Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปุ๋ยเคมี

ปุ๋ยเคมี

Description: ปุ๋ยเคมี

Search

Read the Text Version

การผลิตป๋ยุ หมกั อินทรียช์ วี ภาพ ภาคเหนือ ศูนย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง อาเภอปาย ตั้งอยู่เลขที่ 76/1 หมู่ 2 ตาบลแม่นาเติง อาเภอปาย จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ปุย๋ : วัสดทุ ี่ใหธ้ าตุอาหารพืช หรอื สง่ิ มชี วี ิตทก่ี อ่ ใหเ้ กิดธาตุอาหารพชื สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีเป็นพิษกับแมลงและ ศัตรพู ืช หากใช้ไม่ระมัดระวังย่อมเป็นพิษต่อสุขภาพของผู้ใช้ และผู้บริโภค ทั้งยังมีสารพิษตกค้างใน ส่ิงแวดล้อมอีกด้วย จึงมักมีคาเตือนบนฉลาก เช่น ควรเก็บเก่ียวผลผลิตหลังจากฉีดพ่นยา 20 วัน มิฉะนั้นสารพษิ ตกค้างในผลผลิตจะเปน็ อนั ตรายต่อผ้บู รโิ ภค เป็นต้น 1. ปยุ๋ และผลประโยชน์ของปุย๋ ปุ๋ย คือ วัสดุท่ีมีธาตุอาหารพืชเป็นองค์ประกอบ หรือสิ่งมีชีวิตท่ีก่อให้เกิดธาตุอาหาร พืช เมื่อใส่ลงไปในดินแล้วจะปลดปล่อยหรือสังเคราะห์ธาตุอาหารที่จาเป็นให้แก่พืช ดินท่ีมีความ สมบรู ณ์สงู จึงต้องการธาตอุ าหารพชื เพ่มิ เตมิ จากปยุ๋ นอ้ ยกว่าดินที่มีความอุดมสมบรู ณ์ต่า ปุ๋ยแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี้ (1) ปุ๋ยเคมี คือ สารประกอบอนินทรีย์ท่ีให้ธาตุอาหารพืช เป็นสารประกอบท่ีผ่าน กระบวนการผลิตทางเคมี เม่ือใส่ลงไปในดินที่มีความช้ืนที่เหมาะสม จะละลายให้พืชดูดไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างรวดเร็ว (2) ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ คือ สารประกอบที่ไดจ้ ากสง่ิ มชี ีวติ ได้แก่ พืช สัตว์ จุลินทรีย์ ฯลฯ ผ่าน กระบวนการผลิตทางธรรมชาติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์สว่ นใหญ่ใช้ในการปรบั ปรงุ คุณสมบตั ทิ างกายภาพของดิน ทาใหด้ นิ รว่ นซยุ ระบายน้าและถ่ายเทอากาศได้ดี รากพืชชอนไชไปหาธาตุอาหารได้ง่าย ปุ๋ยอินทรีย์ มี 3 ประเภท คอื ปยุ๋ หมกั ปุย๋ คอก และปยุ๋ พืชสด ปุ๋ยอินทรีย์มีปริมาณธาตุอาหารพืชอยู่น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับปุ๋ยเคมี (ตารางที่ 3.2) และธาตุอาหารพืชส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบอินทรีย์ เช่น ไนโตรเจนอยู่ในสารประกอบ

ย่อยสลายของจลุ นิ ทรยี ์ในดิน แล้วปลดปลอ่ ยธาตอุ าหารเหล่าน้นั ออกมาในรปู สารประกอบอนินทรยี ์ เช่นเดยี วกนั กบั ปุ๋ยเคมี จากนน้ั พชื จึงดูดไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ตารางปรมิ าณ เอน็ - พี - เค ในป๋ยุ อินทรีย์ ธาตอุ าหารพืช (รอ้ ยละโดยน้าหนัก) ปยุ๋ อินทรีย์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ผกั ตบชวา 1.55 0.46 0.49 ปอเทือง 1.98 0.30 2.41 ตน้ ขา้ วโพด 0.71 0.11 1.38 ฟางข้าว 0.59 0.08 1.72 ราขา้ ว 1.22 0.91 1.09 แกลบ 0.46 0.26 0.70 ขีเ้ ถ้าแกลบ 0.00 0.15 0.81 มลู วัว 1.10 0.40 1.60 มูลสกุ ร 1.30 2.40 1.00 มูลไก่ 2.42 6.29 2.11 มูลค้างคาว 1.54 14.28 0.60 ปุ๋ยหมักฟางขา้ ว 1.34 0.53 0.97 จากขอ้ มลู กรมวชิ าการเกษตร (ตารางที่ 3.1) ปริมาณ เอ็น - พี - เค ในปุ๋ยอินทรีย์โดย เฉลีย่ มีเพียงรอ้ ยละ 2 - 1 - 1 ตามลาดบั ฉะนนั้ ถ้าต้องการนา เอ็น - พี - เค ในปุ๋ยอินทรีย์มาชดเชย ธาตอุ าหารพืชในดินทส่ี ญู เสียไปกับผลผลิต จะต้องใช้ในประมาณมากมายมหาศาล ประกอบกับการ ปรับปริมาณการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อสร้างความสมดุลของแต่ละธาตุอาหารพืชในดินก็ทาได้ลาบาก เนื่องจากวัสดุท่ีนามาใช้ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์มีความแตกต่างหลากหลาย และปริมาณธาตุอาหาร พืชในวัสดเุ หล่านนั้ กม็ คี วามแปรปรวนมาก

คุณสมบัติบางประการของปุ๋ยอินทรีย์ตามมาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร ได้แก่ ความช้ืนไม่เกิน ร้อยละ 35 ปริมาณอินทรียวัตถุมากกว่าร้อยละ 30 ค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) = 5.5 - 8.5 และ ปริมาณ เอน็ - พี - เค มากกว่าร้อยละ 1.0 - 0.5 - 0.5 ตามลาดับ เป็นต้น ซ่ึงมาตรฐานเหล่านี้ยังไม่ มีผลบงั คบั ใช้อย่างเป็นทางการ จงึ มีผฉู้ กฉวยโอกาสขายปุ๋ยอินทรีย์ในราคาแพงเกินความเป็นจริงอยู่ ทว่ั ไป ในปี 2548 กรมวิชาการเกษตรไดต้ รวจสอบคณุ ภาพของปยุ๋ อินทรีย์วางจาหน่ายใน 18 จงั หวัด รวม 328 ตวั อยา่ ง พบวา่ มีเพียง 2 ตัวอย่าง หรือร้อยละ 0.6 เท่าน้ันท่ีได้มาตรฐานดังกล่าว ข้างต้น ฉะน้ันเกษตรกรควรผลิตปุ๋ยอินทรีย์ไว้ใช้เอง เพราะมีโอกาสสูงท่ีจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ให้ ประโยชน์ไมค่ ุ้มค่ากับเงนิ ทตี่ ้องจ่ายออกไป (3) ปุ๋ยชีวภาพ คือ ปุ๋ยท่ีประกอบด้วยจุลินทรีย์ท่ียังมีชีวิตอยู่และมีคุณสมบัติพิเศษ สามารถสงั เคราะห์สารประกอบธาตุอาหารพืชได้เอง หรือสามารถเปล่ียนธาตุอาหารพืชที่มีอยู่ในรูป ท่ไี มเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ พืชให้มาอยู่ในรูปทพ่ี ชื สามารถดูดไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ปุ๋ยชีวภาพแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ กลุ่มจุลินทรีย์ท่ีสามารถสังเคราะห์ สารประกอบธาตุอาหารพืชไนโตรเจนได้เอง ได้แก่ ไรโซเบียมที่อยู่ในปมรากพืชตระกูลถั่วแฟรงเคีย ท่ีอยู่ในปมของรากสนทะเล สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินท่ีอยู่ในโพรงใบของแหนแดง และยังมี จลุ นิ ทรยี ์ทอี่ าศัยอย่ใู นดินอย่างอิสระอีกมากที่มีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศให้แก่ พืชได้เช่นกัน และอีกประการหน่ึง คือ กลุ่มจุลินทรีย์ท่ีช่วยทาให้ธาตุอาหารพืชในดินละลายออกมา อยู่ในรูปที่พืชดูดไปใช้ประโยชน์ได้ กรมวิชาการเกษตรเป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่ได้ ศกึ ษาวจิ ัยปุ๋ยชีวภาพมามากกว่า 30 ปี และผลิตป๋ยุ ชวี ภาพจาหน่ายใหแ้ กเ่ กษตรกรด้วย (4) ปุ๋ยอินทรียช์ วี ภาพ คือ ปุ๋ยอินทรีย์ท่ีผ่านกระบวนการผลิตท่ีใช้อุณหภูมิสูงถึงระดับ ที่สามารถ ฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ ทั้งท่ีเป็นโรคพืช โรคสัตว์ และโรคมนุษย์ รวมทั้งจุลินทรีย์ทั่วๆ ไปด้วย จากนั้นจึงนาจุลินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเป็นปุ๋ยชีวภาพท่ีเล้ียงไว้ในสภาพปลอดเช้ือมาผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ ดังกล่าว และทาการหมักต่อไปจนกระทั่งจุลินทรีย์ที่ใส่ลงไปในปุ๋ยหมักมีปริมาณคงที่ จุลินทรีย์ เหล่าน้ีนอกจากจะช่วยตรึงไนโตรเจนให้แกพืชแล้ว ยังช่วยผลิตสารฮอร์โมนพืชเพ่ือกระตุ้นการ เจริญเติบโตของรากพืช และจุลินทรีย์บางชนิดยังสามารถควบคุมโรคพืชในดิน และกระตุ้นให้พืช สรา้ งภมู ิคุม้ กันโรคไดอ้ กี ด้วย กรมวิชาการเกษตรยังคงแบ่งปุ๋ยออกเป็น 3 ประเภท คือ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ย ชวี ภาพ เพราะยงั ไมม่ กี ารผลิตปยุ๋ อินทรยี ์ชีวภาพจาหน่ายในประประเทศไทย

2. น้าหมักชวี ภาพ วัสดุที่นามาผลิตน้าหมักชีวภาพ ได้แก่ ชิ้นส่วนของพืชและสัตว์ เมื่อนามาหมักในถัง วัสดุเหล่าน้ีจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ซ่ึงเกือบทั้งหมดเป็นจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ (มากกว่า ร้อยละ 90 ของจลุ นิ ทรีย์ท้ังหมด) แล้วธาตุอาหารพืชจะถูกปลดปล่อยออกมา ส่วนจะมีปริมาณมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณธาตุอาหารที่มีอยู่ในวัสดุที่นามาใช้หมัก ซึ่งเป็นหลักการเดียวกันกับการ ผลติ ป๋ยุ หมกั นน่ั เอง การผลิตน้าหมักชีวภาพใช้วัสดุท่ีเป็นของแข็งในปริมาณน้อย ประกอบกับธาตุอาหาร พืชท่ีมีอยู่ในวัสดุเหล่าน้ันก็มีปริมาณน้อยอยู่แล้ว ธาตุอาหารพืชท่ีถูกปลดปล่อยผ่านกระบวนการ ย่อยสลายจงึ มีปริมาณนอ้ ยมาก ทั้งยังถูกทาใหเ้ จอื จางดว้ ยน้าอีกประมาณ 10 - 100 เท่า การที่เกษตรกรทาน้าหมักชีวภาพไปใช้กับพืชแล้วได้ผลดีอาจเกิดจากผลข้างเคียง มากกว่า เม่ือกระบวนการหมักส้ินสุดลง น้าหมักที่ได้จะมีความเป็นกรด เพราะได้กรด 2 ชนิด และ จุลินทรีย์ 2 กลุ่ม คือ ถ้าหมักในระบบเปิดท่ีมีอากาศเข้าได้ จะได้กรดน้าส้ม (กรดแลคติก) และเชื้อ แลคติกแบคทีเรยี เมอ่ื นานา้ หมักชีวภาพไปใชร้ าดลงไปในดิน หรอื ฉดี พน่ ท่ีพืช อาจได้ผลดี ดงั น้ี (1) ทาให้ศัตรูพืชลดลงชั่วคราว เน่ืองจากไม่ชอบกลิ่น หรือความเป็นกรดของน้าหมัก ชวี ภาพ แตเ่ มือ่ ศัตรูพชื ปรบั ตวั ได้ กจ็ ะทาลายพชื เหมอื นเดิม (2) ในกรณที ีเ่ กษตรกรใช้ป๋ยุ เคมีสตู รเดิมๆ อยา่ งต่อเนื่อง ทาให้มีการสะสมธาตุอาหาร บางตัวในดินมากเกินไป โดยเฉพาะฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม เมื่อหยุดการใช้ปุ๋ยเคมีและใช้น้า หมกั ชีวภาพแทน พชื จงึ เจริญเติบโตไดด้ ขี ้ึน (3) ในบางกรณี ดินมีความเป็นด่าง หรือธาตุอาหารพืชบางตัว ไม่ละลาย เมื่อใช้น้า หมักชวี ภาพ ท่มี คี วามเปน็ กรดใส่ลงไปจะทาใหส้ ภาพดินดีข้ึนช่ัวคราว และปลดปล่อยธาตุอาหารพืช ออกมามากขนึ้ (4) ในกรณีที่ดินนั้นขาดธาตุอาหารรองบางตัว น้าหมักชีวภาพท่ีมีธาตุอาหารดังกล่าว เขา้ ไปแทน ทาใหเ้ กิดผลดตี ่อพืช (5) มีฮอร์โมนพืชบางอย่างที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในกระบวนการหมัก และมีปริมาณท่ี เหมาะสมกบั พืชน้นั ๆ จงึ สามารถทาให้พชื เจริญเตบิ โตดขี ้ึน

ตารางปรมิ าณธาตอุ าหารพืชในน้าหมักชวี ภาพ (ออมทรัพย์ และคณะ 2547) วัสดุที่ใช้หมัก ธาตอุ าหารพชื (รอ้ ยละโดยน้าหนกั ) ผกั ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนเี ซียม ผลไม้ 0.07 - 0.92 0.01 - 0.40 0.14 - 1.84 0.01 - 1.19 0.009 - 0.19 พืชสมุนไพร ปลา 0.07 - 1.91 0.03 - 0.78 0.05 - 1.84 0.09 - 1.06 0.026 - 0.35 หอยเชอรี่ 0.03 - 1.06 0.021 - 0.25 ไขไ่ ก่ นม ถัว่ 1.45 - 3.42 0.02 - 0.19 0.22 - 2.00 0.04 - 0.37 0.038 - 0.22 0.24 - 2.61 1.04 - 1.30 1.04 - 2.39 0.14 - 1.00 0.033 - 0.21 0.39 -1.48 0.02 - 0.93 0.42 - 1.47 0.13 - 0.73 0.033 - 0.21 0.07 - 0.25 0.62 - 1.82 0.13 - 0.73 3. ปริมาณธาตุอาหารพืชในปุย๋ เคมี ฉลากของปุ๋ยเคมีทักชนิดประกอบด้วยตัวเลข 3 จานวนเรียงกัน ตัวเลขแต่ละจานวน แสดงปริมาณธาตุอาหารหลกั ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม (เอ็น - พี - เค) หรือ N - P - K ตามลาดบั เรยี กว่า สูตรปยุ๋ มีหน่วยเป็นเปอรเ์ ซ็นต์ (%) โดยน้าหนักทัง้ หมดของปยุ๋ ตัวอย่างเช่น ปุ๋ยสูตร 13 - 0 - 46 แสดงว่าปุ๋ยเคมีน้าหนัก 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 13 กิโลกรัม - ไม่มีฟอสฟอรัส - มีโพแทสเซียม 46 กิโลกรัม ส่วนธาตุอาหารพืชตัวอื่นๆ ในปุ๋ยเคมี ผู้ผลิตจะระบุ หรือไม่ก็ได้ แตถ่ ้าระบจุ ะใสข่ อ้ มลู วา่ มีธาตอุ าหารรอง และจุลธาตุอะไรบ้าง ในปริมาณ (%) เทา่ ไร ถ้าเกษตรกรต้องการผสมปุ๋ยเคมีใช้เอง เพราะปุ๋ยที่มีจาหน่ายในท้องตลาดไม่ตรงกับ ความต้องการ แนะนาให้ใชแ้ ม่ปุ๋ยดังต่อไปน้ี (1) ป๋ยุ ไนโตรเจน (ป๋ยุ เอ็น) เช่น ป๋ยุ ยูเรีย (46 - 0 - 0) ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21 - 0 - 0) (2) ปุ๋ยฟอสฟอรัส (ปุ๋ยพี) เช่น ปุ๋ยทริปเปิลซุปเปอร์ฟอสเฟต (0 - 46 - 0) ปุ๋ยได แอมโมเนียมฟอสเฟต หรือปุ๋ยแดป (18 - 46 - 0) (3) ปุ๋ยโพแทสเซียม (ปุ๋ยเค) เช่น ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ (0 - 0 - 60) ปุ๋ย โพแทสเซยี มซัลเฟต (0 - 0 - 50) 4. วิธีการผสมป๋ยุ เคมี การผสมปุย๋ เคมตี ามคาแนะนาการใช้ปุ๋ยทไี่ ดจ้ ากการวเิ คราะห์ดิน โดยใชป้ ยุ๋ สตู รทมี่ ี จาหน่ายในทอ้ งตลาด ได้แก่ ป๋ยุ สูตร 16 - 20 - 0 , สูตร 0 - 0 - 60 และสูตร 46 - 0 - 0 เป็นต้น

ตวั อยา่ ง คาแนะนาการใชป้ ุ๋ย คือ 8-4-8 กโิ ลกรมั /ไร่ 3.2 + 4.8 - 4 - 8 กโิ ลกรมั /ไร่  ปยุ๋ 16 - 20 - 0 หมายความวา่  ฟอสฟอรัส 20 กิโลกรัม ได้มาจากปุ๋ย 16 - 20 - 0 น้าหนัก 100 กิโลกรัม  ถา้ ตอ้ งการฟอสฟอรัส 4 กิโลกรัม กิโลกรมั จะตอ้ งใช้ปุ๋ย 16 - 20 - 0 นา้ หนัก 100 x 4 = 20 กโิ ลกรัม กิโลกรมั 20  ป๋ยุ 16 - 20 - 0 นา้ หนัก 100 กิโลกรมั มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัม ปยุ๋ 16 - 20 - 0 น้าหนกั 20 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 x 4 = 3.2 กิโลกรัม 20 เพราะฉะน้ันยังขาดไนโตรเจนอีก 8 - 3.2 = 4.8 กโิ ลกรัม  ป๋ยุ 46 - 0 - 0 หมายความวา่  ไนโตรเจน 46 กิโลกรัม ได้มาจากปุ๋ย 46 - 0 - 0 น้าหนัก 100  ถ้าต้องการไนโตรเจนเพ่ิมข้นึ อกี 4.8 กโิ ลกรัม จะตอ้ งใชป้ ยุ๋ 46 - 0 - 0 นา้ หนัก 100 x 4.8 = 10.4 กิโลกรมั 46  ปุย๋ 16 - 20 - 0 หมายความวา่  โพแทสเซียม 60 กิโลกรัม ได้มาจากปุ๋ย 0 - 0 - 60 น้าหนัก 100  ถ้าต้องการโพแทสเซยี ม 8 กโิ ลกรัม จะต้องใช้ปุย๋ 0 - 0 - 60 นา้ หนกั 100 x 8 = 13.3 กโิ ลกรัม 60 สรุป ให้ผสมปุ๋ย 16 - 20 - 0 จานวน 20 กิโลกรัม กับปุ๋ย 0 - 0 - 60 จานวน 13

การคานวณราคาปุ๋ย คานวณสาหรับใช้เปรยี บเทียบราคาของปยุ๋ ต่อน้าหนักธาตุอาหารพืช (1) การเปรยี บเทียบราคาปยุ๋ 46 - 0 - 0 และปุ๋ย 21 - 0 - 0 ป๋ยุ 46 - 0 - 0 ราคาตันละ 13,400 บาท ปุ๋ย 21 - 0 - 0 ราคาตนั ละ 8,000 บาท วธิ ีคานวณ  ปุ๋ย 46 - 0 - 0 หมายความว่า ปยุ๋ 1,000 กโิ ลกรมั มีไนโตรเจน 460 กิโลกรมั ราคา = 13,400 บาท เพราะฉะนนั้ ไนโตรเจน 1 กิโลกรัม ราคา = 13,400 = 29.10 บาท 460  ป๋ยุ 21 - 0 - 0 หมายความวา่ ปุ๋ย 1,000 กโิ ลกรมั มีไนโตรเจน 210 กิโลกรมั ราคา = 8,000 บาท เพราะฉะนนั้ ไนโตรเจน 1 กโิ ลกรัม ราคา = 8,000 = 38.10 บาท 210 ดังน้นั ปยุ๋ 21 - 0 - 0 จึงมรี าคาแพงกวา่ ปุ๋ย 46 - 0 - 0 (2) การเปรยี บเทียบราคาปยุ๋ 15 - 15 - 15 และป๋ยุ 16 - 20 - 0 ปยุ๋ 15 - 15 - 15 ราคาตนั ละ 12,000 บาท ปยุ๋ 16 - 20 - 0 ราคาตันละ 11,000 บาท วธิ คี านวณ  ปยุ๋ 15 - 15 - 15 หมายความวา่ ปุ๋ย 1,000 กิโลกรัม มธี าตุอาหารพชื 450 กิโลกรมั ราคา = 12,000 บาท เพราะฉะนนั้ ธาตุอาหารพชื 1 กโิ ลกรมั ราคา = 12,000 = 26.60 บาท 450  ปุ๋ย 16 - 20 - 0 ราคาตันละ 11,000 บาท ปยุ๋ 1,000 กโิ ลกรมั มีธาตอุ าหารพชื 360 กิโลกรมั ราคา = 11,000 บาท เพราะฉะนนั้ ธาตอุ าหารพืช 1 กิโลกรัม ราคา = 11,000 = 30.50 บาท 360

(3) การคานวณราคาธาตอุ าหารพชื ในป๋ยุ อนิ ทรยี ์ ปุ๋ยอินทรยี ์ (2 - 1 - 1) ราคาตันละ 3,000 บาท วธิ คี านวณ ปยุ๋ อินทรยี ์ 1,000 กโิ ลกรัม มธี าตอุ าหารพชื 40 กโิ ลกรมั ราคา = 3,000 บาท เพราะฉะนนั้ ธาตอุ าหารพืช 1 กโิ ลกรัม ราคา = 3,000 = 75 บาท 40 ดังนัน้ เมอื่ เปรยี บเทยี บราคาตอ่ หน่วยธาตุอาหารพืช ปุ๋ยอินทรียจ์ ะมรี าคาแพงกว่า ป๋ยุ เคมมี าก สว่ นธาตอุ าหารทงั้ หมด 40 กิโลกรัม ในปุ๋ยอนิ ทรยี ์ 1 ตนั พืชไม่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ท้ังหมดไดท้ ันที ต้องผ่านกระบวนการยอ่ ยสลายของจุลนิ ทรยี ์ เปลีย่ นจากรปู อินทรียส์ าร เปน็ อนนิ ทรียส์ ารเสยี กอ่ น พืชจงึ ดูดไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ซงึ่ อัตราการย่อยสลายช้ามาก ปยุ๋ อนิ ทรีย์จงึ ปลดปลอ่ ยธาตอุ าหารพืชออกมาในปีแรกเพยี งร้อยละ 10 - 20 (4) ข้อดี - ขอ้ เสยี ของปุย๋ อินทรยี ์ และปยุ๋ เคมี ตารางเปรยี บเทียบข้อดี - ข้อเสยี ของปุย๋ อินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ ขอ้ ดี ขอ้ เสีย 1. ช่วยปรบั ปรงุ สมบตั ทิ างกายภาพของดนิ 1. มปี ริมาณธาตอุ าหารพืชนอ้ ย 2. อยู่ในดินนาน (ค่อยๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารให้แก่ 2. ใช้เวลานาน กวา่ ธาตอุ าหารจะเป็นประโยชน์ต่อพชื พชื อยา่ งต่อเน่อื ง) 3. ชว่ ยใหป้ ุย๋ เคมเี ปน็ ประโยชน์มากขึน้ 3. ราคาแพง เมอื่ เปรยี บเทียบต่อหนว่ ยธาตอุ าหารพชื 4. สง่ เสรมิ สง่ิ มชี วี ิตท่ีเป็นประโยชนใ์ นดิน 4. หายาก ถ้าต้องการในปริมาณมากๆ 5. มีจุลธาตุ 5. ไมส่ ะดวกในการนาไปใช้

ปยุ๋ เคมี ข้อดี ขอ้ เสีย 1. มปี รมิ าณธาตอุ าหารพชื สูงมาก (ใช้ในปริมาณนอ้ ยกเ็ พยี งพอ) 1. ปุ๋ยทปี่ ระกอบด้วยแอมโมเนียมทาให้ดนิ เปน็ กรด 2. ไมม่ ีคณุ สมบตั ิปรบั ปรุงดนิ ใหโ้ ปรง่ ร่วนซยุ 2. ราคาถูก เมื่อเปรียบเทียบต่อหนว่ ยธาตุอาหารพืช 3. มีความเคม็ 3. หาซื้อไดง้ ่าย 4. ผใู้ ช้ตอ้ งมคี วามรูพ้ อสมควร 4. ใช้สะดวก 5. ได้ผลเร็ว (5) การตรวจสอบปยุ๋ เคมปี ลอม หรอื ปยุ๋ เคมดี อ้ ยมาตรฐาน เนื่องจากประเทศไทยยังผลิตปุ๋ยเคมีได้ไม่เพียงพอ จาเป็นต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ หรอื นาเขา้ แมป่ ๋ยุ มาผสมเป็นปุ๋ยสูตรตา่ งๆ ออกมาวางจาหน่าย ทาใหป้ ุ๋ยเคมมี รี าคาแพง ปุ๋ยเคมีมีสีสันและลักษณะเม็ดปุ๋ยแตกต่างกัน ไม่สามารถสังเกตได้ว่ามีธาตุอาหารอยู่ ครบถ้วนตามท่ีระบุไว้หรือไม่ ? ทาให้มีผู้ผลิตปุ๋ยเคมีปลอมคือปุ๋ยท่ีไม่มีธาตุอาหารพืชอยู่เลย หรือ ผลติ ปุ๋ยเคมี ดอ้ ยมาตรฐาน คอื ปุ๋ยทีม่ ปี รมิ าณธาตุอาหารพชื ไมต่ รงตามสูตรปุ๋ย ซ่ึงมักมีปริมาณธาตุ อาหารพชื ต่ากวา่ ตวั เลขที่ระบไุ ว้บนฉลาก ปุ๋ยปลอม หรอื ปุย๋ ด้อยมาตรฐาน ตรวจสอบได้โดยวิธีการทางเคมีเท่านั้น ไม่สามารถสังเกตได้จากกล่ิน สี รูปร่าง ลักษณะเมด็ ป๋ยุ การละลายน้า หรอื ความรสู้ ึกเยน็ เม่ือสมั ผัส ซ่งึ วิธีการตรวจสอบทางเคมมี ี 2 วิธี คอื (1) การตรวจสอบแบบอย่างละเอียด เป็นการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ซึ่งยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูงมาก ใช้เวลานาน และต้องใช้นักวิชาการที่มีความรู้ความชานาญ แต่ผลที่ได้มีความ ละเอยี ดถกู ตอ้ ง และใช้รบั รองตามกฎหมายได้ (2) การตรวจสอบแบบรวดเร็ว เป็นวิธีการท่ีดัดแปลงมาจากวิธีแรกให้ง่ายขึ้น ใช้ เวลาและค่าใช้จ่ายน้อยลงมาก และเกษตรกรสามารถตรวจสอบไดด้วยตนเอง โดยใช้ชุดตรวจสอบ ปุ๋ยเคมี มก. 4 (ชุดตรวจสอบปุ๋ยเคมีแบบรวดเร็ว) ของภาควิชาปฐพีวิทยาคณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ แตผ่ ลทไ่ี ด้จากการวเิ คราะหไ์ มส่ ามารถใช้รบั รองตามกฎหมายได้

ศูนยเ์ ครือข่ายปราชญช์ าวบ้านเกษตรยง่ั ยืนตาบลศรีเมืองชุม เลขที่ 59 หมู่ 7 ตาบลศรเี มอื งชมุ อาเภอแม่สาย จังหวดั เชยี งราย การผลิตปุย๋ อนิ ทรยี จ์ ากมลู สัตว์ (ขี้ววั ) ส่วนผสม 1. มลู สัตว์ (ข้วี วั ข้ีไก่ ข้หี มู) จานวน 1,000 กิโลกรัม 2. หินฟอสเฟต (K. B. K. 0-3-0) จานวน 25 กิโลกรมั 3. ปยุ๋ ยูเรยี (สตู ร 46-0-0) จานวน 2 กโิ ลกรัม วธิ ีทา 1. นามลู สตั ว์มาปรับความช้ืนท่ี 50 % เตน้ คลุม 2. นาหนิ ฟอสเฟต และปยุ๋ ยูเรยี มาผสมกัน คลุกเคลา้ ใหเ้ ข้ากันดี นาเข้าชอ่ งหมักเอาผ้า 3. กลบั กองปยุ๋ 3.1 กลบั คร้ังที่ 1 เมอื่ หมักได้ 3 วัน 3.2 กลับครั้งท่ี 2 เม่ือหมกั ได้ 10 วัน 3.3 กลบั ครัง้ ที่ 3 เมื่อหมักได้ 17 วัน 3.4 กลับคร้งั ที่ 4 เมื่อหมักได้ 24 วัน วธิ ใี ช้ 1. สาหรบั ไรส่ วนผสมไมใ้ ช้หว่านรอบๆ โคนตน้ ไม้ 2. สาหรบั นาขา้ ว ใชห้ วา่ นตอนปรบั ปรุงดินกอ่ นปลูก ประโยชน์ ทาให้สภาพดนิ ดีขน้ึ ลดค่าใชจ่ ่าย

การทาปุ๋ยหมกั ดินกอ่ นปลูก สว่ นผสม 1. ดนิ ท้องนาแห้งทุบละเอยี ด จานวน 5 ส่วน 2. ราละเอยี ด + แกลบ จานวน 2 ส่วน 3. แกลบเผา (ถา่ นแกลบ) จานวน 2 สว่ น 4. มลู สตั ว์ (ขว้ี วั , ข้ีไก,่ ขห้ี ม)ู จานวน 3 สว่ น 5. จุลนิ ทรีย์หนอ่ กลว้ ย (หวั เช้ือ) จานวน 20 ซีซ.ี 6. น้า (ปรบั สภาพความช้นื ) จานวน 10 ลิตร วธิ ที า นาดนิ ทอ้ งนามาปรบั ความชนื้ 50 % ผสมราละเอยี ด + แกลบ, แกลบเผา, มลู สตั ว์, จุลนิ ทรีย์หน่อกล้วยคนผสมใหเ้ ข้ากนั หมกั ไว้ 7 วัน บรรจถุ งุ เก็บเพื่อเตรียมปลกู วธิ ีใช้ ใช้เปน็ ปยุ๋ รองกน้ หลุมสาหรบั ปลกู ต้นไม้ หรอื เพาะกลา้ ไมใ้ นถงุ ดา ประโยชน์ เพือ่ เป็นอาหารสารองของต้นไมใ้ นการปลูกใหม่ และปอ้ งกนั เชอื้ ราในดนิ

ศนู ยฝ์ ึกอบรมเครอื ข่ายกสิกรรมไรส้ ารพิษดอยรายปลายฟ้า (ชมุ ชนบญุ นิยมดอยรายปลายฟ้า) เลขที่ 259 หมู่ 8 ตาบล ทา่ สาย อาเภอเมือง จังหวดั เชยี งราย ปุ๋ยแหง้ สูตรพ่อหนอ่ สว่ นประกอบ 1. ข้วี วั (มูลสตั ว์) 4 ส่วน 4 สว่ น 2. แกลบเผา 4 สว่ น 4 สว่ น 3. แกลบดบิ 1 ลิตร 4. ดินดี 100 ลิตร 5. ราละเอียด 2 ส่วน 6. จุลินทรีย์ (หวั เชอื้ ไอ เอม โอ , นา้ พอ่ , น้าแม)่ 7. นา้ ออ้ ยป่น 1 กโิ ลกรัม 8. น้าสะอาด วิธที า 1. นา 1 , 2 ,3 และ 4 คลุกเข้าด้วยกนั 2. รดด้วยน้า 6 , 7 และ 8 ใหพ้ อชุ่ม (กาเปน็ กอ้ นไดไ้ ม่มนี ้าไหลออกมา) 3. โรยราละเอียดคลกุ ให้ท่ัว 4. ใสก่ ระสอบฟางเรยี งไวเ้ ปน็ ชั้นมีไม้กั้นเก็บไว้จนเยน็ (ประมาณ 7 วัน)

สตู รดนิ ระเบิด การเพาะเลยี้ งจลุ ินทรีย์จากดนิ เป็นเรอื งท่ีง่ายมาก ทุกคนทาได้ มีประโยชน์มากและใช้ เวลาทานอ้ ย เพื่อการพัฒนาดนิ ใหด้ ี ส่วนประกอบ 1 ส่วน 1. ดินท่ดี ี (อุดมสมบูรณ์) ในท้องถน่ิ 1 ส่วน 2. ราออ่ น 4 ชอ้ นโตะ๊ 3. นา้ ตาลทรายแดง 1 แกว้ 4. นา้ วิธีทา 1. ผสมข้อ 1-2 เขา้ กนั อยา่ งดี 2. เตมิ นา้ ลงไปใหม้ คี วามช้นื ประมาณ 65 % 3. หอ่ ดว้ ยผ้าใหม้ ิดชดิ เพอ่ื กนั มดเข้าไปเจาะกนิ 4. เอาไปวางไวใ้ ต้ตน้ ไมใ้ นหนา้ แลง้ วางไว้ใต้ถุนบ้านในหน้าฝน 5. เม่ือครบ 2 คืน นาก้อนจุลินทรีย์ไปเลี้ยงในน้า 20 กิโลกรัม ผสมน้าตาล 1 กิโลกรัม เล้ยี งไว้ 1 คืน น้าไปใชไ้ ด้เลย

ศูนย์การเรยี นรู้บ้านแสงเทียน ตงั้ อยู่เลขท่ี 118 หม่ทู ่ี 1 ตาบลเมืองจงั อาเภอภูเพียง จังหวัดนา่ น การผลิตป๋ยุ หมัก วัสดอุ ปุ กรณ์ 1 ป๊บี 1. มลู ววั /มูลไก่ 1 ปี๊บ 2. แกลบดบิ 1 ปบ๊ี 3. ราออ่ น 1 ปบ๊ี 4. เปลือกถัว่ เหลือง 10 ลิตร 5. นา้ สะอาด 20 -40 ซีซี 6. หวั เชอ้ื จุลนิ ทรีย์ 20 - 40 ซซี ี 7. กากน้าตาล วธิ ีทา 1. ผสมหวั เชือ้ จลุ ินทรยี ์ กากนา้ ตาล และนา้ สะอาด แล้วคนให้เขา้ กัน 2. นาแกลบดิบ ข้ีวัว/ข้ีไก่ ราอ่อน เปลือกถั่วเหลือง คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วรดด้วยน้า ที่ผสมไวใ้ นข้อ 1 3. เสร็จแล้วกองไวส้ งู ประมาณ 30 เซนติเมตร หรือบรรจใุ ส่ถงุ เปดิ ปากไวป้ ระมาณ 3- 5 วนั หรือรอจนหมดความร้อน จงึ นาไปใชไ้ ด้

การผลติ ปุ๋ยหมกั จุลินทรีย์ 100 กโิ ลกรัม วสั ดอุ ุปกรณ์ 30 กิโลกรัม 1. มูลสตั ว์ 60 กิโลกรัม 2. แกลบดบิ 10 กิโลกรมั 3. ราออ่ น 2 ช้อนโต๊ะ 4. กากนา้ ตาล 2 แกว้ น้าดื่ม 5. จลุ ินทรยี ์ 10 ลติ ร 6. นา้ สะอาด วิธีทา 1. นามลู สตั ว์ แกลบ ฟางขา้ วลบี เศษพชื ผสมให้เข้ากนั 2. รดน้า ใหม้ คี วามช้นื ประมาณ 30 เปอร์เซน็ ตก์ อ่ น 3. นาราอ่อน เข้าผสมอกี ครงั้ 4. ละลายกากนา้ ตาลในน้า 10 ลิตร ก่อนผสมจลุ นิ ทรีย์ลงไป ราดบนกองปยุ๋ 5. ผสมให้เขา้ กนั จนมีความช้นื 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ (หรอื ถ้ากามือดูถ้ามีน้าซมึ ออกตามง่าม มอื ) 6. กระจายกองปยุ๋ ให้เปน็ รูปสเ่ี หลยี่ ม หนาประมาณ 6-7 น้วิ คลมุ ดว้ ยกระสอบปา่ น 7. กลับกองปุย๋ ทกุ ๆ 7 วันต่อ 1 ครั้ง 8. ใหอ้ ุณหภมู ขิ องปุย๋ เย็นเทา่ อากาศปกติ 37 องศาเซลเซียส วธิ ใี ช้ 100 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ ใชไ้ ดด้ กี บั พชื ผักทกุ ชนิด โดยมีอัตราการใช้ ดังนี้ 2 กามอื ต่อ 1 ตารางเมตร 1 กิโลกรมั ต่อ 1 ตารางเมตร 1. นาขา้ ว 2. พชื ไร่-พืชผกั 3. ไมย้ นื ต้น-พชื สวน

ศนู ย์การเรยี นรู้ชุมชนสวนแสงประทปี ตง้ั อยู่เลขที่ 197 หมูท่ ่ี 10 ตาบลกลางเวียง อาเภอเวียงสา จงั หวดั น่าน ป๋ยุ หมักดิน สว่ นผสม (โดยประมาณ) ดนิ แหง้ แกลบเผา มูลสัตว์ ราละเอียด กากน้าตาล นา้ หมัก น้า ทบุ ละเอยี ด (ปีบ) (ปีบ) (ปีบ) (ซซี ี.) จลุ นิ ทรีย์ (ลิตร) 5 2 2 2 20 20 10 วิธีทา 1. ผสมดนิ แกลบเผา และมลู สัตว์ คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กนั 2. ผสมน้าหมักจุลินทรีย์ + กากน้าตาล + น้า รดราดบนกองส่วนผสมให้ได้ความชื้น ประมาณ 50 - 60 % 3. นาราละเอียดลงผสมคลกุ เคลา้ ลงไป 4. นาส่วนผสมท้ังหมดกองบนพ้ืนซีเมนต์หรือพื้นดินให้หนาประมาณ 15 - 20 ซม. คลุมด้วยกระสอบป่าน 5. กลับกองปุ๋ยวันละ 1 ครั้ง ประมาณ 7 วัน อุณหภูมิของปุ๋ยจะเย็นเท่ากับอุณหภูมิ ปกตจิ ะมรี าสีขาว ๆ กลิม่ หอมเหมอื นเหด็ วิธใี ช้ เหมาะสาหรับผสมกับดินทั่วไป ใช้เพาะต้นเกล้า ปักชา และตอนก่ิง จะทาให้ต้นเกล้า แขง็ แรงสมบูรณ์ สว่ นผสมสาหรับเพาะตน้ เกล้าดังน้ี ปุย๋ หมกั ดนิ ดินร่วนธรรมดา แกลบเผา ขุยมะพร้าว 1 1 1 1 นาสว่ นผสมท้ังหมดคลุกเคล้าจนเขา้ กันดกี อ่ นนาไปใช้

ปยุ๋ คอกหมกั ส่วนผสม (โดยประมาณ) ปุย๋ คอก แกลบเผา ราละเอยี ด กากน้าตาล หัวเชอ้ื นา้ (ปีบ) (ปบี ) (ปีบ) (ปีบ) จุลนิ ทรยี ์ (ลิตร) 11 1 20 20 10 วิธีทา 1. ผสมปุ๋ยคอก แกลบเผา คลุกเคล้าเข้าด้วยกัน 2. รดน้าผสมกากน้าตาล หัวเชื้อจุลินทรีย์ คลุกเคล้าให้เข้ากันดีจนได้ความช้ืน พอเหมาะ 50-60 % 3. นาราละเอยี ดคลุกเคลา้ ให้เขา้ กนั 4. นาไปกองเกล่ียบนพ้ืนซีเมนต์หรือพื้นดินก็ได้ กองหนาประมาณ 15 - 20 ซม. คลุม ด้วยกระสอบป่าน กลับกองปุ๋ยวันละ 1 คร้ัง หมัก 7 วัน อุณหภูมิของปุ๋ยจะเย็นเท่ากับอากาศปกติ (37 องศา) 5. ปุ๋ยคอกหมักมีคุณภาพดี จะมีกล่ิมหอมที่เกิดจากการหมักไม่ร้อน แต่จะมีราขาวๆ ขน้ึ จานวนมาก วิธใี ช้ ใชไ้ ดด้ ีกับพชื ผักทกุ ชนดิ พืชไร่ และนาข้าวได้ เชน่ เดียวกบั ปยุ๋ อนิ ทรยี ์แหง้ 1. ใช้ผสมเตรียมดินสาหรับปลูกพืชทุกชนิด 2 กามือ ต่อพื้นท่ี 1 ตารางเมตรพรวนให้ เข้ากัน เอาหญ้า หรือฟางแห้งคลุมทับอีกช้ันหน่ึงแล้วราดด้วยน้า 10 ลิตร ท้ิงไว้ 7 วัน แล้วทาการ ปลกู พืชผกั ต่างๆ 2. ใส่รองทรงพ่มุ คลุมทับดัวยฟางหรือหญ้า (กรณใี ชก้ บั แปลงผกั ที่ปลูกแลว้ ) สาหรับไม้ ผลและพชื ยืนตน้ อายุประมาณ 1 - 2 กิโลกรมั ต่อปี ใสจ่ นดนิ จะร่วนซุยดี 3. ใช้ปรับสภาพนา้ ท่ีเนา่ เสียไดด้ ว้ ย 4. ใส่ปุ๋ยอินทรีย์แห้งก่อนไถหรือคราดประมาณ 100 กิโลกรัม ต่อไร่ แล้วฉีดพ่นน้า หมกั จุลินทรีย์ขยายผสมนา้ อัดลมส่วน 1 ต่อ 100 จานวน 2 - 4 ลติ ร ต่อไร่ แล้วหมกั ดนิ ไว้ 15 วนั

หากมีหญา้ งอกให้ฉีดพน่ นา้ หมกั จุลินทรีย์ขยายอตั ราเดมิ แลว้ ไถคราดอีกครงั้ เพื่อปราบหญ้าแล้วลง มอื ปกั ดาข้าว หรือหวา่ นได้ 5. ปราบหญ้า โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง 100 - 200 กิโลกรัม ต่อไร่ ควบคู่ไปกับฉีด - พ่น ด้วยนา้ หมักจุลินทรีย์ผสมนา้ ในอัตราส่วน 1 ตอ่ 100 จานวน 2 - 4 ลติ ร ต่อไร่ ปุ๋ยคอก แกลบเผา ราละเอียด กากนา้ ตาล หัวเช้อื นา้ (ปีบ) (ปบี ) (ปีบ) (ปีบ) จุลินทรีย์ (ลติ ร) 1 1 1 20 20 10 สว่ นผสม (โดยประมาณ) ปุย๋ อนิ ทรยี ์แห้ง สว่ น/ปริมาตร 1. มูลสัตวท์ กุ ชนิด สว่ น/ปริมาตร 2. แกลบดิบ 1 สว่ น/ปริมาตร 3. ราละเอยี ด 1 ซี.ซี. 4. กากน้าตาล 1 ลิตร 5. หัวเช้อื จลุ นิ ทรยี ์ 20 ลิตร 6. นา้ 20 10 วธิ ีทา 1. นาแกลบดบิ ผสมกับมลู สตั ว์ใหเ้ ข้ากัน 2. ผสมหัวเชือ้ จลุ ินทรีย์ + กากน้าตาล + น้า ท่เี ตรียมไว้ ใสไ่ ปในบวั รดน้าแลว้ ราดลง กองมูลสัตวก์ ับแกลบให้ชุ่ม คลุกเคล้าใหม้ ีความช้ืนพอดี (ประมาณ 50 - 60 %)

3. นาราละเอียดลงคลุกเคล้ากับแกลบผสมกับมลู สตั ว์ แลว้ นาไปหมกั 4. หมักกองบนพ้ืนหนาประมาณ 15 - 20 ซม. คลุมด้วยกระสอบป่าน หมัก 3 - 7 วัน กลับกองป๋ยุ ทุกวัน ถา้ หมกั ในกระสอบหรอื หมักในตะกรา้ หรือวธิ อี ่ืนๆ 5. ปุ๋ยอินทรีย์แห้งท่ีมีคุณภาพดี จะมีกล่ิมหอมเหมือนเห็ด นาไปใช้ได้เลยหรือบรรจุ กระสอบเกบ็ ไว้ในท่ๆี ไมโ่ ดนความช้ืน ควรใชใ้ ห้หมดภายใน 3 เดือน วธิ ใี ช้ 1. ใช้ผสมเตรียมดินสาหรับปลูกพืชทุกชนิด 2 กามือ ต่อพื้นท่ี 1 ตารางเมตรพรวนให้ พรวนให้เข้ากัน เอาหญ้าหรือฟางแห้งคลุมทับอีกชั้นหนึ่งแล้วราดด้วยน้า 10 ลิตร ท้ิงไว้ 7 วัน แล้ว ทาการปลูกพืชผักต่างๆ 2. ใสร่ องทรงพมุ่ คลุมทบั ดวั ยฟางหรือหญ้า (กรณใี ช้กบั แปลงผกั ทปี่ ลูกแล้ว) สาหรับไม้ ผลและพชื ยนื ตน้ อายปุ ระมาณ 1 - 2 กิโลกรัม ต่อปี ใส่จนดินจะรว่ นซุยดี 3. ใช้ปรบั สภาพนา้ ท่ีเน่าเสยี ได้ดว้ ย 4. ใส่ปุ๋ยอินทรีย์แห้งก่อนไถหรือคราดประมาณ 100 กิโลกรัม ต่อไร่ แล้วฉีดพ่นน้า หมักจุลินทรีย์ขยายผสมน้าอัดลมส่วน 1 ต่อ 100 จานวน 2 - 4 ลิตร ต่อไร่ แล้วหมักดินไว้ 15 วัน หากมหี ญ้าออกใหฉ้ ดี พน่ นา้ หมกั จลุ ินทรีย์ขยายอตั ราเดิม แล้วไถคราดอีกคร้ังเพื่อปราบหญ้าแล้วลง มอื ปักดาข้าวหรอื หวา่ นได้ 5. ปราบหญ้า โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง 100 - 200 กิโลกรัม ต่อไร่ ควบคู่ไปกับฉีด-พ่น ดว้ ยน้าหมกั จลุ ินทรยี ์ผสมนา้ ในอตั ราสว่ น 1 ตอ่ 100 จานวน 2 - 4 ลิตร ต่อไร่

ศนู ย์ฝึกอบรมศนู ย์เรียนรชู้ มุ ชนตาบลทา่ งาม อาเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก บา้ นเลขท่ี หมทู่ ่ี 4 บา้ นใหมใ่ ต้ ตาบลทา่ งาม อาเภอวัดโบสถ์ จังหวดั พิษณุโลก ปุ๋ยหมักแห้งชวี ภาพ เป็นปุ๋ยอินทรีย์ท่ีผลิตโดยนามูลสัตว์ชนิดต่าง ๆ ผสมคลุกเคล้ากับข้ีเถ้าแกลบหรือ กากออ้ ยและราละเอยี ด แลว้ ใชก้ ากนา้ ตาลและหัวเช้ือจุลินทรีย์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายให้ เป็นป๋ยุ อินทรยี ์ท่มี อี านภุ าคเล็กลง สว่ นผสม (1) มูลสัตว์ 400 กโิ ลกรมั (2) ขี้เถ้าแกลบหรอื กากอ้อย 100 กิโลกรัม (3) ราละเอยี ด 30 กิโลกรมั (4) น้าสะอาด 200 ลิตร (5) หัวเชือ้ จุลินทรยี ์ 5 ลติ ร วธิ ีทา (1) ผสมมูลสตั ว์ ขเ้ี ถ้า แกลบหรือกากออ้ ยและราละเอยี ดให้เข้ากนั (2) ผสมกากน้าตาล น้าสะอาด และหัวเช้ือจุลินทรีย์ แล้วคลุกเล้าให้เข้ากันกับ สว่ นผสมท่ี 1 จะไดส้ ่วนผสมท่มี ีความชืน้ ประมาณ 40% ซ่ึงสามารถกาเปน็ กอ้ นได้ (3) หลังจากน้ันกองส่วนผสมในที่ร่มแล้วเกลี่ยกองสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ใช้ กระสอบป่านชุบน้าคลุมท้ิงไว้ 3-7 วัน โดยรดน้าให้กระสอบป่านช้ืนอยู่เสมอ จนกองปุ๋ยหมักเกิด ความร้อน ไม่มีกล่ินเหม็นฉุน แต่มีกล่ินของเชื้อราเห็ดและมีเส้นเช้ือราสีขาวกระจายท่ัวกองปุ๋ยหมัก ขณะท่เี ศษวัสดุมีลักษณะออ่ นนุ่มและมสี ีนา้ ตาลเขม้ จนถงึ สดี า วธิ ใี ช้ ใช้กับพืชผกั โดยคลุกเคล้ากับดินในระยะเตรยี มแปลงกลูก อตั ราประมาณ 2 กิโลกรัม ต่อ 1 ตารางเมตร ส่วนผักกินผล ใช้โรยบรเิ วณโคนตน้ ในระยะติดผลและหลงั เก็บผลผลติ อตั รา 50 - 100 กรัมต่อต้น สาหรับไม้ผลใช้โรยรอบทรงพุ่ม อัตรา 5-10 กิโลกรัม/ต้น อย่างน้อย 2 คร้ัง ใน ระยะกอ่ นออกดอกและติดผล

สตู รระเบิดดนิ สูตรนี้เป็นสูตรการแก้ปัญหา สภาพของดินที่เป็นกรด หรือด่างของดิน ท่ีผ่านการใช้ สารเคมมี ากซึง่ จะทาใหม้ สี ภาพมีจุลินทรยี ์มากขน้ึ และทาใหด้ ินดีขึน้ เมอ่ื มกี ารใช้อย่างต่อเนอ่ื ง สว่ นผสม (1) ดินรว่ นในทอ้ งถ่นิ บดละเอียด 1 กิโลกรัม (2) ราละเอยี ด 1 กโิ ลกรมั (3) กากน้าตาล หรอื นา้ ตาลทรายแตง 2 ช้อนแกง (4) น้าเปล่า 2 แก้ว (5) ผ้าฝา้ ยดิบ ขนาด 12 นิ้ว x 12 นวิ้ 2 ผนื วธิ ีทา นาเอาสว่ นผสมท้ัง 4 มาผสมกันให้เปน็ กอ้ นได้ 2 กอ้ น หอ่ ด้วยผ้าฝ้ายดิบ ท้ิงไว้ในร่ม 2-3 คืน จะมีเชือ้ จลุ นิ ทรีย์ขึ้นทีก่ อ้ นดิน วิธีใช้ นาก้อนดนิ ทไ่ี ด้ 1 กอ้ น ผสมนา้ 20 ลติ ร และกากน้าตาล 1 กิโลกรัม หมักต่ออีก 3-7 วัน จึงเอาน้าไปใช้ในรปู จลุ ินทรีย์บารงุ ดิน ดังประโยชน์ต่อไปนี้ พืชผัก ใชน้ า้ หมกั 4 ช้อนแดงตอ่ น้า 20 ลิตร รดแปลงปลูก ไมผ้ ล ใชน้ า้ หมัก 3 ชอ้ นแดงต่อนา้ 20 ลิตร รดรอบทรงพุม่ ต้นกลา้ ใชน้ า้ หมกั 1 ช้อนแกงตอ่ น้า 20 ลติ ร รดต้นกลา้ พชื ทุก ๆ 3-7 วันครั้ง จนกล้าแข็งแรง (แล้วรดน้าเปล่าล้างใบด้วย) ถ้าต้องการทาหัวเชื้อหมักปุ๋ย อินทรีย์ หรือปุ๋ยน้าในสูตรต่าง ๆ ของพัฒนาท่ีดิน ให้ใช้ดังต่อไปนี้ สูตรปุ๋ยหมักแห้ง (พด.1, พด.3) ใชน้ า้ หมกั 1 ลติ รผสมน้า 50 ลิตร รดลงบนกองปุ๋ยหมักท่ีต้องการทาสูตรปุ๋ยหมักน้า (พด.2, พด.5, พด.6, พด.7) ใหใ้ ช้น้าหมกั ทีเ่ ตรียมไว้ 1 ลติ ร ต่อการทาป๋ยุ น้า 50 ลติ ร ตลอดไปจึงจะไดผ้ ลดี

สูตรทาปุย๋ หมกั พิเศษ สว่ นผสม (1) ราข้าวออ่ น 1 สว่ น (2) ดนิ รว่ น 1 ส่วน (3) อนิ ทรียวัตถุ 8 สว่ น (เศษใบไม้, มลู สัตว์, เปลอื กข้าว, หญา้ ) (4) น้าหมกั ปยุ๋ อินทรียน์ ้า 1 ลติ ร (5) กากนา้ ตาล 1 ลิตร (6) นา้ เปลา่ 500 ลิตร วธิ ีทา นาส่วนผสมจากข้อ 1-3 มาผสมรวมกันแล้วจึงนาวัตถุดิบจากข้อ 4-6 มาผสมรวมกัน โดยให้นาน้าหมักมาผสม ให้มีความชื้น 60% และกองให้สูง 60 เซนติเมตร แล้วคลุมด้วยกระสอบ หรือฟางขา้ วนาน 7-10 วนั แล้วจึงเกล่ยี ให้เย็น เกบ็ ไว้ใชใ้ สพ่ ชื ผักผลไม้ หรอื นาข้าว ดงั ทใ่ี ช้ตอ่ ไปน้ี วธิ ใี ช้ ถ้าใช้กับนาข้าว 50 - 200 กิโลกรัม ต่อไร่ แปลงผกั ใช้อัตราส่วน 1-2 กโิ ลกรัมตอ่ 1 ตารางเมตร ไม้ผล ใชอ้ ตั ราส่วน 1-2 กิโลกรัมต่อต้น พชื ไร่ ใช้อตั ราส่วน 1-2 กามือต่อตน้ เป็นการใช้ปุ๋ยหมักท่ีสามารถเร่งด่วน และเป็นผลดีเม่ือเพิ่มลงดินได้ จะทาให้มีการเพิ่มจุลินทรีย์ใน ดินใหม้ จี านวนมากขน้ึ เพราะดินทีข่ าดธาตอุ าหาร และจลุ นิ ทรีย์จะดีข้ึนเอง

ศนู ยเ์ รยี นร้เู พอ่ื ชวี ิตตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สถาบนั พัฒนาชมุ ชนเข้มแข็ง มูลนิธพิ ะเยาเพ่อื การพัฒนา เลขที่ 91 หมู่ 2 บ้านทุ่งต้นศรี ตาบลสนั ป่าม่วง อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ปุย๋ หมกั ชีวภาพ ขัน้ ตอนการทาปยุ๋ หมกั ชีวภาพ การเตรยี มพน้ื ทว่ี างกองปุ๋ยหมักชวี ภาพ อาจจะทากลางแจ้งหรือทาในโรงเรอื นก็ได้ แตต่ อ้ งคานึงถึง  วัตถุดิบท่ีจะนามาใช้ต้องอยูใ่ กล้บ้าน  อยู่ใกล้แหลง่ นา้  เป็นทีด่ อนน้าไมท่ ว่ มขัง  อย่ใู กลก้ บั แหลง่ หรือพน้ื ทท่ี จี่ ะนาไปใช้เพ่อื สะดวกในการขนยา้ ย การเตรยี มวัสดุและวตั ถดุ ิบ แหล่งทม่ี าของจุลนิ ทรยี ์  หนา้ ดนิ ดีจากปา่ (หรือเศษซากพชื ทีม่ รี าสขี าวข้ึนปกคลมุ )  ดินดจี ากโคนจอมปลวกหรือบรเิ วณทรี่ ่วนซยุ สงั เกตบรเิ วณท่มี ีไสเ้ ดอื นอย่มู าก  ดนิ เศษซากพชื บริเวณโคนไมใ้ หญท่ ไี่ มเ่ คยใชส้ ารเคมี เชน่ โคนตน้ จามจรุ ี  อาหารของเชื้อจุลินทรยี ์ ได้แก่ ราละเอยี ด กากน้าตาลทาใหเ้ ชอื้ จุลินทรยี ์เพมิ่ ปรมิ าณมาก หรือยอ่ ยเศษซากอินทรียวัตถไุ ด้เรว็ ข้ึน แหลง่ ทม่ี าของเศษซากอนิ ทรียว์ ัตถุ  เศษซากพืชตา่ งๆ ท่ีเหลือท้งิ ในไรน่ า เชน่ เปลอื กถัว่ เขยี ว ฟางขา้ ว เศษใบไม้  วัสดุเหลือจากโรงงานอตุ สาหกรรม เช่น ข้ีเลอื่ ย ละอองขา้ ว กากอ้อย ซังข้าวโพด  ขยะตามบา้ นในครัวเรือนท่ยี อ่ ยสลายงา่ ย เชน่ ใบตอง เศษผกั เศษกระดาษ  วชั พืชนา้ เชน่ ผักตบชวา จอก แหน และวัชพชื บกทกุ ชนิด การทากองปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ แบบท่ี 1 อตั ราส่วน หวั เชื้อดินดี 1 สว่ น ราละเอยี ด 2 สว่ น วัสดุอินทรีย์ 2 สว่ น (ซากพชื ชนิด ต่างๆ ทมี่ ีชน้ิ ใหญห่ รอื หยาบไมส่ ามารถยอ่ ยไดล้ ะเอียด) มลู สัตวต์ ่างๆ 9 สว่ น ถา้ มีขเ้ี ถ้าอิฐเผาใหใ้ ส่ 2 ส่วน เพอื่ ช่วยดับกลิ่นและเพม่ิ ธาตอุ าหาร

ข้นั ตอนการทา (1) นาเศษอินทรียวัตถตุ า่ งๆ มากองในชัน้ แรก ความสูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร (2) ใสม่ ูลสัตว์ต่างๆ เช่น มูลไก่ วัว ควาย หมู เป็ด ฯลฯ ลงไป (ถ้ามีมากใส่มากได้ตาม ต้องการ) ย่ิงใส่มากจะทาให้ซากพืชย่อยสลายได้เร็วขึ้น หลังจากน้ันใส่หัวเช้ือดินดีและราละเอียด หรอื กากนา้ ตาลลงไป (3) รดน้าเพื่อให้เศษซากพืชเปียกน้าและเก็บความชื้นได้นาน แต่ต้องไม่รดน้ามาก จนเกนิ ไป จะทาให้การระบายอากาศของกองไมด่ ี (4) นาเศษซากพืชมากองเป็นชั้นๆ ประมาณ 3 - 4 ช้ัน โดยแต่ละชั้นทาเช่นเดียวกับ ข้อ 1 - 3 แต่ละช้ันหนาเท่ากัน ช้ันบนสุดให้ใช้ดินกลบทับหนาประมาณ 2 น้ิว ป้องกันการระเหย ของนา้ (หรอื คลมุ ด้วยฟางข้าวปิดทับอีกทีกไ็ ด้) (5) กลับกองปยุ๋ ทุกๆ 3 - 5 วัน ถ้าต้องการให้เป็นปุ๋ยหมักชีวภาพเร็วขึ้น ควรกลับกอง ป๋ยุ ทุกวัน การทาปยุ๋ หมกั ชีวภาพ แบบที่ 2 อัตราส่วน หัวเชื้อดินดี 1 ส่วน ราละเอียด 2 ส่วน วัสดุอินทรีย์ 2 ส่วน (ซากพืชชนิด ตา่ งๆ สับละเอียด) มูลสัตวต์ า่ งๆ 9 สว่ น ข้ันตอนการทา (1) นาหัวเชื้อหน้าดินดี ราละเอียด เศษอินทรียวัตถุซากพืชชนิดต่างๆ และมูลสัตว์ ตามอตั ราส่วนขา้ งตน้ มาผสมคลกุ เคล้าใหเ้ ขา้ กนั (2) รดน้าระหว่างท่ผี สมวัสดุ เพือ่ ใหก้ องปยุ๋ หมักมีความชื้นประมาณ 60% (3) เมื่อผสมวัสดุต่างๆ ให้เข้ากันดีและมีความช้ืนตามท่ีต้องการแล้ว เกล่ียกองปุ๋ยให้ เป็นรูปหลังเต่าๆ ควรมีขาดกอง (กว้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร และสูง 0.05 เมตร) ความสูงของกอง ตอ้ งไมใ่ หญเ่ กนิ ไป (4) คลมุ กองปยุ๋ ด้วยเศษฟาง เศษหญ้าหรือกระสอบปา่ นป้องกันการระเหยของน้า (5) 1 - 5 วนั แรกของการหมัก จะมีเส้นใยเช้อื ราเกิดข้ึน กองป๋ยุ หมักมีอณุ หภูมสิ งู (6) กลับกองปุ๋ยทุก 3 - 5 วัน เพื่อลดอุณหภูมิและรักษาความชื้นให้สม่าเสมอทั่วท้ัง กอง หลังจากหมกั ได้ 30 วัน สามารถนาเอาไปใช้ในพ้นื ทีไ่ ด้

วิธีการสงั เกตปุย๋ หมกั คอื - มสี ีน้าตาลเข้มถึงดา - มีกลนิ่ ไมเ่ หม็นหรือฉนุ เหมอื นช่วงทท่ี าใหม่ๆ - เศษซากพชื จะเป่ือยยยุ่ เมื่อดึงออกจะขาดจากกนั โดยง่าย กองป๋ยุ จะยุบลง อัตราการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพในแปลงพืชผัก ข้ึนอยู่กับชนิดของพืช โดยทั่วไปใช้ประมาณ 1.5 - 2.0 กิโลกรัม/ตารางเมตร วิธีใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ หว่านลงบนแปลงแล้ว พรวนดินกลบช่วงการเตรียมแปลง และเมื่อผักมีอายุ 15 และ 25 - 30 วัน การใส่ปุ๋ยในแปลงพืชผักมีประโยชน์มาก เพราะจะทาให้ดินร่วนซุยรากพืชผัก เจริญเติบโตได้เรว็

ศนู ยเ์ รยี นร้เู พอ่ื ชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บา้ นเลขที่ 90 หมู่ 14 ตาบลแม่กา อาเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา การทาปุ๋ยหมกั จลุ ินทรีย์ IMO ส่วนผสม (1) มลู สัตว์แหง้ 5 กระสอบปุ๋ย (2) ราออ่ น/แกลบอ่อน 1 กระสอบ (3) แกลบแก่ 2 กระสอบ (4) น้าหมกั ผัก สตู ร 3 1 ชดุ (5) นาหมกั ผลไม้ สตู ร 2 1 ชุด (6) หัวเช้อื จลุ ินทรีย์จากข้าว สูตร 1 1 ชดุ (7) ตะไคร้หอม 1 กโิ ลกรมั (8) น้าเปลา่ 150 ลิตร (9) ฟาง/หญ้าคา 2 มดั (10) ผ้าพลาสตกิ สาหรบั คุมกองปยุ๋ วิธที า (1) นาส่วนผสมข้อ 1 - 3 มาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน (2) นาส่วนผสมขอ้ 4 - 6 ผสมนา้ เปลา่ 150 ลติ รคนให้เข้ากนั (3) นาส่วนผสมที่คลุกเคล้ากันแล้ว ราดน้าหมักที่ผสมกับน้า โดยค่อยๆ ราดทีละน้อย แล้วคลกุ เคล้าให้เข้ากนั ระวงั อย่าให้แฉะเกินไป ให้ความชื้นอยู่ที่ 60 องศาเซลเซียส หรือให้หยิบขึ้น มาแล้วสามารถปัน้ เปน็ กอ้ นได้ (4) เกลย่ี กองปยุ๋ ใหเ้ ป็นรปู สเ่ี หลย่ี มผืนผา้ หนาประมาณ 13 เซนตเิ มตร หรือหนึง่ ฝา่ มือ (5) ผสมฟางขา้ วหรอื หญ้าคากบั ตะไครห้ อมสบั ละเอียด เพื่อป้องกนั โรคไรจากฟางข้าว แลว้ นาวัสดุทีผ่ สมกนั แลว้ ไปคลุมกองปุ๋ยใหท้ ่ัว จากนั้นจึงนาผ้าพลาสติกมาคลุมทับอีกชั้น ท้ิงไว้ 10 - 15 วัน จึงนาปุ๋ยออกมาใช้ วธิ ใี ช้ นาเปน็ ปุ๋ยใส่พืชทุกชนิด ประโยชน์ เพม่ิ จลุ นิ ทรีย์ในดนิ ทาใหด้ นิ ร่วนซุย รากพืชแผ่ขยายหาอาหารได้ง่าย ไม่ต้องใช้ปุ๋ยเคมี ลดรายจา่ ย

มูลนิธขิ ้าวขวญั 13/1 หมู่ 3 ถ.เทศบาลทา่ เสดจ็ ซ.6 ตาบลสระแก้ว อาเภอเมอื ง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ประโยชนข์ องปุย๋ หมกั ชีวภาพ 1) ชว่ ยปรบั ปรุงสมบตั ติ า่ ง ๆ ของดนิ ปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีข้ึน ให้เหมาะสม ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช การระบายนา้ ระบายอากาศ ชว่ ยใหร้ ากพืชขยายกระจายในดนิ ได้ดีขนึ้ 2) ช่วยเพ่ิมแร่ธาตุต่าง ๆ ให้แก่ดินทั้งธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองเพิ่มความอุดม สมบรู ณข์ องดนิ “แร่ธาตอุ าหารทุกชนดิ มคี วามสาคัญเทา่ เทยี มกนั ต่อการเจริญเติบโตของพืช ถ้าขาด แร่ธาตอุ าหารชนิดใดชนดิ หนึง่ กจ็ ะ มผี ลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพชื ” 3) ช่วยลดต้นทุนการทาการเกษตรกรรมของเกษตรกร เช่น ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และยา ปอ้ งกนั กาจัดแมลงศตั รพู ืช จนถงึ เลกิ ใชส้ ารเคมโี ดยสนิ้ เชงิ 4) เป็นการนาประโยชน์ของจุลินทรีย์มาใช้เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการหมักวัสดุ อนิ ทรยี เ์ พ่อื ใช้ในการปรับปรุงบารงุ ดิน และปอ้ งกันกาจัดโรคของพืชบางชนิด 5) ทาให้เกิดความปลอดภัยในการทาการเกษตร ไม่เกิดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ทา ใหเ้ กิดความสมดุลทางธรรมชาติ และเกษตรกรยงั ปลอดภยั จากสารเคมดี ว้ ย สตู รปยุ๋ ชีวภาพ ของนกั เรียนชาวนา 1) สตู รนาข้าว วสั ดอุ ินทรียใ์ ช้ในกองขนาด 1 ตัน (สตู รเข้มขน้ ) 1.1) ส่วนผสม - หวั เช้ือดินดี 1 สว่ น - ราละเอยี ด 2 สว่ น - วัสดุอินทรยี ์ (เศษใบไม้, ละอองขา้ ว, แกลบ. แกลบดา ฯลฯ) 4 สว่ น - มลู สตั วต์ ่าง ๆ (มลู ไก่, วัว, ควาย นกกระทา ฯลฯ) 8 สว่ น ถ้าตอ้ งการเพ่มิ ธาตอุ าหารให้เติม หนิ ฟอสเฟต และข้เี ถาขาวจากอิฐเผา (ให้ธาตุโปรแต สเซยี ม) ลงไปดว้ ยอย่างละ 2 สว่ น

2) สูตรฮอรโ์ มนไขห่ อย ส่วนผสม - ไข่หอยเชอรี่ 5 กโิ ลกรัม - กากนา้ ตาล 5 กโิ ลกรัม วธิ ีทา - แปง้ ข้าวหมาก 2 ลกู 10 วัน - จลุ นิ ทรยี ์ทาเอง 5 ลิตร วิธใี ช้ - น้ามะพร้าว 10 ลิตร - ยาคูลท์ 2 ขวด - ถงั พลาสติก 1 ใบ นาไขห่ อยเชอร่มี าบดใหล้ ะเอยี ดนาสว่ นผสมทั้งหมดมา คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั หมักท้งิ ไว้ ใช้ผสมน้า 20 ซี.ซี. ต่อน้า 20 ลติ ร ฉีดพ่น 3) สูตร นา้ หมักหอยเชอรี่ ส่วนผสม - หอยเชอร่ี 2 กโิ ลกรัม - กากน้าตาล 1 กิโลกรัม วธิ ีทา - จุลนิ ทรีย์ทาเอง 1 ลติ ร 10 วัน - น้ามะพร้าว 1 ลิตร วธิ ีใช้ - ถงั พลาสตกิ 1 ใบ นาหอยเชอรี่มาบดให้ละเอยี ด นาส่วนผสมทั้งหมดมาคลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั หมกั ท้งิ ไว้ ผสมน้า 20 ซี.ซี. ตอ่ นา้ 20 ลิตร ฉีดพน่ หรอื รด

4) สตู รสมนุ ไพร ส่วนผสม สะเดา มะระขน้ี ก บอระเพ็ด ข่าแก่ พริกแดง กระเทียม มะกรูด เปลือกมังคุด เปลือก แคหางไหล สบู่ต้น สบู่เลือด (ซื้อ) สาบเสือ หนอนตายหยาก ใบน้อยหน่า และอื่น ๆ ท่ีมีรสขม รส เผด็ รสฝาด รสเมา กลิน่ ฉุน วธิ ที า นาส่วนผสมทั้งหมดอย่างละเท่า ๆ กัน นามาสับ หรือโขลก แล้วหมักรวมกัน ใส่ กากน้าตาลเพียงเลก็ น้อย วิธีใช้ กรองเอาแตน่ า้ สมนุ ไพรมาใชผ้ สมนา้ 100 ซี.ซี. : นา้ 20 ลติ ร ใชฉ้ ดี พ่น 5) สตู ร ฮอร์โมนผลไมส้ ุก สว่ นผสม - กลว้ ยน้าว้าสุก 2 กิโลกรมั - ฟกั ทองแก่ 2 กโิ ลกรัม วิธที า - มะละกอสกุ 2 กโิ ลกรมั วิธีใช้ - จลุ ินทรีย์ทาเอง 50 ซี.ซี. - กากนา้ ตาล 40 ซี.ซี. - นา้ มะพร้าว 5 ลติ ร - ถงั พลาสตกิ 1 ใบ นาสว่ นผสมมาสบั ให้ละเอยี ด หรอื สับเปน็ ช้ิน ๆนามาหมกั รวมกนั ใชผ้ สมน้า 20 ซี.ซี. ตอ่ น้า 20 ลติ ร

6) สตู รจลุ นิ ทรยี ์แห้ง สว่ นผสม - ใบไผ่ 5 กิโลกรมั - ราละเอยี ด 1 กิโลกรัม - กากนา้ ตาล 1 กโิ ลกรมั - จลุ ินทรยี ์ทาเอง 1 กโิ ลกรัม - น้า 5 ลติ ร วธิ ีทา คลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากัน วัดความช้ืนประมาณ 40% คลุมด้วยกระสอบ ปา่ นหมกั ทง้ิ ไว้ประมาณ 10 วัน วธิ ีใช้ นาหวั เชอื้ จุลนิ ทรยี ์แห้งทไ่ี ด้นามาทาจุลินทรยี ์น้า 7) สูตรจลุ ินทรีย์น้า สว่ นผสม - ใบไผ่ (จลุ ินทรย์แหง้ ทที่ า) 1 กโิ ลกรมั - กากนา้ ตาล 5 กิโลกรมั - นา้ 100 ลติ ร - ราละเอยี ด 1 กามอื - มงุ้ เขยี ว (ขนาดพอท่ีจะหอ่ ใบไผ่) - ถงั พลาสติก 1 ใบ ** ใชห้ ัวเชื้อจุลินทรยี น์ า้ แทนใบไผ่ 5 ลติ ร วิธที า นาใบไผ่มาห่อดว้ ยมงุ้ เขียวมัดให้แน่น นากากน้าตาลละลายกับน้าลงในถัง นาห่อใบไผ่ ลงไปแชใ่ นถงั ราละเอียดหรอื เปลือกสปั ปะรดแทนก็ได้ หมักไว้ 7 วนั นาไปใช้ได วธิ ใี ช้ นาน้าจุลินทรีย์ไปใส่ในนาข้าวเพ่ือย่อยสลายฟาง ใช้ผสมน้ารดโคนต้นไม้ เช่น มะม่วง ขนุน ฯลฯ หมายเหตุ : 1) สูตรทกุ อยา่ งต้องหมักในถงั พลาสตกิ 2) ส่วนผสมต่าง ๆ ที่ใส่จะต้องไม่ใส่หมักเต็มถังควรมีท่ีว่างอย่างน้อย 1 ฝ่ามือ เพื่อ เป็นท่วี า่ งให้อากาศเขา้ ไปได้ ระยะเวลาหมกั ทีเ่ หมาะสมคือ 10 - 90 วนั

ศนู ย์กสกิ รรมธรรมชาติชาปลาไหล 6/1 หมู่ 12 ตาบลสองพ่นี ้อง อาเภอท่าใหม่ จงั หวดั จนั ทบุรี การทาปยุ๋ อนิ ทรียช์ วี ภาพ (ชนิดนา้ ชนิดผง และชนดิ เมด็ ) ด้วยภูมิปัญญาไทย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และอีกหลาย ๆ ชื่อ ปุ๋ยมีการให้ คาจากัดความในทางวิชาการท่ีค่อนข้างหลากหลายในที่นี้ “ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ” หมายถึง สาร ธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการหมักบ่ม วัตถุดิบจากธรรมชาติต่าง ๆท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัว สมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และสารธรรมชาติต่าง ๆ (ดินป่า) ซ่ึงเป็นท้ังอาหารของดิน (ส่ิงมีชีวิตในดิน) ตัวเร่งการทางาน (catalize) ของส่ิงมีชีวิตเล็กๆ ท่ีอาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่ ปลายรากของพืช (แบคทีเรียแอคติโนมัยซิสและเชื้อรา ฯลฯ) ที่สามารถสร้างธาตุอาหารกว่า 93 ชนิดให้แกพชื ภายใต้หลักการกสิกรรมธรรมชาติท่วี า่ “เล้ียงดิน เพ่ือให้ดินเลี้ยงพืช” (Feed the soil and let the soil feed the plant) การให้ความสาคัญของดินด้วยการเคารพบูชาดินเหมือน “แม่” ภูมิปัญญาด้ังเดิมในการดูแลรักษาดิน ท่ีเรียกว่า “พระแม่ธรณี” สังคมไทยได้พัฒนาการผลิต อาหารให้แก่ดิน หรือปัจจุบันเรียกว่า “ปุ๋ย” ไว้หลายรูปแบบด้วยเทคโนโลยีท่ีลึกซึ้งแนบแน่นกับ ธรรมชาติ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ พยายามรวบรวมข้อมูลประสบการณ์จากการปฏิบัติของ เกษตรกรและข้อสรุปผลทางวิชาการของนักวิชาการรวมทั้งการปฏิบัติอย่างจริงจังภายใน ศูนย์กสิ กรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง จ.ชลบุรี และเครือข่ายที่ร่วมแลกเปล่ียนประสบการณ์ในภูมิภาคต่าง ๆ อาทิเชน่ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนกลุ่มปุ๋ยชีวภาพ อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี, งานวิชาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการ พฒั นาอา่ วคุ้งกระเบน อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ จ.จันทบุรี, ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรไทจังจันทร์ จ. ระยอง ศูนยก์ สิกรรมธรรมชาตมิ ูลนธิ ใิ ต้รม่ เยน็ จ.สตลู , สวนผกั ปลอดสารพิษมาแซนเทพา จ.สงขลา, ชมรมกสิกรรมธรรมชาติชุมพรคาบาน่า จ.ชุมพร และโครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษวังน้าเขียว อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.นครราชสีมา ฯลฯ สูตรปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพชยนิดต่าง ๆ ได้จาก ประสบการณ์ของเกษตรกร และนักวชิ าการเครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ทพ่ี ฒั นามาจนได้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ที่มี คุณภาพให้คุณค่าทางธาตุอาหารโดยตรงแก่พืช และกระตุ้นให้จุลินทรีย์ในดินสร้างอาหารกว่า 93 ชนดิ ทีพ่ ชื ตอ้ งการทดแทนปุย๋ เคมี ซ่งึ มีธาตอุ าหารเพียง 3 ชนิด (NPK) และได้คุณภาพของผลผลิตท่ี สูงกว่า ได้รสชาติท่ีดีกว่า และต้นทุนที่ต่ากว่าการใช้ปุ๋ยแคมี โดยในปัจจุบันพบว่า มีสูตรการผลิตปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพมากกว่า 100 สูตร ซ่ึงมีการพัฒนาการผลิตมาช้านานแต่ใช้อยู่ในวงจากัดไม่ แพรห่ ลายเหมือนกบั ปุ๋ยเคมี

1) ประโยชน์ของปยุ๋ อนิ ทรียช์ วี ภาพ 1.1) เปน็ อาหารของสงิ่ มีชีวิตในดนิ เชน่ แบคทีเรีย เช้ือรา และแอคติโนมัยซิส 1.2) ใหธ้ าตุอาหาร และกระต้นุ ใหจ้ ุลินทรีย์สร้างอาหารกวา่ 93 ชนิด แกพ่ ืช 1.3) ช่วยปรับปรุงคณุ สมบตั ิ และโครงสร้างดนิ ใหด้ ขี น้ึ 1.4) ช่วยดดู ซับ หรอื ดูดยดึ ธาตุอาหารไว้ใหแ้ กพ่ ืช 1.5) ช่วยปรับค่าความเป็นกรด - ด่าง (pH) ของดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะแก่การ เจรญิ เติบโตของพืช 1.6) ช่วยกาจดั และตอ่ ต้านเช้ือจุลนิ ทรียท์ ่ีกอ่ โรคต่าง ๆ 1.7) ทาใหพ้ ชื สามารถสร้างพิษไดเ้ อง สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ดี ปุย๋ น้าหมักอินทรยี ช์ วี ภาพ เป็นสารละลายสีน้าตาลข้นที่ได้จากการย่อยสลายเซลล์พืช หรือเซลลส์ ัตว์ โดยผา่ นกระบวนการหมกั ของจุลนิ ทรีย์ท่ตี อ้ งการออกซเิ จน และไมต่ อ้ งการออกซิเจน ด้วยการเติมน้าตาลทรายแดง หรือกากน้าตาล ให้เป็นแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์ที่ทาหน้าท่ีย่อย สลาย ซึ่งมีจุลินทรีย์ในกลุ่มแบคทีเรีย อาทิเช่น Bacillus sp. Lactobacillus sp. Stre[tococcus sp. กลุ่มเชื้อรา อาทิเช่น Aspergillus nige Pennicillium sp. Rhizopus และกลุ่มยีสต์ อาทิเช่น Canida sp. ฉะนั้นในน้าสกัดอินทรีย์ชีวภาพท่ีผ่านการะบวนการย่อยสลายอย่างสมบูรณ์แล้ว จึง ประกอบด้วย จุลินทรีย์หลากหลายชนิด และสารประกอบจากเซลล์พืช เซลล์สัตว์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน ธาตุอาหาร เอ็นไซม์ และฮอร์โมนพืช ในปริมาณที่แตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ ับวตั ถดุ บิ ท่ีนามาใช้ 2) สูตรหญา้ ผสมขี้ไก่ สว่ นประกอบ 2.1) หญ้าสด 50 กิโลกรัม 2.2) ข้ีไก่ 5 กิโลกรัม (ไม่ควรเลือกไก่ท่ีกินยาปฏิชีวนะ เพราะจะทาให้มีกลิ่นเหม็น เนา่ และเปน็ อันตรายต่อจลุ นิ ทรยี ์ในดนิ และท่ีปลายรากพชื )

วธิ ที า 1) นาหญา้ สด 10 กโิ ลกรมั ใส่ลงในถังหมักพลาสตกิ ขนาด 200 ลติ ร ย่าใหแ้ นน่ (จะสูง ประมาณ 20 ซม.) 2) โรยขไ้ี กห่ มาด ๆ 1 กิโลกรัม ทบั ลงบนหญ้า 3) ทาซา้ เช่นเดมิ อีก 4 ชน้ั 4) บ่มไว้ประมาณ 45 วัน ขึ้นไป จะไดป้ ุ๋ยนา้ เขม้ ขน้ คณุ ภาพดี วิธใี ช้ 1) ผสมน้า 1: 200 - 500 รดราดดนิ 2) ผสมน้า 1: 300 - 1,000 ฉดี พน่ ลาตน้ และใบ 3) สตู รเศษอาหาร (ปยุ๋ คน) สว่ นประกอบ 1) เศษอาหารในครัวเรอื นทุกชนิดรวมท้ังน้าแกง นา้ พริก ผลไม้ เปลอื กหอย กุง้ กา้ งปลา หัวปลา น้ายาลา้ งจาน เป็นตน้ จานวน 3 กโิ ลกรมั 2) นา้ ตาลทรายแดง หรือกากน้าตาล 1 กโิ ลกรัม 3) นา้ สะอาด 1 - 10 ลติ ร (แล้วแตเ่ ศษอาหารมีนา้ มากหรือไม)่ 4) หัวเชอื้ จุลินทรยี เ์ ขม้ ข้น 1 ลติ ร วิธที า 1) นาเศษอาหาร 3 กโิ ลกรัม ใสล่ งในถังพลาสติก 2) ผสมน้ากับนา้ ตาลใหเ้ ข้ากัน เป็นเนอื้ เดียวกนั 3) เตมิ หัวเชอื้ จลุ นิ ทรยี เ์ ข้มขน้ ผสมในนา้ และนา้ ตาล 4) เททับลงในถงั ที่ใสเ่ ศษอาหารให้ท่วั ๆ 5) ปิดฝาใหส้ นทิ (ไม่ใหแ้ สง และอากาศเข้าได้) 6) บม่ ท้งิ ไวป้ ระมาณ 90 วนั จะได้ปุย๋ น้าคุณภาพดกี ลนิ่ หอม รสเปรย้ี ว (pH ประมาณ 3) หมายเหตุ ปริมาณสว่ นผสมตา่ ง ๆ ปรับไดต้ ามส่วน วิธีใช้ 1) ผสมน้า 1: 100 - 400 รดราดโคน 2) ผสมน้า 1:200 - 1,000 ฉดี พน่ ลาตน้ และใบ

4) สตู รพชื ผกั สว่ นประกอบ 1) เศษพืชผกั ผลไม้ทกุ ชนดิ 3 กโิ ลกรมั 2) นา้ ตาลแดง หรือกากน้าตาล 1 กิโลกรมั 3) น้าสะอาด 10 ลติ ร 4) หัวเช้อื จลุ นิ ทรียเ์ ขม้ ขน้ 1 ลติ ร วิธที า 1) สับและนาเศษผกั ผลไม้ใสใ่ นถงั พลาสติก 2) ผสมน้า กับนา้ ตาลใหเ้ ขา้ เปน็ เนอ้ื เดยี วกนั 3) เติมหวั เช้ือจลุ ินทรยี เ์ ขม้ ข้น ผสมลงในนา้ และนา้ ตาล 4) เททับลงบนเศษผักผลไม้ในถงั ให้ท่ัว 5) ใชไ้ มไ้ ผข่ ดั กดใหเ้ ศษผกั จมน้า 6) ปิดฝาใหส้ นทิ ไมใ่ หแ้ สงและอากาศเขา้ 7) บ่มท้ิงไว้ในที่ร่มประมาณ 90 วัน เป็นอย่างน้อย ก็จะได้ปุ๋ยน้าคุณภาพดี กลิ่นหอม และรสเปร้ียว (pH 3.3) เหมาะสาหรบั รดพชื ผกั ทกุ ชนิด หมายเหตุ : ถ้าต้องการรดผักชนิดไหน ให้ใช้ผักชนิดน้ันหมักเป็นหลัก ร่วมกับพืชผัก หรือวัชพืชท่ี ชอบ ขนึ้ ร่วมกับผกั ชนดิ นนั้ วิธีใช้ 1) ผสมนา้ 1: 100 รดราดดนิ 2) ผสมน้า 1 : 200 - 400 ฉดี พ่นใบและลาต้น 5) สตู รหอยเชอรี่ หรอื สูตรปลา ส่วนประกอบ 1) หอยเชอร่ี หรือปลาสด 3 กโิ ลกรัม 2) นา้ ตาลทรายแดง หรือกากน้าตาล 1 กโิ ลกรัม 3) น้าสะอาด 10 ลติ ร 4) หัวเชอ้ื จุลนิ ทรียเ์ ขม้ ข้น 1 ลิตร

วธิ ที า 1) นาหอยเชอรี่ หรอื ปลามาสบั ทบุ หรือบดใหพ้ อแหลก 2) ผสมนา้ น้าตาล และหัวเชอ้ื จุลนิ ทรียเ์ ขม้ ขน้ คนใหเ้ ข้าเปน็ เนอื้ เดียวกนั แลว้ เททับลง บนหอยเชอรี่ หรอื ปลาในถงั 3) ใช้ไม้ไผข่ ัดกดให้หอยเชอร่ี หรือปลาจมลงในนา้ 4) ปดิ ฝาให้สนิทไม่ใหแ้ สง และอากาศเข้า บม่ ทิ้งไว้ในทร่ี ม่ ประมาณ 90 วัน เปน็ อย่าง น้อย หมายเหตุ ไมค่ วรใชส้ ูตรหอยเชอร่ี หรือสตู รปลาเพยี งอยา่ งเดียว ควรใช้ร่วมกบั สูตรพืชผัก หรือสูตร สมุนไพรดว้ ย 6) สูตรสะสมตาดอก ส่วนประกอบ 1) เศษพชื สด วชั พืช 1 สว่ น 2) ผลไมด้ บิ 1 สว่ น 3) ผลไมส้ กุ 2 สว่ น 4) เมล็ดพืช/ เมล็ดวชั พืช 2 สว่ น 5) ซากสัตว์ 2 ส่วน 6) หวั เชื้อจลุ นิ ทรียเ์ ขม้ ขน้ 1 สว่ น 7) นมสด 1 ส่วน 8) ไข่ทั้งเปลอื ก 1 สว่ น 9) กากนา้ ตาล 1 ส่วน 10) นา้ มะพรา้ ว 1 สว่ น วิธีทา 1) นาส่วนผสมทเี่ ปน็ พืชและซากสัตวท์ งั้ หมดมาบดละเอียด (น้าท่ีออกมาอย่าทิ้งบรรจุ ลงในถังหมกั หรอื ภาชนะทีไ่ มใ่ ช่โลหะ) 2) นากากนา้ ตาล น้ามะพรา้ ว หวั เชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น นมสด และไข่ทั้งเปลือกผสมให้ เขา้ กนั แลว้ เททบั ลงบนวสั ดุทบ่ี ดละเอยี ด 3) คลกุ เคล้าสว่ นผสมท้ังหมดใหเ้ ขา้ เป็นเน้ือเดียวกัน 4) ปดิ ฝาถงั หมักใหส้ นทิ เก็บไวใ้ นท่รี ม่ ประมาณ 90 วัน

วธิ ีใช้ 1) ผสมนา้ 100 ลิตร : ปยุ๋ 200 ซี.ซี. รดราดดนิ 2) ผสมน้า 100 ลิตร : ปยุ๋ 100 ซี.ซี. ฉดี พน่ ใบและลาต้น 7) สตู รเปดิ ตาดอก ส่วนประกอบ 1) ดอกไม้ตูม พร้อมเกสร 10 สว่ น 2) ผลไมด้ บิ 1 ส่วน 3) ผลไมส้ กุ 10 สว่ น 4) เมลด็ พื 1 ส่วน 5) ซากสัตว์ 10 สว่ น 6) หวั เชอ้ื จลุ ินทรียเ์ ขม้ ขน้ 5 สว่ น 7) นมสด 5 ส่วน 8) ไข่ทงั้ เปลอื ก 5 ส่วน 9) กากนา้ ตาล 5 ส่วน 10) นา้ มะพร้าว 5 สว่ น วิธีทา 1) นาวัสดุส่วนผสมทง้ั หมดบดปน่ ละเอยี ด แล้วเทลงในถงั หมัก 2) นากากนา้ ตาล นา้ มะพร้าว หวั เชอ้ื จุลินทรีย์เข้มข้น นมสด และไข่ท้ังเปลือกผสมให้ เข้ากัน แล้วเททับลงบนวัสดุท่บี ดละเอียด 3) คลกุ เคลา้ ส่วนผสมท้งั หมดให้เข้าเป็นเน้อื เดียวกัน 4) ปิดฝาถังหมักให้สนิทเก็บไวใ้ นทร่ี ม่ ประมาณ 90 วนั วธิ ใี ช้ (1) ผสมน้า 100 ลิตร : ป๋ยุ 200 ซี.ซี. รดราดดนิ (2) ผสมน้า 100 ลติ ร : ปยุ๋ 100 ซี.ซี. ฉีดพน่ ใบและลาตน้ ปยุ๋ หมักแหง้ อนิ ทรีย์ชีวภาพ (ชนิดผง) เป็นปุ๋ยท่ีได้จากการนามูลสัตว์ชนิดต่าง ๆ มาผสมคลุกเคล้ากับขี้เถ้าแกลบ กากอ้อย ราข้าว และเศษซากพชื ตา่ ง ๆ โดยใช้นา้ ตาล และหวั เชอื้ จลุ ินทรยี เ์ ข้มข้นเปน็ ตัวเร่งปฏิกิริยาการย่อย สลาย เมื่อหมัก และย่อยสลายจนสมบูรณ์แล้ว จะได้ปุ๋ยหมักแห้งอินทรีย์ชีวภาพท่ีมีคุณภาพซึ่ง ส่วนผสมต่าง ๆ สามารถดัดแปลงได้ ตามวัสดทุ ม่ี อี ยูใ่ นทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ

สตู รมลู สัตว์ ส่วนประกอบ 1) มูลสตั ว์ 1 กระสอบ 2) แกลบ เศษใบไม้ หรือซังขา้ วโพด 1 กระสอบ 3) ขเี้ ถ้าแกลบ 1 กระสอบ 4) ราออ่ น 1 กระสอบ 5) นา้ สะอาด 10 ลติ ร (ถา้ วตั ถดุ ิบแหง้ มาก ก็สามารถเพิ่ม ปริมาณขน้ึ ได้) 6) หัวเช้ือจุลนิ ทรียเ์ ข้มขน้ 1 ลติ ร วธิ ที า 1) นามูลสัตว์ แกลบ ขี้เถ้าแกลบ และราออ่ นมาผสมคลกุ เคลา้ ให้เขา้ เป็นเนอ้ื เดียวกัน 2) ผสมน้า กับหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และทาการผสมให้ เข้ากันจนมีความช้ืนประมาณ 35% (โดยทดลองกาดู) จะสามารถเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเมอ่ื ปล่อยทิง้ ลงพน้ื จากความสูงประมาณ 1 เมตร กอ้ นปุ๋ยจะแตก แต่ยังมีรอยน้วิ มือเหลืออยู่ 3) คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กันดี ตักปยุ๋ ใส่กระสอบ และมดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ 4) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนทับกันเป็นชั้น ๆ และควรวางกระสอบแต่ละต้ังให้ห่างกัน เพอ่ื ใหค้ วามร้อนสามารถระบายออกได้ทั้ง 4 ด้าน (เพอื่ ไม่ตอ้ งกลบั กระสอบ ทุกวนั ) 5) ท้ิงไว้ประมาณ 5 - 7 วัน ตรวจดูถ้ามีกล่ินหอม และไม่มีไอร้อน ก็สามารถนาไปใช้ งานได้ และสามารถเกบ็ รักษาไว้ไดน้ าน วิธีใช้ ควรใช้ต้ังแต่ในขั้นตอนของการเตรียมดิน โดยผสมคลุกเคล้ากับดินในแปลง เสร็จแล้ว คลมุ ดินด้วยฟาง ใบไม้ หรือกิ่งไม้ และควรหมักดินท้ิงไว้ประมาณ 7 วัน จึงจะเริ่มลงมือปลูกพืช (ใน กรณที ่ีเป็นนาขา้ ว พืชไร่ และพชื ผัก) มอี ัตราการใช้ ดังนี้ 1) นาข้าว 200 กโิ ลกรัมต่อไร่ 2) พืชไร่ พืชผัก 2 กามอื ต่อตารางเมตร 3) ไมย้ ืนต้น พชื สวน 1 กิโลกรัมตอ่ ตารางเมตร ข้อแนะนาในการใชป้ ยุ๋ หมกั แหง้ อนิ ทรยี ช์ วี ภาพใหไ้ ดผ้ ลดีน้นั หลังจากหว่าน หรือคลุกผสมปุ๋ยหมักแห้งกับดินแล้ว ควรคลุมดินด้วยฟางเศษหญ้า หรือเศษใบไมต้ า่ ง ๆ จากน้นั ใชป้ ุ๋ยน้าหมกั อนิ ทรีย์ชีวภาพรดราดลงไป ในอัตราส่วน 1: 200 จะ ช่วย ให้ดินรว่ นซยุ และฟูข้นึ ทาให้รากพชื เติบโตไดด้ ี

ปุย๋ เมด็ อินทรยี ์ชวี ภาพ จุดประสงค์ของการปั้นเม็ดก็เพ่ือยืดอายุการเก็บรักษา สะดวกต่อการเก็บและการใช้ งาน โดยการทาปุ๋ยเม็ดน้ัน จะต้องมีอุปกรณ์และเคร่ืองจักรกลเข้ามาเพ่ิมเติม จึงไม่สามารถท่ีจะทา ในระดบั ครวั เรือนได้ เพราะลงทนุ สูงโดยไมจ่ าเป็น สว่ นประกอบ 1) ปยุ๋ หมกั แหง้ ชีวภาพ (ชนิดผง) 700 กโิ ลกรมั 2) มูลไก/่ มูลววั /มูลค้างคาว 100 กิโลกรัม 3) ดนิ ฟอสเฟต 200 กิโลกรัม 4) ป๋ยุ นา้ หมักชีวภาพสูตรหอย กุง้ ปู 30 ลติ ร 5) ปยุ๋ น้าหมักชีวภาพสูตรหญ้า จ้าว มลู ไก่ 20 ลติ ร 6) นา้ สะอาด 50 ลิตร วธิ ที า 1) นาปุ๋ยหมักแหง้ ชวี ภาพ มูลสัตว์ ดินฟอสเฟต มาบดใหล้ ะเอยี ด 2) ผสมปุ๋ยน้าหมักชีวภาพสูตรหอย กุ้ง ปู สูตรหญ้า ข้าว มูลไก่ และน้าสะอาดคนให้ เขา้ กนั 3) นาป๋ยุ หมักแหง้ ชวี ภาพ มลู สตั ว์ และดินฟอสเฟตท่บี ดละเอียดแล้วมาผสมคลุกเคล้า ให้เข้ากัน 4) เอาส่วนผสมทั้งอย่างแห้ง และอย่างน้า มาผสมกันให้มีความช้ืนพอเหมาะสาหรับ การปั้นเมด็ 5) นาส่วนผสมท่ไี ดเ้ ข้าเครื่องป้ันเม็ดปุ๋ย และอบแห้งด้วยความร้อนประมาณ 40 - 60 ๐C จนมีความชนื้ ประมาณ 9 - 12% 6) บรรจุปุ๋ยเม็ดอินทรีย์ชีวภาพลงกระสอบ เพื่อนาไปเก็บ (ควรเก็บไว้ในท่ีร่ม อากาศ แห้ง และถา่ ยเทสะดวก)

ศนู ยก์ ารเรยี นร้เู กษตรสมดลุ “สวนธงไชย - ไร่ทักสม” ตง้ั อยทู่ ี่ 7 หมู่ 3 ตาบลทรายมูล อาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก การทาปุ๋ยหมกั สว่ นประกอบ 1) ราละเอยี ด 1 ปบ๊ี 2) ละอองขา้ ว 1 ปบ๊ี 3) ขเ้ี ถา้ แกลบ 1 ปบี๊ 4) ข้ีววั 1 ป๊ีบ 5) ผกั บ้งุ ไฟแดง ½ ป๊บี 6) น้าควันไม้ 7) นา้ ชีวภาพ 8) ถ่านอบ 2 กโิ ลกรัม วธิ ที า ผสมใหเ้ ขา้ กนั แล้วกลบั กองป๋ยุ ทุกวนั เปน็ เวลา 5 วนั สามารถนามาใช้ได้

ศูนยเ์ รียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียงเพือ่ นพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก ต้ังอยู่บ้านเลขท่ี 55/2 หมูท่ ี่ 2 ตาบล บา้ นแห อาเภอเมือง จงั หวดั อ่างทอง การทาปุ๋ยหมกั ชวี ภาพ สตู รปยุ๋ หมกั ราอ่อน ดนิ ดี แกลบดบิ แกลบดา มลู สัตว์ พืชตระกูล ชีวภาพ/วัตถุดบิ ถวั่ ไมผ้ ล , ไมย้ ืนต้น 1 1 1 1 1 1 ไม้ผล , ไม้ยนื ตน้ 1 1 2 2 2 2 , พชื อายสุ ัน้ พืชอายสุ ้ัน 12 4 4 2 4 วธิ ีทา 1. นาสว่ นผสมทัง้ หมด (ยกเว้นราออ่ นให้ใสท่ ีหลงั สุด) นามาคลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กัน 2. นาน้าหมักท่ีผสมไว้ราดลงไปให้ทั่วกองปุ๋ยโดยให้เปียกพอประมาณ(เปียกประมาณ 60% ) อัตราสว่ นในการผสมน้าหมกั ชีวภาพ นากากน้าตาล 2 ช้อนลงผสมกับน้าหมัก 2 - 10 ช้อน แล้วใส่น้า 20 ลิตร กวนให้เข้า กนั นาไปรดกองปุ๋ยหมัก (น้าหมกั และกากนา้ ตาลจะใสม่ ากหรือน้อยก็ได้ตามตอ้ งการ) ขอ้ แนะนา 1. การผสมปุ๋ยและการเกบ็ ปุ๋ยควรทาในที่รม่ หรือในโรงเรือน 2. ในระยะ 7 วันแรกปุ๋ยจะมีความร้อนสูง ควรพลิกกลับปุ๋ยทุกวันในระยะ 2 - 7 วัน แรก 3. การเกบ็ ปุ๋ยไม่ควรซ้อนเกิน 5 ชัน้ หลงั จากปุย๋ เย็นแล้วนาไปใช้ได้ 4. นา้ ทใ่ี ชผ้ สมกับกากานา้ ตาลหรือนา้ หมกั ใช้น้าซาวข้าวแทนน้าธรรมดาจะทาให้ปุ๋ยมี ประสทิ ธภิ าพมากข้นึ

ศนู ย์ศึกษากสกิ รรมธรรมชาติสระแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 521/3 บา้ นหนองนกเขา ตาบลทา่ เกษม อาเภอเมือง จังหวดั สระแก้ว ปยุ๋ หมกั แห้งอนิ ทรยี ์ชวี ภาพ สูตรมูลสัตว์ชนดิ ผง เป็นปุ๋ยท่ีได้จากการนามูลสัตว์ชนิดต่าง ๆ มาผสมคลุกเคล้ากับขี้เถ้าแกลบ กากอ้อย ราข้าว และเศษซากพืชตา่ ง ๆ โดยใชน้ า้ ตาล และหัวเชื้อจลุ ินทรยี เ์ ขม้ ข้นเปน็ ตวั เร่งปฏิกิริยาการย่อย สลาย เม่ือหมัก และย่อยสลายจนสมบูรณ์แล้ว จะได้ปุ๋ยหมักแห้งอินทรีย์ชีวภาพที่มีคุณภาพซึ่ง สว่ นผสมต่าง ๆ สามารถดัดแปลงได้ ตามวสั ดุท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินนัน้ ๆ สว่ นประกอบ 1) มูลสัตว์ 1 กระสอบ 2) แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซังข้าวโพด 1 กระสอบ 3) ขเี้ ถา้ แกลบ 1 กระสอบ 4) ราออ่ น 1 กระสอบ 5) นา้ สะอาด 10 ลิตร (ถ้าวัตถุดิบแห้งมาก ก็สามารถเพ่ิมปรมิ าณขึ้นได้) 6) หัวเชอ้ื จุลนิ ทรยี ์เข้มขน้ 1 ลิตร วธิ ีทา 1) นามูลสัตว์ แกลบ ข้เี ถ้าแกลบ และราออ่ นมาผสมคลุกเคล้าใหเ้ ขา้ เปน็ เน้ือเดยี วกัน 2) ผสมน้า กับหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และทาการผสมให้ เข้ากันจนมีความชื้นประมาณ 35% (โดยทดลองกาดู) จะสามารถเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเมื่อปล่อยท้ิงลงพนื้ จากความสูงประมาณ 1 เมตร กอ้ นปยุ๋ จะแตก แต่ยงั มีรอยน้วิ มือเหลอื อยู่ 3) คลกุ เคล้าใหเ้ ขา้ กันดี ตักปุ๋ยใส่กระสอบ และมัดปากถงุ ให้แน่น 4) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนทับกันเป็นชั้น ๆ และควรวางกระสอบแต่ละตั้งให้ห่างกัน เพ่ือให้ความรอ้ นสามารถระบายออกไดท้ ้งั 4 ด้าน (เพือ่ ไมต่ อ้ งกลบั กระสอบ ทุกวนั ) 5) ท้ิงไว้ประมาณ 5 - 7 วัน ตรวจดูถ้ามีกลิ่นหอม และไม่มีไอร้อน ก็สามารถนาไปใช้ งานได้ และสามารถเกบ็ รักษาไว้ได้นาน

วธิ ีใช้ ควรใชต้ ้ังแต่ในขั้นตอนของการเตรียมดิน โดยผสมคลุกเคล้ากับดินในแปลง เสร็จแล้ว คลมุ ดินด้วยฟาง ใบไม้ หรือก่ิงไม้ และควรหมักดินท้ิงไว้ประมาณ 7 วัน จึงจะเริ่มลงมือปลูกพืช (ใน กรณีที่เปน็ นาขา้ ว พืชไร่ และพชื ผกั ) มีอัตราการใช้ ดงั น้ี 1) นาขา้ ว 200 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ 2) พชื ไร่ พืชผัก 2 กามอื ต่อตารางเมตร 3) ไมย้ นื ตน้ พชื สวน 1 กิโลกรัมตอ่ ตารางเมตร 4) ข้อแนะนาในการใช้ปุ๋ยหมักแห้งอินทรีย์ชีวภาพให้ได้ผลดีน้ัน หลังจากหว่าน หรือ คลกุ ผสมป๋ยุ หมักแห้งกบั ดนิ แล้ว ควรคลุมดินด้วยฟางเศษหญา้ หรือเศษใบไม้ต่าง ๆ จากนน้ั ใช้ป๋ยุ น้า หมักอินทรีย์ชีวภาพรดราดลงไป ในอัตราส่วน 1: 200 จะ ช่วยให้ดินร่วนซุย และฟูข้ึนทาให้รากพืช เติบโตได้ดี

ศนู ยศ์ กึ ษากสิกรรมธรรมชาติสระแก้ว ต้ังอยเู่ ลขท่ี 521/3 บา้ นหนองนกเขา ตาบลทา่ เกษม อาเภอเมอื ง จงั หวัดสระแก้ว ปยุ๋ เมด็ อนิ ทรีย์ชวี ภาพ จุดประสงค์ของการป้ันเม็ดก็เพ่ือยืดอายุการเก็บรักษา สะดวกต่อการเก็บและการใช้ งาน โดยการทาปุ๋ยเม็ดน้ัน จะต้องมีอุปกรณ์และเคร่ืองจักรกลเข้ามาเพ่ิมเติม จึงไม่สามารถท่ีจะทา ในระดับครัวเรือนได้ เพราะลงทนุ สูงโดยไมจ่ าเปน็ ส่วนประกอบ 700 กโิ ลกรัม 1) ปุ๋ยหมักแห้งชวี ภาพ (ชนดิ ผง) 100 กิโลกรมั 2) มลู ไก/่ มลู วัว/มลู คา้ งคาว 200 กิโลกรัม 3) ดนิ ฟอสเฟต 30 ลิตร 4) ป๋ยุ นา้ หมกั ชวี ภาพสูตรหอย ก้งุ ปู 20 ลิตร 5) ปยุ๋ น้าหมกั ชวี ภาพสูตรหญ้า จา้ ว มูลไก่ 50 ลิตร 6) น้าสะอาด วิธที า 1) นาปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ มลู สัตว์ ดนิ ฟอสเฟต มาบดใหล้ ะเอียด 2) ผสมปุ๋ยน้าหมักชีวภาพสูตรหอย กุ้ง ปู สูตรหญ้า ข้าว มูลไก่ และน้าสะอาดคนให้ เขา้ กัน 3) นาปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพมูลสัตว์และดินฟอสเฟตท่ีบดละเอียดแล้วมาผสมคลุกเคล้า ให้เขา้ กัน 4) เอาสว่ นผสมทงั้ อยา่ งแหง้ และอย่างน้ามาผสมกันให้มคี วามชื้นพอเหมาะสาหรับการ ปัน้ เมด็ 5) นาส่วนผสมท่ไี ดเ้ ขา้ เครื่องป้ันเม็ดปุ๋ย และอบแห้งด้วยความร้อนประมาณ 40 - 60 ๐C จนมคี วามชน้ื ประมาณ 9 - 12% 6) บรรจุปุ๋ยเม็ดอินทรีย์ชีวภาพลงกระสอบ เพื่อนาไปเก็บ (ควรเก็บไว้ในที่ร่ม อากาศ แหง้ และถ่ายเทสะดวก)

ศูนย์ภูมริ ักษธ์ รรมชาติ บา้ นทา่ ดา่ น ตาบลหินตั้ง อาเภอเมอื ง จังหวัดนครนายก ปยุ๋ หมกั แหง้ อนิ ทรยี ์ชวี ภาพ (ชนดิ ผง) เป็นปยุ๋ ท่ีไดจ้ ากการนามลู สตั วช์ นิดต่างๆ มาผสมคลกุ เคล้ากับขี้เถ้าแกลบ กากอ้อย รา ข้าว และเศษซากพืชต่างๆ โดยใช้น้าตาล และหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการย่อย สลาย เม่ือหมัก และย่อยสลายจนสมบูรณ์แล้ว จะได้ปุ๋ยหมักแห้งอินทรีย์ชีวภาพที่มีคุณภาพซึ่ง สว่ นผสมตา่ งๆ สามารถดัดแปลงได้ ตามวสั ดุท่ีมีอยู่ในทอ้ งถ่ินนั้นๆ สตู รมลู สตั ว์ ส่วนประกอบ 1) มลู สตั ว์ 1 กระสอบ 2) แกลบ เศษใบไม้ หรือซงั ขา้ วโพด 1 กระสอบ 3) ข้เี ถ้าแกลบ 1 กระสอบ 4) ราอ่อน 1 กระสอบ 5) นา้ สะอาด 10 ลติ ร (ถา้ วัตถุดบิ แหง้ มาก กส็ ามารถเพมิ่ ปริมาณขนึ้ ได้) 6) หวั เช้ือจุลนิ ทรยี ์เข้มขน้ 1 ลติ ร วธิ ีทา 1) นามูลสัตว์ แกลบ ข้เี ถ้าแกลบ และราออ่ นมาผสมคลมุ เคล้าใหเ้ ขา้ เปน็ เนอ้ื เดยี วกัน 2) ผสมน้า กับหัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และทาการผสมให้ เข้ากันจนมีความช้ืนประมาณ 35% (โดยทดลองกาดู) จะสามารถเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเม่ือปล่อยทงิ้ ลงพ้นื จากความสงู ประมาณ 1 เมตร กอ้ นปุย๋ จะแตก แต่ยังมีรอยนิ้วมอื เหลอื อยู่ 3) คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั ดี ตักปุ๋ยใสก่ ระสอบ และมัดปากถงุ ใหแ้ น่น 4) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนทับกันเป็นช้ันๆ และควรวางกระสอบแต่ละต้ังให้ห่างกัน เพ่อื ให้ความรอ้ นสามารถระบายออกได้ท้งั 4 ดา้ น (เพอ่ื ไม่ตอ้ งกลับกระสอบ ทุกวนั ) 5) ท้ิงไว้ประมาณ 5 - 7 วัน ตรวจดูถ้ามีกล่ินหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถนาไปใช้ งานได้ และสามารถเก็บรกั ษาไวไ้ ด้นาน

วธิ ใี ช้ ควรใช้ต้ังแต่ในขั้นตอนของการเตรียมดิน โดยผสมคลุกเคล้ากับดินในแปลง เสร็จแล้ว คลมุ ดินด้วยฟาง ใบไม้ หรือก่ิงไม้ และควรหมักดินท้ิงไว้ประมาณ 7 วัน จึงจะเริ่มลงมือปลูกพืช (ใน กรณีที่เปน็ นาข้าว พืชไร่ และพืชผกั ) อตั ราการใช้ 1) นาข้าว 200 กิโลกรัม ตอ่ 1ไร่ๆ 2) พชื ไร่ พืชผัก 2 กามอื ต่อ 1 ตารางเมตร 3) ไม้ยนื ต้น พืชสวน 1 กิโลกรมั ตอ่ 1 ตารางเมตร ข้อแนะนา ในการใช้ปุ๋ยหมักแห้งอินทรีย์ชีวภาพให้ได้ผลดีนั้น หลังจากหว่าน หรือคลุกผสมปุ๋ย หมักแห้งกับดินแลว้ ควรคลุมดินดว้ ยฟางเศษหญ้า หรือเศษใบไม้ต่างๆ จากนั้นใช้ปุ๋ยน้าหมักอินทรีย์ ชวี ภาพรดราดลงไป ในอัตราสว่ น 1: 200 จะ ช่วยใหด้ นิ ร่วนซยุ และฟูขึ้นทาให้รากพชื เติบโตไดด้ ี

ศนู ย์การเรียนรเู้ กษตรธรรมชาติวังสมบูรณ์ 109 หมู่ 4 ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จงั หวัดสระแก้ว ปุ๋ยอนิ ทรยี ช์ ีวภาพ จุดประสงค์ของการป้ันเมล็ด เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา สะดวกต่อการเก็บและการใช้ งาน โดยการทาปุ๋ยเม็ดนั้นจะต้องมีอุปกรณ์และเครื่องจักรกลเพ่ิมเติม จึงมาสามารถทาในระดับ ครวั เรอื นได้เพราะลงทุนสูงโดยไมจ่ าเปน็ ส่วนประกอบ 1) ป๋ยุ หมกั แห้งชวี ภาพ (ชนิดผง) 700 กิโลกรมั 2) มูลไก/่ มูลวัว/มูลคา้ งคาว 100 กโิ ลกรัม 3) ดนิ ฟอสเฟต 200 กิโลกรมั 4) ปุ๋ยน้าหมกั ชวี ภาพดนิ ระเบดิ 30 ลิตร 5) ปยุ๋ น้าหมกั ชีวภาพสตู รหญา้ ขา้ ว มลู ไก้ 20 ลิตร 6) น้าสะอาด 50 ลิตร วธิ ที า 1) นาน้าหมกั แหง้ ชีวภาพมูลสัตว์ ดนิ ฟอสเฟตมาบดใหล้ ะเอยี ด 2) ผสมปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพดินระเบิด สูตรหญ้า ข้าว มูลไก่ และน้าสะอาดคนให้เข้า กนั 3) ผสมปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ มูลสัตว์ และดินฟอสเฟตที่บดละเอียดแล้วมาผสม คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั 4) เอาส่วนผสมทั้งอย่างแห้งและอย่างน้า มาผสมกันให้มีความชื้นพอเหมาะสาหรับ การปน้ั เม็ด 5) นาสว่ นผสมท่ีไดเ้ ขา้ เครอ่ื งป้ันเม็ดปุ๋ย อบแห้งด้วยความร้อนประมาณ 40-60 องศา เซลเซยี ส จนมคี วามชืน้ ประมาณร้อยละ 9 - 12 6) บรรจุปุ๋ยเม็ดอินทรีย์ชีวภาพลงกระสอบ เพื่อนาไปเก็บ(ควรเก็บไว้ในที่ร่ม อากาศ แห้ง และถ่ายเทได้สะดวก)

อตั ราการใช้ 1) นาข้าว 50 กิโลกรมั / 1ไร่ 2) พชื ไร่ พชื ผัก 100 - 200 กรมั / 1 ตารางเมตร 3) ไมย้ นื ต้น พชื สวน 100 - 200 กรมั / 1 ตารางเมตร ข้อแนะนา การใชป้ ๋ยุ หมักแหง้ ใหไ้ ดผ้ ลดี หลังจากหว่านหรือคลุกปุ๋ยหมักแห้งกับดินแล้ว ควรคลุม ดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือเศษใบไม้ต่างๆ จากนั้นใช้ปุ๋ยน้าหมักรดราดลงไป ในอัตราส่วน 1 : 200 จะชว่ ย ใหด้ ินรว่ นซยุ และฟูขึน้ ทาให้รากพชื เติบโตได้ดี

ศนู ย์ภูมิรักษธ์ รรมชาติ บา้ นทา่ ด่าน ตาบลหินต้ัง อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก ป๋ยุ เม็ดอินทรยี ์ชวี ภาพ จุดประสงค์ของการปั้นเม็ดก็เพ่ือยืดอายุการเก็บรักษา สะดวกต่อการเก็บและการใช้ งาน โดยการทาปุ๋ยเม็ดน้ันจะต้องมีอุปกรณ์ และเคร่ืองจักรกลเข้ามาเพิ่มเติม จึงไม่สามารถท่ีจะทา ในระดับครวั เรือนไดเ้ พราะลงทนุ สูงโดยไมจ่ าเปน็ สว่ นประกอบ 1) ปุ๋ยหมกั แห้งชวี ภาพ (ชนดิ ผง) 700 กิโลกรมั 2) มูลไก/่ มลู ววั /มูลค้างคาว 100 กิโลกรัม 3) ดนิ ฟอสเฟต 200 กิโลกรัม 4) ปยุ๋ น้าหมกั ชวี ภาพสูตรหอย ก้งุ ปู 30 ลติ ร 5) ปุ๋ยนา้ หมักชีวภาพสตู รหญ้า จ้าว มลู ไก่ 20 ลิตร 6) นา้ สะอาด 50 ลิตร วิธีทา 1) นาปุ๋ยหมกั แห้งชีวภาพ มูลสัตว์ ดินฟอสเฟต มาบดให้ละเอียด 2) ผสมปุ๋ยน้าหมักชีวภาพสูตรหอย กุ้ง ปู ,สูตรหญ้า ข้าว มูลไก่ และน้าสะอาดคนให้ เขา้ กนั 3) นาปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพมูลสัตว์และดินฟอสเฟตท่ีบดละเอียดแล้วมาผสมคลุกเคล้า ใหเ้ ข้ากัน 4) เอาส่วนผสมทั้งอย่างแห้ง และอย่างน้ามาผสมกันให้มีความชื้นพอเหมาะสาหรับ การปั้นเม็ด 5) นาส่วนผสมทไ่ี ดเ้ ข้าเครื่องป้ันเม็ดปุ๋ย และอบแห้งด้วยความร้อนประมาณ 40 - 60 องศาเซลเซียส จนมคี วามชื้นประมาณ 9 - 12% 6) บรรจุปุ๋ยเม็ดอินทรีย์ชีวภาพลงกระสอบ เพ่ือนาไปเก็บ (ควรเก็บไว้ในที่ร่ม อากาศ แห้ง และถ่ายเทสะดวก)

ศูนย์เรียนรูป้ ราชญ์ชาวบา้ นของ นายเพิ่มศักด์ิ มกราภริ มย์ 36/2 ตาบลท่างาม อาเภอเมอื ง จังหวัดปราจีนบรุ ี ปยุ๋ หมกั ปุ๋ยหมัก คือ ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยธรรมชาติชนิดหนึ่งท่ีได้มาจาการนาเอาเศษซากพืช เช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ตันถั่วต่างๆ หญ้าแห้ง ผักตบชวา ของเหลือท้ิงจากโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมาหมักร่วมกับมูลสัตว์หรือสารเร่งจุลินทรีย์ เม่ือหมักโดยใช้ ระยะเวลาหน่ึงแล้วเศษพืชจะเปลี่ยนสภาพจากของเดิมเป็นผงเป่ือยยุ่ยสีน้าตาลปนดานาไปใส่ในไร่ นาหรือพชื สวน เช่น ไม้ผล พชื ผกั หรือไม้ดอกไม้ประดับได้ วิธกี ารทาปุ๋ยหมัก แบบที่ 1 ปุ๋ยหมักค้างปี (ปุ๋ยหมัก) ใช้เศษพืชเพียงอย่างเดียวนามาหมักทิ้งไว้ค้างปีก็ สามารถนามาใช้เป็นปุ๋ยหมักไดแ้ บบนี้ไม่ต้องดูแลรักษา จึงต้องใช้ระยะเวลาหมักนาน เหมาะสาหรับ ผู้ทไ่ี ม่มเี วลา แบบท่ี 2 ปุ๋ยหมักธรรมดาใช้มูลสัตว์ แบบนี้ใช้เศษพืชและมูลสัตว์ในอัตรา 100 : 10 ถ้าเป็นเศษพืชชนิ้ สว่ นเล็กนามาคลุมผสมไดเ้ ลย แตถ่ า้ เป็นเศษพชื ชิน้ สว่ นใหญ่นามากองเป็นช้ันๆ แต่ ละกองจะทาประมาณ 3 ช้ัน แต่ละช้ันประกอบด้วยเศษพชื ทีย่ ่าและรดน้า สูงประมาณ 30 - 40 ซม. แล้วโรยทับด้วยมูลสัตว์ แบบน้ีจะใช้ระยะเวลาหมักน้อยกว่าแบบที่ 1 เช่น ถ้าใช้ฟางข้าวจะใช้ ระยะเวลาประมาณ 6 - 8 เดอื น ขึ้นอยูก่ บั การดูแลรักษา แบบที่ 3 ปุ๋ยหมักธรรมดาใช้จลุ นิ ทรีย์เร่ง แบบนีใ้ ช้ระยะเวลาในการหมักเร็วกวา่ แบบท่ี 1 และ 2 โดยใช้เช้อื จลุ นิ ทรยี ์เร่งการย่อยสลายของเศษพืช ทาให้ได้ปยุ๋ หมกั เรว็ ขึ้น ใช้ระยะเวลาหมัก เพยี ง 30 ถงึ 60 วัน มีสูตรดังนี้ - เศษพชื 1,000 กโิ ลกรัม - มูลสัตว์ 100 - 200 กิโลกรมั - เช้ือจุลินทรีย์ (น้าหมกั ชวี ภาพ) ตามความเหมาะสม วัสดุท่ีใช้ควรเป็นวัสดุที่มีในท้องถิ่นเช่น เศษไม้ใบไม้ ฟางข้าว ไม่ควรยึดติดกับสูตรที่มี ใหน้ าวัสดทุ ีม่ ีมาคลกุ เคลา้ ให้เข้ากนั รดนา้ พรอ้ มกบั จุลนิ ทรยี ์ใหม้ คี วามชน้ื พอเหมาะโดยทดลองกาปยุ๋ หมักแล้วบีบดูหากปุ๋ยยังคงลักษณะเป็นก้อนอยู่แสดงว่าใช้ได้ แต่ถ้ากาแล้วแตกออกไม่จับเป็นก้อน แสดงว่าความชื้นยังไม่พอหรือถ้ามีน้าไหลออกมาตามง่ามามือแสดงว่ามีน้ามากเกินไปจะทาให้ปุ๋ย หมักเนา่ ได้

แบบที่ 4 ปุ๋ยหมักต่อเชื้อ ในการทาปุ๋ยหมักแบบท่ี 3 น้ัน ต้องซื้อสารตัวเร่ง เชื้อจุลินทรีย์ด้วยทุกคร้ังทาให้มีแนวความคิดว่าหากสามารถนาปุ๋ยหมักมาต่อเช้ือได้ก็จะเป็นการ ประหยัดและเกดิ ประโยชน์ต่อเกษตรกร กรมพัฒนาที่ดินได้ทาการทดลองและพบว่าสามารถต่อเช้ือ ได้โดยใช้ ปุย๋ หมกั ท่ีทาในแบบท่ี 3 กล่าวคือ หลังจากไดป้ ๋ยุ หมักท่ีใช้ได้แล้วในแบบท่ี 3 ให้เก็บไว้ 50 - 100 กโิ ลกรัม การเก็บต้องเก็บไว้ในโรงเรือนท่ีไม่ถูกแดดและฝน (เพื่อรักษาคุณภาพของจุลินทรีย์) สามารถนาไปต่อเช้ือทาปุ๋ยหมักได้อีก 1 ตัน การต่อเช้ือนี้สามารถทาการต่อได้เพียง 3 คร้ัง เช้ือก็ จะอ่อนตอ้ งเตรียมหวั เชอ้ื ใหม่ (ซึง่ หวั เชอื้ จลุ นิ ทรยี น์ สี้ ามารถเตรียมเองไดใ้ ห้ดใู นหัวข้อนา้ หมักชีวภาพ การดแู ลรักษากองปยุ๋ หมัก 1) ปอ้ งกันไมใ่ ห้สตั ว์เขา้ ไปทาลาย หรือคุย้ เขย่ี กองป๋ยุ หมกั 2) รดน้ากองปุ๋ยหมักให้มีความชน้ื พอเหมาะอยู่เสมอ 3) กลับกองปุ๋ยสมา่ เสมอ ควรกลบั กองป๋ยุ หมกั อยา่ งน้อยเดอื นละ 1 คร้งั ขอ้ ควรคานงึ ในการทากองปยุ๋ หมกั 1) กองปุ๋ยหมักท่ีเหมาะสมคือ ความกว้างไม่ควรเกิน 2 - 3 เมตร ความยาวไม่จากัด สงู ประมาณ 1 - 1.50 เมตร ความสงู ของกองปุ๋ยหมกั สงู ขนาด 1 ฟตุ ไมต่ ้องกลับกองปยุ๋ หมักก็ได้ 2) ควรใช้ฟางหรือเศษหญ้าคลุมกองปุ๋ยหมักและกองในท่ีร่ม เพ่ือป้องกันการชะล้าง กองปุย๋ โดยฝนและลม รวมไปถงึ การสญู เสียความชนื้ จากการถูกแดดโดยตรง 3) อย่ารดน้าเปยี กจนเกินไป 4) ถา้ เกดิ ความร้อนในกองปุ๋ยหมักมาก ต้องเพ่ิมนา้ ให้กองปยุ๋ 5) การกองปุ๋ยหมักไม่ควรเอาเศษวัสดุท่ีสลายตัวเร็ว และสลายตัวยากกองปนกัน เพราะป๋ยุ หมกั ท่ีได้จะไม่สมา่ เสมอเนอื่ งจากเศษพชื บางสว่ นยังสลายตัวไม่หมด หลักในการพิจารณาปุย๋ หมกั ที่นาไปใช้ได้ ข้อสงั เกตวา่ ปยุ๋ หมกั สามารถนามาใช้ไดห้ รอื ไม่ มดี ังน้ี 1) สีของกองป๋ยุ หมักจะเขม้ ขึน้ อาจมีสีน้าตาลเขม้ ถงึ ดา 2) อณุ หภูมภิ ายในกองปยุ๋ หมกั และอณุ หภมู ิภายนอกใกลเ้ คยี งกันหรือแตกต่างกันน้อย มาก 3) ใช้น้ิวมือบี้ตัวอย่างปุ๋ยหมักดู เศษพืชจะยุ่ยและขาดออกจากกันได้ง่าย ไม่แข็ง กระด้าง 4) ปุ๋ยหมักจะมีกล่ินคล้ายกล่ินดินธรรมชาติ ถ้ามีกล่ินฉุนหรือมีกลิ่นฟางแสดงว่าปุ๋ย หมักยังใชไ้ มไ่ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook