Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารอ่านเพิ่มเต็มวิชาจิตวิทยาทั่วไป

เอกสารอ่านเพิ่มเต็มวิชาจิตวิทยาทั่วไป

Published by chawanon, 2020-11-10 18:51:09

Description: เอกสารอ่านเพิ่มเต็มวิชาจิตวิทยาทั่วไป

Search

Read the Text Version

เอกสารอา่ นเพิ่มเต็ม วชิ าจติ วิทยาทัว่ ไป ดร.ชวนนท์ จันทรส์ ุข วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท สถาบันพระบรมราชชนก สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข

2 คำนำ เอกสารประกอบการสอนฉบบั น้ี เป็นส่วนหน่ึงของวิชาการจิตวทิ ยาทว่ั ไป สาหรับ นกั ศึกษาพยาบาลศาตรบณั ฑิต ซ่ึงเป็นเน้ือหาเกี่ยวกบั ความรู้พ้นื ฐาน แนวคิด ทฤษฎีทางจิตวทิ ยา การคิด เชาวน์ปัญญา อารมณ์และแรงจูงใจ ความเชื่อ ทศั นคติ และค่านิยม ภาวะเครียด พฤติกรรม บุคลิกภาพ และพฒั นาการของคนในวยั ต่าง ๆ ส่งเสริมใหน้ กั ศึกษาเกิดการ เรียนรู้และมี ทศั นคติที่ดี สามารถนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั และวชิ าชีพได้ ดงั น้นั ผสู้ อนจึงไดจ้ ดั ทาเอกสารฉบบั น้ีข้ึนและหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ คงจะเป็นประโยชน์ ต่อนกั ศึกษาพยาบาล อาจารย์ และผสู้ นใจท่ีตอ้ งการศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป ดร.ชวนนท์ จนั ทร์สุข

สารบญั 3 บทท่ี 1 แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวทิ ยา หน้า บทที่ 2 วฒุ ิภาวะ การรับรู้ การเรียนรู้ 1 บทที่ 3 การคิด การจาและเชาวน์ปัญญา 21 บทท่ี 4 อารมณ์ 37 บทท่ี 5 แรงจงู ใจ 53 บทท่ี 6 ความเชื่อ ทศั นคติ และคา่ นิยม 72 บทที่ 7 ภาวะเครียดการปรับตวั 81 บทที่ 8 พฤติกรรมและการปรับพฤติกรรม 89 บทท่ี 9 อตั มโนทศั น์และบุคลิกภาพ 96 บทที่ 10 พฒั นาการของคนในวยั ตา่ ง ๆ ต้งั แต่ระยะคลอดถึงวยั สูงอายุ 110 บรรณานุกรรม 141 181

4 บทท่ี 1 แนวคิดและทฤษฎที างจิตวทิ ยา 1.1 แนวคิดทางจิตวทิ ยา ความหมายเกย่ี วกบั จิตวทิ ยา จิตวทิ ยา เป็ นการศึกษาเกี่ยวกบั พฤติกรรม และกระบวนการทางจิต (Behavior and Mental Processes) ซ่ึงเป็ นศาสตร์แขนงหน่ึงทางสังคมศาสตร์หรือพฤติกรรมศาสตร์ (Social Science or Behavior Science) ประกอบด้วยสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา โดยศาสตร์เหล่าน้ีช่วยให้การ วิเคราะห์ปัญหาและความเข้าใจในรูปแบบของพฤติกรรมมนุษย์ชัดเจนข้ึน ท้ังน้ีความรู้ด้าน มนุษยวิทยา ช่วยให้นักจิตวิทยาเข้าใจความแตกต่างของคนที่มาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ ซ่ึงมี ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อหลากหลาย ส่งผลใหท้ ศั นคติ ค่านิยม รวมท้งั พฤติกรรมมีความ แตกตา่ งกนั ดว้ ย ประวตั เิ กย่ี วกบั จิตวทิ ยา จิตวทิ ยา มาจากคาวา่ Psychology มาจากรากศพั ทภ์ าษากรีก 2 คา คือ ไซคี (Psyche) รวมกบั คาวา่ โลโกส (Logos) ไซคีในภาษากรีก แปลวา่ วิญญาณ (Soul) ส่วนโลโกส แปลวา่ การศึกษาหรือ การเรียน ผูท้ ่ีนาคาว่า Psychology มาใช้คร้ังแรกคือ เมแลงตนั (Melanchton) เป็ นนักปราชญ์ชาว เยอรมนั แต่ปัจจุบนั เป็ นท่ียอมรับกนั วา่ จิตวิทยาคือ วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกบั พฤติกรรมของ มนุษยแ์ ละสัตวท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั สิ่งแวดลอ้ ม และนกั จิตวทิ ยาก็ไดใ้ ห้ความสนใจแก่พฤติกรรมของสตั ว์ เช่นเดียวกบั ที่ไดส้ นใจในพฤติกรรมมนุษย์ พฤติกรรม(Behavior) หมายถึงกิจกรรมหรืออาการกระทาต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต แบ่งเป็ น สองประเภท คือ พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) และพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) 1. พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) การกระทาท่ีผอู้ ื่นสามารถสังเกตได้ เช่น การเดิน การพดู การหวั เราะ การกิน เป็นตน้ ซ่ึงแบ่งได้ 2 ลกั ษณะคือ 1) พฤติกรรมแบบรวม (Molar Behavior) เป็ นพฤติกรรมภายนอกที่สามารถสังเกตเห็นได้ ดว้ ยตาเปล่า เช่น การยนื การเดิน การนงั่ การนอน ฯลฯ 2) พฤติกรรมแบบย่อย (Molecular Behavior) เป็ นพฤติกรรมภายนอกที่จะรับรู้ได้ โดย อาศยั เครื่องมือทางวทิ ยาศาสตร์ตรวจสอบเพียงอยา่ งเดียว เช่น ความดนั เลือด คล่ืนสมอง คล่ืนหวั ใจ การเตน้ ของชีพจร 2. พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ในปัจจุบนั เรียกว่า กระบวนการทางจิต (mental process) เป็ นการกระทาที่บุคคลอื่นไม่สามารถมองเห็นดว้ ยตา เช่น การคิด การฝัน การวิเคราะห์หา เหตุผล ซ่ึงตอ้ งสังเกตโดยใชเ้ ครื่องมือเขา้ ช่วย เช่น เคร่ืองมือจบั เทจ็ เครื่องมือวดั อตั ราการหายใจ

5 อยา่ งไรก็ตาม ท้งั พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายใน มีความสัมพนั ธ์เกี่ยวขอ้ งกนั โดยที่พฤติกรรมภายในเป็ นตวั กาหนดการแสดงออกของพฤติกรรมภายนอก เช่น ถา้ พฤติกรรม ภายในไม่มีความสุข มีแต่ความเศร้าหมอง ก็จะแสดงออกทางสีหน้า แววตา ท่าทาง หรือ ในดา้ น สรีรวทิ ยา หากการทางานของระบบภายในร่างกายไม่ปกติ ก็จะแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอก เช่น ท่าทางอ่อนเพลีย ไม่มีแรง เป็ นตน้ ดงั น้นั การที่จะเขา้ ใจบุคคลใดบุคคลหน่ึง จาตอ้ งทาความ เขา้ ใจท้งั อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณ์ ฯลฯ พร้อมท้งั สังเกตพฤติกรรมภายนอกท่ีแสดงออกมา ดว้ ยเช่นกนั นักจิตวิทยาเช่ือว่าพฤติกรรมทุก ๆ อย่างน้นั ย่อมมีเหตุแห่งพฤติกรรมและสาเหตุแค่ เพียงประการเดียวก็สามารถจาแนกออกมาเป็ นพฤติกรรมได้หลากหลายรูปแบบ เช่นเดียวกับ พฤติกรรมรูปแบบเดียว ก็อาจจะมาจากหลากหลายสาเหตุไดเ้ ช่นกนั การวดั พฤติกรรมด้านจิตวิทยาจะวดั โดยพิจารณาพฤติกรรมของมนุษย์โดยรวมท้ัง 2 ประเภทดงั กล่าว จะไม่วดั พฤติกรรมเพียงอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั น้ันในการศึกษาพฤติกรรมของ มนุษยจ์ ึงมีหลายรูปแบบ เช่น ดา้ นการมองเห็น อาจจะศึกษาในดา้ นสรีรวทิ ยาจากกระบวนการของ คล่ืนแสง และทางเคมีของเรตินา ม่านตา และเส้นประสาทส่วนท่ีใช้ในการมองเห็นของสมอง (Visual Cortex) หรือ การสังเกตพฤติกรรมทุกชนิดท่ีเกิดข้ึนเม่ือมีสิ่งเร้า หรือสิ่งแวดลอ้ มมากระตุน้ เช่น ในภาวะที่คนตอ้ งการอาหารจะแสดงอาการออกมา หรือมีคาพูดอะไรบา้ ง และอาจจะศึกษา พฤติกรรมท่ีกระทาไปโดยมีจุดมุ่งหมาย และตอ้ งมีลาดบั ข้นั ตอน เช่น วิธีการท่ีจะแกป้ ัญหาที่เกิด ข้ึนกบั ตนเอง การวาดรูปจะตอ้ งมีวธิ ีการอะไรบา้ ง หรือ ทาอยา่ งไรจึงจะมีฐานะการเงินมนั่ คง จุดมุ่งหมายของจิตวทิ ยา Matin (1995) ไดส้ รุปจุดมุ่งหมายของจิตวทิ ยาเป็น 4 ประเด็น คือ 1. การบรรยายพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต โดยการสงั เกตอยา่ งมีระบบ 2. การอธิบาย หรือตอบคาถามสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต 3. การทานาย หรือการคาดการณ์พฤติกรรมที่จะเกิดข้ึน โดยอาศยั ประสบการณ์จากเหตุ กาณณ์ท่ีผา่ นมา 4. การเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปล่ียนพฤติกรรมเพอ่ื ใหเ้ กิดความเหมาะสม วธิ ีการศึกษาทางจิตวทิ ยา การวจิ ยั ทางจิตวทิ ยา ส่วนใหญ่อาศยั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ มีข้นั ตอนดงั น้ี (Matin, 1995) 1. กาหนดปัญหา เพ่ือใหท้ ราบขอบเขตส่ิงท่ีตอ้ งการศึกษา 2. หาแนวทางหรือรูปแบบวธิ ีการที่เหมาะสมกบั ปัญหา 3. ตรวจสอบขอ้ มลู เพ่ือยนื ยนั ผลที่ไดป้ ้ องกนั ความผดิ พลาด 4. แปลผลขอ้ มลู ที่ได้ เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจที่ตรงกนั และมีความชดั เจน

6 ซ่ึงวธิ ีการศึกษาทางจิตวทิ ยาประกอบดว้ ย 1. การทดลอง (The Experimental Method) ศึกษาดว้ ยการคน้ หาสาเหตุ และผลที่เกิดข้ึน อยา่ งมีประสิทธิภาพ ในการทดลองจะตอ้ งกาหนดตวั แปรภายใตเ้ ง่ือนไขการทดลอง และตวั แปร ควบคุม เพอื่ ทาใหท้ ราบถึงความแตกตา่ งของผลท่ีเกิดข้ึน ข้อดี: ควบคุมตวั แปรได้ และสรุปเหตุและผลไดอ้ ยา่ งชดั เจน ข้อเสีย : ยากท่ีจะนามาใชก้ บั สภาพความเป็นจริงโดยทว่ั ไป 2. การหาความสัมพนั ธ์ (The Correlational Method) ศึกษาความเก่ียวขอ้ งระหวา่ งตวั แปร (Variable) ต้งั แต่ 2 ชนิดข้ึนไป โดยมีค่าระหวา่ ง  1 กล่าวคือความสัมพนั ธ์เชิงบวก หมายถึง เมื่อ ค่าหน่ึงเพิ่มข้ึน อีกค่าหน่ึงจะเพ่ิมข้ึนเช่นกนั เช่น ค่าการเป็ นมะเร็งของประชาชนในพ้ืนที่ที่มีการใช้ สารเคมี เพิ่มข้ึน ในขณะท่ีการใชส้ ารเคมีในการเกษตรและอุตสาหกรรมในพ้ืนที่เดียวกนั เพ่ิมข้ึนใน แต่ละปี สาหรับความสัมพนั ธ์เชิงลบ เช่น ค่าการออกกาลงั กายเพ่ิมข้ึน และมีค่าการเจบ็ ป่ วยลดลง เป็ นตน้ ข้อดี : ศึกษาพฤติกรรมตามสภาพความเป็นจริงได้ และบ่งช้ีถึงความเกี่ยวขอ้ งของตวั แปรได้ ข้อเสีย : ไม่สามารถสรุปความเป็นเหตุผลไดช้ ดั เจน 3. การสารวจ (The Survey Method) ศึกษาขอ้ มูลเชิงปริมาณที่สามารถอ้างอิงไดใ้ นฐานะ ขอ้ มูลท่ีกวา้ ง เหมาะสาหรับการหาขอ้ มูลในเวลาอนั จากดั หรือเป็ นพฤติกรรมที่ยากต่อการสังเกต หรือไมเ่ หมาะกบั การทดลอง เช่น ทศั นคติ ค่านิยม ความคิดเห็น เป็ นตน้ สาหรับวธิ ีการใหไ้ ดข้ อ้ มูล คือ การสัมภาษณ์ และการตอบแบบสอบถาม ซ่ึงการสัมภาษณ์เหมาะกับข้อมูลที่ต้องการ รายละเอียดเพิ่มในรูปของการซักถาม ส่วนแบบสอบถามทาให้ผูต้ อบมีความเป็ นส่วนตวั ในการ แสดงความคิดเห็นมากข้ึน ท้งั น้ีกลุ่มตวั อยา่ งตอ้ งเป็นตวั แทนของประชากรอยา่ งแทจ้ ริง ข้อดี : ศึกษากบั ประชากรที่มีจานวนมากได้ และหาขอ้ มูลพ้ืนฐานไปสู่การวจิ ยั ที่ตอ้ งการ รายละเอียดเพม่ิ ข้ึน ข้อเสีย : ข้อมูลท่ีได้อาจเกิดความลาเอียง (Bias) จากการสุ่มตัวอย่างหรือตอบคาถามที่ ตอ้ งการให้รู้สึกว่าดีมากเกินไป หรือขอ้ มูลบางอย่างขาดความแม่นตรง เน่ืองจากการลืม และไม่ สามารถสรุปเป็นเหตุผลอยา่ งแทจ้ ริงได้ 4. การศึกษารายกรณี (The Case Study) เป็ นการศึกษากลุ่มตวั อย่างแบบเฉพาะเจาะจง เช่น รายบุคคล หรือ กลุ่มท่ีมีขนาดไม่มากนกั ตรงกนั ขา้ มกบั การสารวจที่ตอ้ งการขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง ใหญ่พอท่ีจะอา้ งถึงประชากรได้ ข้อดี : ไดร้ ายละเอียดของขอ้ มลู อยา่ งลึกซ้ึง เพอื่ ใชส้ าหรับการศึกษาต่อไป

7 ข้อเสีย : มีขอ้ จากดั ในการนาไปใช้อา้ งอิง เน่ืองจากขอ้ มูลที่ศึกษามีความเฉพาะแต่ละราย อีกท้งั ยงั ไมส่ ามารถสรุปความเป็นเหตุผลไดช้ ดั เจน 5. การสังเกต (Naturalistic Observation) เป็ นการสงั เกตอยา่ งมีระบบในรูปแบบธรรมชาติ ในลักษณะบรรยายคุณลกั ษณะพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึน อนั เป็ นส่วนหน่ึงของเป้ าหมายเชิงจิตวิทยา นบั เป็นวธิ ีการเบ้ืองตน้ ในการรวบรวมขอ้ มลู เพื่อคน้ ควา้ ตอ่ ไป ข้อดี : ขอ้ มูลที่ไดเ้ ป็ นสิ่งท่ีเกิดข้ึนจริงตามธรรมชาติของคนหรือสัตว์ ใชเ้ ป็ นขอ้ มูลพ้ืนฐาน ในการศึกษาต่อไป ข้อเสีย : ไม่อาจสรุปความเป็นเหตุเป็นผลของขอ้ มูลได้ 1.2 ทฤษฎแี ละแนวคดิ ทเี่ กย่ี วข้องกบั ทฤษฎที างจิตวทิ ยา กล่มุ แนวคิดทางจิตวทิ ยา SCHOOLS OF PSYCHOLOGY นับต้ังแต่ Wilhelm Wundt ได้วางรากฐานการทดลองค้นควา้ ทางจิตวิทยา โดยก่อต้ัง ห้องทดลองทางจิตวิทยาข้ึนในปี ค.ศ.1879วิชาจิตวิทยาเร่ิมได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายใน วงการต่างๆ เช่นวงการแพทย์ การศึกษา การปกครอง จนกลายเป็ นความจาเป็ นสาหรับ ผปู้ ระกอบการอาชีพทุกสาขา มีนกั จิตวทิ ยาสนใจศึกษาเกี่ยวกบั พฤติกรรมของมนุษยอ์ ยา่ งมากมาย ผทู้ ี่มีความเห็นสอดคลอ้ งกนั ก็จะจบั กลุ่มกนั เผยแพร่แนวความคิดของตน ซ่ึงก่อให้เกิดกลุ่มแนวคิด หรือแนวทศั นะหลายกลุ่มดว้ ยกนั ซ่ึงแนวคิดทางจิตวทิ ยาที่สาคญั มี 7 กลุ่มดงั น้ี 1.กลุ่มโครงสร้างของจิต(Structuralism) กลุ่มโครงสร้างทางจิต(Structuralism)หรือกลุ่ม โครงสร้างนิยม ก่อต้งั โดยวิลเฮล์ม วุ้นท์(Wilhelm Max Woundt, 1832-1920) แนวคิดกลุ่มน้ีนบั ว่า เป็นกลุ่มแรกที่มีแนวคิดเป็ นวทิ ยาศาสตร์ วนุ้ ทไ์ ดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นบดิ าของจิตวทิ ยาแผนใหม่เชิง วทิ ยาศาสตร์ ความเช่ือท่ีสาคญั ของกลุ่มน้ีคือ จิตเป็ นโครงสร้างจากองคป์ ระกอบเล็กๆที่เรียกวา่ จิตธาตุ ซ่ึงมี 3 องคป์ ระกอบคือ 1.การสัมผสั (Sensation) คือ การท่ีอวยั วะสัมผสั รับพลงั งานจากสิ่งเร้า เช่น มือแตะของร้อน หูฟังเสียงเพลง เป็นตน้ 2.ความรู้สึก(Felling) คือ การแปลความหมายจากการสัมผสั ส่ิงเร้าน้นั ๆ 3.มโนภาพ (Image) คือ การคิดออกมาเป็ นภาพในจิตใจ ท้ัง 3 สิ่งน้ีเมื่อรวมกันภายใต้ สถานการณ์ที่เหมาะสมก็จะก่อให้เกิดรูปจิตผสมข้ึน เช่น ความคิด อารมณ์ ความจา การหาเหตุผล ฯลฯ

8 การตรวจสอบตนเองหรือวิธีการพินิจภายใน(Introspection Method)คือ วิธีการศึกษาของ กลุ่มน้ี โดยใช้สิ่งเร้าเป็ นตวั กระตุน้ เช่น ไฟฟ้ า สี ระดบั เสียงสูงและต่า กล่ิน อุณหภูมิ ความร้อน ความหนาว เป็ นตน้ ผถู้ ูกทดลองจะเป็ นผเู้ ล่ารายละเอียด ความรู้สึก ประสาท สัมผสั และมโนภาพ จากประสบการณ์ที่ตนได้รับจากการทดลองว่าความรู้สึกอย่างไรเมื่อได้รับสิ่งเร้าต่างๆเป็ น ตวั กระตุน้ ซ่ึงตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ของแตล่ ะคนท่ีมีอยเู่ ดิม 2.กลุ่มหน้าทขี่ องจิต (Functionalism) กลุ่มหน้าที่ทางจิต(Functionalism)หรือกลุ่มหน้าท่ีนิยม ผูร้ ิเริ่มแนวคิดน้ีคือวิลเลียม เจมส์ (William James,1842-1910)แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาดและจอห์น ดิวอ้ี(John Dewey,1859-1952) แห่งมหาวิทยาลยั ชิคาโก สหรัฐอเมริกาแนวความคิดของกลุ่มน้ี ให้ความสนใจอย่างมากในเร่ือง พฤติกรรม โดยเฉพาะการเรียนรู้และเน้นศึกษา การทาหน้าท่ีของอวยั วะต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนจาก ประสบการณ์ของตนเองโดยกลุ่มน้ีเนน้ ผเู้ รียนให้ใชส้ ติปัญญาในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึน จากประสบการณ์ของตนเอง ซ่ึงความรู้จะเกิดข้ึนไดจ้ ากความสัมพนั ธ์โดยตรงระหวา่ งมนุษยก์ บั สิ่งแวดล้อม บุคคลจะไดร้ ับความรู้ก็ต่อเม่ือตนเองเป็ นผู้ลงมือกระทาเอง(Learning by doing)และ ความรู้ท่ีจะยอมรับไดว้ า่ เป็ นความจริง จะตอ้ งเป็ นผลสรุปที่สามารถสนบั สนุนไดจ้ ากหลกั ฐานการ คน้ ควา้ ต่างๆเท่าน้นั วิลเลียม เจมส์ ทาการศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั หน้าที่ของจิต(Functionalism)ว่า จิตมีหน้าที่ ทางานอย่างไรโดยอาศยั พ้ืนฐานหลักทฤษฎีของชาลส์ ดาร์วิน(Charles Darwin;1809-1882) เป็ น ทฤษฎีววิ ฒั นาการของสิ่งที่มีชีวติ กล่าววา่ สิ่งที่มีชีวิตมีการต่อสู้ทุกรูปแบบ เพ่ือใหส้ ามารถมีชีวิตอยู่ รอดไดใ้ นโลก และส่ิงมีชีวติ จะตอ้ งรู้จกั ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มจากการศึกษาหนา้ ที่ของจิต ใช้ วธิ ีการศึกษาจากการสังเกตและการบนั ทึกพฤติกรรม การปรับตวั ของอินทรียใ์ ห้เขา้ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม อาศยั หนา้ ที่ของจิตท่ีเรียกวา่ จิตสานึก(Conscious) จอห์น ดิวอีค้ ิดคน้ การทดลองแบบใหม่ หรือเรียกวา่ แบบวิธีการพัฒนาการ นบั วา่ เป็ นบิดา แห่งการศึกษาสมัยใหม่ แนวคิดกลุ่มน้ีมุ่งอธิบาย หน้าท่ีของจิต โดยเชื่อว่า จิตมีหน้าท่ีควบคุม กระบวนการกระทากิจกรรมของร่างกาย เพื่อปรับใหเ้ หมาะสมกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

9 วิธีการศึกษาของกลุ่มน้ี ใช้วิธีการตรวจสอบภายในและเพ่ิมวิธีสังเกตร่วมกบั การศึกษา พฤติกรรมในสถานการณ์ที่เป็ นจริง ผลการศึกษาของนกั จิตวทิ ยากลุ่มน้ี ก่อใหเ้ กิดการศึกษาจิตวทิ ยา สาขาอื่นๆ อีกหลายสาขาตามมา เช่น จิตวทิ ยาเดก็ จิตวทิ ยาคลินิก จิตวทิ ยาการศึกษา ฯลฯ หมายเหตุ ปัจจุบนั วิธีการศึกษาของกล่มโครงสร้างนิยมและกลุ่มหนา้ ท่ีของจิต โดยวิธีการสังเกตภายในไม่มี การนามาใชศ้ ึกษาพฤติกรรมอีกตอ่ ไป 3.กลุ่มพฤตกิ รรมนิยม(Behaviorism) ผนู้ ากลุ่มน้ีไดแ้ ก่ John B.Watson ซ่ึงเช่ือวา่ การศึกษาบุคคลจะต้องพิจารณาพฤติกรรมท่ี เขาแสดงออกมามากกว่าระบบการทางานภายใน ดงั น้นั จิตวทิ ยาเก่ียวขอ้ งกบั พฤติกรรมที่สามารถ สังเกตและวดั ไดช้ ดั เจนเท่าน้นั แนวคิดของวตั สันท่ีว่า จิตวิทยาเป็ นวิทยาศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกบั พฤติกรรม จึงได้รับการ ยอมรับอย่างกวา้ งขวางในสหรัฐอเมริกา และมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการพฒั นาการของ จิตวทิ ยาในระยะตอ่ มา ทาใหเ้ กิดจิตวทิ ยาที่วา่ ดว้ ยความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งเร้ากบั การตอบสนอง มกั สนใจศึกษาส่ิงเร้าที่กระตุน้ ให้เกิดการตอบสนองดา้ นการกระทาเป็ นส่วนใหญ่ กลุ่มน้ีไม่สนใจ เกี่ยวกบั การศึกษาส่ิงท่ีเกิดข้ึนภายในตวั ของบุคคลเพราะเห็นวา่ เป็ นสิ่งที่สังเกตและวดั ไดย้ ากไม่มี ความเป็ นวทิ ยาศาสตร์ นกั คิดในกลุ่มน้ีมองธรรมชาติของมนุษยใ์ นลกั ษณะที่เป็ นกลาง คือ ไม่ดี ไม่ เลว การกระทาต่างๆ ของมนุษยเ์ กิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดลอ้ มภายนอก พฤติกรรมของมนุษยเ์ กิด จากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ประกอบดว้ ย วตั สันเชื่อมน่ั วา่ ถา้ สามารถควบคุมส่ิงแวดลอ้ มของมนุษยไ์ ด้ จะทาใหม้ นุษยค์ นน้นั มี พฤติกรรมอะไรก็ได้ตามท่ีต้องการจะให้เป็ นทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มน้ี ประกอบด้วยแนวคิด สาคญั ๆ 3 แนวคิดดว้ ยกนั คือ 1. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ ทฤษฎกี ารเช่ือมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s Classical Connectionism) ธอร์นไดค์(ค.ศ.1814-1949) เช่ือว่าการเรียนรู้เกิดจากการเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการ ตอบสนอง ซ่ึงมีหลายรูปแบบบุคคลจะมีการลองผิดลองถูก(trial and error)ปรับเปล่ียนไปเรื่อยๆ จนกวา่ จะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากท่ีสุด เมื่อเกิดการเรียนรู้แลว้ บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียว และจะพยายามใช้รูปแบบน้ัน เชื่อมโยงกบั ส่ิงเร้าในการเรียนรู้ตอ่ ไปเรื่อย ๆ

10 2. ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไข(Conditioning Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ(Classical conditioning)ของพาฟลอฟ พาฟลอฟ (Pavlov)ไดท้ าการทดลองให้สุนขั น้าลายไหลดว้ ยเสียงกระด่ิง การเรียนรู้ของสุนขั เกิดจากการรู้จกั เช่ือมโยงระหวา่ งเสียงกระด่ิง ผงเน้ือบดและพฤติกรรมน้าลายไหล ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขของวตั สัน(Watson) วัตสัน(Watson)ได้ทาการทดลองโดยให้เด็กคนหน่ึงเล่นกบั หนูขาว ก็ทาเสียงดงั จนเด็ก ตกใจร้องไห้ หลงั จากน้นั เด็กก็จะกลวั และร้องไห้เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาทดลองใหน้ าหนูขาวมาให้ เดก็ ดูโดยแมจ่ ะกอดเดก็ ไวจ้ ากน้นั เดก็ ก็จะคอ่ ยๆหายกลวั หนูขาว ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขแบบต่อเนื่อง(Contiguous Conditioning)ของกทั ธรี กทั ธรีไดท้ าการทดลองโดยปล่อยแมวท่ีหิวจดั เขา้ ไปในกล่องปัญหา มีเสาเล็กๆตรงกลาง มีกระจกที่ ประตูทางออก มีปลาแซลมอนวางไวน้ อกกล่อง เสาในกล่องเป็ นกลไกเปิ ดประตู แมวบางตวั ใช้ แบบแผนการกระทาหลายแบบเพื่อจะออกจากกล่อง แมวบางตวั ใชว้ ธิ ีเดียว ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบโอเปอร์แรนต์(Operant Conditioning)ของสกนิ เนอร์(Skinner) สกนิ เนอร์(Skinner)ไดท้ าการทดลองโดยนาหนูท่ีหิวจดั ใส่กล่อง ภายในมีคานบงั คบั ให้อาหารตกลง ไปในกล่องได้ ตอนแรกหนูจะวิ่งชนโน่นชนน่ี เมื่อชนคานจะมีอาหารตกมาให้กิน ทาหลายๆคร้ัง พบวา่ หนูจะกดคานทาใหอ้ าหารตกลงไปไดเ้ ร็วข้ึน 3.ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์(Hull’s Systematic Behavior Theory) ฮัลล์(Hull)ได้ทาการ ทดลองโดยฝึกหนูใหก้ ดคาน โดยแบง่ หนูเป็นกลุ่มๆแต่ละกลุ่มอดอาหาร 24 ชวั่ โมงและแต่ละกลุ่มมี แบบแผนในการเสริมแรงแบบตายตวั ต่างกนั บางกลุ่มกดคาน 5 คร้ัง จึงไดอ้ าหารไปจนถึงกลุ่มที่กด 90 คร้ัง จึงไดอ้ าหารและอีกพวกหน่ึงทดลองแบบเดียวกนั แต่อดอาหารเพยี ง 3 ชว่ั โมง ผลปรากฏวา่ ยงิ่ อดอาหารมาก คือ มีแรงขบั มาก จะมีผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงความเขม้ ของนิสยั กล่าวคือ จะทา ใหก้ ารเชื่อมโยงระหวา่ งอวยั วะรับสัมผสั receptor)กบั อวยั วะแสดงออก(effector)เขม้ แขง็ ข้ึน ดงั น้นั เม่ือหนูหิวมากจึงมีพฤติกรรมกดคานเร็วข้ึน สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ มองธรรมชาติของมนุษยใ์ นลกั ษณะท่ีเป็ น กลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่างของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษยเ์ กิดจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้า(stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการ เช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกบั พฤติกรรมมาก เพราะพฤติกรรมเป็ นสิ่งท่ีเห็นได้ชัด สามารถวดั และทดสอบไดม้ ีทฤษฎีท่ีสาคญั อยู่ 3 กลุ่มคือ - ทฤษฎีการเช่ือมโยงของธอร์นไดค์(Thorndike’s Classical Connectionism) - ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) - ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮลั ล์(Hull’s Systematic Behavior Theory)

11 4.กล่มุ จิตวเิ คราะห์ (Psychoanalysis) กลุ่มจิตวทิ ยากลุ่มน้ีเนน้ ความสาคญั ของ“จิตไร้สานึก”(uncoscious mind)วา่ มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม กลุ่มน้ีจดั เป็ นกลุ่ม “พลังที่หนึ่ง”(The first force)ที่แหวกวงล้อมจากจิตวิทยายุคเดิม นักจิตวิทยาในกลุ่มจิตวิเคราะห์ท่ีมีช่ือเสี ยงเป็ นท่ีรู้จักกันท่ัวไป ได้แก่ ฟรอยด์ (Sigmund Freud,1856-1939)และส่วนใหญ่แนวคิดในกลุ่มจิตวเิ คราะห์น้ีเป็ นของฟรอยดซ์ ่ึงเป็ นจิตแพทย์ ชาว ออสเตรีย เป็ นผูท้ ่ีสร้างทฤษฎีจิตวิเคราะห์(Psychoanalytic Theory) ซ่ึงเป็ นทฤษฎีทางด้านการ พฒั นาPsychosexualโดยเช่ือวา่ เพศหรือกามารมณ์(sex)เป็ นส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อการพฒั นาของมนุษย์ แนวคิดดงั กล่าวเกิดจากการสนใจศึกษาและสังเกตผูป้ ่ วยโรคประสาท ดว้ ยการให้ผปู้ ่ วยนอนบน เกา้ อ้ีนอนในอิริยาบถที่สบายที่สุด จากน้นั ใหผ้ ปู้ ่ วยเล่าเรื่องราวของตนเองไปเร่ือยๆ ผรู้ ักษาจะนงั่ อยู่ ดา้ นศีรษะของผูป้ ่ วย คอยกระตุน้ ให้ผูป้ ่ วยไดพ้ ูดเล่าต่อไปเร่ือยๆเท่าที่จาได้ และคอยบนั ทึกส่ิงที่ ผปู้ ่ วยเล่าอยา่ งละเอียด โดยไม่มีการขดั จงั หวะ แสดงความคิดเห็น หรือตาหนิผูป้ ่ วย ซ่ึงพบวา่ การ กระทาดงั กล่าวเป็นวธิ ีการท่ีช่วยใหผ้ รู้ ักษาไดข้ อ้ มูลที่อยใู่ นจิตใตส้ านึกของผปู้ ่ วย และจากการรักษา ดว้ ยวธิ ีน้ีเอง จึงทาให้ฟรอยด์เป็ นคนแรกท่ีสร้างทฤษฎจี ิตวเิ คราะห์ เขาอธิบายวา่ จิตของคนเรามี 3 ส่ วน คื อ จิ ต ส านึ ก (conscious mind)จิ ต ก่ึงรู้ ส านึ ก (preconscious mind)แล ะ จิ ต ไร้ ส านึ ก (unconscious mind)ซ่ึงมีลักษณะดังน้ี เช่ือว่าพฤติกรรมของมนุษย์ส่วนมากกาหนดข้ึนโดย สัญชาตญาณ ซ่ึงมีมาต้งั แต่กาเนิด สัญชาตญาณเหล่าน้ีส่วนมากจะอยใู่ นระดบั จิตไร้สานึก เขาเชื่อวา่ การทางานของจิตแบง่ เป็น 3 ระดบั เปรียบเสมือนกอ้ นน้าแขง็ ลอยอยใู่ นทะเล คือ 1.จิตรู้สานึก(Conscious mind)เป็ นส่วนท่ีโผล่ผิวน้าข้ึนมา ซ่ึงมีจานวนน้อยมาก เป็ นสภาพ ที่รู้ตวั วา่ คือใคร อยทู่ ่ีไหน ตอ้ งการอะไร หรือกาลงั รู้สึกอยา่ งไรต่อสิ่งใด เมื่อแสดงพฤติกรรมอะไร ออกไปก็แสดงออกไปตามหลกั เหตุและผล แสดงตามแรงผลกั ดนั จากภายนอก สอดคลอ้ งกบั หลกั แห่งความเป็นจริง(principle of reality) 2.จิตก่ึงรู้สานึก(Preconscious mind)เป็ นส่วนที่อยู่ใกล้ๆผิวน้า เป็ นจิตที่เก็บสะสมขอ้ มูล ประสบการณ์ไวม้ ากมาย มิไดร้ ู้ตวั ในขณะน้นั แต่พร้อมให้ดึงออกมาใช้ พร้อมเขา้ มา อยู่ในระดบั จิตสานึก เช่น เดินสวนกบั คนรู้จกั เดินผา่ นเลยมาแลว้ นึกข้ึนไดร้ ีบกลบั ไปทกั ทายใหม่ เป็ นตน้ และ อาจถือได้ว่าประสบการณ์ต่างๆที่เก็บไวใ้ นรูปของความจาก็เป็ นส่วนของจิตก่ึงรู้สานึกด้วย เช่น ความขมข่ืนในอดีต ถา้ ไม่คิดถึงก็ไม่รู้สึกอะไร แต่ถา้ นัง่ ทบทวนเหตุการณ์ทีไรก็ทาให้เศร้าไดท้ ุก คร้ัง เป็นตน้ 3.จิตไร้สานึก(Unconscious mind)เป็ นส่วนใหญ่ของกอ้ นน้าแข็งที่อย่ใู ตน้ ้า ฟรอยด์เชื่อว่า จิตส่วนน้ีมีอิทธิพลมากต่อพฤติกรรมของมนุษย์ กระบวนการจิตไร้สานึกน้ี หมายถึง ความคิด ความ กลวั และความปรารถนาของมนุษย์ ซ่ึงผเู้ ป็ นเจา้ ของเก็บกดไวโ้ ดยไม่รู้ตวั แต่มีอิทธิพลต่อเขา พลงั

12 ของจิตไร้สานึกอาจจะปรากฏข้ึนในรูปของความฝัน การพล้งั ปากหรือการแสดงออกมาเป็ นกิริยา อาการท่ีบุคคลทาโดยไม่รู้ตวั เป็นตน้ ฟรอยด์ เช่ือวา่ มนุษยม์ ีสัญชาตญาณติดตวั มาแต่กาเนิด พฤติกรรมของบุคคลเป็ นผลมาจาก แรงจูงใจหรือแรงขบั พ้ืนฐานที่กระตุ้นให้บุคคลมีพฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ (sexual instinct) 2 ลกั ษณะคือ 1.สัญชาตญาณเพ่ือการดารงชีวิต(eros = life instinct) 2.สั ญชาตญาณเพ่ือความตาย (thanatos = death instinct) โครงสร้างบุคลกิ ภาพ (The personality structure) ฟรอยด์ เชื่อวา่ โครงสร้างบุคลิกภาพของบุคคล มี 3 ประการ คือ 1.ตนเบื้องต้น(id) คือ ตนที่อยู่ในจิตไร้สานึก เป็ นพลังท่ีติดตวั มาแต่กาเนิด มุ่งแสวงหา ความพึงพอใจ(pleasure seeking principles)และเป็ นไปเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของตนเอง เท่าน้นั โดยไม่คานึงถึงเหตุผล ความถูกตอ้ ง และความเหมาะสม ประกอบดว้ ย ความตอ้ งการทาง เพศและความกา้ วร้าว เป็ นโครงสร้างเบ้ืองตน้ ของจิตใจ และเป็ นพลงั ผลกั ดนั ให้ ego ทาในส่ิงตา่ งๆ ตามท่ี id ตอ้ งการ 2.ตนปัจจุบัน(ego)คือ พลังแห่งการใช้หลักของเหตุและผลตามความเป็ นจริง(reality principle)เป็นส่วนของความคิดและสติปัญญา ตนปัจจุบนั จะอยใู่ นโครงสร้างของจิตใจท้งั 3 ระดบั 3.ตนในคุณธรรม(superego)คือ ส่วนที่ควบคุมการแสดงออกของบุคคลในดา้ นคุณธรรม ความดี ความชวั่ ความถูกผดิ มโนธรรม และจริยธรรมที่สร้างโดยจิตใตส้ านึกของบุคคลน้นั ซ่ึงเป็ น ผลท่ีไดร้ ับจากการเรียนรู้ในสังคมและวฒั นธรรมน้นั ๆ ตนในคุณธรรมจะทางานอยใู่ นโครงสร้าง ของจิตใจท้งั 3 ระดบั การทางานของตนท้งั 3 ประการ จะพฒั นาบุคลิกภาพของบุคคลให้เด่นไปดา้ นใดดา้ นหน่ึง ของท้งั 3 ประการน้ี แต่บุคลิกภาพที่พึงประสงค์ คือ การท่ีบุคคลสามารถใชพ้ ลงั อีโกเ้ ป็นตวั ควบคุม พลงั อิด และซูเปอร์อีโกใ้ หอ้ ยใู่ นภาวะที่สมดุลได้ นอกจากน้ีฟรอยดใ์ ชว้ ธิ ีการวเิ คราะห์ความฝันของ ผมู้ ีปัญหา เขาเชื่อว่า ความฝันมีความสัมพนั ธ์กบั ส่ิงท่ีไดป้ ระสบมาในชีวิตจริง ปัญหาต่างๆที่แก้ ไมไ่ ดอ้ าจจะไปแสดงออกในความฝัน เพ่ือเป็นการระบายออกของพฤติกรรมอีกทางหน่ึง 5.กล่มุ เกสตลั ท์(Gestalt Psychology) นกั จิตวิทยาคนสาคญั กลุ่มน้ีไดแ้ ก่ Max Werthimer,Kurt Koffka และWolfgang Kohlerท้งั หมด เป็ นชาวเยอรมนั เช้ือสายยวิ กลุ่มน้ีเช่ือวา่ มนุษยไ์ ม่ไดเ้ ป็ นเพียงหน่วยรับส่ิงเร้าที่อยนู่ ิ่งเฉยเท่าน้นั แต่ จิตมีการสร้างกระบวนการประมวลข้อมูลที่รับเข้ามาและส่งผลออกไปเป็ นข้อมูลใหม่หรือ สารสนเทศชนิดใหม่ นกั จิตวทิ ยากลุ่มน้ีไม่เห็นดว้ ยกบั แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม กลุ่มน้ีเนน้

13 อธิบายวา่ การเรียนรู้เกิดจากการรับรู้เป็ นส่วนรวมมากกวา่ ส่วนยอ่ ยรวมกนั เพราะคนเราจะรับรู้ส่ิง ต่างๆในลกั ษณะรวมๆไดด้ ีกวา่ รับรู้ส่วนปลีกยอ่ ย กลุ่มน้ีเห็นวา่ การเรียนรู้จะเกิดข้ึน เมื่อมีการรับรู้ เป็นส่วนรวมมากกวา่ ส่วนยอ่ ยรวมกนั มนุษยจ์ ะรับในสิ่งท่ีตนเองสนใจเท่าน้นั ส่ิงใดท่ีสนใจรับรู้จะ เป็ นภาพ สิ่งใดท่ีไม่ได้สนใจรับรู้จะเป็ นพ้ืน ดังเช่น รูปภาพข้างบนถ้าสนใจมองที่สีขาว เราจะ มองเห็นเป็นแกว้ แตถ่ า้ เราสนใจมองสีดาเราจะเห็นเป็น รูปคนสองคนกาลงั หนั หนา้ เขา้ หากนั คาวา่ เกสตัลท์(Gestalt)เป็นภาษาเยอรมนั ความหมายเดิมแปลวา่ แบบหรือรูปร่าง (Gestalt = form or Pattern) ต่อมาปัจจุบนั แปลวา่ ส่วนรวมหรือส่วนประกอบท้งั หมด(Gestalt =The wholeness) กลุ่มเกสตัลท์ มีแนวคิดว่าการเรียนรู้เกิดจากการจดั ส่ิงเร้าต่าง มารวมกนั เร่ิมตน้ ด้วยการรับรู้โดย ส่วนรวมก่อนแลว้ จึงจะสามารถวเิ คราะห์เรื่องการเรียนรู้ส่วนยอ่ ยทีละส่วนต่อไป ต่อมาเลวิน ไดน้ าเอาทฤษฎีเกสตัลท์มาปรับปรุงเป็ นทฤษฎีสนาม(Field theory โดยนาความรู้ทาง คณิตศาสตร์และฟิ สิกส์มาอธิบายทฤษฎีของเขาแต่ก็ยงั คงใชห้ ลกั การเดียวกนั นนั่ คือการเรียนรู้ของ บุคคลจะเป็ นไปได้ดว้ ยดีและสร้างสรรค์ถ้าเขาไดม้ ีโอกาสเห็นภาพรวมท้งั หมดของสิ่งที่จะเรียน เสียก่อน เมื่อเกิดภาพรวมท้งั หมดแลว้ ก็เป็ นการง่ายท่ีบุคคลน้นั จะเรียนส่ิงที่ละเอียดปลีกยอ่ ยต่อไป ปัจจุบนั ไดม้ ีผนู้ าเอาวิธีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตลั ท์มาใชอ้ ย่างกวา้ งขวางโดยเหตุที่เขา เช่ือในผล การศึกษาค้นควา้ ท่ีพบว่า ถ้าให้เยาวชนได้เรียนรู้โดยหลักของเกสตัลท์แล้วเขาเหล่าน้ันจะมี สติปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และความรวดเร็วในการเรียนรู้เพิ่มข้ึน หลกั การเรียนรู้ของกลุ่มเกสตลั ท์ กลุ่มเกสตัลท์ เชื่อว่า การเรียนรู้ท่ีเห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยน้ัน จะต้องเกิดจาก ประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ยอ่ มเกิดข้ึน 2 ลกั ษณะ คือ 1.การรับรู้(Perception)การรับรู้ หมายถึง การแปลความหมายหรือการตีความต่อส่ิงเร้าของ อวยั วะรับสัมผสั ส่วนใดส่วนหน่ึงหรือท้งั ห้าส่วน ไดแ้ ก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนงั การตีความน้ี มักอาศัยประสบการณ์เดิม ดังน้ันแต่ละคนอาจรับรู้ในส่ิงเร้าเดียวกันแตกต่างกันได้ แล้วแต่ ประสบการณ์ เช่น นางสาว ก. เห็นสีแดงแล้วนึกถึงเลือด แต่นางสาว ข.เห็นสีแดงอาจนึกถึงดอก กุหลาบสีแดงกไ็ ด้ 2.การหย่ังเห็น(Insight) การหยั่งเห็น หมายถึง การเรี ยนรู้ด้วยตนเอง โดยจะเกิด แนวความคิดในการเรียนรู้หรือการแกป้ ัญหาข้ึนอยา่ งฉบั พลนั ทนั ทีทนั ใด(เกิดความคิดแวบข้ึนมาใน สมองทนั ที)มองเห็นแนวทางการแกป้ ัญหาต้งั แต่จุดเริ่มตน้ เป็ นข้นั ตอนจนถึงจุดสุดทา้ ยท่ีสามารถจะ แกป้ ัญหาได้ เช่น การร้องออกมาว่ายูเรก้าของอาร์คีเมดิสเพราะเกิดการหยงั่ เห็น(Insight)ในการ แกป้ ัญหาการหาปริมาตรของมงกุฎทองคาดว้ ยวธิ ีการแทนท่ีน้า วา่ ปริมาตรของมงกุฎที่จมอยใู่ นน้า

14 จะเท่ากับปริมาตรของน้าที่ล้นออกมา แล้วใช้วิธีการน้ีหาปริมาตรของวตั ถุท่ีมีรูปทรงไม่เป็ น เรขาคณิตมาจนถึงบดั น้ี การเรียนรู้ของกลุ่มเกสตลั ท์ท่ีเน้น “การรับรู้เป็ นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย”น้ัน ไดส้ รุป เป็ นกฎการเรี ยนรู้ของท้ังกลุ่ม 4 กฎ เรี ยกว่า กฎการจัดระเบียบเข้ าด้ วยกัน (The Laws of Organization) ดงั น้ี 1.กฎแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน(Law of Pregnant) 2.กฎแห่งความคล้ายคลงึ (Law of Similarity) 3.กฎแห่งความใกล้ชิด(Law of Proximity) 4.กฎแห่งการสิ้นสุด(Law of Closure) โดยกาหนดFigureและBackground แตใ่ นที่น้ีขอเสนอพอสังเขป ดงั น้ี แนวความคิดของนักจิตวิทยากลุ่มน้ี คือ การพิจารณาพฤติกรรมหรือประสบการณ์ของคนเป็ น ส่วนรวม ซ่ึงส่วนรวมน้นั มีค่ามากกวา่ ผลบวกของส่วนยอ่ ยต่างๆ มารวมกนั เช่น คนน้นั มีคา่ มากกวา่ ผลบวกของส่วนยอ่ ยต่างๆมารวมตวั กนั เป็นคน ไดแ้ ก่ แขน ขา ลาตวั สมองฯลฯ จิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์นิยม จึงหมายถึง จิตวิทยาท่ียึดถือเอาส่วนรวมท้งั หมดเป็ นสาคญั นกั จิตวทิ ยา กลุ่มน้ียงั มีความเห็นอีกวา่ การศึกษาทางจิตวิทยาน้นั จะตอ้ งศึกษาพฤติกรรมทางจิตเป็นส่วนรวมจะ แยกศึกษาท่ีละส่วนไม่ได้ กลุ่มGESTALISM เห็นวา่ วธิ ีการของ BEHAVIORISM ท่ีพยายามจะแยก พฤติกรรมออกมาเป็ นหน่วยย่อย เช่น เป็ นสิ่งเร้าและการตอบสนองน้ันเป็ นวิธีการไม่ใช่เรื่องของ จิตวิทยา น่าจะเป็ นเร่ืองของเคมีหรือศาสตร์บริสุทธ์ิแขนงอ่ืนๆ ดังน้ันกลุ่ม GESTALISM จึงไม่ พยายามแยกพฤติกรรมออกเป็ นส่วนๆ แลว้ ศึกษารายละเอียดของแต่ละส่วนเหมือนกลุ่มอื่นๆ แต่ ตรงกนั ขา้ มจะพิจารณาพฤติกรรมหรือการกระทาของมนุษยท์ ุกๆอยา่ งเป็ นส่วนรวม เน้นในเร่ือง ส่วนรวม(WHOLE)มากกว่าส่วนย่อย เพ่งเล็งถึงส่วนท้งั หมดในลกั ษณะที่เป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั (UNIQUE) 6.กล่มุ มนุษยนิยม(Humanistic Perspective) แนวคิดกลุ่มมนุษย์นิยม(The Humanistic Perspective) เช่ือวา่ มนุษยม์ ีอิสระทางความคิดท่ี สามารถเลือกแสดงพฤติกรรมได้ การแสดงพฤติกรรมใดๆ จึงเป็ นทางเลือกของบุคคล ซ่ึงทุกคนมี ศกั ยภาพในการเจริญงอกงาม หรือพฒั นา นกั จิตวิทยากลุ่มน้ี ไดแ้ ก่ มาสโลว์(Abraham Maslow)และคาร์ล โรเจอส์(Carl Rogers)

15 มาสโลว์(Maslow) กล่าวถึง ทฤษฎลี าดับข้นั ความต้องการไว้ 5 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1.ความต้องการทางกายภาพ(Physiological Needs) เป็ นความตอ้ งการข้นั พ้ืนฐานของมนุษย์ เป็ นสิ่งที่จาเป็ นในการดารงชีวิต ไดแ้ ก่ อาหาร อากาศ ที่อยู่อาศยั เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ความ ตอ้ งการพกั ผอ่ น และความตอ้ งการทางเพศ เป็นตน้ 2.ความต้องการความม่ันคงและปลอดภัย(Safety Needs and Needs for Security) ถา้ ตอ้ งการ ความมนั่ คงปลอดภยั ในชีวติ ท้งั ในปัจจุบนั และอนาคต ตอ้ งการความเป็ นธรรมในการทางาน ความ ปลอดภยั ในเงินเดือนและการถูกไล่ออก สวสั ดิการดา้ นที่อยอู่ าศยั และการรักษาพยาบาล รวมท้งั ความเช่ือในศาสนาและเช่ือมน่ั ในปรัชญา ซ่ึงจะช่วยให้บุคคลอยูใ่ นโลกของความเช่ือของตนเอง และรู้สึกมีความปลอดภยั 3.ความต้องการมีส่วนร่วมในสังคม(Social Belonging Needs)เมื่อความตอ้ งการทางดา้ นร่าง กา และความปลอดภยั ไดร้ ับการตอบสนองแลว้ ความตอ้ งการทางดา้ นสังคมก็จะเริ่มเป็ นส่ิงจูงใจที่ สาคญั ต่อพฤติกรรมของบุคคล เป็ นความตอ้ งการท่ีจะให้สังคมยอมรับตนเป็ นสมาชิก ตอ้ งการ ไดร้ ับการยอมรับจากคนอ่ืนๆ ไดร้ ับความเป็นมิตรและความรักจากเพอื่ นร่วมงาน 4.ความต้องการยกย่องนับถอื (Esteem Needs) ความตอ้ งการดา้ นน้ี เป็ นความตอ้ งการระดบั สูง ท่ีเกี่ยวกบั ความอยากเด่นในสังคม ตอ้ งการให้บุคคลอื่นยกยอ่ งสรรเสริญ รวมถึงความเช่ือมนั่ ใน ตนเองในเร่ืองความรู้ความสามารถ ความเป็นอิสระ และเสรีภาพ 5.ความต้องการบรรลุในส่ิงที่ต้ังใจ(Need for Self Actualization) เป็ นความต้องการระดับ สูงสุด ซ่ึงเป็ นความตอ้ งการที่อยากจะให้เกิดความสาเร็จในทุกส่ิงทุกอย่างตามความนึกคิดของ ตนเอง เป็นความตอ้ งการที่ยากแก่การไดม้ า 1.)มนุษยท์ ุกคนมีความตอ้ งการ ความตอ้ งการที่มนุษยน์ ้ีจะอยู่ในตวั มนุษยต์ ลอดไป ไม่มีที่ สิ้นสุด เมื่อสนใจในความตอ้ งการหน่ึงแลว้ ก็ยงั ตอ้ งการในระดบั ที่สูงข้ึน 2.)อิทธิพลใดๆ ที่จะมีผลต่อความตอ้ งการของมนุษยอ์ ยใู่ นความตอ้ งการลาดบั ข้นั น้นั ๆ เท่าน้นั หากความตอ้ งการลาดบั ข้นั น้นั ไดร้ ับการสนองใหพ้ อใจแลว้ ความตอ้ งการน้นั ก็จะหมดอิทธิพลไป 3)ความต้องการของมนุษยจ์ ะมีลาดบั ข้นั จากต่าไปหาสูง เมื่อความตอ้ งการข้นั ต่าได้รับการ ตอบสนองเป็นที่พอใจแลว้ ความตอ้ งการลาดบั สูงข้ึนไปกต็ ามมา คาร์ ล โรเจอร์ ส(CarlRogers)มีความเห็ นว่า ธรรมชาติของมนุ ษย์เป็ นส่ิ งท่ีดีและมี ความสาคญั มาก โดยมีความพยายามท่ีจะพฒั นาร่างกายใหม้ ีความเจริญเติบโตอยา่ งมีศกั ยภาพสูงสุด โรเจอร์สต้งั ทฤษฏีข้ึนมาจากการศึกษาปัญหาพฤติกรรมของคนไขจ้ ากคลินิกของเขา และไดใ้ ห้ ความสนใจเกี่ยวกบั บุคลิกภาพที่เกิดจากสุขภาพเป็ นอย่างมาก ทฤษฏีของโรเจอร์เนน้ ถึงเกียรติของ บุคคล ซ่ึงบุคคลมีความสามารถท่ีจะทาการปรับปรุงชีวิตของตนเองเม่ือมีโอกาสเขา้ มิใช่จะเป็ น

16 เพียงแต่เหย่ือ ในขณะท่ีมีประสบการณ์ในสมยั ที่เป็ นเด็กหรือจากแรงขบั ของจิตใตส้ านึก แต่ละ บุคคลจะรู้จกั การสังเกตสิ่งแวดลอ้ มที่อยรู่ อบตวั เรา โดยมีแนวทางเฉพาะของบุคคล กล่าวไดว้ า่ เป็ น การรับรู้สภาพส่ิงแวดลอ้ มซ่ึงมีความสาคญั มาก โรเจอร์เช่ือวา่ มนุษย์ทุกคนมตี ัวตน 3 แบบ 1.ตนที่ตนมองเห็น(Self Concept) ภาพท่ีตนเห็นเองวา่ ตนเป็ นอย่างไร มีความรู้ความสามารถ ลกั ษณะเพราะตนอย่างไร เช่น สวย รวย เก่ง ต่าต้อย ข้ีอายฯลฯ การมองเห็นอาจจะไม่ตรงกับ ขอ้ เทจ็ จริงหรือภาพที่คนอื่นเห็น 2.ตนตามท่ีเป็ นจริง (Real Self) ตวั ตนตามขอ้ เท็จจริง แต่บ่อยคร้ังที่ตนมองไม่เห็นขอ้ เท็จจริง เพราะอาจเป็นส่ิงท่ีทาใหร้ ู้สึกเสียใจ ไมเ่ ท่าเทียมกบั บุคคลอื่น เป็นตน้ 3.ตนตามอดุ มคติ(Ideal Self) ตวั ตนที่อยากมีอยากเป็น แตย่ งั ไม่มี ไม่เป็นในสภาวะปัจจุบนั เช่น ชอบเกบ็ ตวั แต่อยากเก่งเขา้ สังคม เป็นตน้ ถา้ ตวั ตนท้งั 3 ลกั ษณะ ค่อนขา้ งตรงกนั มากจะทาให้มีบุคลิกภาพมนั่ คง แต่ถา้ แตกต่างกนั สูง จะมี ความสบั สนและอ่อนแอดา้ นบุคลิกภาพ โรเจอร์ วางหลกั ไวว้ ่า บุคคลถูกกระตุน้ โดยความตอ้ งการสาหรับการยอมรับนบั ถือทางบวก นน่ั คือความตอ้ งการความรัก การยอมรับและความมีคุณค่า บุคคลเกิดมาพร้อมกบั ความตอ้ งการ การยอมรับนบั ถือในทางบวก และจะไดร้ ับการยอมรับนบั ถือโดยอาศยั การศึกษาจากการดาเนินชีวิต ตามมาตรฐานของบุคคลอื่น ทฤษฏขี องโรเจอร์ กล่าววา่ “ตนเอง”(Self) คือ การรวมกนั ของรูปแบบ ค่านิยม เจตคติ การรับรู้ และความรู้สึก ซ่ึงแต่ละบุคคลมีอยู่และเช่ือวา่ เป็ นลกั ษณะเฉพาะของเขาเอง ตนเอง หมายถึง ฉัน และตวั ฉนั เป็ นศูนยก์ ลางท่ีรวมประสบการณ์ท้งั หมดของแต่ละบุคคล ภาพพจน์น้ีเกิดจากการที่แต่ ละบุคคลมีการเรียนรู้ต้งั แต่วยั เร่ิมแรกชีวติ ภาพพจนน์ นั่ เอง สาหรับบุคคลที่มีการปรับตวั ดีก็จะมีการ เปลี่ยนแปลงอยา่ งคงท่ี และมีการปรับตวั ตามประสบการณ์ท่ีแตล่ ะคนมีอยู่ การสังเกตและการรับรู้ เป็ นเรื่องของตนเองที่ปรับให้เขา้ กบั สภาพสิ่งแวดลอ้ มในการทางาน เช่น พนกั งานบางคนมีการตอบสนองอยา่ งมีประสิทธิภาพต่อสภาพส่ิงแวดลอ้ มในการทางานและ การเป็นผนู้ า 7.กลุ่มปัญญานิยม(Cognitive Psychology) ผนู้ ากลุ่มคนสาคญั คือ เพียเจต์ บรูเนอร์ และวายเนอร์ หลงั ปี ค.ศ.1960 กลุ่มแนวคิดปัญญา นิยมไดร้ ับความสนใจอยา่ งมาก แนวคิดกลุ่มปัญญานิยม สนใจศึกษาเร่ืองกระบวนการทางจิต ซ่ึง เป็น พฤติกรรมภายในที่ไม่สามารถสงั เกตไดโ้ ดยตรง ไดแ้ ก่ การรับรู้ การจา การคิด และความเขา้ ใจ เช่น ขณะท่ีเราอ่านหนงั สือ เราจะทราบความสาคญั ของขอ้ ความ คาต่างๆ เน้ือหาของเร่ืองมากกวา่ การรับรู้ตวั อกั ษร นกั วิจยั ในกลุ่มปัญญานิยมสนใจศึกษากระบวนการทางจิต ซ่ึงเป็ นพฤติกรรมท่ี

17 มองไม่เห็นภายในตวั บุคคลดว้ ยวธิ ีการวดั แบบวทิ ยาศาสตร์ แนวความคิดของกลุ่มน้ีเช่ือวา่ มนุษยจ์ ะ เป็ นผูก้ ระทาต่อสิ่งแวดลอ้ มมากกว่าทาตามส่ิงแวดลอ้ ม เพราะจากความรู้ ความเช่ือ และความมี ปัญญาของมนุษย์ จะทาให้มนุษยส์ ามารถจดั การกบั ขอ้ มูลข่าวสารท่ีเขา้ มาในสมองมนุษยไ์ ด้ เช่น ยรู ิค ไนเซอร์(Ulric Neisser) กล่าววา่ บุคคลตอ้ งแปลผลส่ิงที่รับรู้มาเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจโลกรอบตวั ของเขา ได้ ดังน้ันเป้ าหมายของนักจิตวิทยากลุ่มน้ีคือ สามารถระบุเจาะจงได้ว่า กระบวนการของจิต เก่ียวขอ้ งกบั การแปลความหมายสิ่งที่บุคคลรับเขา้ มา แลว้ ส่งต่อให้หน่วยรับขอ้ มูล เพ่ือแปลผลอีก คร้ังหน่ึงว่า มีกลไกอยา่ งไรบา้ งที่ช่วยจดั ระบบระเบียบการจาและเขา้ ใจทุกสิ่งทุกอยา่ งที่เราไดพ้ บ เห็นไดด้ ว้ ยวธิ ีใด การทางานของระบบความจา และการใชค้ วามคิดในการแกไ้ ขปัญหา วธิ ีการศึกษาของนักจิตวทิ ยากลุ่มปัญญานิยม จะเนน้ วิธีการทดลองเป็ นส่วนใหญ่ เช่น การทดลอง ใหผ้ รู้ ับการทดลองต้งั เทียนไขให้ขนานกบั แนวฝาผนงั โดยไม่มีอุปกรณ์ให้ ผรู้ ับการทดลองตอ้ งใช้ วธิ ีการอยา่ งไรก็ได้ ซ่ึงมกั จะประสบความยงุ่ ยากในการแกป้ ัญหา และตอ้ งคิดคน้ วิธีการใหม่ๆจาก การใชอ้ ุปกรณ์ที่มี จากการทดลองน้ีวธิ ีคิดแบบเก่าๆ จะมีผลสกดั ก้นั ความคิดใหม่ๆได้ เพราะฉะน้นั บุคคลจะมีวิธีการเอาชนะวิธีคิดท่ีตนเองคุน้ เคยไดอ้ ยา่ งไร และบุคคลจะสร้างสรรคแ์ นวคิดใหม่ๆ เพอ่ื แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งไร สรุป School A Key Personality A Key Idea Structuralism Wilhelm Wundt วเิ คราะห์โครงสร้างของจติ (1832-1920) ประกอบดว้ ย ธาตุจติ 3 ประการ คือ Functionalism William James sensory,feeling, และimage Behaviorism (1842-1920) จติ มีหนา้ ท่ีศึกษาการทาหนา้ ท่ีของจิต John Watson จติ มีหนา้ ที่ปรับตวั เพ่ือความอยรู่ อด (1878-1956) ของชีวติ 1.เนน้ ศึกษาพฤติกรรมท่ีสามารถสงั เกต ไดเ้ ท่าน้นั 2.พฤติกรรม/การแสดงออกยอ่ มมี สาเหตหุ รือมีสิ่งเร้า 3.พฤติกรรมมนุษยเ์ ป็ นผลมาจากการ เรียนรู้ และการมีประสบการณ์ 4.ปัญหาชีวติ เกิดจากการที่พฤติกรรม ไดร้ ับการเสริมแรงผดิ พลาด ทาใหเ้ กิด การเรียนรู้ผิดตอ้ งปรับเปลี่ยนหรือแกไ้ ข พฤติกรรม

18 สรุป School A Key Personality A Key Idea Gestalt Max Wertheimer Psychology (1880-1943) A Gestalt หมายถึง รูป รูปแบบ form 1.พฤติกรรมมนุษยเ์ ป็ นผลมาจากการ Psychoanalytic Theory Sigmund Freud รับรู้ (1856-1939) 2.การรับรู้เป็ นกระบวนการภายในจิตใจ ของแตล่ ะคน 3.การรับรู้มีลกั ษณะเป็ น Figure and Ground 4.ลกั ษณะของการรับรู้จะเป็น “ส่วนรวมมคี ่ามากกว่าผลบวกของ ส่วนย่อยรวมกนั ” 5.เนน้ หลกั Here and Now 6.ปัญหาชีวติ ความสบั สนของจิต เกิด จากการรับรู้ผดิ -ความขดั แยง้ ของ figure and ground 1.สภาวะของจิตมี 2 ส่วน คือ ภาวะจิตรู้ สานึก(Concious mind)กบั ภาวะจิตไร้ สานึก (UnConcious mind) ซ่ึงภาวะจิต ไร้สานึกถูกควบคุมโดยสญั ชาตญาณ 2 ประการ คือ Life instinct กบั Death Instinct 2.พฤติกรรมอยใู่ นความควบคุมของ พลงั งานจติ 3 ประการคือ id egoและ superegoเป็ นโครงสร้างพ้ืนฐานของ บุคลิกภาพ 3.เนน้ ศึกษาพฒั นาการของวยั เด็ก 4.ปมปัญหาชีวติ (Complex) เกิดจาก ความขดั แยง้ ของพลงั งานจิตในข้นั พฒั นาการตามวยั

19 สรุป School A Key Personality A Key Idea Humanistic-Existential Theory Abraham Maslow (2856-1970) 1.มนุษยม์ ีความสามารถ เป็ นผู้ Carl Rogers สร้างสรรค์ ตอ้ งการความสาเร็จ ความ (1920-1987) ภาคภมู ิใจ 2.มนุษยต์ อ้ งการความรัก ความเอ้ือ อาทร 3.ความผดิ หวงั ความลม้ เหลว และการ ขาดความรัก การไมไ่ ดร้ ับการยอมรับ เป็ นสาเหตขุ องความทุกข์ เป็ นปัญหา ชีวติ Cognitive Psychology Albert Bandura 1.ศึกษากระบวนการทางจติ (Mental -Albert Ellis Process) ไดแ้ ก่ กระบวนการรับรู้ -Aaron Beck ความคิด จินตนาการ ความจา ซ่ึงเป็ น -Ulric Neisser การทางานของสมอง 2.กิจกรรมของจิต/กระบวนการคดิ ไม่ สามารถสงั เกตไดใ้ นรูปพฤติกรรมเสมอ ไป 3.ศึกษากระบวนการคิดและการเขา้ ใจ ในรูปของinformation processing

20 1.3 ความสัมพนั ธ์ของจิตวทิ ยากบั ศาสตร์อนื่ ๆ 1. จิตวิทยาและมนุษยวิทยา โดยท่ีมนุษยวิทยาเป็ นการศึกษามนุษย์ ซ่ึงเป็ นความหมายท่ี กวา้ ง การศึกษามนุษยวทิ ยามีหลายกลุ่ม และ มนุษยวิทยาสาขากายภาพ (Physical Anthropology) ศึกษาลกั ษณะทางกายภาพของประชากรเผา่ ต่าง ๆ รวมถึงสติปัญญา และลกั ษณะอารมณ์ของมนุษย์ เช้ือชาติต่าง ๆ และมีแขนงยอ่ ยท่ีศึกษาดา้ นวฒั นธรรม การดารงชีวิตของชนกลุ่มต่าง ๆ จึงเห็นได้ วา่ ท้งั จิตวทิ ยา และมนุษยวทิ ยาต่างกศ็ ึกษาดา้ นพฤติกรรมมนุษย์ 2. จิตวทิ ยาและสังคมวทิ ยา สังคมวทิ ยาเป็ นศาสตร์ท่ีศึกษาเกี่ยวกบั กลุ่มชนในสังคมหรือ วฒั นธรรมเฉพาะ มุ่งเนน้ การศึกษาปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรม การหยา่ ร้าง การพฒั นาครอบครัว สงครามและความขดั แยง้ ระหว่างกลุ่มชนในรูปแบบต่าง ๆ ดงั น้ัน จิตวิทยาและสังคมวิทยาจึง เกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาดา้ นธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ และเกิดสาขาวชิ า จิตวทิ ยาสงั คมข้ึน 3. จิตวทิ ยาและสรีรวทิ ยา (Physiology) เป็ นการศึกษาถึงหนา้ ท่ีและโครงสร้างของอวยั วะ ต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น หวั ใจ กระเพาะอาหาร และระบบที่สาคญั ในการดารงชีวิตของร่างกาย เช่น ระบบการยอ่ ยอาหาร การหมุนเวยี นของเลือดเป็ นตน้ ซ่ึงจิตวทิ ยาไดใ้ หค้ วามสนใจกบั ความผดิ ปกติ ตา่ ง ๆ ของร่างกาย อนั เป็นสาเหตุของความผดิ ปกติทางจิตใจ 4. จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ท้งั สองส่วนน้ีมุ่งศึกษาดา้ นพฤติกรรมมนุษย์ โดยที่เศรษฐศาสตร์เป็ นการศึกษาดา้ นการจดั สรรทรัพยากรที่มีอยู่จากดั ของมนุษย์ ส่วนรัฐศาสตร์ เป็นดา้ นการบริหารการปกครอง ซ่ึงสมั พนั ธ์กบั จิตวทิ ยาท่ีศึกษาบุคคล จะเห็นไดว้ ่าจิตวิทยาน้ันเป็ นศาสตร์ท่ีผสมกลมกลืนกบั ศาสตร์อื่น ๆ ดงั น้ันในการศึกษา จิตวทิ ยาจึงตอ้ งคานึงถึงความเกี่ยวขอ้ งกบั ศาสตร์ต่าง ๆ ดงั กล่าวดว้ ย

21 บทท่ี 2 วุฒิภาวะ การรับรู้ การเรียนรู้ วฒุ ิภาวะ ( Maturation ) มนุษยม์ ีมีพฒั นาการในการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติมีกาหนด เวลาเป็นของตนเอง เป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ มี่ข้นั ลาดบั อตั รา แบบแผนเป็ นการพร้อมท่ี จะทาไดเ้ องตามธรรมชาติ ไม่ตอ้ งมีการสอบ และเราสามารถพยากรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง ซ่ึงก็คือ วฒุ ิภาวะ หมายถึงการบรรลุถึงข้นั ของความเจริญเติบโตเตม็ ท่ีในระยะใดระยะหน่ึง และพร้อมท่ีจะประกอบ กิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงไดพ้ อเหมาะสมกบั วยั เช่น การที่เด็กสามารถเดินไดใ้ นเวลาที่ควรจะเดิน ได้ เราเรียกวา่ เดก็ มีวฒุ ิภาวะพร้อมที่จะเดิน เป็นตน้ วฒุ ิภาวะ (Maturation) หมายถึงสภาวะการเปลี่ยนแปลงของร่างกายท่ีเกิดข้ึนถึงระดบั การ แสดงศกั ยภาพท่ีมีอยภู่ ายในตวั เด็กแตล่ ะคนในระยะใดระยะหน่ึงท่ีกาหนดตามวถิ ีทางของธรรมชาติ และนามาซ่ึงความสามารถทาส่ิงใดส่ิงหน่ึงไดเ้ หมาะสมกบั วยั ศกั ยภาพท่ีเดก็ แสดงออกมาในเวลา อนั สมควรหรือที่เรียกวา่ ระดบั วฒุ ิภาวะ(Maturation) ท่ีมีอยใู่ นตวั เดก็ ต้งั แตก่ าเนิดและถูกกาหนด โดยพนั ธุกรรมดว้ ยเหตุน้ีระดบั วฒุ ิภาวะของเด็กที่จะแสดงความสามารถอยา่ งเดียวกนั อาจแสดง ออกมาในช่วงเวลาที่แตกตา่ งกนั ได้ เช่น โดยทวั่ ไปเด็กจะวาดรูปส่ีเหลี่ยมตามแบบได้ ประมาณอายุ 4 ปี เดก็ บางคนอาจจะทาไดเ้ ร็วหรือชา้ กวา่ เกณฑน์ ้ี ข้ึนอยกู่ บั ความสามารถในการควบคุมการทางาน ของกลา้ มเน้ือมือและความสัมพนั ธ์ของมือและตา รวมท้งั ทกั ษะการรับรู้เกี่ยวกบั รูปร่างสามารถทา หนา้ ท่ีตา่ งๆไดส้ าเร็จ ไดม้ ีการแบง่ วุฒิภาวะออกเป็น 2 ประเภท คือ 1)วฒุ ิภาวะทางกาย (Mature Growth) และ 2) วฒุ ิภาวะทางใจ (Maturity) 1.วฒุ ิ ภาวะทางกาย (Mature Growth)เป็นการบรรลุถึงความพร้อมดา้ นร่างกาย ท้งั การ เจริญเติบโตดา้ นโครงสร้างร่างกาย ระบบประสาทที่ส่ังการใหอ้ วยั วะและกลา้ มเน้ือทางาน เช่น เดก็ ท่ีมีวฒุ ิภาวะทางกายพร้อมที่จะเขา้ เรียนไดแ้ ลว้ สมองจะตอ้ งสามารถบงั คบั กลา้ มเน้ือ แขน มือ และ นิ้วใหจ้ บั ดินสอได้ ตาสามารถมองเห็นไดช้ ดั เจน 2.วฒุ ิภาวะทางใจ (Maturity)เป็นการบรรลุถึงความพร้อมในการควบคุมอารมณ์และการใช้ เหตุผล ส่วนมากเกิดจากการเรียนรู้เอง และการไดร้ ับการอบรมฝึกฝน ฉะน้นั วฒุ ิภาวะทางใจอาจไม่ เทา่ กนั ในคนอายเุ ท่ากนั คนอายนุ อ้ ยอาจมีวฒุ ิภาวะทางใจสูงกวา่ คนอายมุ ากกวา่ ได้ วฒุ ิภาวะทางใจ จะเจริญเตม็ ที่ในวยั กลางคน ในขณะท่ีวฒุ ิภาวะทางกายจะเจริญถึงข้นั สูงสุด เมื่อสิ้นสุดวยั รุ่น สรุปไดว้ า่ วฒุ ิภาวะ หมายถึงการบรรลุถึงข้นั ของความเจริญเติบโตเตม็ ท่ีในระยะใดระยะ หน่ึง และพร้อมท่ีจะประกอบกิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงไดพ้ อเหมาะสมกบั วยั เช่น การท่ีเด็ก สามารถเดินไดใ้ นเวลาท่ีควรจะเดินได้ เราเรียกวา่ เด็กมีวฒุ ิภาวะพร้อมท่ีจะเดิน เป็นตน้

22 การรับรู้และกระบวนการรับรู้ การรบั รู้ หมายถงึ การแปลความหมายจากการสมั ผสั โดยเรม่ิ ตงั้ แต่ การมสี งิ่ เรา้ มา กระทบกบั อวยั วะรบั สมั ผสั ทงั้ หา้ และสง่ กระแสประสาท ไปยงั สมอง เพอ่ื การแปลความ กระบวนการของการรบั รู้ (Process) เป็นกระบวนการทค่ี าบเกย่ี วกนั ระหวา่ งเรอ่ื งความเขา้ ใจ การคดิ การ รสู้ กึ (Sensing) ความจา (Memory) การเรยี นรู้ (Learning)การตดั สนิ ใจ (Decision making) Sensing -----> Memory ------> Learning -------> Decision making กระบวนการของการรบั รู้ เกดิ ขน้ึ เป็นลาดบั ดงั น้ี ส่ิงเร้าไม่ว่าจะเป็นคน สตั ว์ ส่ิงของ หรอื สถานการณ์ มาเรา้ อินทรยี ์ ทาให้เกิดการสมั ผสั (Sensation) และเม่อื เกิดการสมั ผสั บุคคล จะเกิดมอี าการแปล การสมั ผสั และมเี จตนา (Conation) ท่จี ะ แปลสมั ผสั นนั้ การแปลสมั ผสั จะเกดิ ขน้ึ ในสมอง ทาใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมต่างๆ เช่น การทเ่ี ราไดย้ นิ เสยี ง ดงั ปงั ปงั ๆ สมองจะแปลเสยี งดงั ปงั ปงั โดยเปรยี บเทยี บกบั เสยี ง ท่เี คยไดย้ นิ ว่าเป็น เสยี งของอะไร เสยี งปืน เสยี งระเบดิ เสยี งพลุ เสยี งประทดั เสยี งของท่อไอเสยี รถ เสยี งเคร่อื งยนต์ระเบดิ หรอื เสยี ง อะไร ในขณะเปรยี บเทยี บ จติ ตอ้ งมเี จตนา ปนอยู่ ทาให้เกดิ แปลความหมาย และ ต่อไปกร็ วู้ ่า เสยี งท่ี ได้ยินนัน่ คือ เสียงอะไร อาจเป็นเสียงปืน เพราะบุคคลจะแปลความหมายได้ ถ้าบุคคลเคย มี ประสบการณ์ในเสียงปืนมาก่อน และอาจแปลได้ว่า ปืนท่ดี งั เป็นปืนชนิดใด ถ้าเขาเป็นตารวจ จาก ตวั อยา่ งขา้ งตน้ น้ี เราอาจสรปุ กระบวนการรบั รู้ จะเกดิ ไดจ้ ะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบดงั ต่อไปน้ี 1. มสี งิ่ เรา้ ( Stimulus ) ทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ การรรบั รู้ เช่น สถานการณ์ เหตุการณ์ สงิ่ แวดลอ้ ม รอบกาย ทเ่ี ป็น คน สตั ว์ และสง่ิ ของ 2. ประสาทสมั ผสั ( Sense Organs ) ทท่ี าใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ สมั ผสั เช่น ตาดู หฟู งั จมกู ได้ กลนิ่ ลน้ิ รรู้ ส และผวิ หนงั รรู้ อ้ นหนาว 3. ประสบการณ์ หรอื ความรเู้ ดมิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สง่ิ เรา้ ทเ่ี ราสมั ผสั 4. การแปลความหมายของสงิ่ ทเ่ี ราสมั ผสั สง่ิ ทเ่ี คยพบเหน็ มาแลว้ ยอ่ มจะอยใู่ นความทรง จาของสมอง เมอ่ื บุคคลไดร้ บั สงิ่ เรา้ สมองกจ็ ะทาหน้าทท่ี บทวนกบั ความรทู้ ม่ี อี ยเู่ ดมิ วา่ สงิ่ เรา้ นนั้ คอื อะไร เมอ่ื มนุษยเ์ ราถกู เรา้ โดยสง่ิ แวดลอ้ ม กจ็ ะเกดิ ความรสู้ กึ จากการสมั ผสั (Sensation) โดย อาศยั อวยั วะสมั ผสั ทงั้ 5 คอื ตา ทาหน้าทด่ี คู อื มองเหน็ หทู าหน้าทฟ่ี งั คอื ไดย้ นิ ลน้ิ ทาหน้าทร่ี ู้ รส จมกู ทาหน้าทด่ี มคอื ไดก้ ลน่ิ ผวิ หนงั ทาหน้าทส่ี มั ผสั คอื รสู้ กึ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง กระบวนการรบั รู้ กส็ มบรู ณ์แต่จรงิ ๆ แลว้ ยงั มกี ารสมั ผสั ภายในอกี 3 อยา่ งดว้ ยทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ รารบั สมั ผสั สงิ่ ต่างๆ ลาดบั ขนั้ ของกระบวนการรบั รกู้ ารรบั รจู้ ะเกดิ ขน้ึ ได้ ตอ้ งเป็นไปตามขนั้ ตอนของกระบวนการดงั น้ี ขนั้ ท่ี 1 สงิ่ เรา้ ( Stimulus )มากระทบอวยั วะสมั ผสั ของอนิ ทรยี ์ ขนั้ ที่ 2 กระแสประสาทสมั ผสั วงิ่ ไปยงั ระบบประสาทสว่ นกลาง ซง่ึ มศี ูนยอ์ ยทู่ ส่ี มองเพ่อื สงั่ การ ตรงน้เี กดิ การรบั รู้ ( Perception )

23 ขนั้ ที่ 3 สมองแปลความหมายออกมาเป็นความรคู้ วามเขา้ ใจโดยอาศยั ความรเู้ ดมิ ประสบการณ์เดมิ ความจา เจตคติ ความตอ้ งการ ปทสั ถาน บุคลกิ ภาพ เชาวน์ปญั ญา ทาใหเ้ กดิ การตอบสนองอยา่ งใดอย่างหน่งึ การรบั รู้ ( Perception ) ตวั อย่าง ขณะนอนอย่ใู นห้องไดย้ นิ เสยี งรอ้ งเรยี กเหมยี วๆๆรวู้ ่าเป็นเสยี งรอ้ งของสตั ว์ และรตู้ ่อไปวา่ เป็นเสยี งของแมว เสยี งเป็นเครอ่ื งเรา้ (Stimulus) เสยี งแล่นมากระทบหใู นหมู ปี ลาย ประสาท (End organ) เป็นเคร่อื งรบั (Receptor) เคร่อื งรบั ส่งกระแสความรสู้ กึ (Impulse) ไปทาง ประสาทสมั ผสั (Sensory nerve) เขา้ ไปส่สู มอง สมองเกดิ ความต่นื ตวั ขน้ึ (ตอนน้ีเป็นสมั ผสั ) ครนั้ แลว้ สมองทาการแยกแยะว่า เสยี งนนั้ เป็นเสยี งคนเป็นเสยี งสตั ว์ เป็นเสยี งของแมวสาวเป็นเสยี ง แมวหนุ่ม รอ้ งทาไมเราเกิดอาการรบั รู้ ตอนหลงั น้ีเป็น การรบั รู้ เม่อื เรารวู้ ่าเป็นเสยี งของแมว เรยี ก ทาใหเ้ ราตอ้ งการรวู้ ่าแมวเป็นอะไร รอ้ งเรยี กทาไมเราจงึ ลุกขน้ึ ไปดแู มวตาม ตาแหน่งเสยี ง ม่ไี ด้ยนิ และขานรบั สมองก็สงั่ ให้กล้ามเน้ือปากทาการเปล่งเสียงขานรบั ตอนน้ีทางจติ วทิ ยา เรยี กว่า ปฏกิ ริ ยิ าหรอื การตอบสนอง (Reaction หรอื Response) เมอ่ื ประสาทต่นื ตวั โดยเครอ่ื งเรา้ จะเกดิ มปี ฏกิ ริ ยิ า คอื อาการตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ กลไกของการรบั รู้ กลไกการรบั รเู้ กดิ ขน้ึ จากทงั้ สง่ิ เรา้ ภายนอกและภายในอนิ ทรยี ์ มอี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรม อวยั วะรบั สมั ผสั (Sensory organ) เป็น เคร่อื งรบั สง่ิ เรา้ ของมนุษย์ ส่วนทร่ี บั ความรสู้ กึ ของอวยั วะ รบั สมั ผสั อาจอยลู่ กึ เขา้ ไปขา้ งใน มองจากภายนอกไมเ่ หน็ อวยั วะรบั สมั ผสั แต่ละอยา่ งมปี ระสาท รบั สมั ผสั (Sensory nerve) ช่วยเช่อื มอวยั วะรบั สมั ผสั กับเขตแดนการรบั สมั ผสั ต่าง ๆ ท่สี มอง และส่งผ่านประสาทมอเตอร์ (Motor nerve) ไปสู่อวยั วะมอเตอร์ (Motor organ) ซ่งึ ประกอบไป ดว้ ยกลา้ มเน้ือและต่อมต่างๆ ทาใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองของอวยั วะมอเตอร์ และจะออกมาใน รูปใดข้นึ อยู่กับ การบังคับบัญชาของระบบประสาท ส่วนสาเหตุท่ีมนุษย์เราสามารถไวต่อ ความรสู้ กึ กเ็ พราะ เซลประสาทของประสาทรบั สมั ผสั แบ่งแยกแตกออกเป็นกงิ่ ก้านแผ่ไปตดิ ต่อ กบั อวยั วะรบั สมั ผสั และทอ่ี วยั วะรบั สมั ผสั มเี ซลรบั สมั ผสั ทม่ี คี ุณสมบตั เิ ฉพาะตวั จงึ สามารถทา ใหม้ นุษยร์ บั สมั ผสั ไดจ้ ติ ใจตดิ ต่อกบั โลกภายนอกไดโ้ ดยการสมั ผสั คนตาบอดแมอ้ ธบิ ายใหฟ้ งั ว่า สีแดง สีเขียวเป็นอย่างไร เขาก็จะเข้าใจให้ถูกต้องไม่ได้เลย เพราะเร่อื งสีจะต้องรู้ด้วยตา เคร่อื งมอื สมั ผสั อยา่ งหน่ึงกท็ าหน้าทอ่ี ย่างหน่ึง คนหูหนวกย่อมไม่รสู้ กึ ถงึ ลลี าความไพเราะของ เสยี งเพลง ดงั นัน้ การสอนจงึ เน้นว่า \"ให้สอนโดยทางสมั ผสั \" การรบั รนู้ ับว่าเป็นพ้นื ฐานสาคญั ของการเรยี นรู้ การรบั รทู้ ถ่ี กู ต้องจงึ จะส่งผล ใหไ้ ดร้ บั ความรทู้ ถ่ี ูกตอ้ ง นกั เรยี นตอ้ งไดก้ ารรบั รทู้ ่ี ถูกต้อง มิฉะนัน้ ความรู้ท่ีรบั ไปก็ผิดหมด อวยั วะสมั ผัส กับการรบั รู้มนุษย์ย่อมมพี ฤติกรรม สนองตอบสง่ิ แวดลอ้ มกระบวนการของการรบั รเู้ ป็นสง่ิ แรกทม่ี นุษยส์ นองตอบต่อสงิ่ แวดลอ้ มและ ระบบประสาท อวยั วะสมั ผสั เป็นปจั จยั สาคญั ของกระบวนการรบั รูต้ ้องมคี วามสมบูรณ์จงึ จะ สามารถรบั รู้สงิ่ เร้าได้ดเี พราะอวยั วะสมั ผสั รบั สิง่ เรา้ ท่มี ากระทบประสาทรบั สมั ผสั ส่งกระแส

24 ประสาทไปยงั สมองเพ่อื ใหส้ มองแปลความหมายออกมา เกดิ เป็นการรบั รู้ และอวยั วะสมั ผสั ของ มนุษย์ มขี ดี ความสามารถจากดั กลน่ิ อ่อนเกนิ ไป เสียงเบาเกินไป แสงน้อยเกินไปย่อมจะรบั สมั ผสั ไม่ได้ ดงั นัน้ ประเภท ขนาด คุณภาพของสงิ่ เรา้ จงึ มผี ลต่อการรบั รแู้ ละการตอบสนอง สงิ่ เรา้ บางประเภทไมส่ ามารถกระตุน้ อวยั วะสมั ผสั ของเราได้ เช่น คล่นื วทิ ยุ องคป์ ระกอบของการรบั รู้ 1.สง่ิ เรา้ ไดแ้ ก่วตั ถุ แสง เสยี ง กลน่ิ รสต่างๆ 2.อวยั วะรบั สมั ผสั ไดแ้ ก่ หู ตา จมกู ลน้ิ ผวิ หนงั ถา้ ไมส่ มบรู ณ์จะทาใหส้ ญู เสยี การรบั รู้ ได3้ .ประสาทในการรบั สมั ผสั เป็นตวั กลางส่งกระแสประสาทจากอวยั วะรบั สมั ผสั ไปยงั สมองสว่ นกลาง เพอ่ื การแปลความต่อไป 4.ประสบการณ์เดมิ การรจู้ กั การจาได้ ทาใหก้ ารรบั รไู้ ดด้ ขี น้ึ 5.คา่ นิยม ทศั นคติ 6.ความใส่ใจ ความตงั้ ใจ 7.สภาพจติ ใจ อารมณ์ เชน่ การคาดหวงั ความดใี จ เสยี ใจ 8. ความสามารถทางสตปิ ญั ญา ทาใหร้ บั รไู้ ดเ้ รว็ การจดั ระบบการรบั รู้ มนุษยเ์ มอ่ื พบสงิ่ เรา้ ไมไ่ ดร้ บั รตู้ ามทส่ี ง่ิ เรา้ ปรากฏแต่จะนามาจดั ระบบตามหลกั ดงั น้ี 1.หลกั แหง่ ความคลา้ ยคลงึ ( Principle of similarity) สงิ่ เรา้ ใดทม่ี คี วามคลา้ ยกนั จะรบั รวู้ ่า เป็นพวกเดยี วกนั 2.หลกั แห่งความใกลช้ ดิ (Principle of proximity ) สง่ิ เรา้ ทม่ี คี วามใกลก้ นั จะรบั รวู้ า่ เป็น พวกเดยี วกนั 3.หลกั แห่งความสมบรู ณ์ (Principle of closure) เป็นการรบั รสู้ งิ่ ทไ่ี มส่ มบูรณ์ใหส้ มบูรณ์ ขน้ึ ความคงที่ของการรบั รู้ ( Perceptual constancy ) ความคงทใ่ี นการรบั รมู้ ี 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1.การคงทข่ี องขนาด 2.การคงทข่ี องรปู แบบ รปู ทรง 3.การคงทข่ี องสแี ละแสงสว่าง การรบั รทู้ ผ่ี ดิ พลาด แมว้ ่ามนุษยม์ อี วยั วะรบั สมั ผสั ถงึ 5 ประเภทแต่มนุษยก์ ย็ งั รบั รู้ ผดิ พลาดได้ เชน่ ภาพลวงตา การรบั ฟงั ความบอกเลา่ ทาใหเ้ รอ่ื งบดิ เบอื นไป การมี ประสบการณ์และคา่ นิยมทแ่ี ตกต่างกนั ดงั นนั้ การรบั รถู้ ้าจะใหถ้ กู ตอ้ ง จะตอ้ งรบั รโู้ ดยผา่ น ประสาทสมั ผสั หลายทาง ผา่ นกระบวนการคดิ ไตรต่ รองใหม้ ากขน้ึ

25 ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อการรับรู้ 1. ธรรมชาติของผู้รับรู้ ภาวะที่ทาใหก้ ารรับรู้เปลี่ยนไปชว่ั คราวเช่น ด่ืมเหลา้ หรือ เพงิ่ กินยามา อาจจะทาใหก้ าร รับรู้เปลี่ยนแปลงไป นอกจากน้ี ยงั มีปัจจยั เร่ืองของความคุน้ เคยที่มีต่ออีกฝ่ าย (คุน้ เคยมากจะให้ ความสนใจมาก) และ ความรู้สึกท่ีมีตอ่ อีกฝ่ าย (ถา้ ชอบ กจ็ ะมองทุกอยา่ งวา่ ดี) นอกจากน้ีภาวะ อารมณ์ของผรู้ ับรู้ก็จะมีผลต่อการรับรู้ เช่น ถา้ เรารู้สึกมีความสุขหรือต่ืนเตน้ อยู่ เราก็จะมองวา่ คน อื่นร่าเริงกวา่ ความเป็ นจริง 2. ธรรมชาติของสถานการณ์ ผรู้ ับจะไดร้ ับผลกระทบจากลกั ษณะที่ชดั เจนแจง่ แจง้ ที่สุดของอีกฝ่ าย เช่น เรามกั จะสงั เกต คนที่แจง่ ตวั หรู ไม่กซ็ อมซ่อได้ แต่จะไม่ค่อยสนใจคนที่แต่งตวั ธรรมดา เช่นเดียวกนั คนท่ีทาผลงาน ไดด้ ีมาก กบั แยม่ าก กจ็ ะถูกจบั ตามากกวา่ คนปกติ นอกจากน้ีคนเรามกั จะไดร้ ับผลกระทบจาก ผลลพั ธ์ของการปฏิสมั พนั ธ์กบั อีกฝ่ าย ถา้ ผลลพั ธ์ออกมาดี เรากม็ กั จะมองอีกฝ่ ายในแง่บวก 3. ปัญหาที่ทาให้การรับรู้ผดิ พลาดไป แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ประเภทคือ  Logical Error = ตดั สินคนจากลกั ษณะเพยี ง 2-3 อยา่ งของเขา เช่น ถา้ เรา พบวา่ เคา้ เป็นคนฉลาด เราอาจคิดไปเองวา่ เคา้ เป็นคนมีความคิดสร้างสรรค์ เช่ือถือได้ ขยนั ขนั แขง็  Halo Effect = ประเมินคนคนน้นั ไปในทางท่ีดีหรือแยใ่ นทุกสถานการณ์ เนื่องจากการมองคนน้นั วา่ เป็ นคน ดี หรือ แย่ โดยทว่ั ๆไป  Projecting = คิดเอาเองวา่ คนอ่ืนมีความเช่ือและใหค้ ุณค่าส่ิงตา่ งๆ เหมือน ตวั เรา  Stereotyping = มองภาพรวมวา่ กลุ่มเป็นอยา่ งน้ี แลว้ คิดวา่ คนในกลุ่มทุกคนก็ ตอ้ งเป็นไปดว้ ย การเรียนรู้(Learning) เรามีการทากิจกรรมต่างๆ มากมายในแตล่ ะวนั เช่น ตื่นเชา้ ข้ึนมาเราอาบน้าแต่งตวั เรา เดินทางมามหาวทิ ยาลยั เขา้ ฟังการบรรยายถูกหอ้ ง เดินไปหอ้ งสมุดโดยไมต่ อ้ งคิด อ่านหนงั สือได้ อยา่ งสบาย ทกั ทายกบั เพ่ือน รับประทานอาหาร เล่นกีฬากบั เพือ่ น เดินทางกลบั บา้ น อาบน้าทาน ขา้ ว ทาการบา้ นไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ฯลฯ ท่านเคยคิดบา้ งไหมวา่ เราสามารถทาสิ่งเหล่าน้ีไดอ้ ยา่ งไร เม่ือท่านเป็นเดก็ เลก็ ๆ อยทู่ า่ นยงั ไมส่ ามารถทาสิ่งเหล่าน้ีได้ เม่ือเวลาผา่ นไปทา่ นสามารถ ทาส่ิงต่างๆ ไดม้ ากยง่ิ ข้ึน กระบวนการที่อยเู่ บ้ืองหลงั การเปลี่ยนแปลงจากการยงั ไมส่ ามารถทา

26 ไดม้ าเป็นการมีความสามารถทาไดน้ ้ี เรียกวา่ การเรียนรู้ (Learning) การเรียนรู้หมายถึง การ เปล่ียนแปลงพฤติกรรมอยา่ งถาวรซ่ึงเกิดมาจากประสบการณ์หรือการฝึกหดั (Bernstein. 1999 : 149) การเปลี่ยนแปลงน้ีเป็ นการเปล่ียนทางอวยั วะ ทางสติปัญญา ทางสังคมหรือทางอารมณ์ก็ ได้ เราอาจเรียนรู้จากครอบครัว ส่ือมวลชน เพอื่ น บุคคลทว่ั ไปและพฤติกรรมสังคมอ่ืนๆ ที่เราพบ เห็น แต่บางคนทาพฤติกรรมแปลกๆ ไปเพราะฤทธ์ิยา ฤทธ์ิแอลกอฮอล์ พฤติกรรมเหล่าน้ีไมถ่ ือวา่ เป็นการเรียนรู้เพราะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมน้นั ไม่ถาวร การกระทาบางอยา่ งเน่ืองจากวฒุ ิภาวะ ก็ไม่ถือวา่ เป็นการเรียนรู้เช่น เด็กคว่าไดก้ ่อนคลาน คลานไดก้ ่อนเดิน การเปล่ียนแปลงดงั กล่าวน้ี ไม่ไดเ้ กิดจากการฝึกฝนหรือประสบการณ์ รวมท้งั นกั เรียนท่ีนง่ั ฟังครูอยใู่ นหอ้ ง โดยไม่ไดร้ ู้อะไร เลย ฟังแบบเขา้ หูซา้ ยทะลุหูขวากไ็ มจ่ ดั วา่ เป็นการเรียนรู้ เพราะไมไ่ ดเ้ กิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม อาจสรุปไดว้ า่ พฤติกรรมที่ไมไ่ ดจ้ ดั วา่ เป็ นผลที่เกิดจากการเรียนรู้ไดแ้ ก่ 1. พฤติกรรมที่ตอบสนองตามธรรมชาติหรือที่เรียกวา่ ปฏิกิริยาสะทอ้ น (reflexes) เช่น การกระตุกของหวั เขา่ การกระพริบตา การหายใจ พฤติกรรมเหล่าน้ีมีมาแต่กาเนิดไม่ตอ้ ง ฝึ กฝน 2. พฤติกรรมบางอยา่ งและความสามารถบางอยา่ งทาข้ึนมาไดห้ รือถูกจากดั ใหท้ าไม่ ไดด้ ว้ ยพนั ธุกรรมเช่น ปลาวา่ ยน้าได้ นกบินได้ มนุษยบ์ ินไมไ่ ด้ พฤติกรรมท่ีกล่าวมาน้ีมีผเู้ รียกวา่ เป็นสัญชาติญาณ (instincts) และพฤติกรรมที่เป็นผลจากวฒุ ิภาวะ (maturation) เช่น ลูกเป็ดเดินได้ หลงั จากฟักออกจากไข่แลว้ ระยะหน่ึง ทารกเดินไดเ้ ม่ือถึงอายอุ นั สมควร พฤติกรรมเหล่าน้ีมีมาแต่ กาเนิดไมต่ อ้ งฝึกฝนหรือฝึกฝนบางอยา่ งก็ไม่สามารถทาไดเ้ ช่น มนุษยไ์ มส่ ามารถบินไดถ้ ึงแมจ้ ะ ฝึกฝนอยา่ งไรก็ไมส่ ามารถบินได้ แต่สามารถวา่ ยน้าไดถ้ า้ ไดร้ ับการฝึกฝนอยา่ งถูกตอ้ งเพียงพอ 3. พฤติกรรมที่เกิดข้ึนชวั่ คราวในระยะเวลาหน่ึงเช่น เวลาเหน่ือยอ่อนเพลีย เวลา ป่ วย เวลาไดร้ ับยาหรือสารเคมีที่ทาใหพ้ ฤติกรรมเปล่ียนไปชว่ั คราวเช่น พวกยาเสพติดหรือสาร กล่อมประสาท การเรียนรู้ของมนุษยม์ ีความสาคญั มากต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ เพราะการเรียนรู้ ทาใหม้ นุษยม์ ีพฤติกรรมที่สลบั ซบั ซอ้ นมากข้ึน โดยเฉพาะในสังคมปัจจุบนั เป็ นสังคมท่ีมีการ เปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีอยา่ งรวดเร็ว การเรียนรู้จึงเป็ นปัจจยั สาคญั ที่ทาใหม้ นุษยส์ ามารถ ปรับตวั ไดท้ นั การเปล่ียนแปลงของสงั คมและสามารถดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ใน บทน้ีจะกล่าวถึงการเรียนรู้ของมนุษยไ์ ดแ้ ก่ การเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical conditioning) การเรียนรู้การวางเง่ือนไขแบบการกระทา (Operant conditioning) การเรียนรู้การรู้ คิด (Cognitive Learning) การเรียนรู้โดยการสงั เกต (Observation Learning)

27 การเรียนรู้การวางเง่ือนไขแบบคลาสสิก(Classical conditioning) การเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกพฒั นาโดยนกั สรีรวทิ ยาชาวรัสเซีย Ivan P. Pavlov (1849-1936) งานการพฒั นาทฤษฎีการเรียนรู้การวางเง่ือนไขแบบคลาสสิกของ Pavlov อาจกล่าว ไดว้ า่ เริ่มตน้ จากการท่ี Pavlov ไดส้ งั เกตเห็นวา่ สุนขั ของเขาน้นั มีอาการน้าลายไหล เม่ือไดย้ นิ เสียง เดินของเขา นอกเหนือจากการเห็นอาหารแลว้ น้าลายไหล เขาเรียกการสนองตอบเช่นน้ี (น้าลาย ไหล) วา่ ปฏิกิริยาสะทอ้ นกลบั ทางจิต (Psychic Reflexes) และต่อมาไดเ้ ปล่ียนชื่อมาเป็น การวาง เง่ือนไขปฏิกิริยาสะทอ้ น (Conditioned Reflexes) กำรพฒั นำกำรวำงเงอ่ื นไขปฏกิ ริ ยิ ำสะทอ้ น การวางเง่ือนไขปฏิกิริยาสะทอ้ นหรืออีกนยั หน่ึงคือ การวางเงื่อนไขเพื่อให้ เกิดการเรียนรู้การสนองตอบน้นั จะตอ้ งมี 1. สิ่งเร้าท่ีไมต่ อ้ งวางเง่ือนไข (Unconditioned Stimulus หรือ UCS) เป็นสิ่ง เร้าที่สามารถกระตุน้ ให้อินทรียเ์ กิดการสนองตอบไดโ้ ดยอตั โนมตั ิตามธรรมชาติ 2. การสนองตอบที่ไมต่ อ้ งวางเง่ือนไข (Unconditioned Response หรือ UCR) เป็นการสนองตอบโดยอตั โนมตั ิ ท่ีเกิดจากการกระตุน้ ของสิ่งเร้าท่ีไมต่ อ้ งวางเงื่อนไข 3. สิ่งเร้าที่ตอ้ งวางเง่ือนไข (Conditioned Stimulus หรือ CS) เป็นสิ่งเร้าที่ เป็นกลาง (Neutral stimulus) ที่ไม่สามารถกระตุน้ ให้อินทรียเ์ กิดการสนองตอบโดยอตั โนมตั ิได้ ตามธรรมชาติ 4. การสนองตอบท่ีตอ้ งวางเงื่อนไข (Conditioned Response หรือ CR) เป็น การสนองตอบโดยอตั โนมตั ิ ท่ีเกิดข้ึนจากการวางเง่ือนไขร่วมของส่ิงเร้าที่ไมต่ อ้ งวางเงื่อนไขและ ส่ิงเร้าที่ตอ้ งวางเง่ือนไข การหยดุ ย้งั (Extinction) ในการเรียนรู้การวางเง่ือนไขการตอบสนองน้นั จะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อสิ่งเร้าที่ตอ้ งวางเงื่อนไข น้นั สามารถท่ีจะกระตุน้ ใหเ้ กิดการตอบสนองท่ีตอ้ งวางเงื่อนไขแลว้ แตท่ วา่ การตอบสนองที่ตอ้ ง วางเง่ือนไขหลงั จากท่ีไดเ้ กิดการเรียนรู้แลว้ น้นั อาจจะยตุ ิลงไดถ้ า้ มีการเสนอแตส่ ิ่งเร้าที่ตอ้ งวา่ ง เงื่อนไขแต่เพียงอยา่ งเดียว โดยไม่มีการเสนอส่ิงเร้าที่ไมต่ อ้ งวางเง่ือนไขตามมา ซ่ึงปรากฏการณ์น้ี เรียกวา่ การหยดุ ย้งั

28 ระยะที่ 1 : CS – UCS UCR - CR ระยะท่ี 2 : CS – UCS UCR – CR ตวั อยา่ งเช่น การที่อินทรียไ์ ดเ้ กิดการเรียนรู้ที่จะน้าลายไหลเม่ือไดย้ นิ เสียงกระดิ่ง แต่ หลงั จากน้นั ก็ดาเนินการให้อาหารอยา่ งเดียวโดยไมใ่ หอ้ าหาร ซ่ึงเป็นการหยดุ ย้งั อินทรียก์ ค็ อ่ ย ๆ ลดการไหลของน้าลายลง ถา้ ดาเนินการหยดุ ย้งั (ยตุ ิการเสนอ UCS เร่ือย ๆ ) เสียงกระดิ่งกจ็ ะไม่ สามารถกระตุน้ ให้อินทรียน์ ้าลายไหลไดอ้ ีกเลย ซ่ึงเทา่ กบั วา่ การไหลของน้าลายน้นั ไดถ้ ูกระงบั ลง (Inhibition) การกลบั คนื สู่สภาพเดมิ (Spontaneous) ภายหลงั ท่ีอินทรียไ์ ดร้ ับการหยดุ ย้งั ไปชวั่ ระยะหน่ึงแลว้ เมื่อมีการเสนอส่ิงเร้าท่ีตอ้ งวาง เงื่อนไข การตอบสนองที่ตอ้ งวางเงื่อนไขก็จะไม่เกิดข้ึน แต่ทวา่ ถา้ ทิง้ ช่วงเวลาไวร้ ะยะหน่ึง หลงั จากการหยดุ ย้งั แลว้ จึงเสนอส่ิงเร้าที่ตอ้ งวางเง่ือนไขอีกคร้ังหน่ึง ปรากฏวา่ การตอบสนองที่ ตอ้ งวางเง่ือนไขก็จะเกิดข้ึน (รูปท่ี 7-8) ซ่ึงปรากฏการณ์ลกั ษณะน้ีเรียกวา่ การกลบั คืนสู่สภาพเดิม แตล่ ะช่วงเวลาท่ีผา่ นไปถา้ อินทรียเ์ รียนรู้วา่ UCS จะไม่เกิดข้ึนอีก การตอบสนองท่ีตอ้ งวาง เงื่อนไขกจ็ ะลดความเขม้ ขน้ ในการสนองตอบลงจนกระทง่ั ไมเ่ กิดข้ึนอีกเลย การแผ่ขยาย (Generalization) หลงั จากท่ีอินทรียไ์ ดร้ ับการเรียนรู้เงื่อนไขการตอบสนองแลว้ ถา้ ส่ิงเร้าตวั อ่ืนที่มีลกั ษณะ คลา้ ยคลึงกนั กบั สิ่งเร้าที่ตอ้ งวางเง่ือนไข และยงั ไม่เคยนามาวางเง่ือนไขเลย สามารถกระตุน้ ให้ อินทรียส์ นองตอบเช่นเดียวกบั สิ่งเร้าที่เคยเรียนรู้แลว้ น้นั ปรากฏการณ์เช่นน้ีเรียกวา่ การแผข่ ยาย Moore (1972) ไดท้ ดลองวางเงื่อนไขช๊อคไฟฟ้ าที่บริเวณใกลต้ าของกระต่าย (ให้ UCS) เพอื่ ให้ กระต่ายน้นั กระพริบตา แลว้ ใชเ้ สียงที่ระดบั 1200 Hz เป็นสิ่งเร้าท่ีตอ้ งวางเง่ือนไข (CS) ทาการคู่ กนั ระหวา่ ง CS และ UCS เป็นจานวนกวา่ 200-300 คร้ัง จากน้นั เขาเร่ิมทาการทดสอบการแผ่ ขยายโดยการใชเ้ สียงในระดบั ท่ีตา่ งกนั เช่น 400 Hz 800 Hz 1600 Hz 2000 Hz ซ่ึงเขาพบวา่ ส่ิง เร้าที่ใกลเ้ คียงกบั 1200 Hz ซ่ึงเป็นสิ่งเร้าที่เขาวางเง่ือนไขไวน้ ้นั สามารถกระตุน้ ใหอ้ ินทรียแ์ สดง การตอบสนองไดเ้ ช่นเดียวกบั การใชเ้ สียงในระดบั ที่ 1200 Hz เพียงแต่วา่ ความเขม้ ของการ ตอบสนองน้นั ออ่ นลงเท่าน้นั และสิ่งเร้าที่แตกตา่ งจากสิ่งเร้าเดิมจะช่วยทาใหก้ ารตอบสนองน้นั ออ่ นลงมากไปอีก ดงั น้นั อาจกล่าวไดว้ า่ การเสนอสิ่งเร้าท่ีใกลเ้ คียงกบั สิ่งเร้าท่ีตอ้ งวางเงื่อนไขเดิม มากเท่าใด ยง่ิ จะทาใหม้ ีโอกาสของการแผข่ ยายไดม้ ากข้ึนเทา่ น้นั

29 การแยกแยะ (Didcrimination) กระบวนการท่ีตรงขา้ มกบั การแผข่ ยายคือ การแยกแยะ นคั่ ืออินทรียจ์ ะตอบสนองเฉพาะ สิ่งเร้าที่ตอ้ งวางเง่ือนไขท่ีไดร้ ับการฝึกมาเท่าน้นั ตวั อยา่ งเช่น กระตา่ ยที่ถูกวางเง่ือนไขใหก้ ระพริบ ตาดว้ ยเสียงที่ดงั ขนาด 1200 Hz แต่ถา้ ใหส้ ิ่งเร้าที่เป็นเสียงขนาด 800 Hz แลว้ กระตา่ ยไม่กระพริบ ตา แสดงวา่ กระตา่ ยน้นั เกิดการแยกแยะแลว้ ซ่ึงการเรียนรู้การแยกแยะน้นั มีความสาคญั อยา่ งมาก ต่อชีวติ ประจาวนั ของคนเรา เช่น คนเราควรจะสามารถแยกแยะไดว้ า่ งูประเภทใดเป็ นงูพิษ และงู ประเภทใดไม่มีพษิ หรือแยกแยะไดว้ า่ สุนขั พนั ธุ์ใดเหมาะสมท่ีจะนามาใชใ้ นลกั ษณะใด เป็นตน้ การเรียนรู้การวางเงอื่ นไขแบบการกระทา (Operant Conditioning) ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเง่ือนไขแบบการกระทา พฒั นาโดยนกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั ชื่อ B.F.Skinner (1904-1990) การตอบสนองในแบบของการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคน้นั เป็นไปโดย เจา้ ตวั ควบคุมการตอบสนองโดยตรงไมไ่ ด้ ส่วนการตอบสนองในแบบการวางเงื่อนไขน้นั เรา สามารถควบคุมการกระทาของตนเองได้ เราทาอะไรหลายอยา่ งเพราะเรารู้สึกวา่ การกระทาน้นั จะ ใหผ้ ลดีต่อเรา และเราทาอะไรอยา่ งอื่นเพ่ือหลีกเลี่ยงประสบการณ์ที่ไมด่ ี เราสามารถเปล่ียน พฤติกรรมของเราไดเ้ มื่อเราไดร้ ับผลดีจากการกระทา หรือเม่ือกระทาแลว้ เราถูกลงโทษ การเรียนรู้ การวางเงื่อนไขแบบการกระทาอาจเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ instrumental learning การตอบสนอง ตอ่ เง่ือนไขแบบน้ีเราตอ้ งมีการกระทา (operate) ต่อส่ิงแวดลอ้ ม กฎของการวางเง่ือนไขแบบการ กระทาจะอธิบายถึงการดดั พฤติกรรม (shaping behavior) และการปรับพฤติกรรม (behavior modification) โดยการใชผ้ ลของการกระทาที่จะไดร้ ับการเสริมแรงหรือไดร้ ับการลงโทษตามมา ก่อนการทดลองการวางเงื่อนไขแบบการกระทา เราตอ้ งมน่ั ใจก่อนวา่ ผเู้ รียนมี ความสามารถเบ้ืองตน้ ในการตอบสนองอยา่ งจาเพาะไดก้ ่อน เช่น หนูกดคานได้ นกพิราบจิกคาน ได้ เดก็ ยกมือข้ึนได้ เป็นตน้ ตอ่ จากน้นั จึงนามาใหเ้ งื่อนไขเพอ่ื ใหก้ ารตอบสนองจาเพาะน้นั เพ่มิ ความเขม้ ขน้ หรือเพ่ิมอตั ราความถี่ในการกระทายง่ิ ข้ึน สกินเนอร์ (B.F.Skinner) ไดท้ ดลองเอาหนูไปใส่ในกล่องทดลอง เรียกวา่ Skinner box กล่องน้ีเป็นกล่องที่ปิ ดมิดชิดเสียงลอดเขา้ -ออกไม่ได้ ภายในมีคานอนั เลก็ ๆ และถว้ ยใส่อาหาร ส่ิงท่ีผทู้ ดลองตอ้ งการใหห้ นูที่ถูกใส่ลงไปในกล่องทากค็ ือ การกดคานเพือ่ ที่จะไดร้ ับอาหารในตอน แรกที่หนูถูกนาไปใส่ในกล่อง เช่น วง่ิ ไปรอบ ๆ กล่อง พยายามปี นผนงั กล่องหรือเกาตวั เอง ฯลฯ ในที่สุดหนูกดคานโดยบงั เอิญ ผลท่ีตามมาคือมีอาหารเมด็ เล็ก ๆ ตกลงมาในถว้ ยอยา่ งอตั โนมตั ิ หนูไดร้ ับเมด็ อาหารเป็นรางวลั หลงั จากน้นั หนูกดคานอีกและไดร้ ับอาหารอีกตอ่ เนื่องกนั ไป หนูมี ความสามารถในการกดคานไดเ้ ร็วข้ึนและถ่ียงิ่ ข้ึน การตอบสนองท่ีไม่เก่ียวขอ้ งอื่น ๆ หายไป

30 การเสริมแรง (Reinforcement) การเสริมแรงคือการทาใหค้ วามถ่ีของพฤติกรรมเพมิ่ ข้ึน อนั เป็ นผลเน่ืองมาจากผลกรรมท่ี ตามหลงั พฤติกรรมน้นั ผลกรรมที่ทาใหพ้ ฤติกรรมมีความถี่เพ่ิมข้ึนเรียกวา่ ตวั เสริมแรง (Reinforcement) ตวั เสริมแรงท่ีใชก้ นั อยนู่ ้นั สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็ น 2 ชนิด ดว้ ยกนั คือ 1. ตวั เสริมแรงปฐมภมู ิ (Primary Reinforcer) เป็นตวั เสริมแรงที่มีคุณสมบตั ิดว้ ยตวั ของมนั เอง เนื่องจากสามารถตอบสนองความตอ้ งการทางชีวภาพของอินทรียไ์ ด้ หรือมีผลต่อ อินทรียโ์ ดยตรง เช่น อาหาร น้า อากาศ ความร้อน ความหนาว ความเจบ็ ปวด เป็นตน้ 2. ตวั เสริมแรงทุติยภูมิ (Secondary Reinforcer) เป็นตวั เสริมแรงท่ีตอ้ งผา่ น กระบวนการพฒั นาคุณสมบตั ิของการเป็นตวั เสริมแรง โดยการนาไปสัมพนั ธ์กบั ตวั เสริมแรงปฐม ภมู ิ เช่น คาชมเชย เงิน หรือตาแหน่งหนา้ ท่ี เป็นตน้ ผทู้ ่ีเริ่มทาการศึกษาเก่ียวกบั เร่ืองการเสริมแรงคือ ธอร์นไดค์ (Thorndike) นกั จิตวทิ ยาชาว อเมริกนั ธอร์นไดคพ์ บกฎบางประการเกี่ยวกบั การเรียนรู้กฎหน่ึงคือ กฎแห่งผล (law of effect) งานของธอร์นไดค์ ท่ีรู้จกั กนั ดีคือ การทดลองเก่ียวกบั แมวในกรงปริศนา (puzzle box) ธอร์นไดค์ นาแมวมาใส่ไวใ้ นกรง ถา้ แมวดึงเชือกประตกู รงจะเปิ ดออกได้ และเม่ือแมวหนีออกจากกรงไดก้ ็ จะไดร้ ับรางวลั คือ ปลาดิบ การตอบสนองของแมวคือ การดึงเชือกและความพอใจท่ีไดร้ ับการ ตอบสนองน้ีคือ ไดก้ ินปลาหรือไดร้ ับความเป็นอิสระ แต่ถา้ แมวกระตุกเชือกแลว้ ถูกไฟฟ้ าออ่ น ๆ ดูด (ทาใหเ้ กิดความไมส่ บาย) แทนที่จะไดร้ ับปลาดิบหรือไดร้ ับอิสรภาพ การตอบสนองท่ีถูกตอ้ ง ของแมวจะลดลง ในกฎแห่งผลน้ีธอร์นไดคไ์ มไ่ ดอ้ ธิบายถึงวา่ ถา้ ตอบสนองแลว้ ผลท่ีเกิดข้ึน ไม่ใช่ ท้งั ความพงึ พอใจและความไม่สบาย ไม่พึงพอใจ แลว้ จะเป็นอยา่ งไรตอ่ ไป จึงทาใหน้ กั จิตวทิ ยา สมยั ต่อมาศึกษาเกี่ยวกบั เร่ืองน้ีเพม่ิ ข้ึน อยา่ งไรก็ตามกฎแห่งผลน้ีช่วยใหเ้ ราคาดคะเนไดว้ า่ ผเู้ รียน มีแนวโนม้ ที่จะตอบสนองซ้าอยา่ งเดิมอีกถา้ ไดร้ ับผลกระทาท่ีพงึ พอใจ และหลีกเลียงการ ตอบสนองหรือมีการตอบสนองลดลงถา้ ไดร้ ับผลท่ีไมพ่ ึงพอใจ การเสริมแรงสามารถดาเนินการได้ใน 2 ลกั ษณะด้วยกนั คือ 1. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) คือการเสริมแรงที่มีผลทาใหพ้ ฤติ กรรมท่ีไดร้ ับการเสริมแรงน้นั มีความถ่ีเพมิ่ ข้ึน คนส่วนใหญ่มกั จะเขา้ ในสับสนวา่ การใหก้ าร เสริมแรงทางบวกและการให้รางวลั (Reward) มีความหมายเหมือนกนั แต่ทวา่ ความจริงแลว้ ท้งั สอง อยา่ งมีความหมายแตกต่างกนั การใหก้ ารเสริมแรงทางบวกน้นั เป็นการทาใหพ้ ฤติกรรมมีความถี่ เพม่ิ มากข้ึนในขณะที่การใหร้ างวลั เป็นการใหต้ ่อพฤติกรรมท่ีบุคคลทาสิ่งใดส่ิงหน่ึงตามวาระและ โอกาสที่สาคญั โดยไม่จาเป็นวา่ จะตอ้ งทาใหพ้ ฤติกรรมน้นั มีความถี่เพ่มิ มากข้ึน นอกจากน้ียงั

31 พบวา่ การใชค้ าพดู ตาหนิ หรือการตีบุคคลใดบุคคลหน่ึงก็อาจจะเป็นการเสริมแรงทางบวกได้ ถา้ การกระทาดงั กล่าวส่งผลใหพ้ ฤติกรรมท่ีไดร้ ับการกระทาน้นั มีความถี่เพิ่มมากข้ึน ซ่ึงแน่นอนคงจะ ไม่มีใครมองวา่ การใหค้ าพดู ตาหนิหรือการตีบุคคลใดบุคคลหน่ึงจะเป็นการใหร้ างวลั แก่บุคคลน้นั 2. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) คือการทาใหค้ วามถ่ีของพฤติ กรรมเพิ่มข้ึนอนั เป็นผลมาจากการท่ีแสดงพฤติกรรมดงั กล่าวน้นั สามารถถอดถอนจากสิ่งเร้าท่ีไมพ่ งึ ประสงคอ์ อกไปได้ ส่ิงเร้าท่ีไม่พึงประสงคจ์ ะเป็นตวั เสริมแรงทางลบไดต้ ่อเม่ือพฤติกรรมท่ี แสดงออกเพื่อถอดถอนสิ่งเร้าที่ไมพ่ ึงประสงคน์ ้นั เพม่ิ ข้ึน ตวั อยา่ งการเสริมแรงทางลบ เช่น การ ปิ ดหนา้ ตา่ งและประตเู พื่อไม่ใหไ้ ดย้ นิ เสียงดงั เสียงดงั เป็ นตวั เสริมแรงลบ / เราหลีกเล่ียงการเห็น ภาพที่น่าเกียจโดยการหนั หนา้ ไปทางอ่ืน การเห็นภาพที่น่าเกียดเป็นตวั เสริมแรงลบ เป็นตน้ ส่ิงที่ ไม่พึงพอใจเกิดก่อนท่ีพฤติกรรมจะเกิดข้ึน การกาหนดการเสริมแรง (Schedules of Reinforcement) วธิ ีการใหก้ ารเสริมแรงน้นั มี อิทธิพลตอ่ การทาใหก้ ารตอบสนองเพม่ิ ข้ึนอีกหรือใหล้ ดลง การกาหนดการเสริมแรงน้นั อาจเป็น ในแบบใหก้ ารเสริมแรงอยา่ งตอ่ เนื่อง คือ ใหก้ ารเสริมแรงทุก ๆ คร้ังท่ีมีการตอบสนอง หรืออาจ ใหก้ ารเสริมแรงบางคร้ังบางคราว คือใหก้ ารเสริมแรงตอ่ การตอบสนองบางคร้ังเท่าน้นั การ เสริมแรงอาจใหต้ ามกาหนดอตั ราส่วนจานวนคร้ังของการตอบสนอง (ratio schedules) หรืออาจ ใหต้ ามกาหนดของช่วงเวลา (intrtval schedules) ก็ได้ การกาหนดจานวนคร้ังและการกาหนด ตามเวลาน้นั อาจกาหนดใหแ้ น่นอนสม่าเสมอ หรือใหม้ ีการผนั แปรก็ได้ แบบทหี่ นึ่ง Fixed - ratio Schedules (FR) คือการใหก้ ารเสริมแรงตามอตั ราส่วนของ จานวนการตอบสนองที่แน่นอน เช่น ใหก้ ารชมเชยทุกคร้ังที่เดก็ ทาเลขเสร็จหน่ึงขอ้ ใหค้ ่าจา้ ง คนงานเม่ือบรรจุหีบห่อเสร็จตามจานวนที่ตกลงกนั ไว้ การใหต้ วั เสริมแรงแบบน้ีมีผลดีในการทาให้ การตอบสนองมีอตั ราถ่ีข้ึน การใหต้ วั เสริมแรงทุกคร้ังและใหท้ นั ทีน้นั เหมาะสาหรับการฝึกหดั หรือ การทาใหเ้ กิดการรียนรู้ระยะเร่ิมแรก วธิ ีการกาหนดแบบน้ีควรเริ่มดว้ ยการใหจ้ านวนการ ตอบสนองนอ้ ย ๆ คร้ังก่อนแลว้ ใหต้ วั เสริมแรง ข้นั ตอ่ ไปจึงกาหนดจานวนคร้ังของการตอบสนอง ใหม้ ากข้ึนแลว้ จึงใหต้ วั เสริมแรง เช่น คร้ังแรก ตอบสนอง 1 คร้ัง ใหต้ วั เสริมแรง 1 คร้ัง ตอ่ ๆ ไป เปล่ียนเป็น 5:1, 10:1, …, 75:1 เป็นตน้ การกาหนดแบบน้ีหลงั จากอินทรียไ์ ดร้ ับตวั เสริมแรง แลว้ การตอบสนองจะหยดุ ลงขณะหน่ึงก่อนที่จะมีการตอบสนองต่อไป ถา้ การตอบสนองและการ ใหก้ ารเสริมแรงมีอตั ราส่วนต่าการหยดุ จะนอ้ ยลง แบบทส่ี อง Fixed - Interval Schedule (FI) คือ การใหก้ ารเสริมแรงตามช่วงเวลาท่ี แน่นอนตามกาหนดเอาไว้ เช่น คนทางานไดร้ ับคา่ จา้ งทุกสปั ดาห์หรือทุกเดือนตามกาหนด แบบ

32 FI น้ีอตั ราการตอบสนองอาจเกิดข้ึนอยา่ งไม่สม่าเสมอ อตั ราการตอบสนองภายหลงั จากเพง่ิ ไดร้ ับ การเสริมแรงจะลดลง แต่พอใกลจ้ ะถึงกาหนดไดร้ ับการเสริมแรงอตั ราการตอบสนองจะเพ่มิ สูงข้ึน แบบทส่ี าม Variable - Ratio Schedule (VR) คือการใหก้ ารเสริมแรงตามจานวนคร้ัง ของการตอบสนองโดยไมต่ ายตวั เช่น อาจใหก้ ารเสริมแรงเม่ือมีการตอบสนองแลว้ 3 คร้ัง หลงั จากน้นั เมื่อมีการตอบสนองอีก 2 คร้ังก็ใหก้ ารเสริมแรงอีก และเมื่อมีการตอบสนองอีก 10 คร้ังกใ็ หก้ ารเสริมแรงอีก เป็นตน้ ในกรณีน้ีคา่ เฉลี่ยของอตั ราการตอบสนองต่อการเสริมแรงเป็น 5:1 ตวั อยา่ งของการกาหนดแบบ VR ไดแ้ ก่ การเล่นเกมเส่ียงโชค เม่ือเอาเหรียญไปหยอด….ใส่ตู้ เล่นเกมและกดป่ ุม บางคร้ังเทา่ น้นั จึงจะมีรางวลั ตกลงมา การใหก้ ารเสริมแรงตามกาหนดแบบ VR น้ี การตอบสนองจะเกิดข้ึนในอตั ราท่ีรวดเร็วและสม่าเสมอ ถึงแมว้ า่ อตั ราส่วนของจานวน การตอบสนองต่อการไดร้ ับตวั เสริมแรงจะไมส่ ม่าเสมอกต็ าม พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนจากผลของการ ใชก้ ารกาหนดแบบ VR จึงมีความสม่าเสมอมากกวา่ และคงอยเู่ ป็นเวลานานมากกวา่ แบบ FR แบบทสี่ ี่ Variable - Interval Schedule (VI) คือการใหก้ ารเสริมแรงหลงั จากท่ีการ ตอบสนองเกิดข้ึนแลว้ เป็นระยะเวลาหน่ึง กาหนดช่วงเวลาน้ีไมไ่ ดก้ าหนดแน่นอน เช่น เวลาเรา โทรศพั ทไ์ ปยงั หมายเลขที่โทรศพั ทม์ กั จะไมว่ า่ ง บางคร้ังก็จะตอ่ โทรศพั ทต์ ิดไดเ้ ร็ว บางคร้ังกใ็ ช้ เวลานานกวา่ จะต่อได้ ในช่วงเวลาน้ีการตอบสนองจะเกิดข้ึนตอ่ ไปอยา่ งสม่าเสมอ แต่อตั ราความถ่ี จะนอ้ ยกวา่ แบบการกาหนดอตั ราส่วนของจานวนคร้ังของการตอบสนอง ท้งั แบบกาหนดแน่นอน (FR) และแบบผนั แปร (VR) พฤติกรรมเช่ือถอื โชคลาง Superstitious Behavior) จากการศึกษาของ Skinner (1948) พบวา่ การเสริมแรงแบบอุบตั ิเหตุ น้นั ก่อให้เกิด พฤติกรรมท่ีแปลก ๆ กบั นกพริ าบของเขา นน่ั คือเม่ือนกพริ าบไดเ้ รียนรู้เงื่อนไขการเสริมแรงแลว้ เกิดบงั เอิญท่ีนกพิราบแสดงพฤติกรรมบางอยา่ ง เช่น การบิดคอสองสามรอบหรือการกระดกหวั เพื่อจะจิกของ ซ่ึงเป็นพฤติกรรมท่ีไมไ่ ดเ้ กิดข้ึนโดยปกติวสิ ยั แลว้ บงั เอิญมีตวั เสริมแรงเกิดข้ึน ทา ใหน้ กพริ าบเกิดการเรียนรู้ใหมข่ ้ึน การเรียนรู้ในการแสดงพฤติกรรมที่แปลก ๆ เหล่าน้ีจะคงอยนู่ าน พฤติกรรมเหล่าน้ีจึงเรียกวา่ พฤติกรรมเช่ือถือโชคลาง ซ่ึงเกิดจากการเสริมแรงแบบอุบตั ิเหตุนน่ั เอง (Accidental Reinforcement) ตวั เสริมแรงที่เกิดข้ึนจึงเรียกวา่ ตวั เสริมแรงอุบตั ิเหตุ (Accidental Reinforcer) ลกั ษณะของพฤติกรรมเช่ือถือโชคลางน้นั สามารถเห็นไดท้ ว่ั ไปในสังคมของเรา เช่น การท่ีคนบางคนตอ้ งใส่เส้ือผา้ สีที่เฉพาะเจาะจงเวลาจะไปสมคั รงานหรือไปแข่งขนั กีฬา เป็นตน้ พฤติกรรมลกั ษณะดงั กล่าวคอ่ นขา้ งจะมีปัญหาในการแกไ้ ขเพราะวา่ มกั จะคงอยนู่ าน แมว้ า่ การ

33 แสดงพฤติกรรมดงั กล่าวจะไม่ไดร้ ับการเสริมแรงในเวลาตอ่ มากต็ าม เน่ืองจากไดร้ ับการเสริมแรง แบบอุบตั ิเหตุดงั ที่ไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ นนั่ เอง การแต่งพฤติกรรม (Shaping) การแต่งพฤติกรรม เป็ นการใหอ้ ินทรียแ์ สดงพฤติกรรมเป้ าหมาย โดยการใชว้ ิธีการ เสริมแรงต่อพฤติกรรมท่ีคาดคะเนวา่ จะนาไปสู่พฤติกรรมเป้ าหมาย (Successive Approximation) ลกั ษณะของการแสดงพฤติกรรมน้นั คลา้ ยกบั เกมของเด็กในชื่อวา่ “ คุณร้อน คุณเยน็ ” เป็นเกมการ ขายของเดก็ จะเอาของไปซ่อนไวแ้ ลว้ ใหเ้ พื่อนหา ถา้ เพอื่ นไปหาในบริเวณที่ใกลเ้ คียงกบั ที่ซ่อนของ ไวก้ จ็ ะบอกวา่ “คุณกาลงั จะรู้สึกอุ่นแลว้ ” และจะบอกวา่ “คุณอุ่นข้ึน” “คุณกาลงั จะเดือดแลว้ ” และเมื่อถึงจุดท่ีซ่อนของกจ็ ะบอกวา่ “คุณคุณ ไฟไหมแ้ ลว้ ” เป็นตน้ แต่ถา้ การคน้ หาน้นั ห่างไกล จากจุดที่ซ่อนของกจ็ ะบอกวา่ “คุณจะรู้สึกเยน็ แลว้ ” “คุณเยน็ แลว้ ” “เยน็ มากข้ึน” และสุดทา้ ยจะ บอกวา่ “คุณแขง็ แลว้ ” ซ่ึงก็หมายความวา่ คุณห่างไกลจากจุดที่ซ่อนของมากเกินไป ลกั ษณะการ บอกเมื่อคน้ หาของเช่นน้ีเป็นลกั ษณะของการใหก้ ารเสริมแรงต่อพฤติกรรมที่คาดคะเนวา่ จะนาไปสู่ พฤติกรรมเป้ าหมายนนั่ เอง ส่วนในการทดลองที่ฝึกให้หนูกดคานก็อาจจะเริ่มที่การใหก้ ารเสริมแรง เมื่อหนูเร่ิมมองคาน เดินเขา้ หาคาน และใชข้ ากดคานเป็ นตน้ ดงั น้นั ในกระบวนการแตง่ พฤติกรรม จึงตอ้ งประกอบดว้ ย 2 กระบวนการคือการจาแนกการเสริมแรง (Differential Reinforcement) นนั่ คือจะตอ้ งใหอ้ ินทรียเ์ รียนรู้วา่ พฤติกรรมเฉพาะอยา่ งเท่าน้นั จึงจะไดร้ ับการเสริมแรง และ พฤติกรรมท่ีคาดคะเนวา่ จะนาไปสู่พฤติกรรมเป้ าหมาย (Successive Approximation) โดยที่ อินทรียจ์ ะตอ้ งแสดงพฤติกรรมที่คาดคะเนวา่ จะนาไปสู่พฤติกรรมเป้ าหมายเทา่ น้นั จึงจะไดร้ ับการ เสริมแรง การลงโทษ (Punishment) การลงโทษคือ การใหผ้ ลกรรมหลงั จากแสดงพฤติกรรมทาใหพ้ ฤติกรรมน้นั ลดลงหรือยตุ ิ ลงซ่ึงผลกรรมท่ีเกิดข้ึนน้นั ไมจ่ าเป็นที่จะตอ้ งเป็นส่ิงที่ไม่พึงพอใจ หากแตจ่ ะเป็ นอะไรกไ็ ดต้ ามหลงั พฤติกรรมน้นั แลว้ ทาใหพ้ ฤติกรรมน้นั ลดลงหรือยตุ ิลง ดงั น้นั ความหมายของการลงโทษจ่ึงตอ้ ง ประกอบดว้ ย 3 เง่ือนไขดงั ต่อไปน้ีคือ 1. มีพฤติกรรมเป้ าหมายเกิดข้ึน 2. พฤติกรรมเป้ าหมายน้นั จะตอ้ งตามดว้ ยผลกรรมบางอยา่ ง 3. โอกาสการเกิดพฤติกรรมเป้ าหมายน้นั ลดลงเนื่องจากผลกรรมดงั กล่าวน้นั

34 ซ่ึงการท่ีจะกาหนดวา่ ผลกรรมใดเป็นตวั ลงโทษน้นั จะตอ้ งดูท่ีผลกรรมน้นั ตอ่ พฤติกรรมเป้ าหมาย นน่ั คือถา้ ผลกรรมน้นั ทาให้พฤติกรรมเป้ าหมายลดลงหรือยตุ ิลง ผลกรรมน้นั จึงเรียกวา่ ตวั ลงโทษ (Punisher) Skinner (1971) ไมค่ ่อยเห็นดว้ ยกบั วธิ ีการลงโทษเพือ่ ยตุ ิพฤติกรรมเน่ืองจากความไม่มี ประสิทธิภาพของการลงโทษในระยะยาว ท้งั น้ีเพราะการลงโทษเป็นเพียงกระบวนการที่ระงบั (Suppresses) พฤติกรรมเทา่ น้นั เม่ือใดกต็ ามที่ลกั ษณะของการคุกคามการลงโทษหายไป พฤติกรรมท่ีเคยถูกลงโทษน้นั จะกลบั คืนข้ึนมาอีก ดงั น้นั จึงกล่าวไดว้ า่ ผลท่ีเกิดจากการลงโทษน้นั เป็นผลท่ีเกิดข้ึนชว่ั คราวเท่าน้นั เอง การหยุดย้งั (Extinction) การหยดุ ย้งั คือการที่ทาใหพ้ ฤติกรรมที่เคยไดร้ ับการเสริมแรง แลว้ ไม่ไดร้ ับการเสริมแรงซ่ึง ผลจากการใชก้ ารหยดุ ย้งั น้นั พฤติกรรมท่ีถูกหยดุ ย้งั กจ็ ะค่อยๆ ลดลงและหายไปในท่ีสุด ตวั อยา่ งเช่น เด็กร้องไหโ้ ยเยเพราะตอ้ งการขนม คุณแม่ก็ใหข้ นมเป็นประจา ต่อมาคุณแม่ทนไม่ ไหวจึงยตุ ิการใหข้ นม(หยดุ การใหก้ ารเสริมแรง) เทา่ กบั คุณแม่ใชก้ ารหยดุ ย้งั ผลท่ีตามมาคือ พฤติกรรมการร้องไหโ้ ยเยของลูกเร่ิมลดลง การกลบั คืนสู่สภาพเดมิ (Spontaneous Recovery) เมื่ออินทรียไ์ ดร้ ับการหยดุ ย้งั และพฤติกรรมไดร้ ับการยตุ ิลงแลว้ พฤติกรรมท่ียตุ ิลงไปแลว้ ดว้ ยกระบวนการหยดุ ย้งั น้นั อาจเกิดข้ึนไดอ้ ีกคร้ังหน่ึงถา้ นาอินทรียไ์ ปไวใ้ นสภาพการณ์เดิม โดยไม่ จาเป็นที่จะตอ้ งใหม้ ีการเสริมแรงต่อพฤติกรรมดงั กล่าว การเรียนรู้การแยกแยะ (Discrimination Learning) การเรียนรู้การแยกแยะคือ การท่ีอินทรียเ์ รียนรู้วา่ ควรจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่นาไปสู่การ เสริมแรง และไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ีไม่นาไปสู่การเสริมแรง (S- Delta) ตวั อยา่ งเช่น จากการ ฝึกหนูในกล่อง Skinner ใหก้ ดคานโดยท่ีจะเปิ ดแสงไฟข้ึนแลว้ หนูกดคานก็จะไดร้ ับอาหารเป็ น การเสริมแรง แต่ถา้ ไม่มีแสงไฟแลว้ หนูกดคาน หนูกจ็ ะไม่ไดอ้ าหาร การแผ่ขยาย (Generalization) การแผข่ ยายมีอยดู่ ว้ ยกนั 2 ลกั ษณะใหญๆ่ คือ การแผข่ ยายสิ่งเร้าและการแผข่ ยายการ ตอบสนอง การแผข่ ยายส่ิงเร้า (Stimulus Generalization) หมายถึง การถ่ายโยง (Transfer) การ ตอบสนองของอินทรียต์ ่อสภาพการณ์ท่ีนอกเหนือจากสภาพการณ์ท่ีเคยไดร้ ับการฝึกฝน ซ่ึง

35 สภาพการณ์ท่ีนอกเหนือจากสภาพการณ์ท่ีเคยไดร้ ับการฝึ กฝนน้นั มกั จะมีลกั ษณะบางอยา่ งท่ี คลา้ ยคลึงหรือร่วมอยกู่ บั สภาพการณ์ท่ีเคยไดร้ ับการฝึกฝนมาก่อน อินทรียก์ ็จะแสดงการตอบสนอง ท่ีคลา้ ยคลึงกบั สภาพการณ์ที่เคยไดร้ ับการฝึกฝนมา การแผข่ ยายสิ่งเร้าน้นั จะตรงขา้ มกบั การ แยกแยะส่ิงเร้า เพราะถา้ บุคคลสามารถแยกแยะส่ิงเร้าไดก้ ารแผข่ ยายส่ิงเร้ากจ็ ะไม่ การเรียนรู้การรู้คิด (Cognitive Learning) นกั จิตวทิ ยาในกลุ่มน้ีเช่น โคลเลอร์(Kohler) เจา้ ของทฤษฎีการเรียนรู้โดยการหยงั่ รู้(Insight Learning)มีความเช่ือวา่ การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพนั ธ์กบั สิ่งแวดลอ้ ม เมื่อผเู้ รียนมี ปฏิสมั พนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มจะเกิดการเห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัญหากบั ส่ิงแวดลอ้ มและ ปรับเปล่ียนโครงสร้างการคิดจนมองเห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัญหากบั ส่ิงแวดลอ้ ม จนเกิดความ เขา้ ใจในการแกป้ ัญหา(ปัญญา) ซ่ึงโคลเลอร์เรียกวา่ Insight หรือ การหยงั่ รู้ การเรียนรู้เกิดข้ึน พร้อมกบั การหยง่ั รู้ การเรียนรู้การรู้คิดไม่จาเป็นตอ้ งลองผดิ ลองถูกและไม่จาเป็นตอ้ งเสริมแรง เหมือนกบั การเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขการกระทา ตวั อยา่ งการเกิดการเรียนรู้โดยการหยงั่ รู้ โคล เลอร์ทาการทดลองโดยนาลิงชิมแปนซีที่กาลงั หิวไปไวใ้ นกรง แลว้ นากลว้ ยไปวางไปนอกกรงใหม้ ี ระยะห่างเกินกวา่ มือลิงจะเอ้ือมถึง และวางไมท้ ่อนส้นั ไวใ้ กลก้ รง ส่วนไมท้ อ่ นยาวอยหู่ ่างจากกรง ออกไป ซ่ึงลิงไมส่ ามารถเอ้ือมมือหยบิ ไมท้ ่อนยาวได้ ลิงจึงหยบิ ไมท้ ่อนส้นั เข่ียกลว้ ยแตเ่ ขี่ยไม่ถึง จึงวางไมท่ ่อนส้นั ลงแลว้ ยนื ดูอยเู่ ฉยๆ และวงิ่ ไปมาในกรงครู่หน่ึงทนั ใดน้นั ลิงหยบิ ไมท้ อ่ นส้ันเขี่ย ไมท้ อ่ นยาวมาใกลก้ รงแลว้ หยบิ ไมท้ ่อนยาวเข่ียกลว้ ยมากินไดซ้ ่ึงไมม่ ีการลองผดิ ลองถูกเลย เน่ืองจากลิงเกิดการหยง่ั รู้ในการแกป้ ัญหา โดยมองเห็นความสัมพนั ธ์ของไมท้ อ่ นส้ัน ไมท้ อ่ นยาว และกลว้ ย (จิราภา เตง็ ไตรรัตน์. 2542 : 133-136) เราอาจสรุปลกั ษณะสาคญั ของการแกป้ ัญหาโดยอาศยั การคิดการเขา้ ใจหรือการหยง่ั รู้ (Insight) จากการทดลองของโคลเลอร์ได้ 3 ประการ 1. การแกป้ ัญหาที่เป็นลกั ษณะที่เกิดข้ึนอยา่ งทนั ทีทนั ใด ไม่ใช่เกิดข้ึนอยา่ งค่อยเป็น คอ่ ยไปทีละเล็กละนอ้ ย ถา้ เกิดการหยง่ั รู้แลว้ จะมีความเขา้ ใจในสภาพการณ์ของปัญหาท้งั หมด และจะเกิดพฤติกรรมท่ีประสานเชื่อมโยงกนั อยา่ งทนั ทีทนั ใดตามความคิดความเขา้ ใจในปัญหาน้นั จนบรรลุจุดมุง่ หมายคือ สามารถแกป้ ัญหาได้ 2. การคน้ พบวถิ ีทางในการแกป้ ัญหาแตล่ ะคร้ังข้ึนอยกู่ บั การวางรูปแบบของปัญหา การหยง่ั รู้จะเกิดข้ึนไดง้ ่ายถา้ ส่วนสาคญั ๆ ของปัญหาจดั อยใู่ นลกั ษณะท่ีช่วยใหน้ ามาสร้าง ความสมั พนั ธ์กนั ไดส้ ะดวก เช่น ลิงจะเกิดการหยงั่ รู้ง่าย ถา้ ท่อนไมท้ ้งั หมดวางอยขู่ า้ งเดียวกบั อาหาร แต่ถา้ ไมอ้ ยคู่ นละขา้ งกบั อาหารการหยงั่ รู้กจ็ ะเกิดมากข้ึน 3. การหยงั่ รู้ในสถานการณ์หน่ึง สามารถนาไปใชใ้ นสถานการณ์อื่นๆ ได้ เพราะเป็น

36 การเรียนรู้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานการณ์ตา่ งๆ กบั การเขา้ สู่เป้ าหมาย ซ่ึงลกั ษณะความคิดความ เขา้ ใจที่เกิดข้ึนสามารถดดั แปลงหรือขยายไปยงั สถานการณ์ใหม่ ๆ ได้ กำรเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ครอ่ื งหมำย (Sign Learning) ผทู้ ี่สนบั สนุนแนวความคิดของนกั จิตวทิ ยากลุ่มการคิดการเขา้ ใจอีกผหู้ น่ึงคือ ทอลแมน (Edward Tolman) ผซู้ ่ึงทาการศึกษาเกี่ยวกบั การเรียนรู้ของหนูท่ีจะไปสู่ปลายทางวงกตที่ซบั ซอ้ น เม่ือปี ค.ศ. 1932 ตามความคิดของเขา การที่หนูวงิ่ ผา่ นไปสู่ปลายทางวงกตไดน้ ้นั ไม่ไดเ้ กิดจากการ ที่หนูเรียนรู้วธิ ีการเล้ียวซา้ ยเล้ียวขวาท่ีเป็นไปตามลาดบั แต่เป็นการพฒั นาแผนท่ีของทางวงกต (Cognitive map) ข้ึนมาในสมองของหนู และพยายามท่ีจะไปสู่จุดหมายปลายทางใหไ้ ด้ ตามการทดลองของทอลแมน หนูในกลุ่มทดลองจะถูกปล่อยใหส้ ารวจทางวงกตก่อน โดย ท่ีไมม่ ีอาหารอยปู่ ลายทาง ส่วนหนูในกลุ่มควบคุมจะไม่มีโอกาสไดส้ ารวจทางวงกต หลงั จากน้นั ใหอ้ าหารเป็นตวั เสริมแรงแก่หนูท้งั 2 กลุ่ม ในการเดินทางไปสู่ปลายทางวงกตไดส้ าเร็จ ผลปรากฏ วา่ หนูในกลุ่มทดลองเรียนรู้ท่ีจะวงิ่ ไปทางปลายทางไดร้ วดเร็วกวา่ หนูในกลุ่มควบคุม ท้งั น้ีเนื่องจาก หนูในกลุ่มทดลองไดส้ ร้างแผนที่ของทางวงกตไวแ้ ลว้ ในสมองในช่วงระหวา่ งที่หนูสารวจทาง วงกตโดยไม่มีอาหารอยปู่ ลายทาง และแผนที่ของทางวงกตน้ีจะช่วยใหห้ นูกลุ่มน้ีวง่ิ ไปสู่ปลายทาง ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเม่ือมีอาหารอยปู่ ลายทาง

37 บทที่ 3 การคดิ การจาและเชาวน์ปัญญา การศึกษาถึงกระบวนการคิดเป็ นเรื่องท่ียาก แตก่ ็เตม็ ไปดว้ ยความทา้ ทายมากเร่ืองหน่ึง ในการศึกษาวชิ าจิตวทิ ยา ท้งั น้ีเพราะการคิดเป็ นพฤติกรรมภายใน ซ่ึงถา้ ผคู้ ิดไม่แสดงออกมาเป็ น พฤติกรรมภายนอก ผอู้ ื่นก็ไม่อาจรู้ไดว้ า่ ผคู้ ิดกาลงั คิดอะไรอยหู่ รือไม่ หรือกาลงั คิดเรื่องอะไรอยู่ เป็ นตน้ เร่ืองที่ถกเถียงกนั มากที่สุดเร่ืองหน่ึงในการศึกษาเรื่องการคิดของมนุษยก์ ็คือ การรายงาน ความคิดออกมาเป็นคาพูด (Verbal Report) น้นั สามารถนามาเป็นขอ้ มลู ท่ีมีประโยชนเ์ กี่ยวกบั ความคิดของคนไดห้ รือไม่ สาหรับนกั จิตวทิ ยากลุ่มพฤติกรรมนิยมมีความเห็นวา่ ขอ้ มลู จากการ ตรวจสอบวเิ คราะห์จิต (Introspection) หรือขอ้ มูลจากการรายงานความรู้สึกของตนเอง วา่ เช่ือถือ ไดย้ ากมาก ในขณะท่ีมีนกั สารวจกลุ่มหน่ึงไดท้ าการศึกษากระบวนการทางานของสมองและเสนอ ผลสรุปวา่ การรายงานความคิดดว้ ยคาพดู นบั เป็นแหล่งขอ้ มูลที่ดีเยย่ี มแหล่งหน่ึงทีเดียว ความหมายของการคดิ การคิดหมายถึง การจดั กระทาทางจิตท่ีก่อรูปข้ึนเพ่ือหาเหตุผล ทาความเขา้ ใจสิ่งแวด ลอ้ ม แกป้ ัญหา ทาการตดั สินใจท้งั ที่มีเป้ าหมายและไม่มีเป้ าหมาย และเป็นพฤติกรรมภายในของ บุคคล ที่เกิดข้ึนต่อเนื่องมาจากพฤติกรรมการรู้สึกการรับรู้และการจา การคิดเป็ นการเกิด สญั ลกั ษณ์แทนท่ีส่ิงของ หรือวตั ถุ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ข้ึนในสมอง แมข้ ณะที่คิด สิ่งต่างๆ จะ ไมไ่ ดป้ รากฏอยตู่ รงหนา้ ก็ตาม การสังเกตุพฤติกรรมการคดิ เนื่องจากพฤติกรรมการคิดเป็นพฤติกรรมภายในที่ไมส่ ามารถสงั เกตเห็นได้ การคิดจึงเป็นภาวะ สันนิษฐาน (Construct) ซ่ึงจะรู้ไดโ้ ดยการอนุมาน (Infer) จากพฤติกรรมภายนอกดว้ ยวธิ ี 2 วธิ ีคือ 1. การวดั คล่ืนสมอง (Electroencephalogram หรือ ERG) เป็ นการวดั การทางานของ คล่ืนสมองดว้ ยกระแสไฟฟ้ าอยา่ งออ่ น ซ่ึงสามารถวดั ไดโ้ ดยใชเ้ ขม็ นาไฟฟ้ าขนาดจิ๋ว (Micro electrode) 2 อนั วางไวบ้ นสมอง 2 จุด แลว้ ต่อสายมายงั เครื่องวดั กระแสไฟฟ้ า ถา้ คนๆ น้นั กาลงั คิด อยู่ กจ็ ะมีกระแสไฟฟ้ าอยา่ งออ่ นเกิดข้ึนในสมอง 2. การถามคาถามใหผ้ ถู้ ูกศึกษาตอบ ซ้ึงถา้ เขาตอบออกมาได้ กแ็ สดงวา่ เขาคิดได้ ประเภทของการคิด การคิดแบ่งออกเป็ นประเภทใหญๆ่ ได้ 2 ประเภท คือ 1. การคิดประเภทสัมพนั ธ์ (Association Thinking) เป็นการคิดที่ไม่มีจุดมุง่ หมายอนั

38 ใด เป็นการเช่ือมโยงระหวา่ งสัญลกั ษณ์ของส่ิงต่างๆ ซ่ึงอาจจะเป็นส่ิงของ วตั ถุ หรือเหตุการณ์ ต่างๆ การคิดลกั ษณะน้ีไม่มีข้นั ตอนในการคิด ไม่ตอ้ งการผลของการคิด 2. การคิดแบบมีจุดมุง่ หมาย (Directed Thinking) เป็นการคิดแบบที่มีจุดมุ่งหมาย ซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นการคิดแกป้ ัญหาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง การคิดแบบมีจุดมุ่งหมายประกอบดว้ ย 2.1 การคิดเชิงวิจารณ์ (Critical Thinking) เป็นการคิดเพ่ือพิจารณาขอ้ เทจ็ จริงหรือสภาพการณ์ต่างๆ วา่ ถูกหรือผดิ โดยใชเ้ หตุผลประกอบการคิดวา่ อะไรเป็ นเหตุอะไรเป็น ผลเช่น การคิดเพอ่ื แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือพิจารณาขอ้ ความต่างๆ วา่ เป็นจริงหรือไม่ สภาพการณ์น้นั ถูกหรือผดิ สิ่งน้นั ดีหรือไม่ดีอยา่ งไร หรือการคิดเชิงตรรกศาสตร์ ซ่ึงประกอบดว้ ย 2.1.1 การคิดแบบอนุมาน (Deductive Thinking) เป็นการพิจารณา เหตุผลจากเร่ืองทว่ั ไปไปสู่เร่ืองเฉพาะ และทาการสรุป เช่น มนุษยท์ ุกคนตอ้ งตาย นายเบิร์ดเป็ นม นุษย์ เพราะฉะน้นั นายเบิร์ดตอ้ งตาย เป็นตน้ 2.1.2 การคิดแบบอุปมาน (Inductive Thinking) เป็นการพิจารณา หาเหตุผลเฉพาะเรื่อง และสรุปไปสู่หลกั ทวั่ ไป เช่น สมผลน้ีเปร้ียว เพราะฉะน้นั ส้มผลอ่ืนๆ ท่ีอยู่ ในกระจาดเดียวกนั กค็ งมีรสเปร้ียวดว้ ยเช่นกนั 2.2 การคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นความสามารถของบุคคลที่จะมองเห็นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความใหม่ กบั ความสาคญั ของการคิดเห็นหรือเหตุการณ์ต่างๆ (Silverman 1985 : 216) ซ่ึงความสามารถในการเห็น ความสัมพนั ธ์ของความใหม่น้นั จะส่งผลใหบ้ ุคคลมีความคิดใหม่ๆ วธิ ีการใหม่ๆ การแกป้ ัญหา ใหม่ๆ หรือ แมก้ ระทง่ั มีปัญหาเรื่องใหม่ข้ึนมาอีก ผคู้ ิดที่มีแนวโนม้ ที่จะมองส่ิงตา่ งๆ ในเชิง สร้างสรรคน์ ้นั มกั จะเป็ นคนที่มีความสามารถในการหยง่ั เห็น (Insight) ที่จะแปลรูป (Transform) ส่ิงท่ีเขากาลงั ทาอยู่ 2.3 การคิดแกป้ ัญหา (Problem Solving) เป็นการคิดท่ีมีจุดมุง่ หมายเฉพาะ ความคิดลกั ษณะน้ีเรียกวา่ การใหเ้ หตุผล (Reasoning) หรือการคิดที่มีเป้ าหมาย การคิดเช่นน้ีจะ เกิดข้ึนเมื่อบุคคลพยายามแกป้ ัญหาที่เผชิญอยู่ เช่น การคิดหาวธิ ีการซ่อมเครื่องรับวทิ ยุ การคิด แกป้ ัญหาปริศนาอกั ษรไขว้ เป็นตน้ ทุกคร้ังเมื่อบุคคลพยายามคิดหาวธิ ีการแกป้ ัญหา เขากม็ กั จะ พบกบั ปัญหาใหม่ๆ ใหค้ ิดอีกต่อไป ซ่ึงจะทาใหบ้ ุคคลเกิดทกั ษะในการคิดแกป้ ัญหาข้ึน ท้งั น้ีเพราะ วธิ ีแกป้ ัญหาใหม่ๆ จะเพิม่ ความสามารถในการใหเ้ หตุผล อีกท้งั ใหค้ วามรู้ใหม่ๆ ใหก้ บั เขา การ แกป้ ัญหาในเร่ืองหน่ึงๆ จึงเป็ นพ้ืนฐานใหบ้ ุคคลมองเห็นความสมั พนั ธ์ และเช่ือมโยงสู่ปัญหาอ่ืนๆ ต่อไปได้

39 ความจา (MEMORY) ความจา (MEMORY)หมายถึง การเก็บรักษาขอ้ มูลไวร้ ะยะเวลาหน่ึง (Matlin. 1995 : 206) ความจาเก่ียวขอ้ งกบั การเกบ็ รักษาขอ้ มลู ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา อาจจะเก็บไวใ้ นช่วงเวลานอ้ ยกวา่ 1 วนิ าทีหรือยาวนานตลอดชีวิตเช่น คุณอาจจะจาภาพพลุท่ีจุดในวนั สาคญั ไดภ้ ายในเวลาไมก่ ี่วนิ าที หรือคุณอาจจาของเล่นท่ีคุณชอบเล่นเม่ือตอนเป็นเดก็ ได้ เช่น ตุก๊ ตา หุ่นยนต์ เป็นตน้ การจาน้นั มี ข้นั ตอนท่ีสาคญั 3 ข้นั คือ 1. การแปลงรหสั (encoding) 2. การเกบ็ รักษา(storage) 3. การกู้ กลบั คืนมา(retrieval) การแปลงรหัส (encoding) เป็นการแปลงส่ิงเร้าความรู้สึกใหอ้ ยใู่ นรูปของขอ้ มลู ที่สามารถ นาไปเกบ็ ไวใ้ นบริเวณท่ีเกบ็ ความจา การเกบ็ รักษา (storage) เป็นข้นั ที่ 2 เราเก็บขอ้ มูลที่เราจา เพื่อที่จะนามาใชใ้ นภายหลงั บางทีอาจจะเกบ็ ไวแ้ ตน่ อ้ ยกวา่ 1 วนิ าที หรือบางทีอาจเก็บไวน้ านถึง 50 ปี การกู้กลบั คืนมา (retrieval) เป็นข้นั ท่ี 3 เป็นการดึงขอ้ มูลที่เก็บไวอ้ อกมาใชไ้ ด้ Atkinson and ความจาการรู้สึกสัมผสั (Sensory Memory) ความจาการรู้สึกสัมผสั เป็นการรักษาขอ้ มลู ไวใ้ นช่วงส้ัน ๆ หลงั จากสิ่งเร้าทางกายภาพ เลือนหายไปจากการสัมผสั ทาไมเราจึงจาเป็นตอ้ งมีความจาการรู้สึกสมั ผสั มีวตั ถุประสงคอ์ ยู่ 2 ขอ้ คือ 1. เราจาเป็นท่ีจะตอ้ งรักษาสิ่งเร้าตรงตามที่ประสาทสมั ผสั รับรู้ในช่วงเวลาส้นั ๆ เพือ่ ช่วยในการเปรียบเทียบส่ิงที่เราสนใจ นน่ั คือถา้ ไมม่ ีการคงอยขู่ องสิ่งเร้าในช่วงเวลาหน่ึงการ เปรียบเทียบสิ่งที่สนใจจะไม่สามารถทาได้ 2. เราจาเป็นตอ้ งมีความจาการรู้สึกสมั ผสั เพราะการจาความรู้สึกสัมผสั ช่วยใหเ้ ราเขา้ ใจถึงสิ่งท่ีผา่ นไปก่อนหนา้ น้ี เช่น อาจารยถ์ ามวา่ ทาไมเราจึงจาเป็นตอ้ งมีความจาการรู้สึกสมั ผสั เสียงของคาวา่ ทาไมอาจจะเลือนหายไปในเวลาที่เราไดย้ นิ คาวา่ สมั ผสั เราจาเป็นตอ้ งรักษาขอ้ มูล เกี่ยวกบั เสียงในตอนเร่ิมตน้ ของประโยคไวเ้ พ่ือท่ีจะเปรียบเทียบกบั ระดบั เสียงในตอนจบของ ประโยค ระดบั เสียงสูงที่อาจารยใ์ ชใ้ นตอนเริ่มตน้ ของประโยคทาใหค้ ุณสรุปไดว้ า่ เป็นประโยค คาถาม การจาความรู้สึกสมั ผสั น้นั มีท้งั การจาความรู้สึกสมั ผสั ทางการมองเห็น การไดย้ นิ การดม กล่ิน การลิ้มรส และทางผวิ หนงั แต่นกั วจิ ยั ไดใ้ หค้ วามสนใจ 2 ชนิดคือ การจาความรู้สึกสัมผสั ทางการมองเห็น (iconic memory) และทางการไดย้ นิ (echoic memory)

40 การจาภาพติดตา (Iconic Memory) การจาภาพติดตาเป็นการจาความรู้สึกสัมผสั ทางการมองเห็น ทาใหเ้ ราจาภาพที่เห็นได้ ในช่วงระยะเวลาคร่ึงวินาที การทดลองที่ก่ียวกบั ความจาภาพติดตาไดแ้ ก่การทดลองใหน้ กั ศึกษาดู ภาพท่ีมีอกั ษร 12 ตวั ในเวลาดูเพยี ง 1/20 วนิ าที แลว้ ใหน้ กั ศึกษาบอกตวั อกั ษรที่จาได้ โดยเฉล่ีย นกั ศึกษาจะจาไดป้ ระมาณ 4-5 ตวั อกั ษร แต่เม่ือใชเ้ ทคนิคท่ีเรียกวา่ partial-report technique คือ การใหน้ กั ศึกษารายงานเฉพาะบางส่วนที่แสดงโดยใชร้ ะดบั เสียงที่ต่างกนั 3 ระดบั คือ สูง กลาง ต่า เป็นสัญญาณบอกใหท้ ราบวา่ ตอ้ งรายงานตวั อกั ษรในแถวไหน ปรากฏวา่ นกั ศึกษารายงานตวั อกั ษร ได้ 9-10 ตวั อกั ษรเม่ือภาพน้นั หายไปทนั ทีและรายงานไดล้ ดลงตามระยะเวลาท่ีล่าชา้ ไปเรื่อย ๆ จนถึง 1 วนิ าทีจะรายงานตวั อกั ษรไดพ้ อๆกบั นกั ศึกษาที่ไดร้ ับการทดลองในตอนตน้ ที่กล่าวมา นกั จิตวทิ ยาทางการรู้คิด (Cognitive Psychology) ไดอ้ ธิบายวา่ เป็นเพราะผเู้ ขา้ รับการทดลองไมร่ ู้ วา่ จะตอ้ งถูกถามถึงตวั อกั ษรในแถวไหน ทาใหเ้ ขาพยายามจาตวั อกั ษรในทุก ๆ แถว ทาใหเ้ ขาจา ตวั อกั ษรไดด้ ีกวา่ กลุ่มนกั ศึกษาท่ีไดร้ ับการทดลองแบบ whole-report technique ซ่ึงจะพยายามจา เฉพาะสิ่งที่ตวั เองสนใจตอ้ งการจะจาเทา่ น้นั จึงจาไดน้ อ้ ยกวา่ กลุ่มที่ไดร้ ับการทดลอง ความจาเสียงก้องหู (Echoic Memory) Echoic Memory คือความจาการรู้สึกทางการไดย้ ิน ชื่อน้ีเป็นช่ือท่ีเหมาะสมเนื่องจากเสียง จะกอ้ งอยใู่ นหูในช่วงส้นั ๆ คุณเคยสังเกตไหมวา่ เสียงอาจารยท์ ่ีสอนอยหู่ นา้ ช้นั จะกอ้ งอยใู่ นหูของ คุณในระยะเวลาส้นั ๆ หลงั จากท่ีพดู จบลงแลว้ บบั เป็นโชคดีของการท่ีเสียงยงั คงกอ้ งอยใู่ นหูทาให้ เรารับความรู้สึกจากเสียงและจดบนั ทึกส่ิงที่ไดย้ นิ ในเวลา 1-2 วนิ าที ความจาระยะส้ัน (Short-Term -STM) คุณคงเคยมีประสบการณ์เช่นน้ีกนั มาแลว้ บา้ งคือ เม่ือคุณตอ้ งการใชโ้ ทรศพั ท์ คุณเปิ ดหา หมายเลขท่ีตอ้ งการในสมุดโทรศพั ท์ เม่ือพบแลว้ คุณท่องหมายเลขน้นั ซ้าปิ ดสมุดโทรศพั ท์ หยบิ เหรียญออกมา ยกหูโทรศพั ท์ หยอดเหรียญลงในช่อง เตรียมนิ้วมือกดเลขหมาย แต่เกิดลืม หมายเลขไปเสียแลว้ จาไดแ้ ตห่ มายเลขขา้ งหนา้ 3 ตวั 243 ส่วนอีก 5 ตวั จาไมไ่ ดว้ า่ คือหมายเลข อะไร ความจาระยะส้นั จะหมดลงในช่วงเวลาประมาณคร่ึงนาที ความจาระยะส้นั หมายถึง ขอ้ มลู จานวนเล็กนอ้ ยที่เราเก็บไวใ้ นลกั ษณะเตรียมพร้อมที่จะใช้ ในระยะเวลาส้ัน ๆ ช่วงหน่ึงประมาณ 30 วนิ าที ขอ้ มลู ในความจาระยะส้ันเป็นขอ้ มูลท่ีเรากาลงั ใช้ อยใู่ นปัจจุบนั บางคร้ังจึงเรียกความจาระยะส้ันวา่ Working memory เป็นขอ้ มูลที่เรากาลงั ใช้ ความต้งั ใจจดจอ่ อยู่ เรากาลงั แปรเปลี่ยนขอ้ มลู น้นั และเรากาลงั ทบทวนซ้าใหแ้ ก่ตวั เราเอง ดงั เช่น ตวั อยา่ งการจาหมายเลขโทรศพั ทด์ งั ที่กล่าวถึงในตอนตน้ เรายงั ใชค้ วามจาในระยะส้ันใน

41 ชีวติ ประจาวนั อีกมากมายเช่น เวลาเราอา่ นบทความหรือหนงั สือภาษาองั กฤษเมื่อเจอศพั ทท์ ่ีเราไมร่ ู้ ความหมาย เรามกั จะตอ้ งเปิ ดดูความหมายของศพั ทจ์ ากพจนานุกรมองั กฤษเป็นไทยแลว้ ท่องจา ความหมายของคา ๆ น้นั 2-3 คร้ัง เมื่อเราอา่ นประโยคตอ่ ๆ ไป เจอศพั ทค์ าเดิมบอ่ ยคร้ังท่ีเราจา ความหมายไม่ไดเ้ พราะความจาระยะส้นั ไดเ้ ลือนหายไปจากความจาของเราแลว้ ประโยชน์ของความจาระยะส้นั คือ การช่วยทาใหข้ อ้ มลู ท่ีเรารับเขา้ มาเดิมยงั คงอยตู่ ่อไปได้ ระยะหน่ึงจนกระทง่ั เราสามารถรับรู้ขอ้ มูลที่เขา้ มาใหม่ไดโ้ ดยตลอด และตีความหมายได้ เช่น เม่ือ เราฟังคาตน้ ๆ ของประโยค เรายงั จบั ใจความและตีความหมายไมไ่ ด้ ต่อมาเม่ือเราฟังคาตอ่ ๆ ไป จนกระทงั่ ถึงจบประโยคจึงจะเขา้ ใจใจความได้ การที่ขอ้ มลู เกบ็ ไวไ้ ดใ้ นความจาระยะส้ันเพยี งชว่ั เวลาส้ันมากน้นั เป็ นส่ิงท่ีดี ซ่ึงทาใหเ้ ราสามารถรับขอ้ มูลใหม่เขา้ มาแทนท่ีได้ หากขอ้ มูลเก่ายงั คง คา้ งอยนู่ านเกินควรอาจเป็นการรบกวนการเรียนรู้และการต้งั ใจรับรู้ในขณะปัจจุบนั เพราะเรายอ่ ม ตอ้ งการท่ีจะเอาใจใส่ตอ่ งานในขณะปัจจุบนั มากกวา่ ที่จะใหข้ อ้ มลู เดิมซ่ึงไม่มีประโยชนม์ ากีดขวางอยู่ ความคงทนของความจาระยะส้ัน ( The Duration of Short-Term memory) สิ่งที่เกบ็ อยใู่ นความจาระยะส้นั จะคงอยนู่ านเทา่ ไรก่อนที่เราจะลืม งานวจิ ยั ท่ีช่วยในการ ตอบคาถามน้ีคืองานวิจยั ของ Peterson&Peterson ไดล้ องใหน้ กั ศึกษานึกถึงตวั อกั ษรท่ีไมม่ ี ความสมั พนั ธ์กนั 3 ตวั โดยตอ้ งเรียงลาดบั กนั อยา่ งถูกตอ้ ง เขาพบวา่ ประมาณ 80 % สามารถบอก ตวั อกั ษรไดถ้ ูกตอ้ งหลงั จากเวลาผา่ นไปไม่เกิน 3 วนิ าที หลงั จากน้นั จะบอกตวั อกั ษรไดถ้ ูกตอ้ ง ลดลงจนเกือบจะเป็นศูนยเ์ มื่อเวลาผา่ นไปประมาณ 18 วนิ าที ขนาดของความจาระยะส้ัน (The Size of Short-Term Memory) นกั ศึกษาเคยสงสยั บา้ งไหมวา่ ทาไมหมายเลขโทรศพั ทจ์ ึงมี 7 ตวั เคยสงสยั บา้ งไหมวา่ ทาไมบางคร้ังขณะท่ีเรากาลงั จะโทรศพั ทแ์ ลว้ จาเบอร์โทรศพั ทไ์ ม่ได้ เราถามเพื่อนที่อยใู่ กลๆ้ หรือ ถามจากบริการพิเศษที่ช่วยคน้ หาหมายเลขโทรศพั ทท์ นั ทีท่ีไดร้ ับการบอกใหท้ ราบ เราสามารถที่จะ จาหมายเลขน้นั และกดหมายเลขโทรไปยงั บุคคลท่ีเราตอ้ งการได้ โดยไมต่ อ้ งจดหมายเลขลงก่อน ในกระดาษ ความจาระยะยาว( Long-Term Memory) ความจาระยะยาวเป็นความจาที่บุคคลจาไดห้ รือระลึกไดว้ า่ มีเหตุการณ์อะไรท่ีผา่ นเขา้ มาใน ชีวติ ของตนเองบา้ ง อาจจะเป็นเหตุการณ์ท่ีพ่ึงเกิดข้ึนมาไม่นานเช่น 2-3 วนั หรือ 1-2 ปี หรือ 10 ปี หรือนานกวา่ น้นั แตเ่ รายงั สามารถจาเหตุการณ์ท่ีผา่ นมาไดอ้ ยา่ งชดั เจน เช่น คุณอาจจะจาเหตุการณ์ ในวยั เดก็ ท่ีเคยไดร้ ับอุบตั ิเหตุบางอยา่ ง จาเหตุการณ์ในช่วงที่เรียนม.ปลายไดท้ ่ีไปเที่ยวกบั เพื่อน ต่างจงั หวดั ไปเรียนกวดวชิ า เหตุการณ์ตา่ งๆท่ีนาความดีใจเสียใจหรือความทุกขม์ าใหช้ ีวติ เรา

42 มกั จะจาเหตุการณ์ดงั กล่าวไดเ้ ป็นอยา่ งดี ในหวั ขอ้ ต่อไปน้ีจะกล่าวถึงกระบวนการที่เก่ียวขอ้ งกบั ความจาระยะยาวไดแ้ ก่ การแปลงรหสั การเกบ็ รักษาขอ้ มลู การกขู้ อ้ มูลกลบั คืนมาและการลืม เชาวน์ปัญญา(Intelligence and ) การศึกษาปรากฏการณ์ทางจิตวทิ ยาจะสมบูรณ์ข้ึน ถา้ ผเู้ รียนมีความเขา้ ใจเรื่องเชาน์ปัญญา และความถนดั ของมนุษยอ์ ยา่ งละเอียดลึกซ้ึง โดยทราบถึงการประยกุ ตว์ ธิ ีการทางจิตวทิ ยาเชิง วทิ ยาศาสตร์มาวดั หรือตดั สินเชาวน์ปัญญาและความถนดั ของมนุษย์ เน้ือหาสาระสาคญั ของบทน้ี จึงมุง่ ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจพ้ืนฐานในหวั ขอ้ ที่เกี่ยวกบั เชาวนป์ ัญญาและความถนดั การมีความรู้ ความเขา้ ใจตามแนวคิดน้ีจะช่วยใหเ้ ราเขา้ ใจสาเหตุและความแตกต่างระหวา่ งเอกตั บุคคลใน กระบวนการแสดงพฤติกรรม 1. ความหมายของเชาวน์ปัญญา ในการศึกษาจิตวทิ ยา คงไม่มีคาคาใดที่ถูกนามากล่าว อภิปรายกนั อยา่ งกวา้ งขวาง แตไ่ ม่ สามารถสรุปความหมายเชิงปฏิบตั ิการไดเ้ ท่ากนั คาวา่ “เชาวน์ปัญญา” จนกระทงั่ ยงั ไม่มีความหมาย ของเชาวนป์ ัญญาความหมายใด ที่จะไดร้ ับการยอมรับให้เป็นสากล นกั จิตวทิ ยานกั การศึกษาแต่ละ ท่านก็ใหค้ วามหมายท่ีแตกต่างกนั ออกไป นกั จิตวทิ ยาบางทา่ นถึงกบั กล่าว อยา่ งตลกๆ วา่ เชาวนป์ ัญญาก็คือ สิ่งท่ีแบบทดสอบเชาวน์ปัญญาวดั ได้ (Quinn. 1984 : 110) การ ขาดความหมายท่ีเป็นสากลน้ีจึงนบั เป็นปัญหาท่ีสาคญั โดยเฉพาะเม่ือกล่าวถึงคะแนนของเชาวน์ ปัญญา ท้งั น้ีเน่ืองจากการแสดงออกของแตล่ ะบุคคลอาจข้ึนอยกู่ บั แบบทดสอบวดั เชาวน์ปัญญาที่ จะตดั สินออกมาเป็ นคะแนน ผสู้ ร้างแบบทดสอบจึงจะสร้างแบบทดสอบตามความคิดเห็นวา่ เชาวน์ปัญญา หมายถึงอะไร (Biehler and Snowman. 1982 : 526) 2. ทฤษฎเี ชาวน์ปัญญา นกั จิตวทิ ยาหลายทา่ นต่างเสนอทฤษฎีเชาวนป์ ัญญาท่ีแตกต่างกนั ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ผลการ ศึกษาวจิ ยั ตลอดจนความคิดเห็นที่แตกตา่ งกนั ออกไป โดยมีจุดมุง่ หมายสาคญั ในการจาแนก องคป์ ระกอบของเชาวนป์ ัญญาของมนุษย์ ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาท่ีไดร้ ับความสนใจอยา่ งกวา้ งขวาง สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 5 กลุ่มดงั น้ี 2.1 ทฤษฎีตวั ประกอบตวั เดียว (One Factor Theory) เป็นทฤษฎีที่เสนอโดย บิเนต์ นกั จิตวทิ ยาชาวฝร่ังเศส ผซู้ ่ึงสนใจเร่ืองความหมายเชิงทฤษฎีของเชาวนป์ ัญญานอ้ ยมาก สาหรับ บิเนตเ์ ชาวน์ปัญญาไม่แบ่งออกเป็นหน่วยยอ่ ย แต่มีลกั ษณะเป็นหน่ึงเดียวหรือหน่วยเดียว (a single, unitary factor) ท่ีบุคคลแตล่ ะคนมีในปริมาณที่แน่นอน และสามารถใชไ้ ดใ้ นทุกๆ วตั ถุประสงค์

43 เช่น ความสามารถทว่ั ไปที่จะใชใ้ นการเรียนรู้ และถา้ บุคคลหน่ึงสามารถทาสิ่งหน่ึงไดด้ ีกวา่ ในดา้ น หน่ึงดา้ นใดของกิจกรรมหน่ึงๆ มากกวา่ ดา้ นอ่ืนไม่ไดข้ ้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเชาวน์ ปัญญาซ่ึงเกี่ยวขอ้ ง แตข่ ้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบต่างๆ ไดแ้ ก่ การเรียนรู้ ความสนใจ และแรงจูงใจ เช่น คนที่จะเล่นดนตรีไดอ้ ยา่ งดี ไมไ่ ดม้ ีเชาวนป์ ัญญาท่ีแตกตา่ งจากแตกต่างจากวศิ วกรที่เก่ง ดารา หรือช่างตดั เยบ็ เส้ือผา้ ท่ีดี แต่เขามีความสามารถพิเศษในการเล่นเคร่ืองดนตรีมากกวา่ เพราะ องคป์ ระกอบทางสิ่งแวดลอ้ มที่กระตุน้ ใหเ้ ขาไปในแนวน้นั โดยสรุป เชาวนป์ ัญญาจึงมีลกั ษณะเป็นผลรวมของความสามารถต่างๆ เป็นสมรรถภาพ รวมท่ีนาไปใชใ้ นกิจกรรมต่างๆ ไดท้ ุกโอกาส 2.2 ทฤษฎีสองตวั ประกอบ (Two Factor Theory) เสนอโดย ชาร์ลส เสปี ยร์แมน (Charles Spearman) นกั จิตวทิ ยาชาวองั กฤษ ซ่ึงมีความเห็นวา่ เชาวน์ปัญญาคือ ความสามารถ ทางสมอง ซ่ึงประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 2 ตวั คือ 1. ความสามารถทวั่ ไป (General Factor or G – Factor) เป็นความสามารถพ้นื ฐานที่มีอยใู่ นการกระทากิจกรรมตา่ งๆ ทวั่ ไปในชีวติ ประจาวนั 2. ความสามารถเฉพาะ (Specific Factor or S – Factor) เป็นความสามารถ พิเศษเฉพาะดา้ นท่ีบุคคลแต่ละคนจะมีแตกตา่ งกนั เช่น ความสามารถดา้ นศิลป ดนตรี เป็นตน้ ในการกระทาส่ิงต่างๆ คนเราจาเป็นตอ้ งอาศยั ความสามารถท้งั สองดา้ นน้ีควบคู่กนั อยู่ เสมอ แต่อาจจะตอ้ งใชใ้ นอตั รามากนอ้ ยแตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะงาน 2.3 ทฤษฎีหลายตวั ประกอบ (Multiple Factor Theory) นกั จิตวทิ ยาอีกหลายท่านมี ความเห็นวา่ เชาวน์ปัญญาประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบต่างๆ หลายตวั และแต่ละองคป์ ระกอบน้นั จะ มีหนา้ ที่เฉพาะท่ีแตกต่างกนั ออกไป 1. ทฤษฎีสมรรถภาพทางสมองของธอร์นไดค์ (Thorndike) ไดจ้ าแนกสมรรถ ภาพทางสมองของมนุษยอ์ อกเป็น 3 องคป์ ระกอบคือ 1. ความสามารถทางนามธรรม (Abstract Intelligence) ไดแ้ ก่ความ สามารถในการคิด การทาความเขา้ ใจในสิ่งต่างๆ เช่น การคิดเลข การเขา้ ใจความหมายของคาใน ภาษา หลกั กฎเกณฑ์ ทฤษฎีตา่ งๆ เป็นตน้ 2. ความสามารถทางเครื่องยนตก์ ลไก (Mechanical Intelligence) คือ ความสามารถที่จะรู้ เขา้ ใจวิธีการใชเ้ คร่ืองจกั รกล เคร่ืองมือต่างๆ สามารถประดิษฐ์ คิดคน้ เครื่องจกั รใหมๆ่ ได้ 3. ความสามารถทางสงั คม (Social Intelligence) คือความสามารถใน การปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ผอู้ ่ืนได้

44 2. ทฤษฎีความสามารถทางสมองพ้ืนฐานของเธอร์สโตน (Thurstone’s Primary Mental Ability) ในปี ค.ศ. 1958 หลุยส์ แอล เธอร์สโตน (Louis L. Thurstone) เป็น นกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั เขาเป็นคนหน่ึงในหลายคนที่ไมเ่ ช่ือวา่ เชาวนป์ ัญญาของคนจะมีลกั ษณะ เดียว หรือเป็ นความสามารถอนั เดียวรวมๆ กนั เหมือนอยา่ งที่บิเนตค์ ิด และขณะเดียวกนั ก็ไม่เชื่อวา่ จะมีเพียง 2 องคป์ ระกอบเหมือนความคิดของสเปี ยร์แมน แตเ่ ขาเชื่อวา่ เชาวนป์ ัญญาจะตอ้ ง ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลายๆ อยา่ ง เขาจึงไดท้ าการศึกษาธรรมชาติของเชาวน์ปัญญาต้งั แต่ปี ค.ศ. 1936 จนถึงปี ค.ศ. 1960 โดยสร้างแบบทดสอบจานวน 56 ฉบบั แลว้ นาไปทดสอบบุคคล จานวนมาก และนาผลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิคทางสถิติท่ีเรียกวา่ การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบ (Factor Analysis) จากผลของการวเิ คราะห์เขาไดพ้ บวา่ เชาวนป์ ัญญาของมนุษยป์ ระกอบดว้ ย องคป์ ระกอบหลายตวั หรือความสามารถเบ้ืองตน้ หลายอยา่ งซ่ึงเธอร์สโตนใหช้ ื่อวา่ ความสามารถ พ้นื ฐานทางสมอง (Primary Mental Ability) ซ่ึงประกอบดว้ ยความสามารถเด่นๆ 7 ดา้ นคือ (Silverman. 1985 : 240) 1. สมรรถภาพดา้ นความเขา้ ใจภาษา (Verbal Comprehension Factor or V - Factor) เป็นความสามารถในการเขา้ ใจภาษา คาศพั ท์ ขอ้ ความ บทกวี หรือเร่ืองราวตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การใชภ้ าษา ไดแ้ ก่ แบบทดสอบคาศพั ทห์ าคาตรงกนั ขา้ ม แบบทดสอบความเขา้ ใจ ในการอา่ น แบบทดสอบการเติมคาใหส้ มบูรณ์ เป็นตน้ 2. สมรรถภาพดา้ นการคานวณ หรือดา้ นคณิตศาสตร์ (Numerical Ability or N – Factor) เป็นความสามารถในการคิดคานวณตวั เลขต่างๆ โดยใชพ้ ้ืนฐานเบ้ืองตน้ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและถูกตอ้ ง 3. สมรรถภาพดา้ นความจา (Memory Factor or M – Factor) เป็นความ สามารถในการระลึก และจดจาเหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งแมน่ ยา 4. สมรรถภาพดา้ นความคล่องแคล่วในการใชค้ า (Word Fluency or W – Factor) เป็นความสามารถในการใชค้ าต่างๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว รวดเร็ว ถูกตอ้ ง มกั พบใน แบบทดสอบท่ีคานึงถึงความถูกตอ้ งมากที่สุด ภายในเวลาท่ีกาหนดให้ เช่น ใหเ้ ขียนชื่อผลไมท้ ่ี ข้ึนตน้ ดว้ ยคาวา่ “ มะ “ ใหม้ ากท่ีสุดเท่าท่ีจะสามารถเขียนได้ เป็นตน้ 5. สมรรถภาพดา้ นการใหเ้ หตุผล (Reasoning or R – Factor) เป็นความ สามารถในการจดั ประเภท อุปมาอุปไมย และสรุปความไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล 6. สมรรถภาพดา้ นมิติสมั พนั ธ์ (Spacial Visualization or S – Factor) เป็นความสามารถในการมองเห็นความสัมพนั ธ์ของระยะทางระหวา่ งสิ่งต่างๆ จากการมองจากจุด เดียวกนั

45 7. สมรรถภาพดา้ นการรับรู้ (Perceptual Speed or P – Factor) เป็น ความสามารถที่จะรับรู้ส่ิงต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แม่นยา และรวดเร็ว สามารถรับรู้รายละเอียดของ สิ่งตา่ งๆ ที่เห็น มองความคลา้ ยหรือความแตกตา่ ง เป็นตน้ 2.4 ทฤษฎีจดั กลุ่ม และอนั ดบั (Hierachical Theory) เป็นทฤษฎีของนกั จิตวทิ ยาชาว องั กฤษสองทา่ น คือ เบิร์ต (Burt) และเวอร์นอน (Vernon) ซ่ึงมีความเห็นวา่ เชาวน์ปัญญา เป็น พฤติกรรมทางสมองของมนุษย์ สามารถแบ่งออกเป็นลกั ษณะใหญๆ่ ได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1. เชาวนป์ ัญญาที่เป็นอิสระปราศจากการเรียนรู้และประสบการณ์ (Fluid Intelligence) เป็นเชาวน์ปัญญาท่ีเป็นผลมาจากการถ่ายทอดทางกรรมพนั ธุ์ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การ เรียนรู้ 2. เชาวน์ปัญญาท่ีข้ึนอยกู่ บั ประสบการณ์และการเรียนรู้ (Crystallized Intelligence) เป็นความสามารถท่ีเกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ การฝึกฝน เชาวนป์ ัญญา ประเภทน้ี สามารถแยกแยะออกเป็ นระดบั ยอ่ ยๆ ได้ 3 ระดบั ก. ความสามารถกลุ่มใหญ่ (Major Group Factors) มี 2 ตวั ประกอบ คือ ความ สามารถทางภาษา และการศึกษา (Verbal – Educational Factor or V : ed) และความสามารถ ทางการปฏิบตั ิ (Practical Factor or K : m) ข. ความสามารถกลุ่มยอ่ ย (Minor Group Factors) ไดแ้ ก่ ความสามารถทางภาษา กบั คณิตศาสตร์ และอ่ืนๆ ในกลุ่มของ V : ed และความสามารถทางการฝีมือ เคร่ืองกล และการ มองเห็นมิติสมั พนั ธ์ใน K : m ค. ความสามารถเฉพาะ (Specific Factors) ไดแ้ ก่ ความสามารถพเิ ศษเฉพาะอยา่ ง 2.5 ทฤษฎีโครงสร้างทางสติปัญญาของกลิ ฟอร์ด (Guilford’s Structure of Intellect Model หรือ SI model) จอย พอล กิลฟอร์ด (Joy Paul Guilford) เป็นนกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั เขาไดศ้ ึกษา องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของเชาวน์ปัญญาท่ีมีผศู้ ึกษาไวก้ ่อน โดยใชว้ ธิ ีวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเขา้ ช่วย ในที่สุดเขากไ็ ดเ้ สนอโครงสร้าง หรือแบบจาลองสมรรถภาพทางสมองของมนุษยใ์ นรูป 3 มิติ ดงั น้ี 1. มิติที่แสดงถึงการทางานของสมอง (Operation) แสดงความสามารถในขบวน การคิด หรือวธิ ีการคิด ประกอบดว้ ย 1.1 การรับรู้และการเขา้ ใจ (Cognition) หมายถึงความสามารถทางสมองของ บุคคลที่จะรู้จกั หรือคน้ พบ และเขา้ ใจส่ิงต่างๆ โดยอาศยั ประสบการณ์เดิม และสามารถบอกไดว้ า่ สิ่งน้นั คืออะไร เช่น เห็นภาพ ก็บอกไดว้ า่ เป็นภาพอะไร เป็นตน้ 1.2 การจา (Memory) หมายถึงความสามารถของสมองที่สะสมความรู้ตา่ งๆ

46 แลว้ เก็บไว้ และระลึกไดเ้ มื่อเวลาผา่ นไปแลว้ 1.3 การคิดแบบเอนกนยั (Divergent Thinking) หมายถึงความสามารถท่ีจะ คิด ท่ีจะกระทาตอบต่อสิ่งตา่ งๆ ไดห้ ลายทาง ตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าไดห้ ลายแง่หลายมุมตา่ งกนั ไป หรือมีคาตอบต่อปัญหาไดห้ ลายๆ คาตอบ 1.4 การคิดแบบเอกนยั (Convergent Thinking) หมายถึงการคิดท่ีสามารถ เลือกคาตอบท่ีดีท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว หรือสามารถหาเกณฑท์ ่ีเหมาะสมที่สุดได้ สามารถสรุปผล จากขอ้ มลู ที่กาหนดใหไ้ ด้ เช่น กาหนด 1,3,5……. และถามวา่ ตวั เลขตวั ต่อไปคืออะไร คาตอบก็ คือ 7 เป็นตน้ 1.5 การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึงความสามารถทางสมองท่ี สามารถหาเกณฑท์ ่ีดีท่ีสุดแลว้ ประเมินผลหรือประเมินค่า ตีราคา เห็นควรหรือไม่เห็นควร โดยใช้ วจิ ารณญาณตดั สินส่ิงตา่ งๆ ไดด้ ี มีเหตุผล 2. มิติท่ีแทนสิ่งที่เป็ นขอ้ มลู ส่ิงเร้า หรือเน้ือหา (Content) หมายถึงสิ่งตา่ งๆ ท่ีใชเ้ ป็นสื่อใหเ้ กิดความคิด หรือความรู้สึก ซ่ึงอาจเป็นสิ่งของ เรื่องราว สญั ลกั ษณ์ หรือ เหตุการณ์ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ 2.1 ภาพหรือสิ่งเร้าที่มีรูปร่างตวั ตน (Figure) หมายถึงสิ่งท่ีเป็นรูปธรรมต่างๆ มีโครงสร้างที่สามารถมองเห็น หรือใหค้ วามรู้สึกได้ เช่น บา้ น รถ เสียง ความร้อนฯลฯ 2.2 สญั ลกั ษณ์ (Symbolic) หมายถึงเครื่องหมาย หรือสัญญาณต่างๆ เช่น ตวั เลข ตวั อกั ษร โนต้ ดนตรี สัญญาณจราจร ฯลฯ 2.3 ภาษาหรือความหมาย (Semantic) หมายถึงส่ิงเร้า หรือขอ้ มลู ที่เป็นถอ้ ย คา หรือภาษาเขียนที่มีความหมาย ส่ือสาร และเขา้ ใจกนั ไดใ้ นกลุ่มชน รวมท้งั ภาษาใบด้ ว้ ย 2.4 พฤติกรรม (Behavioral) หมายถึงส่ิงเร้าท่ีเป็นการแสดงออกใหส้ ังเกต เห็นไดร้ ับรู้ได้ มีความรู้สึกได้ 3. มิติที่แสดงถึงผลที่ไดจ้ ากการทางานของสมอง หรือผลของการคิด (Product) หมายถึงผลที่เกิดจากการท่ีมนุษยค์ ิดในส่ิงตา่ งๆ แลว้ สามารถจดั เป็ นพวก กลุ่ม หรือสามารถดนั แปลง ปรับปรุง สร้างสรรคส์ ิ่งต่างๆ ออกมาได้ ไดแ้ ก่ 3.1 หน่วย (Units) หมายถึงส่ิงทย่ี อ่ ยที่สุดของสิ่งตา่ งๆ ที่มีคุณสมบตั ิเฉพาะ ตวั ไมเ่ หมือนกบั สิ่งอื่นๆ เช่น นก หนู เตา่ เป็ นหน่วยของสตั ว์ ก. ข. ค. เป็นหน่วยของตวั อกั ษร เป็ นตน้ 3.2 จาพวก (Classes) หมายถึงกลุ่มหรือชุดของหน่วยท่ีมีคุณสมบตั ิร่วมกนั จดั อยใู่ นจาพวกเดียวกนั ได้ เช่น เตา่ กบั งู ต่างเป็นหน่วยของสตั ว์ แต่เป็นจาพวกสัตวเ์ ล้ือยคลาน

47 3.3 ความสัมพนั ธ์ (Relations) หมายถึงผลของการโยงความคิด 2 ประเภท เขา้ ดว้ ยกนั อาจเป็ นหน่วยกบั หน่วย จาพวกกบั จาพวก เช่น พระกบั วดั นกกบั รัง เป็ นการโยง ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวติ กบั ท่ีอยอู่ าศยั เป็นตน้ 3.4 ระบบ (Systems) หมายถึงกลุ่มของสิ่งตา่ งๆ ที่เชื่อมโยงกนั โดยมีเกณฑ์ ร่วมกนั มีแบบแผนลาดบั ข้นั ตอนก่อนหลงั ของความสัมพนั ธ์ เช่น 1,3,5,7,9 เป็นระบบเลขค่ี เป็ น ตน้ 3.5 การแปลงรูป (Transformations) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง ดดั แปลงส่ิงต่างๆ ออกมาในรูปใหม่ เช่น กลม เป็น กมล เป็นตน้ 3.6 การนาไปใช้ หรือการประยกุ ต์ (Implications) หมายถึงการคิดที่มีผล สามารถนาเอาไปใชป้ ระโยชน์ในการแกป้ ัญหา หรือในการปฏิบตั ิได้ สามารถคาดคะเน หรือ ทานายเหตุการณ์ต่างๆ ได้ จากโครงสร้างทางสมอง 3 มิติน้ี กิลฟอร์ดนามาเขียนเป็นรูปลูกบาศก์ (Three Faces of Intellect Model) ไดโ้ ครงสร้างของเชาวนป์ ัญญาท่ีประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบถึง 120 องคป์ ระกอบ แต่ละองคป์ ระกอบกจ็ ะประกอบดว้ ยมิติท้งั 3 สามารถนามาเป็นรูปแบบในการสร้าง แบบทดสอบเพ่ือวดั ความสามารถทางสมองในดา้ นน้นั ๆ ได้ เช่น แทนองคป์ ระกอบดา้ นการรู้และ การเขา้ ใจภาษาที่ไดผ้ ลเป็ นหน่วย ซ่ึงเรียกยอ่ ๆ วา่ CMU : Cognitive-Semantic-Units 3. การวดั เชาวน์ปัญญา อาจกล่าวไดว้ า่ เซอร์ฟรานซิส แกลตนั (Sir Francis Galton) นกั ชีววทิ ยาชายองั กฤษเป็น บุคคลแรกท่ีนาวธิ ีการทดสอบเขา้ มาช่วยในการวดั ความสามารถของบุคคล ท้งั น้ีจากการท่ีท่านได้ สร้างเคร่ืองมือทดสอบสาหรับวดั ความสามารถในดา้ นตา่ งๆ ของบุคคลข้ึนในปี ค.ศ. 1863 เคร่ืองมือน้ีโดยส่วนใหญ่มุ่งวดั คุณลกั ษณะของประสาทสัมผสั การดูและการฟังเป็นประการสาคญั เช่น เครื่องวดั ความแตกตา่ งในความรู้สึกต่อเสียง เคร่ืองวดั ความแตกต่างในการมองเห็น และฟัง ไดแ้ ก่ การคาดคะเนความยาวของส่ิงของ การจาแนกเสียงสูง-ต่า เป็นตน้ และเคร่ืองวดั ความ แตกตา่ งของน้าหนกั เป็นตน้ จะเห็นไดว้ า่ เครื่องมือในการทาสอบความสามารถของบุคคลของ แกลตนั มีลกั ษณะท่ีเนน้ หนกั ไปในดา้ นการวดั ความสามารถในการจาแนกความแตกต่างของส่ิงเร้า และช่วงเวลาการตอบสนอง (Reaction Time) นกั จิตวทิ ยาโดยทวั่ ไปจึงเห็นวา่ เคร่ืองมือทดสอบ ของท่านไมไ่ ดแ้ สดงถึงเชาวนป์ ัญญาของบุคคลท่ีแทจ้ ริง อยา่ งไรกต็ าม แกลตนั ก็ไดช้ ่ือวา่ เป็นผู้ บุกเบิกในการวดั ความสามารถของบุคคล (Darley. 1981 : 242) ซ่ึงตอ่ มาในปี ค.ศ. 1890 เจมส์ แมคคีน แคทเทล (James Mckeen Cattell) นกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั ผทู้ ี่นาคาวา่ แบบทดสอบ

48 ความสามารถทางสมอง (Mental Test) มาใช้ กไ็ ดส้ ร้างเคร่ืองมือทดสอบที่วดั ความสามารถ ทางดา้ นการสัมผสั และความรวดเร็วของปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Time) อีกดว้ ยเช่นกนั ยคุ ของการวดั เชาวนป์ ัญญาของบุคคลเริ่มตน้ แทจ้ ริงในปี ค.ศ. 1904 โดยมีเหตุการณ์สืบ เน่ืองมาจากปี ค.ศ. 1896 ในประเทศฝรั่งเศสมีเดก็ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาสอบตกเป็ นจานวนมาก กระทรวงศึกษาธิการจึงของความร่วมมือใหอ้ ลั เฟรด บิเนต์ ใหส้ ร้างแบบทดสอบเพื่อจาแนกเดก็ ที่ มีเชาวน์ปัญญาอ่อนออกจากเด็กท่ีมีเชาวนป์ ัญญาปกติ ในปี ค.ศ. 1905 บิเนต์ จึงร่วมมือกบั ธีโอไฟล์ ไซมอน (Theophile Simon) สร้างและตีพมิ พแ์ บบทดสอบวดั เชาวน์ ปัญญาข้ึนมาชุดหน่ึง ใหช้ ่ือวา่ Binet-Simon Scale โดยแบบทดสอบชุดน้ีจะวดั ความสามารถดา้ น การตดั สินใจ การคิดหาเหตุผลการจินตนาการ การใชส้ ามญั สานึก และความสามารถในการ ปรับตวั ของเด็กในระดบั อายรุ ะหวา่ ง 3-11 ปี แบบทดสอบประกอบดว้ ยขอ้ ทดสอบจานวน 30 ขอ้ โดยจดั เรียงลาดบั ตามความยากง่าย ในปี ค.ศ. 1908 บิเนตไ์ ดท้ าการปรับปรุงแบบทดสอบขา้ งตน้ ใหม่ โดยการตดั ขอ้ ทดสอบ บางขอ้ ออก เพมิ่ ขอ้ ทดสอบใหมเ่ ขา้ ไปอีกหลายขอ้ และขยายใหใ้ ชท้ ดสอบไดก้ บั เดก็ ที่มีอายุ 3-13 ปี นอกจากน้นั ขอ้ คาถามไดถ้ ูกจดั ตามกลุ่มอายุ (Age-Standard Method) เน่ืองจากบิเนตเ์ ช่ือวา่ เดก็ อายมุ ากข้ึนจะฉลาดข้ึน เขาจึงไดส้ ร้างขอ้ คาถามเก่ียวกบั ความรู้ทวั่ ไป และนามาทดสอบกบั เดก็ ใน แต่ละระดบั อายุ และถือเกณฑส์ ่วนใหญเ่ กินร้อยละ 50 สามารถตอบคาถามน้นั ไดห้ มด ก็จะจดั คาถามน้นั เป็นขอ้ คาถามสาหรับเดก็ ในแต่ละระดบั อายนุ ้นั เช่น คาถามขอ้ หน่ึง กลุ่มเด็กอายุ 3 ขวบ ตอบไดถ้ ูกตอ้ งไม่ถึงหรือนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ในขณะที่กลุ่มเด็กอายุ 4 ขวบตอบไดถ้ ูกตอ้ งร้อย ละ 52 และกลุ่มเดก็ อายุ 5 ขวบ สามารถตอบไดถ้ ูกตอ้ งเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ คาถามขอ้ น้ีกจ็ ะถูกจดั ไวใ้ นแบบทดสอบสาหรับเด็กอายุ 4 ขวบ เป็นตน้ นอกจากน้ีบิเนตก์ ็ไดเ้ ริ่มนาคาวา่ อายสุ มอง (Mental Age หรือ M.A.) มาใช้ โดยอายสุ มอง ของบุคคลจะข้ึนอยกู่ บั จานวนขอ้ ของแบบทดสอบที่เด็กทาได้ เช่น ถา้ เดก็ คนหน่ึงมีอายจุ ริง (Chronological Age หรือ C.A.) เทา่ กบั 6 ขวบ สามารถทาแบบทดสอบซ่ึงจดั ไวเ้ ป็นชุดคาถาม สาหรับเด็กอายุ 8 ขวบได้ ก็แสดงวา่ เดก็ คนน้นั มีอายจุ ริงเทา่ กบั 6 ขวบ แต่มีอายสุ มองเท่ากบั 8 ขวบ เป็นตน้ ในปี ค.ศ. 1916 ลูอิส เอม็ เทอร์แมน (Lewis M Terman) ศาสตราจารยแ์ ห่งมหาวทิ ยาลยั แสตนฟอร์ด (Stanford University) ไดร้ ่วมงานกบั บิเนตด์ ดั แปลงแกไ้ ขแบบทดสอบชุด Binet- Simon Scale ซ่ึงปรับปรุงมาแลว้ คร้ังหน่ึงในปี ค.ศ. 1908 และตีพิมพเ์ ผยแพร่เป็ นแบบทดสอบชุด ใหม่ข้ึน โดยใหช้ ื่อวา่ แบบทดสอบสแตนฟอร์ด-บิเนต์ (Stanford-Binet Intelligence Scale) เพอื่ เป็น เกียรติแก่บิเนต์ และมหาวทิ ยาลยั แสตนฟอร์ดที่เทอร์แมนทางานอยู่ แบบทดสอบชุดน้ีใชส้ าหรับ

49 ทดสอบเชาวน์ปัญญาของเด็กระดบั อายุ 2-15 ปี นอกจากน้นั ยงั ไดม้ ีการจดั แบง่ แบบทดสอบ ออกเป็ น 2 กลุ่ม ดงั น้ี 1. แบบทดสอบสาหรับเด็กอายุ 2-5 ขวบ ทุกชุดจะห่างกนั ชุดละ ½ ปี โดยเริ่มดว้ ย แบบทดสอบสาหรับเดก็ อายุ 2 ขวบ 2 ½ ขวบ 3 ขวบ 3 ½ ขวบ 4 ขวบ 4 ½ ขวบ และ 5 ขวบ แบบทดสอบทุกชุดจะมีขอ้ คาถามชุดละ 6 ขอ้ ถา้ เดก็ ตอบไดใ้ นแตล่ ะขอ้ กจ็ ะไดค้ ะแนนอายสุ มอง ขอ้ ละ 1 เดือน 2. แบบทดสอบสาหรับเดก็ อายุ 6 – 15 ปี ทุกชุดห่างกนั ชุดละ 1 ปี คือมีแบบทดสอบ สาหรับเดก็ อายุ 6 ปี 7 ปี 8 ปี 9 ปี 10 ปี 11 ปี 12 ปี 13 ปี 14 ปี และ 15 ปี แต่ละชุดจะมีคาถาม 6 ขอ้ ถา้ เดก็ ตอบไดถ้ ูกตอ้ งจะไดค้ ะแนนอายสุ มองขอ้ ละ 2 เดือน ในปี ค.ศ 1937 ไดม้ ีการปรับปรุงแบบทดสอบ Stanford – Binet Intelligence Scale อีก คร้ังหน่ึง โดยเพิ่มแบบทดสองสาหรับเด็กอายุ 15 ปี ข้ึนไปอีก 5 ชุด ดงั น้ี 1. Average Adult (A.A) ประกอบดว้ ยขอ้ คาถาม 8 ขอ้ แตล่ ะขอ้ จะมีคะแนนอายุ สมองเท่ากบั 2 เดือน 2. Superior Adult (S.A. I II III ) มีคาถามชุดละ 6 ขอ้ แตล่ ะขอ้ จะมีคะแนนอายุ สมองเทา่ กบั 4,5,6 เดือน ตามลาดบั แบบทดสอบชุดน้ีต่อมาไดร้ ับการเปล่ียนช่ือใหม่วา่ Revised Stanford-Binet Intelligence Scale อน่ึงในช่วงเวลาเดียวกนั น้ี ยงั ไดม้ ีการพฒั นาการคานวณคา่ เชาวน์ปัญญา (Intelligence Quotient หรือ IQ) ข้ึนโดยการนาอายสุ มองไปเทียบอตั ราส่วนกบั อายจุ ริง วธิ ีการเช่นน้ีเรียกวา่ Ratio IQ มีสูตรวา่ IQ = M.A. x 100 C.A. วธิ ีการคานวณสามารถทาไดค้ ือ ถา้ เด็กคนหน่ึงมีอายจุ ริง 3 ปี 4 เดือน เมื่อจะทดสอบ เชาวนป์ ัญญา ผทู้ ดสอบจะเริ่มดว้ ยการใหเ้ ด็กคนน้ีทาแบบทดสอบในชุดที่ต่ากวา่ ระดบั อายจุ ริงก่อน เพอื่ หาอายฐุ าน (Basal age) คือ ระดบั อายตุ ่าสุดที่เดก็ สามารถตอบคาถามไดถ้ ูกตอ้ งหมด และหา อายเุ พดาน (Ceiling age) คือ ระดบั อายสุ ูงสุดท่ีเดก็ ไมส่ ามารถตอบคาถามไดถ้ ูกตอ้ งเลย แลว้ นามา ทาการคานวณ ดงั น้ี เม่ือทาการทดสอบเชาวนป์ ัญญาและไดค้ ่าระดบั เชาวนป์ ัญญาแลว้ นกั จิตวทิ ยาจะแปล ความหมายวา่ ค่าระดบั เชาวนป์ ัญญาน้นั ๆ แสดงถึงความสามารถทางสมองระดบั ใด ซ่ึงในเรื่องน้ีก็ ไดม้ ีนกั จิตวทิ ยาหลายท่านไดท้ าการศึกษาไว้ ไดแ้ ก่

50 เทอร์แมน ไดจ้ าแนกเชาวน์ปัญญาของมนุษยต์ ามระดบั เกณฑภ์ าคเชาวน์ ดงั น้ี (Hilgard and Other. 1979 : 354) ในปี ค.ศ. 1939 เดวิด เวคสเลอร์ (David Wechsler) จิตแพทยช์ าวอเมริกนั เห็นวา่ แบบทดสอบสแตนฟอร์ด-บิเนต์ น้นั สร้างข้ึนเพอ่ื วดั เชาวน์ปัญญาของเดก็ เทา่ น้นั เขาจึงสร้าง แบบทดสอบวดั เชาวน์ปัญญาสาหรับผใู้ หญ่ข้ึน ใหช้ ื่อวา่ Wechsler Adult Intelligence Scale หรือ WAIS เพอื่ ทดสอบเชาวน์ปัญญาของผใู้ หญ่ที่มีอายตุ ้งั แต่ 16 ปี ข้ึนไป และในอีก 10 ปี ต่อมาคือปี ค.ศ. 1949 เวคสเลอร์ก็ไดส้ ร้างแบบทดสอบอีกชุดหน่ึงสาหรับวดั เชาวนป์ ัญญาของเดก็ อายไุ ม่เกิน 15 ปี ใหช้ ื่อวา่ Wechsler Intelligence Scale for Children หรือ WISC 4. ชนิดของแบบทดสอบวดั เชาวน์ปัญญา แบบทดสอบวดั เชาวนป์ ัญญา เมื่อแบ่งตามลกั ษณะของขอ้ สอบสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ (Hilgard and Other. 1979 : 353-355) 1. แบบทดสอบเป็ นรายบุคคล (Individual Test) เป็นแบบทดสอบท่ีใชก้ บั บุคคลคร้ัง ละ 1 คนเท่าน้นั มกั มีรายละเอียดคอ่ นขา้ งซบั ซอ้ น ผทู้ ดสอบจะตอ้ งมีความชานาญไดร้ ับการฝึกฝน การใชแ้ บบทดสอบมาเป็ นอยา่ งดี เช่น แบบทดสอบแสตนฟอร์ด-บิเนต์ (Stanford-Binet Intelligence Scale) WAIS และ WISC เป็นตน้ 2. แบบทดสอบเป็ นกลุ่ม (Group Test) เป็นแบบทดสอบท่ีสามารถใชท้ ดสอบกบั บุคคลไดค้ ร้ังละมากกวา่ 1 คน แบบทดสอบเป็นกลุ่มมีจุดเร่ิมตน้ มาจาก ในปี ค.ศ. 1917 สมาคม จิตวทิ ยาแห่งสหรัฐอเมริการไดร้ ับมอบหมายจากรัฐบาลใหต้ ้งั คณะกรรมการสร้างแบบทดสอบ ข้ึนมาชุดหน่ึง เพอ่ื วดั เชาวน์ปัญญาของทหารใหม่จานวน 1 ลา้ น 5 แสนคน เพื่อจาแนกส่งไป ประจาการตามหน่วยตา่ งๆ ในการทาสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ซ่ึงแบบทดสอบชุดน้ีจะวดั ความฉลาด ทว่ั ๆ ไป ที่ไมเ่ ก่ียวกบั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ยแบบทดสอบ 2 ฉบบั คือ 1. Army Alpha สาหรับบุคคลที่อา่ นออกเสียงได้ ประกอบดว้ ยแบบทดสอบ ยอ่ ย 8 ฉบบั เช่น ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ใหค้ ิดเลขในใจ 20 ขอ้ ภายในเวลา 5 นาที เป็ นตน้ 2. Army Beta สาหรับบุคคลที่ไม่รู้หนงั สือ จะทดสอบโดยการใหป้ ฏิบตั ิแทน ประกอบดว้ ยแบบทดสอบยอ่ ย 7 ฉบบั เช่น การเติมภาพใหส้ มบรู ณ์ เป็ นตน้ โดยทวั่ ไปนกั จิตวทิ ยาจะชอบใชแ้ บบทดสอบเป็นรายบุคคลมากกวา่ ท้งั น้ีเพราะใน ระหวา่ งการทดสอบ ผทู้ ดสอบสามารถสังเกตพฤติกรรมผถู้ ูกทดลองไดอ้ ีกดว้ ย ในขณะท่ีผจู้ ดั ดาเนินการทดสอบเชาวน์ปัญญาเป็นกลุ่มมกั จะเป็นครู เจา้ หนา้ ที่ ผซู้ ่ึงอาจไมม่ ีความรู้ในการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook