Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

Published by Master of Education Suandusit, 2022-07-06 02:38:35

Description: หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

Search

Read the Text Version

25 ประเภทคีย์บอร์ดอยู่ 2 ประเภท คือ ประเภทมีสายต่อกับตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และประเภทไม่มีสาย ต่อเข้ากับตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ สาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบโน้ตบุ๊ก (Notebook PC) จะมี อปุ กรณน์ าเข้าข้อมลู ประเภทคีย์บอรด์ ตดิ ตั้งมากบั ตัวเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เป็นการถาวรอยู่แล้ว อยา่ งไร ก็ตามด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่สามารถทาให้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง พกพา สะดวก และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ทาให้การนาเข้าข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ดไปยัง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบแท็บเล็ต (Tablet PC) และแบบสมาร์ตโฟน (Smartphone) มีการเปลี่ยนแปลงจากอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์ (Hardware) ไปเป็นซอฟต์แวร์ (Software) สาหรับ นาเข้าข้อมูลประเภทคีย์บอรด์ แทน อปุ กรณ์นาเขา้ ข้อมูลประเภทคีย์บอร์ดแสดงดงั ภาพที่ 2.3 แบบตดิ ตั้งมากับคอมพิวเตอร์ แบบสัมผสั แบบไรส้ าย แบบสมั ผัส ภาพที่ 2.3 อุปกรณน์ าเขา้ ข้อมูลประเภทคยี ์บอร์ด 2. อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทชี้ตาแหน่ง (Pointing Device) มักเรียกกันว่าเมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีมีความจาเป็นและให้ความสะดวกสบายต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลอีกชนิดหน่ึง ท่ีทาหน้าท่ีช่วยชี้ตาแหน่งหรือควบคุมการทางานบนหน้าจอของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกชนิดต่างมีอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทนี้ท้ังส้ิน คอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลแบบตัง้ โต๊ะ (Desktop PC) และแบบโนต้ บุ๊ก (Notebook PC) นิยมใช้อปุ กรณน์ าเขา้ ข้อมูล ประเภทช้ตี าแหน่งอยู่ 2 ประเภท คอื ประเภทมสี ายต่อเขา้ กับตวั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และประเภทไม่มี สายต่อเข้ากับตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ สาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบโน้ตบุ๊กยังมีอุปกรณ์นาเข้า ข้อมูลประเภทชี้ตาแหน่งติดต้ังมากับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นการถาวรอยู่แล้ว เรียกว่าแผ่นสัมผัส (Touch Pads) ทส่ี ามารถปอ้ นข้อมูลเขา้ ได้เพียงสมั ผสั ท่จี ุดใดจุดหนง่ึ บนแผน่ สัมผสั นน้ั ซึง่ จะทาให้เกิด เป็นสัญญาณป้อนเข้าสู่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง พกพาสะดวก และตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ทาให้การนาเข้าข้อมูล ผ่านทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทชี้ตาแหน่งไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบแท็บเล็ต (Tablet PC) และแบบสมาร์ตโฟน (Smartphone) มีการเปล่ียนแปลงจากอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภท ชีต้ าแหนง่ ไปเปน็ การนาเข้าขอ้ มูลดว้ ยการสัมผัสหน้าจอ (Touch Screen) แทน

26 แบบสมั ผสั หนา้ จอ แบบไม่มสี าย แบบแผ่นสมั ผสั ภาพท่ี 2.4 อปุ กรณน์ าเข้าข้อมลู ประเภทชตี้ าแหน่ง 3. อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทมัลติมีเดีย (Multimedia Device) เป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยให้ การนาเขา้ ขอ้ มูลประเภทเสยี ง ภาพนง่ิ และภาพเคลอ่ื นไหวมคี วามสะดวกสบายและรวดเรว็ มากย่ิงขึ้น เน่ืองจากสามารถบันทึกเสียง ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว สแกนข้อความและภาพ อ่านคิวอาร์โค๊ด (QR Code) และปรบั ตกแต่งด้วยโปรแกรมตา่ ง ๆ และถ่ายโอนลงคอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคลแลว้ บนั ทึกเก็บไว้ ใช้งานได้โดยตรง และปัจจุบันอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทนี้ได้รับความนิยมอย่างสูง จึงถูกติดต้ังมา พร้อมกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกชนิดและเป็นส่วนหน่ึงของคอมพิวเตอร์ไปแล้ว เช่น ไมโครโฟน (Microphone) กล้องถ่ายรูปและถ่ายวิดีโอดิจิทัล (Digital Camera) กล้องเว็บแคม (Web Camera) โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบแท็บเล็ต (Tablet PC) และแบบสมาร์ตโฟน (Smartphone) ท่ีปัจจุบันผู้ผลิตแข่งขันกันพัฒนาอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทมัลติมีเดียกันอย่างเข้มข้น ทาให้ คุณภาพของอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทมัลติมีเดียท่ีติดตั้งมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์สองชนิดนี้ เทยี บเทา่ หรอื ดีกวา่ ท่จี ะหาซื้อมาตดิ ตั้งกบั คอมพิวเตอรเ์ พ่ิมเติม ความโดดเด่นของอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล ประเภทมัลติมีเดียช่วยให้สามารถสนทนาและเห็นใบหน้าผู้ที่เราสนทนาด้วยได้อย่างชัดเจนและ ทันทีทันใด เหมาะอย่างย่ิงท่ีผู้สอนจะนามาใช้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนท้ังแบบชั้นเรียน (Onsite) และแบบออนไลน์ (Online) เรียกได้ว่าอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทมัลติมีเดียเกือบท้ังหมดถูกติดตั้ง และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้วบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบแท็บเล็ต (Tablet PC) และ แบบสมาร์ตโฟน (Smartphone) จนแทบจะไม่ต้องติดต้ังหรือเชื่อมต่ออุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภท มลั ตมิ เี ดียใด ๆ อีก ที่สาคัญเรียนร้กู ารใชง้ านไดไ้ มย่ าก และชว่ ยสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอนของ ครไู ด้เป็นอย่างดแี ละมปี ระสิทธิภาพ

27 ไมโครโฟนนาเข้าเสยี ง กลอ้ งนาเขา้ ภาพและวิดโี อ ภาพท่ี 2.5 อปุ กรณน์ าเข้าข้อมลู ประเภทมัลตมิ ีเดยี อุปกรณ์ประมวลผลขอ้ มูล อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล (Processing Device) เป็นช่ือเรียกโดยรวมของอุปกรณ์ ท่ีเก่ียวข้องกับการประมวลผลข้อมูลทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ โดยปกติอุปกรณ์เหล่าน้ีจะไม่สามารถ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เน่ืองจากมีตัวเครื่องหรือเคส (Case) เป็นเกราะหุ้มและป้องกันไว้อีกชั้นหนึ่ง ต้องแกะตัวเคร่ืองออกมาจึงจะสามารถมองเห็นอุปกรณ์เหล่านั้นได้ อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล เป็นอุปกรณ์สาคัญของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกชนิดทั้งคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) คอมพิวเตอร์โนต้ บุ๊ก (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ตโฟน (Smartphone) ต่างมี อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลเหมือนกันเพียงแต่จะมีขนาดและรูปร่างที่แตกต่าง และ เปล่ียนแปลงไปตามลักษณะของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 1. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) เป็นส่วนท่ีสาคัญท่ีสดุ ของ คอมพิวเตอรเ์ ปรยี บเสมือนสมองของคอมพวิ เตอร์ท่ีทาหน้าท่ีในการคดิ คานวณ และประมวลผลข้อมูล ท่ีถูกส่งเข้ามาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น จากอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ความจาหลัก และอุปกรณ์ จัดเก็บข้อมูล จาเป็นจะต้องผ่านการประมวลผลด้วยอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลเสมอ คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะต้องมีหน่วยประมาลผลกลางอย่างน้อยหนึ่งตัว ปัจจุบันมีให้เลือกใช้ต้ังแต่ 2 คอร์ (Dual Core) ไปจนถึง 18 คอร์ ช่วยให้การประมวลผลเป็นไปได้รวดเร็วมากย่ิงข้ึน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนประกอบย่อย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนควบคุม (Control Unit) ทาหน้าที่ควบคุม การส่งผ่านข้อมูลระหว่างส่วนประกอบภายในต่าง ๆ ของหน่วยประมวลผลกลาง ส่วนคานวณทาง คณิตศาสตร์ (Arithmetic Logic Unit) อปุ กรณป์ ระมวลผลข้อมลู แม้จะเปน็ อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมี ขนาดเล็กและขึ้นอยู่กับชนิดของคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ แต่ประกอบไปด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ

28 วงจรไฟฟ้าท่ีซับซ้อนจานวนมหาศาลที่ได้รับการออกแบบและผลิตมาเป็นอย่างดีจากโรงงาน ทาให้ ไม่สามารถดดั แปลงและแกไ้ ขอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจรไฟฟา้ ทีซ่ บั ซ้อนเหล่านั้นได้ จากภาพที่ 2.6 เป็นอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลท่ีติดต้ังอยู่ในซ็อคเก็ต (Socket) ที่ได้รับ การออกแบบมาเพื่อเป็นฐานรองรับการติดตั้งอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลเพื่อเป็นเส้นทาง ( Bus) ในการรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์แต่ละชนิด และซ็อคเก็ตก็จะถูกจัดวางไว้บนเมนบอร์ด (Mainboard) หรือแผงวงจรหลักภายในคอมพิวเตอร์อีกช้ันหน่ึง หากเกิดความเสียหายกับอุปกรณ์ ประมวลผลขอ้ มูลจาเปน็ ท่ีผสู้ อนจะต้องซื้อหามาใหม่ ปจั จบุ ันบริษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณป์ ระมวลผลข้อมูลที่ รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ อินเทล (Intel) และ เอเอ็มดี (AMD) อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลในปัจจุบันมัก เปน็ แบบหลายหน่วยประมวลผล (Multi Core) เพอื่ ให้สามารถช่วยกันทางานใหร้ วดเร็วยงิ่ ข้นึ อปุ กรณ์ประมวลผลข้อมูล ภาพท่ี 2.6 อปุ กรณป์ ระมวลผลขอ้ มูลของคอมพวิ เตอร์ 2. แผงวงจรหลกั ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ (Mainboard) เป็นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลัก ท่ีถูกบรรจุเอาไว้ภายในตัวเคร่ืองของคอมพิวเตอร์ เป็นแหล่งรวมหรือศูนย์กลางของการเชื่อมต่อ อปุ กรณ์ท่ีสามารถจับต้องและมองเห็นได้ของคอมพวิ เตอรเ์ กอื บท้งั หมด เพื่อใหก้ ารทางานของอุปกรณ์ ต่าง ๆ เป็นไปอย่างเป็นระบบ เช่น ซ็อกเก็ต (Socket) หรือฐานรองสาหรับหน่วยประมวลผลกลาง ซอ็ กเกต็ ของหนว่ ยความจา (Memory) สลอ็ ตของการด์ แสดงผล (Graphic Card) การ์ดเสยี ง (Sound Card) การ์ดสาหรับการส่ือสารข้อมูล (LAN Card) ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) และชิปเซต (Chipset) ที่ทาหน้าที่คอยควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ชิปไบออส (BOIS) แบตเตอรี่ของไบออส ขั้วต่ออุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ข้ัวต่อแหล่งจ่ายไฟ ข้ัวต่อปุ่มสวิทช์และไฟแสดง สถานะ ข้ัวต่อพอร์ต USB พอร์ต HDMI พอร์ตเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต (LAN) และช่องต่อระบบเสียง เปน็ ต้น ภาพที่ 2.7 แสดงแผงวงจรหลักของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทม่ี ีอุปกรณป์ ระมวลผลขอ้ มลู บรรจุอยู่

29 สลอ็ ตของคารด์ แสดงผล หน่วยความจา ขว้ั ตอ่ แหล่งจ่ายไฟ ขว้ั ตอ่ ปมุ่ สวิทช์และ ไฟแสดงสถานะ ซอ็ กเก็ต CPU ซ็อกเก็ต RAM ชปิ เซ็ต พอร์ต USB BIOS ภาพท่ี 2.7 แผงวงจรหลักของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ทมี่ า: J.I.B. Computer Group (2018) อุปกรณจ์ ัดเก็บข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ อุปกรณจ์ ดั เก็บข้อมลู ของคอมพวิ เตอรแ์ บง่ ออกเป็น 2 ประเภท ประกอบด้วย 1. หนว่ ยความจาหลัก (Main Memory Device) เปน็ หนว่ ยความจาขนาดเล็กและมีพ้ืนท่ี จากัดแต่ทาหน้าที่อย่างใกล้ชดิ อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล เพ่ือช่วยให้อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลทางาน ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ด้วยการเป็นแหล่งจัดเก็บหรือพักข้อมูลช่ัวคราวท่ีมี ความเร็วมากพอท่ีจะทางานควบคู่ไปกับอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล และไม่ทาให้อุปกรณ์ประมวลผล ข้อมูลเกิดการสะดุดหรือทางานล่าช้า เหตุท่ีทางานควบคู่และใกล้ชิดกับอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลจึง ทาให้ไดช้ ื่อวา่ หน่วยความจาหลกั หน่วยความจาหลักแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ 1.1 หน่วยความจาถาวร (Read Only Memory หรือ ROM) เป็นหน่วยความจาหลักท่ี มีขนาดและมีพื้นท่ีจากัด และถูกบรรจุข้อมูลอย่างถาวรมาแล้วจากโรงงานผู้ผลิตจึงทาให้ได้ชื่อว่า หน่วยความจาถาวร ผู้ใช้ท่ีมีความชานาญจะสามารถแก้ไขและบันทึกข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเดิมลงไปได้ แต่ต้องทาด้วยความระมัดระวังเนื่องจากหากผิดพลาดจะส่งผลต่ อการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ทง้ั หมด

30 1.2 หน่วยความจาช่ัวคราว (Random Access Memory หรือ RAM) หน่วยความจา ขนาดเล็กและมีพ้ืนท่ีจากัด แต่ทางานอย่างใกล้ชิดกับอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลตลอดเวลา และด้วย ขนาดท่ีเล็กและมีพื้นท่ีจัดเก็บข้อมูลจากัด จึงทาให้หน่วยความจาชนิดนี้ต้องคอยลบและบันทึกข้อมูล ใหม่ ๆ ตามคาส่ังของอุปกรณ์ประมลผลข้อมูล ทาให้เป็นหน่วยความจาท่ีจาข้อมูลได้เพียงช่ัวขณะ จึงทาให้ได้ชื่อว่าหน่วยความจาช่ัวคราว หากปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับข้อมูลท่ีถูกบันทึก เอาไว้ก็จะถูกลบออกไปท้ังหมด ทาให้อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลจาเป็นต้องส่ังบันทึกข้อมูลอยู่เสมอ ต่างจากหน่วยความจาถาวรแม้ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับก็จะไม่ส่งผลต่อข้อมูลท่ีถูกบันทึก อยภู่ ายใน 2. หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) ด้วยข้อจากัดเร่ืองขนาด พ้ืนท่ี และ ระยะเวลาการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยความจาหลัก ทาให้จาเป็นต้องมีหน่วยความจาที่มีขนาดใหญ่ และมีพ้ืนท่ีมากขึ้นมาจัดเก็บข้อมูล และไม่ต้องกังวลกับการสูญหายของข้อมูลหากปิดเคร่ือง คอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับลง น่ันคือหน่วยความจาสารอง เหตุท่ีได้ชื่อว่าหน่วยความจาสารองท้ัง ๆที่ ด้วยขนาดและพื้นท่ีจัดเก็บข้อมูลปริมาณมหาศาลน่าจะเป็นหน่วยความจาหลักมากกว่า ก็เพราะว่า หน่วยความจาสารองจาเป็นต้องทางานอยู่เบื้องหลงั หนว่ ยความจาหลักเสมอ เปรียบเสมือนเป็นแหลง่ สารองข้อมูลไว้ให้หน่วยความจาหลักนาไปใช้ในยามท่ีหน่วยความจาหลักมีพ้ืนที่จัดเก็บข้อมูลไม่พอ ซึ่งแน่นอนว่ายอ่ มไมพ่ ออย่แู ล้ว ตัวอย่างของหนว่ ยความจาสารอง ประกอบด้วย 2.1 สื่อจดั เกบ็ ข้อมลู แบบจานเหลก็ (Magnetic Disk) อาทิ ฮารด์ ดิสก์ (Hard Disk) 2.2 ส่ือจัดเก็บข้อมูลแบบหน่วยความจาแฟลช (Flash Memory) อาทิ Flash Drive หรอื นิยมเรยี กกันวา่ Handy Drive หรือ Thumb Drive และ Memory Card 2.3 สอ่ื จัดเก็บขอ้ มลู แบบใช้แสง (Optical Storage) อาทิ CD และ DVD 2.4 สื่อจัดเก็บข้อมูลแบบคลาวด์ (Cloud Storage) อาทิ Google Drive และ One Drive ภาพที่ 2.8 อปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมูลของคอมพิวเตอร์

31 RAM ROM ภาพที่ 2.9 อปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมูลของคอมพิวเตอร์ประเภทหน่วยความจาหลกั Memory Card USB Flash Drive Hard Disk ภาพท่ี 2.10 อุปกรณจ์ ัดเก็บข้อมูลของคอมพวิ เตอร์ประเภทหน่วยความจาสารอง อปุ กรณแ์ สดงผลข้อมูล (Output Device) อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล ( Output Device) เป็นชื่อเรียกโดยรวมของอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์หลังจากประมวลผลด้วยอุปกรณ์ประมวลผล ข้อมูลเสร็จเพื่อแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้เห็นและนาไปใช้งานต่อไป การแสดงผลข้อมูลมักจะแสดง ออกมาในรูปของตัวอักษร ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวผ่านมาทางอุปกรณ์ แสดงผลข้อมูลประเภทจอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) และลาโพง (Speaker) หรือหูฟัง (Headphone) มีรายละเอียดดังน้ี

32 1. อุปกรณ์แสดงผลข้อมลู ประเภทจอภาพ (Monitor) คอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลแต่ละแบบ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop PC) แบบโน้ตบุ๊ก (Notebook PC) แบบแท็บเล็ต (Tablet PC) และแบบสมารต์ โฟน (Smartphone) แมจ้ ะมลี กั ษณะทางกายภาพและขนาดทแี่ ตกต่าง กัน แตส่ ง่ิ ทีเ่ หมอื นกนั คอื จาเปน็ ตอ้ งมอี ปุ กรณแ์ สดงผลข้อมูลประเภทจอภาพ ดังน้นั คอมพวิ เตอรแ์ ต่ละ แบบจึงมีจอภาพเพ่ือแสดงผลข้อมูลให้กับผู้ใช้ คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะมักจะมีจอภาพแยกออกมา ตา่ งหากจากตวั เคร่ือง แมป้ ัจจบุ ันจะพบว่าคอมพวิ เตอร์แบบตั้งโต๊ะมีการรวมเอาตัวเครื่องและจอภาพ มารวมอยู่ด้วยกันแล้ว แต่จอภาพแบบแยกออกมาต่างหากจากตัวเคร่ืองก็ยังเป็นที่นิยม ลักษณะของ จอภาพสมัยก่อนมักจะเป็นจอแบบหลอดภาพ (Cathode Ray Tube: CRT) การทางานเป็นเหมือน จอโทรทัศน์รุ่นเก่าท่ีมีขนาดใหญ่ มีน้าหนักมาก มีด้านหลังท่ียื่นออกไปเนื่องจากใช้การฉายแสง อิเล็กตรอนของหลอดภาพในการแสดงผล ซ่ึงปัจจุบันได้หันมาใช้จอ LCD (Liquid Crystal Display) และจอ LED (Light-Emitting Diode) กันหมดแล้วเพราะมีรูปร่างบาง น้าหนักเบา แสดงผลด้วย ความละเอียดสูง และยังกินไฟน้อยกว่าอีกด้วย นอกจากน้ีในการจัดการเรียนการสอน การประชุม สัมมนา หรือนาเสนอผลงานต่อหน้าคนจานวนมาก การนาคอมพิวเตอร์ไปเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ แสดงผลข้อมูลประเภทโปรเจคเตอร์ (Projector) ก็ได้รับความนิยม เน่ืองจากสามารถแสดงผลได้บน จอรับสัญญาณภาพขนาดใหญ่ได้คมชัด หรือหากผู้เรียนมีจานวนไม่มากนักผู้สอนสามารถนา คอมพิวเตอร์ไปเชื่อมต่อกับโทรทัศน์เพ่ือให้แสดงผลข้อมูลผ่านทางจอโทรทัศน์ เนื่องจากปัจจุบัน โทรทัศน์ถูกออกแบบมาให้รองรับการเช่ือมต่อกับคอมพิวเตอร์ หรือจะเช่ือมต่อกับสัญญาณ อินเทอร์เนต็ เพ่อื นาเสนอขอ้ มลู โดยตรงผา่ นทางจอโทรทัศน์กส็ ามารถทาได้แลว้ เช่นเดยี วกนั จอภาพคอมพิวเตอร์แบบแท็บเลต็ จอภาพสมารต์ โฟน จอภาพคอมพวิ เตอร์แบบตั้งโตะ๊ BIOS ภาพที่ 2.11 อุปกรณ์แสดงผลขอ้ มลู ประเภทจอภาพ

33 เคร่อื งฉายภาพโปรเจคเตอร์ จอรับภาพโปรเจคเตอร์ จอภาพคอมพิวเตอร์ จอภาพโทรทัศน์ ภาพท่ี 2.12 การแสดงผลข้อมูลจากคอมพวิ เตอร์ไปยังโปรเจคเตอร์ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ 2. อุปกรณ์แสดงผลประเภทเคร่ืองพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์เกี่ยวกับการแสดงผล ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์สู่ผู้ใช้งานในลักษณะของเอกสาร (Hard Copy) ที่สามารถนามาเข้าแฟ้มหรือ เขา้ เล่มแบบสวยงามได้ เครือ่ งพมิ พม์ อี ยดู่ ้วยกนั 5 ประเภท ประกอบด้วย 2.1 เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) หรือแบบหัวเข็ม ใช้หัวเข็ม เป็นแบบแผงอัดกระแทกโดยตรงลงบนแถบหมึกพิมพ์ที่มีลักษณะคล้ายหมึกเคร่ืองพิมพ์ดีดซึ่งมักเป็น สีดาพิมพ์ผ่านไปยังกระดาษ ในการทางานจะมีเสียงดังกว่าเครื่องพิมพ์ประเภทอ่ืน ๆ และเหมาะกับ งานเอกสารท่ีจาเป็นต้องสาเนาหลาย ๆ ชุด ปัจจุบันหามาใช้งานได้ค่อนข้างยากแล้วและมีราคาแพง เนื่องจากไม่นิยมนามาใช้งานพิมพ์เอกสารส่วนตวั หรือตามสานกั งาน แต่อาจจะพบตามร้านสะดวกซ้อื หรอื ตามหา้ งสรรพสนิ คา้ ตรงจุดชาระเงินสาหรับใช้พิมพใ์ บเสรจ็ รับเงนิ ใหล้ กู ค้า 2.2 เคร่ืองพิมพ์แบบอิงก์เจ็ต (Inkjet Printer) หรือแบบหัวพ่นหมึก เป็นเคร่ืองพิมพ์ที่ ทางานโดยอาศัยการพ่นน้าหมึกท่ีมีตลับหมึก 4 สี ประกอบด้วยสี CMYK ได้แก่ Cyan, Magenta, Yellow และ Black เปน็ ละอองทมี่ ีขนาดเล็กมากลงบนกระดาษตรงจุดที่ต้องการโดยตรง เคร่ืองพิมพ์ แบบอิงค์เจ็ตเหมาะกับการใช้พิมพ์งานที่เป็นสีได้ดีและพิมพ์ขาวดาได้รวดเร็วและสวยงาม ทั้งน้ีอาจมี การซมึ หรือกระจายตัวของหมึกในกรณีท่ีกระดาษไมม่ ีคณุ ภาพหรือเปน็ กระดาษทไี่ ม่เหมาะกับลักษณะ งานทพ่ี ิมพ์ และหวั พิมพ์อาจจะอดุ ตนั ไดง้ า่ ยเนื่องจากการตกคา้ งของหมึก 2.3 เครอื่ งพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) เป็นเครื่องพมิ พท์ ใ่ี ห้ผลงานออกมาคมชัด มากทสี่ ดุ และเปน็ ทนี่ ิยมใช้งานมากทีส่ ุดในปจั จุบัน เน่ืองจากสามารถพิมพง์ านได้รวดเร็วและไม่มีเสียง ดังรบกวน เน่ืองจากอาศัยความร้อนในการทาให้ผงหมึกติดกระดาษคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร ดังน้ัน หากพิมพ์เอกสารจานวนมากควรพักการทางานของเครื่องพิมพ์ เพื่อให้เคร่ืองไม่ร้อนจนเกินไป โดยปกติเครอ่ื งพมิ พแ์ บบนี้มที ้งั แบบขาวดาและแบบสีให้เลือกใชต้ ามความต้องการ

34 2.4 เคร่อื งพิมพแ์ บบพล็อตเตอร์ (Plotter) เครื่องพิมพช์ นิดนี้มกั เรียกกนั วา่ พล็อตเตอร์ แม้จะเป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลและทางานเหมือนกับเครื่องพิมพ์คือทางานด้วยการพ่นหมึกหรือ เลเซอร์ และมกั เนน้ งานพมิ พ์ทีม่ ขี นาดใหญ่ เชน่ โปสเตอร์ ไวนิล ปา้ ยโฆษณาหรือบิลบอร์ด เป็นตน้ 2.5 เคร่ืองพิมพ์แบบสามมิติ (3D Printer) เคร่ืองพิมพ์แบบใหม่ล่าสุดท่ีกาลังได้รับ ความนิยม เนื่องจากสามารถพิมพ์ไฟล์โมเดลภาพแบบสามมิติมาผลิตเป็นชิ้นงานท่ีสามารถจับต้องได้ โดยใชเ้ ส้นในพลาสตกิ สีต่าง ๆ มาผา่ นกระบวนการฉีดพ่นของหัวฉีดทลี ะชน้ั และเปน็ ขา่ วโดง่ ดังท่ัวโลก เม่ือประเทศจีนใช้เคร่ืองพิมพ์แบบสามมิติพิมพ์วัสดุและอุปกรณ์เพ่ือสร้างโรงพยาบาลสนามสาหรับ ผู้ป่วยท่ีติดเช้ือโควดิ 19 ในปีทีผ่ า่ นมา นอกจากนั้นด้วยความทันสมัยของเทคโนโลยีทางการพิมพ์ทาให้ปัจจุบันเกิดเครื่องพิมพ์ แบบมัลติฟังก์ชัน (Multifunction Printer) ท่ีรวมเอาความสามารถของเคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร และเครื่องแฟกซ์ มาไว้ดว้ ยกนั และสามารถทางานได้หลากหลายภายในเคร่ืองเดียว ทาให้เคร่ืองพิมพ์ชนิดนี้อาจไม่ได้เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลเพียงอย่างเดียว แต่สามารถทาหน้าท่ีเปน็ อปุ กรณน์ าเข้าข้อมลู ไดอ้ ีกดว้ ย แบบอิงกเ์ จ็ต ภาพที่ 2.13 เครอ่ื งพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ แบบองิ ก์เจ็ต แบบเลเซอร์

35 แบบพล็อตเตอร์ ภาพที่ 2.14 เครอ่ื งพมิ พ์แบบพลอ็ ตเตอร์ แบบสามมติ ิ ภาพที่ 2.15 เคร่ืองพมิ พแ์ บบสามมิติ 3. อุปกรณ์แสดงผลข้อมูลประเภทลาโพง (Speaker) และหูฟัง (Headphone) การแสดงผลข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ออกไปยังลาโพงและหูฟังมีเพียงอย่างเดียวคือเสียง ซ่ีงถูกแปลง จากสัญญาณทางไฟฟ้าให้กลายเป็นสัญญาณเสียงเดินทางผ่านสายสัญญาณและอากาศมาสู่หูของเรา

36 เช่น เสียงพูด เสียงบรรยาย เสียงเพลง เสียงบรรเลง เสียงประกอบ เป็นต้น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ทุกชนิดทั้งแบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) แบบโน้ตบุ๊ก (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และ สมาร์ตโฟน (Smartphone) มักมีลาโพงติดตั้งอย่างถาวรมาด้วยเสมอ ลาโพงถือว่าเป็นอุปกรณ์ แสดงผลข้อมูลที่สาคัญเน่ืองจากปัจจุบันมีโซเชียลมีเดีย (Social Media) จานวนมากท่ีสามารถเข้าถึง เพื่อศึกษาหาความรู้ หาความบันเทิง และส่ือสารด้วยเสียงระหว่างกัน เช่น การพูดคุยกับเพ่ือนด้วย เสยี งผ่านทางโปรแกรม LINE การดูหนงั ฟังเพลงทาง YouTube รวมถึงการสอนหนังสือออนไลน์ผ่าน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ โดยปกติคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมักจะมีลาโพงติดตั้งให้ใช้งานมาพร้อม อยู่แล้ว แต่หากผู้ใช้งานไม่สะดวกท่ีจะใช้ลาโพงของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือไม่ต้องการให้เสียงจาก ลาโพงไปรบกวนผู้อ่ืนก็สามารถฟังเสียงผ่านทางหูฟังซึ่งเป็นลาโพงอีกชนิดหน่ึงที่ได้รับความนิยม เน่ืองจากมีขนาดเล็กกระทัดรัด สามารถเปิดฟังเสียงได้โดยไม่รบกวนบุคคลอ่ืน และได้เสียงที่ไพเราะ ชัดเจนเทียบเท่าลาโพง เพียงแต่ผู้ใช้อาจต้องซื้อมาใช้งานเพิ่มด้วยตนเองเนื่องจากอาจจะไม่ได้แถมมา พร้อมกับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันหูฟังมีทั้งแบบมีสายและแบบไร้สายให้เลือกใช้งานตามความประสงค์ ของผใู้ ชง้ าน ภาพท่ี 2.16 ลาโพงและหูฟงั สาหรบั นาเสียงออกจากคอมพิวเตอร์ บทสรปุ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) และคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานได้หลายคน พร้อมกนั (Multi-User Computer) แมจ้ ะมีความแตกตา่ งกันในเรอ่ื งของสมรรถนะรทางาน แต่คอมพิ เตอร์ทั้ง 2 ประเภทถูกผลิตมาจากอุปกรณ์เป็นอิเลก็ ทรอนิกส์เช่นเดียวกัน อุปกรณ์เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เหล่าน้ีทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input Device) อุปกรณ์ความจาหลัก (Main Memory Device) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage Device) อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล (Processing Device) และ อปุ กรณแ์ สดงผลขอ้ มูล (Output Device) อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มีหน้าที่ในการรับและนาข้อมูลจากผู้ใช้งานส่งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล แสดงผล และจัดเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์เพ่ือใช้งานใน

37 โอกาสต่อไป ประกอบด้วยอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Device) ประเภท ชี้ตาแหนง่ (Pointing Device) และประเภทมัลตมิ เี ดยี (Multimedia Device) อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลทั้งหมดของ คอมพิวเตอร์ ได้แก่ หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ประกอบด้วย ส่วนควบคุม (Control Unit) และ ส่วนคานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Logic Unit) และแผงวงจรหลักของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ (Mainboard) ประกอบดว้ ย ซอ็ กเกต็ (Socket) ซ็อกเกต็ ของหน่วยความจา (Memory) สล็อตของคาร์ดแสดงผล (Graphic Card) คาร์ดเสียง (Sound Card) คาร์ดสาหรับการส่ือสารข้อมูล (LAN Card) ฮารด์ ดสิ ก์ (Hard disk) ชปิ เซต (Chipset) ชิปไบออส (BOIS) แบตเตอรี่ของไบออส และ ขั้วตอ่ อปุ กรณ์ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยความจา ได้แก่ หน่วยความจาหลัก (Main Memory Device) ประกอบด้วย หน่วยความจาถาวร (Read Only Memory หรือ ROM) และหน่วยความจาช่ัวคราว (Random Access Memory หรือ RAM) และหน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) เป็นหน่วยความจาท่ีมีขนาดใหญ่และมีพ้ืนที่บรรจุข้อมูลจานวนมาก ประกอบด้วย ส่ือจัดเก็บข้อมูลแบบจานเหล็ก (Magnetic Disk) สื่อจัดเก็บข้อมูลแบบหน่วยความจา แฟลช (Flash Memory) สื่อจัดเก็บข้อมูลแบบใช้แสง (Optical Storage) และส่ือจัดเก็บข้อมูลแบบ คลาวด์ อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล เป็นอุปกรณ์เก่ียวกับการแสดงผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์เพื่อให้ ผู้ใช้เห็นหรือได้ยิน มักมาในรูปของตัวอักษร ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ผ่านทาง อุปกรณแ์ สดงผลข้อมลู ประเภทจอภาพ (Monitor) เครือ่ งพิมพ์ (Printer) และลาโพง (Speaker) หรือ หฟู ัง (Headphone)

39 บทท่ี 3 ซอฟตแ์ วร์ระบบของคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล บทที่ผ่านมาได้กล่าวถึงฮาร์ดแวร์ท่ีประกอบกันเป็นคอมพิวเตอร์ไปแล้ว หากคอมพิวเตอร์ มีเพียงฮาร์ดแวร์อย่างเดียวจะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ จึงจาเป็นต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญอย่างซอฟต์แวร์ (Software) หรือโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นชุดคาสั่งท่ีถูกเขียนขึ้นมาเพื่อส่ังให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ตามความต้องการ คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลทุกแบบทั้งแบบตั้งโต๊ะ แบบโน้ตบุ๊ก แบบแท็บเล็ต และแบบสมาร์ตโฟน ต้องมีซอฟต์แวร์คอย ควบคุม กากับ และสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน คอมพิวเตอร์แต่ละแบบมีซอฟต์แวร์ที่ถูกเขียนข้ึนมา เพอ่ื ตอบสนองความต้องการใชง้ านจานวนมาก แบ่งออกเปน็ 2 ประเภทด้วยกนั ประกอบดว้ ย 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ท้ังหมดท้ังส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้มากท่ีสุด ตัวอย่างซอฟต์แวร์ระบบ อาทิ Microsoft Windows, Android และ iOS เปน็ ตน้ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซ่ึงเป็นซอฟต์แวร์ท่ีมีจานวนมากมาย มหาศาลท่ีเขียนขึ้นมาเพื่อทางานเฉพาะอย่างตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น Microsoft Office, Microsoft Teams และ Google Classroom เป็นต้น เพ่ือให้ผู้สอนรู้ เข้าใจ และสามารถใช้ซอฟต์แวร์ระบบควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคลและสามารถประยกุ ตใ์ ช้จัดการเรียนการสอนได้ จึงขอนาเสนอซอฟต์แวร์ระบบหรือเรียกว่า ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems: OS) Microsoft Windows 10 เน่ืองจากนิยมนามาใช้กับ คอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลอย่างตอ่ เนื่องตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2558 จนถึงปจั จบุ นั โดยมรี ายละเอียดดังน้ี ภาพที่ 3.1 ตวั อยา่ งของซอฟตแ์ วร์สาหรับคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คล

40 ทาความรู้จักและเรมิ่ ต้นใช้งาน Windows 10 Windows เป็นซอฟต์แวร์ระบบหรือระบบปฏิบัติจากตระกูล Microsoft ที่ถือกาเนิดมา อย่างยาวนาน มีการปรับเปล่ียนโครงสร้าง และการทางานให้เหมาะสมและรองรับกับการทางานของ คอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคแต่ละสมัยเรื่อยมา จนมาถึงปัจจุบันเป็น Windows 10 ระบบปฏิบัติการ สาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีได้รับการออกแบบใหม่ให้ทันสมัยและรองรับการใช้งานแบบสัมผัส หนา้ จอ (Touch Screen) จงึ ทาให้สามารถทางานกับคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลแบบต้ังโต๊ะ แบบโนต้ บุ๊ก แบบแท็บเล็ต และแบบสมารต์ โฟน ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ แต่ยงั คงรองรบั การทางานดว้ ยการใช้เมาส์ (Mouse) ได้เป็นอย่างดี โดยไม่ต้องเรียนรู้การทางานท่ีแตกต่างกันของซอฟต์แวร์ระบบให้เสียเวลา โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ที่ใช้งานบนระบบปฏิบัติการ Windows 10 มีทั้ง โปรแกรมแบบเดิมที่รองรับการทางานกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ และแบบโน้ตบุ๊ก และ โปรแกรมแบบใหม่ที่เรียกกันว่าแอป (Apps) ซึ่งย่อมาจากแอปพลิเคชัน (Application) ท่ีรองรับ การทางานกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบแท็บเล็ตและแบบสมาร์ตโฟน จึงเรียกได้ว่าเป็นซอฟต์แวร์ ระบบที่ครอบคลมุ การทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกรปู แบบ ทง้ั น้คี อมพิวเตอร์สว่ นบุคคลแบบ ใดท่ีรองรับการทางาน Windows 10 บ้างน้ัน ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทมี่ าจากแต่ละตระกูล ด้วย เช่น หากมาจากตระกลู Apple ก็จะไม่รองรบั การทางานกบั ระบบปฏบิ ัติการ Windows 10 เป็น ตน้ ภาพท่ี 3.2 แสดงพืน้ ทีก่ ารทางานหลกั ของ Desktop ของ Windows 10 ซึ่งเป็นหน้าแรกทผี่ ูใ้ ช้จะ ได้เห็นเมื่อคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งาน โดย Desktop ก็เปรียบเสมือนโต๊ะทางานหากเปิดใช้งาน Windows 10 คร้ังแรก Desktop ก็จะยังไม่มีไอคอน (Icon) อะไรมาก อาจจะมีเพียงไอคอนหลัก เหมือนกับโต๊ะทางานที่ยังใหม่ โล่ง และสะอาดตาอยู่ เมื่อใช้งาน Windows 10 ไปเร่ือย ๆ ก็เหมือน ทางานไปสักระยะ Desktop หรือบนโต๊ะทางานก็จะเต็มไปด้วยแฟ้มและเอกสารต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น เร่ือย ๆ จนบางครั้งจาเป็นท่ีจะต้องเคลียร์ Desktop หรือทาความสะอาดโต๊ะกันบ้าง การเร่ิมต้นใช้ งาน Windows 10 มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ พื้นทห่ี ลกั สาหรบั การทางาน หรือ Desktop ปุม่ Start ภาพท่ี 3.2 พ้นื ทสี่ าหรับการทางานหลกั หรอื หน้า Desktop ของ Windows 10

41 ในที่นี้ไม่ได้กล่าวถึงการติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติ Windows 10 เนื่องจากหากซื้อ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือใช้งานคอมพิวเตอร์ในสานักงานหรือในสถานศึกษาก็มักจะติดตั้ง ซอฟตแ์ วร์ระบบปฏบิ ัติการเอาไว้แลว้ จะกล่าวถงึ เพียงการใช้งาน Windows 10 เทา่ นน้ั เร่ิมต้นใช้งาน Windows 10 ด้วยการคลิกปุ่ม Start เป็นปุ่มสัญลักษณ์โลโก้ของ Windows เม่ือคลิกท่ีปุ่มนี้จะพบกับไอคอนของโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ ท่ีมาพร้อมกับ Windows 10 หรืออาจติดต้ังเพ่ิมเติมเข้าไปในภายหลังเรียงตามลาดับตัวอักษรของช่ือโปรแกรมให้ เลือกใช้งานตามความต้องการ และจะพบกับไอคอนที่ถูกใช้งานบ่อยถูกจัดอยู่ในหมวด Most used สาหรับไอคอนหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ใช้งานบ่อย ๆ หรือโปรแกรมท่ีไม่ค่อยได้ใช้งานอ่ืน ๆ ผู้ใช้สามารถ นามาวางไวใ้ นส่วนของ Taskbar ตรงพน้ื ท่วี ่าง ๆ ต่อจากปุ่ม Start ได้ ด้วยการคลกิ ปุ่มขวาของเมาส์ท่ี ไอคอนหรือโปรแกรม > More > Pin to taskbar จากภาพที่ 3.3 จะพบกับไอคอนของแอปพลิเค ชนั ไลน์ (Line) ถกู นามาวางไว้ในส่วนของ Taskbar ตอ่ จากปมุ่ Search ในกรณีท่ีในคอมพิวเตอร์มีโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันจานวนมากจนจาไม่ได้หรือไม่อยาก คลิกและเล่ือนหา สามารถใช้การค้นหาโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันด้วยการคลิกปุ่ม Search ที่มี สัญลักษณ์เหมือนแว่นขยายและวางอยู่ติดกับปุ่ม Start ได้ด้วยการพิมพ์ช่ือของโปรแกรมหรือ แอปพลเิ คชนั ที่ตอ้ งการลงไป เมื่อคลกิ ปมุ่ Start นอกจากจะพบกับโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ แล้ว ผู้ใช้จะได้พบ กับปุ่มชื่อผู้ใช้ (User) ที่กาลังใช้งานอยู่ ปุ่ม Documents หรือ File Explorer สาหรับเปิดหน้าต่าง โฟลเดอร์ (Folder) และไฟล์ (File) เอกสารต่าง ๆ ปุ่ม Pictures สาหรับเปิดหน้าต่างโฟลเดอร์และ ไฟล์รูปภาพ ปุ่ม Setting สาหรับต้ังค่าการทางานของ Windows ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป และปุ่ม Power ท่ีประกอบด้วยเมนู Sleep สาหรับพักการทางานของคอมพิวเตอร์ เมนู Restart สาหรับ รีสตาร์ทคอมพวิ เตอร์ และเมนู Shut down เพ่อื ปดิ การใชง้ านคอมพวิ เตอร์ ไอคอนที่ใช้งานบอ่ ย ไอคอนของโปรแกรม User Documents Pictures Settings Power ภาพที่ 3.3 ไอคอนของโปรแกรมหรอื แอปพลิเคชันทต่ี ดิ ตั้งอยใู่ นคอมพวิ เตอร์

42 การปรบั แต่งหนา้ จอ พ้ืนท่กี ารใช้งาน และการแจ้งเตือน Desktop คือพนื้ ท่หี ลักในการทางานของ Windows 10 เน่อื งจากทุกครั้งทเ่ี ปดิ เคร่ืองเพ่ือ ใช้งานคอมพิวเตอร์ และปิดเครื่องเมื่อไม่ต้องการใช้งานคอมพิวเตอร์ จาเป็นต้องใช้พื้นท่ี Desktop ใน ส่วนนท้ี ้งั สนิ้ เปรยี บเสมือนโต๊ะทางานสว่ นตวั ท่เี จ้าของสามารถตกแต่งใหส้ วยงาม สะอาดตานา่ ทางาน หรือจะปล่อยให้รกรุงรังก็ได้ตามความต้องการ โดยไม่ส่งผลต่อ User หรือผู้ใช้คนอื่นแต่อย่างใด เนอื่ งจากเปน็ การปรับแต่งในพ้ืนท่ีที่เป็นส่วนตัว 1. แสดงความเป็นเจ้าของคอมพิวเตอร์ด้วยการเปลี่ยนเป็นภาพของตนเองหรือภาพที่เรา ชอบ (User) ด้วยการคลิกท่ีปุ่ม Start ตามด้วย User > Change account settings > Browse for one เพ่ือเลอื กภาพจากโฟลเดอร์และไฟล์ภาพตามลาดับ คลกิ เพอ่ื เลอื กภาพ โฟลเดอร์เกบ็ ภาพ ภาพที่ 3.4 การเปลยี่ นภาพของผู้ใชง้ าน 2. การเปล่ียนภาพพื้นหลังของพื้นที่การทางาน (Desktop) ด้วยการคลิกที่ปุ่ม Start ตาม ด้วย Setting > Personalization > Background > Choose your picture หรอื Browse > Choose a fit เพอื่ เลือกขนาดและลักษณะการแสดงภาพบน Desktop ดงั ภาพท่ี 3.5

43 คลิก Background เลอื กภาพจากระบบหรือ Browse เลอื กขนาดและลักษณะภาพ ภาพที่ 3.5 การเปล่ียนภาพพ้ืนหลังของพ้ืนท่ีการทางาน (Desktop) 3. การเปลีย่ นสีให้กบั เมนู Start และ Taskbar โดยปกติ Windows จะกาหนดสีของเมนู Start และ Taskbar มาให้เป็นเบ้ืองต้นอยู่แล้ว แต่หากผู้ใช้ประสงค์จะเปล่ียนเป็นสีท่ีตนชอบก็สามารถทาได้ด้วยการคลิกที่ปุ่ม Start ตามด้วย Setting > Personalization > Colors > Recent colors หรือ Windows colors เพ่ือเลือกสีตาม ชอบ จะได้ผลลัพธ์ดังภาพท่ี 3.6 ซ่ึงผู้เขียนได้เลือกสีส้มเอาไว้และพบวา่ เกือบทกุ อย่างเปล่ียนเป็นสีส้ม ตามท่ีเปล่ียนเกือบทั้งหมด แม้แต่ตัวหนังสือและปุ่ม Start นับว่าสวยและแปลกตาไปอีกแบบเม่ือ เปรียบเทียบกบั ภาพท่ี 3.5 ซ่งึ ผู้เขียนเลอื กสนี ้าเงนิ เอาไว้ คลกิ Colors เลอื กสที ี่ชอบ ภาพที่ 3.6 การเลอื กสใี ห้กบั เมนู Start และ Taskbar

44 4. การเลอื กภาพสาหรับการ Lock Screen และ Screen Saver Lock Screen เป็นหน้าจอสาหรับ Sign in หรือระบุตัวตนเพ่ือความม่ันคงปลอดภัยก่อน เข้าใช้งานคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้สามารถปรับเปลยี่ นภาพสาหรบั การ Lock Screen ให้เป็นภาพท่ีเราชอบ ได้เช่นเดียวกันด้วยการคลิกท่ีปุ่ม Start ตามด้วย Setting > Personalization > Lock screen > Background เพื่อเลือกภาพท่ีชอบ และสามารถเลือกพักหรือถนอมจอภาพด้วยการต้ังค่า Screen Saver ได้ด้วยตามภาพที่ 3.7 เลอื กภาพจากระบบหรอื Browse คลกิ Lock screen เลอื ก On เลือกภาพสาหรับ Screen saver คลกิ เลอื ก Screen saver ภาพที่ 3.7 การเลือกภาพสาหรับการ Lock Screen และ Screen Saver 5. การปรับจอภาพให้เหมาะกบั การใชง้ าน การปรับจอภาพนอกจากจะเพ่ือความสวยงามแล้วยังสามารถปรับจอภาพให้เหมาะสมกับ การใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน เช่น ปรับความละเอียดของจอภาพ ปรับความสว่างของแสงจากหน้าจอ ปรับแสงสาหรับการใช้งานกลางคืน และปรับแนวหน้าจอและขนาดของข้อความ เป็นต้น ด้วย การคลกิ ทปี่ ุ่ม Start ตามดว้ ย Setting > System > Display > เลอื กปรบั จอภาพให้เหมาะกับการใช้ งานตามภาพ

45 คลกิ Display ปรับความสว่างของหน้าจอ ปรับแสงสาหรับการใชง้ านกลางคืน เลอื กขนาดของตวั อักษรและพลเิ คชัน เลือกความละเอยี ดของจอภาพ เลอื กแนวการแสดงจอภาพ ภาพที่ 3.8 การปรบั จอภาพให้เหมาะกับการใชง้ าน 6. โปรแกรมหรอื แอปพลิเคชันท่ีมาพรอ้ มกบั Windows 10 โดยปกตเิ มื่อติดต้ังซอฟต์แวร์ระบบหรือระบบปฏิบตั ิการในคอมพวิ เตอร์จะมโี ปรแกรมหรือ แอปพลิเคชันพ้ืนฐานท่ีรองรับการทางานเบื้องต้นให้ผู้ใช้ได้ใช้งานมาพร้อมกันด้วย สาหรับโปรแกรม หรือแอปพลิเคชันที่มาพร้อมกับ Windows 10 อาทิ Calculator, Calendar, Camera, Mail, Map, Microsoft Edge, Movie and TV, Voice and Music, Paint, Picture, VDO และ WordPad เป็น ต้น เพ่ือประโยชน์แก่ผู้ใช้งานในการเขียนและอ่าน ดูหนังและฟังเพลง วาดและดูภาพ รับ-ส่งอีเมล และท่องอนิ เทอรเ์ น็ต เปน็ ต้น ภาพที่ 3.9 สว่ นหนึ่งของแอปพลเิ คชันพ้นื ฐานท่ีตดิ ตั้งมาพร้อมกับ Windows 10

46 การจัดการไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ ไฟล์และโฟลเดอร์ถือเป็นส่วนท่ีมีความสาคัญเนอ่ื งจากเป็นแหล่งจดั เก็บข้อมูลท้ังหมดของ ผู้ใช้เอาไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ การมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ใน Windows 10 จึงเป็นเรื่องจาเป็น ต้ังแต่การสร้างโฟลเดอร์ การบันทึก การคัดลอก การลบ การย้าย การเปลี่ยนช่ือ รวมถึงการจัดการกับอุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดเก็บข้อมูล (Storage Devices) ต่าง ๆ สาหรับใน Windows 10 จะมีโฟลเดอร์และไฟล์ที่ถูกสร้างมาพร้อมกับการติดต้ังซอฟต์แวรร์ ะบบหรอื ระบบปฏิบัติการในคอมพิวเตอร์ มีท้ังโฟลเดอร์และไฟล์ที่สามารถเข้าถึงและแก้ไขได้ และเข้าถึงแต่ แก้ไขไม่ได้ ผู้ใช้จึงควรวะวังเนื่องจากบางไฟล์หากลบหรือแก้ไขไปแล้วอาจทาให้คอมพิวเตอร์เกิด ปัญหาจนอาจไมส่ ามารถใชง้ านได้ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามผ้ใู ช้ไม่ต้องกังวลในสว่ นน้เี น่ืองจากซอฟต์แวร์ระบบ หรือระบบปฏิบัติการมีการป้องกันการเข้าถึงและการแก้ไขในเบื้องต้นอยู่แล้ว ดังนั้นหากต้องการจะ สร้างโฟลเดอร์หรือไฟล์เพ่ิมเติมโดยผู้ใช้งานเอง แนะนาให้สร้างไว้ในพื้นที่ของอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ จัดเก็บข้อมูลในส่วนท่ีไม่เก่ียวข้องกับโปรแกรมของระบบหรือโปรแกรมประยุกต์ท้ังหลาย เช่น สร้าง โฟลเดอร์และเก็บไฟลอ์ ยา่ งเป็นสัดส่วนไว้ท่ี Drive D หรอื External Hard Disk เปน็ ต้น ภาพท่ี 3.10 ลักษณะของไฟล์และโฟลเดอร์ใน Windows 10 การสร้างโฟลเดอร์ใหม่สามารถทาได้ด้วยการคลิกปุ่มขวาของเมาส์ > New > Folder > ต้ังชอื่ โฟลเดอร์ตามต้องการ การคัดลอกไฟล์และโฟลเดอร์ทาได้ด้วยการคลิกปุ่มขวาของเมาส์บนไฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ี ต้องการตัดลอก > Copy > คลกิ ปมุ่ ขวาของเมาส์บนพ้ืนทท่ี ่ีต้องการวางไฟล์และโฟลเดอร์ > Paste การเปลีย่ นชื่อไฟล์และโฟลเดอรท์ าได้ดว้ ยการคลกิ ปุ่มขวาของเมาส์บนไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ ต้องการเปล่ียนชอ่ื > Rename > ตั้งชื่อไฟลแ์ ละโฟลเดอรต์ ามต้องการ

47 การลบไฟล์และโฟลเดอร์ทาได้ด้วยการคลิกปุ่มขวาของเมาส์บนไฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ี ต้องการจะลบ > Delete หรือคลิกปุ่มซ้ายของเมาส์บนไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการจะลบ > กดปุ่ม Delete บนคีย์บอรด์ สาหรับไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ถูกลบจะยังไม่ถูกลบออกไปจากคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริง แต่ จะถกู ย้ายไปเกบ็ ไวใ้ น Recycle Bin ที่เปรยี บเสมือนถงั ขยะทวี่ างอยู่หน้า Desktop แทน เพ่อื ใหม้ ั่นใจ ว่าหากผู้ใช้ไม่ได้ตั้งใจลบจะยังคงสามารถเรียกคืนไฟล์และโฟลเดอร์เหล่าน้ันกลับคืนมาได้ ด้วย การดบั เบลิ คลิกปมุ่ ซ้ายของเมาสล์ งบน Recycle Bin > มองหาไฟลห์ รอื โฟลเดอรท์ ่ีตอ้ งการเรียกคนื > คลิกปุ่มขวาของเมาส์ลงบนไฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ีต้องการเรียกคืน > Restore แต่หากผู้ใช้มั่นใจแล้วว่า ต้องการลบไฟล์และโฟลเดอร์เหล่าน้ันจริง ๆ จาเป็นต้องลบไฟล์และโฟลเดอร์ออกจาก Recycle Bin ด้วยการคลิกปุ่มขวาของเมาส์ลงบน Recycle Bin > Empty Recycle Bin เพียงเท่าน้ีไฟล์ที่อยู่ใน Recycle Bin ท้ังหมดก็จะถูกลบออกไปจากคอมพวิ เตอร์อย่างถาวร Recycle Bin เปรยี บเสมอื นถังขยะจาเปน็ ท่ีผู้ใชจ้ ะต้องหม่ันเทท้งิ อย่บู ่อย ๆ ไม่เช่นนัน้ ไฟล์ และโฟลเดอร์เหล่าน้ันจะล้นและกินพ้ืนท่ีของอุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ส่งผลให้พ้ืนท่ีสาหรับ จัดเก็บข้อมลู ทีจ่ าเปน็ ลดนอ้ ยลงไป การบีบอัดไฟล์และโฟลเดอร์เพื่อให้มีขนาดเล็กลงเหมาะท่ีจะย้ายหรือนาไปใช้งานต่อ Windows 10 ได้เตรยี มเครื่องมือบีบอัดไฟล์ไว้ให้แล้วโดยไมจ่ าเป็นต้องติดตั้งโปรแกรมบบี อัดไฟล์เพิ่ม แต่อยา่ งใดดว้ ยการคลกิ เมาส์ลงบนไฟล์หรอื โฟลเดอร์ทตี่ ้องการบบี อดั > Share > Zip การขยายไฟล์หรือโฟลเดอร์ท่ีถูกบีบอัดเอาไว้เพ่ือนามาใช้งานทาได้ด้วยการคลิกเมาส์ลง บนไฟล์หรือโฟลเดอรถ์ ูกบีบอดั > Extract all > ตงั้ หรือเปลยี่ นชื่อใหม่ > Extract การจดั การเกยี่ วกบั ภาพและวดิ ีโอ การจัดการเก่ียวกับภาพและวิดีโอใน Windows 10 เป็นความสามารถของโปรแกรมท่ีชื่อ ว่า Photos ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดูภาพ ปรับตกแต่งภาพ ใส่ลูกเล่นให้กับภาพ สร้างภาพเคล่ือนไหว และสร้างไฟลว์ ิดโี อ โดยสามารถนาภาพจากอปุ กรณ์นาเข้าข้อมูลและอุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลต่าง ๆ เช่น กล้องถ่ายภาพ และ Thumb drive มาเก็บรวบรวมไวใ้ นโปรแกรมโดยโปรแกรมจะรวมภาพและสร้าง อลั บัม้ ใหอ้ ตั โนมัติ โปรแกรม Photos มเี มนหู ลกั ๆ ประกอบดว้ ย 1. Collection หน้าหลักสาหรบั แสดงภาพโดยรวมแยกตามเดอื นและปี 2. Albums สาหรบั แสดงและสรา้ งอัลบัม้ ภาพ 3. People สาหรับ Tag ภาพไปยงั เพือ่ น ๆ ที่อยู่ในภาพ 4. Folders สาหรับแสดงโฟลเดอร์และนาเข้าโฟลเดอร์ภาพ 5. Video Projects สาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวและวิดีโอ และบันทึกและส่งอออก ไฟล์ไปเผยแพร่

48 เมนหู ลักของโปรแกรม Photos ภาพท่ี 3.11 โปรแกรม Photos สาหรบั จดั การกบั ภาพและวดิ ีโอ สาหรับการแก้ไขและปรับตกแต่ง ใส่ลูกเล่นให้กับภาพ สร้างภาพเคลื่อนไหว และสร้าง ไฟล์วิดีโอด้วยโปรแกรม Photos ผู้ใช้สามารถเลือกและดับเบิลคลิกภาพท่ีต้องการแก้ไขและปรับ ตกแต่ง ภาพ ๆ นั้นก็จะถูกเปิดข้ึนมาด้วยโปรแกรม Photos โดยอัตโนมัติ ผู้ใช้สามารถปรับแต่งสี ปรับความสว่าง ความคมชัด ใส่ฟิลเตอร์ ตัดขอบภาพ หมุนภาพ ใส่ข้อความให้กับภาพ บันทึก แชร์ และสั่งพิมพ์รูปภาพได้ ภาพที่ 3.12 เป็นการปรับแต่งภาพด้วยการตัดขอบของภาพในส่วนที่ ไมต่ ้องการทง้ิ ไปดว้ ยคาส่งั Crop ภาพที่ 3.12 การปรับแต่งและแก้ไขภาพด้วยโปรแกรม Photos ด้วยคาสงั่ Crop

49 การจัดการเกี่ยวกับความบันเทิง Windows 10 นอกจากถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการทางานแล้ว ยังมีความสามารถ ท่ีช่วยให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ผ่อนคลายและมีความสุขไปกับการดูหนัง ฟังเพลง และเล่นเกมผ่าน โปรแกรมเพ่ือความสนุกสนานและความบันเทิงต่าง ๆ ท่ี Windows 10 จัดเตรียมไว้ให้ โดยผู้ใช้งาน ไม่จาเป็นต้องโหลดและติดต้ังโปรแกรมเหล่าน้ีเพ่ิมเติมแต่อย่างใด เน่ืองจากจะถูกติดตั้งไว้พร้อมกับ ตอนติดต้ัง Windows 10 อยู่แล้ว ความบันเทิงดังกล่าวประกอบด้วย การฟังเพลงด้วยโปรแกรม Groove Music การดูหนังและดูทีวีด้วยโปรแกรม Movies & TV และโปรแกรม Windows Media Player และการเล่นเกมยอดนิยมอย่างเกมถอดไพ่ และเกม Xbox ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากความสนุกสนานและความบันเทิงแล้วโปรแกรมเหล่าน้ียังสามารถนามาประยุกต์ใช้ใน การทางานการเตรียมการสอนและการจดั การเรียนการสอนสาหรบั ผู้สอนและผเู้ รียนได้อกี ด้วย สาหรับการใช้งานโปรแกรมเหลา่ นีผ้ ใู้ ชส้ ามารถคลิกที่ป่มุ Start ก็จะพบกับกลุ่ม Play and explore ซึ่งมีโปรแกรมเพ่ือความบันเทิงเหล่านี้อยู่ หรือสามารถ Search หาด้วยเครื่องมือ Search ที่มลี กั ษณะเหมอื นแวน่ ขยายไดอ้ กี ด้วย กลมุ่ โปรแกรมเพอ่ื ความบนั เทิงใน Windows 10 ภาพที่ 3.13 กลุ่มโปรแกรมเพอ่ื ความบนั เทิงใน Windows 10 การจัดการกบั บัญชผี ู้ใชง้ าน โดยปกตแิ ลว้ คอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคลถกู ออกแบบมาใหใ้ ช้งานกบั คนเพยี งคนเดยี วหรือคนที่ เป็นเจา้ ของคอมพวิ เตอร์เท่านั้น แตใ่ นกรณีท่ีคอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลในสานักงานหรือในสถานศึกษามี จานวนจากัดและไม่เพียงพอต่อผู้ใช้งาน จาเป็นต้องมีคอมพิวเตอร์ไว้สาหรับใช้งานส่วนกลางท่ีใครก็ สามารถใช้งานได้หากมีบัญชีผู้ใช้งาน (User Account หรือ User) บัญชีผู้ใช้งานใน Windows 10 เป็นความสามารถพิเศษท่ีอนุญาตให้ผู้ใช้หรือ User หลาย ๆ คนสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลเคร่ืองเดียวกันได้ โดยแต่ละคนจะถูกแยกออกจากกันด้วยพื้นท่ีใช้งานและสิทธิ์ในการเข้าถึง

50 ข้อมูลและการใช้งานที่ไม่เท่ากันด้วยการลงช่ือเข้าใช้ (Sign in) โดยการระบุชื่อผู้ใช้ (User) และ รหสั ผ่าน (Password) User ที่ใชง้ านอยขู่ ณะน้ี ภาพท่ี 3.14 บัญชีของผ้ใู ชง้ านทก่ี าลงั ใช้งานคอมพวิ เตอร์ เมื่อเปิดคอมพิวเตอร์และลงชื่อเข้าใช้เรียบร้อยและคลิกท่ีเมนู Start จะพบกับชื่อของ ผู้ใช้งานหรือ User ที่กาลังใช้คอมพิวเตอร์อยู่ในขณะนั้นดังตัวอย่างในภาพที่ 3.14 หน้าจอ รูปภาพ สสี ัน และการจัดวางตาแหนง่ ไฟล์และโฟลเดอรข์ องผู้ใชแ้ ตล่ ะคนก็แตกตา่ งกันไปขึ้นอยู่กับการกาหนด และการตกแต่งของผู้ใช้แตล่ ะคน ดังภาพที่ 3.15 เปน็ หน้าจอของผู้ใช้อกี User หน่ึงทใ่ี ช้คอมพวิ เตอร์ เครือ่ งเดียวกันแต่มีการจัดวางและตกแตง่ ท่ีแตกต่างกนั User ใหม่ ภาพที่ 3.15 บัญชีของผใู้ ช้งานอกี User หน่ึงที่ใชง้ านคอมพวิ เตอร์ เม่ือเจ้าของหรือผู้ดูแลคอมพิวเตอร์ท่ีเป็น Administration ประสงค์จะสร้าง User เพิม่ ลง ไปให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์เคร่ืองเดียวกันโดยไฟล์และโฟลเดอร์ที่เก็บงานไม่ปะปนกัน สามารถ ทาได้ดังน้ี คลิกปุ่ม Start > ตามด้วย User ที่เป็นเจ้าของหรือผู้ดูแลคอมพิวเตอร์ที่เป็น Administration > Change account setting > เข้าสู่หนา้ Your Info

51 เลือก > Family & other users > Add someone else to this PC > I don’t have this person’s sign-in information > Add a user without a Microsoft account > กรอกข้อมลู ให้ครบตามภาพที่ 3.16 กรอกขอ้ มูลใหค้ รบ ภาพท่ี 3.16 การสร้าง User ใหมใ่ น Windows 10 เทา่ น้กี จ็ ะได้ User ใหม่ และหลังจาก User ใหม่ Sign in เขา้ เครื่องคอมพิวเตอร์ก็สามารถ ปรับแต่งรูป ปรับแต่งหน้าจอ ไฟล์และโฟลเดอร์ และปรับเปล่ียนรหัสผา่ น (Password) ของตนเองได้ ตามความเหมาะสม ข้อสาคัญเพ่ือความปลอดภัยและไม่รบกวน User คนอ่ืนเน่ืองจากมี User หลายคนใน เคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันคือ หลังจากใช้งานคอมพิวเตอร์เสร็จแล้วอย่าลืมลงช่ือออกจาก ระบบ หรอื Sign out ทกุ คร้งั หากเจ้าของหรือผู้ดูแลคอมพิวเตอร์ที่เป็น Administration ประสงค์จะลบ User คนใด คนหนงึ่ ออกจากเคร่ืองคอมพิวเตอรก์ ็สามารถทาไดเ้ พยี งแต่ข้อมูลท้งั หมดของ User คนนั้นกจ็ ะหายไป ด้วยหมดจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จึงควรสารองข้อมูล (Backup) ก่อนการลบเสมอ การลบ User สามารถทาได้ดังนี้ คลิกปุ่ม Start > ตามด้วย User ท่ีเป็นเจ้าของหรือผู้ดูแลคอมพิวเตอร์ที่เป็น Administration > Change account setting > เข้าสู่หน้า Your Info เลือก > Family & other users > คลิกเลือก User ทต่ี อ้ งการลบ > Remove การปรบั แตง่ และตัง้ คา่ ระบบของ Windows 10 โดยปกติ Windows 10 ได้ตั้งคา่ ระบบตา่ ง ๆ ในคอมพิวเตอร์มาใหผ้ ู้ใชอ้ ย่างเหมาะสมและ เป็นมาตรฐานสามารถใช้งานไดอ้ ยู่แลว้ แตเ่ พ่ือใหผ้ ใู้ ช้และผสู้ อนไดเ้ รยี นรู้ เขา้ ใจ และสามารถปรบั แต่ง

52 การทางานของระบบ Windows 10 เพื่อให้สามารถแก้ไขด้วยตนเองได้เบื้องต้นเมื่อพบปัญหาการใช้ งานคอมพิวเตอร์ อาทิ การปรับแต่งและต้ังค่าระบบ (System) อุปกรณ์ (Device) อินเทอร์เน็ต (Internet) โปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั (Apps) บัญชีการใชง้ าน (Account) ภาษาและเวลา (Time & Language) และความม่ันคงปลอดภัย (Security) เป็นต้น ก่อนปรับแต่งและตั้งค่าระบบของ Windows 10 ให้คลิกที่ปุ่ม Start ตามด้วย Setting > เลือกการปรับแต่งและตั้งค่าระบบที่ต้องการ ตามหมวดหมู่ท่ีจัดอย่างเป็นระบบตามภาพที่ 3.17 อาทิ การปรับแต่งและตั้งค่าระบบ (System) ท่ีสาคัญบางระบบ ประกอบด้วยการปรับแต่งและต้ังค่าให้กับหน้าจอ เสียง การจัดการพลังงาน การจัดการหน่วยความจา เป็นต้น ด้วยการคลิกที่ปุ่ม Start ตามด้วย Setting > System > เลือก ปรับแต่งและตั้งค่าที่ต้องการ การปรับแต่งและต้ังค่าอุปกรณ์ (Device) ท่ีสาคัญประกอบด้วย การปรับแต่งและตั้งค่าให้อุปกรณ์ Bluetooth เคร่ืองพิมพ์ เมาส์ คีย์บอร์ด เป็นต้น ด้วยการคลิกท่ปี ุ่ม Start ตามด้วย Setting > Device > เลือกปรบั แตง่ และตง้ั ค่าท่ีตอ้ งการ เปน็ ต้น ภาพท่ี 3.17 หมวดหมู่คาสั่งสาหรบั การปรบั แต่งและตง้ั ค่าระบบของ Windows 10 ภาพท่ี 3.18 ตัวอยา่ งการปรับแต่งและต้ังคา่ ของจอภาพ

53 ภาพท่ี 3.19 ตัวอย่างการปรับแตง่ และตั้งคา่ ของบลูททู ภาพที่ 3.20 ตวั อยา่ งการปรับแตง่ และต้ังค่าของโปรแกรมในคอมพวิ เตอร์

54 ภาพที่ 3.21 ตวั อย่างการปรับแต่งและตั้งคา่ การอปั เดต Windows 10 ภาพที่ 3.22 ตวั อย่างการปรับแตง่ และตั้งค่าภาษาของคอมพิวเตอร์

55 บทสรปุ คอมพิวเตอร์นอกจากจะมีส่วนประกอบที่เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว ยังมีซอฟต์แวร์ (Software) หรือโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ซ่ึงเป็นชุดคาส่ังที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อส่ังให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ทั้งหมด เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบ อาทิ Microsoft Windows, Android และ iOS ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ท่ีเขียนขึ้นมาเพ่ือทางาน เฉพาะอย่างตามความต้องการของผู้ใช้ อาทิ Microsoft Office, Microsoft Teams และ Google Classroom Microsoft Window 10 เป็นตัวอย่างหน่ึงซอฟต์แวร์ระบบที่ได้รับความนิยมนามาใช้กับ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เนื่องได้รับการออกแบบใหม่ให้ทันสมัย และรองรับการใช้งานแบบสัมผัส หนา้ จอ (Touch Screen) จึงสามารถทางานกับคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลแบบต้ังโต๊ะ แบบโนต้ บกุ๊ แบบ แท็บเล็ต และแบบสมารต์ โฟนได้

57 บทที่ 4 ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ออฟไลนเ์ พอื่ สนบั สนนุ กิจกรรมการเรียนการสอน ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือซอฟต์แวร์ท่ีถูกเขียนขึ้นเพ่ือประยุกต์ใช้งานตามความต้องการของ ผู้ใช้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ซอฟต์แวร์สาหรับใช้งานเฉพาะทาง และซอฟต์แวร์สาเร็จรูป ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ ซอฟแวร์ที่มาจากทั้งสองประเภท แต่ ขอแบ่งออกเป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ประเภทออฟไลน์ (Offline Application Software) และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ประเภทออนไลน์ (Online Application Software) และบทนี้กล่าวถึงเฉพาะ ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ประเภทออฟไลน์ ท่ีจาเป็นตอ้ งติดต้ังลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลก่อนเสมอ จึงจะสามารถใช้งานได้ และสามารถใช้งานได้โดยอาจไม่จาเป็นต้องเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต และเป็น ซอฟต์แวร์ทสี่ นับสนนุ กิจกรรมการเรยี นการสอนของผ้สู อนและผเู้ รียน กิจกรรมการเรียนการสอน ในทนี่ ้ีหมายถงึ กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรยี นการสอน ท้ังหมดท่ีผู้สอนจาเป็นต้องเตรียมการ และจัดกระทาให้เกิดข้ึนสาหรับประกอบการจัดการเรียน การสอนให้กับผู้เรียนในชั้นเรียนปกติและชั้นเรียนออนไลน์ท้ังแบบประสานเวลา (Synchronous) และแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous) กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีครูต้องเข้าไปเก่ียวข้องมี จานวนมากดังตัวอย่างในภาพที่ 4.1 ประกอบด้วย กิจกรรมก่อนสอน อาทิ วางแผนการสอน และ เตรียมการสอน กิจกรรมระหว่างสอน อาทิ จัดกิจกรรมการเรียน เสริมสร้างบรรยากาศการเรียน สนบั สนุนผูเ้ รียน และประเมินผลระหว่างเรียน และกิจกรรมหลงั สอน อาทิ ประเมนิ ผลหลังเรยี น และ ให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั แก่ผูเ้ รยี น ภาพที่ 4.1 กจิ กรรมการเรียนการสอนทีเ่ ก่ยี วข้องกับผสู้ อน

58 ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ประเภทออฟไลน์เพื่อสนบั สนุนกิจกรรมการเรยี นการสอนของผ้สู อนจะ นาเสนอเฉพาะซอฟต์แวร์สาหรับสนับสนุนกิจกรรมก่อนสอนและกิจกรรมระหว่างสอนเพียงบาง ซอฟต์แวร์เท่าน้ัน สาหรับซอฟต์แวร์สนับสนุนกิจกรรมหลังสอนจะได้กล่าวถึงในบทอ่ืนต่อไป ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ตป์ ระเภทออฟไลน์ที่นาเสนอในบทนี้ประกอบด้วย OBS Studio ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ ออฟไลน์สาหรับบันทึกการสอน Davinci Resolve ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออฟไลน์สาหรับตัดต่อคลิป วิดีโอการสอน และ Mendeley ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออฟไลน์สาหรับจัดการการอ้างอิงและ บรรณานุกรม มีรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ OBS Studio ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตอ์ อฟไลนส์ าหรับบันทกึ การสอน OBS Studio เป็นซอฟตแ์ วรป์ ระยุกตท์ ไ่ี ด้รับความนิยมและเปน็ ทรี่ ้จู ักกันเปน็ อย่างดีในการ นามาเป็นเคร่ืองมือสาหรับการบันทึกการสอนหรือการนาเสนอ ท้ังการสอนสดผ่าน Youtube หรือ Facebook และการบันทึกการสอนสาหรับนาไปเผยแพร่ให้ผู้เรียนได้ติดตามและศึกษาย้อนหลังใน เครือข่ายสังคมต่าง ๆ เน่ืองจากสามารถนาเสนอใบหน้าและท่าทางของผู้สอนควบคู่ไปกับเอกสาร ประกอบการสอน เช่น PowerPoint ได้ สิ่งที่ผู้สอนจะต้องมีคือฉากหลังท่ีมีพ้ืนสีเขียว (Green Screen) ซ่ึงสามารถหาซ้ือผ้าสีเขียวล้วนได้จากท้องตลาดเพ่ือนามาใช้ประกอบการบันทึกวิดีโอ การสอน ซ่ึงในบทน้ีจะนาเสนอการใช้ OBS Studio สาหรับการบันทึกการสอนของผู้สอนควบคู่กับ การใช้ PowerPoint เป็นส่อื ประกอบการนาเสนอเนือ้ หาตามขั้นตอนดังต่อไปน้ี 1. เข้าเว็บไซต์ www.obsproject.com > เลือกดาวน์โหลด OBS Sudio ให้ตรงกับ ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในท่ีน้ีเลือก Windows ตามภาพท่ี 4.2 > ติดต้ัง OBS Sudio ดังภาพท่ี 4.3 > เขา้ สู่หน้าแรกของ OBS Studio ดังภาพที่ 4.4 ภาพที่ 4.2 เลือกดาวน์โหลด OBS Sudio ให้ตรงกบั ระบบปฏบิ ตั ิการของคอมพิวเตอร์

59 ภาพท่ี 4.3 การติดตัง้ OBS Sudio ภาพที่ 4.4 หน้าแรกของ OBS Sudio 3. ปรับตั้งค่าเบื้องต้นสาหรับการบันทึกวิดีโอด้วยการคลิก Setting > Output > Video Bitrate เป็น 2500 Kbps > Recording Path > Recording Format เปน็ MP4 ตามภาพท่ี 4.5 และ คลิก Video > ต้ังค่า Base Resolution และ Output Resolution เป็น 1920 x 1080 และ 1280 x 720 ตามภาพท่ี 4.6 > OK

60 ภาพท่ี 4.5 การปรับต้ังค่าเบ้อื งต้นสาหรบั การบนั ทึกวดิ โี อ ภาพท่ี 4.6 การต้งั ค่า Base Resolution และ Output Resolution 4. เลือกกล้องวิดีโอท่ีติดตั้งอยู่ในคอมพิวเตอร์ด้วยการคลิก Source > เคร่ืองหมาย + > Video Capture Device ตามภาพท่ี 4.7 จะได้ผลลัพธด์ งั ภาพที่ 4.8 > OK

61 ภาพท่ี 4.7 การเลือกกล้องวดิ ีโอท่ตี ดิ ตง้ั อยู่ในคอมพิวเตอร์ ภาพท่ี 4.8 การเลือกกล้องวดิ ีโอทต่ี ิดต้ังอยู่ในคอมพวิ เตอร์ (ตอ่ ) 5. เร่มิ ตน้ บันทึกวิดโี อดว้ ยการคลิก Source > เครอื่ งหมาย + > Video Capture Device > จะไดผ้ ลลัพธด์ งั ภาพท่ี 4.9 > OK > จะได้ผลลพั ธด์ ังภาพท่ี 4.10

62 ภาพท่ี 4.9 การเลือกกล้องวดิ ีโอท่ีตดิ ตง้ั อย่ใู นคอมพิวเตอร์ (ตอ่ ) ภาพที่ 4.10 ผลลัพธห์ ลังการเลือกกล้องวดิ ีโอท่ีตดิ ตง้ั อยใู่ นคอมพิวเตอร์ 6. ทาใหฉ้ ากหลงั สเี ขียวหายไปด้วยการคลิกขวาที่ Video Capture Device > ตามภาพท่ี 4.11 > เลอื กเครอ่ื งหมาย + > Croma Key ตามภาพที่ 4.12 > จะไดผ้ ลลพั ธ์ตามภาพท่ี 4.13

63 ภาพที่ 4.11 คาส่ัง Filter เพอื่ ทาให้ฉากหลงั สเี ขยี วหายไป ภาพท่ี 4.12 คาส่งั Croma Key เพือ่ ทาใหฉ้ ากหลงั สเี ขยี วหายไป

64 ภาพที่ 4.13 ผลจากการเลือกคาสงั่ Croma Key 6. ปรับค่าต่าง ๆ จนฉากหลังสีเขียวกลายเป็นสีเทาหรือสีดาตามต้องการ > จนได้ผลลัพธ์ ดงั ภาพที่ 4.14 > Close > จะไดผ้ ลลัพธ์ตามภาพท่ี 4.15 ภาพที่ 4.14 ปรบั ค่าจนฉากหลงั สีเขียวกลายเป็นสีเทาหรือสดี า

65 ภาพที่ 4.15 ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้หลงั จากนาฉากหลงั สีเขียวอกไป 7. เตรยี ม PowerPoint สาหรบั นาเสนอด้วยการตั้งค่าใน PowerPoint ก่อน ด้วยการคลิก Slid Show > Set Up Slid Show > Browsed by an individual (windows) ตามภาพที่ 4.16 > OK > คลกิ Slide Show จะได้ผลลพั ธ์ดังภาพที่ 4.17 ภาพที่ 4.16 ตง้ั ค่าใน PowerPoint เพ่ือเตรยี มพร้อมใช้ร่วมกบั OBS Studio

66 ภาพท่ี 4.17 การคลกิ Slide Show เพ่ือเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การนาเสนอ 8. กลับมาท่ี OBS Studio คลิก + > Window Capture > OK > Windows > เลอื ก PowerPoint ที่เตรียมไวด้ งั ภาพท่ี 4.18 จะพบวา่ ตวั ผูส้ อนหายไปจากจอภาพ สามารถแกไ้ ข ภาพที่ 4.18 PowerPoint เข้ามารว่ มใน OBS Studio 9. จากภาพท่ี 4.18 จะพบว่าตัวผู้สอนหายไปจากจอภาพ สามารถแก้ไขด้วยการคลิก Video Capture Device > คลิกท่ีสัญลักษณ์ลูกศรชี้ข้ึนเพื่อเลื่อน Video Capture Device ข้ึนไปไว้

67 ด้านบนสุด ผู้สอนก็จะกลับมาดังภาพท่ี 4.19 > ปรับตาแหน่งของผู้สอนและตาแหน่งของ PowerPoint ตามต้องการ ภาพที่ 4.19 การนาภาพวดิ โี อของผูส้ อนมาไว้หน้า PowerPoint 10. ก่อนบันทึกการสอนให้คลิกท่ี Studio Mode จะได้ผลลัพธ์ตามภาพที่ 4.20 คือ จอภาพสองจอด้านซ้ายและด้านขวา > หากต้องการปรับเปลี่ยนตาแหน่งผู้สอนหรือตาแหน่ง PowerPoint ใหป้ รับได้ตามต้องการในจอซา้ ย โดยจะไมส่ ง่ ผลต่อจอขวาจนกวา่ จะคลิก Transition ภาพที่ 4.20 การแสดงจอภาพสองจอด้วย Studio Mode

68 11. เร่ิมบันทึกการสอนด้วยการไปที่ Start Recording > ทาการสอนตามปกติ > Stop Recording เมอื่ บนั ทึกการสอนเสร็จ ภาพที่ 4.21 เรมิ่ บันทึกการสอน 12. เม่ือสอนเสร็จและคลิก Stop Recording แล้ว ไฟล์วิดีโอจะถูกบันทึกเก็บไว้ในแฟ้มท่ี ไดเ้ ลือกไว้ตัง้ แตต่ อนแรก > ดบั เบิลคลกิ ไฟลเ์ พอื่ ดูผลการบันทกึ การสอน ภาพท่ี 4.22 ไฟลว์ ดิ ีโอที่ถูกบันทึกและจัดเกบ็ ไว้

69 Davinci Resolve ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ตอ์ อฟไลน์สาหรับตดั ต่อคลิปวิดีโอการสอน Davinci Resolve เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ได้รับความนิยมในวงการภาพยนต์ สามารถ นามาประยุกต์ใช้ตัดต่อคลิปวดิ ีโอบันทึกการสอนของผู้สอนท่ีบันทึกดว้ ยคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคล กลอ้ ง วิดีโอ หรือกล้องจากโทรศัพท์มือถือ เพ่ือเผยแพร่สู่ผู้เรียนผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ได้ เช่น Youtube โดยปกติซอฟต์แวร์สาหรับใช้ตัดต่อคลิปวิดีโอมีอยู่มากมายหลายหลายโปรแกรม ท้ังตัดต่อใน คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อาทิ Adobe Premier และตัดต่อในโทรศัพท์มือถือ อาทิ KineMaster แต่ ความพิเศษของ Davinci Resolve นอกจากรองรับการตัดต่อคลิปวิดีโอแบบมืออาชีพแล้วยังสามารถ ตดิ ตง้ั ลงในคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลและใชง้ านได้แบบไม่มีคา่ ใช้จา่ ยหรือใชไ้ ด้ฟรนี ั่นเอง การทางานของ โปรแกรมตดั ต่อคลปิ วดิ ีโอไมว่ า่ จะเป็นโปรแกรมใดกต็ ามจะตอ้ งทาหนา้ ทไ่ี ด้ 4 อยา่ งนี้เสมอ ได้แก่ 1. การนาคลิปวิดโี อ เสียง และภาพเข้ามาในโปรแกรม (Importing) 2. การตัดต่อคลิปวิดีโอ (Editing) ประกอบด้วย การตัดและต่อคลิปวิดีโอ เสียง ข้อความ ภาพนงิ่ การจัดการสี แสงและเงา 3. การใส่เทคนิคพิเศษ (Special Effects) ใหก้ บั คลิปวิดโี อ 4. การนาคลิปวิดีโอไปใช้งาน (Exporting) รวมการบันทึกไฟล์คลิปวิดีโอ การทาให้คลิป วิดีโอแสดงผลตามท่ีต้องการ (Rendering) และการแบ่งปันหรือแชร์ไฟล์ไปสู่ผู้ชมหรือผู้เรียนผ่านทาง ชอ่ งทางต่าง ๆ การใชง้ าน Davinci Resolve สาหรับตัดตอ่ คลิปวิดีโอเบื้องตน้ มีขน้ั ตอนดังต่อไปนี้ ภาพที่ 4.23 หนา้ แรกของ Davinci Resolve 1. เ ข้ า เ ว็ บ ไ ซ ต์ www. blackmagicdesign. com/ products/ davinciresolve > Download Now > เลือกดาวน์โหลด Davinci Resolve แบบใช้งานฟรีจากกรอบสีส้มให้ตรงกับ ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในที่นี้เลือก Windows > Your Details > Register & Download > Install ตามภาพท่ี 4.24 และ 4.25

70 ภาพที่ 4.24 การดาวน์โหลด Davinci Resolve ภาพที่ 4.25 การดาวนโ์ หลด Davinci Resolve (ต่อ) 2. เข้าโปรแกรม Davinci Resolve > New Project > ต้ังช่ือ Project > Create ตาม ภาพที่ 4.26 ถึงภาพที่ 4.28 จะได้ผลลัพธ์ดังภาพท่ี 4.29 ซ่ึงเป็นหน้าหลักและพ้ืนท่ีการทางานของ Davinci Resolve

71 ภาพท่ี 4.26 กาลงั เขา้ สู่ Davinci Resolve ภาพท่ี 4.27 การเตรียมการทางานของ Davinci Resolve ภาพที่ 4.28 การเตรยี มการทางานของ Davinci Resolve (ต่อ)

72 3. หน้าหลักและพ้ืนท่ีการทางานของ Davinci Resolve ประกอบด้วย 3.1 Media Pool พืน้ ที่สาหรับนาเขา้ และแสดงข้อมูลคลปิ วดิ โี อ ภาพ และเสยี ง ต้นฉบบั 3.2 Media Preview จอแสดงผลคลปิ วดิ โี อ ภาพ และเสยี งตน้ ฉบบั 3.3 Timeline และ Tools พ้ืนท่ีและเคร่ืองมือสาหรับตัดต่อคลปิ วดิ ีโอ ข้อความ ภาพ และเสยี ง 3.4 Timeline Preview จอแสดงผลคลปิ วิดีโอ ข้อความ ภาพ และเสียงท่ีกาลังตัดต่อ 3.5 Sound Levels แสดงระดับความดังของเสยี ง Media Preview Timeline Preview Timeline and Tools Sound Levels Media Pool ภาพที่ 4.29 หนา้ หลักและพื้นทก่ี ารทางานของ Davinci Resolve 4. การตดั ตอ่ คลิปวิดีโอเร่มิ จากนาคลิปวดิ ีโอทัง้ หมดท่เี ตรียมไวม้ าเก็บใน Media Pool ด้วยการลากมาวางตามภาพท่ี 4.30 จะไดผ้ ลลัพธ์ดังภาพท่ี 4.31 > คลกิ คลปิ วิดีโอตน้ ฉบับเพื่อให้ แสดงผลที่ Media Preview ดังภาพที่ 4.32 เปน็ การแสดงคลิปวดิ ีโอต้นฉบับการรินกาแฟลงแกว้ ภาพที่ 4.30 การเตรยี มคลปิ วดิ โี อสาหรบั การตัดต่อ

73 ภาพที่ 4.31 คลปิ วดิ ีโอที่พร้อมตดั ตอ่ ภาพที่ 4.32 แสดงผลคลิปวดิ ีโอกอ่ นตัดต่อ 5. นาคลปิ วิดีโอทต่ี อ้ งการตดั ตอ่ จาก Media Pool มาวางใน Timeline 6. คลิปวิดโี อใน Timeline จะแสดงผลใน Timeline Preview ดงั ภาพที่ 4.33 7. จะพบวา่ นอกจากภาพเคลือ่ นไหวแล้วจะมเี สียงท่ีอยู่ในคลปิ วดิ โี อติดมาด้วยดงั ภาพท่ี 4.33 8. นาคลิปที่ต้องการตัดต่อมาวางใน Timeline เรียงตามลาดับคลิปท่ีต้องการ เพ่ือตัดต่อ ดงั ภาพที่ 4.33 จะเห็นวา่ มคี ลิปสามคลปิ ถูกนามาวางใน Timeline รอตัดต่อ 9. คลิกปมุ่ Play เพ่ือให้คลปิ ใน Timeline แสดงผลใน Timeline Preview ดงั ภาพท่ี 4.34 เสยี ง

74 ภาพเคลื่อนไหว เสียง ภาพที่ 4.33 นาคลิปวดิ โี อท่ตี ้องการตัดตอ่ มาวางใน Timeline ปุม่ Play ภาพที่ 4.34 แสดงผลคลปิ วดิ ีโอก่อนตัดต่อ 10. ขณะท่ี Play คลิปวิดีโอหากพบตาแหน่งใดของคลิปที่ไม่ต้องการให้ตัดทิ้งไปด้วย เคร่ืองมือ (Tools) สาหรบั ตดั คลิปท่มี ีลักษณะคล้ายใบมดี โกน (Blade Tool) 11. จากภาพที่ 4.35 พบว่ามีตาแหน่งของคลิปที่สองบางส่วน (ผู้ชายที่ฉากหลังสีเขียว) ท่ีต้องการตดั ออก 12. คลิก Blade Tool และวางลงในตาแหน่งที่ต้องการตัดออก เหมือนการกรีดแผลหรือ การหน่ั ผัก 13. ตาแหน่งทีถ่ ูกตดั จะถูกแบ่งออกมาเปน็ อีกส่วนหนง่ึ ตามภาพท่ี 4.36 14. คลิก Delete ที่แป้นพิมพ์ เพื่อลบตาแหน่งท่ีถูกตัดออกไปจาก Timeline ตาแหน่ง ดงั กลา่ วจะถกู ลบไปจาก Timeline และแทนทดี่ ว้ ยพนื้ ทวี่ ่างสดี าหรอื คลปิ ทีต่ ่อจากตาแหนง่ ท่ีถูกลบดัง ภาพท่ี 4.37

75 Blade Tool ตาแหน่งทตี่ อ้ งการตัดออก ภาพท่ี 4.35 Blade Tool เครือ่ งมือสาหรบั ตดั วิดีโอ ตาแหน่งท่ถี กู ตดั ภาพท่ี 4.36 ตาแหนง่ ของวดิ ีโอทต่ี ้องการตดั ออก คลปิ ท่เี ข้ามาแทนทีต่ าแหนง่ ทถี่ ูกตดั ภาพท่ี 4.37 การนาคลิปเขา้ มาแทนที่ตาแหนง่ ที่ถกู ตัดออก

76 15. คลิปวิดีโอท่ีนาเข้ามาใน Timeline หากมีเสียงติดมาด้วย และเป็นเสียงที่ไม่ต้องการ ให้ลบท้ิงไปด้วยการคลิกปุ่มขวาของเมาส์ > นาเคร่ืองหมายถูก () หน้า Link Clip ออก ดังภาพท่ี 4.38 เสียงก็จะถูกแยกออกจากภาพเคล่อื นไหว 16. คลกิ Delete ท่แี ป้นพิมพ์ เพอื่ ลบเสียงที่ไม่ต้องการออกไปดงั ภาพท่ี 4.39 ภาพที่ 4.38 การแยกเสียงออกจากคลิปวดิ โี อ เสียงทีถ่ ูกลบออกไป ภาพที่ 4.39 การลบเสยี งที่ไม่ตอ้ งการออก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook