Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วรรณกรรมพื้นบ้าน

Description: วรรณกรรมพื้นบ้าน

Search

Read the Text Version

ชอ่ื หนงั สอื วรรณกรรมพนื้ บ้าน : มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของชาติ จัดทำ�โดย กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม จำ�นวนหนา้ ๑๗๖ หน้า พิมพค์ ร้งั ที่ ๑/๒๕๕๙ จำ�นวน ๑,๐๐๐ เล่ม พมิ พ์เมือ่ มีนาคม ๒๕๕๙ ISBN 978-616-543-376-1 จดั พมิ พ์โดย สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ภาพปก จิตรกรรมฝาผนังเร่ือง สุวรรณสังขชาดก (สงั ข์ทอง) วดั พระสงิ ห์ จงั หวัดเชียงใหม่

สาร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวฒั นธรรม ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดต่อเน่ืองมายาวนานประเทศหน่ึง ในโลก ความรํ่ารวยและงดงามทั้งทางด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติเป็นเสน่ห์ทำ�ให้ประเทศไทยเป็นท่ีกล่าวขาน มาต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมรดกภูมิปัญญาของคนไทยที่ได้สร้างสรรค์ ถ่ายทอดมารุ่นต่อรุ่น ท้งั ที่จบั ตอ้ งได้ อันไดแ้ ก่ ผลงานด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม และที่จบั ต้องไมไ่ ด้อนั ไดแ้ ก่ ความรู้ ความเชยี่ วชาญ ทกั ษะ ในสาขาต่าง ๆ จนสามารถผลติ ผลงานชั้นเลศิ ทไ่ี ม่มีใครเสมอเหมือน เช่น ดนตรี การแสดง ผา้ ทอ เครอื่ งจักสาน นทิ าน ตำ�รา นอกจากนี้ยังมีประเพณี กีฬา การเล่นพนื้ บ้าน อาหาร การแพทยพ์ น้ื บา้ น ภาษา ฯลฯ ท่ีหลอ่ หลอมและสร้างความเป็นชาตทิ ่ีมวี ัฒนธรรมงดงามดงั ทเี่ ปน็ อย่ใู นปัจจบุ ัน กระทรวงวัฒนธรรม จึงกำ�หนดนโยบายให้ประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ ชาติเพ่ือเป็นหลักฐานสำ�คัญของชาติ คงคุณค่าและอัตลักษณ์ไทย เป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการ และ เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้เกิดความภาคภูมิใจ และร่วมรักษาวัฒนธรรมของตนให้คงอยู่ ในวิถีการดำ�เนินชีวิตของคนไทยต่อไป รวมท้ังเป็นการตอบสนองนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบำ�รุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการนำ�ทุนทางวัฒนธรรมของประเทศมาสร้างคุณค่าทางสังคมและเพ่ิม มลู ค่าทางเศรษฐกิจ หนงั สอื มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ซงึ่ รวบรวมองคค์ วามรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ ตามสาขาของมรดก ภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม ทัง้ ๗ สาขา ท่ไี ด้รบั การข้นึ ทะเบยี นตง้ั แต่ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒-๒๕๕๘ จงึ เป็นประโยชน์ ในการศึกษา ค้นควา้ ต่อยอดความรู้ในเรอื่ งภมู ิปัญญาของไทยแขนงตา่ ง ๆ ให้กว้างขวางยงิ่ ขึน้ (นายวีระ โรจนพ์ จนรัตน์) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวฒั นธรรม ก

สาร ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมีภารกิจหนึ่งท่ีสำ�คัญคือการรักษา สืบทอด วัฒนธรรมของชาติและความหลากหลาย ของวัฒนธรรมท้องถ่ินให้คงอยู่อย่างมั่นคง ในการดำ�เนินงานท่ีผ่านมา หน่วยงานต่างๆ ภายใต้กระทรวงวัฒนธรรม ไดม้ งุ่ เนน้ การด�ำ เนนิ งานในลกั ษณะการศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั การอนรุ กั ษ์ การฟนื้ ฟกู ารพฒั นา การสง่ เสรมิ การถา่ ยทอด และการแลกเปลี่ยน จนประสบผลสำ�เร็จในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม กระแสโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน ส่งผลกระทบ ต่อมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆ อย่างรวดเร็วทั้งในด้านท่ีเส่ียงต่อการสูญหาย การนำ�มรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไปใช้ในทางท่ีบิดเบือนหรือไม่เหมาะสมและอาจเป็นเหตุให้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เหล่านนั้ ตอ้ งสูญเสยี ซ่งึ คุณคา่ และอตั ลกั ษณ์ไป เปน็ ตน้ การดำ�เนินงานข้ึนทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติของกระทรวงวัฒนธรรม กรมส่งเสริม วัฒนธรรม จึงเป็นมาตรการหน่ึงท่ีสำ�คัญให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปตระหนักถึงคุณค่าและเกิดความภาคภูมิใจ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ซง่ึ นอกจากจะเปน็ การเกบ็ บนั ทกึ องคค์ วามรตู้ า่ งๆไวเ้ ปน็ หลกั ฐานส�ำ คญั ของ ชาตแิ ลว้ ยงั ตอ้ งมกี ารเผยแพรแ่ ละถา่ ยองคค์ วามรเู้ หลา่ นใี้ หแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนไดท้ ราบถงึ สาระส�ำ คญั อนั เปน็ แกน่ แท้ อยา่ งจริงจงั รวมถึงสามารถนำ�ไปพฒั นาตอ่ ยอดอยา่ งสร้างสรรค์ได้ อนั จะเปน็ หนทางหน่งึ ในการปกปอ้ งคุม้ ครองให้ มรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมคงอยูต่ ่อไปอยา่ งเหมาะสมกบั ยุคสมยั การจัดพิมพ์หนังสือชุด มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติครั้งน้ี เป็นการรวมมรดกภูมิปัญญาทาง วฒั นธรรมของชาติท่ไี ด้รบั การข้ึนทะเบยี นแล้วตดิ ต่อกนั เปน็ เวลา ๗ ปี รวมท้งั สิน้ ๓๑๘ รายการ เพื่อเผยแพร่แก่ สถานศึกษา หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และประชาชนท่วั ไป กระทรวงวัฒนธรรม จงึ หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่า หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ท้ัง ๗ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อคนไทยทุกคนในการส่งเสริมและ สบื สานมรดกวัฒนธรรมของชาติใหค้ งอยูต่ อ่ ไป (ศาสตราจารยอ์ ภินนั ท์ โปษยานนท)์ ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม ข

ค�ำ นยิ ม กรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ในฐานะหนว่ ยงานท่ีมหี นา้ ทส่ี ่งเสรมิ และด�ำ เนนิ งาน การปกป้อง ค้มุ ครองมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมทั้งในระดับท้องถ่ิน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ไดร้ เิ ร่ิมการ ขนึ้ ทะเบยี น มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยเร่มิ จากสาขาศิลปะการแสดงและงานช่างฝีมือ ดง้ั เดิม ส่วนสาขาวรรณกรรมพนื้ บ้านและสาขากฬี าภูมิปัญญาไทยเรมิ่ ดำ�เนนิ การขนึ้ ทะเบียน ต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ สาขาแนวปฏบิ ตั ทิ างสงั คมพธิ กี รรมและงานเทศกาล และสาขาความรแู้ ละแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั ธรรมชาตแิ ละจกั รวาล เริ่มด�ำ เนินการขึ้นทะเบียน ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๔ และสาขาภาษาได้ดำ�เนนิ การข้นึ ทะเบียน ตั้งแตป่ ี พ.ศ.๒๕๕๕ การจัดพิมพ์หนังสือชุด มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติคร้ังนี้ เป็นการรวบรวมมรดกภูมิปัญญา ทางวฒั นธรรมของชาตทิ ไ่ี ดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นแลว้ โดยหนงั สอื “วรรณกรรมพนื้ บา้ น : มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม ของชาติ” เป็น ๑ ใน ๗ เล่มชุดหนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ในการนี้กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ขอขอบคุณศาสตราจารย์ศิราพร ณ ถลาง ประธานกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สาขาวรรณกรรมพืน้ บ้านและกรรมการผทู้ รงคุณวุฒฯิ ทุกท่านที่ได้พิจารณาคัดเลือกมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม อนั ทรงคณุ คา่ ของไทย รวมทงั้ ขอขอบคณุ ผเู้ รยี บเรยี งเนอื้ หาสาระของมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมดา้ นวรรณกรรม พ้นื บ้านทกุ ทา่ นที่ได้ประมวลองค์ความรเู้ พอ่ื ประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศชาติ กรมส่งเสริมวัฒนธรรมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเพ่ิมพูนความรู้ให้แก่ผู้ท่ีสนใจและกระตุ้นให้เกิด ความตระหนักถึงความสำ�คัญและความภาคภูมิใจในมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ อันจะมีผลให้เกิดการ ส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรมของชาติ ใหด้ �ำ รงอยู่คกู่ บั ชาติไทยสบื ไป (นางพมิ พ์รวี วฒั นวรางกูร) อธบิ ดกี รมสง่ เสริมวัฒนธรรม ค

คำ�นำ� วรรณกรรมพ้ืนบ้าน: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ เป็นหนังสือที่รวบรวมรายการวรรณกรรม พน้ื บา้ นทคี่ ณะกรรมการขน้ึ ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ สาขาวรรณกรรมพน้ื บา้ นไดร้ ว่ มประชมุ ปรึกษาหารือกันเพื่อคัดสรรวรรณกรรมพื้นบ้านท่ีเป็นเร่ืองที่รู้จักแพร่หลายในระดับชาติ ระดับภูมิภาค หรือระดับ ทอ้ งถนิ่ ทม่ี คี วามส�ำ คญั ด�ำ รงอยแู่ ละมบี ทบาทในวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ และมกี ารน�ำ มาผลติ ซ�้ำ ในรปู แบบ ต่างๆ ในปจั จบุ ัน การขึ้นทะเบียนรายการวรรณกรรมพ้ืนบ้านในฐานะมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติได้เร่ิมดำ�เนินการ มาต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ เกณฑ์หลักที่คณะกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ฯิ ใชใ้ นการคดั สรร คอื พิจารณาวรรณกรรมพน้ื บ้าน เร่ืองท่ีรับรู้ร่วมกันในหลายภูมิภาคในประเทศไทย เช่น สังข์ทอง หรือเร่ืองเด่นๆ ที่รับรู้กันอย่างแพร่หลายในแต่ละ ภูมิภาคท่ีมีความสำ�คัญในสังคมวัฒนธรรมท้องถ่ิน เช่น พญากงพญาพาน ตาม่องล่าย ผาแดงนางไอ่ พญาคันคาก ปแู่ สะย่าแสะ เจ้าหลวงคำ�แดง นางเลือดขาว เจา้ แม่ล้ิมกอเหนย่ี ว เป็นต้น อนึง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะกรรมการฯ สาขาวรรณกรรมพน้ื บ้าน ได้เสนอให้กรมสง่ เสริมวฒั นธรรมจัดพมิ พ์ หนังสือรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ นพน้ื บ้านทข่ี ึ้นทะเบยี นไปแล้วใน พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ จำ�นวน ๔๓ รายการใหอ้ ยใู่ น หนังสือเล่มเดียวกัน ท้ังนี้เพ่ือให้วงวิชาการวรรณกรรมพ้ืนบ้าน วรรณกรรมท้องถ่ิน วงการคติชนวิทยา และวงการ ท้องถ่ินศกึ ษา รวมทง้ั ผู้สนใจทั่วไปไดใ้ ชอ้ ้างองิ ในฐานะทเ่ี ป็น “หนังสือรวมวรรณกรรมพืน้ บ้านไทยคดั สรร” การจัด พิมพ์ในคร้ังนั้นใช้ช่ือหนังสือว่า วรรณกรรมพ้ืนบ้านไทย: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติท่ีขึ้นทะเบียน พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เม่อื กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรมมีนโยบายจดั พมิ พห์ นงั สือทรี่ วบรวมมรดก ภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของชาติทง้ั ๗ สาขา จงึ ได้เพิม่ รายการทีข่ ึน้ ทะเบยี นวรรณกรรมพนื้ บ้านใน พ.ศ. ๒๕๕๗- ๒๕๕๘ อีก ๑๕ รายการ และใช้ช่ือหนังสือว่า วรรณกรรมพื้นบ้าน: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ นับจนถึง พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมวรรณกรรมพ้นื บ้านที่ข้ึนทะเบียนแลว้ จ�ำ นวน ๕๘ รายการ แบ่งเปน็ นิทาน ๑๔ เรือ่ ง ต�ำ นาน ๒๙ เรอื่ ง บทร้องพ้นื บ้าน ๒ บท บทสวดในพิธีกรรม ๕ รายการ สำ�นวนภาษิต ๑ รายการ และตำ�รา ๗ เรอ่ื ง อน่ึง รายการวรรณกรรมพื้นบ้านไทยยังมีอีกมากที่รอการขึ้นทะเบียนในปีต่อๆ ไป เท่าท่ีผ่านมา เน่ืองจาก เป็นการเน้นการขึ้นทะเบียนวรรณกรรมพื้นบ้านในระดับชาติและระดับภูมิภาค มากกว่าในระดับจังหวัด ในช้ันนี้ รายการวรรณกรรมพื้นบ้านไทยเท่าท่ขี ึ้นทะเบียนมาแลว้ จึงยงั หา่ งไกลจากค�ำ ว่า “ครบถว้ น” ทา่ นผู้สนใจคงต้องรอ ติดตามการขน้ึ ทะเบียนวรรณกรรมพนื้ บา้ นเรื่องอ่ืนๆ ในปีต่อๆ ไป ง

คณะกรรมการฯ สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านหวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะทำ�ให้ผู้อ่านซ่ึงเป็นคนในแต่ละท้องถิ่น ในแตล่ ะภมู ภิ าค และคนไทยในชาตภิ าคภมู ใิ จในมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวรรณกรรมของตน อกี ทงั้ หวงั วา่ จะเปน็ ประโยชน์ ในทางวชิ าการสำ�หรบั ผู้ท่ีสนใจศกึ ษาวรรณกรรมพ้นื บ้านในแตล่ ะภมู ิภาคของไทย ในนามของคณะกรรมการฯ สาขาวรรณกรรมพน้ื บา้ น ขอขอบคณุ กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมทส่ี นบั สนนุ การจดั พมิ พ์ วรรณกรรมพนื้ บา้ น: มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ ในครงั้ น้ี และขอขอบคณุ “ผรู้ ”ู้ ทง้ั หลายทเ่ี ปน็ ผเู้ ขยี น อธิบายวรรณกรรมแตล่ ะเร่ือง ทั้งในแงเ่ คา้ โครงเร่อื ง ความแพร่หลาย บทบาทความสำ�คญั ในบริบททางสงั คมท้องถ่ิน และสถานภาพการดำ�รงอยขู่ องวรรณกรรมเรอื่ งนน้ั ๆ ในสังคมไทยปจั จุบนั (ศาสตราจารย์ ศิราพร ณ ถลาง) ประธานกรรมการ ในนามคณะกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ มิ รดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม สาขาวรรณกรรมพืน้ บา้ น จ

สารบัญ หน้า ๑ บทน�ำ ๒ ๒ การขน้ึ ทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ๒ ความหมายของวรรณกรรมพื้นบ้าน ๓ ประเภทของวรรณกรรมพน้ื บ้าน เกณฑก์ ารข้นึ ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมของชาต ิ ๔ ๕ วรรณกรรมพน้ื บา้ นที่ข้นึ ทะเบยี นเป็นมรดกภมู ิปญั ญา ๗ ๘ ทางวัฒนธรรมของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๘ ๑๐ ๑๖ (แบง่ ตามประเภท) ๑๘ ๑๙ นทิ านพนื้ บ้าน ๒๑ นิทานขนุ ชา้ ง-ขุนแผน ๒๖ นทิ านดาวลูกไก ่ ๒๘ นิทานตามอ่ งลา่ ย ๓๐ นทิ านท้าวปาจิต-อรพิมพ ์ ๓๒ นิทานนายดัน ๓๔ นิทานปลาบู่ทอง ๓๖ นิทานปัญญาสชาดก ๓๘ นิทานพระรถ-เมร ี ๓๙ นทิ านพระสธุ นมโนห์รา ภาคใต้ ๔๒ นทิ านยายกะตา นทิ านวันคาร นทิ านวรวงศ ์ นทิ านศรธี นญชัย นทิ านสงั ขท์ อง ต�ำ นานพ้ืนบ้าน ตำ�นานกบกนิ เดือน ต�ำ นานกอ่ งข้าวนอ้ ยฆ่าแม ่ ฉ

สารบัญ หนา้ ตำ�นานจามเทว ี ๔๕ ต�ำ นานเจ้าแมเ่ ขาสามมกุ ๔๘ ต�ำ นานเจา้ แมล่ ิม้ กอเหนี่ยว ๕๐ ตำ�นานเจา้ แม่สองนาง ๕๒ ตำ�นานเจา้ หลวงค�ำ แดง ๕๔ ต�ำ นานชาละวัน ๕๖ ต�ำ นานนางโภควด ี ๖๐ ต�ำ นานนางเลอื ดขาว ๖๒ ต�ำ นานปแู่ สะย่าแสะ ๖๔ ตำ�นานผาแดงนางไอ ่ ๖๗ ตำ�นานพญากงพญาพาน ๖๘ ตำ�นานพญาคนั คาก ๗๑ ตำ�นานพระแกว้ มรกต ๗๓ ตำ�นานพระเจา้ เลยี บโลก ๗๕ ต�ำ นานพระเจา้ หา้ พระองค ์ ๗๗ ต�ำ นานพระธาตดุ อยตุง ๗๙ ต�ำ นานพระธาตปุ ระจ�ำ ปเี กดิ ล้านนา ๘๑ ต�ำ นานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ๘๗ ต�ำ นานพระพุทธรปู ลอยนํ้า ๘๘ ตำ�นานพระพทุ ธสหิ ิงค ์ ๙๕ ตำ�นานพระร่วง ๙๖ ต�ำ นานพันท้ายนรสงิ ห์ ๙๘ ต�ำ นานแม่นากพระโขนง ๑๐๑ ต�ำ นานสงกรานต ์ ๑๐๓ ต�ำ นานสร้างโลกภาคใต ้ ๑๐๙ ตำ�นานหลวงปู่ทวด ๑๑๒ ต�ำ นานอุรังคธาต ุ ๑๑๕ ช

สารบัญ หน้า บทรอ้ งพนื้ บา้ น ๑๑๘ กาพยเ์ ซิ้งบัง้ ไฟ ๑๑๙ เพลงแหน่ างแมว ๑๒๒ บทสวดหรือบทกลา่ วในพิธีกรรม ๑๒๖ บททำ�ขวญั ข้าว ๑๒๗ บทท�ำ ขวัญควาย ๑๒๙ บทท�ำ ขวญั ช้าง ๑๓๐ บททำ�ขวัญนาค ๑๓๒ บทเวนทาน ๑๓๔ สำ�นวนภาษิต ๑๓๗ ผญาอสี าน ๑๓๘ ต�ำ รา ๑๔๐ ตำ�ราพรหมชาต ิ ๑๔๑ ตำ�ราพิชัยสงคราม ๑๔๔ ตำ�รานรลักษณ ์ ๑๔๙ ต�ำ ราแมวไทย ๑๕๒ ต�ำ ราเลขยนั ต ์ ๑๕๗ ตำ�ราศาสตรา ๑๕๘ ปกั ขะทนึ ล้านนา ๑๖๑ รายการมรดกวรรณกรรมพน้ื บ้านของชาติ ๑๖๓ (แยกตามปที ่ีขน้ึ ทะเบยี น) คณะกรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ๑๖๕ สาขาวรรณกรรมพ้ืนบ้าน คณะทำ�งาน ๑๖๖ ซ

บทนำ� การขึน้ ทะเบยี นมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม เปน็ สมบตั อิ นั ลา้ํ คา่ ทบี่ รรพบรุ ษุ ไดส้ รา้ งสรรค์ สง่ั สม และสบื ทอดมาถงึ ลกู หลาน รนุ่ ตอ่ รนุ่ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม หมายถงึ การปฏบิ ตั ิ การเปน็ ตวั แทน การแสดงออก ความรู้ ทกั ษะ ตลอดจน เคร่อื งมอื วตั ถุ ส่งิ ประดษิ ฐ์ และพน้ื ทีท่ างวฒั นธรรมทเี่ ก่ียวเน่อื งกบั สิง่ เหลา่ นั้น ซงึ่ ชุมชน กลุ่มชน และในบางกรณี ปจั เจกบคุ คล ยอมรบั วา่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของมรดกทางวฒั นธรรมของตน มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมซงึ่ ถา่ ยทอดจาก คนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหน่ึงนี้ เป็นสิ่งซึ่งชุมชนและกลุ่มชนสร้างขึ้นใหม่อย่างสม่ําเสมอ เพื่อตอบสนองต่อสภาพ แวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ที่กลุ่มชนมีต่อธรรมชาติ สังคม และประวัติศาสตร์ของตน และทำ�ให้กลุ่มชนเกิด ความรู้สึก ส�ำ นกึ ในอัตลกั ษณท์ างวฒั นธรรมของตน การประกาศขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ เป็นหนทางหนึ่งในการปกป้องคุ้มครองเพ่ือ ไมใ่ หเ้ กดิ การสญู เสยี อตั ลกั ษณ์ และสญู เสยี ภมู ปิ ญั ญาทเ่ี ปน็ องคค์ วามรทู้ างวฒั นธรรมซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู ส�ำ คญั ของประเทศชาติ และยงั เปน็ หนทางหนงึ่ ในการประกาศความเปน็ เจา้ ของมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมตา่ งๆ ในขณะทย่ี งั ไมม่ มี าตรการ ทางกฎหมายท่ีจะคุม้ ครองมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ทงั้ นี้ วรรณกรรมพื้นบา้ น เปน็ ๑ ใน ๗ สาขาของ มรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมที่กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมประกาศข้นึ ทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ 1

ความหมายของวรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณกรรมพื้นบ้าน หมายถึง วรรณกรรมที่ถ่ายทอดอยู่ในวิถีชีวิตชาวบ้าน โดยครอบคลุมท้ังวรรณกรรมท่ี ถา่ ยทอดโดยวิธีการบอกเล่า และทีเ่ ขียนเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร ประเภทของวรรณกรรมพ้นื บ้าน ๑. นทิ านพนื้ บา้ น หมายถงึ เรอ่ื งเลา่ พน้ื บา้ นทเี่ ลา่ สบื ทอดตอ่ ๆ กนั มา เชน่ นทิ านจกั รๆ วงศๆ์ นทิ านประจ�ำ ถนิ่ นิทานคติ นทิ านอธบิ ายเหตุ นทิ านเร่ืองสตั ว์ นทิ านเร่ืองผี นทิ านมขุ ตลก นิทานเร่ืองโม้ นทิ านเข้าแบบ ๒. ตำ�นานพ้นื บ้าน หมายถงึ เรอ่ื งเล่าทมี่ ีความสัมพนั ธก์ ับความเช่อื สิ่งศักด์สิ ทิ ธ์ิ พิธกี รรม และประวตั ศิ าสตร์ ศาสนาในท้องถ่นิ ๓. บทสวดหรอื บทกลา่ วในพธิ กี รรม หมายถงึ ค�ำ สวดทใ่ี ชป้ ระกอบในพธิ กี รรมตา่ งๆ เชน่ บทท�ำ ขวญั ค�ำ บชู า คำ�สมา ค�ำ เวนทาน บทสวดสรภญั ญ์ คาถาบทอานิสงส์ บทประกอบการรกั ษาโรคพน้ื บา้ น คำ�ใหพ้ ร ค�ำ อธิษฐาน ฯลฯ ๔. บทร้องพ้ืนบ้าน หมายถึง คำ�ร้องท่ีถ่ายทอดสืบต่อกันมาในโอกาสต่างๆ เช่น บทกล่อมเด็ก บทร้องเล่น บทเก้ียวพาราสี บทจ๊อย คำ�เซิ้ง ฯลฯ ๕. ส�ำ นวน ภาษิต หมายถึง ค�ำ พดู หรอื ค�ำ กล่าวท่สี ืบทอดกนั มา มกั มีสมั ผัสคลอ้ งจองกัน เช่น โวหาร คำ�คม ค�ำ พังเพย คำ�อุปมาอปุ ไมย ค�ำ ขวัญ คติพจน์ คำ�สบถสาบาน ค�ำ สาปแช่ง คำ�ชม คำ�คะนอง ฯลฯ ๖. ปริศนาคำ�ทาย หมายถงึ ค�ำ หรอื ข้อความท่ตี งั้ เปน็ ค�ำ ถาม ค�ำ ตอบ ท่ีสืบทอดกนั มา เพอื่ ให้ผตู้ อบไดท้ าย หรือตอบปัญหา เช่น คำ�ทาย ปญั หาเชาวน์ ผะหมี ฯลฯ ๗. ต�ำ รา หมายถงึ องคค์ วามรทู้ ม่ี กี ารเขยี นบนั ทกึ ในเอกสารโบราณ เชน่ ต�ำ ราโหราศาสตร์ ต�ำ ราดลู กั ษณะคน และสัตว์ ตำ�รายา ฯลฯ เกณฑ์การขนึ้ ทะเบยี นวรรณกรรมพน้ื บ้านในฐานะมรดกภูมปิ ญั ญา ทางวัฒนธรรมของชาติ ๑. เปน็ เรอ่ื งทรี่ ู้จักแพร่หลายในระดับชาติ ภมู ิภาค หรอื ทอ้ งถน่ิ ๒. เปน็ เรือ่ งท่สี ะท้อนอัตลกั ษณข์ องภูมิภาคหรือทอ้ งถน่ิ ๓. เปน็ เรอ่ื งทเ่ี ป็นแกนยึดโยงและสร้างเครือขา่ ยความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นต่าง ๆ ๔. เปน็ เรอ่ื งที่ต้องไดร้ ับการคุ้มครองอยา่ งเรง่ ดว่ นเสยี่ งต่อการสญู หายหรอื กำ�ลงั เผชญิ กบั ภัยคุกคาม ๕. คณุ สมบัตอิ ่นื ๆ ท่คี ณะกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒเิ ห็นวา่ เหมาะสมตอ่ การขึน้ ทะเบยี น 2

วรรณกรรมพน้ื บ้าน: มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ (แบ่งตามประเภท) 3

นทิ านพื้นบา้ น 4

นทิ านขนุ ช้าง-ขนุ แผน เรยี บเรยี งโดย ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ขนุ ชา้ ง-ขนุ แผน เปน็ นทิ านชวี ติ รกั สามเสา้ ทช่ี าวกรงุ ศรอี ยธุ ยาน�ำ มาเลา่ ขานในรปู ของล�ำ น�ำ ปากเปลา่ ประกอบ การขยบั กรบั ทเี่ รยี กวา่ “การขับเสภา” มาตง้ั แตส่ มัยตน้ อยธุ ยา นกั ขับเสภาจะร้องเฉพาะตอนส�ำ คญั ๆ ไมบ่ นั ทกึ เป็น ลายลกั ษณ์ เพง่ิ จะมารวบรวมเรียบเรียงเปน็ เรือ่ งเดยี วกันในสมยั รัชกาลที่ ๓ แหง่ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ และได้ตพี ิมพ์ขน้ึ ครง้ั แรกในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ปี พ.ศ. ๒๔๑๕ โดยโรงพิมพ์หมอสมิท ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ จึงได้มีการชำ�ระต้นฉบับของหลวงและของชาวบ้านจัดพิมพ์ข้ึนเป็นฉบับหอสมุดวชิรญาณซ่ึงเป็นต้นแบบของเรื่อง ขุนชา้ ง-ขุนแผนท่ีรู้จกั กันทว่ั ไป นทิ าน ขุนชา้ ง-ขุนแผน เป็นเรอ่ื งรักสามเส้าของหนุ่มสาวสองรนุ่ รนุ่ พอ่ และรุ่นลกู โครงเร่ืองรนุ่ พ่อเปน็ เรื่อง ของชายสองแย่งหญิงหนึ่ง คือเร่ืองชิงรักหักสวาทของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมพิลาไลย ชาวบ้านสุพรรณบุรี สว่ นโครงเรอ่ื งรนุ่ ลกู เปน็ เรอ่ื งของหญงิ สองแยง่ ชายหนงึ่ คอื เรอื่ งหงึ หวงระหวา่ งเมยี นอ้ ยเมยี หลวงของ พระไวยวรนาถ ขุนนางหน่มุ ชาวกรุงศรอี ยธุ ยาจนถงึ ข้นั นางสรอ้ ยฟา้ เมยี นอ้ ยท�ำ เสน่ห์เพอื่ ให้สามรี ักตนเพยี งคนเดยี ว โครงเร่ืองของนิทานเรื่องนี้มีลักษณะเด่นคือ ความคล้ายคลึงกับเพลงพ้ืนบ้านประเภทเพลงโต้ตอบของ หนุ่มสาว โครงเรื่องแบบชายสองแย่งหญิงหน่ึงตรงกบั กลอนตับ ชงิ ชู้ และโครงเรอ่ื งแบบเมยี น้อยเมยี หลวงตรงกับ กลอนตับตีหมากผวั ของเพลงพ้ืนบ้าน โครงเร่ืองดังกล่าวเปน็ แบบท่ีชาวบ้านนยิ มมาก ดงั พบในละครชาวบา้ นหลาย เรือ่ ง นอกจากนน้ี ิทานเรือ่ งนี้ยังมคี รบทุกรสชาติ ท้ังรกั รบ ตลก เศร้าโศก บุคลกิ ของตวั ละครหลายตัวในเรื่องมีความ โดดเด่น ขุนแผนเป็นผู้ชายในฝันของสาวไทย คือเป็นชายชาตรี รูปงาม วาจาอ่อนหวาน เก่งทั้งวิชาอาวุธและวิชา ไสยศาสตร์ และเป็นแบบอย่างของนักรบผู้ภักดีต่อเจ้านาย ขุนช้าง เป็นแบบของชายท่ีสังคมไม่ช่ืนชอบ นอกจาก จะมีรูปอัปลักษณ์ หัวล้าน อกขน ยังมีกิริยามารยาททราม ใจคอโหดเหี้ยมและเป็นตัวแทนของเพ่ือนที่ทรยศเพ่ือน 5

นางวนั ทอง หรอื พมิ พลิ าไลยเปน็ แบบของหญงิ ไทยทไี่ มส่ ามารถก�ำ หนด ชะตาชีวิตดว้ ยตัวเอง การตดั สินใจขน้ึ อยกู่ ับผ้อู น่ื นิทาน ขุนช้างขุนแผน ยังเป็นเรื่องตัวอย่างแสดงวิถีชีวิตของ ลกู ผูช้ ายไทยในอดตี ตั้งแต่เด็กจนโต เร่มิ ต้นต้ังแต่การศึกษาเลา่ เรยี น การแสวงหาเครื่องรางของขลัง การแสวงหาของวิเศษเพ่ือนำ�มาเป็น อาวุธคกู่ าย จนเขา้ รบั ราชการ ท�ำ ศกึ สงคราม ไดร้ ับความดคี วามชอบ ตลอดจนถึงตอ้ งโทษจำ�คุก ชีวติ ของขุนแผนจับใจคนไทย จนน�ำ ไปตงั้ เปน็ ชอ่ื พระพทุ ธรปู เชน่ ทวี่ ดั พลายชมุ พล สพุ รรณบรุ เี รยี กพระพทุ ธรปู ปางไสยาสนท์ น่ี นั่ วา่ เณรแกว้ ทว่ี ดั พระรปู สพุ รรณบรุ ี เรยี กพระเครอื่ ง ดินเผา บางรนุ่ ว่า พระขุนแผนไขผ่ า่ ขุนแผนแตงกวา เปน็ ตน้ นิทาน ขุนช้างขุนแผน มีความสัมพันธ์กับ วิถีชีวิตของคนไทย ภาคกลางมาโดยตลอดเพราะเก่ียวข้องกับการแสดงหลายประเภท ตงั้ แตแ่ รกเรม่ิ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาทใี่ ชเ้ ลา่ เรอ่ื งประกอบท�ำ นองเรยี กวา่ ขับเสภา ต่อมานำ�ป่ีพาทย์เข้ามารับ ทำ�ให้เกิดขับเสภาพร้อมป่ีพาทย์ ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลท่ี ๔-๕ ชนชัน้ สงู นำ�ละครร�ำ มาผสมจนเกดิ เสภารำ� ละครเสภา ละครพันทาง สว่ นชาวบา้ นน�ำ เพลงพน้ื บา้ นมาผสมจนเกดิ เพลงทรง เครอื่ ง และนิยมนำ�ไปแสดงลิเก ปัจจุบัน นิทาน ขุนช้างขุนแผน ได้ถูกนำ�ไป สร้างเป็นละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ไทยหลาย ครั้งหลายหน เชน่ เรื่อง ขนุ แผนผจญภัย นอกจากน้ี ก็นำ�ไปสร้างเป็นหนังสือการ์ตูน หนังสือนิทาน และ น�ำ บางตอน เชน่ ตอนก�ำ เนดิ พลายงาม เปน็ แบบเรยี น ในหลักสูตรวิชาภาษาไทยการศึกษาขั้นพื้นฐานของ กระทรวงศึกษาธกิ ารด้วย นับเปน็ เรอ่ื งหนง่ึ ที่คนไทย ทกุ ภาครจู้ กั ดี นิทานขุนช้าง-ขุนแผน ได้รับการข้ึนทะเบียน เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติประจำ�ปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ 6

นทิ านดาวลูกไก่ เรียบเรยี งโดย วัฒนะ บุญจับ นทิ าน ดาวลกู ไก่ เปน็ วรรณกรรมพน้ื บา้ นทใ่ี ชเ้ ปน็ นทิ านอธบิ ายเหตทุ มี่ าของชอ่ื ดาวลกู ไก่ และจ�ำ นวนดาวลกู ไก่ ทมี่ ี ๗ ดวง ตำ�นานดาวลกู ไก่ เป็นเรื่องเลา่ ทีส่ อนเรือ่ งของความกตญั ญู เพราะเนอื้ หาเป็นเร่ืองของแมไ่ ก่กบั ลกู ๗ ตวั ที่เสียสละชีวิตโดยการกระโดดเข้ากองไฟเพ่ือให้ตายายผู้เลี้ยงดูแม่ไก่และลูกไก่มาได้นำ�ไปทำ�อาหารถวายพระธุดงค์ ดว้ ยกศุ ลกรรมน้ี จงึ ท�ำ ใหว้ ญิ ญาณของแมไ่ ก่และลูกไกไ่ ปเกิดเป็นกลมุ่ ดาวฤกษ์ ๗ ดวง ชื่อ “กตั ติกา” บนทอ้ งฟา้ นิทาน ดาวลูกไก่ เป็นเรอื่ งทนี่ ิยมเลา่ กันอย่างแพรห่ ลายในภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคอีสาน ปจั จัยที่ทำ�ให้ การแพรก่ ระจายของนทิ านเรอื่ ง ดาวลกู ไกเ่ ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั โดยกวา้ งขวางและสบื ทอดมาถงึ ปจั จบุ นั คอื การน�ำ สาระจาก นิทานมาประพนั ธเ์ ปน็ เน้อื เพลง ในภาคเหนอื ชา่ งซอนยิ มขบั คา่ วซอเรอ่ื ง ดาววไี กน่ อ้ ย ในงานชมุ นมุ หรอื งานฉลองงานประเพณรี วมทง้ั งานบญุ ต่างๆ หรือขบั รอ้ งเพื่อสอนลูกหลานให้ประพฤตดิ ี ไม่ท�ำ ช่วั สอนเร่อื งบาปบญุ คุณโทษ โดยเฉพาะอย่างย่ิง เพลงแหล่ดาวลูกไก่ ของ พร ภิรมย์ เป็นเพลงที่ทำ�ให้ตำ�นานดาวลูกไก่แพร่หลายไปสู่ วงกวา้ ง นา่ สงสารแม่ไก่ น้ําตาไหลสอนลกู เชา้ ก็ถกู ตาเชอื ด ตอ้ งหล่ังเลอื ดนองเล้า ส่วนลกู ไก่ทงั้ เจด็ เหมอื นถกู เด็ดดวงใจ พากนั โดดเขา้ กองไฟ ตายตามแมไ่ กด่ งั กลา่ ว ด้วยอานิสงส์ใจประเสริฐ ลูกไกไ่ ปเกดิ เป็นดาว นทิ านดาวลกู ไก่ ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ 7

นทิ านตามอ่ งล่าย เรยี บเรยี งโดย รองศาสตราจารยก์ ัญญรตั น์ เวชชศาสตร์ นิทานพื้นบ้านเร่ือง ตาม่องล่าย เป็นเรื่องราวรักสามเส้า โศกนาฏกรรมระหว่างชาย ๒ กับหญิง ๑ คือ เจ้าลาย พระเจ้ากรุงจีน และนางยมโดย ซึ่งชายทั้งสองต่างหลงรักหญิงสาวคนเดียวกัน โดยมี ปมปัญหาท่ีเกิดข้นึ จากการกระทำ�ของบดิ า คอื ตาม่องล่าย และมารดา คือ นางรำ�พงึ ซง่ึ ต่างก็ตกปากรบั ค�ำ ชายหนุม่ ทง้ั สองไวว้ า่ จะยกลูกสาวให้ โดยทีม่ ิได้ บอกกลา่ วให้อกี ฝา่ ยหนง่ึ รู้ และเปน็ เหตุบงั เอิญที่ตา่ งกก็ �ำ หนด วันแต่งงานในวันเดียวกัน ความยุ่งยากจึงเกิดข้ึน กล่าวคือ ฝ่ายบิดา แกป้ ญั หาดว้ ยการฉกี ลกู สาวออกเปน็ ๒ ซกี เพอ่ื แบง่ ใหแ้ กช่ ายหนมุ่ ทงั้ สอง จงึ เปน็ เหตใุ หน้ างเสยี ชวี ติ หลงั จากเหตกุ ารณด์ งั กลา่ วท�ำ ใหส้ ง่ ผลหรอื เปน็ สาเหตใุ หต้ วั ละครทกุ ตวั ถงึ แกช่ วี ติ เชน่ กนั นทิ านเรอ่ื งนใี้ ชอ้ ธบิ ายทมี่ าของ การเกิดภูมลิ ักษณต์ า่ งๆ เช่น เกาะ หาดทราย คุง้ อา่ ว และภเู ขา รวมถึง สิ่งต่างๆ ในบรเิ วณชายฝง่ั ทะเลอา่ วไทยตอนบน ตามอ่ งลา่ ย เปน็ นทิ านทมี่ ชี อื่ เสยี งและเปน็ ทรี่ จู้ กั กนั อยา่ งกวา้ งขวาง ของคนในท้องถิ่นแถบบริเวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนบนทั้งทางฝ่ัง ตะวันตกในเขตจงั หวัดเพชรบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ์ และชุมพร และทางฝง่ั ทะเลตะวันออกในเขตจังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง และชลบุรี นิทาน 8

เรอื่ งนม้ี ีเนือ้ หาทีอ่ ธิบายภูมศิ าสตร์ของทอ้ งถิน่ และอธิบายภมู ินามตา่ งๆ ในจังหวัดตา่ งๆ บริเวณชายฝั่งทะเลอา่ วไทย เชน่ เขาลอ้ มหมวก เขาชอ่ งกระจกที่ จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ เกาะทะลุ เขาแมร่ ำ�พงึ ทีอ่ �ำ เภอบางสะพาน จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ เกาะกระบงุ จงั หวัดตราด เปน็ ตน้ นิทานเรื่องนี้ยังได้เคยนำ�มาสร้างสรรค์ในรูปแบบของละครพันทาง เรื่อง “ตาม่องล่าย” ซึ่งจัดแสดง เนื่องในเทศกาลสงกรานต์ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ ชื่อของตัวละครก็ยังได้ มีการนำ�มาใช้เป็น ชื่อสถานที่ต่างๆ เช่น ตาม่องล่ายรีสอร์ท จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และได้มีผู้สร้างสรรค์ให้ ปรากฏในรูปแบบของเพลง ช่ือว่า เพลง “ตาม่องล่าย” เพื่อใช้ประกอบละคร จักรๆ วงศ์ๆ เรื่อง “ตาม่องล่า ย” เพลงดังกล่าว ศาสตราจารย์ ดร. อุทิศ นาคสวัสดิ์ เป็นผู้ประพันธ์คำ�ร้อง และคุณครูจำ�เนียร ศรีไทยพันธ์ เป็นผู้ประพนั ธท์ ำ�นอง นอกจากนี้ ยงั ปรากฏวา่ ไดม้ กี ารจดั พมิ พว์ รรณกรรมพนื้ บา้ นเรอื่ งนเี้ ปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ๗ ภาษา ไดแ้ ก่ ภาษา องั กฤษ ภาษาจนี ภาษาญป่ี นุ่ ภาษาฝรัง่ เศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน และภาษาอติ าเลยี น รวมทงั้ พมิ พว์ รรณกรรม ดงั กล่าวส�ำ นวนทเี่ ป็นภาษาไทยไว้ดว้ ยโดยกองทุนหมอ่ มราชวงศ์อายุมงคล โสณกุล ได้พิมพ์ไว้ในหนงั สอื ตามอ่ งลา่ ย นทิ านพื้นบา้ นจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ โดยมภี าพประกอบท้งั ทเ่ี ปน็ ภาพการต์ ูนเร่ือง “ตาม่องลา่ ย” ฝีมือของประยูร จรรยาวงษ์ ซึ่งเล่าเรื่องราวเป็น คำ�ประพันธ์ร้อยกรอง และมีภาพถ่ายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ที่เล่าไว้ในวรรณกรรม พนื้ บา้ นเร่ืองนีด้ ว้ ย นทิ านตามอ่ งลา่ ย ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕ 9

นทิ านทา้ วปาจิต-อรพมิ พ์ เรียบเรียงโดย ศาสตราจารยส์ กุ ัญญา สุจฉายา พระปาจิต-นางอรพิมพ์หรือ นางอรพิมพ์-ท้าวปาจิตเป็นนิทานท้องถิ่นขนาดยาวที่เกี่ยวเนื่องกับโบราณ สถานปราสาทหิน ชื่อบ้านนามเมือง และสถานที่ต่างๆ ในลุ่มแม่น้ํามูลแถบจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์ นิยมเลา่ กนั ในกลุ่มคนไทยโคราชและกลุ่มคนไทย-เขมร นทิ านเรอ่ื งนมี้ เี นอื้ หาวา่ ดว้ ยเรอ่ื งของครู่ กั ทต่ี อ้ งพลดั พรากจากกนั นางอรพมิ พเ์ ปน็ ชาวลมุ่ นา้ํ มลู แถบเมอื งพมิ าย สว่ นพระปาจติ มาจากเมอื งเขมรนครธม ยกทพั ขนึ้ มาแยง่ ชงิ นางอรพมิ พค์ นรกั คนื จากพระเจา้ พรหมทตั แหง่ เมอื งพมิ าย ตา่ งฝ่ายตา่ งต้องเผชิญอุปสรรคต่างๆ กว่าจะได้กลับมาอยรู่ ่วมกนั อกี ครัง้ หนึ่งดงั มเี รื่องยอ่ ดังน้ี พระปาจิตเป็นโอรสกษัตริย์เมืองอินทปัตถ์ บิดาได้ประกาศหาหญิงมาให้เลือกคู่แต่พระองค์ไม่ถูกใจ ผู้ใดเลย จึงออกเดนิ ทางไปเสยี่ งบุญตามหาเน้อื คตู่ ามค�ำ โหรทที่ ำ�นายวา่ เนอ้ื คู่อยูท่ างทิศบูรพาแตย่ งั อยใู่ นครรภ์มารดา โดยให้ ขอ้ สังเกตวา่ มารดาของนางขณะท�ำ นาจะมพี ระอาทติ ยท์ รงกลดอยู่เหนือศีรษะบงั เป็นเงาไม่ใหถ้ กู แดด ขณะเดนิ ทางจากเมอื งอนิ ทปตั ถน์ ครธม มาเลยี บเขาพนมรงุ้ เขา้ เขตพมิ าย พระปาจติ กเ็ ปดิ ต�ำ ราหาทศิ ทางตาม คำ�โหรทำ�นาย สถานที่ตรงน้ันเลยเรียกว่า บ้านจารตำ�รา เมื่อรู้ว่าเดินหลงทางจึงเปล่ียนเส้นทางเป็นเลียบถนนไป บ้านน้ันจึงเรียกว่า บ้านถนน อยู่ในเส้นทางโบราณเรียกกันว่า ถนนปาจิต ได้พบหนองใหญ่มีต้นสนุ่นอยู่ในหนอง ปัจจุบัน คือ บ้านสนุ่น ต่อมาพบท่านํ้ากว้างใหญ่ เรียกว่า ท่าหลวง จึงรู้ว่ามาผิดทิศ จึงเรียกว่า บ้านท่าลวง เดนิ ออ้ มไปอกี ทางหนงึ่ ผา่ นทงุ่ ส�ำ รดิ (ในจงั หวดั นครราชสมี า) จงึ พบหญงิ ลกั ษณะดงั กลา่ ว บางส�ำ นวนใหช้ อ่ื วา่ ยายบวั พระปาจิตได้ขออยู่รับใช้นาง จนนางคลอดลูกสาวหน้าตาสวยงามให้ชื่อว่านางอรพิมพ์ พระปาจิตอยู่ดูแลรับใช้ จนนางอรพมิ พเ์ ปน็ สาวอายุ ๑๕ ปจี งึ ไดส้ ขู่ อนาง บางส�ำ นวนเลา่ วา่ สองคนไดแ้ ตง่ งานตามประเพณเี ปน็ สามภี รรยากนั แลว้ บางสำ�นวนก็วา่ พระปาจิตขอลากลบั บ้านเมืองกอ่ นเพ่อื เตรยี มตวั มาสู่ขอตามประเพณี 10

ในระหว่างน้นั นางอรพมิ พเ์ ศร้าโศกเสียใจมาก นางกบั เพื่อนจึงออกไปเท่ยี ว ทำ�ให้ไปพบกับทหารของพระเจา้ พรหมทตั เจา้ เมอื ง พาราณสซี ง่ึ ตอ่ มาไดส้ ง่ั ใหท้ หารไปน�ำ นางมาถวาย บางส�ำ นวนกว็ า่ ทา้ วพรหมทตั ใชท้ หารไปฉดุ ครา่ มา นางอรพิมพ์จึงได้ตั้งสัตยาธิษฐานว่าหากท้าวพรหมทัตแตะต้องตัวนาง ขอให้กายนางร้อนเหมือนไฟ และได้ขอร้อง ให้รอพช่ี ายนางกลับมาก่อนจงึ จะยอมเปน็ ชายา ท้าวพรหมทัต จึงขงั นางไว้ในปราสาทหินซง่ึ ก็คือ ปราสาทหินพมิ าย ในปจั จุบัน ฝ่ายพระปาจิตได้ยกขบวนขันหมากมาสู่ขอนางอรพิมพ์ ขณะเดินทางมาถึงลำ�น้ําแห่งหนึ่งก็ได้ข่าวว่า นางอรพิมพ์ถูกชิงตัวไป บางสำ�นวนเล่าว่ามาพบชายตัดไม้สองคน ด้วยความเสียใจจึงเทข้าวของเครื่องใช้ที่เตรียม มาเป็นสินสอดลงสู่ลำ�น้ําน้ัน เช่น ถีบขันหมากลงน้ําทำ�ให้เงินทองจมอยู่ในลำ�นํ้าน้ัน จึงเรียกว่า ลำ�มาศ หรือ ลำ�ปลายมาศ (ปจั จบุ ันคือ ล�ำ น้ําท่มี าจากเทอื กเขามะจา่ อ�ำ เภอครบรุ ี ไหลผา่ นอ�ำ เภอลำ�ปลายมาศ จงั หวดั บรุ รี ัมย์) ขว้างเป็ดทองของหม้ันทิ้งทำ�ให้สถานที่ตรงนั้นกลายเป็นถํ้า เรียกว่า ถํ้าเป็ดทอง ทุบถ้วยโถโอชามท้ิงท่ี บ้านเสราะ แบกจาน (บ้านจานแตก) รถท่ีนำ�มาด้วยก็ทำ�ลายทิ้งเหลือแต่กง จึงเรียกว่าบ้านกงรถ (ตำ�บลงิ้ว ปัจจุบันขึ้นอยู่กับ อำ�เภอห้วยแถลง) แล้วสั่งให้ขบวนขันหมากกลับไปบ้านเมือง ส่วนพระองค์ปลอมตัวลอบเข้าไปเมืองพาราณสีของ ทา้ วพรหมทตั ขณะที่แอบลอบเข้ามาในปราสาท นางอรพิมพ์แลเห็นท้าวปาจิต ด้วยความดีใจจึงร้องว่า “พี่มา” จึงเป็นที่มาของชื่อ พิมาย พระปาจิตได้สวมรอยเป็นพี่ชายนางอรพิมพ์ ท้าวพรหมทัตดีใจก็จัดงานเล้ียงให้ ปาจิต จงึ ออกอบุ ายใหน้ างอรพมิ มอมเหลา้ จนพรหมทตั เมามายแลว้ ฆา่ เสยี ลอบอมุ้ นางหนอี อกจากจากปราสาททางทศิ อสี าน ท่มี า : ภาพวาด โดย สกนธ์ แพทยกุล ท่ีมา : จากวารสารเมอื งโบราณ จากวารสารเมอื งโบราณ ปที ี่ ๔๑ ฉบบั ท่ี ๒ ปีท่ี ๔๑ ฉบบั ที่ ๒ เมษายน - มิถนุ ายน ๒๕๕๘ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๘ 11

บางสำ�นวนเล่าว่าพระปาจิตได้ยกทัพบุกเข้าเมืองพิมายเพื่อชิงนางคืน ขณะนั้นท้าวพรหมทัตกำ�ลังปลุกปล้ํา นางอยู่ พลนั เมอ่ื เหน็ พระปาจติ นางกร็ อ้ งเรยี กดว้ ยความดใี จ ทา้ วพรหมทตั นกึ วา่ นางจะกระโดดหนจี งึ ผวาเขา้ ควา้ เอวนาง แตพ่ ลาด รา่ งของทา้ วพรหมทตั ลอยตกออกจากปราสาทกระแทกพนื้ หนิ เสยี ชวี ติ ทนั ที พระปาจติ จงึ ไดข้ นึ้ ครองราชย์ แทนและตง้ั ชือ่ เมอื งว่า เมอื งปราสาทหนิ พมี าย เม่ือพระปาจิตอุ้มนางไปสักพักก็วางนางลงปล่อยให้นางเดิน สถานท่ีตรงน้ันจึงเรียกว่า บ้านนางเดิน ต่อมา เพีย้ นเป็น นางเหริญ เดินทางเขา้ เขตเมอื งบุรรี ัมย์ นางดีใจจึงเดินไปรำ�ไป ตรงนนั้ จงึ เรียกว่า บา้ นนางร�ำ ต่อมาเพ้ยี น เปน็ บรุ รี มั ย์ ทั้งสองคนเดนิ เท่าไรกย็ ังไม่ถงึ นครธม นางเหนอ่ื ยจนรอ้ งไห้ จึงเรยี กว่า บา้ นนางรอง พระปาจติ และนางอรพมิ พร์ อนแรมมาในปา่ ขณะทห่ี ยดุ พกั เหนอื่ ยทใี่ ตต้ น้ ไมใ้ หญ่ นายพรานนกเอย้ี งมาพบเขา้ เหน็ นางสวยจงึ อยากไดน้ าง ไดใ้ ชห้ นา้ ไมย้ งิ พระปาจติ จนตายแลว้ อมุ้ นางขค่ี วายหนไี ป ระหวา่ งนน้ั นางไดใ้ ชอ้ บุ ายขอ ไปนง่ั ดา้ นหลงั เพอ่ื ชมนกชมไม้ เม่ือนายพรานเผลอ นางได้ใช้มีดแทงนายพรานตายแล้วกลับไปท่ีศพ ของพระปาจติ พระอินทร์เห็นนางเศร้าโศกมากจึงปลอมตัวเป็นงูกับพังพอนต่อสู้กัน เม่ือฝ่ายหน่ึงตายอีกฝ่ายหนึ่งก็จะไปกัด เปลอื กไมม้ าพน่ ท�ำ ให้ ฟนื้ คนื ชพี ได้ นางจงึ ท�ำ ตามบา้ งจนพระปาจติ ฟน้ื ขน้ี มา จงึ ไดอ้ อกเดนิ ทางตอ่ ไป เมอ่ื มาถงึ ล�ำ นา้ํ แห่งหนึ่ง ท้ังคู่ไม่รู้ว่าจะข้ามน้ําไปได้อย่างไร ขณะนั้นมีเณรพายเรือผ่านมา บางสำ�นวนเรียกว่า เถรเรือลอย คือ เณรโคง่ ทพ่ี ายเรอื บณิ ฑบาตทางนา้ํ พระปาจติ จงึ เรยี กใหม้ าชว่ ยรบั ขา้ มฟาก ฝา่ ยเณร เหน็ นางงามกอ็ ยากไดน้ างไวเ้ อง บางสำ�นวนว่าคิดจะนำ�ไปให้พี่ชาย จึงบอกว่าเรือนั้นนั่งได้เพียงสองคน ต้องรับไปส่งทีละคน เม่ือนางลงน่ัง ในเรือ เณรกร็ บี พายเรอื พานางหนีไป แต่นางอรพิมพ์เป็นหญิงเจ้าปัญญา เม่ือเห็นต้นมะเด่ือมีผลดกงามริมตลิ่ง นางจึงคิดอุบายว่า นางอยากกิน มะเดอื่ เณรจงึ จอดเรอื แลว้ ปนี ขนึ้ ไปเกบ็ ให้ ปรากฏวา่ เณรขนึ้ ไปแลว้ ลงไมไ่ ดเ้ พราะนางรบี เอาหนามมาสะไวร้ อบโคนตน้ เณรเลยตายอย่บู นต้นมะเด่อื กอ่ นตายได้สาปว่า ต้ังแต่น้ไี ปขอให้มีแมลงหวเ่ี กิดในลูกมะเดือ่ และให้ไปตอมท่อี วยั วะ สืบพนั ธ์ขุ องผู้หญิง ต้งั แต่นนั้ มาแมลงหวี่จึงชอบตอมผลมะเดื่อ นางพายเรือกลับมาหาพระปาจิตแต่ไม่พบ จงึ พายเรอื ต่อไปจนถึงเมืองครุฑราชได้เข้าไปพักในศาลาโรงทานของเศรษฐีซึ่งมีข้าวของตั้งอยู่มากมาย รวมทั้งมีโลงศพด้วย นางได้ใช้ยาวิเศษชุบชีวิตหญิงสาวในโลงซ่ึงเป็นธิดาของเศรษฐีชื่อนางปทุมเกษร นางปทุมเกษรได้ขอเป็นทาสรับใช้ และตดิ ตามนางไปด้วย บางสำ�นวนข้ามเร่ืองนางปทุมเกษรไปโดยให้นางอรพิมพ์เดินทางไปคนเดียว เพื่อความปลอดภัยในการ เดนิ ทางนางไดอ้ ธษิ ฐานขอใหร้ า่ งกายเปลย่ี นเปน็ ชาย โดยฝากโยนไี วท้ ต่ี น้ ส�ำ โรง บา้ งกว็ า่ นางเหวย่ี งเขา้ ไปในปา่ ไปเกดิ เปน็ ตน้ โยนปี ศี าจ (ชาวบา้ นเรยี กวา่ ตน้ หผี )ี ฝากนมไวก้ บั ตน้ นมนาง บา้ งกว็ า่ ฝากไวท้ ี่ ตน้ หนามงวิ้ ฝากแกม้ ไวท้ ่ี ตน้ แกม้ อม้ ฝากผมไวก้ บั ต้นช้องนาง บ้างก็ว่าเปน็ กล้วยไม้หนวดฤๅษี หรอื กลว้ ยไม้ผมผพี ราย ฝากขาไว้ท่ี ต้นขานาง กอ่ นจะเดิน ทางไปถึงเมอื งพาราณสี 12

ขณะนน้ั เจา้ เมอื งก�ำ ลงั ปา่ วประกาศหาผวู้ เิ ศษมาชบุ ชวี ติ พระธดิ าซง่ึ เพง่ิ ถกู งกู ดั โดยประกาศวา่ ใครรกั ษาหายจะ แบง่ เมอื งใหค้ รองครงึ่ หนง่ึ และจะยกพระธดิ าให้ อรพมิ พห์ นมุ่ สามารถรกั ษานางไดแ้ ตบ่ า่ ยเบย่ี งไมร่ บั พระธดิ าแตก่ ลบั ขอบวชเปน็ พระภกิ ษใุ นพทุ ธศาสนาจนไดเ้ ปน็ พระสงั ฆราชแหง่ นครพาราณสี ไดส้ รา้ งศาลาโรงทานและเขยี นภาพเลา่ เรือ่ งชีวติ ของตนกบั พระปาจติ โดยสัง่ ทหารใหเ้ ฝา้ ดวู ่าหากมีนักเดนิ ทางมาเห็นภาพแล้วรอ้ งไห้ ใหต้ ามนางไปพบ ในทสี่ ดุ พระปาจติ กเ็ ดนิ ทางมาพกั ทศี่ าลาโรงทานดงั ทน่ี างหวงั ทง้ั สองไดพ้ บกนั ตา่ งกเ็ ลา่ เรอื่ งใหฟ้ งั และเมอ่ื ทง้ั คยู่ งั คงมคี วามรกั ตอ่ กนั นางไดอ้ ธษิ ฐานคนื รา่ งเปน็ หญงิ และลาเจา้ เมอื งพาราณสกี ลบั ไปเมอื งอนิ ทปตั ถ์ กบั พระปาจติ นิทานเรื่อง พระปาจิต-นางอรพิมพ์ ได้มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ใน ปัญญาสชาดก เมื่อต้น พทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ โดยพระภกิ ษลุ า้ นนาไดร้ วบรวมนทิ านชาดกและนทิ านพนื้ บา้ นทแ่ี พรห่ ลายในทอ้ งถนิ่ แตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ ภาษาบาลใี หช้ อื่ วา่ ปาจติ ตกมุ ารชาดก เรอ่ื งนมี้ ใิ ชช่ าดกทม่ี าจากอรรถกถาชาดกหากมาจากนทิ านพนื้ เมอื ง ทแ่ี ตง่ เตมิ ใหต้ วั เอกกลายเปน็ พระโพธสิ ตั วแ์ ตบ่ ทบาทส�ำ คญั อยทู่ นี่ างเอก ดงั ในตน้ เรอื่ งกลา่ วถงึ สาเหตทุ ม่ี าวา่ เหลา่ พระภกิ ษุ ทลู ถามพระพทุ ธเจา้ วา่ พระนางพมิ พาเมอื่ บรรพชาแลว้ สวยกวา่ กอ่ นอยใู่ นเพศสมณะ พระพทุ ธเจา้ จงึ ตอบวา่ ในอดตี ชาตพิ ระนางพมิ พากเ็ ปน็ เชน่ นี้ แลว้ จงึ เลา่ เรอ่ื งในชาตทิ นี่ างไปเกดิ เปน็ นางอรพมิ พ์ ตอ่ มาแปลงเพศเปน็ ชายใชช้ อื่ ของ สามวี า่ ปาจติ ตกุมาร นางไดเ้ ปน็ สงั ฆราชาในเมืองจมั ปากนคร ได้โน้มน้าวให้ปาจิตตกมุ ารผนวช เป็นภกิ ษุในพระพทุ ธ ศาสนาหากอยากได้พบนางอรพิมพอ์ ีกคร้งั หนงึ่ ใหฟ้ งั   โครงเรอ่ื งและเนอ้ื เรอื่ งสว่ นใหญค่ ลา้ ยคลงึ กนั ตา่ งกนั ทรี่ ายละเอยี ด เชน่ ในส�ำ นวนลายลกั ษณน์ างเปน็ หญงิ เจา้ อบุ ายสงั หารคศู่ ตั รดู ว้ ยตนเอง ในนทิ านทอ้ งถนิ่ นางเปน็ ทมี่ าของชอื่ พชื พรรณไมต้ า่ งๆ และโบราณสถานในเขตจงั หวดั นครราชสมี า สว่ นพระปาจติ กเ็ ปน็ ทมี่ าของชอ่ื บา้ นนามเมอื งตา่ งๆ ในเขตจงั หวดั บรุ รี มั ย์ โดยเฉพาะที่ ปราสาทหนิ พมิ าย อำ�เภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็นสถานที่ท่ีผูกพันอยู่กับนิทานเรื่องนี้ ปราสาทหินพิมาย สร้างเมื่อราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ เนือ่ งในพทุ ธศาสนามหายานและฮนิ ดปู ะปนกัน มผี คู้ นอย่อู าศัยต่อเนอ่ื ง กันมาตลอด ต่อมาจึง เป็นศูนย์กลางอำ�นาจทางการเมืองและความเชื่อสำ�คัญของอาณาจักรกัมพูชาท่ีขยายเข้าปกครอง ดินแดนใต้แม่นํ้า มูลทัง้ หมดในต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ตามนิทานพระเจ้าพรหมทัตเป็นเจ้าของปราสาท แต่ชาวบ้านท่วั ไปเรียกว่า “ปราสาทหินพระนางอรพิมพ์” ดงั หลกั ฐานทแ่ี อมโนนเิ ย นกั ส�ำ รวจชาวฝรง่ั เศสผเู้ ดนิ ทางเขา้ มาส�ำ รวจหาหลกั ศลิ าจารกึ และโบราณวตั ถตุ า่ งๆในภาค อสี านของไทยไดบ้ นั ทกึ ไวใ้ นหนงั สอื บนั ทกึ การเดนิ ทางในลาวภาคสองพ.ศ.๒๔๔๐ วา่ “ .. วนั ที่ ๘ กมุ ภาพนั ธ์ กอ่ น เทีย่ งเลก็ นอ้ ยพวกเขาก็ไปถงึ บา้ นนางหอระพิม (Ban Nang Hor Phim) ซึ่งเป็นหมู่บา้ นของคนสยาม มกี ระท่อมอยู่ ๑๓ หลัง ตัง้ อย่บู นเนินดินสูงซง่ึ มี นิทานเร่อื งนางหอระพิม ซึ่งอยู่ในหนงั สือของเขมร เรือ่ ง ชะตาของพระเจนกมุ าร (Sata de Preah chen Kaumar) หมบู่ า้ นแถบนม้ี ปี ระชากรพดู ภาษาสยามแตอ่ าจมกี �ำ เนดิ มาจากเขมร... โดยเฉพาะ ที่พิมายประชากรมีผิวคล้ํามีเช้ือสายเขมรแต่มีภาษาและจารีตประเพณีเป็นคนสยาม” นอกจากน้ีเขายังได้เล่าเรื่อง ท่ีมาของปราสาทหินพิมายว่าสร้างก่อนปราสาทวัดพนมวัน โดยนางหอระเพียม (ออกเสียงแบบเขมร) ได้พนัน กับ พระเทวทตั แขง่ กนั สร้างในเวลาคืนเดียว 13

ท่ีปราสาทหินพิมาย ตรงบริเวณปรางค์ท้าวพรหมทัตเคยมีรูปประติมากรรมอยู่ ๓ รูป ชาวบ้านเรียกกันว่า รูปท้าวพรหมทัต รูปพระปาจติ และรูปนางอรพมิ พ์ ปัจจุบนั เหลอื แต่รปู พระปาจิตเทา่ น้นั อนั ท่จี รงิ รูปปัน้ ท่ี ชาวบา้ น เขา้ ใจวา่ เป็นรปู ท้าวพรหมทัตนนั้ แท้จรงิ คือ “พระชัยพทุ ธมหานาถ” ซ่งึ เปน็ พระพุทธ รูปศลิ ารูปรา่ งเหมือน องค์จริง ของพระเจา้ ชัยวรมนั ที่ ๗ ที่พระองค์ได้ส่งไปไวต้ ามเมืองส�ำ คญั ต่างๆ ๒๒ เมอื ง รปู นางอรพมิ พ์ คือ รปู “พระนางชย ราชเทว”ี พระมเหสขี องพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ ในรปู นางปรชั ญาปารมติ า เมอื งพมิ าย หรอื ในจารกึ เรยี ก “วมิ ายปรุ ะ” เป็นชมุ ชนขนาดใหญ่ที่มผี ู้คนอาศัยอยมู่ าตง้ั แต่สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ นิทานเร่ืองนี้นอกจากจะเป็นตำ�นานของปราสาทหินพิมายแล้ว ชื่อสถานที่ต่างๆในเรื่องที่อยู่ในเส้นทางจาก บริเวณลำ�ปลายมาศไปจนถึงเมืองพิมาย ยังเป็นเส้นทางโบราณเก่าแก่ที่แสดงร่องรอยประวัติศาสตร์ของอาณาจักร ขอมโบราณหรือเจนละในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๑-ต้นศตวรรษท่ี ๑๒ กษัตริย์คนสำ�คัญของเจนละ คือ เจ้าชายจิตรเสนะหรือมเหนทรวรมัน ผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ไศวนิกายท่ีขยายอำ�นาจจากบุรีรัมย์ สุรินทร์ ข้ึนมา ทางที่ราบสูงโคราช หลังยึดอาณาจักรฟูนันซ่ึงเป็นอาณาจักรของกษัตริย์นับถือพุทธศาสนาในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๑ พระองคย์ กทัพขึน้ ไปตามลำ�น้ําโขง ปราบเมอื งต่างๆของเจนละโดยเฉพาะเมืองเศรษฐปุระเมืองหลวงในขณะน้ัน เร่ืองราวของ พระเจ้าจิตรเสนกษัตริย์นักรบท่ียกทัพขึ้นปราบบ้านเมืองตามลำ�นํ้ามูล น่าจะเป็นที่มาของ พระปาจติ ในต�ำ นานนทิ านชาวบา้ น นางอรพมิ พจ์ ะมตี วั ตนจรงิ หรอื ไมป่ ระวตั ศิ าสตรม์ ไิ ดบ้ นั ทกึ ไว้ แตเ่ หน็ เคา้ วา่ เมอื ง พมิ ายเปน็ กลุม่ ทน่ี ับถือพทุ ธศาสนาอยกู่ ่อนทศ่ี าสนาฮนิ ด-ู ไศวนิกายจะเข้ามายดึ ครอง นางอรพมิ พอ์ าจเป็นอปุ มาของ ดินแดนชาวพุทธในลุ่มแม่น้ํามูลที่พระเจ้าจิตรเสนได้ครอบครองก็เป็นได้ เช่นเดียวกับนางสีดาในวรรณคดีเร่ือง รามายณะของอินเดยี แมน้ ิทานเรื่องนี้จะไมแ่ พรห่ ลายไปยงั ภมู ิภาคอนื่ มากนัก แตใ่ นสมยั กรุงธนบรุ กี ็มีสมดุ ไทย ๔ เลม่ ชื่อปาจติ ต กุมารกลอนอ่านพบที่พระราชวังหลังกรุงธนบุรี สันนิษฐานว่าคงได้มาจากเมืองโคราช เพราะพระเจ้าหลานเธอ กรมพระอนรุ กั ษเ์ วศร กรมพระราชวงั บวรถานพมิ ขุ หรอื พระยาสรุ ยิ อภยั เดมิ เคยเปน็ เจา้ เมอื งโคราชมากอ่ น สว่ นคนใน ท้องถิ่นก็ยังคงเล่านิทานนางอรพิมพ์-พระปาจิตในรูปตำ�นานและร้องเล่าเป็นเพลงโคราช นอกจากน้ีช่างเขียน ท้องถ่นิ ยังได้นำ�เหตกุ ารณต์ อนเณรพายเรอื มารบั นางขา้ มฟากแมน่ ้ําไปวาดไว้ทีบ่ านแผละ หนา้ ตา่ งบานที่ ๑ ซ้ายมือ พระประธาน ในสิม (พระอโุ บสถ) วัดทงุ่ ศรเี มอื ง อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี และจิตรกรรมฝาผนังด้านนอก ของสิมวัดบ้านยาง อ�ำ เภอบรบือ จงั หวัดมหาสารคาม ปัจจุบันได้มีการนำ�เร่ืองน้ีมาใช้ในการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมหน่วยงานในท้องถ่ินมีการส่งเสริมเส้นทาง ท่องเที่ยวที่อำ�เภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ตามรอยนิทานเร่ืองท้าวปาจิต นางอรพิม โดยเร่ิมจากไปลงเรืออีโปง ท่ีท่านางสระผม ลองนง่ั เกวียนเทียมวัวท่ปี ระตเู มืองพมิ าย ไปเยี่ยมชมวงั ท้าวพรหมทัตท่ปี ราสาทหนิ พมิ าย และเมรุ พรหมทตั ทอี่ ยใู่ กลก้ นั จากนนั้ ไปวดั สระเพลงชมตพู้ ระธรรม ทแี่ กะสลกั เปน็ เรอ่ื งราวปาจติ อรพมิ และดกู ารท�ำ หมพ่ี มิ าย หรอื ลองชิมท่ีไทรงาม ต่อไปเย่ียมทา้ วพรหมทตั ท้าวปาจติ และนางอรพิม ต่อท่ีพพิ ธิ ภัณฑแ์ หง่ ชาตพิ มิ าย นอกจากน้ี ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ ยงั มกี ารน�ำ นทิ านเรอื่ งทา้ วปาจติ -อรพมิ พ์ มาจดั การแสดงแสงเสยี ง ในงาน “ทอ่ งเทย่ี วปราสาทเมอื งตา่ํ ตามรอยอารยธรรมขอมโบราณ” เพอ่ื สง่ เสรมิ และประชาสมั พนั ธก์ ารทอ่ งเทย่ี วอ�ำ เภอประโคนชยั จงั หวดั บรุ รี มั ยอ์ กี ดว้ ย นทิ านทา้ วปาจติ -อรพมิ พ์ ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ 14

เอกสารอา้ งองิ โครงการส�ำ รวจและถา่ ยภาพจติ รกรรมฝาผนังอีสาน. จิตรกรรมฝาผนงั อีสาน. ศนู ยว์ ฒั นธรรมอีสาน มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ , ๒๕๓๒. ปรีชา อุยตระกูล. วรรณกรรมพื้นบ้านจากตำ�บลรังกาใหญ่ อำ�เภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. กรุงเทพฯ : กรมการฝกึ หดั ครู, ๒๕๒๑. ปัญญาสชาดก ภาคภาษาบาล-ี ไทยเล่ม ๒. พิมพค์ รั้งท่ี ๑ กรุงเทพฯ: มลู นธิ อิ อมสินเพื่อสังคม, ๒๕๕๔. พระอริยานวุ ตั ร เขมจารเี ถระ. ประวตั ศิ าสตรข์ ่า-ขอมลมุ่ แม่นํา้ ของ-โขง. จดั พมิ พเ์ นอ่ื งในงานท�ำ บุญฉลองอายุครบ รอบ ๗๔ ปี ดร.พระอรยิ านวุ ตั ร เขมจารเี ถระ รองเจา้ คณะจังหวัดมหาสารคาม ๒๔ กันยายน ๒๕๓๓. พชิ ัย ลศี ริ ิวฒั นา. “ลำ�ปลายมาศ อ�ำ เภอที่มคี วามหมาย” หนงั สอื พมิ พ์เดลนิ ิวส์ ฉบับวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๙:๗ ภูมิจิต เรืองเดช. ปาจิต–อรพิม. ปริวรรตเอกสารโบราณจากสมุดข่อย. บุรีรัมย์: ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์, ๒๕๒๔. (อดั ส�ำ เนา) เอเจียน แอมอนิเย. บันทึกการเดินทางในลาวภาคสอง พ.ศ. ๒๔๔๐. ทองสมุทร โดเรและสมหมาย เปรมจิตต์. ผู้แปล.สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ๒๕๔๑. 15

นิทานนายดนั เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารยป์ ระพนธ์ เรอื งณรงค์ นิทานเรื่อง นายดัน ชาวใตโ้ ดยเฉพาะชาวนครศรธี รรมราช สุราษฎร์ธานี และสงขลา เลา่ สู่กนั ฟงั มาชา้ นาน เนอ้ื เรอื่ งสนกุ ใหอ้ ารมณข์ นั มคี ตธิ รรมและสะทอ้ นภาพชวี ติ ชาวใตห้ ลายแงม่ มุ ตอ่ มากวชี าวนครศรธี รรมราช แตง่ เปน็ คำ�กาพย์ (กาพย์ ๑๑, ๑๖, ๒๘) บันทึกลงในสมดุ ขอ่ ย หรอื หนังสือบุด ใช้สวดอ่านเพื่อความบันเทงิ ในเวลาว่างก่อน เรม่ิ เรือ่ งนายดนั กวไี ดอ้ ารมั ภบทไว้ว่า “ฉานสทิ ธ์คิ ิดจกั แจง้ แตง่ เรื่องราวกล่าวให้ขนั ขอเชญิ ด�ำ เนนิ ผนั มาสงิ สอู่ ยู่ในทรวง” คำ�กาพยข์ ้างต้นน้ี บอกชอ่ื นายสิทธิผ์ ู้แตง่ แต่ไม่ทราบชัดเจนวา่ นายสทิ ธเ์ิ ปน็ ใคร มีชวี ิตอยสู่ มัยใด นิทาน นายดัน มีเร่ืองย่อดังนี้ นายดันเป็นบุตรตาพลายและยายเจ้ย นายดันตาพิการแบบตาบอดตาใส คนทว่ั ไปเขา้ ใจวา่ สายตาดี เลา่ วา่ ทเ่ี ปน็ เชน่ นเี้ พราะชาตกิ อ่ นเขาท�ำ หนา้ ทค่ี อยบอกพอ่ แม่ เมอ่ื เหน็ พระภกิ ษมุ าบณิ ฑบาต หน้าบ้าน แต่วันหน่ึงทั้งที่เห็นพระภิกษุมาแลว้ แตน่ ายดนั แกล้งท�ำ เป็นไมเ่ หน็ ปล่อยใหท้ า่ นยืนแกร่วอยู่นานจนตอ้ ง กลบั วัด ด้วยผลกรรมดังกล่าวจงึ สง่ ผลใหเ้ ขาตาพกิ ารในชาติน้ี ถงึ แมต้ าบอด แตน่ ายดนั มคี วามจ�ำ และไหวพรบิ ปฏภิ าณเปน็ เลศิ คอื เมอ่ื ท�ำ สง่ิ ใดผดิ พลาดกส็ ามารถหาขอ้ แกต้ วั ได้ทุกครง้ั ยง่ิ กวา่ คนตาดี จึงไดช้ ื่อวา่ “นายดนั ” เพราะความดนั ทุรัง ไมย่ อมรบั ผิดนั่นเอง ครน้ั เมอื่ นายดนั อายุ ๓๐ ปี เขาไดบ้ อกพอ่ แมใ่ หไ้ ปสขู่ อนางสาวไร หรอื รงิ้ ไร สาวก�ำ พรา้ พอ่ มแี ตแ่ มช่ อื่ ยายทองสา ตอนแรกแมน่ ายดนั ปฏเิ สธ เพราะเกรงวา่ คงไมม่ ใี ครจะยกลกู สาวใหห้ นมุ่ ตาบอด แตพ่ อ่ บอกใหล้ องดเู ผอื่ เปน็ เนอ้ื คกู่ นั ในที่สุดด้วยความสามารถของยายอแี มส่ ่อื ทำ�ให้ยายทองสาตกลงยกลูกสาวให้แตง่ งานกับนายดนั พธิ แี ตง่ งานของนายดนั สะทอ้ นภาพประเพณชี าวใตส้ มยั นนั้ อยา่ งนา่ สนใจ ไมว่ า่ การเตรยี มงานขบวนขนั หมาก และอาหารการกิน เป็นต้น อย่างไรก็ตามเจ้าบ่าวตาบอดมีข้อผิดพลาดหลายคร้ัง แต่สามารถแก้ตัวผ่านไปได้ด้วยดี เช่น นายดันเดินชนต้นกล้วยก็แสร้งดึงใบกล้วยแล้วบอกว่านกข้ีใส่ช่วยเช็ดให้ด้วย เมื่อถึงบ้านเจ้าสาวแทนที่เดินข้ึน บันไดกลับเดนิ เขา้ ใต้ถนุ บา้ น พอรูต้ วั วา่ ผดิ ก็แสร้งชีไ้ ปท่ีไมต้ งไม้รอดว่าไม่แขง็ แรง จากนน้ั เดินข้นึ บนบ้าน แต่กลบั ไป นง่ั ทน่ี อกชาน คร้นั มีผ้มู าเตอื นก็บอกว่าเทา้ โดนขีไ้ ก่ ขอนํา้ มาล้างดว้ ย 16

จากนั้นนายดันเดินเข้าสู่ห้องพิธี เข้ารับพรและคำ�สอนจากปู่ย่าตายาย เสร็จแล้วแขกเหร่ือร่วมวงกินอาหาร เมื่ออม่ิ แลว้ ก็รบั มอบของขวัญและลาเจา้ ภาพ คงเหลือแต่ผอู้ าวุโส ๔ คน รอท�ำ พิธีเรียงสาดเรียงหมอนใหค้ ่บู า่ วสาว นายดนั ไหว้ผตี ายาย (ผบี รรพบุรษุ ) เสรจ็ แลว้ น�ำ เข้าสหู่ ้องเจ้าสาว แตน่ ายดนั กลับเดินเข้าห้องครัว เม่อื รู้ตวั ว่า ผดิ พลาดจงึ แกลง้ ส่งเสียงบอกว่าลงุ ขนุ อนิ ทร์และหมอ่ มจนิ ดาเปน็ โรคตาลซางในปาก อยา่ แกงใหเ้ ผด็ นัก หลงั พธิ แี ต่งงานแล้ว นายดนั อยู่ทบ่ี ้านภรรยา โดยมีเดก็ ผชู้ ายชื่อไอเ้ หลก็ หมาดเป็นผดู้ แู ลอย่างใกลช้ ิดส่วนคน อ่ืนรวมท้ังนางไรภรรยายังไม่ทราบว่านายดันตาบอด และเขาแก้ตัวเอาตัวรอดได้เสมอ เช่น วันหน่ึงนายดันกินข้าว ปรากฏวา่ ท�ำ ขา้ วตกหลน่ ลงใตถ้ นุ บา้ นเกลอื่ นกลาด ขณะทนี่ างไรก�ำ ลงั ทอหกู อยใู่ ตถ้ นุ บา้ น จงึ รอ้ งถามวา่ ไมพ่ อใจอะไร จงึ เทขา้ วลงมา นายดนั จงึ แกต้ วั วา่ เหน็ ไกแ่ ตล่ ะตวั ผา่ ยผอมควรใหม้ นั กนิ อมิ่ เหตกุ ารณต์ อ่ มาเมอ่ื สามตี อ้ งจ�ำ ใจไปไถนา ทง้ั ทไี่ มเ่ คยจบั คนั ไถ ในทสี่ ดุ ววั วง่ิ เตลดิ หนี นายดนั ไดย้ นิ เสยี งใบไมแ้ หง้ ถกู ลงแกวง่ ไกว เขา้ ใจวา่ ววั หลบซอ่ นอยตู่ รงนน้ั จึงวดิ น้ําสาด ครงั้ เมียมาพบเขา้ นายดนั แก้ตัววา่ สาดรงั แตนให้มนั จมนํา้ ในทสี่ ดุ พากันกลับบา้ น ตอนปลายเรอ่ื งเลา่ ว่าวนั หนงึ่ หลงั จากนายดันกนิ ขา้ วแลว้ อยากกนิ หมากแตห่ าหอ่ ปนู ไมพ่ บจึงรอ้ งถามนางไร และบน่ เชงิ ดุภรรยาเป็นที่นา่ รำ�คาญ ภรรยารูส้ กึ โกรธรบี เดินขึน้ บ้านและคว้าห่อปูนทป่ี ลายเทา้ นายดนั พลางควักปนู ทาขยที้ ด่ี วงตาสามี นายดนั รอ้ งดว้ ยความเจบ็ ปวดพลางบอกวา่ ตาบอดแนแ่ ลว้ นางไรเขา้ ใจวา่ สามพี ดู จรงิ จงึ ตกใจและ รบี ไปพบหมอชอื่ ตาบวั ศรี ไดย้ ามารกั ษาจนกระทง่ั นายดนั หายกลายเปน็ คนตาดี หมดเวรกรรมมาตง้ั แตบ่ ดั นนั้ ตอ่ มา นายดนั และนางไรมบี ุตรชายชื่อนายทองดงึ ช่วยกันทำ�การค้าขายด้วยความสจุ ริตจนเป็นเศรษฐี ตอนสดุ ท้ายนายดนั ไดร้ บั อนญุ าตจากครอบครวั ออกบวชเพ่อื หาความสขุ ทางธรรมในบ้นั ปลายของชีวติ นิทานนายดัน ท่บี ันทึกในหนังสือบุด หรอื สมุดข่อย มีการปรวิ รรตเปน็ อักษรไทยปัจจบุ ัน โดยตีพิมพเ์ ผยแพร่ เปน็ รูปเล่มสวยงาม เชน่ รวมกับนทิ านอนื่ ๆ เร่อื ง นายดัน วันคาร โสฬนมิ ติ ของศนู ยว์ ฒั นธรรมภาคใต้วทิ ยาลยั ครู นครศรธี รรมราช และหนงั สอื ชอื่ ชดุ วรรณกรรมทกั ษณิ วรรณกรรมคดั สรร เลม่ ท่ี ๖ มเี รอื่ ง นายดนั ค�ำ กาพย์ นอกจากนี้ เรอ่ื งนายดันยงั จดั พมิ พเ์ ปน็ วรรณกรรมเยาวชน มีภาพประกอบสวยงาม รวมกบั นทิ านภาคใต้เรื่องอน่ื ๆ อีกด้วย นิทานนายดนั ได้รบั การขนึ้ ทะเบียนเป็นมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 17

นิทานปลาบู่ทอง เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารยร์ งั สรรค์ จันตะ๊ ปลาบทู่ อง เปน็ นทิ านพนื้ บา้ นทนี่ ยิ มเลา่ กนั อยา่ งแพรห่ ลายมานานในทกุ ภาคของประเทศไทย เนอื้ เรอ่ื งเปน็ เรอื่ ง ของความอจิ ฉารษิ ยาอาฆาตระหวา่ งเมยี หลวงเมยี นอ้ ย เมยี หลวงตายไปเกดิ เปน็ ปลาบทู่ อง และตอ่ มาเกดิ เปน็ ตน้ โพธเิ์ งนิ โพธทิ์ อง นางเออ้ื ยผเู้ ปน็ นางเอกถกู แมเ่ ลย้ี งกลน่ั แกลง้ อยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรมจนตกทกุ ขไ์ ดย้ าก แตเ่ มอ่ื กษตั รยิ ป์ ระพาสป่า นางเอ้ือยเป็นผู้ถอนต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทองได้ จึงได้เป็นมเหสีของกษัตริย์ แต่ต่อมาก็หลงกลแม่เลี้ยงจนตายไปและเกิด เปน็ นกแขกเตา้ จนฤาษตี ้องมาชว่ ยชบุ ชวี ิตคนื มา ตอนทา้ ยเร่อื งสะทอ้ นให้เหน็ วา่ คนดีย่อมตกน้ําไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ ท�ำ ดไี ด้ดี ทำ�ชว่ั ได้ชวั่ เปน็ ตน้ นทิ าน ปลาบ่ทู อง ปรากฏเปน็ ชอื่ นิทานท่ีแพรก่ ระจายอยใู่ นกลุม่ คนไททว่ั ไปอีกหลายช่ือ เชน่ เตา่ น้อยอองคำ� นางอุทธรา ในภาคเหนือของไทย มที ง้ั ส�ำ นวนท่ีเป็นมขุ ปาฐะและสำ�นวนลายลักษณป์ ระเภทนิทานชาดกนอกนบิ าต นทิ านค�ำ กาพย์ ค�ำ กลอน เรอ่ื งเลา่ แบบนทิ านทว่ั ไปในหนงั สอื หรอื สอ่ื สง่ิ พมิ พแ์ บบอน่ื ๆ หนงั สอื แบบเรยี นของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ท่ใี ชเ้ ปน็ หนังสือต�ำ ราประเภทนิทานส�ำ หรบั เด็ก ตลอดจนถึงการนำ�ไปสรา้ งเป็นบทภาพยนตร์และละคร โทรทศั นส์ มัยใหม่หลายส�ำ นวน นทิ าน ปลาบทู่ อง สะทอ้ นสภาพการท�ำ มาหากนิ และวถิ ที างวฒั นธรรมของชาวพนื้ บา้ นทอ้ งถน่ิ เชน่ การหาปลา เลย้ี งววั ควายในทงุ่ นา การเสย่ี งทาย พธิ กี รรมพน้ื บา้ น พธิ กี รรมทางไสยศาสตร์ หรอื ทางพทุ ธศาสนา เชน่ การเรยี กขวญั ลางสังหรณ์ การเล้ยี งดูบุตร เป็นตน้ นอกจากน้ี นิทาน ปลาบู่ทอง ยังดำ�รงอยู่ในวิถีชีวิตไทยในมิติต่างๆ เช่น เป็นชื่อบ้านนามเมืองในถ่ินทาง ภาคเหนอื ตอนบนของไทยหลายแหง่ เชน่ ในอ�ำ เภอหางดง จงั หวดั เชยี งใหม่ อ�ำ เภอเชยี งค�ำ จงั หวดั เชยี งราย ตลอดจน มีการเทศน์ธัมม์ เตา่ นอ้ ยอองคำ� โดยพระสงฆ์ ในวนั พระระหว่างเข้าพรรษาในถน่ิ ภาคเหนอื โดยจะมีชาวบ้านรับเปน็ ศรัทธาหรือเจ้าภาพกัณฑ์เทศน์ในแต่ละวันพระ เรียกว่าการ “ทานธัมม์” โดยไปซ้ือธัมม์สมัยใหม่ที่พิมพ์ด้วยอักษร ไทยกลาง แตม่ รี ปู แบบเปน็ เลม่ ยาวคลา้ ยกบั ใบลานมาถวายพระ หรอื บางวดั กใ็ ชว้ ธิ กี าร “บชู า” เอาจากทว่ี ดั มอี ยแู่ ลว้ ซึ่งถือวา่ การทานธัมมด์ งั กลา่ วเป็นการทำ�บุญอย่างหน่ึงและไดก้ ศุ ลแรง ในปจั จุบัน นิทาน ปลาบทู่ อง ก็ด�ำ รงอยใู่ นสื่อสมัยใหม่ เช่น เปน็ บทภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ รวมถงึ หนังสอื การต์ ูนส�ำ หรับเด็กอกี หลายสำ�นวน นทิ านปลาบทู่ อง ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔ 18

นทิ านปัญญาสชาดก เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์ทรงศกั ดิ์ ปรางคว์ ัฒนากลุ ปญั ญาสชาดก หรอื ปณั ณาสชาดก เป็นชาดกนอกนิบาตหรือพาหริ ชาดก แตง่ ข้ึนโดยน�ำ นิทานจากอรรถกถา ชาดกและนทิ านพนื้ บา้ นมาดดั แปลงใหเ้ ปน็ เรอื่ งราวของพระโพธสิ ตั วใ์ นชาตภิ พตา่ งๆ ใหต้ น้ เรอ่ื งมสี ถานทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ตรสั เลา่ ชาดกและเหตทุ ปี่ รารภชาดก และตอนทา้ ยมปี ระชมุ ชาดก กลา่ วถงึ ตวั ละครในเรอื่ งมาเกดิ เปน็ ใครในปจั จบุ นั ชาดกแต่ละเร่ืองมุ่งส่ังสอนหลักธรรมทางพุทธศาสนา อาจมีหลักธรรมสำ�คัญหนึ่งอย่างหรือหลายอย่างอยู่ในเร่ือง เดียวกัน แต่ในความเป็นนิทานพืน้ บา้ นจึงยังคงสรา้ งความสนุกสนานเพลดิ เพลินใหแ้ กผ่ ู้ฟงั ตามช่อื “ปญั ญาสชาดก” แปลว่า ชาดก ๕๐ เร่อื ง พระสงฆ์ล้านนาโบราณเรียก ชาดกนอกสงั คายนา ลา้ นนา ท่ัวไปเรยี กวา่ ปญั ญาสชาดก ลาวเรยี กว่า พระเจา้ ๕๐ ชาติ พม่าเรยี กว่า ชิมเมปณั ณาสชาติ หมายถึงชาดก ๕๐ เรอ่ื ง ของเชยี งใหม่ ไทยกลางเรียก พระปัญญาสชาดก หรือพระเจา้ ๕๐ ชาติ ชาดกนอกนิบาตในล้านนามปี ระมาณ ๒๒๐ เร่ือง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความนิยมของชาวล้านนาท่ีแต่งชาดกนอกนิบาต สำ�หรับปัญญาสชาดก เป็นการรวมเอา ชาดกนอกนบิ าต ๕๐ เร่ืองมาเข้าชุดกนั การรวมชาดกเขา้ เป็น ปญั ญาสชาดก น้ัน แต่ละแห่งมีเร่ืองชาดกไม่เหมอื นกัน พิชติ อัคนจิ และคณะ (๒๕๔๑) กลา่ วว่า เมอื่ นำ� “ปัญญาสชาดก” ฉบบั ภาษาไทย ฉบบั ลาว ฉบบั พมา่ และฉบับเชยี งตุง (ซ่งึ เป็นแบบโวหาร มีอยู่ ๒๖ เรื่อง) มาตรวจสอบดแู ลว้ พบวา่ แตล่ ะชดุ มิได้มีชาดกทตี่ รงกันทั้งหมด เมือ่ นำ�ชาดกต่างๆ ใน “ปัญญาสชาดก” ฉบบั ลาว พม่า และเขมรมารวมกนั แล้ว พบว่ามีชาดกเรื่องต่างๆ ท่ีไมซ่ ้าํ กันนบั ได้ถึง ๑๐๔ เร่ือง และเร่ืองดังกล่าวทง้ั หมด สามารถพบไดใ้ นฐานะชาดกเด่ียวครบทุกเร่อื งในลา้ นนา” เชือ่ กนั วา่ ปญั ญาสชาดก แต่งขน้ึ ประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐ – ๒๒๐๐ โดยพระสงฆเ์ ชยี งใหม่ ปัญญาสชาดก ฉบับ ล้านนา ตามท่ีปรากฏในคัมภีรป์ ฎิ กมาลาซง่ึ เปน็ คมั ภีร์บันทกึ รายชอ่ื คัมภรี พ์ ระไตรปฎิ กแบบล้านนา มี ๕๐ เรอ่ื ง แบง่ เป็น ๕ วรรค แตล่ ะวรรคมชี าดก ๑๐ เรือ่ ง ดงั นี้ 19

อาทิตตวรรค ๒. ตุลกชาดก ๓. สมั มาชีวชาดก ๕. สุมภมิตตชาดก ๖. สมุททโฆสชาดก ๑. อาทิตตราชชาดก ๘. ธมั มิกชาดก ๙. สทิ ธิธรมหาเศรษฐีชาดก ๔. อรนิ ทมชาดก ๗. จาคทานชาดก ๑๐. สังขปัตตชาดก สุทธนวุ รรค ๒. นรชวี ชาดก ๓. ทสปญหาชาดก ๕. กมั พลชาดก ๖. โคปาลชาดก ๑. สุทธนุชาดก ๘. สิรวิ ปิ ุลกิตตชิ าดก ๙. อฏฐปริขารชาดก ๔. สรุ ปุ ราชชาดก ๗. สริ จิ ฑุ ามณีชาดก ๑๐. สทุ ธนชาดก จนั ทวรรค ๒. สาทิตราชชาดก ๓. รตั นปโชตชาดก ๕. วิรยิ บณั ฑติ ชาดก ๖. วิปลุ ชาดก ๑. จันทราชชาดก ๘. มหาสรุ เสนชาดก ๙. พรหมโฆสชาดก ๔. เทวสสี หงั สชาดก ๗. มหาปทุมชาดก ๑๐. เสตมูสิกชาดก อรยิ ฉตั ตวรรค ๒. สุพทั ธชาดก ๓. พัทธิรชาดก ๕. ปทีปชาดก ๖. เวลามชาดก ๑. อรยิ ฉัตตชาดก ๘. สิรสาชาดก ๙. โสนันทชาดก ๔. ปทีปชาดก ๗. วัฏฏังคลุ ิชาดก ๑๐. สวุ ณั ณชาดก พรหมกมุ ารวรรค ๑. พรหมกมุ ารชาดก ๒. สุจกิ ขตชาดก ๓. อกั ขรลิกขติ ตชาดก ๔. วัฑฒนกมุ ารชาดก ๕. อกตญญชาดก ๖. ทุกกัมมกุมารชาดก ๗. สัคคานังวิวาทงั ชาดก ๘. สิทธสิ ารจกั กวตั ตชิ าดก ๙. สีลชาดก ๑๐. มหาสุทสั สนชาดก ปัญญาสชาดก มีความแพร่หลายท้ังในล้านนา ไทย พม่า ลาว เขมร และชนชาติไทในประเทศจีน แต่เดิม ปัญญาสชาดก แตง่ เปน็ ภาษาบาลี แลว้ แปลเป็นภาษาล้านนา ก่อนจะเปน็ ภาษาต่างๆ ชาดกเหลา่ น้ใี ชเ้ ทศนาสั่งสอน พทุ ธธรรม และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ชวี ติ คนไทยเปน็ อยา่ งมาก ดงั จะพบวา่ มชี าดกทจี่ ดั เปน็ ปญั ญาสชาดกอยเู่ ปน็ จ�ำ นวนมาก และบางเรอื่ งกม็ หี ลายส�ำ นวน รวมทงั้ มกี ารคดั ลอกตอ่ ๆ กนั มา นอกจากเปน็ เรอ่ื งเลา่ ส�ำ นวนเทศนแ์ ลว้ ยงั เปน็ ตน้ เคา้ ให้ งานจติ รกรรม วรรณกรรม นาฏกรรม และประตมิ ากรรม อกี เปน็ จ�ำ นวนมาก โดยเฉพาะวรรณคดไี ทยและวรรณกรรม ทอ้ งถ่นิ จำ�นวน ไมน่ ้อยท่มี ที ี่มาจากนิทานในปัญญาสชาดกน้ี นิทานปัญญาสชาดก ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ 20

นทิ านพระรถ-เมรี เรยี บเรียงโดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์อภิลกั ษณ์ เกษมผลกูล นิทานพระรถ หรอื นิทานพระรถ–เมรี เป็นนทิ านทเ่ี ป็นทร่ี บั รแู้ พรห่ ลายในทุกภาคของไทย เรยี กช่อื ตา่ งๆ กนั คือ พระรถ-เมรี (ภาคกลาง, ภาคตะวันออก) นางสบิ สอง (ภาคกลาง, ภาคเหนือ) พระพุทธเสน–นางกงั รี หรอื ต�ำ นาน ภูทา้ วภูนาง (ภาคอีสาน), นางสบิ สอง นางกงั หรี (ภาคใต้) เนื้อหาเป็นเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ หรือนิทานมหัศจรรย์ สันนิษฐานว่าในช้ันต้นเป็นนิทานพื้นบ้านท่ีเล่าต่อๆ กันมาแบบมุขปาฐะ ภายหลังมีการนำ�ไปแต่งเป็นภาษาบาลีและรวบรวมไว้เป็นเร่ืองหนึ่งใน ปัญญาสชาดก ด้วย เรื่อง รถเสนชาดก ซ่ึงทำ�ให้พระรถเสนมีฐานะเป็นพระโพธิสัตว์ ความเป็นที่นิยมของเร่ืองพระรถ–เมรี ทำ�ให้มีการ อ้างถงึ ตัวละครทง้ั สองนใ้ี นวรรณคดเี รอื่ งอน่ื ๆ ดว้ ย เช่น ใน โคลงนริ าศหรภิ ุญชยั จินดามณี และ กาพย์ห่อโคลงศรี มโหสถ นอกจากน้ียังปรากฏการประพันธ์ในรูปแบบต่างๆ จำ�นวนมากท้ังลายลักษณ์ ได้แก่ กลอนบทละคร กลอนอ่านหรือกลอนนิทาน กลอนนิราศ กาพย์ขับไม้ คำ�ฉันท์ และแต่งเป็นมุขปาฐะหรือเพลงพื้นบ้าน ได้แก่ เพลงกล่อมเดก็ เพลงทรงเคร่ือง เพลงขอทาน เปน็ ต้น นอกจากประเทศไทยแลว้ ยงั พบนทิ านพระรถในประเทศเพอื่ นบา้ นของไทยดว้ ย โดยเฉพาะในประเทศกมั พชู า ลาว และเมยี รม่า นับวา่ เป็นวัฒนธรรมร่วมกันในดินแดนอษุ าคเนย์ มีเรอ่ื งของพระรถ-เมรีปรากฏอย่ใู นตอนต้นของ พงศาวดารล้านชา้ ง ซึ่งว่าดว้ ยท่ีมาของบรรพชนของกล่มุ ชาวลาวโดยได้กล่าวถึงนางเมรี หรือกังรี และพระรถ หรือ พระพุทธเสน ในฐานะบรรพชนต้นวงศ์ของกลุ่มลาว นิทานพระรถจึงเป็นท่ีแพร่หลายท้ังในหมู่ชาวบ้านและชาววัด และโดยเฉพาะในเมอื งทม่ี ีชาวลาวอพยพไปอาศัยอยู่ นทิ านพระรถมีเนอ้ื เร่อื งหลกั แบ่งเป็นสองภาค คือภาคชีวิตของนางสิบสอง มารดาของพระรถ และภาคชวี ิต ของพระรถ ภาคแรก คอื ภาคชวี ติ ของนางสบิ สองกลา่ วถงึ พระรถสทิ ธิ์ เปน็ เจา้ ครองนครทไี่ มม่ พี ระมเหสคี รองเมอื งไพศาลี ดว้ ยความสงบสขุ เรื่อยมา เมอื งนนั้ มีเศรษฐรี าํ่ รวยมากคนหน่ึงมีภรรยาอยูก่ ินกนั มานานแต่ไม่มบี ตุ รธดิ า จึงพากนั ไป หาพระฤๅษีเพ่ือขอบุตรธดิ า พระฤๅษีจงึ ให้เกบ็ ก้อนกรวดท่ปี ากบอ่ นํา้ หนา้ อาศรม และใหน้ ึกถึงพระฤๅษี ทุกครั้งเมื่อ ภาวนาเศรษฐีเก็บก้อนกรวดไปสิบสองก้อน หลังจากน้ันภรรยาได้ต้ังท้องมีธิดาติดต่อกันมาเรื่อยมาจนได้สิบสองคน เศรษฐีเลีย้ งลูกสาวดว้ ยความเอ็นดู อยูต่ ่อมาเศรษฐคี ้าขายขาดทนุ จนไมม่ อี าหารเลี้ยงดูลูกสาวทั้งสิบสองคน ในทสี่ ุด จึงตัดสินใจท่ีจะนำ�ลูกสาวทั้งหมดไปปล่อยป่า ขณะที่ปรึกษากันระหว่างผัวเมียนางเภาลูกสาวคนสุดท้องแอบได้ยิน จงึ ไปเกบ็ กอ้ นกรวดไวเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก ครน้ั เมอื่ พอ่ พาเขา้ ปา่ ไปตดั ฟนื นางเภาจะเดนิ รงั้ ทา้ ยและเอากอ้ นกรวดทง้ิ ตาม รายทางเพ่อื เป็นเครื่องหมาย เมอ่ื ไปถึงป่าพ่อใช้ใหล้ ูกๆ แยกย้ายกนั ไปตดั ฟืนหาผลไมใ้ นปา่ กวา้ ง ส่วนพอ่ เหน็ ลูกจาก 21

ไปในปา่ หมดแลว้ กห็ ลบหนีกลับบา้ น ครัน้ ตกเยน็ ลกู สาวท้งั สบิ สองคนไดก้ ลบั มายงั ท่ีนดั พบ รออยู่นานไมเ่ ห็นพอ่ ตา่ ง รอ้ งไห้ คราํ่ คราญ นางเภาจงึ บอกพๆี่ วา่ ตนจะพากลบั บา้ น นางเภาพาพๆี่ เดนิ ตามกอ้ นกรวดทน่ี างไปโปรยเอาไวต้ อน เดินทางมา จนกระทัง่ มาถึงบ้าน เศรษฐีก็ได้หาวิธีไปปล่อยลูกสาวในป่าอีกคร้ังจนกระท่ังสำ�เร็จ นางทั้งสิบสองไม่สามารถจะเดินทาง กลบั บา้ นไดพ้ ากนั รอ่ นเรพ่ เนจรไปเรอ่ื ย ในทส่ี ดุ หลงเขา้ ไปในเมอื งยกั ษ์ โดยอาศยั อยกู่ บั นางสนั ทมาร (สนธมาร, สนทรา) ยักษ์แม่หม้ายมีลูกสาวบุญธรรม ช่ือนางเมรี นางสิบสองไม่ทราบว่านางสันทมารเป็นยักษ์จึงอาศัยอยู่ด้วย วันหน่ึง นางสบิ สองซกุ ซนไปตรวจดสู งิ่ ตา่ งๆ ได้พบกระดกู คนและสตั ว์จ�ำ นวนมาก พวกนางจึงรู้วา่ นางสันทมารนน้ั เป็นยกั ษ์ จึงพากันหนีด้วยความกลัว นางสันทมารกลับมาทราบจากเมรีว่านางสิบสองหนีไปก็โกรธจึงออกติดตามหวังจะจับ กนิ เป็นอาหาร ในท่สี ุดนางสบิ สองเดินทางกลบั มายงั เมอื งไพศาลี พระรถสทิ ธ์ิเจ้าเมอื งเสดจ็ มาพบเข้าทรงพอพระทยั มากจงึ รับนางสิบสองคนมาเป็นพระมเหสี ส่วนนางสนั ทมารไดต้ ดิ ตามมาจนถงึ เมอื งไพศาลี เม่อื ทราบว่านางสบิ สอง ได้เป็นพระมเหสขี องพระราชสิทธิก็ยงิ่ เคยี ดแคน้ จงึ แปลงกายเป็นหญงิ งาม ทำ�อุบายรอ้ งหม่ ร้องไห้ จนได้เฝ้าพระรถ สิทธิเ์ ลา่ ว่า ตนช่อื นางสมุทรชาถูกบดิ าบงั คบั ให้แต่งงานกับเศรษฐี นางจึงหนมี า พระรถสิทธิ์รบั นางสมทุ รชาไว้เป็น ชายา นางสมุทรชามคี วามเคียดแคน้ นางสิบสองเปน็ ทนุ เดิมอยูแ่ ล้ว จงึ ท�ำ เสน่หม์ ารยาใหพ้ ระรถสิทธห์ิ ลงใหลจนลมื มเหสเี กา่ ท้งั สบิ สอง วนั หน่งึ นางสมุทรชาทำ�อบุ ายโดยนางแกลง้ ป่วยแล้วหมอหลวงรกั ษา แตไ่ ม่หายและไดแ้ จ้งยาทจ่ี ะมาใชร้ กั ษา นอกจากจะตอ้ งใช้ดวงตาของหญิงสาวทีเ่ กิดจากพอ่ แมเ่ ดยี วกนั ๑๒ นาง เป็นเคร่ืองยาจงึ จะรกั ษาหาย ดว้ ยเวทมนต์ ของนางยักษส์ นั ทมารน้ันจงึ ทำ�ใหพ้ ระรถสิทธิ์สัง่ ควกั ลูกตานางสิบสองมาเป็นเครอื่ งยา แต่นางเภาถูกควกั ลูกตาเพียง ขา้ งเดยี วเพราะเมอื่ ครงั้ หนนี างยกั ษส์ นั ทมารนนั้ นางทงั้ สบิ สองคนจบั ปลากนิ ประทงั ความหวิ พๆี่ จบั ปลาไดก้ จ็ ะรอ้ ย กบั เชอื กโดยแทงตาทะลทุ ง้ั สองขา้ ง สว่ นนางเภานนั้ รอ้ ยปลาจากปากปลาไปทะลตุ าขา้ งเดยี ว ฉะนน้ั นางจงึ ถกู ควกั ลกู ตาข้างเดียว เพราะผลกรรมคร้ังนั้นซ่ึงขณะน้ันมเหสีทั้งสิบสองได้ตั้งครรภ์กับพระรถสิทธิ์ทุกคน นางสันทมารจึงให้ ทหารจับไปขังไว้ในอุโมงค์มืดๆ และให้อดอาหาร ส่วนพระรถสิทธิ์ไม่ทราบว่ามเหสีทั้งสิบสองคนต้ังครรภ์เพราะตก อยใู่ นอ�ำ นาจเสน่ห์มารยาของนางยักษ์ นางทัง้ สิบสองคนต่างหวิ โหยอยู่ในอโุ มงค์มดื นั้นจนคลอดบุตร เมือ่ พ่ีสาวใหญ่ คลอดบุตรออกมาต่างก็ช่วยกันฉีกเน้ือแบ่งกันกิน นางเภารับส่วนแบ่งเก็บไว้ได้ ๑๑ ชิ้น คร้ันตนคลอดบุตรออกมา บ้างก็นำ�เนื้อเดก็ ทั้ง ๑๑ ช้นิ สง่ ใหพ้ ๆ่ี ฉะนั้นลกู ของนางเภาจงึ รอดชวี ติ นางเภากเ็ ลยี้ งลูกมาในอโุ มงค์นัน้ จนเจรญิ วยั วิ่งเล่นไดต้ ้ังชื่อวา่ “รถเสน” ภาคท่ี ๒ เป็นภาคทวี่ ่าดว้ ยชีวิตของพระรถเสน กล่าวถงึ พระอินทรท์ ราบเรอ่ื งนางสิบสองถกู ทรมานจึงมาช่วย โดยแปลงกายเป็นไก่มาหากินอยู่หน้าอุโมงค์ พระรถเสนเล้ียงไก่พระอินทร์และนำ�ไก่มาท้าชนพนันกับชาวบ้านก็ได้ ชยั ชนะทกุ ครงั้ แลกเปน็ ขา้ วอาหารมาเลย้ี งแมแ่ ละปา้ จนมชี อื่ เสยี งเลอ่ื งลอื ไปทวั่ ความทราบถงึ พระกรรณพระรถสทิ ธ์ิ พระองคเ์ รียกเข้าเฝา้ ทำ�ใหท้ ราบวา่ พระรถเสนเปน็ พระโอรส นางสมทุ รชาทราบเรื่องคิดกำ�จดั พระรถเสนด้วยการหา อบุ ายให้พระรถสิทธ์ิส่ังพระรถเสนเดินทางไปยังเมืองยักษ์เพอ่ื น�ำ “มะงัว่ รู้หาว มะนาวรูโ้ ห”่ (บางส�ำ นวนวา่ มะมว่ ง ไมร่ หู้ าว มะนาวไมร่ โู้ ห)่ มาเปน็ เครอื่ งยารกั ษานางอกี นางสมทุ รชาเขยี นสาสน์ ใหพ้ ระรถเสนถอื ไปหานางเมรโี ดยเขยี น 22

ส่ังว่า “ถึงกลางวันให้ฆ่ากลางวัน ถึงกลางคืนให้ฆ่ากลางคืน” จากนั้นพระรถเสนควบม้าไปยังเมืองยักษ์ตามคำ�ส่ัง พระบิดา ครั้นมาถึงอาศรมพระฤๅษกี ็ขอหยดุ พักแรม พระฤๅษผี ู้มญี าณพเิ ศษทราบเหตกุ ารณ์จงึ แอบแปลงเนอื้ ความ ในสาสน์ น้ันเสยี ใหม่ว่า “ถงึ กลางวนั ให้แตง่ กลางวนั ถึงกลางคืนใหแ้ ต่งกลางคนื ” เมอื่ พระรถเสนไปถงึ เมอื งยกั ษพ์ บนางเมรี จงึ น�ำ สาสน์ ของนางสมทุ รชามอบใหเ้ พอื่ จะไดข้ อมะงว่ั รหู้ าว มะนาวรโู้ ห่ นางเมรีทราบเรื่องราวตามสาส์นก็ทำ�ตามคำ�สั่งพระมารดาบุญธรรมทุกประการ คือ อภิเษกสมรสและยกเมืองให้ พระรถเสนครอง พระรถเสนอยู่ในเมืองยักษ์ด้วยความสุข แต่ถึงกระนั้นพระองค์ก็ยังระลึกถึงมารดาและป้า ของ พระองค์ จงึ คดิ หาอุบายโดยการจดั เล้ียงสุราอาหารนางเมรจี นเมามายและหลอกถามถึงหอ่ ดวงตานางสิบสอง อีกทงั้ กลอ่ งบรรจดุ วงใจของนางสนั ทมาร ความมนึ เมาสรุ านางเมรจี งึ บอกทเี่ กบ็ สง่ิ ของส�ำ คญั ตลอดจนยาวเิ ศษ ขนานตา่ งๆ แกพ่ ระรถเสนจนหมดสนิ้ พระรถเสนจงึ น�ำ กลอ่ งดวงใจ หอ่ ดวงตาและยารกั ษารวมทง้ั ยาวเิ ศษทโี่ ปรย เปน็ ภเู ขา เปน็ ไฟ เปน็ มหาสมุทร ติดตวั หนอี อกจากเมอื งไป ครั้นเมือ่ นางเมรีหายจากความมนึ เมาไมเ่ ห็นพระรถเสน นางจงึ รูว้ า่ พระรถเสนหนีไป นางกบั เสนายกั ษไ์ ด้ออก ติดตามพระรถเสน พระรถเสนควบม้าหนีมาแตน่ างเมรีกต็ ามทนั พระรถเสนจึงโปรยยาใหเ้ ป็นมหาสมทุ ร นางเมรีสน้ิ แรงฤทธไ์ิ มส่ ามารถจะขา้ มมหาสมทุ รได้ นางเฝา้ ร�ำ พนั ออ้ นวอนใหพ้ ระรถเสนกลบั เมอื งไปอยกู่ บั นาง นางเมรเี ศรา้ โศก ครํ่าคราญจนดวงใจแตกสิ้นใจตาย พระรถเสนกล่าวขอขมาตอ่ หนา้ ศพนางแลว้ ใหเ้ สนายกั ษน์ �ำ กลบั เมือง พระรถเสน ตดั ใจกลบั เมืองไปช่วยมารดา เม่ือกลบั มาถงึ เมืองไพศาลี พระรถเสนน�ำ ดวงตามารดาและปา้ ๆ พร้อมกบั ยารกั ษาจนสามารถมองเหน็ ได้ท้ัง สบิ สองนาง พระรถเสนเข้าเฝา้ พระราชบิดาพร้อมกับทูลวา่ นางสมทุ รชาเปน็ ยักษิณี นางสมุทรชารเู้ ร่อื งจงึ แปลงกาย เป็นยักษ์หวังจะฆ่าพระรถเสนเสีย แต่พระรถเสนต่อสู้กับนางสมุทรชาเป็นสามารถและทำ�ลายกล่องดวงใจของ นางสมทุ รชาจนสิน้ ใจตาย พระรถสทิ ธ์ขิ อโทษมเหสีทงั้ สบิ สองนางท่พี ระองค์ลงทณั ฑ์นางเพราะความมัวเมาในเสน่ห์ มารยาของนางยกั ษิณี ในท่ีสุดพระรถสิทธก์ิ ็ครองเมอื งกบั มเหสที ้งั สิบสองคนอยา่ งสนั ติสขุ เร่ืองราวของพระรถ-เมรี ยงั เป็นนทิ านอธบิ ายทม่ี าของภมู ินามในสถานทีต่ ่างๆ ซึง่ ชาวบา้ นเชื่อกันวา่ ครงั้ หน่งึ เรอ่ื งราวในนิทานพระรถเคยเกดิ ขน้ึ จรงิ ในบรเิ วณนั้นๆ จนกลายเปน็ นทิ านประจ�ำ ถนิ่ (legend) มาจนปจั จุบนั ทั้งน้ี พบวา่ มีความเก่ยี วข้องกบั ภูมนิ ามในภูมิภาคต่างๆ ดงั น้ี ภาคตะวันออก เป็นพื้นท่ีท่ีพบความแพร่หลายของนิทานพระรถมากกว่าภูมิ ภาคอน่ื ๆ โดยพบทจ่ี งั หวดั ชลบุรี และจงั หวดั ปราจนี บุรี ในจังหวัดชลบรุ ี พบในอ�ำ เภอ พนัสนคิ ม ซ่งึ เปน็ ที่อยู่ของกลมุ่ ชาวลาว (ลาวเวยี ง) เมื่อครัง้ รชั กาลท่ี ๓ และไดใ้ ชน้ ิทาน พระรถในการตั้งช่ือสถานท่ีต่างๆ ในบริเวณนี้ โดยเรียกโบราณสถานที่ตำ�บลหน้า พระธาตวุ า่ เมอื งพระรถ เรยี กอ�ำ เภอบอ่ ทองวา่ เมอื งพญาเรห่ รอื เมอื งคชบรุ ซี งึ่ เมอื งของ นาง สนั ธมาร มถี าํ้ นางสบิ สอง มหี นิ สบิ สองกอ้ นเรยี กหมอนนางสบิ สอง มบี า้ นเนนิ ดนิ แดง ที่เป็นสถานท่ีตายของนางเมรีร้องไห้จนน้ําตาเป็นสายเลือดและอกแตกตาย มีสระ พระรถทพ่ี ระรถใชใ้ หน้ าํ้ ไก่ มลี กู ศรพระรถ รางหญา้ มา้ พระรถ ทอี่ �ำ เภอพนสั นคิ ม เปน็ ตน้ 23

นอกจากน้ียังพบที่จังหวัดปราจีนบุรี พบมากในอำ�เภอศรีมหาโพธิ ซ่ึงโดยมากเป็นที่อาศัยของกลุ่ม ชาวลาว (ลาวพวน) ใช้นิทานพระรถ-เมรี ในการตั้งชื่อสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่นเช่นกัน เรียกโบราณสถานที่พบในอำ�เภอ ศรมี หาโพธวิ า่ เมอื งพระรถ (นครมโหสถ) รวมถงึ ยงั พบในจงั หวดั ฉะเชงิ ทรา คอื อ�ำ เภอราชสาสน์ อนั เปน็ สถานทที่ ี่ พระฤๅษี ชว่ นแปลพระราชสาส์นของนางสันธมารเพอื่ ช่วยชวี ิตพระรถ มีลานพระรถชนไกท่ ี่เชื่อวา่ เปน็ สถานทท่ี ่ีพระรถเคยทา้ พนนั เจา้ เมอื งชนไก่ มบี อ่ หรอื ถาํ้ นางสบิ สองทใ่ี ชก้ กั ขงั นางสบิ สอง สว่ นในอ�ำ เภอพนมสารคาม มเี มอื งโบราณเรยี กเมอื ง สนาม เช่อื กนั วา่ เปน็ เมอื งของนางยกั ษส์ ันธมาร ภาคเหนอื พบในจงั หวดั พษิ ณโุ ลก อ�ำ เภอเนนิ มะปราง โดยมสี ถานทเ่ี รยี กกนั วา่ ถาํ้ นางสบิ สอง นอกจากนยี้ งั พบ วา่ ในอำ�เภอสอง จังหวัดแพร่ มีความเช่ือวา่ นางสิบสองเป็นหัวหน้าผีของปเู่ จา้ สมงิ พราย ซง่ึ ผนวกกับนิทาน พระลอ อน่ึง ที่เมืองนาย รัฐฉาน ประเทศพม่า ซึ่งเป็นท่ีอาศัยของชาวไทใหญ่ มีนิทานประจำ�ถิ่นเรื่องนางสิบสองเช่นกัน เนอื้ ความพอ้ งกบั นทิ านอธบิ ายทมี่ าของอ�ำ เภอราชสาสน์ ของจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ต�ำ นานเมอื งนายบอกวา่ บรเิ วณนนี้ นั้ เรยี กวา่ หลอยแตม้ ซง่ึ แปลวา่ ดอยเขยี น นอกจากนภ้ี ายหลงั จากทนี่ างเมรอี กแตกตาย มกี ารน�ำ เอาชน้ิ เนอ้ื และกระดกู ใสเ่ กวยี นไปทงิ้ นอกเมอื ง แตก่ ระดกู ตกระหวา่ งทางท�ำ ใหบ้ รเิ วณนน้ั กลายเปน็ ชอ่ื หลอยเฮ่ หรอื ดอยหก หรอื ตก ซง่ึ ก็ หมายถงึ เนอ้ื และกระดกู หกนน่ั เอง ปจั จบุ นั ดอยเฮเ่ รยี กเพย้ี นกลายเปน็ ดอยเหวะ่ นทิ านพระรถนถ้ี อื เปน็ ทม่ี าของชอื่ เมืองนาย อันเพยี้ นมาจากค�ำ วา่ เมอื งพาย ซง่ึ ค�ำ วา่ “พาย” แปลว่า “ยักษ์” คอื เป็นเมืองของนางสันธมาร นอกจากนี้ เมืองนายยังมีวัดเจดีย์นางสิบสอง เป็นบริเวณที่เช่ือว่านางสิบสองถูกนำ�มาขังไว้ในถ้ํา โดยท่ีด้านหนึ่ง ของหน้าผา ปรากฏลายนว้ิ มอื ของนางยกั ษ์ สว่ นใน ภาคอสี าน พบวา่ มนี ทิ านพระรถ-เมรแี พรห่ ลายไมน่ อ้ ย หากแตส่ ถานทท่ี ใี่ ชอ้ ธบิ ายจะใชอ้ ธบิ ายภเู ขาท่ี อยู่ในประเทศลาว โดยกลา่ วถึงภทู า้ วภนู าง ท่ีเมอื งหลวงพระบาง ว่าเปน็ ภเู ขาของพระพทุ ธเสน กบั นางกังรี และมถี ํ้า นางสิบสองทเ่ี มอื งจ�ำ ปาศักด์ิ ขณะที่ ภาคใต้ พบวา่ ทีจ่ งั หวัดพังงา มีเขาอกเมรี อยฝู่ ั่งขวาของเขาพงิ กนั นอกจากนี้ยงั พบว่าทจ่ี ังหวดั พัทลุงมเี มอื งโบราณทเี่ รียกว่า เมืองพระรถ ดว้ ยเชน่ กนั มีวดั สนุ ทราหรือวัดสนุ ทราวาส วัดแหง่ นเ้ี ดมิ ชอื่ วดั ปลายนาทม่ี าของชอ่ื นไี้ ดม้ าจากชอ่ื นางยกั ษส์ นทรา ในนทิ านเรอ่ื งพระรถเมรี มวี ดั ควนสารหรอื บา้ นควนสารซงึ่ เปน็ ทพ่ี ระฤาษแี ปลงสาสน์ ชว่ ยพระรถ วดั ควนถบ หรอื บา้ นควนถบ หมายถงึ ควรสนิ ธพ เพราะสนิ ธพคอื มา้ พเ่ี ลย้ี งของ พระรถเสน ทง้ั นน้ี ทิ านเรอ่ื งพระรถเมรยี งั แพรห่ ลายไปถงึ แมแ้ ตท่ ไี่ ทรบรุ หี รอื รฐั เคดาห์ ของมาเลเซีย มีกระจับปิง้ นางเมรีเป็นกอ้ นใหญ่ต้งั อยตู่ รงชายทะเลใกล้หมู่บ้านปาดงั กรือเบาหรอื บา้ นท่งุ ควายดว้ ย ปัจจุบันสถานที่ท่ีเก่ียวข้องกับนิทานพระรถในจังหวัดดังกล่าวมาข้างต้น ต่าง นำ�นิทานพระรถไปเผยแพร่และต่อยอดไปสู่การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม “ตามรอย นทิ านพระรถ-เมร”ี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี นอกจากนที้ จ่ี งั หวดั แพรม่ กี าร สร้างศาลนางสิบสองข้ึน และมีพิธีบวงสรวงเป็นงานประจำ�ปีโดยเชื่อว่านางสิบสอง เป็นเสอ้ื เมอื งของเมืองสอง โดยจะมพี ิธีในทกุ วนั ที่ ๑๒ เมษายน ของทกุ ปี ขณะท่ีใน พนื้ ทอ่ี นื่ ๆ เชน่ ทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี มกี ารตง้ั ศาลแตเ่ ปน็ ศาลขนาดเลก็ มพี ธิ กี รรมเฉพาะ ใน ชุมชนเทา่ นนั้ 24

อนงึ่ นอกจากนทิ านพระรถ จะเกย่ี วขอ้ งกบั การท�ำ หนา้ ทอี่ ธบิ ายประวตั คิ วามเปน็ มาของสถานทตี่ า่ งๆ ในจงั หวดั ทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ แลว้ นนั้ นทิ านพระรถ-เมรี ยงั เกย่ี วพนั กบั เรอ่ื งไกช่ นดว้ ย เนอื่ งจากในนทิ านพระรถ-เมรี พระรถมชี อื่ เสียงในการชนไก่มาก ดังน้ันต่อมาชื่อ ของพระรถจึงนำ�มาใช้ในการเรียกไก่ชนท่ีมีลักษณะดี ในแถบเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรีด้วย ว่า “ไก่เขียวพระรถ” ซ่ึงเป็นไก่ชนลักษณะดีเป็นไก่เขียวหางดำ� เชื่อว่าเป็นไก่ชนิดเดียวกับที่ พระรถใช้ท้าพนนั จนชนะทุกคราว นอกจากนี้นิทานพระรถยังเผยแพร่ในรูปของการแสดงต่างๆ ทั้งในรูปแบบของละครนอก ละครชาตรี ลิเก หมอลำ� มาอย่างต่อเนื่อง นิทานพระรถ-เมรีจึงนับว่าเป็นนิทานเรื่องสำ�คัญเรื่องหนึ่งในวัฒนธรรมไทย ท่ีอาจได้รับ อิทธิพลมาจากวัฒนธรรมต่างๆ จนพัฒนาการเป็นนิทานท้องถิ่นของไทยที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทใน วัฒนธรรมไทยในที่สุด นทิ านพระรถ-เมรี ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ เอกสารอ้างอิง เจริญ ชยตุ มิ ันตด์ ำ�รง. อำ�เภอพนัสนคิ ม ไม่ใช่ เมืองพระรถ ในประวัตศิ าสตร์ (นครอินทปัตถ)์ ทถี่ กู ลืม. ชลบุรี : โรงพมิ พ์งามช่าง. ๒๕๔๕. ประพนธ์ เรอื งณรงค.์ ช่อื บ้านนามเมืองภาคใต้: พทั ลุง (๑). รูสมิแล. ปีท่ี ๓๐ ฉบบั ท่ี ๓ กันยายน – ธันวาคม. ๒๕๕๒. พระครูศรีมหาโพธค์ิ ณารกั ษ์. ประวตั จิ ังหวัดปราจีนบรุ ี ; และ, ตำ�นานนครมโหสถ, หรอื , เมอื งพระรถ ฉบบั กรม ศลิ ปากรตรวจแก.้ ปราจีนบุรี : กจิ เกษมการพมิ พ์. ๒๕๑๒. นันทพร พวงแกว้ . การศกึ ษาเชิงเปรียบเทียบเรื่อง พระรถ – เมรี ฉบับต่างๆ. วทิ ยานพิ นธอ์ ักษรศาสตรมหาบณั ฑิต ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ๒๕๒๗. หอพระสมุดวชิรญาณ. กาพย์ขับไม้เรือ่ งพระรถ. พระนคร : หอพระสมดุ วชิรญาณ (Digital Full text) ๒๔๖๕. ศิธรา จุฑารัตน.์ เรื่องพระรถ ฉบับวดั เทวสังฆาราม. ใน สยามปกรณ์ปริวรรต เล่ม ๔ . นครปฐม: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล. (เอกสารอดั สำ�เนา) ๒๕๕๗. ศลิ ปากร, กรม. ประชุมเรอ่ื งพระรถ. กรงุ เทพฯ: หสน.เจ้ียฮ้วั . ๒๕๕๒ ศลิ ปากร, กรม. บทเหก่ ล่อมพระบรรทม บทกลอนกล่อมเดก็ บทปลอบเด็ก และบทเด็กเลน่ . พระนคร: ครุ ุสภา. ๒๕๑๓ สมดลุ ท�ำ เนาว.์ ต�ำ นานพระรถเมรที ่ีพนสั นคิ ม. ชลบุร:ี สภาวฒั นธรรมจังหวดั ชลบรุ .ี ๒๕๕๒ อภลิ กั ษณ์ เกษมผลกลู (บรรณาธกิ าร). ประชมุ เพลงทรงเครอ่ื ง: สบื สานต�ำ นานเพลงพนื้ บา้ นจากโรงพมิ พว์ ดั เกาะ. นครปฐม: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล. ๒๕๕๔ 25

นิทานพระสุธนมโนห์รา – ภาคใต้ เรยี บเรยี งโดย รองศาสตราจารย์ประพนธ์ เรืองณรงค์ นทิ านพ้นื บา้ นเร่ือง พระสธุ นมโนหร์ า ในภาคใต้ มีทั้งประเภทมุขปาฐะ และลายลักษณ์ (หนงั สือบุด) ทีแ่ ตง่ เปน็ ค�ำ กาพย์ มีหลายส�ำ นวน ตวั อยา่ ง มโนราหรานิบาต วดั มชั ฌิมาวาส จังหวดั สงขลา สว่ นภาคเหนือมี สุธนชาดก ภิกษชุ าวเชยี งใหม่แตง่ ไว้ใน ปญั ญาสชาดก (ราว พ.ศ. ๒๐๐๐-๒๒๐๐) นอกจากแพรห่ ลายในไทยแล้ว ยังแพร่หลาย ในประเทศเพือ่ นบา้ นอกี ด้วย ปัจจุบนั ภาคเหนือมีบทคา่ วซอเรือ่ งเจ้าสธุ น ภาคอสี านมีเร่อื ง ทา้ วสีธน ภาคกลางมีบท ละครคร้ังกรุงเกา่ เรื่อง นางมโนหร์ า พระสุธนค�ำ ฉันท์ ของพระยาอศิ รานุภาพ (อ้น) พระสธุ นค�ำ กลอนของนายพลอย และพระสุธนฉบับร้อยแก้ว ของหลวงศรีอมรญาณ เป็นต้น แต่ละสำ�นวนส่วนใหญ่มีโครงเรื่องจากพระสุธนชาดก ในปัญญาสชาดกดังกลา่ ว 26

เรอื่ งยอ่ จาก มโนหรานบิ าต ฉบบั วดั มชิ ฌมิ าวาส จงั หวดั สงขลา เรมิ่ ตง้ั แตท่ า้ วอาทติ ยว์ งศแ์ ละนางจนั ทาเทวแี หง่ เมอื งปญั จา มพี ระโอรสคอื พระสธุ น เมอื งน้ี มคี วามสขุ รม่ เยน็ เพราะมกี ารสกั การะพญานาคทา้ วชมพจู ติ รเปน็ ประจ�ำ ต่างกับเมืองมหาปัญจามีแต่ความเดือดร้อน และเจ้าเมืองยังคิดฆ่าท้าวชมพูจิตร โดยให้พราหมณ์ร่ายเวทมนตร์ แตม่ สิ ำ�เรจ็ เพราะพรานบุญขัดขวางไว้ ตอ่ มาพรานบญุ ยมื นาคบาศจากทา้ วชมพจู ติ รเพอื่ คลอ้ งนางมโนหร์ า ไปถวายเปน็ พระชายาพระสธุ น จนกระทงั่ พระสธุ นตอ้ งออกรบ เน่อื งจากพราหมณป์ ุโรหิตระแวงว่าพระสุธนจะถอดยศตน จงึ แอบไปสมคบกับขา้ ศึกใหย้ กทัพ มาตเี มอื งปญั จา ชว่ งนนั้ นางจนั ทาเทวฝี นั รา้ ย พราหมณป์ โุ รหติ ทลู ใหน้ างท�ำ พธิ สี ะเดาะเคราะหแ์ ละบชู ายญั นางมโนหร์ า นางมโนห์ราขอปีกหางเพื่อรำ�ถวายเป็นคร้ังสุดท้าย แล้วบินหนีไปพร้อมกับฝากแหวน และตำ�รายาแก้พิษต่างๆ ไว้ กับพระกัสสปฤๅษี เพือ่ มอบแกพ่ ระสธุ น ตอ่ มาพระสุธนมชี ัยชนะข้าศกึ และเดินทางติดตามพระชายา นานถึง ๗ ปี ๗ เดอื น จงึ ประสบความส�ำ เรจ็ พระสุธนมโนห์รา สำ�นวนภาคใต้ ตรงกับ สุธนชาดก คือนางมโนห์ราเป็นพี่องค์โต สำ�นวนอ่ืนๆ มักเป็น นอ้ งสดุ ทอ้ ง พรานบญุ (สหชาตขิ องพระสธุ น) ส�ำ นวนภาคใต้ ชอ่ื พรานบญุ ทฤกษา สธุ นชาดก ชอื่ บณุ ฑรกิ เมอื งปจั จา สำ�นวนภาคใต้ คือเมืองปัญจาละในสุธนชาดก เปน็ ต้น นอกจากเป็นเรื่องเล่าแล้ว ชาวใต้ยังนำ�เร่ือง พระสุธนมโนห์รา ไปแต่งเป็นบทช้าน้อง หรือ เพลงร้องเรือ (เพลงกลอ่ มเด็ก) บทโนรา ๖ เรื่อง นางมโนหร์ า เปน็ ๑ ใน ๑๒ เร่อื ง ทแี่ สดงในพธิ ีโรงครู หนงั ตะลุง และเพลงบอก รวมทั้ง ภาพจติ รกรรมฝาผนงั นาฏศลิ ป์ การแสดง และดนตรี สถานภาพการดำ�รงปัจจุบัน มีการเผยแพร่ด้วยส่ือสมัยใหม่ เช่น หนังสือ สารคดี บันเทิงคดี การ์ตูน CD ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ นทิ านพระสธุ นมโนห์รา – ภาคใต้ ได้รบั การข้นึ ทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจำ�ปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๕ 27

นิทานยายกะตา เรยี บเรยี งโดย สมุ ามาลย์ พงษไ์ พบูลย์ นิทานเป็นเร่ืองเล่าสืบต่อกันมา เพื่อความบันเทิงและคติสอนใจ สะท้อนสภาพสังคมวิถีชีวิตและความเช่ือ ของสังคมน้ัน นิทานยายกะตา เป็นตัวอย่างนิทานไทย ท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์และแสดงถึงความเป็นไทยในด้าน สงั คมเกษตรกรรม การเน้นความกตัญญู และ การเคารพอาวุโสได้เปน็ อยา่ งดี นิทาน ยายกะตา เป็นนิทานเข้าแบบและเป็นนิทานลูกโซ่ ด้วยเหตุที่มีการดำ�เนินเรื่องซ้ําๆ และย้อนรอย เรือ่ งเดมิ อาจจะเลา่ ต่อเนื่องไปอย่างไม่มีท่ีส้นิ สุดได้ มีลกั ษณะเปน็ ลูกโซต่ ่อเนือ่ งกันไป นทิ าน ยายกะตา เป็นนิทานเกา่ สบื ประวตั เิ ทา่ ทห่ี ลกั ฐานได้ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ เนื่องจากปรากฏเปน็ ภาพวาด ไว้เชงิ บานหน้าตา่ งในพระอโุ บสถวดั พระเชตพุ น เน้อื เรอื่ งเร่ิมตน้ ว่า “ยายกะตาปลูกถว่ั ปลูกงาให้หลานเฝ้า หลานไมเ่ ฝา้ กามากินถ่ัวกนิ งา เจด็ เมลด็ เจ็ดทะนาน ยายมายายด่า ตามาตาตี หลานหนไี ปหานายพราน ขอให้ช่วยยงิ กา นายพรานตอบวา่ ไมใ่ ช่กงการของขา้ … 28

และในเมือ่ “นายพรานไมม่ ายิงกา กามากินถ่วั กินงาของตากบั ยาย ยายมายายดา่ ตามาตาตี” เรือ่ งกด็ �ำ เนิน ตอ่ วา่ “หลานรอ้ งไหไ้ ปบอกหนู ใหไ้ ปกดั สายธนขู องนายพราน นายพรานไมม่ ายงิ กา กามากนิ ถว่ั กนิ งาของตากบั ยาย ยายมายายด่า ตามาตาตี หนูบอกไม่ใช่ธุระของข้า” และเรื่องก็จะดำ�เนินต่อไปคือ หลานก็จะไปบอกแมวให้มา กนิ หนู บอกหมาใหก้ นิ แมว บอกไมค้ อ้ นใหต้ หี วั หมา บอกไฟใหไ้ หมไ้ ม้ บอกนา้ํ ใหด้ บั ไฟ บอกตลงิ่ ใหพ้ งั ทบั นาํ้ บอกชา้ ง ให้เหยียบตลิ่ง บอกแมงหว่ีใหต้ อมตาช้าง เร่อื งพลิกผันเพราะ “แมงหวีย่ อมไปตอมตาชา้ ง” ช้างจึงยอมไปเหยยี บตลง่ิ ตล่งิ จึงยอมพงั ทบั น้าํ นาํ้ จึงยอมให้ดับไฟ..... จนท้ายท่ีสุดนายพรานยอมไปยิงกาในตอนจบ นิทาน ยายกะตา ได้รับความนิยมและเล่าสืบต่อกันมา โดยมีหลักฐานปรากฏอยู่เป็นรูปเขียนเชิงหน้าต่างใน พระอโุ บสถ วัดพระเชตุพน ซง่ึ เปน็ ท่ีจารกึ เรอื่ งต่างๆ ทเ่ี ปน็ คลงั ความร้เู ก่ยี วกบั วฒั นธรรมไทยมากมาย ปัจจุบัน นิทาน ยายกะตา ปรากฏในแบบเรียนหลักของไทย คือ ในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ชดุ ภาษาไทยเพื่อชวี ิต ชื่อหนงั สือ “วรรณคดลี ำ�น�ำ ” และเคยจดั พิมพเ์ ฉพาะเนือ้ เร่อื ง เปน็ หนงั สอื อา่ นนอกเวลาของ นกั เรยี นระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะหนังสือวรรณคดีล�ำ นำ� ไดค้ ดั ลอกภาพทัง้ ๑๒ ภาพ และข้อความขา้ งใตภ้ าพ เรยี งลำ�ดบั ตง้ั แต่ตน้ จนจบ นิทาน ยายกะตา ใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั สงั คมไทย ดา้ นเกษตรกรรมทม่ี ขี ้าว ถวั่ งา เปน็ อาหารหลัก แสดงดว้ ย ความรกั หว่ งใย ของปยู่ า่ ตายาย ซง่ึ เปน็ ผสู้ งู อายทุ ม่ี ตี อ่ หลาน และแสดงถงึ การอบรมสงั่ สอนใหห้ ลานเชอ่ื ฟงั ค�ำ สงั่ ของ ตายาย และสงั่ สอนใหค้ นไทยเอาใจใสธ่ รุ ะของผูอ้ ืน่ อย่าดูดาย เมื่อใครมาขอความชว่ ยเหลอื ทนั ที ไมค่ วรคดิ ว่าธรุ ะ ไม่ใช่ หรือไม่ใช่ธุระของตน นั่นคือมีความเอื้ออาทร ช่วยเหลือทุกข์ของผู้อื่น และเฉล่ียความสุขเผื่อแผ่ไปในสังคม อนั เปน็ คณุ ธรรมของสังคมไทยมายาวนาน นทิ านยายกะตา ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ 29

นิทานวนั คาร เรยี บเรียงโดย รองศาสตราจารย์ประพนธ์ เรอื งณรงค์ นิทานเรือ่ ง วันคาร หรอื วรรณกรรมเรื่อง วันคารคำ�กาพย์ เปน็ วรรณกรรมพน้ื บ้านทีร่ ู้จกั แพร่หลายในท้องถิ่น ภาคใต้ โดยเฉพาะนครศรธี รรมราช สรุ าษฎรธ์ านี และสงขลา วันคารคำ�กาพย์ยงั มีเนอื้ เรอ่ื งคลา้ ยกับพุทโทคำ�กาพย์ หรอื เจ้าพทุ โท วรรณกรรมพน้ื บา้ นภาคใต้ และวรรณกรรมพ้ืนบ้านภาคกลาง วันคารคำ�กาพย์ มีโครงเร่ืองคล้ายกับช่ือเรื่อง ปลาแดกปลาสมอ วรรณกรรมพ้ืนบ้านภาคอีสาน และชื่อ วรรณกรรมกลุ่มชนชาติไทหลายกลุ่ม ดังที่ ประคอง นิมมานเหมินท์ เสนอไว้ในหนังสือ “ไขคำ�แก้วคำ�แพง พินิจ วรรณกรรมไทย-ไท” ว่าชื่อเรื่องวรรณกรรมดังกล่าวมีต่างๆ กันไป ได้แก่เร่ือง ปลาแดกปลาสมอ ของชาวไทดำ� เวียดนาม เรื่องท้าวกำ�พร้า ปลาแดกปลาสมอ วรรณกรรมลาว และมีช่ืออื่นอีกคือ บุษบาปลาแดก บุษบาชาดก เร่ือง อะลองปลาส้ม วรรณกรรม ไทยเขิน เมืองเชียงตุง สหภาพพม่า เร่ืองอะลองปลาส้ม วรรณกรรมไทเหนือ เขตปกครองตนเองใตค้ ง สาธารณรฐั ประชาชนจนี มีข้อสังเกตคือวรรณกรรมชื่อดังกล่าวมาจากชาดกคือฉบับของลาวและอีสาน เดิมเป็นฉบับใบลานจารด้วย อกั ษรตวั ธรรม สว่ นกลอนสวดเรอื่ ง พทุ โธ ภาคกลาง และ เจา้ พุทโธ ภาคใต้ ผูแ้ ต่งอา้ งว่ามาจากชาดกเช่นกนั (ชาดก นอกนบิ าต) ส่วนของกลมุ่ ชาวไทอืน่ ๆ เป็นวรรณกรรมมุขปาฐะ เรอ่ื ง วนั คารคำ�กาพย์ และส�ำ นวนอ่ืนๆ และสำ�นวนในภาคอ่ืนๆ ดงั กลา่ วข้างตน้ มโี ครงเรอ่ื งหลักคลา้ ยกันคอื ตัวเอกมีฐานะยากจนเมื่อจับปลาได้ก็นำ�มาหมักใส่เกลือเป็นปลาร้าปลาส้ม แต่ของวันคารใช้ปลาทูใส่เกลือตากแห้ง 30

เป็นปลาเค็ม ต่อมาสินค้าดังกล่าวนี้พ่อค้านาไปขาย ต่างเมือง พอดเี จ้าเมืองก�ำ ลังประชวรต้องการเสวยอาหาร ดงั กลา่ ว ในเรอ่ื งวนั คารกลา่ วถงึ มเหสที า้ วอาทติ ย์ เมอ่ื เสวย ข้าวกับปลาทูเค็มแล้วก็หายประชวร นางจึงตอบแทน บญุ คณุ ดว้ ยการสง่ มะพรา้ ว ๒ ผล ภายในบรรจทุ องและเงนิ สำ�นวนอื่นมีการให้รางวัลต่างกัน เม่ือตัวเอกได้รับรางวัล แล้วกไ็ มส่ นใจ จนพอ่ ค้าส่งเปน็ สนิ ค้าตอ่ ไปอกี การดำ�เนิน เร่ืองทำ�นองเดยี วกบั เหตุการณค์ รัง้ แรก ในท่สี ุดเร่ืองจบลง ดว้ ยตัวเอกไดร้ บั รางวัลเป็นเจ้าหญิง ชอื่ ตวั เอกฝา่ ยชายในวรรณกรรมพน้ื บา้ นภาคใตช้ อ่ื วันคาร อกี สำ�นวนหน่งึ ชื่อพุทโธ ตรงกับสำ�นวนภาคกลาง ส่วนเร่ือง ปลาแดกปลาสมอ ของอีสานและลาวชื่อท้าว บุษบา เรื่องอะลองปลาส้ม ของไทเขินช่ือท้าวสุทธา ส่วนชื่อตัวเอกฝ่ายหญิงในวรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้ ชือ่ นางวนั พุธ ในกลอนสวดเรอื่ ง พทุ โธ ของภาคใต้และ ภาคกลางชอื่ นางพมิ พา ใน ปลาแดกปลาสมอ ชอื่ นางมาส ใน อะลองปลาสม้ ของไทใต้คง ชื่อนางจันต่า ใน อะลอง ปลาสม้ ของไทเขนิ ชอื่ นางมณกี า สภาพการดำ�รงอยู่ในปัจจุบัน มีการพิมพ์ วันคาร คำ�กาพย์ ที่ปริวรรตจากสมุดไทย หรือหนังสือบุด โดยหน่วยงานที่ส่งเสริมและเผยแพร่วรรณกรรมภาคใต้ บา้ งเผยแพรใ่ นรปู แบบบทความ และสารคดี รวมทง้ั หนงั สอื ประกอบภาพวาด เช่นปรากฏใน สารานุกรมวัฒนธรรม ภาคใต้ รวมท้ังนิทานโบราณ สำ�นวน และภาษติ คำ�กาพย์ ภาคใต้ ในเล่มนี้มีเร่ืองวันคาร และเรื่องอื่นๆ ในรูปแบบ การเขียนเล่าเร่ืองอย่างสารคดี จบด้วยการยกตัวอย่าง คำ�กาพย์ พร้อมดว้ ยภาพประกอบสวยงาม นิทานวันคาร ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ 31

นิทานวรวงศ์ เรียบเรียงโดย ผ้ชู ่วยศาสตราจารยอ์ ภลิ กั ษณ์ เกษมผลกูล ในภาคกลางมีวรรณกรรมเร่ือง วรวงศ์ หรือ พระวรวงศ์ ส่วนในภาคเหนือมีวรรณกรรมเรื่อง บัวระวง หรือ บัวระวงหงศ์อามาตย์ หรือ บวั ระวงหงส์อ�ำ มาตย์ ขณะทภ่ี าคอสี านเรยี กวา่ เร่ือง วงยะมาด เรอื่ งยอ่ ของเรอื่ งมอี ยวู่ า่ พระเจา้ วงศาธริ าชผคู้ รองภสู านครมมี เหสสี ององค์ อคั รมเหสนี ามวา่ วงศส์ รุ ยิ าราชเทวี พระนางมพี ระโอรส ไดแ้ ก่ วงศ์สรุ ยิ ามาศกมุ าร และวรวงศ์กมุ ารซึ่งกค็ ือพระโพธสิ ัตว์ สว่ นมเหสีอีกองค์หนงึ่ นามว่า กาไวยเทวีมีโอรสคือ ไวยทัตกุมาร กาไวยเทวีทำ�อุบายว่าวงศ์สุริยามาศกุมารและวรวงศ์กุมารล่วงเกินพระนาง พระเจา้ วงศาธริ าชหลงเชอ่ื มรี บั สง่ั ใหน้ �ำ โอรสทง้ั สองพระองคไ์ ปประหาร แตว่ งศส์ รุ ยิ าราชเทวตี ดิ สนิ บนเพชฌฆาตให้ ปล่อยสองกมุ าร พระวรวงศ์กับพระเชษฐาพากนั รอนแรมไปในป่า พอคํา่ ลงก็บรรทมใต้ต้นไทรใหญ่ ได้ยินไกข่ าวและ ไกด่ �ำ ววิ าทกนั ไกข่ าววา่ ผไู้ ดก้ นิ หวั ใจของตนจะไดเ้ ปน็ จกั รพรรดริ าช ฝา่ ยไกด่ �ำ กว็ า่ ผไู้ ดก้ นิ หวั ใจของตนจะสามารถยก หลักศลิ า ฆ่ายกั ษ์ตายแลว้ ไดเ้ ปน็ บรมกษัตรยิ ์พระวงศ์สุรยิ ามาศจึงเสวยหัวใจไกข่ าว สว่ นพระวรวงศ์เสวยหัวใจไกด่ ำ� ขณะนน้ั นครอยั ยมาศวา่ งกษตั รยิ ์ เหลา่ ขา้ ราชการจงึ ท�ำ พธิ เี สย่ี งบศุ ยราชรถ ปรากฏวา่ เสย่ี งไดพ้ ระวงศส์ รุ ยิ ามาศ เปน็ กษตั รยิ ์ พระวรวงศโ์ พธสิ ตั ว์ จงึ ตอ้ งพลดั พรากจากพระเชษฐา ออกผจญภยั ไดน้ างคารวี และยกหลกั ศลิ าสงั หารยกั ษ์ ช่วยชวี ิตพระเจา้ ภสุ าราชได้ ภายหลงั พระองคจ์ ึงไดพ้ บกับพระเชษฐา และนางคารวีซงึ่ ประสูตโิ อรสนามวา่ ดาราวงศ์ จากนั้นท้ังสองพระองค์ก็ได้เดินทางกลับไปยังภูสานคร รบชนะพระไวยทัต ทำ�ให้นางกาไวยเทวีด่ืมยาพิษฆ่า ตนเองพระวรวงศ์ได้สืบราชสมบัติต่อจากพระเจ้าวงศาธิราช ส่วนพระวงศ์สุริยามาศกลับไปครองนครอัยยมาศ เมอ่ื พระวรวงศ์ชราภาพแลว้ กเ็ สดจ็ ออกบำ�เพ็ญธรรม หลงั จากสน้ิ พระชนม์แลว้ ไดไ้ ปบังเกดิ ในดสุ ติ เทวโลก 32

เรอื่ ง วรวงศ์ ไดร้ บั ความนยิ มแพรห่ ลายอยทู่ งั้ สภี่ าคของไทย จติ รกรรมฝาผนังเร่อื งไมตระกันยกะ ท่ถี ้าํ กลาสี มีการถ่ายทอดเร่ืองวรวงศ์ผ่านงานศิลปกรรมต่างๆ ด้วย อาทิ เมืองคซิ ลิ ประเทศจีน ประมาณคริส์ศักราช ๕๐๐ ภาพจิตรกรรม ท้ังจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ เช่นท่ีวัดสมุห หนังสอื ประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะ และโบราณคดีใน ประดษิ ฐาราม สระบรุ ี หรอื จติ รกรรมฝาผนงั ศาลารายวดั พระธาตุ สโุ ทนมงคลครี ี อ.เดน่ ชยั จ.แพร่ รวมถงึ จติ รกรรมใน บทแทงศาสตรา ประเทศไทย ผู้เขยี น พริ ยิ ะ ไกรฤกษ์ ของภาคใต้ ส่วนในภาคใต้ยังมีการนำ�มาแต่งเป็นเพลงร้องเรือ (เพลงกล่อมเด็ก) อีกหลายสำ�นวนด้วย ปจั จบุ นั ในภาคกลางและภาคใตม้ กี ารน�ำ เรอ่ื ง วรวงศ์ มาใช้ เป็นนิทานอธิบายประวัติความเป็นมาของสถานท่ี ดังเช่นใน ภาคกลางที่จังหวัดจันทบุรี มีการนำ�มาใช้อธิบายที่มาของ โบราณสถานเมอื งเพนยี ด จงั หวดั จนั ทบรุ ี วดั ทองทวั่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี จังหวัดตราด ใช้อธิบายที่มาของเมืองเก่าแสนตุ่ม จังหวัดตราด นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการอธิบายท่ีมาของภูเขาวรวงศ์สุรวงศ์ หรือ ภเู ขาคีรีรมย์ จงั หวดั เกาะกง และจังหวัดกำ�ปงสปือ ส่วนใน ภาคใตม้ กี ารน�ำ ไปใชเ้ ปน็ ต�ำ นาน บา้ นนาโคน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี นทิ านวรวงศ์ ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทาง วฒั นธรรมของชาติประจ�ำ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๕ ภาพดินเผาเรอ่ื งไมตระกนั ยกะ จากเจดีย์จุลปะโทน ภาพสลักหนิ เร่ืองไมตระกนั ยกะทเ่ี จดยี บ์ โุ รพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย จ.นครปฐม ประมาณครสิ ต์ศักราช ๕๕๐-๖๐๐ จาก ประมาณคริสต์ศกั ราช ๗๘๐-๗๙๐ หนงั สือประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ และ หนงั สอื ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ และโบราณคดีใน โบราณคดใี นประเทศไทย ผู้เขยี น พิริยะ ไกรฤกษ์ ประเทศไทย ผเู้ ขียน พริ ิยะ ไกรฤกษ์ 33

นิทานศรธี นญชัย เรียบเรยี งโดย รองศาสตราจารย์กญั ญรตั น์ เวชชศาสตร์ นิทาน ศรธี นญชยั เป็นวรรณกรรมพน้ื บา้ นประเภทนทิ านมุขตลก คนเจ้าปญั ญา (trickster tale) และเปน็ วรรณกรรมมุขปาฐะ มาก่อนท่ีจะมีการสร้างสรรค์เป็นวรรณกรรมลายลักษณ์ในรูปแบบของร้อยกรองที่แต่งด้วย ค�ำ ประพนั ธ์ประเภทกาพยแ์ ละกลอนเสภา และรูปแบบทีเ่ ป็นรอ้ ยแก้ว นทิ าน ศรธี นญชัย มมี าแต่โบราณ ไม่ปรากฏหลกั ฐานเก่ียวกบั ต้นก�ำ เนิด สมยั ทแ่ี ต่ง และชื่อผแู้ ตง่ วรรณกรรม เรอ่ื งนม้ี ชี อื่ เสยี งเปน็ ทรี่ จู้ กั กนั อยา่ งแพรห่ ลายมากทส่ี ดุ เรอ่ื งหนง่ึ ในทอ้ งถนิ่ ตา่ งๆ ของไทยตราบถงึ ปจั จบุ นั โดยภาคกลาง และภาคใต้รู้จักกันในชื่อ “ศรีธนญชัย” ส่วนภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือรู้จักกันในช่ือ “เชียงเมี่ยง” แมน้ ทิ านศรธี นญชยั จะมหี ลายสำ�นวน แตก่ ม็ ีลกั ษณะร่วมกนั ในด้านโครงเร่อื ง คอื เปน็ เรอื่ งราวชวี ิตของชายผ้หู น่ึงซ่ึง ใชป้ ฏภิ าณไหวพรบิ เอาตัวรอดหรอื แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ให้ผ่านพ้นไปได้โดยลำ�ดับต้งั แต่วยั เดก็ จนสน้ิ อายขุ ัย เหตุการณ์ แต่ละตอนมลี ักษณะเปน็ เรอื่ งสั้นๆ ซงึ่ สามารถหยิบยกมาเล่าแยกกันได้ วรรณกรรมเรื่องน้ีแสดงให้เห็นภูมิปัญญาและพลังทางปัญญาในการสร้างสรรค์ อันกอปรด้วยศิลปะของการ ถ่ายทอดเรื่องราวท่ีทำ�ให้เกิดอารมณ์ขัน โดยแสดงความเจ้าปัญญาของตัวเอกในลักษณะที่คาดไม่ถึงหรือพลิกความ คาดหมายได้อยา่ งออกรส และแสดงพลังทางภาษาด้วยการน�ำ เอาถ้อยค�ำ ส�ำ นวนมาเล่นค�ำ เลน่ ความหมายได้ตาม ความตอ้ งการ ซง่ึ นอกจากจะใชค้ วามเถรตรงแลว้ ยงั ใช้กลวธิ อี ่ืนๆ อีก เช่น การใช้กลอบุ าย การใชจ้ ิตวทิ ยา และการ หาเหตุผลโดยการเชอ่ื มโยงสิ่งตา่ งๆ ท่ีปกติไม่คอ่ ยมีใครนำ�มาสมั พนั ธก์ นั หรอื โดยการมองสิ่งหน่ึงสิ่งใดไปในทศิ ทางที่ ตรงกนั ขา้ มกับคนอื่นมาแก้ไขปัญหาหรอื เอาตัวรอดได้ เมอ่ื พนิ จิ นทิ าน ศรธี นญชยั อยา่ งลกึ ซงึ้ จะเหน็ ไดว้ า่ ศลิ ปะการสรา้ งสรรคด์ งั กลา่ วท�ำ ใหน้ ทิ าน ศรธี นญชยั มไิ ดม้ ี คุณคา่ ดา้ นการให้ความบนั เทิงหรอื สนุกสนานเพลดิ เพลนิ เท่าน้นั แต่ยังมคี ุณค่าทใ่ี ห้สาระด้านความคิดดว้ ย กลา่ วคือ ได้แฝงแนวคิดร่วมหรือแนวคิดท่ีเป็นสากลของมนุษยชาติ คือเรื่องความสำ�คัญของการใช้ปัญญา ปฏิภาณไหวพริบ เรื่องความขัดแย้งกับบุคคลและความขัดแย้งกับค่านิยมของสังคม และ เร่ือง “เสียหน้า” โดยได้นำ�สภาพแวดล้อม สงั คมและวฒั นธรรมไทย มาสอดแทรกไวใ้ นเนอื้ หาไดอ้ ยา่ งกลมกลนื นอกจากนย้ี งั ท�ำ ใหป้ ระจกั ษถ์ งึ สจั ธรรมเกยี่ วกบั ความไมเ่ ทยี่ งท่วี ่าไม่มีผู้ใดจะครองความเปน็ ผ้ชู นะไดต้ ลอดกาล และทำ�ใหไ้ ด้คิดวา่ ควรใช้ปัญญาไปในทางสร้างสรรค์ มิใชท่ �ำ ลาย 34

นทิ าน ศรธี นญชยั เป็นที่ชื่นชอบของคนท้ัง หลายก็เพราะสามารถ ทำ�ให้เกิดอารมณ์ร่วม ไปกับเร่ืองราวที่อยู่ใน โลกสมมุติได้อย่างเต็มที่ เสียงหัวเราะอันเกิดจาก ความหฤหรรษ์ในการ ล้อเลียน เสียดสีบุคคล หรอื กฎเกณฑท์ เ่ี ครง่ ครดั ในสังคมน้ันแสดงให้เห็น บทบาทของ “มุขตลก” ว่าเป็นทางออกที่ช่วย ผ่อนคลายหรือลดความตึงเครียดของคนในสังคมได้อย่าง แยบคาย นทิ านศรธี นญชยั จงึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภมู ปิ ญั ญาของความ คิดสร้างสรรค์ทีม่ คี ณุ ค่ายงิ่ ปัจจุบันนิทาน ศรีธนญชัย ยังเป็นท่ีรู้จักกันอย่างแพร่ หลายในสงั คมไทยและเปน็ ทร่ี จู้ กั ของชาวตา่ งชาตดิ ว้ ย เนอื่ งจาก ลกั ษณะเดน่ ของศรธี นญชยั คนเจา้ ปญั ญา ท�ำ ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจ ให้มีการนำ�ไปสร้างสรรค์เป็นงานศิลปะในหลายรูปแบบ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง (พระวิหารวัดปทุมวนารามวรวิหาร กรงุ เทพมหานคร) ภาพยนตร์ หนังสอื การต์ ูน ภาพยนตร์การต์ ูน และบนั ทึกลงในแถบบนั ทึกเสียงนิทาน เป็นต้น นิทานศรีธนญชัย ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นมรดก ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติประจำ�ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ ภาพ : กิ่งทอง มหาพรไพศาล 35

นิทานสงั ข์ทอง เรียบเรียงโดย วัชราภรณ์ ดษิ ฐป้าน นิทาน สังขท์ อง เป็นนิทานทคี่ นไทยในท้องถ่นิ ต่างๆ คุน้ เคยและช่นื ชอบ ดังปรากฏแพร่หลายในทอ้ งถิน่ ต่างๆ หลากหลายสำ�นวน เป็นนิทานท่ีปรากฏทั้งในรูปแบบมุขปาฐะและลายลักษณ์ สำ�นวนลายลักษณ์ที่เก่าแก่ที่สุดคือ สวุ รรณสังขชาดก ใน ปัญญาสชาดก นอกจากนี้ยังมีสำ�นวนลายลักษณใ์ นทอ้ งถนิ่ ตา่ งๆ ด้วย เชน่ สุวรรณสงั ขกุมาร ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สงั ข์ทองคำ�กาพย์ ของภาคใต้ เป็นต้น นอกจากความแพรห่ ลายของนทิ าน สงั ขท์ อง ส�ำ นวนตา่ งๆ แลว้ ยงั ปรากฏวา่ มนี ทิ านทม่ี เี รอื่ งท�ำ นองเดยี วกนั นี้ อกี หลายเรอ่ื งในทอ้ งถนิ่ ตา่ งๆ เชน่ กา่ํ กาด�ำ แพะค�ำ ทา้ วเตา่ สวุ รรณสริ สา แตงเขยี วนทิ านเหลา่ นแ้ี มไ้ มใ่ ชเ่ รอื่ ง สงั ขท์ อง แต่มีโครงเรอ่ื งทคี่ ล้ายคลงึ กัน กล่าวคือ เป็นเรอ่ื งของพระเอกท่ซี ่อนตวั อยใู่ นรปู ลักษณท์ ่ตี ํา่ ตอ้ ยหรือผดิ ปกติ พระเอก รักกับนางเอกซึ่งเป็นหญิงสูงศักดิ์ จึงถูกพ่อตากีดกัน แต่ในท่ีสุดพระเอกก็สามารถพิสูจน์ให้ทุกคนเห็นว่าในรูปท่ี อปั ลกั ษณต์ ํา่ ต้อยนนั้ แทจ้ รงิ แล้วมี “ความด”ี และ “ความงาม” ซอ่ นอยู่ พระเอกจึงไดร้ บั การยอมรับในทส่ี ดุ นทิ าน ทม่ี เี รอ่ื งราวท�ำ นองนม้ี อี ยหู่ ลายเรอ่ื งและแพรห่ ลายมากในขมุ คลงั นทิ านของไทย จงึ กลา่ วไดว้ า่ นทิ านทม่ี เี รอื่ งประเภทน้ี เป็นเรือ่ งที่ “ต้องรสนิยม” ของคนไทยมาก นอกจากความนิยมนิทาน สังข์ทอง ในรูปแบบของวรรณกรรมแล้ว นิทาน สังข์ทอง ยังมีความสัมพันธ์และ บทบาทในวิถีชีวิตไทยด้านต่างๆ เช่น ช่ือสถานที่ สำ�นวนไทย เพลงพ้ืนบ้าน ปริศนาคำ�ทาย ตำ�ราพยากรณ์ชีวิต จิตรกรรม ตลอดจนศิลปะแขนงตา่ งๆ แมใ้ นปัจจุบนั นทิ านสงั ขท์ องกย็ ังไดร้ ับความนยิ มและด�ำ รงอยใู่ นรูปแบบต่างๆ เชน่ เนอื้ หาในหนงั สอื แบบเรยี นหลายหลกั สตู ร หนงั สอื การต์ นู หนงั สอื นทิ าน ภาพยนตรก์ ารต์ นู ละครพน้ื บา้ น นวนยิ าย ตลอดจนงานศิลปะร่วมสมัย เช่น งานประติมากรรม การแสดงละครหุ่นสมัยใหม่ นอกจากนี้เนื้อหาและตัวละคร จากนทิ านสังขท์ องยงั สัมพนั ธ์กบั สิ่งอนื่ ๆ เชน่ ช่อื พันธุไ์ ม้ รนุ่ พระเครื่อง ชอื่ รายการโทรทศั น์ ฯลฯ กลา่ วได้ว่านทิ าน สังข์ทอง เป็นนิทานที่คนไทยคุ้นเคยและช่ืนชอบมาหลายยุคหลายสมัย นับเป็นมรดกทางจินตนาการของคนไทยท่ี ด�ำ รงอยูใ่ นวถิ ีชวี ิตไทยอยา่ งต่อเน่ืองต้ังแต่อดตี ถึงปจั จบุ ัน นทิ านสงั ขท์ อง ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาตปิ ระจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓ 36

ภาพจติ รกรรมฝาผนัง วัดพระสิงห์ จงั หวดั เชียงใหม่ 37

ต�ำ นานพ้นื บา้ น 38

ต�ำ นานกบกนิ เดือน เรยี บเรยี งโดย รองศาสตราจารย์ปฐม หงษ์สวุ รรณ ตำ�นาน กบกินเดือน เป็นเรื่องเล่าพ้ืนบ้านท่ีแสดงความเช่ือของชาวบ้านในการอธิบายเหตุเก่ียวกับการเกิด สุริยคราสและจันทรคราส ซ่ึงเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งผู้คนในอดีตเชื่อว่าเกิดข้ึนเพราะอิทธิปาฏิหาริย์และ สิ่งเหนอื ธรรมชาติที่มีพลังอำ�นาจศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ จากการส�ำ รวจและเก็บรวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั ต�ำ นาน กบกินเดอื น ในวิถีชวี ิตวัฒนธรรมของคนไทย-ไททั้งใน ประเทศไทยและนอกประเทศไทย พบว่า การเรียกช่ือเหตุการณ์สุริยคราสและจันทรคราสมีลักษณะเหมือนคล้าย และแตกต่างกนั กลา่ วคือ บางถิน่ จะเรียกสรุ ิยคราสว่า ตะวันจ๋บั ราหสู ูนตาเวน้ แงงกินตาเวน้ หมกี ินตะวนั ราหอู ม พระอาทติ ย์ หรอื กบกินตะวนั สว่ นจันทรคราส จะเรยี กวา่ จะคาดตือเดอื น เดือนจบ๋ั ราหอู มจนั ทร์ ราหูสูนจันทร์ หรอื กบกินเดือน เปน็ ตน้ อยา่ งไรกต็ าม คำ�เรยี กเหตุการณส์ ุรยิ คราสและจันทรคราสทนี่ ิยมและรูจ้ กั กันแพรห่ ลายใน กล่มุ ชาติพันธไุ์ ทกล่มุ ตา่ งๆ โดยเฉพาะคนไทยท่ีอาศยั อยนู่ อกประเทศไทย รวมทงั้ คนไทยยวนลา้ นนา และไทยอสี าน สว่ นมากจะเรยี กเหตกุ ารณน์ ว้ี า่ “กบกนิ เดอื นและกบกนิ ตะวนั ” ทง้ั ๆ ทบ่ี างส�ำ นวนอาจไมม่ ตี วั ละครทเี่ ปน็ กบปรากฏ อยใู่ นเนอื้ หาเลยกต็ าม สว่ นคนไทยภาคกลางและภาคใตน้ น้ั ไมพ่ บการเรยี กชอ่ื เหตกุ ารณส์ รุ ยิ คราสและจนั ทรคราสวา่ “กบกินเดือน” แต่จะเรียกเหตุการณ์น้ีว่า “ราหูอมจนั ทร์” มากกว่า เน้ือหาตำ�นาน กบกินเดือน ของชาวไทดำ�เล่าว่า แต่ก่อนคนกับสัตว์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ บ้านเมือง เกดิ ความแหง้ แล้ง ฝนฟ้าไม่ตก ผ้คู นจงึ คน้ หาตัวกบตัวเขียดมาท�ำ พธิ ีบูชาส่ิงศักดิ์สทิ ธิ์ แถนอยเู่ มอื งฟ้าจงึ ได้สง่ ฝนให้ ตกลงมา ทำ�ให้นาํ้ ท่วมโลก สตั ว์ตา่ งๆ ตายจนหมด ภายหลงั แถนจงึ ได้สง่ ตะวนั ๑๒ ดวง และเดอื น ๑๒ ดวง ลงมายัง เมอื งมนุษย์ ท�ำ ให้นาํ้ แห้งจนแล้ง เวลาน้ันยงั มีคนกับกบเหลอื อยู่ แตก่ ่อนฟา้ กับดนิ อยใู่ กล้กนั มาก คนจงึ บอกใหก้ บ ปนี ขึ้นไป กนิ เดอื นกินตะวันเพ่อื ใหห้ ายร้อน และจะทำ�ใหม้ กี ลางวันกลางคืน เมอื่ กบขน้ึ ไป กินเดือนกินตะวันกเ็ กิด ความอร่อย จงึ ไดก้ ินไปจนเหลือดวงสดุ ท้าย ผ้คู นกลวั ว่า กบจะกินเดือนกินตะวันไปจนหมดซ่ึงจะท�ำ ให้มนษุ ยน์ น้ั เกดิ ความเดอื นร้อนยิง่ นกั จึงไดต้ เี กราะเคาะไม้ จดุ ประทัด บ้างกส็ ง่ เสียงโห่ร้อง เพื่อเรียกตัวกบลงมา เมือ่ กบลงมาแล้ว ก็ได้ถามมนษุ ย์ว่าเรยี กตนลงมาทำ�ไม มนษุ ยจ์ งึ บอกตวั กบว่าไม่ให้กนิ เดือนกินตะวัน แตก่ บก็ไม่เชอ่ื ฟงั จงึ ไดป้ นี ไตฟ่ ้า ขึน้ ไปกนิ เดือนกินตะวันอย่เู นืองๆ จึงเป็นเหตทุ ำ�ใหเ้ กดิ ปรากฏการณธ์ รรมชาติดงั กลา่ วมาจนถึงทุกวนั น้ี 39