบั ทไ่ี มห่ ลับ ตอ้ งเป็นผทู้ ่มี คี วามระมัดระวงั สงั วรดี ควบคมุ จิตใจดี มคี วาม ฉลาดรเู้ ทา่ ทนั จติ ใจดี เรียกวา่ อยา่ ใหม้ เี วลาท่ีมึนชา มัวซวั งัวเงีย ซบเซา กแ็ ล้ว

201ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ แต่ เวลาท่ีเหนื่อยกเ็ ปน็ ธรรมดาทจี่ ติ ใจไม่คอ่ ยปกติ แต่ก็ประคบั ประคองไว้ ไม่ ต้องให้ซบเซา ไม่ต้องให้งัวเงีย ไม่ต้องให้ซบเซา เหน่ือยก็มีสติสัมปชัญญะท่ีจะ เหน่อื ย เหนอื่ ยดว้ ยสติสัมปชัญญะ มนั ก็ยงั สดชื่นแจม่ ใส เดยี๋ วมนั ก็หาย ลองอธษิ ฐานจติ วา่ เราจะด�ำ รงจติ ไวใ้ นลกั ษณะน้ี ไมใ่ หม้ ที เ่ี รยี กวา่ งวั เงยี ซบเซา ตลอดวัน ซ่ึงไม่ใช่เวลานอน จะทำ�อะไรอยู่ก็ตามแต่ ขอให้มันสดช่ืน แจ่มใส พร้อมที่จะคิดจะนึก ทีจ่ ะเลา่ เรียน จะศกึ ษา จะเรยี นนกั ธรรม เรียน อะไร อยา่ งน้ีกต็ าม จิตตอ้ งผ่องใส แจ่มใส สดชน่ื แลว้ กเ็ รียนไดด้ ี ถ้ามันงัวเงยี มันง่วงนอน มันก็จะเรียนไม่ได้ แลว้ เด๋ียวมนั กจ็ ะไปนอนเสียจรงิ ๆ ถ้าอย่างนี้มนั เพม่ิ ใหเ้ กดิ นวิ รณ์ เพมิ่ ใหเ้ กดิ กเิ ลส ในทางทจี่ ะซบเซา เปน็ พวกโมหะมากขน้ึ ท�ำ ให้ มโี มหะมากขนึ้ คลา้ ยๆ กบั วา่ สง่ เสรมิ โมหะ ใหอ้ าหารแกโ่ มหะ สนบั สนนุ แกโ่ มหะ มนั ก็เปน็ คนท่ไี ม่มีจติ แจ่มใส เม่ือไม่มจี ิตแจ่มใสก็ไม่เห็นธรรมะไดห้ รอก รูไ้ วเ้ ถดิ ว่า ถ้าจิตไมแ่ จม่ ใสแลว้ ไม่มที างเหน็ ธรรมะ เห็นความจรงิ ของ ธรรมชาติ หรอื ของธรรมะได้ เพราะฉะนน้ั จะตอ้ งท�ำใหแ้ จม่ ใส สดชน่ื แจม่ ใสไว้ เสมอ เปน็ ฐานส�ำหรบั รองรบั สตปิ ญั ญาทมี่ นั จะเกดิ ขน้ึ ความรแู้ จง้ หรอื สต-ิ ปญั ญา มันจะเกิดขึ้นเฉพาะเมื่อจิตมันเหมาะสม คือ สดชื่นแจ่มใส สมควรแก่ความรู้ สมควรแก่หน้าที่ของจิต รักษาจิตไว้อย่างน้ี ถ้านั่งมันง่วงก็ไปเดินเสียบ้าง ถ้า จะแก้ดว้ ยอยา่ งอนื่ ไม่ได้ กไ็ ปอาบน�้ำอาบท่า ใหม้ ันดึงจติ กลับมา ให้อยูใ่ นสภาพ ที่ผ่องใสอยตู่ ่อไป นีเ้ ปน็ ข้อท่ี ๓ ว่า ชาคริยานุโยค –ประกอบความเพยี รของ บุคคลผู้ต่นื อยเู่ สมอ ไมใ่ ชใ่ หไ้ ปอดหลับอดนอน อยูธ่ ุดงคต์ ลอดเวลาไมน่ อนเลย นัน้ นั่นอีกเรอื่ งหนง่ึ อกี เรอื่ งหนึง่ อีกอันหนง่ึ อีกข้อหนงึ่ ไม่ใชข่ ้อน้ี

202 ธรรมะคอื หน้าที่ ข้อชาครยิ านโุ ยคนี้ มันหมายถึงจิตใจสดใส แจ่มใสอยู่เสมอ ถา้ จะเอาไป รวมกันก็ได้ ถา้ สมมตวิ ่าถอื ธดุ งค์ ไม่นอน เนสชั ชกิ งั คัง เนสัชชิกงั คะ ไมน่ อน ก็ ตอ้ งไมน่ อนอยดู่ ว้ ยจติ ใจทแี่ จม่ ใส ไมใ่ ชไ่ ปนง่ั โงก นงั่ งว่ ง นงั่ มนึ ชา นงั่ ซบเซาอะไร อยู่ นม่ี ันกลายเปน็ ๒ อยา่ งรวมกัน ทง้ั ชาครยิ านุโยค และเนสชั ชิกงั คะ สมาทาน ไม่นอน แลว้ กต็ ่นื อยู่ด้วยความร้สู กึ ทสี่ ดช่ืนแจ่มใส แตอ่ ย่างน้มี ันท�ำ ไมไ่ ด้ตดิ ต่อ กันไปเป็นวนั ๆ หลายๆ วนั มนั ท�ำ ไดเ้ ฉพาะบางวัน ส่วนชาครยิ านุโยคนี้ ท�ำ ได้ อย่างทุกวัน ติดต่อกันทุกวัน เพราะว่าถึงเวลานอนก็นอน นอนอย่างมี สตสิ มั ปชญั ญะ ทเ่ี ขามกั จะอธบิ ายควบคกู่ นั ไวด้ ว้ ยกนั เสมอ เรอ่ื งนอนอยา่ งราชสหี ์ สหี ไสยา –นอนอย่างราชสีห์ มเี รื่องเขยี นไว้ชัด ในอรรถกถาก็มี ในบาลกี ็มี ราชสีหเ์ ข้ามาสู่ทที่ ี่จะนอน ท่หี น้าถ�ำ้ หรอื ท่ีลาน ทห่ี นา้ ถ�้ำ หรือในถ้ำ� มันกก็ �ำหนดทท่ี จี่ ะนอน คลา้ ยๆ ว่า ท�ำพนื้ ทใ่ี หด้ ี เดนิ วนไปวนมา วนไปวนมากอ่ นแตจ่ ะนอน ท�ำพน้ื ทสี่ �ำหรบั จะนอน ใหเ้ รียบใหด้ ี แล้วกก็ �ำหนด ก�ำหนดทศิ ทางตา่ งๆ ทศิ เหนือ ทิศใต้ คลา้ ยๆ กบั วา่ เราก�ำหนดทศิ เหนือ ทศิ ใต้ อะไรเปน็ อะไรทางไหน ก�ำหนดไวอ้ ยา่ งแจม่ แจง้ ทาง ไหนเปน็ ตน้ ไม้ ทางไหนเปน็ หนิ ทางไหนเปน็ นำ้� เปน็ อะไร ก�ำหนดอยา่ งนดี้ ว้ ยแลว้ จงึ นอน ถา้ เปน็ เราเปน็ คนนก้ี จ็ ะก�ำ หนด ก�ำ หนดวา่ ทนี่ อนมนั อยตู่ รงไหนอยา่ งไร ข้างซา้ ย ขา้ งขวา ข้างล่าง ข้างหัว ขา้ งเท้า เปน็ อย่างไร ก�ำ หนดให้รู้ เพ่ือจะไม่ งัวเงีย เพ่อื จะไม่หลงลมื แล้วราชสีห์ก็นอน นอนตะแคงข้างขวา คือ เอาข้างขวา ลง แลว้ กเ็ ทา้ นน่ั ก็เหลือ่ มกันพอสมควร ถ้าเท้ามันซอ้ นกัน มนั ก็อยไู่ ม่ได้ เท้าก็ เหลื่อมกนั พอสมควร

203ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ ค�ำวา่ นอนตะแคงขา้ งขวานี้ ผมเขา้ ใจเอาเอง เดาเอาเองว่ามันคงจะเปน็ ความรเู้ ร่ืองสรีรศาสตร์ ถา้ เป็นคนนอนตะแคงขา้ งขวานะ หวั ใจมนั อิสระ มันไม่ ถกู ทบั หวั ใจมันลอยตวั มนั ไม่ถูกทบั เพราะวา่ หัวใจมนั อยขู่ ้างซ้าย มันกต็ ้องมี ประโยชนด์ กี วา่ ทจี่ ะนอนขา้ งซา้ ย คอื นอนทบั หวั ใจ วางมอื ราชสหี ก์ ว็ างมอื วาง เท้า วางหาง วางหวั เอาไว้ในทที่ กี่ �ำหนด ก�ำหนดไว้อยา่ งนนั้ ก�ำหนดเมด็ กรวด หนิ ในอรรถกถาใชค้ �ำว่าหอระดานด้วยซำ้� ไป กรวดสเี หลอื ง ก็อยูอ่ ย่างนั้น อยา่ ง นน้ั แลว้ กน็ อนหลบั พอตื่นขนึ้ มาเห็นวา่ มือเท้าไมไ่ ดอ้ ยทู่ ่ีเดมิ หางหวั อะไรไม่ได้ อยู่ที่เดิม ราชสหี ก์ ็ด่าตวั เองวา่ ไอ้ชาติหมา ไม่ใช่ราชสีหเ์ สียแลว้ นอนอย่างหมา เสียแล้ว มันกด็ ่าตัวเอง ทนี ้มี นั กล็ งโทษตัวเองไม่ลกุ ขน้ึ ไม่ออกจากถ้�ำไปหากิน ไม่ไป ลงโทษตัว เอง นอนอีก ต้ังต้นนอนใหม่อกี เตรยี มอย่างเดมิ นอนใหมอ่ ีก แลว้ ก�ำหนดอย่าง เดมิ กนั อกี แลว้ กน็ อนอกี พอตนื่ ขน้ึ มา คราวนเ้ี หน็ วา่ เรยี บรอ้ ย ทกุ อยา่ งเรยี บรอ้ ย เหมอื นเดมิ หมดกด็ ใี จ กด็ ใี จ ลกุ ขนึ้ แผส่ หี นาท รอ้ งบนั ลอื อยา่ งราชสหี ์ แลว้ กอ็ อก ไปหากิน ออกไปหากนิ นี้ในคมั ภีร์กเ็ ขียนเรื่องนอนอยา่ งราชสีห์ไวอ้ ยา่ งนี้ ภิกษุกอ็ าศัยหลกั เกณฑอ์ ย่างนี้ นอนอย่างน้ี ดงั น้ัน ทจี่ ะนอนดิ้น นอน ยกขา นอนผา้ หลุด นอนอยา่ งน้ี มนั มไี มไ่ ด้ มันเป็นสงิ่ ทม่ี ีไม่ได้ ถ้าจะประพฤติ ชาครยิ านุโยค เม่ือนง่ั เม่ือนอน เม่อื ยืน เมอ่ื เดนิ กร็ ูส้ ึกตัว เมื่อหลับมันก็ตลอด เวลาท่หี ลับ มันก็ไม่เปลีย่ นแปลงอะไร เมื่อตน่ื ขนึ้ มามันก็เข้ารูปเดิม มันกเ็ หมือน กบั รสู้ กึ ตวั แม้เวลาหลบั กเ็ รียกวา่ มีสติสมั ปชญั ญะ ทกุ ๆ อิรยิ าบถ ผู้ประพฤติ ปฏิบัติอย่างนี้มันควบคุมความเจริญแห่งกิเลส แห่งอนุสัย แห่งอาสวะ ลด

204 ธรรมะคอื หน้าที่ ปรมิ าณของอนสุ ยั ของอาสวะลงเรอ่ื ยๆ ไดผ้ ลทำ�นองเดยี วกับ ๒ อย่างขา้ งต้น คืออนิ ทรยี สงั วร โภชเนมัตตัญญุตา อันนีเ้ ปน็ ชาคริยานโุ ยค ให้ผลประสมประสานกันดี ถา้ มอี นิ ทรียสังวรดี จติ ใจกแ็ จม่ ใสผอ่ งใส ถา้ มโี ภชเนมตั ตญั ญตุ าดจี ติ ใจกผ็ อ่ งใสแจม่ ใส ถา้ มชี าครยิ าน-ุ โยคดีจติ ใจก็ผ่องใสแจ่มใส มันรวมก�ำ ลังกันท้งั หมดส�ำ หรับจะผ่องใสมันกเ็ ลยได้ ผล อยดู่ ว้ ยความทมี่ สี ตสิ มั ปชญั ญะอยตู่ ลอดเวลา กเิ ลสจะเจรญิ งอกงามพลงุ่ พลา่ นออกมาไมไ่ ด้ เมอ่ื กระทำ�อย่อู ยา่ งนี้ ทา่ นวา่ ผ้นู ั้นปรารภซ่ึงความสิน้ ไป แหง่ อาสวะ การเกดิ ของผนู้ น้ั มกี ารปรารภเพื่อความสน้ิ ไปแห่งอาสวะ คณุ สงั เกตดใู หด้ เี ถดิ เพยี งเทา่ นี้ เพยี งหมวด ๓ หมวดนหี้ มวดเดยี วเทา่ นนั้ มนั ก็เป็นไปเพอื่ ความสนิ้ อาสวะแลว้ ถา้ จะจรงิ หรอื ไมจ่ รงิ ก็ลองสังเกตดูตัวเอง วา่ เรายังมวั ซัว ซบเซา แลว้ กฉ็ นุ เฉียว โกรธงา่ ย อยู่หรอื ไม่ ถา้ มนั ยงั มอี ยา่ งนนั้ ละก็ ตอ้ งเสยี ใจใหม้ าก ถงึ กบั ดา่ ตวั เองวา่ ไอช้ าตหิ มา หรอื อะไรกต็ ามใจ มนั จะไดเ้ ปลย่ี นแปลง เกดิ การเปลย่ี นแปลงขน้ึ มา จะไดร้ กั ษา เครดิตของบรรพชติ ของสมณะให้ดีท่สี ดุ ไว้ เท่าทจี่ ะท�ำ ได้ แล้วสง่ิ ต่างๆ มนั เปน็ ไปแตใ่ นทางถกู ตอ้ ง ในทางดี เปน็ ไปในทางถกู ตอ้ ง ไมต่ อ้ งสงสยั เปน็ การบรรเทา อาสวะ ลดบรรเทาอาสวะ อย่ตู ลอดเวลา ทั้งในเวลาตื่น ท้งั ในเวลาหลบั มันมี ความถกู ตอ้ งท่ีเปน็ การบรรเทาอาสวะอยตู่ ลอดเวลา เรากเ็ ลยมคี วามก้าวหน้า ในพรหมจรรย์ ในพรหมจรรย์ ในการประพฤตพิ รหมจรรย์ มคี วามกา้ วหนา้ เพราะ เหตนุ ี้

205ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภิกขุ ดังน้ัน จึงขอให้สนใจให้ดีเป็นพิเศษ สำ�หรับการปฏิบัติด้วย ไม่ใช่เรียน เพอ่ื ให้สอบไลไ่ ดอ้ ย่างเดียว มันไมพ่ อ มนั ไม่ดีเท่าไรหรอก จะตอ้ งปฏิบัติไดด้ ว้ ย จะดมี าก ฉะนน้ั ในสงิ่ ทต่ี อ้ งเลา่ เรยี นหลายๆ สงิ่ ธรรมะหลายๆ หมวดทต่ี อ้ งเรยี น มันก็มีบางหมวด ถงึ มคี วามส�ำ คัญมาก อย่างหมวดนี้ ถา้ ดผู ิวๆ สงั เกตดู เผินๆ ผวิ ๆ ก็จะไม่เหน็ สำ�คัญอะไร แต่ไปพบในพระบาลีวา่ ถ้าท�ำ อย่างน้ี กำ�เนิดของ เขานัน้ จะปรารภความสิ้นอาสวะ ผมกต็ กใจ สนใจ พเิ ศษ แลว้ กม็ าคิดดมู ันจะ เปน็ ไดอ้ ยา่ งไร เพยี งแตว่ า่ ส�ำ รวมอนิ ทรยี ์ มกี ารบรโิ ภคพอดี และมกี ารตน่ื อยเู่ สมอ เรามนั เคยชนิ กนั แตพ่ ดู เรอื่ ง ศลี สมาธิ ปญั ญา เรอื่ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งนน้ั อยา่ ง น้ี แล้วจะสน้ิ อาสวะ นมี้ ันแปลก ขอ้ ความนีม้ ันแปลก ตรงท่ีท่านเอามากล่าวไว้ ในลกั ษณะคลา้ ยๆ กบั วา่ เปน็ อยอู่ ยา่ งธรรมดาสามญั ใหถ้ กู ตอ้ งสกั หนอ่ ยเทา่ นนั้ มันจะเปน็ การปฏิบัตเิ พอื่ ความสิน้ อาสวะได้เหมือนกัน ฉะน้นั ธรรมะประเภทนี้ซ่ึงมีแตบ่ างหมวด สนใจใหม้ ากเปน็ พเิ ศษ แลว้ ก็ ปฏบิ ัติด้วย ปฏิบตั ดิ ้วย ไม่ใช่เรียนเพยี งแต่จำ�ได้ ตอบคำ�ถามได้ สอบไล่ได้ แลว้ กเ็ ลกิ กัน อย่างนนั้ มนั ก็ไมม่ ีอะไร มันกเ็ ลิกกนั จรงิ ๆ เหมือนกัน เรยี นพอสอบไล่ ได้ แล้วก็เลกิ กนั โดยมากเป็นเสยี อย่างน้นั ขอให้มคี วามเขม้ แขง็ บังคบั ตวั เอง ใหไ้ ด้ คอื ให้มันประพฤติปฏบิ ัตใิ ห้ได้ ไมย่ อมแพไ้ ม่ท้อถอย เอาเกยี รตยิ ศของ ความเป็นมนุษยน้ี เปน็ หลกั ประกนั ว่าตอ้ งท�ำ ได้ ต้องท�ำ ได้ ต้องไมเ่ หลอื วสิ ยั เอาละ, เป็นอันว่าเราพดู กนั ถึงธรรมะหมวดที่มีชอ่ื ว่า อปณั ณกปฏิปทา ซึ่งฟงั ดูแลว้ คลา้ ยกบั ผิวเผิน ไม่เจาะด่งิ ลงไปยงั ความสนิ้ อาสวะ เวน้ ไวต้ อ่ เมอ่ื ได้

206 ธรรมะคอื หน้าที่ พิจารณาดู ใครค่ รวญดู เอามาพจิ ารณาดู โอ,้ ก็จะมองเห็นวา่ มันเกยี่ วเนอื่ งกนั อยู่ในส่วนลึก ในส่วนลึก คือ การท่ีเราทำ�จิตใจให้พร้อมอยู่เสมอท่ีจะรู้แจ้งเห็น แจ้งในทางธรรม การบรรลุธรรมนั้นจะมีได้เฉพาะต่อเมื่อจิตใจมันเหมาะสม อยา่ งนเี้ ทา่ นนั้ แหละ จติ ใจแจม่ ใส สดชน่ื แคลว่ คลอ่ งวอ่ งไว ถา้ ไมม่ จี ติ ใจอยา่ ง นี้ ไมม่ ที าง ไมม่ ีหวัง เพราะฉะน้ันเตรียมจิตใจไว้ให้ดีๆ สำ�หรับจะได้รับเอาผลอันสูงสุดท่ีมัน จะเกดิ ขึ้น ตามที่เราหวังอยู่ คือความส้นิ ไปแห่งอาสวะ แมว้ า่ มันจะไม่ได้ส้นิ ไป หมด เพยี งแต่มนั บรรเทา บรรเทาลดลงเท่าน้ันกเ็ ปน็ การวิเศษ ประเสริฐอยา่ ง ยิ่งแลว้ จะเผชิญกบั สิง่ ตา่ งๆ ในโลกได้ โดยไม่ต้องเป็นทุกข์ โดยไมต่ ้องเปน็ ทุกข์ อะไรจะเกิดข้ึนก็ไม่ต้องเป็นทุกข์ จะมคี วามถูกต้องทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ อย่เู สมอ แม้เป็นฆราวาส ก็จะมีความถูกต้องในการที่จะกิน จะอยู่ จะหา จะมี จะแจกปันอะไร กจ็ ะมีความถูกต้อง แล้วเขาก็มจี ิตใจชนิดสงบ เยอื กเย็น สดช่ืน แจ่มใส พร้อมท่ีจะรแู้ จง้ สิง่ ทีล่ ึกซึ้งอย่เู สมอ กเ็ ลยสรุปผลวา่ ชาตทิ เี่ กดิ มาทั้งชาติ นนั้ เป็นไปเพ่อื ความส้ินอาสวะ อย่ใู นตัวมันเอง อยูใ่ นตัวมนั เอง คดิ ดใู ห้ดูสิ ฟังดู ให้ดี ถ้าเราเป็นอยู่อย่างถูกต้องแล้ว มันจะมีลักษณะเป็นไปเพื่อความสิ้น อาสวะอยใู่ นตวั มนั เอง อยใู่ นตวั มนั เอง ตลอดเวลาทง้ั วนั ทง้ั คนื ทง้ั หลบั ทง้ั ตน่ื กผ็ ลดที ีส่ ุดแล้ว ขอให้เขา้ ใจไวอ้ ย่างนี้ ส�ำ หรบั ธรรมะหมวดนี้ ซึง่ ผมเห็นว่าอาจจะมองข้ามกันไปเสีย ท้งั ท่มี นั อยู่ในวสิ ัยและเหมาะสมทจี่ ะประพฤติ ปฏิบตั ไิ ด้ แล้วมนั กจ็ ะประพฤติปฏิบัติได้

207ธรรมบรรยายโดย พุทธทาสภกิ ขุ จรงิ เหมอื นกัน มนั ก็จะได้ผลดี คือ มีอานิสงสม์ าก ในการทจ่ี ะมชี วี ติ อยู่ ขอให้ กำ�หนดจดจำ�ไปดีๆ ถ้ากลัวลืมก็ไปบันทึก ไปเขียนไว้ อย่าให้ลืม แล้วก็คอย ตักเตือนตนใหป้ ฏบิ ัติอย่เู สมอ เอาละ, เรอื่ งสำ�หรบั บรรยายนหี้ มดแลว้ .

เอกสารจดหมายเหตพุ ทุ ธทาส อนิ ทปญั โญ. บทพระธรรมประจ�ำภาพ ชดุ สลี ธรรม ส.VI ฉบบั หลงั . (พ.ศ.2518-2521). BIA 5.2/26 กล่อง 4. หนา้ 5.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook