Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรหน้า 1-126

หลักสูตรหน้า 1-126

Published by pm.insorn, 2018-06-19 05:58:04

Description: พระมหาอินสอน คุณวุฑโฒ

Search

Read the Text Version

๑ ความนา กระทรวงศกึ ษาธิการไดป๎ ระกาศใช๎หลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ใหเ๎ ป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู๎เป็นเปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพฒั นาคุณภาพผเ๎ู รียนให๎เป็นคนดี มีปัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ีและมขี ดี ความสามารถ ในการแขํงขันในเวทรี ะดับโลก (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๔) พรอ๎ มกนั นไ้ี ดป๎ รับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรใหม๎ ีความสอดคลอ๎ งกับเจตนารมณ์แหงํ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหงํ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไ๎ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ทมี่ งํุ เนน๎ การกระจายอานาจทางการศกึ ษาใหท๎ อ๎ งถิ่นและสถานศกึ ษาไดม๎ ีบทบาทและมีสวํ นรวํ มในการพัฒนาหลกั สตู ร เพอ่ื ให๎สอดคล๎องกบั สภาพ และ ความตอ๎ งการของทอ๎ งถนิ่ (สานกั นายกรัฐมนตร,ี๒๕๔๒) จากการวจิ ยั และติดตามประเมินผลการใช๎หลักสูตรในชํวงระยะ ๖ ปีที่ผํานมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๘ ข.; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สานักผู๎ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, ๒๕๔๘; สุวิมล วํองวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒; Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบวํา หลักสูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ มีจดุ ดีหลายประการ เชนํ ชํวยสํงเสรมิ การกระจายอานาจทางการศึกษาทาให๎ท๎องถ่ินและสถานศึกษามีสํวนรํวมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให๎สอดคล๎องกบั ความต๎องการของทอ๎ งถ่ิน และมีแนวคิดและหลักการในการสํงเสริมการพัฒนาผ๎ูเรียนแบบองค์รวมอยาํ งชดั เจน อยาํ งไรก็ตาม ผลการศกึ ษาดังกลําวยังได๎สะท๎อนให๎เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความไมํชัดเจนของหลักสูตรหลายประการท้ังในสํวนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนาหลักสูตรสํูการปฏิบัติ และผลผลิตท่ีเกิดจากการใช๎หลักสูตร ได๎แกํ ปัญหาความสับสนของผู๎ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาสํวนใหญํกาหนดสาระและผลการเรียนรู๎ท่คี าดหวงั ไว๎มาก ทาให๎เกดิ ปัญหาหลักสูตรแนนํ การวัดและประเมินผลไมํสะท๎อนมาตรฐาน สํงผลตํอปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพของผ๎ูเรียนในด๎านความร๎ู ทกั ษะ ความสามารถและคุณลักษณะทพี่ ึงประสงคอ์ นั ยังไมเํ ป็นทน่ี ําพอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับท่ี ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)ได๎ชี้ให๎เห็นถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน๎นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให๎ มีคุณธรรม และมีความรอบรู๎อยํางเทําทัน ให๎มีความพร๎อมทั้งด๎านรํางกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถกา๎ วทนั การเปลีย่ นแปลงเพอ่ื นาไปสูสํ ังคมฐานความรู๎ไดอ๎ ยาํ งมนั่ คง แนวการพฒั นาคนดังกลาํ วมุํงเตรยี มเด็กและเยาวชนให๎มพี ื้นฐานจติ ใจที่ดีงาม มีจติ สาธารณะ พร๎อมท้ังมีสมรรถนะ ทักษะและความรูพ๎ น้ื ฐานทีจ่ าเปน็ ในการดารงชีวิต อันจะสํงผลตํอการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกลําวสอดคล๎องกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการในการพฒั นาเยาวชนของชาติเข๎าสูํโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมํุงสํงเสริมผ๎ูเรียนมี

๒คุณธรรม รักความเป็นไทย ให๎มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร๎างสรรค์ มีทักษะด๎านเทคโนโลยี สามารถทางานรํวมกับผ๎ูอื่น และสามารถอยูํรํวมกับผ๎ูอ่ืนในสังคมโลกได๎อยํางสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ ,๒๕๕๑) จากข๎อค๎นพบในการศกึ ษาวจิ ยั และตดิ ตามผลการใชห๎ ลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช๒ ๕ ๔๔ ท่ี ผํ า น ม า ป ร ะ ก อ บ กั บ ข๎ อมู ลจ า ก แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ หํ ง ช า ติฉบับที่ ๑๐ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน๎นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสูํศตวรรษที่ ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๔๔ เพอ่ื นาไปสํกู ารพัฒนาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสม ชดั เจน ทัง้ เปา้ หมายของหลกั สูตรในการพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสูํการปฏิบัติในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา โดยได๎มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมายสมรรถนะสาคัญของผเู๎ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรูแ๎ ละตัวชี้วดั ที่ชัดเจน เพอ่ื ใช๎เปน็ ทิศทางในการจดั ทาหลกั สตู ร การเรียนการสอนในแตํละระดับ นอกจากน้ันได๎กาหนดโครงสร๎างเวลาเรียนข้นั ต่าของแตํละกลุํมสาระการเรียนรใู๎ นแตลํ ะชนั้ ปไี วใ๎ นหลกั สตู รแกนกลาง และเปดิ โอกาสให๎สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได๎ตามความพร๎อมและจุดเน๎น อีกท้ังได๎ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผ๎ูเรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแตํละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให๎มีความสอดคลอ๎ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู๎ และมคี วามชดั เจนตํอการนาไปปฏบิ ตั ิ เอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ี จดั ทาข้ึนสาหรับทอ๎ งถนิ่และสถานศกึ ษาไดน๎ าไปใช๎เป็นกรอบและทศิ ทางในการจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษา และจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเดก็ และเยาวชนไทยทกุ คนในระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานใหม๎ คี ณุ ภาพดา๎ นความร๎ู และทักษะทจี่ าเป็นสาหรับการดารงชวี ติ ในสงั คมท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลง และแสวงหาความร๎เู พ่อื พฒั นาตนเองอยาํ งตอํ เนือ่ งตลอดชีวติ

๓ มาตรฐานการเรียนร๎ูและตัวช้ีวัดที่กาหนดไว๎ในเอกสารน้ี ชํวยทาให๎หนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎องในทุกระดับเห็นผลคาดหวังท่ีต๎องการในการพัฒนาการเรียนรู๎ของผ๎ูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชํวยใหห๎ นํวยงานท่ีเก่ียวข๎องในระดับท๎องถ่ินและสถานศึกษารํวมกันพัฒนาหลักสูตรได๎อยํางมั่นใจ ทาให๎การจัดทาหลักสตู รในระดบั สถานศึกษามคี ณุ ภาพและมคี วามเปน็ เอกภาพยิ่งขึน้ อกี ทงั้ ยังชํวยให๎เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผลการเรียนรู๎ และชํวยแก๎ปัญหาการเทียบโอนระหวํางสถานศกึ ษา ดงั น้ันในการพัฒนาหลักสตู รในทกุ ระดับตงั้ แตรํ ะดบั ชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต๎องสะท๎อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร๎ูและตัวช้ีวัดที่กาหนดไว๎ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู๎เรียนทกุ กลมํุ เปา้ หมายในระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน การจดั หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได๎ ทุกฝ่ายทเี่ กย่ี วขอ๎ งทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต๎องรํวมรับผิดชอบ โดยรํวมกันทางานอยํางเป็นระบบ และตํอเน่อื ง ในการวางแผน ดาเนินการ สํงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก๎ไขเพอ่ื พัฒนาเยาวชนของชาติไปสูํคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู๎ที่กาหนดไว๎วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มํุงพัฒนาผู๎เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให๎เป็นมนุษย์ทมี่ ีความสมดุลทง้ั ดา๎ นราํ งกาย ความร๎ู คณุ ธรรม มจี ติ สานกึ ในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลกยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู๎และทักษะพ้นื ฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จาเปน็ ตํอการศึกษาตํอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมํุงเน๎นผเู๎ รียนเปน็ สาคญั บนพืน้ ฐานความเชื่อวํา ทกุ คนสามารถเรียนร๎แู ละพฒั นาตนเองไดเ๎ ต็มตามศักยภาพหลักการ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน มหี ลักการที่สาคญั ดงั น้ี ๑. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนร๎ูเป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให๎มีความร๎ู ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทยควบคํูกับความเป็นสากล ๒. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพ่อื ปวงชน ทีป่ ระชาชนทกุ คนมีโอกาสได๎รับการศึกษาอยํางเสมอภาคและมีคุณภาพ ๓. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาที่สนองการกระจายอานาจ ให๎สังคมมีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาใหส๎ อดคล๎องกบั สภาพและความต๎องการของทอ๎ งถิ่น ๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร๎างยืดหยํุนทั้งด๎านสาระการเรียนร๎ู เวลาและการจัดการเรยี นรู๎

๔ ๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาทเ่ี นน๎ ผูเ๎ รียนเป็นสาคัญ ๖. เป็นหลกั สตู รการศึกษาสาหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทกุ กลุํมเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู๎ และประสบการณ์จุดหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มํุงพัฒนาผู๎เรียนให๎เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตํอ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให๎เกิดกับผ๎ูเรียน เม่ือจบการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ดงั น้ี ๑. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคํานยิ มทพ่ี งึ ประสงค์ เหน็ คณุ คาํ ของตนเอง มวี ินยั และปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. มคี วามรู๎ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแก๎ปัญหา การใชเ๎ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ติ ๓. มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลงั กาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสานึกในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาสง่ิ แวดลอ๎ มมจี ติ สาธารณะท่ีมุงํ ทาประโยชน์และสรา๎ งสิง่ ทีด่ ีงามในสงั คม และอยรํู ํวมกันในสังคมอยํางมีความสุขสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผ๎เู รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มงํุ เนน๎ พัฒนาผเ๎ู รียนให๎มีคุณภาพตามมาตรฐานทกี่ าหนด ซึง่ จะชํวยใหผ๎ ูเ๎ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ดงั นี้ สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มํุงให๎ผเ๎ู รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสงํ สาร มวี ัฒนธรรมในการใช๎ภาษาถํายทอดความคดิ ความรค๎ู วามเขา๎ ใจ ความรส๎ู กึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ๎ มลู ขาํ วสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ ํอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอํ รองเพอ่ื ขจดัและลดปัญหาความขดั แยง๎ ตาํ ง ๆ การเลือกรับหรอื ไมรํ บั ขอ๎ มลู ขําวสารด๎วยหลกั เหตุผลและความถกู ตอ๎ งตลอดจนการเลอื กใช๎วิธกี ารสื่อสาร ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มตี อํ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอยํางสรา๎ งสรรค์ การคิดอยาํ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพือ่ นาไปสํูการสร๎างองค์ความรู๎หรือสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก๎ปัญหาและอุปสรรคตําง ๆท่ีเผชิญได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข๎อมูลสารสนเทศ เข๎าใจ

๕ความสมั พันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ตําง ๆ ในสงั คม แสวงหาความร๎ู ประยุกต์ความรู๎มาใช๎ในการป้องกันและแก๎ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตํอตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล๎อม ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตาํ ง ๆ ไปใช๎ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรียนรดู๎ ๎วยตนเอง การเรียนรอ๎ู ยํางตอํ เน่อื ง การทางาน และการอยรํู วํ มกนัในสังคมดว๎ ยการสร๎างเสริมความสัมพนั ธอ์ นั ดรี ะหวาํ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แยง๎ ตําง ๆอยาํ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท๎ ันกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ๎ ม และการร๎จู กัหลกี เลย่ี งพฤติกรรมไมพํ งึ ประสงค์ทีส่ ํงผลกระทบตอํ ตนเองและผ๎อู ืน่ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช๎ เทคโนโลยีด๎านตําง ๆและมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด๎านการเรียนร๎ู การส่ือสารการทางาน การแกป๎ ัญหาอยํางสร๎างสรรค์ ถกู ต๎อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มงํุ พฒั นาผเ๎ู รียนใหม๎ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอื่ ให๎สามารถอยูํรวํ มกับผ๎อู ืน่ ในสังคมไดอ๎ ยํางมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซือ่ สัตยส์ จุ ริต ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝ่เรียนรู๎ ๕. อยํูอยาํ งพอเพียง ๖. มงํุ มั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให๎สอดคล๎องตามบริบทและจุดเน๎นของตนเองมาตรฐานการเรยี นรู้ การพัฒนาผ๎ูเรียนให๎เกิดความสมดุล ต๎องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จงึ กาหนดให๎ผ๎เู รยี นเรยี นร๎ู ๘ กลมํุ สาระการเรียนร๎ู ดงั น้ี ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์

๖ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖. ศลิ ปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาตํางประเทศ ในแตํละกลมํุ สาระการเรยี นร๎ูได๎กาหนดมาตรฐานการเรียนรู๎เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผ๎ูเรียน มาตรฐานการเรียนร๎ูระบุส่ิงท่ีผ๎ูเรียนพึงรู๎ ปฏิบัติได๎ มีคุณธรรมจริยธรรม และคํานิยมที่พึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู๎ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู๎จะสะท๎อนให๎ทราบวําต๎องการอะไร จะสอนอยํางไร และประเมินอยํางไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาโดยใชร๎ ะบบการประเมินคณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคณุ ภาพดงั กลําวเปน็ สง่ิ สาคัญที่ชํวยสะท๎อนภาพการจัดการศึกษาวําสามารถพัฒนาผู๎เรียนให๎มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรยี นรกู๎ าหนดเพยี งใดตัวชวี้ ดั ตัวช้ีวัดระบุส่ิงที่นักเรยี นพึงร๎ูและปฏิบัติได๎ รวมท้ังคุณลักษณะของผู๎เรียนในแตํละระดับช้ันซ่ึงสะท๎อนถึงมาตรฐานการเรียนรู๎ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช๎ในการกาหนดเน้ือหา จัดทาหนํวยการเรียนรู๎ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผเ๎ู รียน ๑. ตัวช้ีวัดช้ันปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู๎เรียนแตํละชั้นปีในระดับการศึกษาภาคบังคับ(ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓) ๒. ตัวชว้ี ดั ชํวงช้นั เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นาผเ๎ู รียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มธั ยมศึกษาปีที่ ๔- ๖) หลกั สูตรไดม๎ ีการกาหนดรหสั กากับมาตรฐานการเรียนรแ๎ู ละตวั ชี้วัด เพอ่ื ความเข๎าใจและให๎สื่อสารตรงกัน ดงั น้ีว ๑.๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๒ ตัวชว้ี ัดชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ข๎อท่ี ๒ ๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข๎อที่ ๑ ว กลุมํ สาระการเรียนรวู๎ ิทยาศาสตร์ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๓ ตวั ช้ีวดั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ขอ๎ ที่ ๓

๗๒.๓ สาระท่ี ๒ มาตรฐานขอ๎ ที่ ๒ต กลมุํ สาระการเรยี นรู๎ภาษาตํางประเทศสาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร๎ู ประกอบด๎วย องค์ความร๎ู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู๎ และคุณลักษณ ะอนั พงึ ประสงค์ ซึ่งกาหนดให๎ผ๎เู รียนทกุ คนในระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานจาเปน็ ตอ๎ งเรียนรู๎ โดยแบํงเป็น๘ กลมํุ สาระการเรยี นรู๎ ดงั นี้ภาษาไทย : ความร๎ู ทักษะ คณติ ศาสตร์ : การนาความรู๎ วทิ ยาศาสตร์ : การนาความรู๎และวฒั นธรรมการใชภ๎ าษา ทักษะและกระบวนการทาง และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพือ่ การส่ือสาร ความช่นื ชม คณิตศาสตร์ไปใชใ๎ น ไปใช๎ในการศกึ ษา ค๎นควา๎ หาความรู๎การเหน็ คุณคาํ ภมู ิปญั ญาไทย และ การแก๎ปัญหา การดาเนินชีวติ และแกป๎ ญั หาอยํางเป็นระบบ การคิดภูมิใจในภาษาประจาชาติ และศึกษาตํอ การมีเหตุมผี ล อยํางเปน็ เหตเุ ปน็ ผล คิดวเิ คราะห์ มีเจตคติท่ีดตี อํ คณิตศาสตร์ คิดสร๎างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ พฒั นาการคิดอยาํ งเป็นระบบและ สรา๎ งสรรค์ภาษาต่างประเทศ : องคค์ วามรู้ ทักษะสาคัญ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม :ความร๎ูทักษะ เจตคติ และ และคณุ ลกั ษณะ การอยูรํ ํวมกันในสังคมไทยและสังคมวัฒนธรรม การใช๎ โลกอยาํ งสนั ติสุข การเป็นพลเมอื งดีภาษาตาํ งประเทศในการ ในหลักสูตรแกนกลาง ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนาสื่อสาร การแสวงหาความร๎ู การศึกษา การเหน็ คณุ คาํ ของทรัพยากรและและการประกอบอาชพี ขน้ั พ้ืนฐาน ส่ิงแวดล๎อม ความรักชาติ และภมู ใิ จ ในความเปน็ ไทยการงานอาชพี และเทคโนโลยี : ศลิ ปะ : ความรแ๎ู ละทักษะใน สุขศกึ ษาและพลศึกษา : ความรู๎ความรู๎ ทักษะ และเจตคติ การคิดริเร่มิ จินตนาการ ทักษะและเจตคตใิ นการสร๎างเสรมิในการทางาน การจัดการ สร๎างสรรคง์ านศลิ ปะ สขุ ภาพพลานามัยของตนเองและผอู๎ ื่นการดารงชวี ติ การประกอบอาชีพ สนุ ทรยี ภาพและการเห็น การปอ้ งกันและปฏิบตั ติ ํอและการใชเ๎ ทคโนโลยี คณุ คําทางศลิ ปะ สิ่งตาํ ง ๆ ทมี่ ีผลตอํ สขุ ภาพอยาํ ง ถูกวิธีและทักษะในการดาเนนิ ชวี ติ

๘ ความสัมพนั ธข์ องการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน วสิ ัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน มุํงพัฒนาผ๎ูเรียนทุกคน ซึง่ เป็นกาลังของชาติใหเ๎ ปน็ มนษุ ย์ท่ีมคี วามสมดลุ ทั้งดา๎ นราํ งกาย ความร๎ู คุณธรรม มีจิตสานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มคี วามรแู๎ ละทกั ษะพน้ื ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ทีจ่ าเปน็ ตํอการศกึ ษาตอํ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมงุํ เนน๎ ผ๎เู รยี นเปน็ สาคัญบนพ้นื ฐานความเช่ือวาํ ทุกคนสามารถเรียนรแ๎ู ละพฒั นาตนเองได๎เตม็ ตามศักยภาพ จุดหมาย๑. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคํานิยมท่ีพึงประสงค์ เหน็ คณุ คาํ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง๒. มีความรู๎อนั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแก๎ปญั หา การใชเ๎ ทคโนโลยีและมที ักษะชวี ิต๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกาลังกาย๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตสานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวถิ ชี ีวิตและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ๕. มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนาส่งิ แวดลอ๎ ม มีจิตสาธารณะทม่ี งํุ ทา ประโยชน์และสรา๎ งส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยูํรํวมกันในสงั คมอยํางมีความสุข สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์๒. ความสามารถในการคิด ๒. ซื่อสัตย์สุจริต๓. ความสามารถในการแกป๎ ัญหา ๓. มีวินัย๔. ความสามารถในการใช๎ทักษะชวี ิต ๔. ใฝเ่ รยี นรู๎๕. ความสามารถในการใช๎เทคโนโลยี ๕. อยูอํ ยาํ งพอเพียง ๖. มํงุ ม่ันในการทางาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนกั เรยี น๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๖. ศลิ ปะ ๓. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ภาษาตํางประเทศ สาธารณประโยชน์คุณภาพของผเู้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

๙สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรใ๎ู น ๘ กลํุมสาระการเรยี นรู๎จานวน ๖๗ มาตรฐาน ดงั น้ีภาษาไทยสาระท่ี ๑ การอ่านมาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก๎ ระบวนการอํานสรา๎ งความรแู๎ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต๎ ดั สินใจ แก๎ปญั หา ในการดาเนนิ ชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอํานสาระที่ ๒ การเขยี นมาตรฐาน ท ๒.๑ ใช๎กระบวนการเขียน เขียนสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยํอความ และเขียนเร่อื งราว ในรูปแบบตาํ งๆ เขยี นรายงานข๎อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค๎นควา๎ อยาํ งมปี ระสิทธิภาพสาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูดมาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยํางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู๎ ความคดิ ความร๎สู ึกในโอกาสตํางๆ อยํางมีวจิ ารณญาณ และสรา๎ งสรรค์สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ท ๔.๑ เขา๎ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ๎ ป็นสมบัติของชาติสาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท ๕.๑ เขา๎ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยําง เหน็ คุณคําและนามาประยกุ ต์ใชใ๎ นชวี ติ จริงคณติ ศาสตร์สาระท่ี ๑ จานวนและการดาเนนิ การมาตรฐาน ค ๑.๑ เข๎าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช๎จานวนในชีวิตจริงมาตรฐาน ค ๑.๒ เขา๎ ใจถึงผลทีเ่ กิดข้นึ จากการดาเนนิ การของจานวนและความสัมพนั ธร์ ะหวาํ ง การดาเนนิ การตําง ๆ และใชก๎ ารดาเนนิ การในการแก๎ปญั หามาตรฐาน ค ๑.๓ ใช๎การประมาณคาํ ในการคานวณและแกป๎ ัญหามาตรฐาน ค ๑.๔ เขา๎ ใจระบบจานวนและนาสมบตั ิเกย่ี วกับจานวนไปใช๎สาระท่ี ๒ การวัดมาตรฐาน ค ๒.๑ เขา๎ ใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ที่ตอ๎ งการวัดมาตรฐาน ค ๒.๒ แก๎ปญั หาเกยี่ วกบั การวดั

๑๐สาระท่ี ๓ เรขาคณติมาตรฐาน ค ๓.๑ อธบิ ายและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิตสองมติ ิและสามมติ ิมาตรฐาน ค ๓.๒ ใช๎การนึกภาพ (visualization) ใช๎เหตุผลเก่ียวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแ๎ บบจาลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแกป๎ ญั หาสาระที่ ๔ พีชคณติมาตรฐาน ค ๔.๑ เข๎าใจและวิเคราะห์แบบรปู (pattern) ความสมั พนั ธ์ และฟังก์ชันมาตรฐาน ค ๔.๒ ใชน๎ พิ จน์ สมการ อสมการ กราฟ และตวั แบบเชงิ คณติ ศาสตร์ (mathematical model) อน่ื ๆ แทนสถานการณต์ ําง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช๎แก๎ปัญหาสาระที่ ๕ การวเิ คราะหข์ ้อมลู และความนา่ จะเปน็มาตรฐาน ค ๕.๑ เขา๎ ใจและใช๎วิธีการทางสถติ ใิ นการวเิ คราะห์ข๎อมลูมาตรฐาน ค ๕.๒ ใช๎วิธีการทางสถิตแิ ละความร๎ูเก่ยี วกับความนาํ จะเป็นในการคาดการณ์ได๎ อยาํ งสมเหตสุ มผลมาตรฐาน ค ๕.๓ ใช๎ความรเู๎ ก่ียวกับสถติ แิ ละความนาํ จะเป็นชํวยในการตัดสนิ ใจและแก๎ปญั หาสาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกป๎ ญั หา การให๎เหตุผล การสื่อสาร การส่ือ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรู๎ตาํ ง ๆ ทางคณิตศาสตรแ์ ละเชือ่ มโยงคณติ ศาสตร์กบั ศาสตรอ์ นื่ ๆ และมีความคดิ ริเร่ิมสรา๎ งสรรค์วิทยาศาสตร์สาระท่ี ๑ สิ่งมีชวี ติ กบั กระบวนการดารงชวี ติมาตรฐาน ว ๑.๑ เข๎าใจหนวํ ยพืน้ ฐานของสงิ่ มีชวี ติ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร๎าง และหนา๎ ทข่ี อง ระบบตํางๆ ของสงิ่ มชี ีวิตทท่ี างานสมั พนั ธก์ นั มีกระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู ส่อื สารส่ิงที่เรียนร๎แู ละนาความรไู๎ ปใช๎ในการดารงชีวติ ของตนเองและดแู ล ส่ิงมชี ีวติมาตรฐาน ว ๑.๒ เขา๎ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวั ฒ น า ก า ร ข อง สิ่ ง มี ชี วิ ต ค ว า ม หลา ก หลา ย ท า ง ชี ว ภ า พ ก า ร ใ ช๎ เทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ผี ลกระทบตํอมนษุ ย์และส่ิงแวดล๎อม มกี ระบวนการ สืบเสาะหาความรแ๎ู ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สือ่ สาร สงิ่ ที่เรียนรู๎ และนาความรู๎ ไปใชป๎ ระโยชน์

๑๑สาระที่ ๒ ชวี ติ กบั สงิ่ แวดล้อมมาตรฐาน ว ๒.๑ เข๎าใจสิ่งแวดลอ๎ มในท๎องถิน่ ความสมั พนั ธ์ระหวํางสง่ิ แวดล๎อมกับสิง่ มีชีวิต ความสมั พันธ์ระหวาํ งสิง่ มีชีวติ ตาํ ง ๆ ในระบบนเิ วศ มีกระบวนการสบื เสาะ หาความร๎แู ละจิตวทิ ยาศาสตร์สือ่ สารสิง่ ทเ่ี รยี นรแ๎ู ละนาความร๎ไู ปใชป๎ ระโยชน์มาตรฐาน ว ๒.๒ เข๎าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท๎ รพั ยากรธรรมชาตใิ นระดับ ทอ๎ งถ่นิ ประเทศ และโลกนาความรูไ๎ ปใชใ๎ นในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อมในท๎องถิ่นอยาํ งย่ังยืนสาระท่ี ๓ สารและสมบตั ิของสารมาตรฐาน ว ๓.๑ เข๎าใจสมบัติของสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวาํ งสมบัตขิ องสารกับโครงสร๎างและ แรงยึดเหนย่ี วระหวํางอนุภาค มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู๎และ จิตวทิ ยาศาสตร์ส่ือสารสิ่งทเี่ รยี นร๎ู นาความรไ๎ู ปใชป๎ ระโยชน์มาตรฐาน ว ๓.๒ เข๎าใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกริ ิยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและจติ วิทยาศาสตร์ ส่อื สารส่ิงทเี่ รียนรู๎ และนาความรไ๎ู ปใช๎ประโยชน์สาระท่ี ๔ แรงและการเคลอ่ื นที่มาตรฐาน ว ๔.๑ เข๎าใจธรรมชาติของแรงแมํเหล็กไฟฟ้า แรงโน๎มถํวง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู๎ สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู๎และนาความร๎ูไปใช๎ ประโยชน์อยาํ งถูกตอ๎ งและมคี ณุ ธรรมมาตรฐาน ว ๔.๒ เข๎าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตํางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สบื เสาะหาความร๎ูและจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสง่ิ ท่เี รยี นรแ๎ู ละนาความรู๎ไปใช๎ ประโยชน์สาระที่ ๕ พลังงานมาตรฐาน ว ๕.๑ เข๎าใจความสัมพนั ธ์ระหวํางพลังงานกับการดารงชีวิต การเปล่ียนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหวํางสารและพลังงาน ผลของการใช๎พลังงานตํอชีวิตและ สิ่งแวดล๎อม มีกระบวน การสืบเสาะหาความร๎ู สื่อสารส่ิงที่เรียนร๎ูและ นาความรไ๎ู ปใชป๎ ระโยชน์สาระท่ี ๖ : กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลกมาตรฐาน ว ๖.๑ เขา๎ ใจกระบวนการตําง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ บนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ ของกระบวนการตําง ๆ ทม่ี ีผลตํอการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และ สณั ฐานของโลก มกี ระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งทเี่ รียนรู๎และนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์

๑๒สาระท่ี ๗ ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศมาตรฐาน ว ๗.๑ เขา๎ ใจววิ ฒั นาการของระบบสรุ ิยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายใน ระบบสรุ ยิ ะและผลตํอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูและ จติ วิทยาศาสตร์ การสอื่ สารส่งิ ท่ีเรียนร๎แู ละนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์มาตรฐาน ว ๗.๒ เข๎าใจความสาคญั ของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใชใ๎ นการสารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด๎านการเกษตรและการส่ือสาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู๎และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนร๎ูและนาความร๎ูไปใช๎ ประโยชนอ์ ยาํ งมคี ุณธรรมตํอชีวิตและสงิ่ แวดล๎อมสาระท่ี ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาตรฐาน ว ๘.๑ ใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู๎ การแก๎ปัญหา รู๎วําปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นสํวนใหญํมีรูปแบบ ทีแ่ นนํ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบได๎ ภายใต๎ข๎อมูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยํู ในชํวงเวลาน้ันๆ เข๎าใจวํา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล๎อม มคี วามเกยี่ วขอ๎ งสมั พันธ์กันสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมสาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ ร๎ู และเขา๎ ใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาท่ีตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต๎อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลกั ธรรม เพ่อื อยํรู วํ มกันอยาํ งสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข๎าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนับถือสาระท่ี ๒ หน้าท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสังคมมาตรฐาน ส ๒.๑ เขา๎ ใจและปฏิบัตติ นตามหนา๎ ทข่ี องการเป็นพลเมอื งดี มคี ํานิยมทด่ี งี าม และ ธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวติ อยูรํ วํ มกันในสงั คมไทย และ สงั คมโลกอยํางสันตสิ ขุมาตรฐาน ส ๒.๒ เขา๎ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารง รักษาไว๎ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ

๑๓สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา๎ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใช๎ ทรัพยากรที่มอี ยํจู ากัดได๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพและคุ๎มคาํ รวมท้งั เขา๎ ใจหลกั การ ของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชีวติ อยํางมีดุลยภาพมาตรฐาน ส ๓.๒ เข๎าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตําง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเป็นของการรวํ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลกสาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา๎ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใชว๎ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ตํางๆ อยํางเปน็ ระบบมาตรฐาน ส ๔.๒ เข๎าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน ในดา๎ นความสมั พนั ธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อยํางตํอเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและมาตรฐาน ส ๔.๓ สามารถวเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน เข๎าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภมู ิใจและธารงความเป็นไทยสาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์มาตรฐาน ส ๕.๑ เข๎าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผล ตํอ กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแ๎ ผนทแี่ ละเครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ในการ ค๎นหา วิเคราะห์ สรปุ และใชข๎ อ๎ มลู ภูมสิ ารสนเทศอยาํ งมปี ระสทิ ธิภาพมาตรฐาน ส ๕.๒ เข๎าใจปฏิสัมพันธ์ระหวํางมนุษย์กับสภาพแวดล๎อมทางกายภาพที่กํอให๎เกิด การสร๎างสรรคว์ ฒั นธรรม มีจิตสานึก และมีสํวนรํวมในการอนุรักษ์ทรัพยากร และส่ิงแวดล๎อม เพือ่ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืนสุขศึกษาและพลศึกษาสาระที่ ๑ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา๎ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์สาระที่ ๒ ชวี ิตและครอบครัวมาตรฐาน พ ๒.๑ เข๎าใจและเหน็ คณุ คําตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนิน ชีวิตสาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกฬี าสากลมาตรฐาน พ ๓.๑ เข๎าใจ มที กั ษะในการเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลํนเกม และกีฬามาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเลํนเกม และการเลํนกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอยําง สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณใน การแขํงขัน และชน่ื ชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

๑๔สาระที่ ๔ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรคมาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคาํ และมีทกั ษะในการสรา๎ งเสริมสขุ ภาพ การดารงสขุ ภาพ การป้องกัน โรคและการสร๎างเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สุขภาพสาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ิตมาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เลย่ี งปจั จัยเสีย่ ง พฤตกิ รรมเส่ียงตอํ สุขภาพ อบุ ัตเิ หตุ การใช๎ ยาสารเสพตดิ และความรุนแรงศิลปะสาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร๎างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คณุ คาํ งานทัศนศิลป์ ถาํ ยทอดความรส๎ู ึก ความคิดตํองานศิลปะ อยํางอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ๎ นชวี ติ ประจาวันมาตรฐาน ศ ๑.๒ เข๎าใจความสัมพนั ธร์ ะหวํางทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคํา งานทัศนศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท๎องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากลสาระที่ ๒ ดนตรีมาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา๎ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยาํ งสรา๎ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณคํา ดนตรี ถาํ ยทอดความร๎ูสึก ความคิดตํอดนตรีอยํางอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ ใช๎ในชวี ิตประจาวันมาตรฐาน ศ ๒.๒ เข๎าใจความสัมพันธ์ระหวํางดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคํา ของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท๎องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและ สากลสาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา๎ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อยํางสร๎างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ คาํ นาฏศลิ ป์ ถาํ ยทอดความร๎สู ึก ความคิดอยํางอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใช๎ ในชีวติ ประจาวนัมาตรฐาน ศ ๓.๒ เข๎าใจความสมั พันธ์ระหวํางนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคณุ คาํ ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท๎องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและ สากล

๑๕การงานอาชีพและเทคโนโลยีสาระที่ ๑ การดารงชวี ติ และครอบครัวมาตรฐาน ง ๑.๑ เข๎าใจการทางาน มีความคิดสร๎างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การจัดการ ทกั ษะกระบวนการแก๎ปญั หา ทักษะการทางานรํวมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู๎ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึก ในการใช๎พลงั งาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล๎อม เพือ่ การดารงชีวิตและครอบครัวสาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีมาตรฐาน ง ๒.๑ เข๎าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร๎างส่ิงของ เครอ่ื งใช๎ หรอื วิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยํางมีความคิดสร๎างสรรค์ เลือกใช๎เทคโนโลยีในทางสร๎างสรรค์ตํอชีวิต สังคม สิ่งแวดล๎อม และมี สวํ นรํวมในการจัดการเทคโนโลยีทย่ี ่งั ยนืสาระท่ี ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมาตรฐาน ง ๓.๑ เขา๎ ใจ เห็นคณุ คํา และใช๎กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค๎นข๎อมลู การเรยี นรู๎ การสอื่ สาร การแกป๎ ัญหา การทางาน และอาชีพอยาํ งมปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล และมคี ุณธรรมสาระที่ ๔ การอาชีพมาตรฐาน ง ๔.๑ เข๎าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช๎เทคโนโลยีเพือ่ พฒั นาอาชพี มคี ณุ ธรรม และมีเจตคตทิ ดี่ ตี ํออาชีพภาษาต่างประเทศสาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การสือ่ สารมาตรฐาน ต ๑.๑ เข๎าใจและตีความเรอ่ื งทฟ่ี ังและอํานจากสอื่ ประเภทตํางๆ และแสดงความคดิ เห็น อยํางมีเหตุผลมาตรฐาน ต ๑.๒ มที ักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข๎อมลู ขาํ วสาร แสดงความรู๎สึก และความคดิ เหน็ อยาํ งมีประสิทธภิ าพมาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข๎อมูลขําวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเร่ืองตํางๆ โดยการพูดและการเขยี นสาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรมมาตรฐาน ต ๒.๑ เขา๎ ใจความสมั พนั ธ์ระหวํางภาษากบั วฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา และนาไปใช๎ ได๎อยํางเหมาะสมกบั กาลเทศะมาตรฐาน ต ๒.๒ เข๎าใจความเหมือนและความแตกตํางระหวํางภาษาและวัฒนธรรมของเจา๎ ของ ภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช๎อยํางถกู ต๎องและเหมาะสม

๑๖สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่ืนมาตรฐาน ต ๓.๑ ใช๎ภาษาตํางประเทศในการเชอื่ มโยงความรู๎กับกลํุมสาระการเรียนร๎ูอื่น และเป็น พน้ื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู๎ และเปิดโลกทศั น์ของตนสาระท่ี ๔ ภาษากับความสัมพันธก์ ับชมุ ชนและโลกมาตรฐาน ต ๔.๑ ใช๎ภาษาตาํ งประเทศในสถานการณต์ าํ งๆ ทงั้ ในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คมมาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ๎ าษาตาํ งประเทศเปน็ เครอื่ งมอื พ้ืนฐานในการศึกษาตํอ การประกอบอาชีพ และการแลกเปล่ยี นเรยี นร๎กู ับสงั คมโลกกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น กจิ กรรมพฒั นาผ๎เู รยี น มงุํ ใหผ๎ ู๎เรียนได๎พัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ พฒั นาอยํางรอบด๎านเพ่ือความเปน็ มนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ ท้งั รํางกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม เสริมสรา๎ งให๎เปน็ ผ๎มู ศี ีลธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บวนิ ัย ปลูกฝงั และสร๎างจิตสานกึ ของการทาประโยชน์เพอื่ สงั คม สามารถจัดการตนเองได๎ และอยํูรํวมกับผู๎อ่นื อยาํ งมีความสขุ กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน แบํงเป็น ๓ ลกั ษณะ ดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีสํงเสริมและพัฒนาผ๎ูเรียนให๎รู๎จักตนเอง รู๎รักษ์สิ่งแวดล๎อม สามารถคิดตดั สินใจ คิดแก๎ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด๎านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได๎อยํางเหมาะสม นอกจากน้ียังชํวยให๎ครูร๎ูจักและเข๎าใจผ๎ูเรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ีชํวยเหลือและให๎คาปรึกษาแกํผ๎ปู กครองในการมีสํวนรวํ มพฒั นาผ๎เู รียน ๒. กจิ กรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มํุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผ๎ูนาผ๎ูตามท่ีดี ความรับผิดชอบการทางานรํวมกัน การรู๎จักแก๎ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชํวยเหลือแบํงปันกันเอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให๎สอดคล๎องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู๎เรียนใหไ๎ ดป๎ ฏบิ ตั ดิ ๎วยตนเองในทกุ ขน้ั ตอน ได๎แกํ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการทางาน เนน๎ การทางานรวํ มกนั เป็นกลมํุ ตามความเหมาะสมและสอดคล๎องกับวุฒิภาวะของผ๎เู รียน บรบิ ทของสถานศกึ ษาและทอ๎ งถน่ิ กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดว๎ ย ๒.๑ กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบ๎ าเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษาวชิ าทหาร ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ชมรม ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่สี งํ เสรมิ ใหผ๎ เ๎ู รยี นบาเพ็ญตนใหเ๎ ป็นประโยชนต์ อํ สังคม ชุมชน และท๎องถน่ิตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสียสละตํอสังคมมจี ติ สาธารณะ เชํน กิจกรรมอาสาพฒั นาตําง ๆ กิจกรรมสร๎างสรรคส์ งั คม

๑๗ระดับการศกึ ษา โรงเรยี นดอยสะเกด็ ผดุงศาสน์ วดั พระธาตุดอยสะเก็ด เปดิ การใช๎หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน จดั ระดบั การศกึ ษาเปน็ ๒ ระดับ ดงั นี้ ๑. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นชํวงสุดท๎ายของการศึกษาภาคบงั คับ มุํงเนน๎ ใหผ๎ ๎เู รยี นได๎สารวจความถนดั และความสนใจของตนเอง สงํ เสริมการพฒั นาบุคลกิ ภาพสํวนตน มที กั ษะในการคิดวจิ ารณญาณ คิดสร๎างสรรค์ และคิดแก๎ปัญหา มีทักษะในการดาเนินชีวิต มีทักษะการใชเ๎ ทคโนโลยเี พอื่ เป็นเครอื่ งมือในการเรยี นร๎ู มีความรับผิดชอบตอํ สงั คม มีความสมดุลท้ังดา๎ นความรู๎ความคิด ความดงี าม และมคี วามภมู ใิ จในความเป็นไทย ตลอดจนใช๎เป็นพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพหรอื การศึกษาตอํ ๒. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ – ๖) การศกึ ษาระดบั นี้เนน๎ การเพ่ิมพนูความรแู๎ ละทักษะเฉพาะดา๎ น สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผเ๎ู รยี นแตํละคนท้ังดา๎ นวชิ าการและวชิ าชีพ มีทักษะในการใชว๎ ิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคดิ ขน้ั สูง สามารถนาความร๎ูไปประยุกตใ์ ชใ๎ หเ๎ กดิ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาตํอและการประกอบอาชีพ มํงุ พัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผ๎ูนา และผ๎ใู ห๎บริการชมุ ชนในด๎านตําง ๆการจดั เวลาเรยี น หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ได๎กาหนดกรอบโครงสร๎างเวลาเรียนขั้นต่าสาหรับกลํุมสาระการเรียนร๎ู ๘ กลมุํ และกจิ กรรมพัฒนาผ๎ูเรียน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมได๎ตามความพร๎อมและจดุ เน๎น โดยสามารถปรบั ใหเ๎ หมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาและสภาพของผู๎เรยี น ดังน้ี ๑. ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ (ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓) ให๎จดั เวลาเรียนเปน็ รายภาค มเี วลาเรยี นวันละไมํเกิน ๖ ชั่วโมง คิดน้าหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหนํวยกิต ใช๎เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงตํอภาคเรียนมคี ํานา้ หนักวิชา เทํากับ ๑ หนวํ ยกติ (นก.) ๒. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ - ๖) ให๎จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียน วันละไมํน๎อยกวํา ๖ ช่ัวโมง คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหนํวยกิต ใช๎เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงตํอภาคเรียน มคี าํ น้าหนักวิชา เทํากับ ๑ หนํวยกติ (นก.)

๑๘โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนดกรอบโครงสร๎างเวลาเรยี น ดังนี้ เวลาเรยี น กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖ รวมภาษาไทย ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ * ภาษาล๎านนา ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ * ชวี วทิ ยา * เคมี ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ * ฟสิ ิกส์ * โครงงานวิทยาศาสตร์ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ * หนา๎ ทพ่ี ลเมือง ฯ, เศรษฐศาสตร์, ภมู ศิ าสตร์ ม.๑-๖ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ * ประวัตศิ าสตร์ ม.๑-๕ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ * ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ม.๑-๖ ๔.๐ ๔.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๙.๐ (เพิ่มเตมิ ) ธรรมวินยั ๑.๐ ,ศาสนปฏบิ ตั ิ ๐.๕ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษาศลิ ปะ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๙.๐การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ * คอมพิวเตอร์ * กัดกระจก ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๙.๐ * ไฟฟา้ เบ้ืองต๎น ๖๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๖๐ * เขยี นเวบ็ ไซส์ ๑.๕ ๑.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๕ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๓๒๐ ๒.๐ ๒.๐ ๔.๐ ๒.๕ ๒.๕ ๓.๐ ๘.๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๒.๐ ๒.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๒.๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๒.๐ ๔๐ ๔๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๑๘๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๔.๕ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๒.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๑.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐

๑๙ เวลาเรียน กลุม่ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายภาษาตาํ งประเทศ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖ รวม * ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๒๔๐ * ภาษาบาลี ๓.๐ ๓.๐ ๓.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๒.๐ ๖.๐ รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรียน (เพิ่มเตมิ ) ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐รายวิชา / กิจกรรมทส่ี ถานศึกษาจดั เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและจุดเน้น  ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๒๐ ๑๖๔๐ ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๑๔ ๑๔ ๑๓ ๔๑ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๖๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๒๖๔๐ ๖๖ ๗ ๒๒ ๒๒ ๒๒ ๖๖ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ปลี ะไมเํ กิน ๒๔๐ ช่ัวโมง ไมํนอ๎ ยกวาํ ๑,๖๘๐ ชัว่ โมง ๒๖๐ ๒๐ ๒,๖๔๐ ๙๖๐ ไมเ่ กิน ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง/ปี รวม ๓ ปี ไมน่ ้อยกว่า ๓,๖๐๐ ช่วั โมง ๒,๕๐๐ ๔,๒๘๐ ๖๘๐ การกาหนดโครงสร๎างเวลาเรียนพ้ืนฐาน และเพม่ิ เติม สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ การ ดังน้ี ระดับมธั ยมศึกษา ต๎องจัดโครงสร๎างเวลาเรียนพ้ืนฐานให๎เป็นไปตามที่กาหนดและสอดคล๎องกับเกณฑ์การจบหลกั สตู ร สาหรับเวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ ท้ังในระดบั มัธยมศึกษา ใหจ๎ ดั เป็นรายวิชาเพ่มิ เตมิ หรอื กจิ กรรมพฒั นาผ๎ูเรียนโดยพิจารณาให๎สอดคล๎องกับความพร๎อมจุดเน๎นของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบหลักสูตรสถานศกึ ษาจดั ให๎เป็นเวลาสาหรบั สาระการเรียนรู๎พ้ืนฐานในกลุํมสาระการเรียนร๎ูภาษาไทย กลุํมสาระการเรียนรว๎ู ทิ ยาศาสตร์ กลุมํ สาระการเรยี นรู๎สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุํ สาระการเรียนการงาน อาชพี และเทคโนโลยี และกลมํุ สาระการเรยี นรู๎ภาษาตํางประเทศ กิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนท่ีกาหนดไว๎ในช้ันช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีละ ๑๒๐ ชั่วโมง และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖ จานวน ๓๖๐ ช่ัวโมงน้ัน เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ในสํวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให๎สถานศกึ ษาจัดสรรเวลาให๎ผ๎เู รียนไดป๎ ฏบิ ัติกิจกรรม ดงั น้ี ระดบั มัธยมศึกษาตอนต๎น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ชว่ั โมง ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชั่วโมง

๒๐ โครงสร้างหลกั สตู รและเวลาเรยี น โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม แผนกสามญั ศกึ ษา ระดับมธั ยมศกึ ษา โดยกองการศาสนศกึ ษา สังกดั สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติกลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6กลุม่ สาระการเรียนรู้-ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240(6 นก.)-คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240(6 นก.)-วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240( 6 นก.)-สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) * ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) * ศาสนา ศีลธรรมจริยธรรม * หนา๎ ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรมและ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 ( 6 นก.)การดาเนนิ ชีวติ * เศรษฐศาสตร,์ * ภูมิศาสตร์- สขุ ศกึ ษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120(3 นก.)- ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120(3 นก.)- การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120(3 นก.)- ภาษาตํางประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240(นก.)รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน) 880(22 นก.) 880(22 นก.) 880(22 นก.) 1,640(41 นก.)รายวชิ าเพ่มิ เติม- ธรรมวินยั 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.) ไมํนอ๎ ยกวํา 120 ชั่วโมง- ภาษาบาลี 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) ไมํนอ๎ ยกวาํ 480ชว่ั โมง- รายวิชาเพิ่มเติมตามจดุ เนน๎ ของโรงเรยี น 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.) ไมํน๎อยกวาํ 1,000 ชัว่ โมงรวมเวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ปลี ะไม่เกิน 200 ชว่ั โมง รวมไม่นอ้ ยกวา่ 1,600 ชั่วโมงกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น- กิจกรรมแนะแนว 25 25 25 75กิจกรรมนักเรยี น- ศาสนปฎบิ ตั ิ 40 40 40 120- กจิ กรรมชมุ นมุ 40 40 40 120- กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 45รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู๎ รียน 120 120 120 360รวมเวลาเรียน 1,200 ชัว่ โมง/ปี รวม 3 ปี ไมน่ ้อยกว่า 3,600

๒๑ โครงสร้างหลกั สตู รและเวลาเรยี นโรงเรยี นดอยสะเกด็ ผดุงศาสน์ วัดพระธาตดุ อยสะเกด็ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กาหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดังน้ี (ปรบั ปรงุ ) เวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ม.1 ม.2 ม.3กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)คณติ ศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) ประวัติศาสตร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) หนา๎ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวิต 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) เศรษฐศาสตร,์ ภูมิศาสตร,์สุขศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชพี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) คอมพิวเตอร์ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)ภาษาตา่ งประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)  ภาษาอังกฤษ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)  ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)รวมเวลาเรียน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.)รายวิชาเพ่ิมเติมธรรมวินยั 80(2.0 นก.) 80 (2 .0 นก.) 80 (2.0 นก.)ภาษาบาลี 120 (3.0นก.) 120 (3.0นก.) 120 (3.0.นก.)รวมเวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) 200 (5 นก.)กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 120 120 120 แนะแนว 40 40 40 ชุมนมุ 25 25 25 กิจของสงฆ์ (ปฏบิ ัติธรรม)ศาสปฏิบตั ิ 40 40 40 กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15รวมเวลาเรียนท้ังหมด 1,200 (27 นก.) 1,200(27 นก.) 1,200(27 นก.)หมายเหตุ กิจกรรมชุมนมุ ภาคเรียนท่ี 1 จัด 15 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 2 จัด 10 ชั่วโมง กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนท่ี 1 จดั 5 ช่วั โมง ภาคเรียนที่ 2 จัด 10 ชั่วโม รายวชิ าเพม่ิ เติมตามจุดเน้นของโรงเรียนจดั อยู่ในรายวิชาธรรมวินัย

๒๒ การกาหนดรหสั วชิ าและช่ือรายวชิ าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามโครงสรา้ งหลกั สูตร ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2553ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 จานวนชวั่ โมง / ปีรหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า รหัสวชิ า ช่อื รายวชิ า รหสั วิชา ช่ือรายวิชา จานวนชัว่ โมง / สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สปั ดาห์ หนวํ ยการเรยี นร๎ูท 21101 ภาษาไทย ท 22101 ภาษาไทย ท 23101 ภาษาไทย 3.0 3 120ค 21101 คณิตศาสตร์ ค 22101 คณิตศาสตร์ ค 23101 คณิตศาสตร์ 3.0 3 120ว 21101 วิทยาศาสตร์ ว 22101 วิทยาศาสตร์ ว 23101 วิทยาศาสตร์ 3.0 3 120ส 21101 สงั คมศกึ ษา ส 22101 สังคมศกึ ษา ส 23101 สงั คมศึกษา ศาสนา 3.0 3 120 ศาสนาและ ศาสนาและ และวฒั นธรรมส 21103 วฒั นธรรม ส 22103 วฒั นธรรม ส 23103 ประวตั ิศาสตร์ 1.0 1 40 ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์พ 21101 สขุ ศึกษา พ 22101 สขุ ศึกษา พ 23101 สุขศกึ ษา 2.0 2 80ศ 21101 ศลิ ปะ ศ 22101 ศลิ ปะ ศ 23101 ศิลปะ 2.0 2 80ง 21101 การงานอาชพี และ ง 22101 การงานอาชพี และ ง 23101 การงานอาชีพและ 1.0 1 40ง 21103 เทคโนโลยี ง 22103 เทคโนโลยี ง 23103 เทคโนโลยี 1.0 1 40 คอมพิวเตอร์ 1 คอมพวิ เตอร์ 2 คอมพิวเตอร์ 3อ 21101 ภาษาอังกฤษ อ 22101 ภาษาองั กฤษ อ 23101 ภาษาอังกฤษ 2.0 2 80อ 21103 ภาษาอังกฤษใน อ 22103 ภาษาอังกฤษใน อ 23103 ภาษาอังกฤษใน 1.0 1 40 ชีวิตประจาวัน 1 ชีวิตประจาวัน 2 ชวี ติ ประจาวนั 3 รวมเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ 22.0 22 880 รายวิชา รายวชิ า รายวชิ า เพิม่ เติม เพม่ิ เตมิ เพ่ิมเตมิส 21201 ธรรมวินัย 1 ส 22201 ธรรมวินัย 2 ส 23201 ธรรมวนิ ัย 3 2.0 2 80บ 21201 ภาษาบาลี 1 บ 222013 ภาษาบาลี 2 บ 23201 ภาษาบาลี 3 3.0 3 120 รวมเวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม 5.0 5 200 กจิ กรรมพัฒนา กจิ กรรมพัฒนา กจิ กรรมพฒั นา ผู้เรยี น ผู้เรียน ผู้เรยี นก 21301 แนะแนว ก 22303 แนะแนว ก 23305 แนะแนว 1 40ก 21311 ชุมนมุ ก 22313 ชุมนุม ก 23315 ชมุ นมุ 1 25ก 21321 ศาสนปฏิบัติ ก 22323 ศาสนปฏบิ ัติ ก 23325 ศาสนปฏบิ ตั ิ 1 40ก 21331 กจิ สาธารณะ ก 22333 กิจสาธารณะ ก 23335 กจิ สาธารณะ 1 15 รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 120 รวมเวลาเรียนทั้งหมด 27 1,200

๒๓ การกาหนดรหสั วิชาและชอ่ื รายวิชาทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ตามโครงสร้างหลกั สตู ร ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2553ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จานวนชวั่ โมง / ปีรหัสวิชา ชือ่ รายวิชา รหสั วชิ า ช่ือรายวิชา รหัสวิชา ชอื่ รายวชิ า จานวนชว่ั โมง / สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สปั ดาห์ หนวํ ยการเรยี นร๎ูท 21102 ภาษาไทย ท 22102 ภาษาไทย ท 23102 ภาษาไทย 3.0 3 120ค 21102 คณิตศาสตร์ ค 22102 คณติ ศาสตร์ ค 23102 คณติ ศาสตร์ 3.0 3 120ว 21102 วทิ ยาศาสตร์ ว 22102 วิทยาศาสตร์ ว 23102 วิทยาศาสตร์ 3.0 3 120ส 21102 สงั คมศกึ ษา ส 22102 สงั คมศกึ ษา ส 23102 สงั คมศกึ ษา ศาสนา 3.0 3 120 ศาสนาและ ศาสนาและ และวฒั นธรรมส 21104 วฒั นธรรม ส 22104 วัฒนธรรม ส 23104 ประวตั ิศาสตร์ 1.0 1 40 ประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์พ 21102 สุขศกึ ษา พ 22102 สุขศึกษา พ 23102 สขุ ศกึ ษา 2.0 2 80ศ 21102 ศิลปะ ศ 22102 ศลิ ปะ ศ 23102 ศลิ ปะ 2.0 2 80ง 21102 การงานอาชพี และ ง 22102 การงานอาชพี และ ง 23102 การงานอาชีพและ 1.0 1 40ง 21104 เทคโนโลยี ง 22104 เทคโนโลยี ง 23104 เทคโนโลยี 1.0 1 40 คอมพวิ เตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 2 คอมพิวเตอร์ 3อ 21102 ภาษาอังกฤษ อ 22102 ภาษาอังกฤษ อ 23102 ภาษาองั กฤษ 2.0 2 80อ 21104 ภาษาอังกฤษใน อ 22104 ภาษาอังกฤษใน อ 23104 ภาษาอังกฤษใน 1.0 1 40 ชีวิตประจาวัน 1 ชวี ติ ประจาวัน 2 ชีวติ ประจาวัน 3 รวมเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ 22.0 22 880 รายวชิ า รายวชิ า รายวิชา เพม่ิ เติม เพิ่มเตมิ เพมิ่ เตมิส 21202 ธรรมวนิ ัย 1 ส 22202 ธรรมวินัย 2 ส 23202 ธรรมวนิ ยั 3 2.0 2 80บ 21202 ภาษาบาลี 1 บ 22202 ภาษาบาลี 2 บ 23202 ภาษาบาลี 3 3.0 3 120 รวมเวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม 5.0 5 200 กิจกรรมพัฒนา กิจกรรมพัฒนา กจิ กรรมพัฒนา ผู้เรียน ผ้เู รียน ผู้เรียนก 21302 แนะแนว ก 22304 แนะแนว ก 23306 แนะแนว 1 40ก 21312 ชุมนมุ ก 22314 ชุมนมุ ก 23316 ชุมนุม 1 25ก 21322 ศาสปฏิบตั ิ ก 22324 ศาสนปฏบิ ัต ก 23326 ศาสนปฏบิ ัติ 1 40ก 21332 กิจสาธารณะ ก 22334 กจิ สาธารณะ ก 23336 กจิ สาธารณะ 1 15 รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน 120 รวมเวลาเรียนท้งั หมด 27 1,200

๒๔ รายวชิ าพ้ืนฐานและเพมิ่ เติม ระดับช้นั มัธยมศึกษา ตอนตน้ โรงเรียนดอยสะเกด็ ผดงุ ศาสน์ วัดพระธาตดุ อยสะเกด็รายวชิ าพื้นฐานวิชาภาษาไทยรหัส รายวิชา ชนั้ เรยี น เวลาเรียน จานวน ภาคเรียน จานวนชว่ั โมง หนวํ ยกติ 1 2ท21101 ภาษาไทย ม.1 60 1.5 1 2ท21102 ภาษาไทย ม.1 60 1.5 1 2ท22101 ภาษาไทย ม.2 60 1.5ท22102 ภาษาไทย ม.2 60 1.5ท23101 ภาษาไทย ม.3 60 1.5ท23102 ภาษาไทย ม.3 60 1.5 รวม 360 9.0วชิ าคณติ ศาสตร์รหัส รายวิชา ช้ันเรียน เวลาเรยี น จานวน ภาคเรียน จานวนชวั่ โมง หนํวยกติค21101 คณติ ศาสตร์ ม.1 1ค21102 คณิตศาสตร์ ม.1 60 1.5 2ค22101 คณติ ศาสตร์ ม.2 60 1.5 1ค22102 คณติ ศาสตร์ ม.2 60 1.5 2ค23101 คณติ ศาสตร์ ม.3 60 1.5 1ค23102 คณิตศาสตร์ ม.3 60 1.5 2 60 1.5 รวม 360 9.0

๒๕ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั เรยี น เวลาเรยี น จานวน ภาคเรยี นรหัส รายวิชา จานวนชวั่ โมง หนวํ ยกติ ม.1 1ว21101 วิทยาศาสตร์ ม.1 60 1.5 2ว21102 วิทยาศาสตร์ ม.2 60 1.5 1ว22101 วทิ ยาศาสตร์ ม.2 60 1.5 2ว22102 วทิ ยาศาสตร์ ม.3 60 1.5 1ว23101 วิทยาศาสตร์ ม.3 60 1.5 2ว23102 วิทยาศาสตร์ 60 1.5 360 9.0 รวม วชิ าสังคมศกึ ษา ชั้นเรยี น เวลาเรยี น จานวน ภาคเรยี นรหสั รายวิชา จานวนชวั่ โมง หนํวยกติ ม.1 1ส21101 สังคมศึกษา ม.1 60 1.5 1ส21103 ประวตั ิศาสตร์ ม.1 20 0.5 2ส21102 สังคมศกึ ษา ม.1 60 1.5 2ส21104 ประวัติศาสตร์ ม.2 20 0.5 1ส22101 สังคมศกึ ษา ม.2 60 1.5 1ส22103 ประวัตศิ าสตร์ ม.2 20 0.5 2ส22102 สงั คมศึกษา ม.2 60 1.5 2ส22104 ประวัตศิ าสตร์ ม.3 20 0.5 1ส23101 สงั คมศกึ ษา ม.3 60 1.5 1ส23103 ประวตั ศิ าสตร์ ม.3 20 0.5 2ส23102 สังคมศึกษา ม.3 60 1.5 2ส23104 ประวัตศิ าสตร์ 20 0.5 480 12.0 รวม

๒๖วชิ าสขุ ศกึ ษารหสั รายวิชา ชน้ั เรยี น เวลาเรียน จานวน ภาคเรียน จานวนชว่ั โมง หนํวยกติพ21101 สุขศึกษา ม.1 1พ21102 สุขศึกษา ม.1 40 1 2พ22101 สขุ ศกึ ษา ม.2 40 1 1พ22102 สขุ ศึกษา ม.2 40 1 2พ23101 สุขศึกษา ม.3 40 1 1พ23102 สขุ ศกึ ษา ม.3 40 1 2 40 1 รวม 240 6.0 วิชาศลิ ปะ รายวิชา ช้นั เรียน เวลาเรยี น จานวน ภาคเรียน จานวนชว่ั โมง หนวํ ยกติ รหัส ศลิ ปะ ม.1 1 ศิลปะ ม.1 40 1 2ศ21101 ศิลปะ ม.2 40 1 1ศ21102 ศิลปะ ม.2 40 1 2ศ22101 ศิลปะ ม.3 40 1 1ศ22102 ศลิ ปะ ม.3 40 1 2ศ23101 รวม 40 1ศ23102 240 6.0

๒๗ วชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้นั เรยี น เวลาเรยี น จานวน ภาคเรียนรหสั รายวชิ า จานวนชว่ั โมง หนวํ ยกติ ม.1 1ง21101 การงานอาชพี ม.1 20 0.5 1ง21103 คอมพวิ เตอร์ 1 ม.1 20 0.5 2ง21102 การงานอาชีพ ม.1 20 0.5 2ง21104 คอมพวิ เตอร์ 2 ม.2 20 0.5 1ง22101 การงานอาชพี ม.2 20 0.5 1ง22103 คอมพวิ เตอร์ 3 ม.2 20 0.5 2ง22102 การงานอาชีพ ม.2 20 0.5 2ง22104 คอมพวิ เตอร์ 4 ม.3 20 0.5 1ง23101 การงานอาชพี ม.3 20 0.5 1ง23103 คอมพวิ เตอร์ 5 ม.3 20 0.5 2ง23102 การงานอาชีพ ม.3 20 0.5 2ง23104 คอมพิวเตอร์ 6 20 0.5 240 6.0 รวม

๒๘ วชิ าภาษาต่างประเทศ ช้ันเรียน เวลาเรยี น จานวน ภาคเรียนรหัส รายวิชา จานวนชว่ั โมง หนํวยกติ ม.1 1อ21101 ภาษาองั กฤษหลกั ม.1 40 1.0 1อ21103 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาวนั ม.1 20 0.5 2อ21102 ม.1 40 1.0 2อ21104 ภาษาอังกฤษหลัก ม.2 20 0.5 1อ22101 ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจาวนั ม.2 40 1.0 1อ22103 ม.2 20 0.5 2อ22102 ภาษาองั กฤษหลัก ม.2 40 1.0 2อ22104 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวนั ม.3 20 0.5 1อ23101 ม.3 40 1.0 1อ23103 ภาษาอังกฤษหลกั ม.3 20 0.5 2อ23102 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจาวนั ม.3 40 1.0 2อ23104 20 0.5 ภาษาอังกฤษหลัก 360 9.0 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจาวนั ภาษาองั กฤษหลัก ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวนั รวม

๒๙รายวิชาเพิม่ เตมิรายวิชาธรรมวินัยรหสั รายวิชา ชั้นเรียน เวลาเรียน จานวน ภาคเรียน จานวนชวั่ โมง หนํวยกติส 21203 ธรรมวินยั ม.1 1ส21204 ธรรมวนิ ยั ม.1 40 1.0 2ส 22203 ธรรมวินัย ม.2 40 1.0 1ส22204 ธรรมวินยั ม.2 40 1.0 2ส 23203 ธรรมวนิ ยั ม.3 40 1.0 1ส23204 ธรรมวนิ ยั ม.3 40 1.0 2 40 1.0 รวม 240 6.0รายวชิ าภาษาบาลีรหสั รายวิชา ช้นั เรยี น เวลาเรยี น จานวน ภาคเรียน จานวนชว่ั โมง หนวํ ยกติบ 21201 ภาษาบาลี ม.1 1บ21202 ภาษาบาลี ม.1 60 1.5 2บ 22201 ภาษาบาลี ม.2 60 1.5 1บ22202 ภาษาบาลี ม.2 60 1.5 2บ 23201 ภาษาบาลี ม.3 60 1.5 1บ23202 ภาษาบาลี ม.3 60 1.5 2 60 1.5 รวม 360 9.0

๓๐การจัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การจัดการศกึ ษาบางประเภทสาหรับกลํุมเป้าหมายเฉพาะ เชํน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผม๎ู คี วามสามารถพเิ ศษ การศึกษาทางเลอื ก การศึกษาสาหรบั ผู๎ด๎อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัยสามารถนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไปปรับใช๎ได๎ตามความเหมาะสม กับสภาพและบรบิ ทของแตํละกลํุมเปา้ หมาย โดยใหม๎ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ทั้งนี้ให๎เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการกาหนดการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนร๎ูเป็นกระบวนการสาคัญในการนาหลักสูตรสํูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนร๎ู สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู๎เรยี น เป็นเปา้ หมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ในการพัฒนาผ๎ูเรียนให๎มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู๎สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนร๎ู จัดการเรียนร๎ูโดยชํวยให๎ผ๎ูเรียนเรียนรู๎ผํานสาระที่กาหนดไว๎ในหลักสูตร ๘ กลุํมสาระการเรียนรู๎ รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร๎างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะตํางๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญใหผ๎ ูเ๎ รียนบรรลตุ ามเปา้ หมาย ๑. หลักการจดั การเรยี นรู้ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ร๎ู เ พ่ื อ ใ ห๎ ผู๎ เ รี ย น มี ค ว า ม ร ตามที่กาหนดไว๎ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยยึดหลักวํา ผ๎ูเรียนมีความสาคัญท่ีสุด เชื่อวําทุกคนมีความสามารถเรียนรู๎และพัฒนาตนเองได๎ ยดึ ประโยชนท์ ีเ่ กิดกับผ๎ูเรยี น กระบวนการจดั การเรียนร๎ตู อ๎ งสํงเสริมให๎ผ๎ูเรยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกตํางระหวํางบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนน๎ ให๎ความสาคัญทัง้ ความร๎ู และคณุ ธรรม ๒. กระบวนการเรยี นรู้ การจัดการเรียนร๎ูที่เน๎นผ๎ูเรียนเป็นสาคัญ ผู๎เรียนจะต๎องอาศัยกระบวนการเรียนร๎ูที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือท่ีจะนาพาตนเองไปสํูเป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนร๎ูท่ีจาเป็นสาหรับผ๎ูเรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู๎แบบบูรณาการ กระบวนการสร๎างความร๎ู กระบวนการคิดกระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก๎ปัญหา กระบวนการเรียนร๎ูจากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัยกระบวนการเรยี นรู๎การเรียนร๎ูของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสยั กระบวนการเหลํานี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนร๎ูที่ผ๎ูเรียนควรได๎รับการฝึกฝน พัฒนาเพราะจะสามารถชํวยให๎ผ๎ูเรียนเกิดการเรียนร๎ูได๎ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดั งน้ัน ผ๎ูสอน

๓๑จึงจาเป็นต๎องศึกษาทาความเข๎าใจในกระบวนการเรียนรู๎ตําง ๆ เพ่ือให๎สามารถเลือกใช๎ในการจัดกระบวนการเรยี นร๎ไู ดอ๎ ยาํ งมปี ระสทิ ธิภาพ๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้ผ๎ูสอนตอ๎ งศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหเ๎ ข๎าใจถึงมาตรฐานการเรียนร๎ู ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของผูเ๎ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรียนรู๎ท่เี หมาะสมกับผู๎เรยี น แล๎วจงึ พิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู๎โดยเลือกใช๎วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลํงเรียนรู๎ การวัดและประเมนิ ผล เพอ่ื ใหผ๎ ู๎เรียนได๎พัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายที่กาหนด๔. บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี นการจดั การเรียนร๎ูเพื่อให๎ผู๎เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้ังผู๎สอนและผ๎ูเรียนควรมีบทบาท ดังน้ี๔.๑ บทบาทของผ้สู อน ๑) ศกึ ษาวิเคราะหผ์ เ๎ู รยี นเปน็ รายบุคคล แล๎วนาขอ๎ มูลมาใช๎ในการวางแผนการจัดการเรยี นร๎ู ที่ทา๎ ทายความสามารถของผเ๎ู รยี น ๒) กาหนดเปา้ หมายทต่ี อ๎ งการให๎เกิดขนึ้ กับผู๎เรียน ด๎านความร๎ูและทกั ษะกระบวนการ ทเี่ ป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมทั้งคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู๎และจดั การเรียนร๎ทู ่ีตอบสนองความแตกตาํ งระหวาํ งบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เพ่ือนาผ๎เู รียนไปสูเํ ป้าหมาย ๔) จัดบรรยากาศทีเ่ ออ้ื ตํอการเรยี นรู๎ และดูแลชวํ ยเหลือผู๎เรียนให๎เกดิ การเรียนร๎ู ๕) จัดเตรยี มและเลอื กใช๎สือ่ ใหเ๎ หมาะสมกบั กจิ กรรม นาภมู ปิ ัญญาท๎องถิ่นเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมมาประยุกต์ใชใ๎ นการจัดการเรยี นการสอน ๖) ประเมนิ ความก๎าวหนา๎ ของผเู๎ รยี นดว๎ ยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและระดบั พัฒนาการของผ๎เู รยี น ๗) วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใช๎ในการซอํ มเสรมิ และพัฒนาผ๎ูเรียน รวมทงั้ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนของตนเอง๔.๒ บทบาทของผู้เรียน ๑) กาหนดเปา้ หมาย วางแผน การเรียนร๎ขู องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู๎ เขา๎ ถงึ แหลํงการเรยี นร๎ู วิเคราะห์ สงั เคราะหข์ อ๎ ความร๎ูตั้งคาถาม คดิ หาคาตอบหรอื หาแนวทางแก๎ปัญหาดว๎ ยวิธีการตาํ ง ๆ ๒) ลงมือปฏิบตั ิจริง สรุปสง่ิ ทไ่ี ด๎เรียนร๎ูด๎วยตนเอง และนาความรู๎ไปประยกุ ต์ใช๎ในสถานการณ์ตาํ ง ๆ ๓) มปี ฏิสมั พนั ธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรํวมกบั กลุมํ และครู ๔) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรข๎ู องตนเองอยํางตอํ เน่ือง

๓๒สอ่ื การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู๎เป็นเคร่ืองมือสํงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู๎ ให๎ผู๎เรียนเข๎าถึงความรู๎ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได๎อยํางมีประสิทธิภาพส่ือการเรียนร๎ูมีหลากหลายประเภท ท้ังส่ือธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือขํายการเรียนรู๎ตาํ งๆ ที่มีในท๎องถิ่น การเลือกใช๎ส่ือควรเลือกให๎มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลลี าการเรียนรู๎ท่หี ลากหลายของผูเ๎ รยี น การจดั หาสื่อการเรยี นรู๎ ผู๎เรยี นและผสู๎ อนสามารถจดั ทาและพฒั นาขน้ึ เอง หรอื ปรบั ปรงุ เลือกใช๎อยาํ งมีคณุ ภาพจากส่อื ตาํ งๆ ที่มีอยํูรอบตัวเพ่ือนามาใช๎ประกอบในการจัดการเรียนรู๎ท่ีสามารถสํงเสริมและสื่อสารให๎ผู๎เรียนเกิดการเรียนรู๎ โดยสถานศึกษาควรจัดให๎มีอยํางพอเพียง เพื่อพัฒนาให๎ผ๎ูเรียนเกิดการเรียนร๎ูอยํางแท๎จริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎องและผู๎มีหน๎าที่จัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ควรดาเนนิ การดังนี้ ๑. จัดให๎มีแหลํงการเรียนรู๎ ศูนย์ส่ือการเรียนรู๎ ระบบสารสนเทศการเรียนรู๎ และเครือขํายการเรียนรท๎ู ่ีมปี ระสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค๎นคว๎าและการแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารเรียนรู๎ ระหวํางสถานศึกษา ท๎องถ่ิน ชมุ ชน สงั คมโลก ๒. จัดทาและจัดหาส่ือการเรียนรู๎สาหรับการศึกษาค๎นคว๎าของผ๎ูเรียน เสริมความรู๎ให๎ผ๎ูสอนรวมทง้ั จัดหาสง่ิ ท่มี ีอยํูในท๎องถิน่ มาประยกุ ตใ์ ช๎เป็นสอ่ื การเรยี นรู๎ ๓. เลือกและใช๎ส่ือการเรียนรู๎ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล๎องกับวิธีการเรยี นรู๎ ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู๎ และความแตกตํางระหวํางบุคคลของผ๎ูเรียน ๔. ประเมินคุณภาพของสอื่ การเรียนรูท๎ เ่ี ลือกใช๎อยํางเปน็ ระบบ ๕. ศกึ ษาค๎นควา๎ วิจยั เพอื่ พัฒนาสื่อการเรียนร๎ูให๎สอดคลอ๎ งกับกระบวนการเรียนรขู๎ องผ๎ูเรียน ๖. จัดให๎มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช๎สื่อการเรียนรู๎เป็นระยะๆ และสมา่ เสมอ ในการจัดทา การเลือกใช๎ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู๎ที่ใช๎ในสถานศึกษาควรคานึงถึงหลกั การสาคัญของส่อื การเรียนรู๎ เชํน ความสอดคล๎องกบั หลกั สูตร วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนร๎ูการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู๎ การจัดประสบการณ์ให๎ผู๎เรียน เนื้อหามีความถูกต๎องและทันสมัยไมกํ ระทบความมัน่ คงของชาติ ไมํขดั ตํอศีลธรรม มกี ารใช๎ภาษาท่ีถูกต๎อง รูปแบบการนาเสนอท่ีเข๎าใจงาํ ย และนาํ สนใจ

๓๓การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนร๎ูของผ๎ูเรียนต๎องอยํูบนหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพื่อพัฒนาผู๎เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนร๎ูของผ๎ูเรียนให๎ประสบผลสาเร็จน้ัน ผ๎ูเรียนจะต๎องได๎รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให๎บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู๎ สะท๎อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู๎เรียนซง่ึ เป็นเปา้ หมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนร๎ูในทุกระดับไมํวําจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษาระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู๎ เป็นกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผเู๎ รียนโดยใช๎ผลการประเมินเป็นข๎อมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความก๎าวหน๎า และความสาเร็จทางการเรียนของผู๎เรียน ตลอดจนข๎อมูลท่ีเป็นประโยชน์ตํอการสํงเสริมให๎ผู๎เรียนเกิดการพฒั นาและเรียนรู๎อยํางเต็มตามศกั ยภาพ ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยูํในกระบวนการจัดการเรียนรู๎ผู๎สอนดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช๎เทคนิคการประเมินอยํางหลากหลาย เชนํ การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ๎าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช๎แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู๎สอนเป็นผู๎ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให๎ผ๎ูเรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพ่ือน ผู๎ปกครองรํวมประเมิน ในกรณีที่ไมํผํานตัวช้ีวัดให๎มีการสอนซอํ มเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบวํา ผ๎ูเรียนมีพัฒนาการความก๎าวหน๎าในการเรียนรู๎ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไมํ และมากน๎อยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะต๎องได๎รับการพัฒนาปรับปรุงและสํงเสริมในด๎านใด นอกจากน้ียังเป็นข๎อมูลให๎ผ๎ูสอนใช๎ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด๎วย ท้งั นีโ้ ดยสอดคลอ๎ งกับมาตรฐานการเรียนรแ๎ู ละตัวชีว้ ัด ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู๎เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอําน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน นอกจากนี้เพื่อให๎ได๎ข๎อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วําสํงผลตํอการเรียนร๎ูของผู๎เรียนตามเป้าหมายหรือไมํ ผู๎เรียนมีจุดพัฒนาในด๎านใดรวมทงั้ สามารถนาผลการเรยี นของผ๎ูเรยี นในสถานศกึ ษาเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ระดบั ชาติ ผลการประเมนิระดบั สถานศกึ ษาจะเป็นข๎อมลู และสารสนเทศเพอ่ื การปรบั ปรุงนโยบาย หลกั สูตร โครงการ หรอื วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาตํอคณะกรรมการ

๓๔สถานศกึ ษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู๎ปกครองและชมุ ชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผ๎ูเรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูต๎ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน เพอื่ ใชเ๎ ปน็ ข๎อมูลพน้ื ฐานในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผ๎ูเรียนด๎วยข๎อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือด๎วยความรํวมมือกบั หนํวยงานต๎นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได๎จากการตรวจสอบทบทวนขอ๎ มูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา ๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู๎เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู๎ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาต๎องจัดให๎ผ๎ูเรียนทุกคนท่ีเรียนในช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖เข๎ารับการประเมนิ ผลจากการประเมินใชเ๎ ปน็ ข๎อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตําง ๆเพ่ือนาไปใช๎ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข๎อมูลสนับสนุนการตัดสนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ ข๎อมูลการประเมินในระดับตําง ๆ ข๎างต๎น เป็นประโยชน์ตํอสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนาคุณภาพผู๎เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต๎องจัดระบบดูแลชํวยเหลือ ปรับปรุงแก๎ไข สํงเสริมสนับสนุนเพื่อให๎ผ๎ูเรียนได๎พัฒนาเต็มตามศักย ภาพบนพื้นฐานความแตกตาํ งระหวาํ งบคุ คลท่จี าแนกตามสภาพปัญหาและความต๎องการ ได๎แกํ กลํุมผู๎เรียนทั่วไป กลํุมผู๎เรียนทมี่ ีความสามารถพเิ ศษ กลมุํ ผเู๎ รียนทมี่ ีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตา่ กลมุํ ผเ๎ู รยี นท่ีมีปัญหาด๎านวินัยและพฤติกรรม กลมํุ ผูเ๎ รียนท่ีปฏเิ สธโรงเรยี น กลุํมผ๎เู รียนท่ีมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุํมพิการทางรํางกายและสตปิ ัญญา เป็นตน๎ ข๎อมูลจากการประเมินจงึ เป็นหวั ใจของสถานศึกษาในการดาเนนิ การชํวยเหลือผเ๎ู รียนได๎ทนั ทวํ งที ปดิ โอกาสให๎ผ๎เู รียนได๎รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรยี น สถานศึกษาในฐานะผ๎ูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะต๎องจัดทาระเบียบวําด๎วยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให๎สอดคล๎องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข๎อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให๎บุคลากรท่ีเก่ียวข๎องทุกฝ่ายถือปฏิบัติรํวมกัน

๓๕เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน ๑. การตัดสนิ การให้ระดบั และการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรียน ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกลมุํ สาระการเรยี นรู๎ การอาํ น คิดวเิ คราะห์และเขียนคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ๎ูเรยี นนั้น ผส๎ู อนต๎องคานงึ ถึงการพัฒนาผเ๎ู รียนแตํละคนเป็นหลกั และตอ๎ งเก็บขอ๎ มลู ของผู๎เรียนทกุ ดา๎ นอยํางสมา่ เสมอและตํอเนื่องในแตลํ ะภาคเรยี น รวมท้ังสอนซอํ มเสรมิ ผู๎เรียนใหพ๎ ัฒนาจนเต็มตามศกั ยภาพ ระดับมธั ยมศกึ ษา (๑) ตดั สนิ ผลการเรยี นเป็นรายวชิ า ผูเ๎ รยี นตอ๎ งมีเวลาเรยี นตลอดภาคเรียนไมํนอ๎ ยกวาํ รอ๎ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมดในรายวิชานั้น ๆ (๒) ผู๎เรยี นต๎องได๎รับการประเมินทกุ ตัวชว้ี ดั และผาํ นตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากาหนด (๓) ผู๎เรียนต๎องได๎รบั การตัดสินผลการเรียนทกุ รายวิชา (๔) ผู๎เรียนตอ๎ งไดร๎ ับการประเมิน และมีผลการประเมนิ ผาํ นตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด ในการอําน คดิ วเิ คราะห์และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผเ๎ู รยี น การพิจารณาเลอื่ นชน้ั ท้งั ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา ถ๎าผเ๎ู รียนมีขอ๎ บกพรอํ งเพยี งเลก็ น๎อย และสถานศกึ ษาพิจารณาเห็นวาํ สามารถพัฒนาและสอนซํอมเสรมิ ได๎ ใหอ๎ ยํใู นดุลพินิจของสถานศึกษาท่จี ะผํอนผนั ใหเ๎ ลอ่ื นช้ันได๎ แตํหากผเ๎ู รยี นไมํผาํ นรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน๎มวาํ จะเปน็ ปญั หาตํอการเรียนในระดบั ชน้ั ท่ีสงู ข้ึน สถานศกึ ษาอาจตง้ั คณะกรรมการพิจารณาให๎เรียนซา้ ช้นั ได๎ทง้ั น้ีให๎คานงึ ถึงวฒุ ิภาวะและความรูค๎ วามสามารถของผูเ๎ รียนเปน็ สาคญั ๑.๒ การให้ระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศกึ ษา ในการตัดสินเพอื่ ให๎ระดบั ผลการเรยี นรายวิชา ใหใ๎ ชต๎ วั เลขแสดงระดบัผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดับ การประเมนิ การอําน คิดวิเคราะห์และเขียน และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์น้ัน ใหร๎ ะดบั ผลการประเมนิ เปน็ ดีเยย่ี ม ดี และผาํ น การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ๎เู รียน จะต๎องพจิ ารณาท้ังเวลาการเข๎ารวํ มกจิ กรรม การปฏบิ ัติกิจกรรมและผลงานของผเ๎ู รยี น ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนด และใหผ๎ ลการเข๎ารวํ มกิจกรรมเป็นผาํ นและไมํผาํ น

๓๖ ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรยี นเปน็ การส่ือสารให๎ผปู๎ กครองและผเ๎ู รียนทราบความกา๎ วหน๎าในการเรยี นรข๎ู องผูเ๎ รยี น ซ่ึงสถานศกึ ษาต๎องสรปุ ผลการประเมนิ และจดั ทาเอกสารรายงานให๎ผู๎ปกครองทราบเปน็ ระยะ ๆ หรอื อยาํ งนอ๎ ยภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน็ ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิของผ๎ูเรียนท่ีสะท๎อนมาตรฐานการเรยี นรกู๎ ลํมุ สาระการเรียนร๎ู ๒. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น ๓ระดบั คอื ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต๎น และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (๑) ผ๎เู รยี นเรยี นรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไมเํ กิน ๘๑ หนํวยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน๖๖ หนํวยกติ และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๑๕ หนวํ ยกติ (๒) ผ๎ูเรยี นต๎องได๎หนวํ ยกิตตลอดหลักสูตรไมํน๎อยกวํา ๗๗ หนํวยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หนํวยกติ และรายวิชาเพิม่ เตมิ ไมนํ ๎อยกวาํ ๑๑ หนํวยกิต (๓) ผเ๎ู รยี นมีผลการประเมนิ การอาํ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ในระดบั ผํานขึ้นไป (๔) ผเ๎ู รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผาํ นขึ้นไป (๕) ผูเ๎ รียนเขา๎ รวํ มกิจกรรมพัฒนาผเู๎ รยี นและมีผลการประเมินอยูใํ นระดบั ผําน ๒.๒ เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (๑) ผ๎ูเรียนเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานและเพม่ิ เติม ไมํน๎อยกวํา ๘๑ หนํวยกิต โดยเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน ๔๑ หนวํ ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามท่สี ถานศึกษากาหนด (๒) ผูเ๎ รยี นตอ๎ งไดห๎ นวํ ยกิตตลอดหลักสตู รไมํน๎อยกวํา ๗๗ หนํวยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๔๑ หนวํ ยกติ และรายวชิ าเพ่ิมเติม ไมํน๎อยวาํ ๓๖ หนํวยกิต (๓) ผูเ๎ รยี นมผี ลการประเมนิ การอาํ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ในระดบั ผาํ นขึน้ ไป (๔) ผเู๎ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ในระดบั ผาํ นขนึ้ ไป (๕) ผูเ๎ รยี นเขา๎ รวํ มกิจกรรมพฒั นาผ๎ูเรียนและมีผลการประเมนิ อยูํในระดบั ผําน สาหรบั การจบการศกึ ษาสาหรบั กลุํมเป้าหมายเฉพาะ เชนํ การศึกษาเฉพาะทาง การศกึ ษาสาหรับผ๎ูมีความสามารถพิเศษ การศกึ ษาทางเลอื ก การศึกษาสาหรับผู๎ด๎อยโอกาส การศกึ ษาตามอธั ยาศยัใหค๎ ณะกรรมการของสถานศกึ ษา เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา และผ๎ทู ่ีเก่ยี วขอ๎ ง ดาเนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรต๎ู ามหลกั เกณฑ์ในแนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู๎ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานสาหรับกลํุมเป้าหมายเฉพาะ

๓๗เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญท่ีบันทึกผลการเรียน ข๎อมูลและสารสนเทศที่เก่ยี วขอ๎ งกับพฒั นาการของผเู๎ รียนในด๎านตาํ ง ๆ แบงํ ออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาท่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด ๑.๑ ระเบยี นแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู๎เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอําน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศกึ ษา และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู๎เรียน สถานศกึ ษาจะต๎องบนั ทึกข๎อมูลและออกเอกสารนี้ให๎ผ๎ูเรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู๎เรียนจบการศึกษาภาคบังคับ(ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓) จบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน(ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖) หรอื เมื่อลาออกจากสถานศกึ ษาในทกุ กรณี ๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศักด์ิและสิทธ์ิของผ๎ูจบการศึกษา ทส่ี ถานศกึ ษาใหไ๎ วแ๎ กํผู๎จบการศึกษาภาคบังคับ และผู๎จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๑.๓ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือและข๎อมูลของ ผ๎ูจบการศึกษาภาคบังคับ (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓) และผ๎ูจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ีสถานศกึ ษากาหนด เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนร๎ู และข๎อมูลสาคัญเก่ียวกับผ๎ูเรียน เชํน แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรยี น และ เอกสารอ่ืน ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการนาเอกสารไปใช๎การเทียบโอนผลการเรยี น สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผ๎ูเรียนในกรณีตํางๆได๎แกํ การย๎ายสถานศึกษาการเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย๎ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข๎ารับการศึกษาตํอการศกึ ษาจากตํางประเทศและขอเขา๎ ศึกษาตํอในประเทศ นอกจากนี้ ยงั สามารถเทียบโอนความร๎ู ทักษะประสบการณ์จากแหลํงการเรียนรู๎อื่นๆ เชํน สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชพี การจัดการศึกษาโดยครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในชํวงกํอนเปิดภาคเรียนแรก หรือต๎นภาคเรียนแรกท่ีสถานศึกษารับผู๎ขอเทียบโอนเป็นผ๎ูเรียน ทั้งน้ี ผู๎เรียนที่ได๎รับการเทียบโอนผลการเรียนต๎องศึกษาตํอเนื่องในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอยํางน๎อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับผู๎เรียนจากการเทียบโอนควรกาหนดรายวชิ า/จานวนหนวํ ยกติ ท่จี ะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม

๓๘ การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินการได๎ ดังน้ี ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีให๎ข๎อมูลแสดงความรู๎ ความสามารถของผเ๎ู รยี น ๒. พิจารณาจากความรู๎ ความสามารถของผู๎เรียนโดยการทดสอบด๎วยวิธีการตําง ๆ ทั้งภาคความรูแ๎ ละภาคปฏิบตั ิ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให๎เป็นไปตาม ประกาศ หรอื แนวปฏบิ ตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการการบรหิ ารจัดการหลักสูตร ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอานาจให๎ท๎องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หนํวยงานตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องในแตํละระดับ ตั้งแตํระดับชาติ ระดับท๎องถิ่น จนถึงระดับสถานศกึ ษา มีบทบาทหน๎าท่ี และความรบั ผิดชอบในการพฒั นา สนบั สนุน สํงเสรมิ การใช๎และพฒั นาหลักสูตรให๎เป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ เพื่อให๎การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด อันจะสํงผลให๎การพฒั นาคุณภาพผเ๎ู รียนบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรทู๎ กี่ าหนดไวใ๎ นระดับชาติ ระดับท๎องถ่ิน ไดแ๎ กํ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา หนํวยงานต๎นสังกัดอน่ื ๆ เป็นหนวํ ยงานที่มีบทบาทในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางท่ีจะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีกาหนดในระดับชาติให๎สอดคล๎องกับสภาพและความต๎องการของท๎องถิ่นเพื่อนาไปสูํการจดั ทาหลกั สตู รของสถานศึกษา สํงเสริมการใช๎และพฒั นาหลกั สตู รในระดับสถานศึกษาให๎ประสบความสาเร็จ โดยมีภารกิจสาคัญ คือ กาหนดเป้าหมายและจุดเน๎นการพัฒนาคุณภาพผู๎เรียนในระดับท๎องถ่ินโดยพิจารณาให๎สอดคล๎องกับส่ิงท่ีเป็นความต๎องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรยี นรู๎ทอ๎ งถิ่น ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาในระดบั ทอ๎ งถ่นิ รวมท้ังเพิ่มพูนคุณภาพการใช๎หลักสูตรดว๎ ยการวิจัยและพฒั นา การพัฒนาบุคลากร สนบั สนุน สํงเสริม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคณุ ภาพของผเ๎ู รยี น สถานศกึ ษามีหนา๎ ที่สาคญั ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การวางแผนและดาเนนิ การใช๎หลกั สตู ร การเพมิ่ พนู คุณภาพการใชห๎ ลกั สูตรด๎วยการวจิ ยั และพัฒนา การปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รจัดทาระเบียบการวดั และประเมนิ ผล ในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาต๎องพจิ ารณาใหส๎ อดคล๎องกบั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และรายละเอยี ดท่เี ขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา หรอื หนํวยงานต๎นสังกดั อนื่ ๆ ในระดบั ท๎องถน่ิ ได๎จดั ทาเพิ่มเติม รวมท้ัง สถานศกึ ษาสามารถเพิ่มเตมิ ในสํวนทเี่ กยี่ วกบัสภาพปัญหาในชมุ ชนและสงั คม ภูมิปญั ญาท๎องถิน่ และความต๎องการของผ๎เู รียน โดยทกุ ภาคสํวนเข๎ามามสี วํ นรวํ มในการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา

๓๙มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัด

๔๐กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยทาไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณข์ องชาตเิ ปน็ สมบัติทางวัฒนธรรมอันกํอให๎เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสรา๎ งบุคลิกภาพของคนในชาตใิ ห๎มคี วามเปน็ ไทย เป็นเคร่อื งมือในการตดิ ตํอสอ่ื สารเพื่อสร๎างความเข๎าใจและความสัมพันธ์ที่ดีตํอกัน ทาให๎สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตรํวมกัน ในสังคมประชาธิปไตยได๎อยํางสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู๎ ประสบการณ์จากแหลงํ ขอ๎ มลู สารสนเทศตํางๆ เพอ่ื พฒั นาความร๎ู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร๎างสรรค์ให๎ทนั ตํอการเปล่ียนแปลงทางสงั คม และความกา๎ วหน๎าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช๎ในการพัฒนาอาชพี ให๎มีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด๎านวัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ เป็นสมบัติล้าคําควรแกํการเรียนรู๎ อนุรักษ์ และสืบสานใหค๎ งอยํูคชูํ าตไิ ทยตลอดไปเรยี นรูอ้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ ทักษะทต่ี ๎องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใชภ๎ าษาเพื่อการส่ือสาร การเรียนร๎ูอยํางมปี ระสิทธิภาพ และเพอ่ื นาไปใช๎ในชวี ติ จริง  การอ่าน การอํานออกเสียงคา ประโยค การอํานบทรอ๎ ยแกว๎ คาประพันธ์ชนิดตํางๆ การอํานในใจเพอ่ื สรา๎ งความเข๎าใจ และการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ความรู๎จากสิ่งท่ีอําน เพื่อนาไป ปรับใช๎ในชวี ติ ประจาวัน  การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช๎ถ๎อยคาและรูปแบบตํางๆของการเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ยํอความ รายงานชนิดตํางๆ การเขียนตามจินตนาการวิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชงิ สรา๎ งสรรค์  การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอยํางมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็นความร๎สู ึก พูดลาดับเรอ่ื งราวตาํ งๆ อยาํ งเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสตํางๆ ท้ังเป็นทางการและไมํเปน็ ทางการ และการพูดเพอ่ื โน๎มน๎าวใจ  หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช๎ภาษาให๎ถูกต๎องเหมาะสมกบั โอกาสและบุคคล การแตงํ บทประพนั ธ์ประเภทตาํ งๆ และอทิ ธิพลของภาษาตํางประเทศในภาษาไทย  วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข๎อมูล แนวความคิดคณุ คําของงานประพันธ์ และความเพลดิ เพลนิ การเรียนรู๎และทาความเข๎าใจบทเหํ บทร๎องเลํนของเด็กเพลงพน้ื บา๎ นทเ่ี ปน็ ภูมปิ ญั ญาทมี่ ีคุณคําของไทย ซึง่ ได๎ถาํ ยทอดความร๎สู กึ นึกคดิ คาํ นิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให๎เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจในบรรพบรุ ษุ ทไี่ ด๎สั่งสมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบัน

๔๑คุณภาพผ้เู รยี นจบชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓  อาํ นออกเสียงบทรอ๎ ยแกว๎ และบทร๎อยกรองเป็นทานองเสนาะได๎ถูกต๎อง เข๎าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั จบั ใจความสาคญั และรายละเอยี ดของสิ่งท่อี ําน แสดงความคิดเห็นและขอ๎ โต๎แย๎งเกี่ยวกบั เร่อื งทีอ่ ําน และเขียนกรอบแนวคดิ ผังความคดิ ยอํ ความ เขยี นรายงานจากส่ิงท่อี ํานได๎วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ อยาํ งมเี หตุผล ลาดับความอยาํ งมขี ั้นตอนและความเปน็ ไปได๎ของเร่ืองที่อําน รวมท้ังประเมนิ ความถกู ต๎องของข๎อมูลที่ใช๎สนบั สนุนจากเรือ่ งทีอ่ าํ น  เขียนส่อื สารด๎วยลายมอื ทอี่ าํ นงํายชัดเจน ใชถ๎ อ๎ ยคาได๎ถกู ต๎องเหมาะสมตามระดบั ภาษาเขยี นคาขวัญ คาคม คาอวยพรในโอกาสตํางๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ตํางๆ เขียนยํอความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู๎ความคิดหรือโต๎แย๎งอยํางมีเหตุผล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาค๎นคว๎าและเขียนโครงงาน  พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินส่ิงที่ได๎จากการฟังและดู นาข๎อคิดไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีได๎จากการศึกษาค๎นคว๎าอยํางเป็นระบบมศี ลิ ปะในการพูด พูดในโอกาสตํางๆ ได๎ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน๎มน๎าวอยํางมีเหตุผลนําเช่ือถือรวมทง้ั มมี ารยาทในการฟัง ดู และพดู  เข๎าใจและใช๎คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาตํางประเทศอื่นๆ คาทับศัพท์ และศัพทบ์ ัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกตํางในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร๎างของประโยครวมประโยคซ๎อน ลักษณะภาษาท่ีเป็นทางการ กึ่งทางการและไมํเป็นทางการ และแตํงบทร๎อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลงส่ีสุภาพ  สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี าํ น วเิ คราะห์ตวั ละครสาคญั วิถีชวี ติ ไทย และคุณคําทไี่ ด๎รบั จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร๎อมทั้งสรุปความรู๎ข๎อคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช๎ในชวี ิตจรงิจบชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖  อาํ นออกเสยี งบทร๎อยแกว๎ และบทรอ๎ ยกรองเป็นทานองเสนาะได๎ถูกต๎องและเข๎าใจ ตีความแปลความ และขยายความเรื่องท่ีอํานได๎ วิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองที่อําน แสดงความคิดเห็นโต๎แย๎งและเสนอความคิดใหมํจากการอํานอยํางมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอําน เขียนกรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก ยํอความ และเขียนรายงานจากสิ่งท่ีอําน สังเคราะห์ ประเมินคํา และนาความร๎ูความคิดจากการอํานมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู๎ทางอาชีพ และ นาความร๎ูความคิดไปประยุกตใ์ ช๎แกป๎ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ มมี ารยาทและมนี สิ ยั รักการอาํ น

๔๒  เขยี นสือ่ สารในรปู แบบตํางๆ โดยใช๎ภาษาได๎ถูกตอ๎ งตรงตามวัตถุประสงค์ ยอํ ความจากส่อืทมี่ รี ปู แบบและเนอ้ื หาที่หลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร๎างสรรค์โดยใช๎โวหารตํางๆ เขียนบันทึก รายงานการศึกษาค๎นคว๎าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช๎ข๎อมูลสารสนเทศในการอ๎างอิงผลติ ผลงานของตนเองในรูปแบบตํางๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมทั้งประเมินงานเขียนของผู๎อ่ืนและนามาพัฒนางานเขยี นของตนเอง  ตง้ั คาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องทฟ่ี งั และดู วิเคราะหว์ ตั ถุประสงค์ แนวคดิ การใชภ๎ าษา ความนําเช่ือถือของเรื่องท่ีฟังและดู ประเมินสง่ิ ทฟี่ งั และดูแลว๎ นาไปประยกุ ต์ใช๎ในการดาเนนิ ชีวติ มีทกั ษะการพูดในโอกาสตํางๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไมเํ ปน็ ทางการโดยใชภ๎ าษาท่ีถูกตอ๎ ง พูดแสดงทรรศนะ โต๎แย๎ง โน๎มน๎าว และเสนอแนวคิดใหมํอยาํ งมีเหตผุ ล รวมทง้ั มีมารยาทในการฟัง ดู และพูด  เขา๎ ใจธรรมชาตขิ องภาษา อทิ ธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช๎คาและกลํุมคาสรา๎ งประโยคได๎ตรงตามวัตถุประสงค์ แตํงคาประพันธป์ ระเภท กาพย์ โคลง รํายและฉันท์ ใชภ๎ าษาได๎เหมาะสมกบั กาลเทศะและใชค๎ าราชาศพั ท์และคาสุภาพได๎อยํางถูกต๎อง วิเคราะห์หลักการ สร๎างคาในภาษาไทย อทิ ธพิ ลของภาษาตํางประเทศในภาษาไทยและภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช๎ภาษาจากสอื่ สงิ่ พิมพแ์ ละสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์  วิเคราะห์วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวจิ ารณว์ รรณคดีเบ้ืองตน๎ รแ๎ู ละเข๎าใจลักษณะเดํนของวรรณคดี ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบ๎าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู๎ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละวิถีไทย ประเมินคณุ คาํ ด๎านวรรณศลิ ป์ และนาข๎อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมไปประยกุ ต์ใชใ๎ นชีวิตจรงิ

สาระที่ ๑ การอา่ นมาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก๎ ระบวนการอาํ นสร๎างความร๎ูและความคดิ เพื่อนาไปใชต๎ ัดสินใจ ตวั ชีว้ ดั ช้ันปี ม. ๑ ม. ๒๑. อํานออกเสยี งบทรอ๎ ยแก๎วและบทร๎อยกรอง ๑. อํานออกเสียงบทรอ๎ ยแกว๎ และบทร๎อยกรองไดถ๎ กู ตอ๎ งเหมาะสม กบั เรอื่ งทอี่ าํ น ได๎ถูกตอ๎ ง๒. จับใจความสาคญั จากเร่อื งท่อี ําน ๒. จบั ใจความสาคัญ สรปุ ความและอธิบาย๓. ระบเุ หตุและผล และข๎อเท็จจริงกับ รายละเอียดจากเร่อื งที่อําน ๓. เขยี นผังความคิดเพือ่ แสดงความเขา๎ ใจใน ขอ๎ คิดเห็นจากเรือ่ งทอ่ี ําน๔. ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาทมี่ ี บทเรยี นตํางๆ ทอี่ ําน ๔. อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอ๎ โตแ๎ ยง๎ หลายความหมายในบริบทตํางๆ จากการ อําน เกยี่ วกับเรือ่ งที่อาํ น๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพจิ ารณา ๕. วิเคราะหแ์ ละจาแนกข๎อเทจ็ จริง ขอ๎ มลู จากบริบท สนบั สนุน และข๎อคิดเหน็ จากบทความท่ี อําน๖. ระบุข๎อสังเกตและความสมเหตุสมผลของ งานเขียนประเภทชกั จงู โน๎มน๎าวใจ ๖. ระบขุ ๎อสงั เกต การชวนเชอื่ การโน๎มนา๎ ว๗. ปฏิบตั ติ ามคมํู ือแนะนาวิธกี ารใช๎งาน ของ หรอื ความสมเหตุสมผลของงานเขยี น เครอื่ งมอื หรือเครอ่ื งใช๎ในระดับที่ยากขึ้น ๗. อํานหนังสอื บทความหรอื คาประพันธ์๘. วิเคราะห์คุณคําทไ่ี ด๎รับจากการอํานงาน อยํางหลากหลาย และประเมนิ คณุ คําหรอื เขียนอยาํ งหลากหลาย เพ่อื นาไปใช๎ แนวคดิ ทีไ่ ดจ๎ ากการอาํ นเพ่ือนาไปใช๎แก๎ปัญหาในชีวติ แกป๎ ญั หาในชวี ติ๙. มีมารยาทในการอาํ น ๘. มีมารยาทในการอาํ น

๔๓แก๎ปญั หาในการดาเนินชวี ติ และมนี สิ ยั รักการอาํ น ตวั ช้ีวัดช่วงชั้นม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. อํานออกเสียงบทร๎อยแก๎วและบทรอ๎ ยกรองได๎ ๑. อาํ นออกเสยี งบทรอ๎ ยแก๎วและบทร๎อยกรองได๎ ถูกต๎องและเหมาะสมกบั เรอื่ งท่อี ําน อยํางถูกต๎อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรือ่ ง ท่ี อาํ น๒. ระบุความแตกตาํ งของคาที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความเรือ่ งทอ่ี ําน๓. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของข๎อมูล ท่ี ๓. วเิ คราะห์และวจิ ารณเ์ รื่อง ที่อํานในทุกๆ ด๎าน สนบั สนุน จากเรื่องที่อําน อยํางมีเหตผุ ล๔. อาํ นเรอ่ื งตาํ งๆ แลว๎ เขยี นกรอบแนวคิด ผัง ๔. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรือ่ งท่อี ําน และประเมนิ ความคิด บนั ทกึ ยํอความและรายงาน คําเพ่อื นาความรู๎ ความคดิ ไปใชต๎ ัดสินใจ๕. วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรือ่ งทีอ่ าํ นโดยใช๎ แก๎ปัญหาในการดาเนนิ ชีวิต ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ๎ ย๎งกบั กลวธิ ีการเปรยี บเทียบเพอื่ ให๎ผ๎ูอาํ นเขา๎ ใจได๎ดีขึน้ เรื่องท่อี ําน และเสนอความคดิ ใหมอํ ยํางมเี หตผุ ล๖. ประเมินความถกู ตอ๎ งของข๎อมลู ที่ใช๎สนับสนนุ ๖. ตอบคาถามจากการอาํ นประเภทตาํ งๆภายในเวลาที่ กาหนด ในเร่ืองที่อาํ น ๗. อาํ นเรอื่ งตํางๆ แลว๎ เขียนกรอบแนวคิด ผงั๗. วิจารณ์ความสมเหตสุ มผลการลาดบั ความและความ ความคิด บนั ทกึ ยํอความ และรายงาน ๘. สังเคราะหค์ วามร๎จู ากการอํานส่อื ส่งิ พมิ พ์ สอื่ เป็นไปได๎ของเร่ือง อิเลก็ ทรอนิกส์ และแหลงํ เรยี นรูต๎ าํ งๆ มาพฒั นา๘. วเิ คราะห์เพื่อแสดงความคดิ เหน็ โตแ๎ ย๎งเกยี่ วกบั ตน พัฒนาการเรียน และพฒั นาความรท๎ู างอาชพี ๙. มมี ารยาทในการอาํ น เรือ่ งทีอ่ ําน๙. ตคี วามและประเมินคุณคาํ และแนวคดิ ทไี่ ด๎จาก งานเขียนอยํางหลากหลาย เพอื่ นาไปใช๎ แกป๎ ญั หาในชีวิต๑๐ มมี ารยาทในการอาํ น

สาระท่ี ๒ การเขยี นมาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยีรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ช้ีวัดชั้นปีม. ๑ ม. ๒๑. คดั ลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ๑. คัดลายมือ ตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด๒. เขยี นสื่อสารโดยใช๎ถอ๎ ยคาถกู ต๎อง ชดั เจน ๒. เขียนบรรยายและพรรณนา ๓. เขียนเรยี งความ เหมาะสม และสละสลวย ๔. เขยี นยํอความ๓. เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบุ ๕. เขียนรายงานการศกึ ษาคน๎ ควา๎ ๖. เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ สาระสาคัญ และรายละเอียดสนับสนนุ ๗. เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความร๎ู๔. เขยี นเรียงความ๕. เขียนยํอความจากเรื่องที่อาํ น ความคิดเหน็ หรือโต๎แยง๎ ในเรอ่ื งที่อาํ น๖. เขียนแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั สาระจาก อยํางมเี หตุผล สือ่ ที่ได๎รบั๗. เขียนจดหมายสวํ นตวั และจดหมาย กิจธรุ ะ ๘. มีมารยาทในการเขยี น๘. เขยี นรายงานการศกึ ษาค๎นควา๎ และ โครงงาน๙. มีมารยาทในการเขยี น

๔๔ยนเรอ่ื งราวในรูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและ ม. ๓ ตัวช้วี ัดช่วงชั้น๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงครึง่ บรรทัด๒. เขยี นข๎อความโดยใช๎ถ๎อยคาไดถ๎ กู ต๎องตาม ม. ๔ – ม. ๖ ๑. เขียนสือ่ สารในรปู แบบตาํ งๆ ได๎ตรงตาม ระดบั ภาษา๓. เขียนชีวประวตั หิ รืออตั ชวี ประวัติ โดยเลํา วัตถปุ ระสงค์ โดยใช๎ภาษาเรยี บเรยี งถูกต๎อง มขี ๎อมลู และสาระสาคัญชดั เจน เหตุการณ์ ข๎อคดิ เห็น และทัศนคติในเร่ือง ๒. เขียนเรียงความ ตาํ งๆ ๓. เขยี นยํอความจากส่ือทีม่ ีรปู แบบ และ๔. เขียนยํอความ เนื้อหาหลากหลาย๕. เขียนจดหมายกจิ ธุระ ๔. ผลิตงานเขยี นของตนเองในรปู แบบตาํ งๆ๖. เขยี นอธิบาย ชีแ้ จง แสดงความคิดเหน็ และ ๕. ประเมนิ งานเขยี นของผ๎ูอ่ืนแลว๎ นามาพัฒนา โตแ๎ ยง๎ อยาํ งมเี หตผุ ล งานเขยี นของตนเอง๗. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความร๎ู ๖. เขยี นรายงานการศึกษาคน๎ คว๎า เรือ่ งทส่ี นใจ ความคดิ เห็น หรือโต๎แย๎ง ในเร่ืองตํางๆ ตามหลกั การเขยี นเชิงวชิ าการ และใช๎๘. กรอกแบบสมคั รงานพร๎อมเขียนบรรยาย ข๎อมลู สารสนเทศอา๎ งอิงอยาํ งถกู ตอ๎ ง เกีย่ วกับความรูแ๎ ละทักษะของตนเองท่ี ๗. บันทึกการศกึ ษาค๎นควา๎ เพอ่ื นาไปพัฒนา เหมาะสมกับงาน ตนเองอยํางสม่าเสมอ๙. เขียนรายงานการศึกษคน๎ คว๎าและโครงงาน ๘. มมี ารยาทในการเขยี น๑๐. มมี ารยาทในการเขียน

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูดมาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความค ตัวชว้ี ดั ช้ันปีม. ๑ ม. ๒๑. พดู สรปุ ใจความสาคญั ของเรอ่ื งที่ฟงั และดู ๑. พูดสรุปใจความสาคญั ของเรอ่ื งท่ีฟังและดู๒. เลําเร่ืองยํอจากเร่อื งท่ีฟังและดู ๒. วิเคราะห์ขอ๎ เทจ็ จรงิ ข๎อคิดเห็น และความ๓. พดู แสดงความคิดเห็นอยํางสร๎างสรรค์ นาํ เชอ่ื ถอื ของขาํ วสารจากสื่อตาํ งๆ เกี่ยวกับเรอื่ ง ท่ีฟงั และดู ๓. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรอ่ื งทฟ่ี ังและดูอยํางมี๔. ประเมินความนาํ เชอ่ื ถือของสอื่ ทีม่ ีเนือ้ หา เหตุผลเพอื่ นาข๎อคิดมาประยุกตใ์ ช๎ในการ โนม๎ นา๎ วใจ ดาเนนิ ชวี ิต๕. พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเด็นทศี่ กึ ษา ๔. พดู ในโอกาสตํางๆ ไดต๎ รงตามค๎นคว๎าจากการฟงั การดู และการสนทนา วัตถุประสงค์๖. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด ๕. พูดรายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ทศ่ี กึ ษา คน๎ คว๎า ๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๔๕คิด และความรูส้ ึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตัวชีว้ ดั ช่วงชั้น ม. ๓ ม. ๔ – ม. ๖๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรอื่ งจาก ๑. สรปุ แนวคิด และแสดง การฟังและการดู ความคิดเหน็ จากเรื่องที่ฟงั และดู ๒. วเิ คราะห์ แนวคดิ การใช๎๒. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณเ์ รอ่ื งท่ฟี ังและดเู พ่ือนา ภาษา และความนาํ เชื่อถอื ข๎อคดิ มาประยุกตใ์ ช๎ ในการดาเนิน จากเรอื่ งทีฟ่ ังและดูอยํางมเี หตผุ ล ๓. ประเมนิ เรอ่ื งท่ฟี ังและดู แลว๎ กาหนดชีวิต๓. พดู รายงาน แนวทางนาไประยุกต์ใชใ๎ นการดาเนนิ ชวี ติเร่ืองหรอื ๔. มวี ิจารณญาณในการเลอื กเรือ่ งที่ฟงั และดูประเดน็ ท่ีศกึ ษา ๕. พูดในโอกาสตาํ งๆ พดู แสดงค๎นควา๎ จากการฟัง การดู และการสนทนา๔. พดู ใน ทรรศนะ โตแ๎ ย๎ง โนม๎ น๎าวใจโอกาสตํางๆ และเสนอแนวคิดใหมํไดต๎ รงตาม ดว๎ ยภาษาถูกต๎องเหมาะสมวตั ถุประสงค์ ๖. มีมารยาทในการฟัง การดู๕. พูดโน๎มนา๎ ว และการพูดโดยนาเสนอหลกั ฐานตาม ลาดับเนอื้ หาอยาํ งมเี หตผุ ล และนาํ เช่ือถือ๖. มมี ารยาท ในการฟงั การดู และการพูด

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษ ม. ๑ ตัวชี้วดั ช้ันปี๑. อธบิ ายลักษณะ ของเสยี ง ในภาษาไทย ม. ๒๒. สร๎างคา ในภาษาไทย ๑. สรา๎ งคา ในภาษาไทย๓. วเิ คราะหช์ นิดและหนา๎ ท่ขี องคาในประโยค ๒. วิเคราะห์โครงสร๎างประโยคสามัญ๔. วเิ คราะหค์ วามแตกตํางของภาษาพดู และ ประโยครวมและประโยคซ๎อน ภาษาเขียน ๓. แตงํ บทรอ๎ ยกรอง๕. แตํงบทร๎อยกรอง ๔. ใชค๎ าราชาศพั ท์๖. จาแนก และใช๎สานวนท่ีเป็นคาพังเพย และ ๕. รวบรวม และอธบิ ายความหมาย สุภาษติ ของคาภาษาตาํ งประเทศท่ใี ชใ๎ นภาษาไทย

๔๖ษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ ม. ๓ ตัวช้วี ดั ช่วงช้ัน๑. จาแนก และใชค๎ า ภาษาตํางประเทศ ท่ีใช๎ ม. ๔ – ม. ๖ ในภาษาไทย ๑. อธบิ ายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา๒. วิเคราะหโ์ ครงสรา๎ งประโยคซับซ๎อน๓. วเิ คราะหร์ ะดับภาษา และลกั ษณะของภาษา๔. ใชค๎ าทับศพั ท์และศพั ท์บัญญตั ิ ๒. ใช๎คาและกลมุํ คาสร๎างประโยคตรงตาม๕. อธบิ ายความหมายคาศัพทท์ างวิชาการและ วัตถปุ ระสงค์ วชิ าชีพ ๓. ใช๎ภาษาเหมาะสมแกํโอกาส กาลเทศะ และ๖. แตํงบทร๎อยกรอง บุคคล รวมทง้ั คาราชาศัพทอ์ ยาํ งเหมาะสม ๔. แตํงบทร๎อยกรอง ๕. วเิ คราะห์อิทธพิ ลของภาษาตํางประเทศและ ภาษาถิน่ ๖. อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลักการสรา๎ งคาใน ภาษาไทย ๗. วิเคราะห์และประเมนิ การใช๎ภาษาจากส่ือ สิ่งพมิ พแ์ ละสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook