มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย SO 61208 รัฐศาสตรดุษฎีบณั ฑิต เ เอกสารประกอบการสอน สัมมนาแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ (Seminar in Political Science Concept and Theories) พระนิทัศน์ ธีรปญฺโญ.ดร. (วงศ์วังเพมิ่ )
ก คำนำ เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ เหมาะสาหรับบุคคลท่ัวไปที่ต้องการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ ซ่ึง ประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีการเมืองทางรัฐศาสตร์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยเน้ือหาท้ังหมด จานวน 8 บท ได้แก่ ทฤษฎีกรีกโบราณ สมัยกลาง และสมัยใหม่ ทฤษฎีเทวสิทธิ์ ทฤษฎีเผด็จการอานาจนิยม ทฤษฎกี ารเมืองตะวนั ออก และพุทธศาสนากบั แนวคิดทางการเมือง และได้มคี าถามท้ายบทแต่ละบท เพื่อให้ได้ ฝึกประเมนิ ตัวเองหลงั ศกึ ษาจบในแตล่ ะบท นอกจากนี้ เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี ยังเหมาะสาหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะ ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา เพ่ือศึกษาค้นคว้าและใช้ในการอ้างอิง วิชาทางรัฐศาสตร์ที่เก่ียวกับ แนวคดิ และทฤษฎีการเมืองต่างๆ ผู้เขียนหวังว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี คงจะเป็นประโยชน์แก่บุคคลผู้สนใจทั่วไปและ นักศึกษา ที่ต้องการศึกษาศาสตร์ดา้ นน้ี ไมม่ ากก็นอ้ ย และเปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมบา้ นเมืองตอ่ ไป พระนทิ ัศน์ ธรี ปญฺโญ.ดร.(วงศ์วังเพม่ิ ) ผู้เรยี บเรยี ง สิงหาคม 2564
สารบญั ข คานา หน้า สารบัญ ก สารบญั ภาพ ข สารบัญตาราง ค แผนการสอนประจารายวิชา ง บทที่ 1 แนวคดิ เกี่ยวกับทฤษฎที างการเมือง จ 1 บทนา 2 ความหมายทฤษฎี 2 คุณลกั ษณะของทฤษฎี 5 ประการ 4 องค์ประกอบของทฤษฎี 5 ประการ 4 ความหมายของการเมอื ง 6 ความหมาย และลักษณะของทฤษฎีการเมือง 10 สรปุ 16 คาถามทา้ ยบท 17 บทท่ี 2 ทฤษฎีการเมืองสมยั โบราณ 18 บทนา 19 นครรัฐกรกี 22 นครรฐั เอเธนส์ 25 นครรัฐสปาร์ตา 29 สรปุ 32 คาถามทา้ ยบท 33 บทท่ี 3 แนวคิดทฤษฎีการเมืองสมยั โรมนั และสมยั กลาง 34 บทนา 35 นกั ปรชั ญาทางการเมืองสมัยโรมัน 36 นักปรชั ญาทางการเมืองสมัยกลาง 41 สรุป 46 คาถามทา้ ยบท 47
สารบญั (ต่อ) ข บทที่ 4 แนวคดิ คิดทฤษฏีการเมอื งยุคสมัยใหม่ หน้า บทนา 48 โทมัส ฮอบส์ 49 จอนห์ ล็อค 49 สรุป 70 คาถามทา้ ยบท 92 93 บทท่ี 5 ทฤษฎเี ทวสทิ ธ์ิ 94 บทนา 95 ทฤษฎเี ทวสทิ ธิ์ 95 เทวสทิ ธ์ใิ นองั กฤษ 98 เทวสทิ ธใิ์ นฝรง่ั เศส 102 เทวสทิ ธ์ขิ องพระมหากษตั ริย์ (Divine Right of Kings) 105 นกั คดิ ทฤษฎเี กี่ยวกบั เทวสิทธิ 108 สรปุ 109 คาถามทา้ ยบท 110 111 บทที่ 6 ทฤษฎอี านาจนิยม (The Authoritarian Theory) 112 บทนา 117 ระบอบเผด็จการ 118 ความหมายของเผดจ็ การ 119 ลกั ษณะสาคัญของลัทธิเผด็จการ 120 ประเภทของลัทธเิ ผด็จการ 130 เผด็จการอานาจนิยม และเผด็จการเบด็ เสร็จในเชงิ เปรยี บเทยี บ 131 สรปุ 133 คาถามทา้ ยบท
สารบญั (ตอ่ ) ข บทท่ี 7 แนวคิด และทฤษฎีการเมอื งตะวันออก หน้า บทนา แนวคดิ ทฤษฎีการเมืองของจีน 134 แนวคดิ ทฤษฎีการเมืองตามลทั ธิของขงจื้อ 135 แนวคดิ ทฤษฎกี ารเมืองของลัทธิเต๋า (Taoism) 135 แนวคิดทฤษฎีการเมืองของอินเดยี 137 แนวคดิ ทฤษฎกี ารเมืองของ มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi) 149 สรปุ 160 คาถามท้ายบท 162 166 บทที่ 8 พทุ ธศาสนากับแนวคิดทางการเมือง 169 บทนา 170 เป้าหมายการศึกษาของพระสมณโคดม 172 กาเนดิ สังคม รฐั บาล และวรรณะ 173 ข้อปฏิบตั ขิ องพลเมอื ง 178 ประเดน็ อน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการปกครอง 181 คาศัพท์ทางศาสนาพุทธท่ีนามาใช้ทางการเมือง 185 สรุป 186 คาถามทา้ ยบท 192 193 บรรณานุกรม 194
ข
สารบญั ตาราง ง ตารางที่ 6.1 แสดงความแตกตา่ งระหวา่ งเผดจ็ การอานาจนิยม และเผดจ็ การเบ็ดเสร็จ หน้า 131
สารบญั ภาพ ค ภาพที่ 4.1โทมสั ฮอบส์ หน้า ภาพที่ 4.2 จอห์น ล็อค 49 ภาพท่ี 5.1 ภาพชีวิตความเปน็ อยู่ของคนในยคุ ศักดนิ าสวามภิ กั ดิ์ 70 96 ท่ีอยู่ภายใต้การปกครองของขุนนางท้องถนิ่ ภาพที 5.2 ปราสาทขนาดใหญ่เปน็ ปราสาทของขุนนางท่ีมีอานาจปกครองทีด่ ินของตน 96 ภาพที่ 5.3 ฌอน โบแดง (Jean Bodin) 98 ภาพท่ี 5.4 พระเจา้ เฮนรี่ท่ี 7 (Henry VII ) 99 ภาพท่ี 5.5 สมเด็จพระนางเจ้าอลซิ าเบธท่ี 1 99 ภาพที่ 5.6 พระเจ้าเจมสท์ ่ี 1 (James I) 100 ภาพท่ี 5.7 พระเจา้ ชารล์ ส์ที่ 1 (Charles I) 101 ภาพที่ 5.8 การสรู้ บในสงครามร้อยปี 102 ภาพท่ี 5.9 พระเจ้าเฮนรี่ที่ 4 (Henry IV) 103 ภาพที่ 5.10 พระเจา้ หลุยสท์ ่ี 13 (Louis XIII) 103 ภาพท่ี 5.11 La Fronde 104 ภาพท่ี 5.12 พระเจา้ หลยุ สท์ ี่ 14 (Louis XIV) 104 ภาพท่ี 5.13 พระราชวงั แวร์ซายส์ 105 ภาพท่ี 6.1 แสดงอนุสาวรียท์ อ่ี ทุ ิศแด่คารล์ มากซ์ 126 ภาพท่ี 7.1 มหาตมา คานธี (อังกฤษ: Mahatma Gandhi) 162
บทท่ี 1 แนวคดิ เกี่ยวกับทฤษฎที างการเมอื ง วัตถุประสงค์ประจาบท เมื่อศึกษาเน้ือหาในบทนี้แล้ว ผู้ศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมายของทฤษฎไี ด้ และคณุ ลักษณะของทฤษฎี 5 ประการ ได้ 2. อธิบายองคป์ ระกอบของทฤษฎี 5 ประการได้ 3. อธิบายความหมายของการเมอื ง และการกาเนดิ ทฤษฎที างการเมอื งได้ 4. อธิบายคุณคา่ และประโยชน์ของทฤษฎีการเมืองได้ ขอบข่ายเนอื้ หา 1. ความหมายของทฤษฎี 2. คณุ ลกั ษณะของทฤษฎี 5 ประการ 3. องคป์ ระกอบของทฤษฎี 5 ประการ 4. ความหมายของการเมอื ง 5. การกาเนิดทฤษฎีทางการเมือง 6. คุณค่าและประโยชนข์ องทฤษฎีการเมือง สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. การบรรยายในช้ันเรยี นด้วยโปรแกรม PowerPoint Presentation 3. เว็บไซต์ทเ่ี กี่ยวข้อง 4. การสอนออนไลท์ Mircrosoft Teams การวดั และประเมนิ ผล 1. การแสดงความคดิ เหน็ ในช้ันเรยี น 2. การถามตอบในชน้ั เรียน 3. การทาแบบฝึกหัดท้ายบท 4. การตอบคาถามรายบคุ คลในสอื่ ออนไลน์
2 บทนา ทฤษฎีการเมืองเป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าหาทางแก้ไขปัญหาทางการเมืองที่เกิดข้ึน ใน แต่ละยุคแต่ละสมัย โดยการตั้งสมมติฐาน การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การสรุปผล การตีความ การอธิบาย และการเสนอแนะเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางการเมืองที่เกิดขึ้นซ้า ๆ กัน จนกลายเป็น กฎเกณฑ์ หรือทฤษฎที างการเมืองขนึ้ มา ทฤษฎกี ารเมืองในปัจจุบันเปน็ การแสวงหาความรู้ หรือความ จริงค่อนข้างมีความชัดเจน และสามารถอธิบาย หรือทานายปรากฏการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นได้ ใกล้เคยี งความเป็นจริง มีความน่าเชื่อถืออยู่ไม่น้อย อย่างไรก็ตามการวิวัฒนาการของทฤษฎีการเมือง ในยคุ ปัจจุบันย่อมมีความเกี่ยวเน่ืองกับทฤษฎีการเมืองในยุคโบราณเช่นกัน เพราะทฤษฎีการเมืองยุค โบราณเป็นพ้ืนฐานในการศึกษา ค้นคว้า หาคาตอบต่าง ๆ และมีการปรับปรุงแก้ไขในข้อบกพร่อง อย่างต่อเนื่องยาวนาน กอ่ ให้เกิดแนวคดิ ทฤษฎที างการเมืองใหม่ ๆ ขึ้นมา เนื้อหาในบทน้ี เป็นภาพรวมของรายวิชาทฤษฎีการเมือง เป็นการกล่าวถึงประเด็นต่าง ๆ ท่ี ช้ีให้เห็นขอบข่ายของเน้ือหาในรายวิชาน้ี ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะท่ีแตกต่างไปจากรายวิชาปรัชญา การเมือง ประเด็นท่ีตอ้ งคิดพจิ ารณาซ่ึงเก่ียวข้องกับความหมายของคาสาคัญท่ีปรากฏอยู่ในคาอธิบาย รายวิชา และประเด็นซึง่ เป็นโครงสร้างของเอกสารประกอบการสอนฉบบั นี้ ดงั ต่อไปน้ี 1. ทฤษฎี (Theory) ความหมายของทฤษฎี คาว่า “Theory” น้ีเป็นศัพท์วิชาการซ่ึงมีที่มาจากภาษากรีกโบราณ คือ มาจากคาภาษากรีก ว่า “θεωπία” (theoria) ซ่ึงแปลตามตัวว่า การมองดู หรือการเห็น และหมายถึงการครุ่นคิด พจิ ารณาหรอื การคาดการณ์ซ่ึงตรงข้ามกบั การกระทา คาวา่ ทฤษฎนี ้ี มักจะมีความหมายตรงข้ามกับคา วา่ การปฏิบัติ ซึง่ ภาษากรีกใช้ว่า “ππᾶξιρ” (praxis) ในช่วงแรกๆ ท่ีมีการใช้ในภาษากรีก คาว่า “Theory” นั้นหมายถึงการคิดใคร่ครวญพิจารณาดว้ ยความรู้สึกห่วงใย แต่ต่อมา พิธากอรัส เอามาใช้ ในความหมายที่เปล่ียนไป โดยใหห้ มายถึง การคดิ ใครค่ รวญพิจารณาดว้ ยความรสู้ กึ ใส่ใจต่อความรู้ทาง คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพราะว่าพิธากอรัสเห็นว่า การแสวงหาความรู้เช่นน้ันเป็นวิธีการที่จะ ทาให้เราบรรลุถึงการดารงอยู่ในระดับสูงสุด เขาได้เน้นให้เห็นว่าเราควรท่ีจะกากับควบคุมอารมณ์ และความปรารถนาทางกายเอาไว้ เพ่อื ทีจ่ ะทาให้เราสามารถมคี วามรใู้ นทฤษฎรี ะดับสูงได้ ความหมาย ในเชิงวทิ ยาศาสตร์ของคานจ้ี ึงมาจากพิธากอรัส ต้ังแต่นั้นมาทฤษฎีกับการปฏิบัติก็มีความหมายท่ีแยก ออกจากกนั (Wikipedia, Theory, [ออนไลน์], )
3 คาว่า “ทฤษฎี” มีผู้ให้ความหมายไว้มากมาย เช่น โดมิโนสกี้ (Dominowski) ให้ความหมาย ไว้ว่า ทฤษฎี คือ คาอธิบายท่ีเป็นระเบียบ ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของส่ิงต่าง ๆ การอธิบายเกิดจาก การสงั เกตอย่างมีระบบ มีความถกู ตอ้ งตรงกับความเปน็ จริงทีป่ รากฏอยู่ เว็บสเตอร์ (Webster) ไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่าทฤษฎีไวห้ ลายความหมายดว้ ยกัน ขอยกมา ให้เห็นประมาณ ๗ ความหมาย ดงั ต่อไปน้ี 1. ทฤษฎี คอื การจัดข้อเทจ็ จรงิ อย่างมรี ะบบ สอดคล้องกบั ความจรงิ หรอื กฎท่ตี ง้ั ไว้ 2. ทฤษฎี คอื การอธิบายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ตามขอ้ สมมตฐิ านของผูอ้ ธบิ าย 3. ทฤษฎี คือ ข้อสมมติฐาน ท่ียังมิได้มีการพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์ ต้ังข้ึนมาเพ่ือเป็น พืน้ ฐานในการทดลองต่อไป 4.ทฤษฎี คือ คาอธิบายหลักการท่ัวไป หรือหลักการท่ีเป็นนามธรรมเก่ียวกับวิทยาศาสตร์ หรอื ธรรมชาติของมนษุ ย์เปน็ หลักการที่เกิดขนึ้ จากการปฏิบตั ิ 5. ทฤษฎี คือ แผนการ หรือระบบทีไ่ ด้รบั การเสนอแนะเพ่ือเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ 6. ทฤษฎี คือ การจดั เหตุการณ์ ตามความนึกฝัน 7. ทฤษฎี คอื ลัทธิ หรือแบบแผน ทต่ี ั้งข้นึ โดยการเดา คดิ เอาเอง เขา้ ใจเอาเองหรอื ฝันไป อัณณพ ชูบารุง กล่าวว่า ทฤษฏีก็คือคาอธิบายให้เห็นถึงความเก่ียวข้องของส่ิงต่าง ๆ ซึ่ง กอ่ ใหเ้ กิดปรากฏการณ์อยา่ งใดอย่างหนึ่ง ทฤษฎี จึงกล่าวถึงส่ิงต่าง ๆ ท่ีนาเสนอ ความสัมพันธ์ของส่ิง ต่าง ๆ และปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนจากความสัมพันธ์ของส่ิงน้ัน ๆ ปรากฏการณ์ที่ว่าน้ีก็คือตัวปัญหา น่ันเองตัวปัญหาน้ีเกิดขึ้นจากตัวปัญหาอื่น ๆ ปัญหาต่าง ๆ มันเก่ียวข้องเชื่อมโยงกัน อาจจะพูดได้ว่า ทฤษฎกี ็คือ ความเก่ียวข้องเชอ่ื มโยงของปัญหาตา่ ง ๆ ก็ได้ (อณั ณพ ชูบารุง,2527) ทฤษฎี คือ ชุดของแนวความคิด (A set of concepts) เนื่องจากเป็นความคิดรวบยอดของ หลาย ๆ แนวคิด ทฤษฎี คือ ชุดของข้อเสนอ (A set of proposition) เนื่องจากเป็นการผูกนามธรรมจินต ภาพและความคิดต่าง ๆ เข้ากนั ด้วยระบบเหตุผล ทฤษฎี คือ ชุดของการสร้าง (A set of construction) เป็นข้ออธิบายซ่ึงอยู่บนพื้นฐานของ ความรู้ท่ีเราสามารถทดลองให้เห็นจริงได้หรือสามารถอนุมานได้อย่างสมเหตุผล สามารถคาดการณ์ หรือทานายเหตุการณ์ได้ดแี ละยังสมารถพสิ ูจนใ์ หเ้ หน็ จริงไดอ้ ย่างที่สุด สรุปได้วา่ ทฤษฎี คอื ชุดของคาอธิบายความเปน็ เหตุเป็นผลของปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงอย่างเป็น ระบบ ซึ่งปัจจัยตัวดังกล่าวเป็นตัวก่อให้เกิดสถานการณ์หรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ทฤษฎีจึง กล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ที่นาเสนอความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ และปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนจากความสัมพันธ์ ของส่ิงนั้น ๆ ปรากฏการณ์ที่ว่าก็คือปัญหา ปัญหาน้ีเกิดขึ้นจากปัญหาต่าง ๆ และเก่ียวข้องเชื่อมโยง กัน กล่าวได้ว่า ทฤษฎีกค็ ือความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงของปัญหาตา่ ง ๆ นน่ั เอง
4 2.คณุ ลักษณะของทฤษฎี 5 ประการ 1. มีลักษณะเป็นนามธรรม (Abstract) เน่ืองจากทฤษฎีท้ังหลายผ่านการตรวจสอบกับ ขอ้ เทจ็ จรงิ มาแล้วในระดบั หนึ่ง สามารถท่ีจะต้ังเป็นกฎเกณฑ์นามธรรมไดอ้ ย่างมีระบบได้ 2. มีลักษณะเป็นสากล (Generalize) สามารถใช้อธิบาย ตีความกับข้อเท็จจริงอ่ืน ๆ ได้ แม้เวลาผา่ นไปนาน 3. มลี ักษณะทดสอบได้ (Testability) สามารถที่จะทดสอบกับข้อเท็จจริงได้ว่า ทฤษฎีนั้น ยงั ใช้อธบิ ายสงิ่ ท่ีกาหนดเปน็ เปาู หมายไดอ้ ยู่อีกหรอื ไม่ โดยใช้ขอ้ เทจ็ จรงิ มาเปน็ เกณฑ์ในการสรุป 4. มีความเทยี งตรง (Validity) เพราะทฤษฎเี ปน็ กฎเกณฑ์ 5. มีความเชอ่ื ถือได้ (Reliability) ก่อนเปน็ ทฤษฎีมกี ารทดสอบมาก่อนแล้ว 3.องคป์ ระกอบของทฤษฎี 5 ประการ 1. ความเป็นจริงทางสังคม (Social Reality) การเข้าถึงความเป็นจริงทางสังคมเป็นเร่ือง ยากเพราะมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เช่น ประเทศไทยเป็น ประชาธิปไตยจริงหรือไม่ อาจตอบว่า จริง เพราะมีรัฐธรรมนูญ (Constitution) มีรัฐสภา (Parliament) มีการเลือกต้ัง (Election) แต่มองอีกด้านอาจไม่ใช่ เม่ือเป็นเช่นน้ีจึงมีคาถามว่า “แล้ว ทาอย่างไรจึงจะศึกษาและเข้าถึงความเป็นจริงทางสังคมให้ใกล้เคียงมากท่ีสุด” ด้วยเหตุนี้จึงต้องนา ทฤษฎมี าอธิบาย ซ่งึ ประกอบดว้ ย 1.1 ทฤษฎีของกลุ่มปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologist) มองภาพรวม (Totality) จากอดตี ถึงปัจจุบัน 1.2 กลุ่มวิภาษวิธี (Dialectic) มอง ๒ ด้าน ท้ังบวกและลบ เช่น คนร่ารวยอาจจะ ไม่ใช่คนดีเสมอไป 1.3 กลุ่มปฎิฐานนิยม (Positivism) ความเป็นจริงทางสังคม จะต้องได้พบ ได้สัมผัส และสามารถวดั ได้ (Observable and measurable) 2. หน่วยในการวิเคราะห์ (Unit of analysis) เนื่องจากบางคร้ังปรากฏการณ์ที่เห็นอาจ มิใชค่ วามจริง จึงต้องมีการวิเคราะห์ จึงสรุปเป็นกฎเกณฑ์ จึงต้องมีการเลือกหน่วยวิเคราะห์ที่ถูกต้อง มเิ ชน่ นนั้ จะเกิดความลม้ เหลว 2.1 Over induction คือ ความผิดพลาดล้มเหลวจากการใช้หน่วยย่อย อธิบาย ภาพรวมใหญ่ 2.2 Over deduction คือ ความผิดพลาดล้มเหลวจากการใช้หน่วยใหญ่ อธิบาย ภาพเลก็
5 3. ฐานคติ (Assumption) ตอ้ งมีแนวคิดเบ้อื งต้นเปน็ พน้ื ฐาน 4. ระดับการไตร่ตรอง (Level of postulation) การไตร่ตรองเป็นความรู้สึกตึกคิดด้าน นามธรรมจึงต้องมีระดับ ทฤษฎีเช่นกันต้องมีทฤษฎีระดับสูง (Grand theory) ระดับกลาง (Middle theory) ระดบั ลา่ ง (Ground theory) 5. อุดมการณ์ (Ideology) ความคิดเร่ืองหน่ึงเร่ืองใดท่ีจะสะท้อนความต้องการในตัวของ มันเองซ่ึงอาจแตกตา่ งกันตามสภาพสังคม เศรษฐกจิ การเมอื ง หนา้ ทีข่ องทฤษฎี 1. ใชอ้ ธบิ าย (Explanation) 2. ใช้ทานาย (Prediction) ทฤษฎีจะต้องใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถอธิบายได้หลาย รปู แบบจะอธิบายแบบพรรณนา (Description) แบบแยกแยะ (Classification) หรืออธิบายเช่ือมโยง เป็นเหตุเป็นผล (Association) ก็ได้นอกจากนี้ยังสามารถใช้คาดการณ์หรือทานาย (Prediction) เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตไดอ้ กี ด้วย การตั้งทฤษฎี 1. การต้งั โดยสามญั สานกึ มกั ตั้งโดยบคุ คลท่ีมคี วามคุ้นเคยกับชุมชนธุรกิจต่าง ๆ การเมือง หรือ ศาสนา วิธีการก็คือ รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่คิดว่าสาคัญ แล้วก็ต้ังตามข้อมูลท่ีรวบรวมมาได้ เป็นการตั้งขึ้นจากความ ประทบั ใจที่คิดว่าแนวโน้มจะตอ้ งเปน็ อย่างนัน้ หรือเปน็ อย่างนี้ ทฤษฎีท่ีดีนั้นจะต้องพิจารณาถึงความถี่ ของปัจจัยและความถี่ของการปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนหมายความว่า ถ้ามีปัจจัยอย่างน้ันครั้งใด ปรากฏการณ์นั้นก็จะเกิดข้ึนครั้งน้ันด้วย ที่จะไม่เกิดนั้น จะมีน้อยคร้ังท่ีสุดและปัจจัยท่ีทาให้เกิด ปรากฏการณ์เชน่ นนั้ จะตอ้ งมีมาก่อนการเกดิ ปรากฏการณน์ น้ั 2. การตัง้ อย่างมรี ะบบตามหลักวิทยาศาสตร์ 5 ขนั้ ตอน 1. กาหนดปัญหา 2. การต้ังสมมตฐิ าน หรือการให้คาตอบล่วงหน้า 3. การสงั เกต และการรวบรวมขอ้ มูล 4. การจาแนกและการวิเคราะห์ข้อมลู 5. การสรุป และตง้ั เป็นทฤษฎี
6 ประโยชนข์ องทฤษฏี 1. ใชเ้ ป็นหลกั ในการปฏิรูปสังคม มีผู้กล่าวว่าทฤษฏีต่าง ๆ สามารถใช้เป็นแนวทางในการกาหนด นโยบายเพอื่ การพัฒนาในด้านตา่ งได้ 2. ช่วยหนุนให้เกิดการศึกษาค้นคว้าต่อไป เพ่ือจะได้เกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งในเร่ืองหน่ึง เร่อื งใดทท่ี าการศึกษา 3. ใชเ้ ป็นหลักในการปฏิบัติงานในชีวิตประจาวัน ทฤษฎีจะช่วยให้การทางานถูกทิศทางมีความหมาย มากข้ึนทางานอย่างผู้รู้ ผู้มีปัญญา ผู้มีคุณภาพที่แท้จริง การปฏิบัติกับทฤษฏีต้องไปด้วยกัน ขาดสิ่ง หน่ึงส่ิงใดก็จะมีแต่ความแห้งแล้ง 4. ชว่ ยในการทานายเหตกุ ารณ์ในอนาคต ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ในการแกป้ ญั หาอย่างมีประสทิ ธิภาพ ต่อไป แต่ต้องเข้าใจว่าการทานายในทางสังคมศาสตร์ ไม่ได้แม่นยาเหมือนกับการทานายในทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติการทานายในทางสงั คมศาสตร์ จงึ มลี กั ษณะไปในทางความนา่ จะเป็น มากกวา่ ความแน่นอน 5. ชว่ ยอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม โดยเฉพาะเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ข้ึน ทาให้เราได้เข้าใจสาเหตุของการเกิด และสามารถหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ การ อธิบายกค็ ือการช้ีใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ 3.การเมือง (Politics) ความหมายของการเมือง การเมืองมาจากภาษาอังกฤษว่า Politics ซึ่งมีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า polis อันหมายถึง กิจกรรมท่ีกระทาในเมืองใหญ่ ซึ่งในท่ีน้ีมีลักษณะตามแบบนครรัฐ ( Citystate) ของกรีกยุคโบราณ เทา่ นั้น คาวา่ polis ยังหมายถึง“สาหรบั ” หรือ “เก่ยี วกบั ”พลเมอื ง (Heywood A, 2550, p. 5) ความหมายโดยท่ัวไปของการเมอื ง มี 4 ประการดงั ต่อไปนี้ 1. ศิลปะในการปกครอง (Art of Government) ตามนิยามของเดวิด อีสตัน การเมือง หมายถึง การท่ีรัฐใช้อานาจหน้าท่ีในการจัดสรร หรอื แจกแจงคณุ คา่ ตา่ ง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to society) (Joseph K, 2556 p., 8 ) นยิ ามน้หี มายความว่า รฐั ตอ้ งเปน็ ตัวกลางในการปฏบิ ตั ติ อ่ พลเมืองทีต่ นปกครองอย่างมีศิลปะ คือสามารถตอบสนองประโยชน์ หรอื ทรัพยากรทม่ี ีอยู่อยา่ งจากดั ต่อกลมุ่ ตา่ ง ๆ ในสังคมอย่างยุติธรรม ทั่วถึง เพื่อให้สังคมสามารถดารงอย่างสงบสุข อันสอดคล้องกับแนวคิดพหุนิยม (Pluralism) ดังน้ัน การเมอื ง และการปกครองจึงมีความหมายอย่างเดียวกัน หากเราให้คานิยามของการปกครองคือการ
7 บาบัดทุกข์บารุงสุขของรัฐต่อประชาชน ดังนั้นในความหมายน้ี การเมืองจึงมีความหมายเดียวกับการ ปกครอง 2. กิจกรรมท่ีทาในสาธารณะ (Public affairs) นิยามของการเมืองแบบน้ีถือได้ว่านิยามแบบเก่าที่มีการแบ่งแยกขอบเขตของสังคม ออกเปน็ สาธารณะ (Public) และส่วนบุคคล (private) ตามนิยามเช่นนี้ การเมืองจะถูกวางกรอบไว้ท่ี องคก์ รทางการเมืองดังท่ีเข้าใจในปัจจุบันเช่น รัฐบาล รัฐสภา ศาล ระบบราชการ ฯลฯ เป็นหลักส่วน องค์กร และกิจกรรมต่างๆ ของประชาชนเช่นสหภาพ วงการธุรกิจ สถาบันครอบครัวกิจกรรมทาง ศาสนา ฯลฯ จะไมถ่ ูกจดั ว่าเป็นเร่ืองการเมือง ถึงแม้แนวคิดเช่นนี้ยังคงมีอิทธิพลต่อความคิดของคนท่ัวไปอยู่จนถึงปัจจุบัน แต่ก็ได้ เปลี่ยนแปลงไปบ้างดังเช่นต้ังแต่ทศวรรษที่ 70 นักสตรีนิยม (feminist) ได้เห็นว่าเร่ืองส่วนตัว อย่างเช่นเพศเป็นเร่ืองทางการเมือง (Personal is political) นั้นคือ ความเป็นผู้หญิงถูกสร้างผ่าน โครงสร้างทางอานาจโดยผชู้ าย ขบวนการประชาสังคมอย่างเช่นกลุ่มเพื่อสิทธิสตรี และขยายความไป ถึงกลุ่มอ่ืนเช่นพวกรักร่วมเพศจึงได้ช่วยกระตุ้นให้เกิดขบวนการประชาสังคมที่ต่อสู้เพ่ือเรียกร้ องสิทธิ ใหเ้ ทา่ เทียมกับกลุ่มอ่นื ๆ ในสงั คม (Hanisch C., 2562) 3. การประนีประนอมและการหามุมมองร่วมกัน (Compromise and Consensus) ตามแนวคิดของกลุ่มพหุนิยม (Pluralism) การเมือง หมายถึง การเจรจา และพูดคุยกัน เพื่อหาทางประนีประนอม และเพ่ือหาทางแก้ไขปัญหา หรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ใน สงั คม (Shively, W. P., 2548). ดังน้ันการเมืองในนิยามเช่นนี้ย่อมไม่ได้นาไปสู่การแก้ไขปัญหา หรือทาให้สังคมเจริญรุ่งเรือง ในระยะเวลาอันสั้น เพราะการเจรจาของคนหลายกลุ่มเต็มไปด้วยความซับซ้อน และต้องใช้เวลาใน การหาทางออกร่วมกัน นิยามเช่นนี้ จึงกระทาได้ในประเทศ ท่ีเป็นประชาธิปไตยท่ีมีความอดทนต่อ ความหลากหลายทางความคิด ดังในอเมริกา และยุโรปตะวันตก แต่ไม่เป็นที่นิยมหรือประสบ ความสาเร็จในประเทศที่คุ้นเคยกับการปกครองเผด็จการ ซึ่งมุ่งใช้อานาจในการควบคุมเสรีภาพ และ สทิ ธิการแสดงออกของพลเมืองตน 4. อานาจ (power) การเมอื งยงั หมายถึง อานาจ อันหมายถึง สิ่งท่ีทาให้บุคคลหนึ่งสามารถบังคับให้อีกบุคคล หนง่ึ กระทาตาม หรือไม่กระทาตามทต่ี วั เองต้องการได้อนั มผี ลต่อพลเมอื งในด้านตา่ ง ๆ ดงั ไปนี้ 4.1 การตัดสนิ ใจ (Decision making) การเมืองในมิตอิ านาจของรฐั ท่มี ตี ่อการตัดสนิ ใจของประชาชนมีดงั ต่อไปนี้ 4.1.1 กาลังบังคบั (Coercive force) หมายถงึ การที่ผู้มีอานาจคือรฐั สามารถ
8 บงั คบั ให้ผูอ้ ยใู่ ต้อานาจ คอื ประชาชนปฏบิ ัตติ ามนโยบายที่ตนวางไว้โดยใช้ผ่าน ตารวจ และทหาร 4.1.2 ข้อตกลงร่วมกัน (Consensus) เช่นประชาชนยอมรับว่าต้องมอบสิทธิ และเสรีภาพในระดับหนึ่งให้กับรัฐบาลประชาชนต้องตัดสินใจกระทาตามการใดตามนโยบาย หรือ กฎหมายที่รฐั ได้วางไวใ้ หแ้ มย้ ังไม่ถูกการใชอ้ านาจบังคบั 4.1.3 หน้าที่ ความซ่ือสัตย์ พันธะ (Duty loyalty and commitment) การเมืองในมิติน้ียังหมายถึง การท่ีรัฐมีอานาจบังคับให้พลเมืองต้องปฏิบัติตามรัฐผ่านคุณค่าดังกล่าว เช่น พลเมืองมีหน้าที่ต้องจงรักภักดีต่อรัฐ และมีพันธะ คือทาประโยชน์ให้กับรัฐ หรือการเป็นคนชาติ ใดกต็ ้องซื่อสัตยต์ อ่ ชาตินนั้ โดยการไม่บอกข้อมลู สาคญั ของประเทศแก่คนต่างชาติ 4.2 กาหนดวาระทางการเมือง (Agenda setting) สาหรับการเมอื งในแง่มุมน้ี รฐั มอี านาจสามารถกาหนดว่าเรอ่ื งใดควรเป็น หรือไม่เป็น วาระทางการเมืองที่จะแจ้งให้ประชาชนทราบเพื่อมีส่วนในการแสดงความคิดเห็นเพื่อถกเถียงกันส่ิง หน่ึงที่ชว่ ยให้รฐั มีอานาจคอื การควบคมุ ส่ือมวลชนในการนาเสนอวาระทางการเมืองนนั้ อานาจของรัฐ จะมีมาก หรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับรูปแบบการปกครอง เช่น รัฐประชาธิปไตยมีแนวโน้มท่ีจะนาเสนอทุก ประเด็นให้สาธารณชนได้รับทราบแต่รัฐเผด็จการพยายามปิดบังประเด็นทางการเมืองเสียส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงความล้มเหลวของการบริหารงาน หรือการฉ้อราษฎรบังหลวง และรัฐเผด็จการยัง พยายามเน้นไปท่ีความสาเร็จของรัฐบาลในบางประเด็น หรือการเน้นลัทธิบูชาบุคคล เช่น ยกย่อง บุคคลสาคัญคนใดคนหนึ่งเสียจนเกินความเป็นจริง ดังเช่น สหภาพโซเวียตเน้นการยกย่องสตาลินอ ยา่ งมากมายเพื่อทาใหป้ ระชาชนจงรักภักดตี อ่ พรรคคอมมวิ นิสต์ 4.3 ควบคุมความคดิ (Thought control) การเมืองในแง่มุมนี้คือ การท่ีรัฐมีอานาจคือ สามารถควบคุม และการปลูกฝัง อุดมการณ์ให้กับพลเมืองผ่านการโฆษณาชวนเช่ือ (Propaganda) ของรัฐการควบคุมความคิดเช่นน้ี เป็นส่ิงที่รัฐไม่ว่าประชาธิปไตย หรือเผด็จการล้วนแต่ใช้ในการควบคุมพลเมืองของตนแต่รัฐที่เป็น ประชาธิปไตยนั้นอนุญาตให้มีการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างจากโฆษณาชวนเชื่อได้ในขณะท่ีรัฐ เผด็จการโดยเฉพาะเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จมักไม่เปิดโอกาสให้เท่าใดนักด้วยนิยามอันซับซ้อนของ การเมืองเช่นน้ีย่อมทาให้วิชาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบนั้นมีความซับซ้อน และประเด็น สาหรับการศึกษาอย่างมากมาย นอกเหนือไปจากการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในโลกน้ีซึ่งมักมี ลักษณะท่ีโดดเด่นเฉพาะตัวแมว้ า่ จะไดร้ ับอิทธพิ ลทางการเมืองจากยุคโลกาภวิ ตั น์อย่างมากกต็ าม
9 ความสาคัญของการเมือง การเมืองน้ันมีความสาคัญสาหรับมนุษย์อย่างมาก ดังจะพิจารณาได้จากนิยามของอาริสโต เติลที่ว่า “มนุษย์คือสัตว์สังคม” (Man is by nature a social animal) มนุษย์หลีกเลี่ยงการเมือง ไม่ได้ เพราะการเมอื งน้นั ชว่ ยจัดระเบียบทางอานาจให้กับมนุษยจ์ นสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่าง ปลอดภยั และมีประสิทธภิ าพในการประกอบกจิ การต่าง ๆ ไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การจัดระเบียบเช่นนี้ปรากฏออกมาในรูปแบบของการแบ่งกลุ่ม ชนเผ่า หรือชนชั้นมีการจัดวาง ตาแหน่งในการบริหารกลุ่มอย่างเป็นระบบ เมื่อมนุษย์มีจานวนมากข้ึน กลุ่มหรือเผ่าก็ขยายตัวเป็น เมือง จนเป็นอาณาจักร หรือจักรวรรดิรูปแบบการเมือง และการปกครองก็ซับซ้อนมากกว่าเดิม อัน ส่งผลให้ส่ิงรอบข้างอุดมการณ์ เศรษฐกิจ ศิลปะ วัฒนธรรม วิถีชีวิตของมนุษย์ฯลฯ ก็มีความซับซ้อน ตาม ซ่งึ สงิ่ เหล่านนั้ กจ็ ะมีอิทธพิ ลตอ่ รปู แบบการเมือง และการปกครองเป็นลูกโซ่กันไป ในทางกลับกัน การแบ่งแยกเป็นกลุ่มก็อาจทาให้ชีวิตมนุษย์ไม่มีความปลอดภัยได้อันเกิดจากความขัดแย้ง หรือ สงครามระหว่างชนเผา่ หรือระหว่างอาณาจักรตา่ ง ๆ จนนาไปสู่การล่มสลายขององค์กรทางการเมือง และสังคมของพื้นใดพื้นหน่ึงซึ่งอาจนาไปสู่รูปแบบทางการเมืองใหม่แบบใหม่ ๆ ของพ้ืนท่ีน้ันในกาล ตอ่ มาก็เป็นไดด้ งั เช่นสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ท่ีนาอิตาลี และเยอรมันจากเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จไปสู่การ ปกครองแบบประชาธปิ ไตยในเวลาตอ่ มา ดงั น้ัน จะเห็นได้ว่า มนุษย์มีความสัมพันธ์กับการเมืองเพราะการเมืองเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับ ชีวิตมนุษยด์ ว้ ยมนษุ ย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการอาศัยอยู่ร่วมกัน หรือเป็นสังคมขนาดใหญ่ และซับซ้อน ได้การเมืองจะชว่ ยสร้างให้สงั คมมนุษยม์ คี วามมั่นคง และกอ่ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์กบั ประโยชน์ต่าง ๆ การเมอื งมีความหมายอนั หลากหลายไดแ้ ก่ 1) ศลิ ปะในการปกครอง หรือการท่ีรฐั แบ่งปนั คณุ คา่ ใหก้ บั ทุกภาคส่วนของสงั คม 2) กจิ กรรมท่ีทาในสาธารณะ ซ่งึ แบ่งออกเป็นกจิ กรรมสาธารณะ และส่วนตัว 3) การประนีประนอม และการหามมุ มองรว่ มกัน 4) อานาจซึ่งสามารถแบ่งออกเปน็ 4.1) การตัดสนิ ใจซึ่งสามารถแบง่ ออกเปน็ 4.1.1) กาลังบังคับ 4.1.2) ขอ้ ตกลงรว่ มกนั 4.1.3) หนา้ ท่ี ความซอื่ สัตย์ พนั ธะ 4.2) กาหนดวาระทางการเมอื ง 4.3) ควบคุมความคดิ
10 4.ความหมาย และลกั ษณะของทฤษฎกี ารเมือง ทฤษฎีการเมืองมีต้นกาเนิดมาจากการท่ีมนุษย์เป็นสัตว์โลกที่มีความคิด รู้จักแก้ไข เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเพ่ือให้การดารงชีวิตของตนมีความสุขและสะดวกสบาย สถาบันทางสังคม อันได้แก่ ครอบครัว,รฐั ,กฎหมาย,ศาสนา,ฯลฯ กาเนดิ ขน้ึ มาตามธรรมชาติด้วยสัญชาตญาณของมนุษย์ และผ่านการพัฒนาเป็นเวลาหลายสิบศตวรรษ จนเป็นสถาบันที่ยืนยงตราบเท่าทุกวันน้ี ทฤษฎี การเมือง (Political Theory) เปน็ สาขาหน่ึงของรบั ศาสตร์ และถือเป็นสาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาด้วย (Macdonald, 1968. P,2.) ในการศกึ ษาทฤษฎกี ารเมืองน้ันมีศัพท์เฉพาะหลายคาท่ีเกี่ยวข้อง และควรทราบความหมาย เช่น ความคิดทางการเมือง ปรัชญาทางการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง ( จรูญ สุภาพ, 2524 หน้า 11 สงั กัปทางการเมือง และสทิ ธทิ างการเมือง ความหมายของคาวา่ “ทฤษฎีการเมือง” ยอร์ช แคทเท็บ (George Kateb) คือ ข้อเขียนซ่ึงเสนอทรรศนะหรือแนวความคิดที่คิดว่าดี และถูกต้องเกี่ยวกับการจัดโครงสร้างทางการเมือง ทฤษฎีการเมืองเสนอบรรยากาศการเมืองใน ความคิดฝันท่ีมีลักษณะเป็นคุณธรรมในเนื้อหา,ครอบคลุมครบถ้วนในกระบวนความ,มีความเป็น ปรัชญาในหลกั การ และน่าจะเปน็ ได้ในความเป็นจริง อย่างไรก็ตามทฤษฎีการเมืองอาจแสดงลักษณะ ทางจิตวิทยาหรือสังคมวทิ ยาก็ได้ ( Kateb, 1968. p.1.) รอเบอรี่ อี.เมอร์ฟ่ี (Robery E. Murphy) เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับการวิเคราะห์ความคิดหรือ ปรัชญาเก่ียวกับการเมืองการปกครอง นักทฤษฎีการเมืองมุ่งมั่นที่จะทาความเข้าใจและตีค่าข้อมูล ความจริงท่ัวไปท่ีมีความสัมพันธ์กับการกาหนดสมมุติฐาน (Hypothesis) เกี่ยวกับพฤติกรรมทาง การเมืองและคณุ ค่าทางสงั คม ( Murphy, 1970 P,37) เอ็ดเวอร์ด ซี.สมิธ (Edward C.Smith) และอาร์โนลด์ เจ. เซอร์เชอร์ (Arnold J. Zurcher) คือ ส่วนท้ังหมดของคาสอน (Doctrine) ที่เกี่ยวข้องกับกาเนิด, รูปแบบ, พฤติกรรมและจุดมุ่งหมาย ของรัฐ ซึง่ คาสอนแบง่ ออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ คือ จริยธรรม, จินตนาการ, สังคมวิทยา, กฎหมายและ วทิ ยาศาสตร์ ( Smith. 1968 P,288) 1. ลักษณะแบบจรยิ ธรรม (Ethical) ไดแ้ ก่ สว่ นของทฤษฎีการเมืองท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิง ใดควรหรอื ไม่ควรทา ถูกต้องหรือไมถ่ ูกตอ้ งในกิจกรรมทางการเมอื ง 2. ลักษณะแบบจินตนาการ (Speculative) ได้แก่ ส่วนท่ีเป็นความคิดฝันหรือมโน ภาพที่ยังไม่ปรากฏเป็นจริงขึ้นมา เช่น การใฝุฝันถึงรัฐในอุดมคติหรือการวาดภาพเลิศนครใน จินตนาการ
11 3. ลักษณะเชิงสังคมวิทยา (Sociological) ได้แก่ ส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ หรือทดลองเปรียบเทียบเพื่อแสวงหาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับส่วนอื่น ๆ ของสังคมหรือการ วเิ คราะหร์ ฐั ในรปู ของการรวมตวั ทางสังคม 4. ลักษณะแบบกฎหมาย (Legal) ได้แก่ ส่วนที่เกี่ยวกับธรรมชาติของกฎหมาย, สัง กปั ของกฎหมาย และสถานะทางกฎหมาย ซงึ่ เกิดขึ้นมาจากสถาบันต่าง ๆ และเป็นเสมือนเคร่ืองมือที่ จะกระจายและควบคุมการใช้อานาจทางการเมือง 5. ลักษณะแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific) ได้แก่ ทฤษฎีท่ีเกิดจากการสังเกตการณ์, การทดลอง, เปรียบเทียบพฤติกรรมการเมืองเพ่ือจะคันหาแนวโน้มและความน่าจะเป็นไป การศึกษา สาเหตุและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ฯลฯ เป็นต้น จรูญ สุภาพ (2528, หน้า, 1) ได้ให้ทัศนะว่า ทฤษฎีการเมืองมีลักษณะชัดเจนและแน่นอน กวา่ ปรัชญาการเมือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนท่ีเกี่ยวกับสาระ คาอธิบายและความหมาย โดยท่ัวไป ทฤษฎีการเมืองจะเป็นผลเน่ืองมาจากการศึกษาค้นคว้าและพิสูจน์ได้ว่าเป็นความจริงท่ีอาจรับกันได้ แตอ่ าจไมเ่ ป็นความจริงแท้สมบรู ณ์เหมือนวทิ ยาศาสตร์ ทฤษฎกี ารเมืองจะมลี ักษณะที่สาคัญอย่างน้อย ๓ ประการ คอื ขอ้ เท็จจริงหรือขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทไ่ี ด้มาจากการศกึ ษารวบรวมความเป็นจริง หลักท่ัวไปซึ่ง ได้มาจากการวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบข้อมูลเหล่าน้ันจากสภาพท่ีเป็นจริงในสังคม คุณค่าซ่ึง หมายถงึ ประโยชน์ทีจ่ ะพึงบังเกิดข้ึนได้ และน่าท่จี ะเปน็ เหตผุ ลเพียงพอท่จี ะใช้เป็นแนวทางปฏบิ ัติ สมบัติ จันทรวงศ์ (2527, หน้า, 26) ไดใ้ หค้ วามหมายไว้ว่า ทฤษฎีการเมือง หมายถึง กฎแห่ง พฤติกรรมทางการเมืองซึ่งเป็นสากล ท่ีนักรัฐศาสตร์สามารถจะนามาใช้ประโยชน์ในการทานาย เหตุการณ์ในอนาคตได้ จะเห็นได้ว่า “ทฤษฎีการเมือง” ตามความหมายนี้ เป็นผลสืบเน่ืองโดยตรงมา จากการท่ีนักสังคมศาสตร์ พยายามทาให้ความรู้ทางสังคมศาสตร์ เป็นความรู้ที่อาจมีการพิสูจน์ หรือ ทดลองอย่างใดอย่างหน่ึงได้ เช่นเดียวกับกฎทางวิทยาศาสตร์ ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วน่ันเอง ในทาง ปฏิบัติ ทฤษฎีการเมืองตามนัยนี้ ให้ความสาคัญอย่างย่ิงยวดแก่วิธีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล และ หลกี เล่ียงทีจ่ ะเขา้ ไปยงุ่ เกี่ยวในการประเมินคา่ นยิ ม (value judgement) ทฤษฎีการเมืองซึ่งพยายาม อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ตั้งแต่สองอย่างขึ้นไป โดยนาข้อเสนอต่างๆมาวางเป็น กฎเกณฑ์ จึงสามารถมีได้หลายระดับ ตามความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลที่ได้มาจากการสังเกตและ พสิ ูจน์ และอาจมีขอบเขตกว้างขวางครอบคลมุ ทง้ั ระบบ เชน่ ทฤษฎวี ่าด้วยระบบการเมือง หรือเฉพาะ บางส่วนของกิจกรรมทางการเมอื ง เช่น ทฤษฎพี รรคการเมอื ง ทฤษฎีภาวะผู้นา เป็นตน้ ตามความหมายดังกล่าวข้างต้น ทฤษฎีการเมือง หมายถึง หลักเกณฑ์หรือกฎเกณฑ์ทาง การเมือง ท่ีเกิดจากการศึกษา ค้นคว้า และพิสูจน์ว่าเป็นความจริงและมีคุณค่าเพียงพอท่ีจะใช้เป็น แนวทางในการนาไปปฏิบัติหรือใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง และเพ่ือให้สอดคล้องกับ คาอธิบายรายวิชาในหลักสูตร เอกสารประกอบการสอนเลม่ นจ้ี ะเน้น ส่วนที่เป็นญาณวิทยา และ/หรือ
12 วิธีวิทยา และส่วนท่ีเป็นอุดมการณ์ทางการเมือง ท่ีเราสามารถนามาศึกษาในฐานะท่ีเป็นสานักศึกษา หรือสานักคิดได้ โดยมีส่วนที่เป็นข้อสมมุติพ้ืนฐานทางปรัชญา และส่วนท่ีเป็นหลักการทางการเมือง แทรกเสรมิ อยใู่ นสานักคิดต่าง ๆ เหลา่ น้ัน ลักษณะของทฤษฎกี ารเมือง (Characteristic of Political Theory) เน่ืองจากเป็นสาขาหน่ึงของรัฐศาสตร์และเป็นสาขาหน่ึงของวิชาปรัชญา จึงมีศัพท์ท่ีควรทา ความเข้าใจหลายคา ได้แก่ ความคิดทางการเมือง, ปรัชญาการเมือง, อุดมการณ์ทางการเมือง, สังกัป ทางการเมือง และสิทธิการเมือง 1. ความคิดทางการเมือง (Political Thought) หมายถึง ความคิดท่ีเกี่ยวกับเร่ือง การเมืองอยา่ งกว้าง ๆ ความคิดทางการเมืองท่ีใช้ตามนัยแห่งภาษาอังกฤษน้ีเป็นเสมือนยาหม้อใหญ่ที่ รวมหลาย ๆ อย่างเข้าด้วยกัน ความคิดทางการเมืองมีแนวโน้มหนักไปในทางด้านพรรณนา (Descriptive) และมักเนน้ หนกั ความคิดเชิงประวัตศิ าสตรค์ ือ เรียงลาดบั ว่าใครคดิ อย่างใดเมื่อใด ปกติ ไม่คอ่ ยมกี ารแยกเปน็ หัวขอ้ วิเคราะห์ 2. ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy) เป็นการศึกษาการเมืองในระดับลึกซึ้ง และเก่ียวโยงกับสาขาวิชาอ่ืนด้วย เพื่อให้รู้แจ้ง ปรัชญาการเมืองมักเน้นหลักจริยธรรมซ่ึงเป็นเสมือน หลักการหรือเหตุผลที่ถูกต้องและมีคุณธรรม ถือเป็นรากฐานของระบบการเมืองแต่ละแบบ ปรัชญา การเมอื ง “อาจมีลกั ษณะทไ่ี มเ่ ปน็ วิทยาศาสตร์ คือ เป็นข้อคิดที่อาจพิสูจน์ไม่ได้และมุ่งค้นหาสิ่งต่าง ๆ หรือหาความสัมพันธร์ ะหว่างสิง่ ต่าง ๆ ในสว่ นทว่ี ิทยาศาสตร์เข้าไปไมถ่ ึง 3. อุดมการณ์ทางการเมือง (Political Ideology) มักใช้ในรูปของความเชื่อและ ความคิดในระดับในระดับไม่ลึกซึ้งนัก เน้นความเช่ือศรัทธามากกว่าหลักเหตุผล แต่อุดมการณ์ทาง การเมืองมีผลในการยึดถือและมักเป็นพลังผลักดันให้เกิดการกระทา หรือความเคล่ือนไหวทาง การเมืองอุดมการณ์ไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งท่ีถูกต้องหรือยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรม แต่เป็นความคิด หรือความเชื่อทีป่ ลูกผงั เพื่อให้เกิดผลทางการเมือง 4. สังกัปทางการเมือง (Political Concepts) หมายถึง ความคิดหรือทรรศนะเก่ียวกับ ศัพท์เชิงนามธรรมทางการเมือง เช่น ความยุติธรรม จุดมุ่งหมายแห่งรัฐ ผู้ปกครองที่ดี สิทธิ เสรีภาพ ความมั่นคงแห่งรัฐ เป็นต้น ศัพท์เหล่าน้ีมีความหมายไปหลายทางตามความเข้าใจหรือการพิจารณา ของแต่ละคนทฤษฎีการเมืองเป็นการพยายามหาความเกี่ยวโยงระหว่างสังกัปต่าง ๆ ดังกล่าว โดยให้ ต้องดว้ ยเหตผุ ลและความเหมาะสม 5. สทิ ธกิ ารเมอื ง (Politicalism) ได้แก่ หลักการทางการเมืองซ่ึงมีลักษณะสมผสานจาก ความคิดหรอื ทฤษฎขี องเมธีหลายทา่ นประกอบกันเป็นแนวความคิดเก่ียวกับระบบการเมืองช้ีแนะการ จัดวางอานาจ, โครงสร้างทางการเมือง, ความเกี่ยวพันระหว่างองค์การท่ีใช้อานาจกับบุคคล, และ
13 ประโยชน์คุณค่าที่จะบังเกิดข้ึนในการปฏิบัติตามลัทธิ อย่างไรก็ตาม “ลัทธิการเมืองหน่ึง ๆ อาจนาเอาความคิดจากปรัชญาการเมืองหลายความคิดมาผสมผสานกันก็ได้ หรือปรัชญาการเมือง หน่งึ ๆ อาจก่อให้เกดิ ลทั ธกิ ารเมอื งมากกวา่ หนง่ึ ลทั ธิได้” ความแตกต่างระหวา่ งทฤษฎีการเมืองกับปรัชญาการเมือง ในประเด็นนี้ไม่ค่อยจะเด่นชัดนัก เพราะทฤษฎีกับปรัชญามีลักษณะใกล้เคียงกันมากข้อ แตกต่างอยู่ตรงท่ีปรัชญามีขอบเขตกว้างขวางกว่าทฤษฎี “ปรัชญาทางการเมืองมักจะมุ่งอธิบาย ปรากฏการณ์ท้ังหลายทั้งปวงทางการเมือง ซึ่งต่างกับทฤษฎีการเมืองซึ่งมุ่งอธิบาย ปรากฏการณ์หรือ หลักการบางประการ และหลักการของปรัชญาเน้นทางจริยธรรม ในขณะที่ทฤษฎีอาจไม่พิจารณา หลักจริยธรรมเลยก็ได้นอกจากนี้ การศึกษาในลักษณะปรัชญาจะลึกซึ้งและเก่ียวโยงกับศาสตร์อ่ืน ๆ ด้วย ผดิ กับทฤษฎีท่ีเปน็ เพยี งการศึกษาสังกปั กลมุ่ หนงึ่ ๆ ว่ามีความเกี่ยวพันเป็นปัจจัยการอย่างไร คือ เน้นเฉพาะเร่ือง ในระดับทฤษฎีรัฐศาสตร์ อาจกล่าวได้ว่าพรรคการเมืองในระบบพหุพรรคหรือระบบ หลายพรรคมีแนวโน้มทจ่ี ะค่อยววิ ัฒนาการกลายมาเป็นระบบสองพรรค ในระดับปรัชญา อาจกล่าวว่า หลังจากพจิ ารณาศาสตรห์ ลาย ๆ สาขาแล้วปรากฏว่า มีแนวโนม้ ทข่ี องทุกอยา่ งจะเขา้ สรู่ ะบบสอง เช่น ในระบบครอบครัว ก็มีสามีกับภรรยา,ในระบบการศึกษา ก็มีครกู บั ศษิ ย์,ในระบบศาสนาหรือจริยธรรม ก็มีความดกี บั ความช่วั ,ในภาวะทางภูมิศาสตรก์ ม็ รี ้อนกบั หนาวหรอื กลางวนั กับกลางคอื เป็นต้น ทฤษฎีการเมืองแตกตา่ งจากอุดมการณ์ทางการเมือง ทฤษฎีมีความลึกซ้ึงกว่าอุดมการณ์ คือ อุดมการณ์เป็นเพียงความเชื่อ,ศรัทธา โดยไม่ใช้หลัก เหตุผลประกอบ อุดมการณ์อาจเรียกได้ว่า “ทฤษฎีแบบชาวบ้าน” คือ ไม่ลึกซ้ึงนัก เช่น การรู้จัก ประชาธิปไตยในระดบั อดุ มการณห์ มายถึง การเข้าใจแบบท่องจาว่าประชาธิปไตยหมายถึงรัฐบาลเป็น ของประชาชน โดยประชาชน เพ่ือประชาชน ทฤษฎีการเมืองจะต้องรู้ว่า ประชาธิปไตยนั้น ประกอบด้วยสังกัปต่าง ๆ คือ สิทธิโดยธรรมชาติ,สัญญาประชาคม, การปกครองโดยกฎหมาย, เสรีภาพ เปน็ ตน้ และรู้ว่าสงั กัปเหล่านี้มีความสัมพันธ์ หรือเป็นปัจจยาการ (การที่ส่ิงท้ังหลายอาศัยกัน จงึ เกิดมีขึ้น) ต่อกันอยา่ งไร ทฤษฎกี ารเมืองกบั ลัทธกิ ารเมอื ง ทฤษฎกี ารเมืองกบั ลทั ธิการเมอื ง แตกต่างกัน คือ ลัทธิมักจะเกิดขึ้นจากการผสมผสานทฤษฎี การเมืองหลายทฤษฎีโดยนาบางส่วนมาผสมกลมกลืนกันประยุกต์ให้สอดคล้องกับความต้องการที่จะ ใช้ เชน่ ลทั ธิคอมมิวนิสตค์ อื คารล์ มารก์ ซ์ กบั ว.ี ไอ.เลนนิ มาผสมกันเขา้ เปน็ ตน้
14 จดุ หมายปลาทางของทฤษฎีการเมือง(Ends) หรอื วัตถุประสงค์ของทฤษฎีการเมือง จุดหมายปลาทางของทฤษฎีการเมือง (Ends) หรือวัตถุประสงค์ของทฤษฎีการเมือง (Objectives) ทง้ั หลาย จะคล้าย ๆ กนั คอื การใฝุหา “สัมมาร่วม (Common Good)” ซง่ึ สรา้ งสรรค์ สังคมให้มีความสุข สัมมาร่วมน้ีไม่จาเป็นต้องมาจากการดาเนินชีวิตในทางท่ีดีมีศีลธรรม แต่เป็นผล จากการดาเนินการทางการเมืองที่ถูกต้องมีประสิทธิภาพ สามารถบันดาลความสุขให้เกิดข้ึนแก่สังคม โดยส่วนรวมความแตกต่างของทฤษฎีการเมืองของแต่ละท่าน อยู่ท่ีมรรควิธี (Means) ที่จะนาไปสู่ จุดหมายปลายทางดังกล่าว เช่น เพลโต เช่ือว่าคนเท่านั้นที่จะสามารถนาคนไปสู่ความสุขได้ อริสโต เตล้ิ เชือ่ วา่ กฎหมายเป็นเครือ่ งมือปกครองทสี่ ามารถนาไปสสู่ ัมมาร่วม เป็นต้น คุณค่าและประโยชนข์ องทฤษฎีการเมอื ง แอนดริว แฮคเกอร์ (Andrew Hacker) กลา่ วว่า “บรรดานกั ปรชั ญาการเมืองมีความสนใจใน สงิ่ ทีเ่ ขาเหล่าน้นั ควรจะประพฤติ” ( Hacker, 1963 P,7) ดังนั้น บางคนจึงให้ทรรศนะว่า ทฤษฎีการเมืองเป็นเช่นเดียวกับความเพ้อฝันต่าง ๆ ท่ีไม่ ยอมรบั สภาพความเป็นจริงและไม่สามารถที่จะนามาใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ ในทางกลับกัน บอร์ก (Burke) เชื่อว่าความเส่ือมทรามของรัฐจะบังเกิดข้ึน ถ้าประชาชนพยายามจะฟื้นฟูทฤษฎีต่าง ๆ มา เป็นหลักในการปกครอง ลอเรนซ์ ซี. แวนลาสส์ (Lawrence C.Wanlass) ชีใ้ หเ้ หน็ คุณคา่ ของทฤษฎีทางการเมอื ง ดังนี้ (Wanlass, 1953 P,4-6.) 1. ทฤษฎกี ารเมืองชว่ ยให้คาจากดั ความที่ถูกต้องแกศ่ พั ท์ทางการเมอื ง เช่น คาว่า เสรีภาพ , ประชาธปิ ไตย 2. ทฤษฎีการเมืองมีส่วนช่วยอย่างมากในการทาให้เข้าใจประวัติศาสตร์ เพราะนาผู้ท่ี ศึกษาให้เข้าสู่บรรยากาศความคิดในสมัยก่อน ช่วยให้เข้าใจถึงพลังผลักดันท่ีก่อให้เกิดการเคล่ือนไหว หรือเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง 3. ความร้ใู นความคดิ ทางการเมืองแหง่ อดตี มสี ่วนช่วยให้เขา้ ใจถงึ การเมอื งในสมัยปัจจุบัน เพราะปญั หาทางการเมืองในปัจจบุ ันเกดิ ข้ึนจากสถานการณใ์ นอดีต 4. ทฤษฎีการเมืองสอนให้มีความเข้าใจในนโยบายและการปรับปรุงโครงร่างทางการ ปกครองเพราะประเทศทุกประเทศต้องมีหลักการอันเกิดจากปรัชญาการเมืองใดปรัชญาหน่ึงเป็นส่ิง นารัฐบุรุษและประชาชน ในการวางนโยบายหรือปฏิรูปการปกครอง ความสาเร็จของระบบการเมือง ข้นึ อยกู่ ับการวางโครงร่างการปกครองอยู่บนทฤษฎีการเมืองท่เี หมาะสมกับสภาพการณ์ 5. ทฤษฎีการเมืองเป็นเสมือนตัวแทนแสดงให้เห็นถึงความรุ่งโรจน์แห่งอาณาจักรทาง ปัญญา ในสมัยต่าง ๆ รัฐในอุดมคติหรือเลิศนครแห่งจินตนาการล้วนแต่เป็นส่ิงท่ีสะท้อนให้เห็นถึง
15 ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษยแ์ ละความพยายามทจ่ี ะใชค้ วามรคู้ วามเฉลยี วฉลาดเสนอแนะรูปแบบที่ดี ท่ีสดุ แห่งการปกครอง ยอร์ช แคทเท็บ กลา่ วถงึ ประโยชนข์ องทฤษฎกี ารเมืองในชีวิตประจาวันวา่ ปัจจบุ นั คน โดยทั่วไปมีความต้องการ 3 ประการเกยี่ วกบั การเมอื ง ไดแ้ ก่ (Kateb , 1968 P, 78.) 1. ต้องการคาแนะนา ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องเก่ียวกับโครงสร้าง เช่น ควรวางความสัมพันธ์ ระหวา่ งหนว่ ยงานหรอื ควรกระจายอานาจหนา้ ที่ หรอื กาหนดความรับผิดชอบอย่างไร 2. ตอ้ งการความถูกตอ้ งเพอื่ ตัดสนิ เม่ือเกิดปัญหาหรือความไม่เข้าใจระหว่างบคุ คล 3. ต้องการทกั ษะ (Skill) ในการทานายเหตกุ ารณใ์ นอนาคตได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง ยอร์ช แคทเท็บ มองว่านักรัฐศาสตรเ์ ป็นผู้ทใ่ี ห้ความสนใจกับปจั จุบันและอนาคต คุ้นเคยกับทฤษฎีการเมืองรู้ ซ้ึงถึงบรรยากาศทางการเมอื งในอดตี และเป็นผูท้ ี่มีนสิ ัยโนม้ เอียงในทางชอบตัง้ ขอ้ สังเกตหรือสงสัย ใน การเคลื่อนไหวหรอื เปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ จงึ สามารถท่จี ะตอบสนองความต้องการทางการ เมืองทงั้ 3 ประการได้ดี 4. ทาให้รู้จักคาว่า “การใช้เหตุผล” เพราะเมธีทางการเมืองล้วนใช้เหตุผลตามวิธีคิดของ ตน ๆ ในการกาหนดทฤษฎกี ารเมอื ง 5. ทาให้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี (Human Relation) เพราะว่าทฤษฎีการเมืองจะพูดหรือ กล่าวถึงธรรมชาตแิ ละลกั ษณะของมนษุ ยไ์ ว้อยา่ งหลากหลาย 6. ผทู้ ี่ศึกษาทฤษฎีการเมืองอย่างเข้าใจสามารถนามาปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั ของตนได้ 7. ปัจจุบัน ทฤษฎีการเมืองวิวัฒนาการมาสู่รูปแบบท่ีมีลักษณะการใช้หลักเกณฑ์ การ พิสูจน์ทฤษฎีหรือสมมติฐานท่ีต้ังขึ้น โดยวิธีการแบบวิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการวิจัยจากข้อมูลที่รวบรวม ตามหลักการ ทาให้ผลลัพธ์หรือข้อสรุปมีความแม่นยามากขึ้น แม้จะไม่มีความแน่นอนเหมือนกับ ทฤษฎีทางวิยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) แต่ก็นับว่ามีระดับความถูกต้องสูงกว่าวิธีการ แบบเดิมท่ีใช้เพียงการสังเกตการณ์และเปรียบเทียบ ซ่ึงก็ช่วยให้วิชาการปกครองหรือวิชารัฐศาสตร์มี ลักษณะเป็นปึกแผ่น มีกฎเกณฑ์และแน่นอนมากขึ้น จึงกล่าวได้ว่า คุณค่าของทฤษฎีทางการเมืองอีก ประการหน่ึง คือ “ช่วยให้วิชาการปรกครองหรือวิชารัฐศาสตร์มีลักษณะเป็นปึกแผ่น มีกฎเกณฑ์และ แนน่ อนมากขึน้ ” สมพงศ์ เกษมสิน (2519 หน้า 8) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของทฤษฎีการเมืองไว้ว่า ปัจจุบันน้ี ทฤษฎกี ารเมืองววิ ัฒนาการมาสรู่ ปู แบบท่ีมีลักษณะการใช้หลักเกณฑ์การพิสูจน์ทฤษฎี หรือสมมติฐาน ที่ตั้งขึ้น โดยวิธีการแบบวิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการวิจัยจากข้อมูลท่ีรวบรวมตามหลักการ ทาให้ผลลัพธ์ หรือข้อสรุปมีความแม่นยามากข้ึน แม้จะไม่แน่นอนเหมือนกับทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Nature Science) แต่ก็นับว่ามีความถูกต้องสูงกว่าวิธีการแบบเดิมที่ใช้เพียงวิธีการสังเกตการณ์และ
16 เปรียบเทียบ เพราะฉะนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ทฤษฎีการเมืองมีคุณค่าที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือช่วย ใหว้ ชิ าการปกครองหรือวิชารฐั ศาสตรม์ ีลกั ษณะเป็นปึกแผน่ มีกฎเกณฑ์และแนน่ อนมากขึน้ สรุป ทฤษฎีการเมืองโบราณมีลักษณะเป็นปรัชญาการเมืองมากกว่า เพราะเป็นการเน้นรูปแบบ การเมืองในลักษณะของอุดมคติ อุดมการณ์ แนวคิด การศึกษาวิเคราะห์ โดยยึดหลัก จริยธรรมและ คณุ ธรรมของผปู้ กครองวา่ ที่ดที ี่สุดหรือทีเ่ ลวท่ีสุดเป็นอย่างไร รปู แบบการปกครองที่พึงประสงค์และไม่ พึงประสงค์เป็นอย่างไร โดยเกิดจากการศึกษา ค้นคิดข้ึนมาเองของนักปราชญ์เป็นส่วนมาก โดยไม่ได้ มีการศึกษาทดสอบ วิเคราะห์ในเชิงวิทยาการท่ีเป็นท่ียอมรับได้ในหลักการว่า ถูกต้องเที่ยงตรง เพียงแต่อาศัยความมีชื่อเสียงและน่าเชื่อถือของเจ้าของแนวความคิดเท่าน้ัน ก็นาไปสู่แนวทางการ ปฏบิ ตั ิ ซ่งึ ผลทต่ี ามมาจงึ เกดิ การเมืองการปกครองในหลากหลายรูปแบบ หลายระบบ และหลายลัทธิ ซ่ึงการศึกษาทฤษฎีการเมืองในสมัยโบราณนี้จึงมีลักษณะเหมาะท่ีจะเป็นการศึกษาปรัชญา หรือ ประวตั ศิ าสตรม์ ากกว่ารฐั ศาสตร์ การศกึ ษาทฤษฎกี ารเมอื งสมยั ใหมเ่ ร่ิมจากหลงั สงครามโลกครั้งที่สอง มีความเปน็ ทฤษฎมี ากขึน้ มีความน่าเช่ือถือค่อนข้างมีความเที่ยงตรงตามหลักวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มากข้ึน การแสวงหาข้อเท็จจริงและการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงโดยวิธีทางศาสตร์ การสร้างทฤษฎีทาง การเมอื ง จึงยดึ หลกั ความเป็นจริงที่เป็นผลมาจากการวิจัย จึงมีข้อเท็จจริง หลักการและคุณค่า น่าจะ เป็นเหตุผลเพียงพอที่จะใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ อย่างไรก็ตามแม้ทฤษฎีการเมืองจะใช้วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ในการสร้างทฤษฎี แต่ไม่อาจถือว่าเป็นวิทยาศาสตร์แบบวิทยาศาสตร์ธรรมชาติได้ เพราะข้อเท็จจริงของพฤติกรรมทางการเมืองน้ันเปลี่ยนแปลงได้ ต่างจากข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ซ่ึงมีความเท่ยี งตรง อาจพิสจู นไ์ ด้ตลอดเวลา
17 คาถามทา้ ยบท 1. ทฤษฎีหมายถึงอะไร ? 2. จงบอกคณุ ลักษณะของทฤษฎี และองคป์ ระกอบของทฤษฎี? 3. จงอธิบายความหมายของคาว่า การเมือง (Politics) และการเมืองมีความสาคัญต่อมนุษย์ อย่างไร ? 4. การกาเนิดทฤษฎีทางการเมือง เกิดขึ้นได้อย่างไร และคุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎี การเมอื งมอี ะไรบา้ ง ? 5. บอกคุณคา่ และประโยชนข์ องทฤษฎกี ารเมอื งมาพอสงั เขป และมผี ้กู ลา่ วไวว้ า่ อย่างไรบา้ ง ?
บทท่ี 2 ทฤษฎกี ารเมอื งสมัยโบราณ วัตถปุ ระสงค์ประจาบท เมอื่ ศึกษาเนื้อหาในบทน้แี ล้ว ผู้ศกึ ษาสามารถ 1. อธิบายความเป็นมาของนครรฐั กรกี และแนวคิดทางการเมืองสมยั โบราณได้ 2. อธิบายประวัตกิ ารปกครองนครรัฐกรกี ได้ และอธบิ ายนครรัฐเอเธนสไ์ ด้ 3. อธิบายความเปน็ มาของนครรฐั สปาร์ตาได้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา 1. นครรัฐกรกี และแนวคดิ ทางการเมืองสมยั โบราณ 2. ประวตั กิ ารปกครองนครรัฐกรีก และนครรฐั เอเธนส์ 3. ความเปน็ มาของนครรัฐสปาร์ตา สอ่ื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. การบรรยายในชั้นเรียนด้วยโปรแกรม PowerPoint Presentation 3. เวบ็ ไซตท์ ี่เก่ยี วข้อง 4. การสอนออนไลท์ Mircrosoft Teams การวัดและประเมนิ ผล 1. การแสดงความคิดเหน็ ในชั้นเรียน 2. การถามตอบในชน้ั เรียน 3. การทาแบบฝกึ หัดท้ายบท 4. การตอบคาถามรายบคุ คลในส่ือออนไลน์
19 บทนา การศึกษาความคิดของมนุษย์นั้นจาเป็นที่จะต้องศึกษาสภาพแวดล้อมท้ังทางธรรมชาติ และ สังคมของเจ้าของความคิดประกอบด้วย เพราะมนุษย์ไม่ใช่เป็นผู้ท่ีสามารถมีความคิดดัดแปลง สร้างสรรค์ส่ิงแวดล้อมของตนแต่ฝุายเดียว ความจริงแล้วสิ่งแวดล้อมมีส่วนหล่อหลอมหรือมีอิทธิพล ต่อความคิดของเขาอยู่ไม่น้อยเหมือนกัน จะเห็นได้จากเมธีการเมืองในยุคต้นมักจะมีแนวความคิดอยู่ ในแวดวงของความเป็นนครรัฐเล็ก ๆ เม่ือสร้างภาพพจน์ของสังคมอุดมติก็มักจะสร้างในกรอบรูปของ นครรัฐท่ีไม่กว้างขวางใหญ่โตเหมือนประเทศในยุคปัจจุบัน เหตุเพราะนักคิดในสมัยนั้นต่างก็ได้รับ อิทธิพลของลักษณะนครรัฐท่ตี นอาศยั และคุม้ เคยอยู่ ด้วยความจาเป็นดังกล่าวน้ีในบทน้ีจะได้บรรยาย ถึงสภาพของสังคมและการปกครองของนครรัฐกรีก เพื่อให้เห็นสภาพความเป็นอยู่และทรรศนะคติ ของชนชาวกรีกโดยเฉพาะนครรัฐเอเธนส์ ดินแดนท่ีหล่อหลอมนักทฤษฎีการเมืองคนสาคัญหลายท่าน และจะขยายการศกึ ษาครอบคลุมไปถึงความคิดทางการเมืองของเมธีการเมืองที่มีช่ือเสียงในสมัยก่อน เพลโตด้วย แนวคิดทางการเมืองสมัยโบราณ จากการศึกษาแนวคดิ ทางการเมืองสมยั โบราณ สามารถสรุปได้ 4 แนวทาง ดงั นี้ 1.1. ชาวกรกี ใช้เหตผุ ลแสวงหาสง่ิ สากล ความคิดทางปรัชญาการเมืองแบบตะวันตก เร่ิมขึ้นในกรีกสมัยโบราณ กรีกอธิบาย ปรชั ญาการเมอื งดว้ ยหลักเหตผุ ล มใิ ช่อาศยั ความเชอื่ ในสิ่งทพี่ ้นขอบเขตเหตุผล เชน่ พระเจ้า หรือเทพ เจ้าทั้ง ๆ ท่ีชาวกรีกโดยท่ัวไปก็เป็นพวกนับถือเทพเจ้าหลายองค์อยู่ อย่างที่เรียกเป็นศัพท์วิชาการว่า พหุเทวนิยม (polytheism) แม้ว่าชาวกรีกจะเชื่อว่า เทวดามีอานาจมากกว่ามนุษย์ และชีวิตมนุษย์ ต้องเป็นไปตามทีช่ ะตากาหนด แต่ชาวกรกี กไ็ ม่ย่อมปลอ่ ยให้ชวี ิตดาเนนิ ไปตามยถากรรม พวกเขานิยม การต่อสู้ การคิดตัดสินด้วยเหตุผล ยกย่องความคิดอิสระ ลักษณะเช่นน้ี แสดงให้เห็นอย่างเด่นชัดใน ละครโศกนาฏกรรม (tragedy) กรีกโบราณ ซงึ่ แสดงถงึ การต่อสู้ของบุคคลที่สูงส่งกับชะตาชีวิตของตน และอานาจของเทพเจ้า แสดงให้เห็นว่า แม้ว่าการปกครองของกรีกจะเป็นแบบนครรัฐ (city-state) คือ แต่ละรัฐมีอิสรภาพ มีเขตแดนของตน เล้ียงตนเอง และปูองกันเอง โดยท่ีมีระบอบการปกครอง แตกตา่ งกนั ไป ปราชญ์กรีก จะไม่ถามปัญหาว่ารฐั ใดปกครองดีท่ีสุด แต่จะถามปัญหาว่าการปกครองท่ี ดีเป็นอย่างไร รัฐที่ดีเป็นอย่างไร และในการตอบปัญหาน้ีก็ตอบปัญหาสากลย่อย ๆ ลงไปอีก เช่น พลเมืองคืออะไร พลเมืองกับรัฐมีหน้าท่ีและความสัมพันธ์กันอย่างไร อานาจอธิปไตยมาจากไหน อะไรคอื จดุ มงุ่ หมายของรฐั และการปกครองเพอื่ ให้ประชาชนไปสู่จุดหมายชีวติ ต้องทาอย่างไร
20 1.2 ความคิดทางการเมอื งกรีกในสมัยของโฮเมอร์ ในสมัยโฮเมอร์ ชาวกรีกยังอยู่รวมกันเป็นชุมชนแบบเผ่า และผู้ปกครองมาจากการ เลือกของคนในเผ่า แต่โฮเมอร์ผู้เขียนมหากาพย์อีเลียด (Iliad) และโอดิสเซ (Odyssey) นั้นแสดง ความคดิ ในลักษณะทเี่ ชือ่ เรอื่ งกษตั รยิ ์ ซง่ึ มสี ิทธิปกครองโดยได้รับบัญชาจากเทพเจ้า กล่าวคือ กษัตริย์ ต่างจากมนษุ ยท์ ัว่ ไปตรงทไ่ี ดร้ ับการแตง่ ต้ังใหม้ าเป็นผู้ปกครองชุมชน ความคิดแบบนี้ คือ ราชาธิปไตย (monarchy) และนครรัฐกรีกซ่ึงตั้งขึ้นในระยะต่อมา ก็มีการปกครองแบบน้ี ก่อนที่จะถึงยุค ประชาธิปไตย ซงึ่ จะเฟือ่ งฟใู นนครรฐั เอเธนส์ สมัยของรัฐบรุ ษุ เพริเคลสิ (Pericles) 1.3. ความคิดทางการเมืองกรกี ในสมยั ของโซลอน ยุคใหม่ของกรีกเริ่มในสมัยของโซลอน ซ่ึงถือว่าเป็นผู้วางรากฐานประชาธิปไตยของ กรีก ในระยะนี้ กรีกมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมมาก คือ ชนช้ันเศรษฐีมีฐานะร่ารวยมาก และ ชาวนายากจนลงทุกที เกิดการกดขี่ขูดรีดค่าจ้างแรงงานอย่างหนัก ชนช้ันท่ียากจนได้เลือกโซลอน ซึ่ง มาจากชนช้ันพ่อค้าท่ีมั่งค่ังข้ึนเป็นผู้นา เพราะเห็นความสามารถเมื่อครั้งท่ีปลุกใจชาวเอเธนส์ยึดเกาะ ซาลามิส (Salamis) คืนจากเมการา (Megara) ได้ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอาร์ดอน มีอานาจตรา กฎหมาย โซลอนมองเห็นว่า หากไม่แก้ปัญหาฐานะของคนยากจนแล้ว ก็จะเกิดปัญหาแตกแยกย่ิงขึ้น ภายในนครรัฐ จึงเริ่มการปรับปรุงคร้ังใหญ่ในด้านสังคม และการเมือง ซ่ึงทาให้ชนช้ันที่ยากจนมีสิทธิ ต่าง ๆ มากข้ึน และวางรากฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งศาลยุติธรรม เรียกว่า เฮเลีย (Heliaea) และสภาส่ีร้อย (Council of Four Hundred) ข้ึน การปฏิรูปของโซลอนนี้ นับว่าเป็นการเน้นถึง แนวคิดในเร่ือง ความเสมอภาค (Equality) เป็นการจากัดอานาจทางการเมืองของคนรวย ซึ่งเท่ากับ ถือว่าความม่ังค่ังมิใช่ที่มาของอานาจทางการเมือง และรัฐมีหน้าท่ีจัดการในเรื่องทรัพย์สิน มิให้เกิด ความเหลอื่ มล้ากนั ในด้านฐานะจนเกินไป ความเสมอภาคทงั้ ทางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ จึงเป็น แนวความคิดสาคัญที่อยู่เบ้ืองหลังการปฏิรูปคร้ังนี้ นอกจากน้ันยังแสดงให้เห็นแนวคิดทางรัฐจริย ศาสตรท์ ่ีว่า รัฐมีหน้าทีค่ มุ้ ครองคนยากจน และอ่อนแอใหพ้ ้นจากการกดข่ีของคนท่ีร่ารวยและแข็งแรง กวา่ การปฏิรูปนมี้ ิได้ทาไปตามอาเภอใจ แต่ทาโดยการออกกฎหมายในระยะเดียวกันน้ี แนวความคิด อีกดา้ นหน่งึ ซึง่ มใิ ชก่ ารปฏริ ูปทางดา้ นตวั ระบบการเมืองและสงั คม แตเ่ ป็นการปลูกฝังหลักศีลธรรมลง ในจิตใจคน ก็คือ คาสอนแห่งเดลฟี่ (Delphi) กล่าวคือ ในราว 600 ปีก่อนคริสตกาล เดลฟ่ีได้ กลายเป็นรัฐศักด์ิสิทธ์ิหรือรัฐศาสนา และพวกนักบวชได้สอนศีลธรรม ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นแนวทาง ในจริยศาสตร์และกฎหมายกรกี คาสอนดงั กล่าวไดแ้ ก่ หลกั การรู้จักประมาณ รู้จักความดี และการถือ ว่าทุกสิ่งมีขอบเขตจากัด ซ่ึงต่อมาความคิดน้ี ปรากฏในคาสอนของพวกไพธากอรัส เร่ือง ความจากัด
21 (Limit) และปรากฏในคาสอน เรื่อง ทางสายกลาง (Mean) ของอริสโตเติล นักปราชญ์คนสาคัญของ กรีกโบราณ 1.4 ความคิดทางการเมอื งกรกี ในสมัยไพธากอรสั คาสอนแบบเดลฟี่น้ันมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตชาวกรีก โดยเฉพาะเช้ือสายดอเรียน (Dorian) นครรัฐที่สาคัญที่สุดของกรีกเผ่าน้ี ได้แก่ นครรัฐสปาร์ตา (sparta) นครรัฐน้ีรับอิทธิพลคา สอนแบบเดลฟี่มาใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างมาก เช่น การไม่ให้ความสาคัญแก่ความม่ังค่ัง การเน้น กฎเกณฑ์และระเบียบวินัย ซึ่งเป็นเครื่องจากัดเสรีภาพของมนุษย์ แต่ในดินแดนกรีกบนผืน แผ่นดินใหญ่ และบนฝ่ังไอโอเนียมีลักษณะเป็นสังคมเมืองมาต้ังแต่แรก เหตุผลและความพอใจต่อ ความสุขทางวัตถุมีมาโดยตลอด มิได้เป็นสังคมแบบเผ่า มีความเจริญ มีเสรีภาพทั้งทางปัญญา และ วัตถุ ท่ีรัฐแถบไอโอเนียน้ัน คนมีความเจริญทางปัญญาถึงข้ันท่ีสนใจถามปัญหาซ่ึงไม่เกี่ยวข้องกับวิถี ชวี ติ มนุษย์โดยตรง เช่น เรอ่ื งธรรมชาติของจักรวาล ต้นกาเนิดของจักรวาล ความแปรเปล่ียน เป็นต้น สว่ นในด้านการดาเนินชีวิตของมนุษย์ก็มีปรัชญาของไพธากอรัส ซึ่งเป็นชางไอโอเนียจากเกาะซามอส เป็นหลักก่อนทจี่ ะถึงคาสอนของโสเกรตีส (Socratis) ชาวเอเธนส์ เรามกั รู้จกั ไพธากอรัส ในฐานะเป็นนักคณิตศาสตร์ แต่ท่ีจริงแล้วไพธากอรัส และพวก ถือว่าความรู้ทางคณิตศาสตร์ คือ ความรู้เก่ียวกับความศักด์ิสิทธ์ิของจักรวาล และได้ใช้ความรู้น้ี อธิบายทงั้ เรอื่ งธรรมชาติ จริยธรรมและการเมือง เช่น ความยุติธรรม คือ จานวนท่ีคูณตัวมันเอง หรือ กาลังสอง เพราะกาลังสองเป็นเลขจานวนท่ีสมดุลท่ีสุด เน่ืองจากประกอบข้ึนเป็นส่วนประกอบท่ีเท่า ๆ กันทุกส่วน ดังน้ัน เมื่อความยุติธรรมเป็นจานวนยกกาลังสองเพราะเหตุว่าทุกส่วนเท่ากัน รัฐที่ ยุติธรรมจึงต้องเป็นรัฐที่ทุกส่วนเท่ากันหรือเสมอภาคกัน น่ันคือ แนวคิดเรื่องความยุติธรรมอธิบายได้ ด้วยแนวคดิ เรือ่ งความเสมอภาค เช่น การแบ่งผลประโยชน์จากฝุายท่ีได้มากไปเพ่ิมให้แก่ฝุายท่ีได้น้อย เป็นตน้ นอกจากความเท่าเทียมกนั แลว้ เราจะเหน็ ว่า ความยุตธิ รรมในแงน่ ้เี กิดจากการปรับ ซึ่งเพลโต ไดน้ าความคิดน้ีไปใช้ แต่ไม่ใช่ในลักษณะท่ีปรับให้สมาชิกของรัฐทุกคนเท่าเทียมกัน แต่ปรับให้สมาชิก ทุกคนไดส้ ง่ิ ทเี่ หมาะสมแกธ่ รรมชาตขิ องตน และในเร่ืองธรรมชาติของคน เพลโตกย็ ังปรับเร่ืองการแบ่ง คนเป็น ๓ พวก คือ พวกรักปัญญา พวกรักเกียรติ และพวกรักผลประโยชน์ มาจากคาสอนของพวก ไพธากอรสั ด้วย
22 1. นครรฐั กรกี กรกี โบราณมีรปู แบบการเมืองการปกครองเป็นนครรัฐ ไม่ได้รวมเป็นอาณาจักรที่เป็นอันหน่ึง อันเดยี วกันอยา่ งเชน่ อยี ิปต์ นครรัฐกรีกเป็นหน่วยทางการเมืองท่ีมีอธิปไตยอย่างสมบูรณ์ แต่ละหน่วย คือ รัฐอิสระที่ดาเนินนโยบายและตัดสินเรื่องต่างๆ ด้วยตัวเอง กรีกเรียกหน่วยเหล่าน้ีว่า โปลิส กรีก ประกอบดว้ ยโปลสิ จานวนมากมาย แต่โปลิสท่สี าคัญ และมีบทบาทมากในอารยธรรมยุคโบราณ ได้แก่ เอเธนส์ และสปารต์ า ประวัตกิ ารปกครองนครรัฐกรีก พอสงั เขปมีดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 กรีกสมัยที่เรียกกันว่าเฮเลนนิค (Helenic) ในศตวรรษที่ 8 และท่ี 9 ก่อนคริสตกาล ประกอบด้วย นครรัฐต่าง ๆ ตัง้ แยกย้ายกระจัดกระจายตามหุบเขากรีก และดินแดนแถบชายฝั่งทะเล เมเอร์เรเนียนตลอดจนบนเกาะใหญ่น้อยทั้งหลาย บรรดานครรัฐเหล่าน้ีมีนบธรรมเนียม ระบบสังคม และลัทธศิ าสนาคล้ายคลึงกัน ทางด้านการเมืองต่างก็เป็นอิสระและมีอธิปไตยเป็นของตนเอง ร่วมกัน อย่แู บบพันธมติ ร แม้วา่ นครรัฐใหญ่ ๆ บางนครรัฐพยายามที่จะครอบงาหรือเป็นรัฐนาของบรรดานคร รัฐเล็ก ๆ อืน่ ๆ 1.2 ระบบการปกครองในสมัยแรก ๆ ของบรรดานครรฐั กรีกเหล่านี้ เป็นระบบกษัติยาธิปไตย หรือราชาธิปไตย (Monarchy) ต่อมาในศตวรรษท่ี 7 ก่อนคริสตกาลรูปการปกครองเปลี่ยนเป็น คณาธิปไตย(Oligarchy) ซึ่งคณะผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบด้วยหัวหน้าเผ่าใหญ่ ๆ ในนครรัฐ ระบอบคณาธิปไตยเสื่อมคลายลงในระยะต่อมา เพราะบรรดาผู้ปกครองเกียจคร้านและแตกแยก กันเอง ในท่ีสุดระบอบทรราชย์ หรือทุชนาธิปไตย (Tyranny) ซึ่งเป็นการปกครองโดยทรราชย์เข้ามา แทนทใ่ี นระหวา่ ง 500-700 ก่อนคริสตกาล ในการข้ึนสู่ตาแหน่งน้ัน บรรดาทรราชย์ปรากฏโฉมขึ้นมา เป็นแบบขวัญใจประชาชน โดยสร้างภาพพจน์ให้ประชาชนเห็นว่า ตนจะเข้ามาล้างอธรรมและสร้าง ความรุ่งเรอื งใหก้ บั รฐั แต่ภายหลังกลบั กลายเปน็ ว่า บรรดาทรราชย์ล้วนแต่ปกครองตามอาเภอใจและ แสวงหาประโยชนส์ ู่ตนเองทัง้ สน้ิ บรรดาประชาชนผ้ถู กู กดขี่จงึ รว่ มมอื กบั เหลา่ ขนุ นางและผู้ทรงความรู้ ท้ังหลายทาการปฏิวัติกวาดล้างทรราชย์ปรากฏว่า บรรดานครรัฐกรีกระยะนั้นมีการกบฏปฏิวัติเช่นน้ี เกดิ ขึน้ บ่อย ๆ จนกระท่ังราวศตวรรษที่ 4 และท่ี 5 ก่อนคริสตกาลทุก ๆ นครรัฐกรีกได้เปลี่ยนรูปการ ปกครองเปน็ แบบประชาธปิ ไตยโดยตรง (Direct Democracy) ทัง้ ส้นิ ( Loon, 1961.p, 55 )
23 1.3 การที่จะกล่าวถึงนครรัฐกรีกซ่ึงมีจานวนมากเหมือนกับว่าทุก ๆ นครรัฐเป็นเช่นเดียวกัน หมดเป็นส่ิงที่เป็นไปไม่ได้ แม้ว่านครรัฐท้ังหลายจะมีความคล้ายคลึงกัน แต่ความแตกต่างทั้งทางด้าน สงั คมและการเมอื งก็มีอยไู่ มน่ อ้ ย โดยเฉพาะในด้านความคดิ เหน็ ทางการเมอื งและสถาบันเป็นนครรัฐที่ ย่งิ ใหญแ่ ละเป็นผู้นาของนครรัฐอื่น ๆ แม้ว่าท้ังสองนครรัฐนี้จะเคยเป็นพันธมิตรร่วมต่อต้านการบุกรุก ของชนเปอรเ์ ซยี แต่ในตอนท้ายเอเธนส์และสปาร์ต้ากลับกลายเป็นคู่สงครามกันในสงครามเพโลโพนิ เชยี น ซ่งึ จบลงโดยชยั ชนะเป็นของสปารต์ า้ 1.4 ในการศึกษาเรื่องของกรีก เอเธนส์เป็นนครรัฐที่น่าสนใจมากกว่าสปาร์ต้า ด้วยเหตุผลว่า นครเอเธนส์เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมและการศึกษาของโลกยุคโบราณและอิทธิพลขอ งเอเธนส์ ย่ิงใหญ่สามารถท่ีจะรักษาความเป็นเด่นอยู่ได้เป็นเวลานานภายหลังจากการปราชัยและเส่ือมคลาย อานาจทางเศรษฐกจิ และกาลังทพั คนทมี่ คี วามตง้ั ใจดีสนใจที่จะใช้ชีวิตอยู่กับเพื่อนร่วมรัฐของเขาด้วย จติ ใจแหง่ ความเสมอภาคและมิตรภาพ ชาวเอเธนส์ชิงชังและปฏิเสธรูปการปกครองแบบอัตตาธิปไตย (Autocracy) นครเอเธนส์ซ่ึงสามารถประสบความสาเร็จในการดารงชีวิตที่ดีในระบอบประชาธิปไตย ชั่วระยะเวลาอันส้ันเป็นนครรัฐที่มีค่าแก่การศึกษาย่ิงกว่านครสปาร์ต้า ซ่ึงดาเนินชีวิตแบบค่ายทหาร และเหยียดในความหย่อนระเบียบของสังคมเอเธนส์ อานาจของสปาร์ต้าเส่ือมคลายลงเช่นเดียวกับ เอเธนส์ แตท่ ว่าเม่ืออานาจทางทหารของสปาร์ต้าหมดส้ินลง ทุกส่ิงทุกอย่างก็สูญสิ้นไปหมด ในขณะที่ มรดกทางวัฒนธรรม (ของเอเธนส์) สามารถจะรักษาความเป็นชาวเอเธนส์ได้ (แม้รัฐจะสูญอานาจ อธปิ ไตย) แต่ (มรดกทางวัฒนธรรมของสปาร์ต้า) ไม่อาจจะรักษาชาวสปาร์ต้าไว้ได้ ในยามเส่ือมคลาย เอเธนส์ คงอยตู่ อ่ ไปด้วยสงิ่ ทีต่ นไดส้ ร้างข้นึ แต่สปารต์ ้าตายไปสิน้ ( Harmon, 1964 P,12.) 1.5 การปกครองของกรีก 1) Monarchy หมายถงึ การปกครองโดยบุคคลเพียงคนเดียว เรยี กว่ากษัตริย์ 2) Aristocracy หมายถึง การปกครองโดยครอบครัวคนชั้นสูงในสังคม หรือที่ เรียกว่าขุน นาง 3) Oligarchy หมายถึง การปกครองโดยคนกลุม่ น้อยผู้มฐี านะร่ารวยในสังคม 4) Democracy หมายถึง การปกครองโดยวิธกี ารใหส้ ทิ ธแิ ก่ประชาชนทั่วไป ท่มี ีสถานะเป็น พลเมือง (เฉพาะผู้ชายท่ีมีอายุท่ีเป็นเสรีชนกล่าวคือไม่ใช่ทาส) ในการอภิปรายถกเถียงปัญหาข้อ ขดั แย้ง และตดั สินใจตอ่ ปัญหานัน้ ด้วยเสยี งสว่ นใหญ่ 5) Tyranny หมายถึง การปกครองโดยผู้ที่ยึดอานาจการปกครองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซ่งึ อาจเป็นคนดีหรือเลวกไ็ ด้
24 นอกจากน้ี โซลอนได้ทาการปฏิรูปในทางการเมืองด้วย แต่เป็นไปโดยการประนีประนอม กล่าวคือ ไม่ได้กาจัดอานาจการปกครองของชนช้ันผู้ปกครองเดิมออกไปอย่างสิ้นเชิง เพียงแต่ได้เปิด โอกาสใหค้ นกลุม่ ใหมท่ ไ่ี ม่ไดอ้ ยใู่ นสว่ นของชนช้นั ผ้ปู กครองเดิมแต่มฐี านะใหเ้ ขา้ มาสรู่ ัฐบาลมากข้ึน อย่างไรก็ตาม การปฏิรูปโดยโซลอนน้ี แม้จะได้รับความนิยมในสังคมก็ตาม แต่ก็ไม่อาจที่จะ แก้ไขปญั หาในสังคมที่เป็นอยู่ได้อย่างแท้จริง โดยกลุ่มของชนชั้นผู้ปกครองซึ่งแตกแยกออกเป็นหลาย กลุ่มยังคงแข่งขันแย่งชิงอานาจกันทางการเมืองเช่นเดิม และชนช้ันชาวนาท่ีอยู่ใต้ปกครองก็ยังคงไม่ พอใจตอ่ ความล้มเหลวในการจัดสรรที่ดนิ กนั ใหม่ และด้วยความขัดแย้งภายในสังคมเหล่าน้ีจึงได้นามา สู่สภาพผู้ปกครองที่เรียกว่า Tyranny (ในความหมายคือผู้ปกครองที่ข้ึนสู่อานาจปกครองโดยไม่ใช่วิธี ทางตามรฐั ธรรมนูญ และไม่อยภู่ ายใต้กฎหมาย) ตัวอย่างเช่นบุคคลที่ชื่อว่า พิซิสตราตัส (Pisistratus) ซ่ึงอยู่ในกลุ่มของชนช้ันปกครองเดิม (Aristocrat) คนหนึ่ง ได้ยึดอานาจข้ึนเป็นผู้ปกครองเอเธนส์ในปี 560 ก่อนคริสตกาล การปกครอง ของพิซิสตราตสั ได้รับความนยิ มจากชนช้ันพ่อค้าและอุตสาหกรรม เพราะสามารถทาให้การค้ารุ่งเรือง ได้จากการใช้นโยบายต่างประเทศ แต่พอมาถึงปี 510 ก่อนคริสตกาลในสมัยลูกของพิซิสตราตัสที่สืบ อานาจปกครองต่อมานี้ ชาวเอเธนส์ก็ได้ลกุ ขนึ้ ลม้ ลา้ งอานาจปกครองของตระกลู พิซิสตราตัสนเ้ี สยี หลังจากนัน้ ตอ่ มา แมจ้ ะมีความพยายามในการตั้งระบอบการปกครองคณาธิปไตยโดยชนช้ัน ปกครองเดิม (aristocratic oligarchy) ก็ตาม แต่ก็ไม่ประสบความสาเร็จ โดยชนช้ันผู้ปกครองบุคคล หนึ่งท่ีมีชื่อว่า ไคลส์เธอนีส (Cleisthenes) ได้มีบทบาทต่อต้านไม่เห็นด้วย และได้รับการสนับสนุน จากชาวเอเธนส์ให้ขน้ึ สอู่ านาจในปี 508 กอ่ นคริสตกาล ไคลส์เธอนีส (Cleisthenes) ได้เข้ามาทาการปฏิรูประบบการเมืองการปกครองของเอเธนส์ ใหม่ โดยที่สาคัญได้ตั้งสภาท่ีเรียกว่า council of 500 ข้ึนมา โดยเปิดโอกาสให้พลเมืองแต่ละเผ่าได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง (เป็นลักษณะของการปกครองโดยพลเมืองทั่วไปในแต่ละท้องที่มาก ขึ้นกว่าการปกครองโดยตระกูลใดตระกูลหน่ึง) โดยสภาแห่งน้ีมีหน้าท่ีในการบริหารงานทางด้านการ ต่างประเทศและการเงนิ ภายในประเทศ รวมท้ังการเตรียมการด้านธุรกิจให้สภาพลเมือง (Assembly) นามาดาเนินการอีกทีหน่ึง โดยสภาแห่งนี้ประกอบด้วยพลเมืองที่เป็นผู้ชาย มีอานาจในการอภิปราย ถกเถยี งเพอื่ ตรากฎหมาย จากการปฏิรปู ของไคลส์เธอนีสนี้ ทาให้สภาพลเมืองกลายเป็นศูนย์กลางทางอานาจการเมือง การปกครองมากย่ิงข้นึ ซึง่ ได้รับการเรียกว่าระบบประชาธปิ ไตยชาวเอเธนส์ (Athenian democracy) ซึง่ ได้กลายเปน็ รากฐานทีส่ าคัญของสังคมเอเธนสใ์ นเวลาตอ่ จากน้ีไป โดยชาวเอเธนส์ได้เรียกระบบการ
25 ปกครองของตนเองว่า Democracy (เพราะคาๆ นี้มีรากฐานมาจากภาษากรกี นั่นเอง โดยมาจากคาว่า demos ซึง่ แปลว่าประชาชน และคาวา่ kratia แปลวา่ อานาจ) 2. นครรฐั เอเธนส์ 2.1 ชนชั้นในสังคม นครรัฐเอเธนส์มีประชากรท้ังหมดประมาณ 250,000 -275,000 คน บนพ้ืนท่ีประมาณ 1,000 ตารางไมล์ นับว่าเป็นนครรัฐขนาดใหญ่ของกรีกยุคนั้น ชนช้ันในสังคม ถูกแบ่งออกเป็น 3 พวก ด้วยกันไดแ้ ก่ 1) พลเมือง (Citizen) เป็นชนชั้นสาคัญของนครรัฐ มีจานวนประมาณ 1 ใน 3 ของ ประชากรของรัฐ พลเมืองทุกคนถือว่า “เขาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ และรัฐเป็นส่วนหน่ึงของตัวเขา” ฐานะของการเปน็ พลเมืองได้มาโดยกาเนิดสทิ ธขิ องความเปน็ พลเมอื งโดยเฉพาะพลเมืองชายนั้น ได้แก่ การมีส่วนมีเสียงในการปกครองและกิจการของรัฐโดยเท่าเทียมกัน“ ชาวกรีกเห็นว่าการเป็น พลเมือง ไม่ใชท่ รพั ยส์ ิน (Possession) ทีใ่ ครจะถือเอาไดค้ นเดยี วเป็นสมบัติ แต่เป็นสิ่งท่ีต้องยอมให้พลเมืองคน อ่ืนใช้ร่วมกับตนเสมือนคนในเครือญาติหรือครอบครัวเดียวกัน กรีกไม่ต้องการที่จะพิทักษ์คุ้มครอง สิทธิของบุคคลมากนัก แต่เป็นการรับรองสิทธิท่ีมนุษย์มีอยู่แล้วมากกว่า (เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์, 2514 หน้า, 4) 2) ตา่ งด้าว (Exotics) ได้แก่เสรชี นทงั้ หลายที่บิดามารดาไม่ได้เป็นชาวเอเธนส์ส่วนใหญ่ ได้แก่บรรดาพ่อค้าวานิชท้ังหลาย คนต่างด้าวน้ีแม้ว่าจะต้ังหลักแหล่งในนครรัฐนานเท่าใดก็ตาม หา ได้รบั สิทธิที่จะโอนสัญชาตเิ ปน็ พลเมอื งไมเ่ พราะไม่มีตัวบทกฎหมายเก่ียวกับการโอนสัญชาติบัญญัติไว้ อย่างไรก็ตามปรากฏว่า ชนต่างด้าวบางคนได้รับการยอมรับให้เป็นพลเมืองโดยกระบวนการทาง กฎหมายเป็นกรณีพิเศษ บทบาทของคนต่างด้าว นอกจากจะไม่มีสิทธิในการปกครองของรัฐแล้ว ยัง ถูกควบคุมด้วยกฎหมายมากกว่าพลเมืองธรรมดาและต้องเสียภาษีพิเศษซึ่งบรรดาพลเมืองได้รับการ ยกเว้น รวมท้ังต้องเสียค่าบารุงกองทัพด้วย ชนต่างด้าวน้ีมีจานวนประมาณ 1 ใน 6 ของจานวน ประชากรทงั้ หมด 3) ทาส (Slaves) เป็นชนชั้นท่ีใหญ่ที่สุดของนครรัฐ หน้าที่ท่ีสาคัญของพวกทาส คือ ปฏิบัติภารกิจแทนนาย ช่วยให้นายมีเวลามากขึ้นในการท่ีจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมของรัฐ อย่างไรก็ดี ทาสของกรีกมีสิทธิและเสรีภาพไม่น้อย โดยเฉพาะในการเขียนและการพูด กฎหมายของรัฐให้การ พิทักษ์บรรดาทาสเป็นอย่างดี นายไม่มีสิทธิที่จะทาอันตรายทาสของเขาจนถึงแก่ชีวิต และอาจถูก
26 บังคบั ให้ขายทาสของเขา หากวา่ เขากดขีข่ ่มเหงทาสอย่างปราศจากมนุษยธรรม คนทุกคนไม่มีสิทธิทา ร้ายร่างกายทาสซ่ึงไม่ใช่ทาสของเขาในนครรัฐเอเธนส์มีทาสเป็นจานวนมากที่อยู่ในสังกัดของรัฐบาล ปฏิบัตหิ น้าทเี่ ป็นข้าราชการในระดับต่า ๆ เชน่ เป็นตารวจ, ผ้คู มุ นักโทษ เปน็ ต้น 2.2 สถาบันการปกครอง องค์กรทางการปกครองของนครรฐั เอเธนสม์ ีดว้ ยกันทง้ั หมด 4 องค์การ ดว้ ยกัน ได้แก่ 1) สภาประชาชน (Assembly of Ecclesia) สภานี้ประกอบด้วยพลเมืองชายทุก คนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ถือว่าเป็นสถาบันท่ีแสดงเจตจานงสูงสุด ของประชาชน รัฐธรรมนูญของ เอเธนสก์ าหนดอานาจหนา้ ท่ขี องสภานี้ไว้ สูงกว่าสถาบนั อ่ืนคือทาหน้าที่นิติบัญญัติ ควบคุมนโยบาย ต่างประเทศและควบคุมฝุายบริหาร ในรอบปีหน่ึง ๆ สภาน้ีมีสมัยประชุม 10 คร้ังด้วยกัน ในกรณี พิเศษการเปิดประชุมย่อมกระทาได้แม้ว่าจะไม่ตรงกับสมัยประชุมปกติ ในบางครั้งปรากฏว่าสภาน้ี ถงึ กับเปดิ ประชมุ ทกุ 10 วัน (Harmon, 1964 P, 21) เนอ่ื งจากสภาประชาชนน้ีเปน็ สถาบันใหญ่และมสี มาชกิ เป็นจานวนมากประสิทธิภาพใน การดาเนินการย่อมบกพร่องและขาดความรวดเร็ว ข้อแก้ไขของชาวกรีก คือ กาหนดให้มีองค์การย่อย อกี องค์การหนึ่งคอื “คณะมนตรหี ้ารอ้ ย” บทบาทของสภาใหญ่ลดลงเป็นเพียงการอนุมัติและเห็นชอบ สภาประชาชนมีสิทธคิ วบคมุ การปฏิบัติงานของคณะมนตรหี ้ารอ้ ยอยา่ งกวา้ งขวาง อาจปฏิเสธข้อเสนอ ของคณะมนตรี ฯ และสามารถแก้ไขเพม่ิ เติมกฤษฎีกาหรือบทบญั ญตั ิทอี่ อกมาโดยคณะมนตรี 2) คณะมนตรีห้าร้อย (Council of Five Hundred) เป็นองค์การปกครองประจา ปฏบิ ตั งิ านในระหว่างสมัยประชุมของสภาและอานวยงานของสภาในวาระประชุม สมาชิกคณะมนตรี ประกอบด้วยพลเมอื งชายเอเธนส์ 500 คน โดยเลือกเอาผู้แทนเผ่าแต่ละเผ่า เผ่าละ 50 คน (ใน เอเธนส์มี 10 เผ่าด้วยกัน) การคัดเลือกใช้วิธีจับสลาก สมาชิกแต่ละคนมีอายุประจาการครั้งละ 1ปี และห้ามไม่ใหด้ ารงตาแหนง่ 2 ปีติดตอ่ กัน อานาจและหน้าทขี่ องคณะมนตรี ฯ ได้แก่ การวางนโยบาย และเป็นคณะกรรมการดาเนินงานของสภา, การเตรียมวาระประชุมของสภา, สามารถท่ีจะออก กฤษฎีกาและกาหนดรายละเอียดเพิ่มเติมตัวบทกฎหมายที่ฝุายสภาบัญญัติขึ้น, ควบคุม ดูแลการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีบริหารท้ังหมด, จัดการการคลังและการเก็บภาษี, ควบคุมการเลือกตั้ง, เป็น ตัวแทนเจรจากับผู้แทนรัฐอื่น ๆ และในบางครั้งอาจทาหน้าท่ีเป็นศาลสถิตยุติธรรมกาหนดความผิด และลงโทษเพื่อใหก้ ารปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น คณะมนตรีน้ีใช้ระบบหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกัน ทางานอีกชั้นหนึ่ง โดยแบ่งเป็นคณะกรรมการ 10 คณะด้วยกัน แต่ละคณะมี 50 คน ประกอบด้วย ผู้แทนเผ่าหน่ึงเผ่าใดโดยเฉพาะ 41 คน และจากเผ่าอื่น ๆ เผ่าละ1 คน ทางานแทนคณะมนตรี คณะ
27 ละ 1 วัน ในชีวิตสมาชิกทั้งหมดของคณะกรรมการต้องเข้าร่วมในการประชุมของคณะมนตรีฯ สมาชิกอ่ืน ๆ มี สิทธเิ ข้าร่วมแต่ไม่บังคับ 3) ศาล (Court) เป็นสถาบันที่ถือว่าเป็นตัวแทนแสดงอานาจอธิปไตยโดยสมบูรณ์ของ ประชาชน ประกอบด้วยชาวเอเธนส์ชายที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป จานวน 6,000 คน คัดเลือกด้วยวิธีจับ สลากจากแต่ละเผ่า ๆ ละ 600 คน ในการพิจารณาคดีแต่ละคดี จะมอบอานาจในการเป็นผู้พิพากษา ให้กับสมาชิกของศาลจานวนหนึ่ง ซ่ึงต้องมีผู้แทนของแต่ละเผ่าจานวนเท่ากัน และไม่มีการแจ้งให้ ทราบล่วงหน้าวา่ จะมอบเรอ่ื งใดใหพ้ ิจารณา เพ่ือปูองกันการอยุติธรรม ศาลน้ีทาหน้าท่ีพิพากษาท้ังคดี แพง่ และคดอี าญา คาตัดสินถือเป็นเด็ดขาดไม่มีอุทธรณ์สมาชิกของศาลเป็นทั้งตุลาการและลูกขุนไม่มี อัยการ ท้ังโจทกจ์ าเลยต้องปฏบิ ัติหนา้ ทข่ี องตนด้วยตนเองไม่มีทนายความขบวนการตัดสินคดีเริ่มโดย การลงมตกิ ่อนวา่ ผดิ หรือไม่ ถ้าไม่ผิดก็ให้ยกฟูองถ้าผิด ก็หามติกาหนดโทษ โดยเลือกเอาโทษอย่างใด อย่างหน่ึงท่ีคู่คดีเสนอแนะนอกจากพิจารณาคดีแล้ว ศาลยังทาหน้าที่ควบคุมเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เป็นผู้ ตรวจสอบคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ศาลซึ่งเลือกด้วยวิธีจับสลาก รวมทั้งตรวจสอบบัญชีการเงินต่าง ๆ ซ่ึงมีเงินของรัฐเก่ียวข้องอยู่ ข้อบกพร่องของศาลอยู่ท่ีข้อกาหนดที่ว่าการเป็นสมาชิกของศาลต้อง กระทาด้วยความสมัครใจ แม้จะมีค่าตอบแทนให้ แต่ก็เป็นจานวนน้อย เป็นเหตุให้บรรดาผู้ท่ีมี ความสามารถแต่ต้องรับผิดชอบในเรื่องการทามาหาเลี้ยงชีพไม่ประสงค์จะเป็นสมาชิก ผลท่ีตามมาก็ คือสมาชกิ ของศาลส่วนใหญ่ประกอบด้วยบรรดาคนชราและผ้ทู ่ีไม่มคี วามสามารถอย่างแท้จรงิ 4) คณะสิบนายพล (Ten Generals) ในทางทฤษฎีคณะสิบนายพลเป็น ตาแหน่ง หน้าที่ทางการทหาร แต่ในทางปฏิบัติแล้วบรรดานายพลเหล่าน้ีมีอิทธิพลในทางการเมืองเป็นอย่าง มาก เปน็ ตาแหน่งทขี่ นึ้ มาจากการเลือกต้งั โดยตรงและสามารถท่ีจะครองตาแหน่งต่อไปได้อีกเม่ือหมด วาระแล้ว หากได้รับเลือกซ้าอีก กฎหมายกาหนดให้อานาจหน้าท่ีของนายพลแต่ละคนทัดเทียมกัน และแบง่ งานกันทาเป็นประเภท ๆ เพ่ือไม่ให้เกิดการซ้อนงานกัน แต่ในทางปฏิบัติจะมีนายพลคนหน่ึง สามารถครอบงาและมีอทิ ธพิ ลเหนือนายพลคนอืน่ ๆ ทาหน้าท่เี ป็นหัวหน้าอย่างไม่เป็นทางการ หน้าที่ ของคณะสบิ นายพลนแ้ี มจ้ ะเนน้ หนักไปในทางนโยบายต่างประเทศและการทหาร แต่ในบางครั้งขยาย คลุมไปถึงเร่ืองการคลัง รวมตลอดถึงนโยบายในประเทศด้วย ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แวดล้อมและ บุคลกิ ของหัวหนา้ นายพล ฐานะของกลุ่มนายพลเปรยี บเสมอื นนายกรฐั มนตรี อาจเรียกประชุมและยื่น ข้อเสนอต่อสภา ระยะเวลาการดารงตาแหน่งข้ึนอยู่กับการสนับสนุนของสภา หากไม่ได้รับการ สนบั สนนุ เพยี งพอตาแหนง่ กอ็ าจไดร้ บั การกระทบกระเทือน
28 อย่างไรก็ตาม พลเมืองชาวเอเธนส์มีสิทธิที่จะเข้าร่วมในคณะลูกขุนซึ่งพิจารณาคดีต่างๆ โดย ใจสมัคร ในการพิจารณาคดี ผู้พิพากษาจะนั่งเป็นประธานเท่านั้น ส่วนการชี้ว่าผิดหรือถูก เป็นหน้าที่ ของคณะลูกขุน ซึ่งประกอบด้วยพลเมือง มติต่างๆ ของสภาผู้แทนราษฎร จะมีคณะเจ้าหน้าที่บริหาร เป็นผู้ดาเนินการ เจ้าหน้าท่ีบริหารเหล่าน้ีอาจเลือกขึ้นมาหรือจับฉลาก ได้รับเงินเดือนเพียงเล็กน้อย แต่ถือว่าเป็นเกียรติยศชื่อเสียง ชาวเอเธนส์ที่ได้รับตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารจะทางานด้วยความ ซ่ือสัตย์สุจริต เพื่อรักษาเกียรติยศที่ตนได้รับชาวเอเธนส์รักนครรัฐของตนเป็นชีวิตจิตใจ ข้าวของเงิน ทองท่ีหามาได้ใชบ้ ารุงนครรฐั ของตนใหส้ วยงาม น่าอยู่ ชาวกรีกไม่นิยมความหรูหราฟุมเฟือยและดูถูก คนทีใ่ ชจ้ ่ายเงนิ ทองซือ้ เพชรนลิ จนิ ดาเสอื้ ผา้ แพรพรรณ บ้านช่องทีโ่ อ่อา่ หรหู ราพรอ้ มด้วยสมบัติส่วนตัว คนกรกี มคี วามเหน็ ว่าคนเหล่าน้ันหยาบกระด้าง และยังไม่ได้ขัดเกลา เขานิยมคนท่ีใช้เงินทองเพ่ือของ ส่วนรวม เช่น การก่อสร้างสาธารณสถาน หรือวัดวาอารามต่างๆ ชีวิตในนครรัฐเอเธนส์เป็นชีวิตที่ แจ่มใสและน่าอยู่ นครรัฐต้ังอยู่ติดกับทะเลและมีเนินเขาย่อมๆ อากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนกาลัง สบายไม่หนาวเกินไปหรือร้อนเกินไป ท้องฟูาและทะเลเป็นสีฟูาครามตลอดท้ังปี ข้าวปลาอาหาร ถึงแม้จะไม่สมบูรณ์ก็เพียงพอเล้ียงพลเมือง ผู้คนพลเมืองมีจิตใจกล้าหาญเป็นนักรบ แต่ในยามสงบ แลว้ รกั สนั ติและรกั การสนทนาโตต้ อบแลกเปลย่ี นความคิดเห็น ชาวกรกี รักการสนทนาโต้แย้งฉันท์มิตร เพราะเปน็ หนทางท่จี ะเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ด้วยตัวเอง การโต้แย้งกันในทางวิวาทชาวกรีกถือว่าเป็นของต่า และแสดงความโง่เขลาเบาปัญญา ชาวกรีกถกเถียงกันในปัญหาทุกเรื่องอย่างสงบและโดยปราศจาก อคติ ทุกคนต่างเคารพสิทธิของผู้อ่ืนในการแสดงความคิดเห็น และถึงแม้ผู้อ่ืนจะไม่เห็นพ้องกับ ความคดิ ของตนหรอื ตนไมเ่ หน็ ดว้ ยกับความคดิ ของผู้อืน่ ก็ไม่ถอื วา่ คนท้ังสองเปน็ ศตั รตู ่อกัน กล่าวโดยสรุปนครรัฐเอเธนส์ประกอบด้วยบริเวณท่ีสาคัญ 2 บริเวณ คือ อโครโปลิส (Acropolis) และ อกอรา (Agora) อโครโปลิสเป็นเนินเขาสูงเป็นท่ีประดิษฐานวัดวาอารามและ สถานท่ีสาคัญทางราชการ เนินนี้อาจดัดแปลงเป็นปูองที่ให้ผู้คนพลเมืองเข้ามาลี้ภัย และต้ังรับศัตรูได้ ในยามที่ถูกรุกราน ใต้บริเวณอโครโปลิส ลงมาเป็นร้านรวงและท่ีอยู่อาศัยของพลเมืองเรียกว่าอกอรา นครรัฐเอเธนสเ์ ปน็ นครรัฐเล็ก มีพลเมืองเพียง 50,000 คน นอกนั้น ได้แก่พวกทาสและชนต่างถ่ิน ซึ่ง รวมด้วยกนั ทง้ั สิ้นประมาณ 130,000 คน เอเธนส์ไดว้ ิวฒั นาการการปกครอง เป็นสาธารณรัฐปกครอง ในรปู ประชาธิปไตย โดยเจา้ หน้าที่ซงึ่ เลอื กมาจากพลเมือง 50,000 คน การปกครองในเมืองแห่งนี้ช่วงแรก (ก่อนหน้าปีที่ 700 ก่อนคริสตกาล) อยู่ภายใต้ระบบ กษัตริย์ (monarchy) และภายหลังจากนี้ได้ตกมาอยู่ใต้การปกครองของกลุ่มบุคคลที่เรียกว่า Aristocrat โดยกลุม่ คนเหล่าน้เี ป็นเจา้ ของท่ดี นิ และมอี ทิ ธพิ ลทางการเมืองและการศาสนา ภายใต้สภา
29 ทเี่ รียกว่า council of nobles (สภาขุนนาง) ซง่ึ มีเจ้าหนา้ ทผ่ี ู้ช่วยอีกจานวน 9 คนท่ีเรียกว่า archons และแม้จะมีสภาพลเมืองท่ีเรียกว่า assembly แต่สภาของพลเมืองมีอานาจน้อย (กว่าสภาขุนนาง) มาก พอมาถึงช่วงท้ายของปีที่ 700 ก่อนคริสตกาล เป็นช่วงที่นครรัฐเอเธนส์เกิดความไม่สงบทาง สังคมและการเมือง อันเกิดข้ึนมาจากความขัดแย้งภายในกลุ่มบุคคลชั้นปกครองเรียกว่า Aristocrat ด้วยกันเอง และปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ โดยท่ีชนชั้นชาวนา (farmer) ผู้อยู่ใต้ปกครอง ได้มีจานวน มากข้ึนและได้ถูกขายเป็นทาสของชนชั้นผู้ปกครองมากขึ้น เพราะไม่มีมาใช้หนี้ท่ียืมไปจากคนเหล่านี้ ทั้งนี้เพราะในการกู้ยืมไดเ้ อาตัวเองเข้าเป็นทรัพย์เพื่อค้าประกันเงินท่ีตนได้กู้ไป (collateral) และด้วย สภาพของสังคมชั้นล่างที่ได้รับความเดือดร้อนเช่นนี้ จึงได้เกิดการปฏิวัติซ้าแล้วซ้าเล่าเพ่ือเรียกร้องให้ ยกเลิกหนสี้ นิ ทชี่ าวนาเหล่านไ้ี ดก้ ู้ยมื ไปและใหม้ ีการจดั สรรท่ีดินกันใหม่ เม่ือมาถึงในปี 594 ก่อนคริสต ศักราช สังคมของเอเธนส์ได้ปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลง ทั้งน้ีจากบทบาทการปฏิรูปของชนช้ัน ปกครองที่สาคัญบุคคลหนึ่งท่ีช่ือว่า Solon โดยผู้นี้ได้รับการเลือกจากชนช้ันผู้ปกครองให้เป็น เจ้าหน้าทแ่ี ตเ่ พยี งผู้เดยี วในสภาผ้ชู ่วยขนุ นางท่ีเรยี กว่า archon นั้น โดยได้รับอานาจแต่เพียงผู้เดียวใน การกาหนดการปฏริ ปู และเปลีย่ นแปลงสังคม การปฏริ ปู ของโซลอนที่เกิดข้ึนเป็นไปในท้ังสองส่วนของสังคมทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ท่ีสาคัญเช่นการยกเลิกหน้ีท่ีเก่ียวกับท่ีดินท้ังหมด กาหนดให้การกู้ยืมเงินที่เอาชีวิตมนุษย์มาเป็น หลักทรัพย์ค้าประกัน (collateral) เป็นสิ่งท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมายอีกต่อไป และปลดปล่อยกลุ่มคนที่ ตกเป็นทาสเพราะติดหนี้สินเหล่านี้ให้เป็นอิสระ แต่โซลอนได้ปฏิเสธที่จะจัดให้มีการจัดสรรที่ดินกัน ใหม่ ซ่ึงเป็นรากฐานแห่งปัญหาของสังคมเอเธนส์ ซ่ึงความล้มเหลวท่ีจะจัดสรรที่ดินใหม่ในคร้ังน้ี มี สาเหตุมาจากความรุ่งเรืองทางด้านการค้าขายและอุตสาหกรรมซึ่งจะเห็นภาพได้อย่างชัดเจนใน ศตวรรษขา้ งหนา้ ต่อไปน้ี 3. นครรฐั สปารต์ า ท่ีต้ังอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ในส่วนของแผ่นดินใหญ่ท่ีเรียกว่า Peloponnesus และอยู่ ในเขตย่อยลงไปอีกท่ีเรียกว่า Laconia เดิมประกอบด้วยหมู่บ้านเล็กๆ 4 หมู่บ้าน (เช่ือกันว่าชาว ดอเรียนท่ีอพยพลงมายังทางใต้ท่ีบริเวณแผ่นดินที่เรียกว่า peloponnesus เมื่อ 1,200 ปีก่อน คริสตกาล คือบรรพบุรุษของชาวสปาร์ตา) ซ่ึงต่อมาได้รวมตัวเข้ากันเป็นพาลิส (Polis) แห่งหนึ่ง การ รวมตัวกันในคร้ังนี้ ทาให้สปาตาร์กลายเป็นชุมชนแห่งหน่ึงท่ีเข้มแข็งในเขตลาโคเนียน้ี และสามารถที่ จะกา้ วขน้ึ มามีอานาจเหนือคนที่อยู่ในเขตลาโคเนียเดิมที่เรียกว่า Helot (คานี้มีรากศัพท์มาจากภาษา
30 กรีกแปลว่า การยึด หรือในภาษาอังกฤษว่า capture) ซ่ึงชาวเฮลอทนี้ ได้กลายมาเป็นทาสติดท่ีดิน (serf) เป็นแรงงานในท่ีดิน (แรงงานในไร่) และในบ้านเรือน (แม่บ้าน คนใช้) ของชาวสปาร์ตา ชาว เฮลอทน้ีได้รับการถือว่าเป็นชนช้ันท่ีสามในสังคมชาวสปาร์ตาและได้รับการกดไม่ให้มีบทบาททาง การเมืองจากชาวสปาร์ตันเพราะเกรงว่าจะก่อการกบฎข้ึน และนอกจากนี้ ยังมีกลุ่มคนอีกชั้นหน่ึงที่ ชาวสปาร์ตันถือว่าเป็นชนชั้นที่สองในสังคมและเรียกคนเหล่าน้ีว่า neighbors โดยคนเหล่าน้ีไม่ได้รับ สถานะความเป็นพลเมือง แต่มีความเป็นอิสระ อาศัยอยู่ในเมือง ทางานอยู่ในภาคการค้าและ อตุ สาหกรรม ซ่งึ บางคนมสี ถานะร่ารวยด้วยซ้า ตอ่ มาในช่วงระหว่างปี 700-730 ก่อนคริสตกาล ชาวสปาร์ตาได้ขยายอานาจเข้าครอบครอง พื้นที่ๆ อยู่ข้างเคียงซึ่งเรียกว่าเขตเมสซีเนีย (Messenia) ซ่ึงเป็นแหล่งที่มีความอุดมสมบูรณ์ในการ เพาะปลูกมากกวา่ และมขี นาดและจานวนประชากรมากกว่า การเข้ายึดครองยังผลให้ชาวเมสซีเนียน ได้กลายมาเป็นทาสติดท่ีดินและเป็นคนใช้แรงงานให้กับ และเพื่อรักษาเขตที่ตนได้ยึดครองเอาไว้ เหล่าน้ใี หไ้ ด้อย่างยั่งยืน ทาให้สปาร์ตาได้พัฒนาตนเองให้เป็นรัฐทางทหารในเวลาต่อมา (เชื่อว่าบางที เป็นผลงานการปฏิรูปท่ีมีต้นตอมาจากบุคคลคนหนึ่งที่มีชื่อว่า Lycurgus ในช่วงระหว่างปี 800 ถึง 600 ก่อนคริสตกาล แม้นักประวัติศาสตร์ไม่ค่อยม่ันใจนักว่าบุคคลน้ีมีชีวิตอยู่จริงในประวัติศาสตร์ หรือไม่ ในช่วงเวลาน้ี ชีวติ ของชาวสปารต์ าได้รับการควบคุมอย่างเข้มงวด (คาว่าสปาร์ตา แปลว่าผู้ท่ี มีระเบียบวินัยในตัวเองสูง) โดยเด็กแต่ละคนที่เกิดมาจะได้รับการตรวจสุขภาพทุกคนเพื่อดูว่ามีความ แข็งแรงพอที่จะอยู่ต่อไปหรือไม่ หากพบว่าไม่แข็งแรงก็จะถูกฆ่าทิ้งไป สาหรับผู้ท่ีอยู่รอดต่อมา พอมี อายุถึง 7 ปี ก็ต้องจากแม่มาอยู่ในการควบคุมของรัฐบาลหรือของรัฐ ท้ังนี้เพ่ือฝึกฝนให้เป็นคนที่มี ระเบยี บวินัยทเ่ี ขม้ งวด เปน็ คนทีท่ รหดอดทน ได้รับการศึกษาในลักษณะของทหาร และให้เชื่อฟังต่อผู้ มอี านาจ พอถงึ อายุ 20 ปี ชายชาวสปาร์ตาจะได้รับการเกณฑ์ให้เข้ามารับใช้ชาติเป็นทหารประจาการ แต่ได้รับการอนุญาตให้แต่งงานได้ อย่างไรก็ตาม ก็ต้องกลับเข้ามาประจาการเช่นเดิม โดยมีการกิน อาหารทุกม้ือในโรงอาหารสาธารณะร่วมกันกับเพ่ือนทหารด้วยกัน อาหารที่กินก็เป็นแบบธรรมดา เทา่ นน้ั ตัวอย่างเชน่ น้าซปุ สีดาที่ทาจากเนอ้ื หมู 1 ชิ้นตม้ กบั เลือดใส่เกลือและนา้ ส้มสายชู ซึ่งเป็นท่ีรู้จัก กันในหมนู่ กั ท่องเท่ยี วเป็นอยา่ งดี (ผ้ทู ีเ่ คยกินอาหารท่ีโรงอาหารสาธารณะของทหาร - public mess) ซ่งึ ทาให้เขา้ ใจไดเ้ ลยวา่ ทาไมชาวสปาร์ตาถึงไมก่ ลัวตาย
31 พอถึงอายุ 30 ชายชาวสปาร์ตาได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ใหญ่แล้ว จึงได้รับการอนุญาตให้ ออกเสียงทางการเมืองได้และกลับเข้ามาอยู่อาศัยท่ีบ้านได้ (ไม่ต้องเข้าประจาการเช่นเดิม) แต่ยังคง ต้องทาหน้าท่ีทางทหารอยู่จนกระท่ังอายุ 60 ปี ในส่วนของผู้หญิงชาวสปาร์ตา ระหว่างที่สามีของตน ถกู เกณฑ์ไปเข้าประจาการเป็นทหารก่อนจะไดก้ ลบั เข้ามาอยู่ในบ้านนั้น ก็ต้องรับผิดชอบครอบครัวอยู่ ทบ่ี ้าน ยงั ผลให้ผหู้ ญงิ ชาวสปารต์ ามขี อบเขตแหง่ เสรีภาพมากกวา่ และมกั จะเปน็ ผู้มีอานาจในครัวเรือน มากกว่าผู้หญิงในท่ีอื่นๆ ของประเทศกรีซ ผู้หญิงชาวสปาร์ตาได้รับการส่งเสริมให้ออกกาลังกายท้ังน้ี เพือ่ ให้แขง็ แรงอยูต่ ลอดเพอ่ื คลอดและเล้ียงลูกให้มีสุขภาพท่ีแข็งแรง มีการออกกาลังกายเล่นกีฬาโดย การเปลือยการเหมือนกันกับผู้ชาย มีการเดินเป็นขบวนเปลือยกายของผู้หญิงวัยรุ่นโชว์ต่อหน้าผู้ชาย รุ่นหนุ่ม พร้อมกับร้องเพลงท่ีว่าด้วยเร่ืองความกล้าหาญและความข้ีขลาดที่เกิดข้ึนในสนามรบ มีการ ยดึ ถือคุณคา่ หรอื ค่านิยมว่าสามขี องตนเองและลูกชายจะต้องเป็นผู้ที่กลา้ หาญ ในการทาสงคราม นอกจากการทาให้นครรัฐสปาร์ตากลายเป็นรัฐทางทหารแล้ว ยังได้มีการปฏิรูปในทาง การเมืองการปกครองด้วยโดยการสร้างระบบคณาธิปไตย (Oligarchy) ขึ้นมา มีกษัตริย์ 2 พระองค์ จากต่างราชวงศ์เป็นผู้ท่ีดูแลเก่ียวกับการทหารและเป็นแม่ทัพในการรบ นอกจากนี้ยังเป็นพระ ตาแหน่งสูงสุด (supreme priest) ในการศาสนาของรัฐด้วย และมีบทบาทบางอย่างในด้านกิจการ ต่างประเทศ กษัตริย์ทั้ง 2 พระองค์ทรงใช้อานาจปกครองร่วมกับองค์กรที่เรียกว่าสภาผู้อาวุโสที่ เรยี กวา่ Gerousia (คลา้ ยกบั วฒุ สิ ภาในระบบประชาธปิ ไตยในปัจจบุ ัน) ซึง่ มีสมาชิกจานวน 28 คน ซ่ึง มีฐานะเป็นพลเมืองอายุกว่า 60 ปีขึ้นไป มาจากการเลือกต้ังให้ดารงตาแหน่งตลอดชีวิต และรวมท้ัง กษัตริย์ 2 พระองค์นั้น ซึ่งสภาแห่งนี้มีหน้าที่ในการตระเตรียมข้อเสนอมาให้องค์กรที่เรียกว่า Apella ซ่ึงเปน็ ท่ีประชมุ ของชายท่ีเป็นพลเมืองทั้งหมด ท้ังนี้องค์กรแห่งน้ีไม่มีการถกเถียงปัญหาต่างๆ เหมือน อย่างสมาชกิ สภาผู้แทนในระบอบประชาธปิ ไตยในปัจจุบัน แต่ทาหน้าที่เพียงออกเสียงว่าจะรับหรือไม่ รับข้อเสนอที่องค์กรแรกเสนอมาหรือไม่เท่าน้ัน ซ่ึงก็หายากมากท่ีองค์กร Apella จะทาการปฏิเสธ ขอ้ เสนอท่ีเตรยี มมาใหเ้ ลือกนัน้ นอกจากนี้แล้ว สภา Apella ยังทาหน้าท่ีในการเลือกสภา Gerousia และองค์กรท่ีเรียกว่า Ephors ด้วย โดยองค์กร Ephors นี้ ประกอบด้วยผู้ชายจานวน 5 คน ซ่ึงจะมาหน้าท่ีในการ ควบคุมดูแลระบบการศกึ ษาของกลมุ่ คนวยั รนุ่ และดูแลเก่ียวกับการประพฤติปฏิบัติตัวของพลเมืองทุก คน ผลจากการทนี่ ครรฐั สปาร์ตาได้พฒั นาไปเปน็ รฐั ที่เนน้ ความเขม้ แข็งทางทหาร ทาให้นครรัฐแห่งนี้มี การพัฒนาตัวของความรู้ด้านอ่ืนๆ น้อย ท้ังนี้สืบเนื่องจากการปิดประเทศไม่ให้แนวคิดใหม่ๆ เผยแพร่ เข้ามา และในขณะเดียวกันก็ห้ามมิให้ชาวสปาร์ตาเดินทางออกนอกรัฐด้วย ซึ่งเหตุผลที่อยู่เบื้องหลัง
32 ทั้งหมดน้ี เป็นไปเพื่อการความกลัวว่าจะทาให้มีการนาแนวความคิดใหม่ๆ เข้ามาอันจะ กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของระบบความเข้มแข็งทางทหารของตนเอง และแน่นอนการศึกษา ทางด้านปรัชญาและวรรณกรรม รวมทั้งศาสตร์อื่นๆ ก็ย่อมไม่ได้รับการส่งเสริมให้พัฒนา ยกเว้น ความรู้เพียงด้านเดียวคือศาสตร์ทางด้านสงครามที่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ในนครรัฐแห่งน้ี ชาวสปาร์ตาจึงเหมือนกับได้รับการเลี้ยงดูปลูกฝังมาตั้งแต่เด็กให้ยึดถือว่าจักต้องมีชีวิตอยู่ด้วยการ จงรักภกั ดีตอ่ นครรัฐแห่งนี้เทา่ นั้น ด้วยเหตุนจ้ี ึงเป็นเหตุผลที่อธิบายได้ว่าทาไมนครรัฐแห่งน้ีจึงสามารถ ท่ีจะขยายอานาจจนครอบคลุมเมืองหรือนครรัฐอ่ืนๆ ท้ังหมดภายในแผ่นดินใหญ่ของกรีกท่ีเรียกว่า Peloponnesus ได้เม่ือถึงปีท่ี 500 ก่อนคริสตกาล และได้รับการยอมรับว่าเป็นนครรัฐท่ีมีความ เข้มแขง็ ทางทหารมากท่ีสุดของกรีก สรปุ นครรัฐกรีกในสมัยศตวรรษที่ 4 และ 5 ก่อนคริสตกาลมีความรุ่งเรืองมาก ได้ช่ือว่าเป็นศูนย์ แห่งความเจริญงอกงามของอารยธรรมตะวันตก และเป็นต้นกาเนิดของแนวคิดทางด้านปรัชญา การเมือง การปกครองของนครรัฐกรีกสมัยน้ันเป็นไปในแบบประชาธิปไตยโดยตรง พลเมืองกรีกทุก คนมีสิทธิ และมีส่วนร่วมในการปกครอง และกิจกรรมของรัฐของตน สถาบันการปกครองเกือบทุก สถาบันเปิดโอกาสให้พลเมืองทุกคนมีส่วนร่วมโดยเสมอภาคกัน เสรีภาพในด้านความคิดเห็นทางการ เมืองมีอย่างไพศาล เพราะชาวกรีกมีทรรศนะว่า เป็นหน้าท่ีของพลเมืองทุกคนท่ีจะต้องเอาใจใส่ใน กจิ การบา้ นเมือง เพราะเขาคอื ส่วนหน่งึ ของรฐั และรัฐคือส่วนหน่ึงของตวั เขา
33 คาถามทา้ ยบท 1. ประวัติการปกครองนครรัฐกรีก และรูปแบบการเมืองการปกครองของนครรัฐกรีก มี ลักษณะเปน็ อยา่ งไร ? 2. นครรัฐสปาร์ตา มีลักษณะการเมือง การปกครองอย่างไร และมีความแตกต่างจากนครรัฐ เอเธนส์ อย่างไร ? 3. องคก์ รทางการปกครองของนครรฐั เอเธนส์ประอบดว้ ยก่ีองค์การ อธบิ ายพอสังเขป ? 4. แนวคิดทางการเมอื งสมยั โบราณ สามารถสรปุ ก่ีได้แนวทาง ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ? 5. จงอธิบายลักษณะการปกครองของนครเอเธนส์ มีลกั ษณะทางการปกครองอย่างไร อธิบาย มาพอสังเขป ?
34
บทที่ 3 แนวคดิ ทฤษฎกี ารเมอื งสมัยโรมนั และสมัยกลาง วัตถุประสงค์ประจาบท เมื่อศึกษาเนื้อหาในบทนแี้ ลว้ ผูศ้ กึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายนกั ปรชั ญาการเมอื งสมยั โรมันได้ 2. อธิบายนักปรัชญาการเมืองสมยั กลางได้ ขอบข่ายเน้อื หา 1. นกั ปรชั ญาการเมืองสมยั โรมนั เชน่ ซิเซโร ซินีคา มาร์คัส เออเรลิอสุ และโพลีเบียส 2. นักปรชั ญาการเมืองสมัยกลาง เช่น เอากุสตีน หรอื เอากสุ ตีนสุ และอาควีนัส สือ่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. การบรรยายในช้นั เรยี นด้วยโปรแกรม PowerPoint Presentation 3. เว็บไซตท์ ่เี ก่ียวข้อง 4. การสอนออนไลน์ Mircrosoft Teams การวดั และประเมนิ ผล 1. การแสดงความคดิ เห็นในชั้นเรียน 2. การถามตอบในช้นั เรยี น 3. การทาแบบฝกึ หดั ท้ายบท 4. การตอบคาถามรายบคุ คลในสือ่ ออนไลน์
35 บทนา หลังจากท่ีโรมมันได้รับอิสระจากพวกอัทรัสคันแล้วก็สถาปนาการปกครองเป็นแบบ สาธารณรฐั ประกอบดว้ ยสถาบนั การปกครอง ดังน้ี 1.. กงสลุ มี 2 คนแต่เดิมต้องเป็นพวกแพทริเชียน และได้รับการคัดเลือกจากสภาประชาชน อยู่ในตาแหนง่ คราวละ 1 ปี ท้งั สองคนเป็นประมุขฝ่ายบริหารและมีอานาจเท่าเทียมกันมีอานาจเต็มท่ี ท้ังในยามสงบและยามสงครามแต่ในยามสงครามกงสุลอาจมอบให้ใครก็ได้เป็นเผด็จ การให้มีอานาจ สูงสุดคราวละ 2 เดือนทั้งน้ีโดยคาแนะนาเห็นชอบของสภาซีเนต ถ้ากงสุลท้ังสองมีเหตุบาดหมางกัน สภาซีเนตจะเปน็ ผู้ตัดสนิ ต่อมาพวกเพลเบยี นไดต้ อ่ ส่เู รียกร้องจนพวกแพทริเชียนต้องยอมให้แบ่งกงสุล เป็นแพทรเิ ชียน 1 คน เพลเบยี น 1 คน 2.. สภาซีเนต ประกอบด้วยสมาชิก 300 นายเรียกว่าซีเนเตอร์ สมาชิกทั้งหมดเป็นพวก แพทริเชียนได้รับการแต่งตั้งโดยกงสุลให้อยู่ในตาแหน่งตลอดชีวิต สภาซีเนตควบคุมการคลังของรัฐ การป้องกันรัฐทาหน้าที่ตัดสินคดีความของประชาชนและมีอานาจยับยั้งนโยบายหรือมติของสมัชชา ประชาชนอยู่จนถึง 287 ปีก่อน คริสตกาล 3. สมัชชาประชาชน คือ สภาที่ประกอบด้วยสมาชิกท่ีได้รับเลือกตั้งโดยพลเมืองชายทั้งปวง สมาชิกมาจากทั้งพวกแพทริเชียนและเพลเบียนมีอานาจแต่งตั้งกงสุลและเจ้าหน้าท่ีบริหารชั้นสูงและ เสนอร่างกฎหมายใหส้ ภาซีเนตพิจารณา เมื่อโรมมีดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลจึงคิดเปล่ียนการปกครองเสียใหม่กล่าวคือดินแดนใดท่ีมี กษตั ริย์หรือเจา้ ผูค้ รองแคว้นอยู่กป็ ล่อยให้ดารงตาแหน่งนั้นตอ่ ไปแตก่ ็ต้องส่งส่วยให้โรมตามเดิม ส่งคน เข้าช่วยคราวสงครามยามถูกเกณฑ์ และห้ามจัดการเรื่องต่างประเทศโดยมิได้รับความเห็นชอบจาก โรม ส่วนดินแดนใดท่ีไม่มีกษัตริย์ก็ใช้วิธีจัดต้ังขึ้นเป็นมณฑลแล้วแต่งตั้งข้าหลวงเข้าไปเป็นผู้บริหาร สูงสุด ดารงตาแหน่งคราวละ 1 ปีมีกฎบัตรระบุสิทธิและหน้าที่อย่างชัดเจน แต่สุดท้ายก็เกิดความ วุ่นวายจนทาให้คนพูดถึงการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐในที่สุดและแล้วจึงได้ เกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสาธารณรัฐมาเป็นเอกาธิปไตยหรือออกุสตุสซ่ึงเป็น ตาแหน่งจกั รพรรดิพระองค์แรกของโรมันในปี 27 ก่อนคริสตกาล จะขอนาเสนอแนวคิดทางการเมือง ของนกั ปรชั ญาการเมอื งดงั ตอ่ ไปน้ี
36 1.นักปรัชญาทางการเมืองสมัยโรมัน 1.1 ซเิ ซโร (Cicero) ซิเซโร มีชื่อเต็มว่า มาร์คุส ทุลลิอุส ซิเซโร (Marcut Tullius Cicero) เกิดเม่ือ 106-43 B.C. ทปี่ ระเทศอิตาลีเปน็ ลกู ชาวนาท่ียากจนต้องอาศัยการศึกษาและเรียนรู้ด้วยตัวเองท้ังส้ิน เพราะกาพร้า มารดาตง้ั แตย่ งั เลก็ จะเหน็ วา่ เมธีปราชญ์ ผนู้ ้เี ป็นบคุ คลทีต่ อ่ สู้ชวี ิตอยา่ งโชกโชนเรียนรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ จะตอ้ งอาศยั ประสบการณใ์ นภาคปฏิบตั ิและการเข้าถึงความเป็นจริงทางสังคม ซิเซโร เป็นนักนิติศาสตร์และรัฐบุรุษที่มีช่ือเสียงและเกียรติคุณดีเด่นพอสมควรแห่งกรุงโรม เป็น ตัวแทนเผยแพร่แนวความคิดสตอยอิกส์ในสมัยสาธารณรัฐตอนปลาย หลักการของเขาเน้นเรื่อง กฎหมาย,ธรรมชาติ,อาณาจักรพิภพ และความเสมอภาคของบุคคล หนังสือสาคัญที่เขียนไว้ได้แก่ Republic, On the Commonwealth และ Laws ซิเซโรมีความเลื่อมใสและยกย่องความเลอเลิศของรูปการปกครองแบบผสมของอาณาจักร โรมันเช่นเดียวกับโพลีเบียส และเขาเองก็แลเห็นว่ารูปการปกครองแบบเฉพาะต่าง ๆ นั้น มีการ หมนุ เวียนเป็นวฏั จกั รจาก ราชาธิปไตยสู่ทุชนาธิปไตย และเร่ือย ๆ ไปจนกระทั่งถึงประชาธิปไตยและ ฝูงชนท่ีบ้าคล่ังแล้วเวียนกลับสู่ราชาธิปไตยอีกคร้ังหนึ่ง แม้ว่าซิเซโรจะพยามยามอธิบายวัฏจักรแห่ง การปกครองจากความเข้าใจของเขาเอง แต่แนวการอธิบายเป็นไปในแนวเดียวกับโพลีเบียส ซิเซโรไม่ เช่ือถือในรูปการปกครองเฉพาะแบบ เขามีความเห็นว่า“รัฐธรรมนูญของโรมัน (ซึ่งกาหนดรูปการ ปกครองแบบผสมระหว่างราชาธปิ ไตย อภชิ นาธปิ ไตย และประชาธิปไตย)เป็นรูปแบบการปกครองที่มี เสถียรภาพและสมบูรณ์ท่ีสุด เท่าที่ประสบการณ์ทางการเมืองเคยมีมา” ( Curtis, Michael, ed. 1961. P, 128.) ความสาคัญของความคิดของซิเซโรทางการเมือง ได้แก่ ความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมาย ธรรมชาติเขาเชื่อว่ากฎหมายธรรมชาติเป็นกฎหมายแห่งจักรวาลเกิดขึ้นโดยพระผู้เป็นเจ้า ซ่ึงเป็น ผู้ปกครองโลกกฎหมายน้ีไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทุกสถานการณ์และทุกที่ พันผูกคนทุกคนและรัฐทุก รัฐ บทบัญญัติกฎหมายใดก็ตามที่บัญญัติข้ึนมาด้วยมนุษย์ ถ้าขัดกับกฎหมายธรรมชาติจะต้องถือว่า บทบัญญัติกฎหมายนั้นมิใช่กฎหมายซิเซโรเขียนไว้ใน On the Commonwealth ว่า ในความเป็น จริงมีกฎหมายท่ีแท้จริงอยู่เพียงหน่ึง ช่ือว่าสัจจเหตุผล (Right reason) ซ่ึงเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติ,ใช้กบั คนทุกคน,ไม่มีการเปลย่ี นแปลง และคงอยู่ชั่วนิรันดร สิ่งที่กฎหมายนี้ต้องการคือความ ปรารถนาที่จะให้คนปฏิบัติหน้าท่ีของเขาและข้อห้ามของกฎหมายน้ีเป็นสิ่งท่ียึดเหน่ียวคนให้พ้นจาก
37 การประพฤติผดิ ทง้ั ข้อตอ้ งการและข้อห้ามของกฎหมายนี้มีอิทธิพลต่อคนดีเสมอ แต่ไม่มีผลอันใดเลย ต่อคนเลว เป็นเร่อื งบาปในการที่จะเปลยี่ นแปลงกฎหมายน้ี หรอื แม้แต่การที่จะขัดขวางไม่ให้กฎหมาย นไี้ ด้บังคับใช้กเ็ ป็นเรือ่ งทีไ่ มถ่ กู ต้อง (Curtis, Ibid p, 128 ) ซเิ ซโรเช่ือว่า ความยุติธรรมกาเนิดจากและ ค้นพบได้ในกฎหมายธรรมชาติ คนฉลาดสามารถใช้เหตุผลเป็นมาตรการวัดว่าสิ่งใดหรือการกระทาใด ยุตธิ รรมหรืออยุติธรรม ใครก็ตามท่เี ลอื่ มใสและศรัทธาในกฎหมายอื่นอันผิดไปจากกฎหมายธรรมชาติ เรียกได้ว่าเป็นคนซ่ึงปราศจากความยุติธรรม ซิเซโรกล่าวว่า “ความยุติธรรมมีอยู่เพียงหนึ่งเดียว เป็น ส่ิงซ่ึงผูกมัดสังคมมนุษยชาติท้ังหมดวางรากฐานอยู่บนกฎหมายธรรมชาติอันได้แก่สัจจเหตุผลซึ่งเป็น สงิ่ ทสี่ อนให้มนษุ ยไ์ ดท้ ราบวา่ ส่งิ ใดควรปฏบิ ัตหิ รือละเว้น (Curtis, Ibid p, 13 ) ในเรื่องสถานการณ์ของบุคคลนั้น ซิเซโรกล่าวว่าคนเราทุกคนเท่ากัน ความเท่ากันของเขา ไม่ไดห้ มายความว่าเทา่ กนั ในเรื่องของวัตถุ เช่นทรัพยส์ มบตั ิ แต่เป็นความทัดเทียมกันในความสามารถ ที่จะเป็นเจ้าของสัจจเหตุผลที่จะทาให้เขาสามารถหยั่งรู้กฎหมายธรรมชาติความเสมอภาคกันน้ีมีใน ความสามารถของคนทุกคนทจ่ี ะแยกวา่ สงิ่ ใดถกู สง่ิ ใดผิด ซิเซโรหมายถึงความเท่ากันทางด้านจิตใจและ ศลี ธรรมหรือเท่ากันในส่วนท่ีเกีย่ วกบั กฎหมายธรรมชาติ รัฐเป็นประชาคมแห่งศีลธรรมมีจริยธรรมเป็นจุดหมาย รัฐเปรียบเสมือนองค์การแห่งความ ร่วมมือซ่ึงมีประชาชนในรัฐท้ังหมดเป็นเจ้าของรัฐถูกจัดต้ังขึ้นเพ่ือสนองความต้องการของสมาชิกใน การบริการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อานาจต่าง ๆ ของผู้ปกครองหรือผู้อยู่ในตาแหน่งคืออานาจร่วม ของประชาชนนั่นเอง ประชาชนเป็นผู้รวบรวมมอบให้ กฎหมายแห่งรัฐเป็นผลผลิตของคนในรัฐ อย่างไรก็ตามกฎหมายแห่งรัฐนี้จาต้องข้ึนอยู่กับกฎหมายธรรมชาติ ซึ่งบัญญัติข้ึนโดยพระเจ้าและอยู่ เหนือทางเลือกของคนและสถาบันต่าง ๆ ของรัฐ การใช้กาลังบังคับให้คนในรัฐปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นสิ่งธรรมดา ซ่ึงเกิดขึ้นเสมอ ๆ ในรัฐต่าง ๆ แต่จะถูกต้องและยุติธรรมต่อเมื่อกาลังบังคับน้ันถูกใช้ เพอื่ ผดงุ ไวซ้ ง่ึ สัจจเหตผุ ลและความยตุ ธิ รรม ซิเซโรก็เช่นเดียวกับโพลีเบียส ศรัทธาว่า รูปการปกครองท่ีดีท่ีสุด คือ รูปการปกครองแบบ ผสมของระบบราชาธิปไตย,อภิชนาธิปไตย และประชาธิปไตย (Harmon, 1964 P,85-6) ระบบการ ปกครองแบบผสมนเ้ี ทา่ น้ัน จงึ จะสามารถสรา้ งเสถียรภาพและป้องกันการปกครองโดยใช้กาลังอานาจ เผด็จการซึ่งซิเซโรต่อต้านอย่างมาก รัฐเป็นกิจการของประชาชนตั้งอยู่เพื่อรักษาไว้ซึ่งสัมมาร่วม (Common good) และความยุติธรรม เมอื่ ยอมรบั กนั วา่ คนทุกคนมีความทัดเทียมกันในการใช้เหตุผล
38 และเข้าใจกฎหมายธรรมชาติ คนทุกคนจึงควรมีส่วนร่วมในการใช้อานาจทางการเมืองด้วย ซิเซโร ไดร้ ับการยกย่องว่าเปน็ ผู้ตอ่ ต้านลัทธเิ ผด็จการท่เี ขม้ แขง็ ผหู้ น่ึง รูปแบบการปกครองในอุดมคติของซิเซโร ควรเป็นแบบผสมระหว่างราชาธิปไตย + อภิ ชนาธิปไตย + ประชาธิปไตย ให้มีการเลือกต้ังผู้ปกครอง ผู้บังคับบัญชา และบรรดาข้าราชการ กฎหมายท่ีตราข้นึ จะต้องเพอ่ื ประชาชนเท่าน้นั 1.2 ซินคี า (Seneca) ซินีคา (3 ก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 65) เป็นเมธีสตอยอิกส์ที่มีช่ือเสียงมากในสมัยอาณาจักร โรมันระยะแรก แนวความคิดของเขาคล้ายคลึงกับซิเซโรอยู่ไม่ใช่น้อย ผลงานท่ีส่งเขาให้เด่นข้ึนมาใน บรรดานักทฤษฎีการเมือง คือ Inquiries Concerning Nature, และ Moral Essays ซินีคาเช่ือถือใน ความเสมอภาคของมนุษย์ ธรรมชาติได้สร้างมนุษย์ให้ทัดเทียมกันในด้านความสามารถท่ีจะเข้าถึง คุณธรรมความเป็นไพร่เป็นนายเป็นความแตกต่างอันเกิดจากบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่คนสร้างขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า “ความโชคไม่ดีเท่าน้ันท่ีทาให้คนบางคนต้องเป็นทาส” ซินีคาอ้างว่า ครั้งหนึ่ง มนุษย์เรา อยู่อย่างมีความสุขและมีจิตใจท่ีบริสุทธ์ิในสมัยสังคมดึกดาบรรพ์ซ่ึงยังไม่รู้จัก “ทรัพย์สิน ส่วนตัว” ทุกสิ่งทุกอย่างมนุษย์แบ่งปันกันใช้และเป็นเจ้าของร่วมกันในสังคมยุคแรกนั้น มีผู้ปกครอง เหมอื นกัน แตเ่ ป็นผู้ปกครองท่ีฉลาดและยุติธรรม มิได้แสวงประโยชน์ใส่ตัว แม้ว่าชีวิตของคนสมัยนั้น จะไม่พบกับศีลธรรมที่สมบรู ณ์ แต่กม็ ีความสขุ และประสบกับความดอี ันเป็นผลจากความบริสทุ ธ์ิ ต่อมาเมื่อคนเกิดตัณหา เกิดความละโมบ รู้จักคาว่า “ทรัพย์สินส่วนตัว” ความชั่วร้ายจึงบัง เกิดขึน้ จากการแสวงประโยชนใ์ ส่ตัว ผู้ปกครองท่ีดีกลายเป็นทรราชย์กดขี่ประชาชนไป ความจาเป็นที่ จะต้องมีและกฎหมายเป็นมาตรการควบคุมและแก้ไขความช่ัวร้ายจึงเกิดข้ึน ซินิคายืนยันว่า สถาบัน การปกครองเกิดข้ึนเพราะความชั่วของคน ซินีคากล่าวว่า “ชีวิตท่ีผาสุกเกิดขึ้นเมื่อมีความสมบูรณ์ใน การเล้ียงตนเอง และความเงียบสงบที่ม่ันคง ชีวิตอันผาสุกนี้ข้ึนอยู่กับสิ่ง ๆ เดียวกันคือเหตุผลอัน สมบูรณ์ สัจจเหตุผลช่วยหล่อเล้ียงดวงจิตให้แข็งแกร่งเผชิญกับโชคชะตาโดยไม่หวั่นเกรง” (Curtis, Michael, ed. 1961 P, 104) ซนิ ีคาไม่ได้กล่าวถึงรูปแบบการปกครองใดว่าดหี รือเหมาะสมเพราะเขาเชื่อว่ารูปการปกครอง นั้นไม่สามารถวัดได้ว่าดีหรือเลว ส่ิงท่ีควรใช้เป็นมาตรฐานวัดรูปการปกครอง คือ อัตถประโยชน์ ถ้า รูปการปกครองใดอานวยประโยชน์กับคนมากที่สุดรูปการปกครองนั้นจะได้รับการยอมรับว่าดีที่สุด
39 อย่างไรก็ตาม ซินีคาไม่มีความเชื่อถือในการปกครองประชาธิปไตย เพราะเขาคิดว่ารูปการปกครอง แบบนั้นมักจะแปรเปลี่ยนไปสู่การปกครองโดยฝูงชนที่บ้าคลั่ง (Mob-rule) เขาเช่ือว่า “รูปการ ปกครองแบบผูป้ กครองใช้อานาจรนุ แรงยังดีเสียกว่าปกครองทข่ี ึ้นอยกู่ ับประชาชน เพราะเหตุว่าฝูงชน นัน้ ชวั่ รา้ ยเลวทรามไรค้ วามกรณุ าปราณกี ว่าทรราชยเ์ สียอีก” ( Sabine, 1965. P, 175) ซนิ คี าเช่นเดียวกบั สตอยอกิ ส์คนอน่ื ๆ มีความเชือ่ ถอื ในสงั คมโลก ถือว่า คนทกุ คนเป็นสมาชิก ของรัฐเดียวกันคือรัฐพิภพ นอกเหนือไปจากรัฐที่แบ่งแยกกันเองของมนุษย์ อาณาจักรพิภพน้ีผูกพัน สมาชิกไว้ด้วยศีลธรรมและศาสนา ไม่ใช่บทบัญญัติแห่งกฎหมาย ความผูกพันต่อสังคมพิภพน้ียิ่งใหญ่ และเหนือว่ารัฐธรรมดาหรือจะกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ “คนมีพันธะทางจิตใจ แต่เป็นพันธะท่ีมีต่อสังคม แหง่ มนุษยชาติซึ่งย่ิงใหญ่กว่า ไม่ใช่เฉพาะต่อราษฎรร่วมรัฐของตนเท่าน้ัน” (Harmon, 1964. P, 87) ความมีค่าของชีวิตขึ้นอยู่กับการอุทิศตนให้กับคุณธรรม,ธรรมชาติ และพระเจ้า ไม่ใช่จากการอุทิศตน บริการเพ่อื นรว่ มชาติของตน 1.3 มารค์ สั เออเรลิอุส (Marcus Aurelius) มาร์คัส เออเรลิอุส (ค.ศ. 212-180 ) เป็นจักรพรรดิแห่งอาณาจักรโรมัน ในระหว่างปี ค.ศ. 160 – 180 ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาใช้ในการศึกสงคามทาลายล้างปัจจามิตร วรรณกรรมช้ินสาคัญของ เขาคือ Meditations ข้อเขียนในหนังสือเล่มนี้ไม่ได้แสดงเลยว่าผู้เขียนเป็นจักรพรรดิผู้เรืองอานาจ เปน็ หนังสือท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปทางสังคมและการเมือง แต่เป็นบรรยากาศแห่งการปลดปล่อย ชวี ิตไปตามครรลองแห่งธรรมชาติ บรรยายถึงประสบการณ์ของเขาเอง และความต้องการที่จะส่ังสอน ใหค้ นกล้าเผชิญกบั ความตายอยา่ งกล้าหาญ เขายอมรับหลักปรัชญาของสตอยอิกส์ ในเร่ืองอาณาจักร พิภพ กฎหมายธรรมชาติ และความเสมอภาคระหวา่ งมนุษยใ์ นการเข้าถึงกฎหมายธรรมชาติ ( Curtis. Michael, ed. 1961 p. 98.) เออเรลิอุสมีความเชื่อม่ันว่าคนสามารถท่ีจะขจัดทุกข์และความยุ่ งยากท้ังหลายถ้าหากเขา ผลักไสตัวเองให้ใช้ชีวิตตามลิขิตของจิตของเขาเอง จุดหมายปลายทางของชีวิตท่ีดีคือความเงียบสงบ (Tranquility) ซ่ึงเป็นกฎเกณฑ์อันประเสริฐท่ีจิตจะพึงมี ปรัชญาเป็นส่ิงที่สามารถขัดเกลาจิตมนุษย์ และป้องกันมนุษย์ไม่ให้กระทาสิ่งที่รุนแรงและเป็นอันตราย ถ้าหากว่าคนปฏิบัติตนสอดคล้องกับ ธรรมชาติ เขาจะไม่มีวันกระทาสิ่งใดท่ีช่ัวช้าเลย คนทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันนั่นคือกฎหมาย
40 ธรรมชาติ เหตุผลคือหลักการสาคัญของกฎหมายสากลนี้ เหตุผลจะสอนให้คนทาในส่ิงท่ีควรทา และ ละเว้นในส่ิงท่ีพึงละเว้น เออเรลิอุสมีความเชื่อว่า “สิ่งใดก็ตามท่ีไม่เป็นอันตรายแก่รัฐ ไม่เป็นอันตราย ต่อพลเมืองเช่นกัน” ในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับชีวิตท่ีมีความสุขนั้น เออเรลิอุสเขียนไว้ว่า “คนสามารถท่ีจะมี ชีวิตที่มีความสุข หากว่าเขาสามารถดาเนินชีวิตไปในทางที่ถูก คิดและประพฤติในส่ิงท่ีชอบ ความคิด ชอบและประพฤตชิ อบนี้เหมือนกันหมดในดวงจิตของพระเจ้า ของมนุษย์ และของสัตว์โลกที่มีเหตุผล ท้ังหลาย” เออเรลอิ ุสหมายความวา่ มาตรการในการวดั วา่ สิ่งใดถกู สิ่งใดผิดเป็นเช่นเดียวกันหมดในทุก หนทุกแหง่ ทัว่ จกั รวาล เออเรลิอุสเช่ือว่า มีจักรวาลอยู่เพียงหน่ึงเดียว ประกอบขึ้นด้วยทุกส่ิงทุกอย่างมีพระเจ้า พระองค์เดียวเป็นผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง บรรดาสัตว์โลกท่ีมีเหตุผลและความเฉลียวฉลาด ยึดถือ กฎหมาย เหตุผล และสจั จธรรมประเภทเดียวกนั หมด เม่อื มนษุ ยย์ อมรับว่าเขาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ จักรวาลและประพฤตสิ อดคล้องกับกฎหมายธรรมชาติ เขาจะพบว่าไม่มีสิ่งใดที่จะทาความไม่พึงใจกับ ตัวเขาเลย 1.4 โพลีเบียส (Polibius) โพลีเบียส (204 – 111 ก่อนคริสตกาล) เป็นบุตรของรัฐบุรุษคนสาคัญแห่งเมืองอาร์คคาเดีย (Arcadia) โพลเี บยี สใช้ชีวติ ทางการเมอื งเชน่ เดียวกับบดิ า ตัวเขาได้เป็นสมาชิกคนสาคัญของสันนิบาต เอชียน (Achaean League) โพลีเบียสถูกจับกุมเป็นเชลยจากกรีกมาไว้ที่โรม เขาโชคดีได้เป็นเพ่ือน สนิทของสคพิ โิ อ (Scipio) ผู้มีอิทธิพลในโรมขณะน้ัน จึงมีโอกาสเข้าสู่สังคมของนักการเมืองช้ันสูงของ โรม ผลงานชิ้นสาคญั ของเขาคอื Universal History โพลีเบียสได้พยายามค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ทาให้โรมรุ่งเรืองเป็นมหาอาณาจักรที่ย่ิงใหญ่ ในที่สุดเขาก็ได้คาตอบว่า เหตุที่โรมเรืองอานาจเป็นเพราะความมีรัฐธรรมนูญเป็นเลิศ สามารถขจัด ปัญหาต่าง ๆ และสง่ิ ช่ัวร้ายตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากรปู การปกครองแบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะได้ รูปการปกครองแต่ละแบบตามทรรศนะของโพลีเบียสได้สร้างสิ่งช่ัวร้ายขึ้นมาทาลายตัวของ มันเองโดยธรรมชาติ จากการศึกษาประวัติศาสตร์การปกครองของกรีก โพลีเบียสสรุปว่า รูปการ ปกครองมีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร แรกเร่ิมเดิมทีการปกครองเป็นรูปราชาธิปไตยมีกาลังเป็นเคร่ือง สนับสนุน ในขณะท่ีกษัตริย์ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม ประชาชนก็ให้ความเคารพและความซื่อสัตว์ ศรัทธา ต่อมากษัตริย์มักเหลิงอานาจและปกครองตามอาเภอใจ กดขี่ราษฎร รูปการปกครองจึง เปลีย่ นเปน็ ทุชนาธปิ ไตยหรือทรราชเปน็ เหตใุ หม้ คี ณะบคุ คลซงึ่ มคี วามเฉลยี วฉลาดหรืออานาจราชศักด์ิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214