Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครู วิทยาศาสตร์ กายภาพ 1 (เคมี) ม.5

คู่มือครู วิทยาศาสตร์ กายภาพ 1 (เคมี) ม.5

Description: คู่มือครู วิทยาศาสตร์ กายภาพ 1 (เคมี) ม.5

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ครู Teacher Script วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ 1 ม.5 (เคม)ี ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร ์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผเู้ รยี บเรียงหนงั สอื เรยี น ผตู้ รวจหนังสือเรียน บรรณาธิการหนังสือเรยี น นายพงศธร นนั ทธเนศ รศ. ดร.นวลจติ ต์ เชาวกรี ตพิ งศ์ นางสาวจนั จริ า รัตนนันทเดช นางสาวเปรมวด ี จติ อารยี ์ ผศ.สนั ต ิ ศรีประเสรฐิ ดร.ยุทธพนั ธุ ์ พงศ์บญุ ชู ผ้เู รยี บเรยี งคู่มือครู บรรณาธิการคมู่ ือครู นางสาวทวิภทั ร ์ ไพศาลชชั วาล นางสาวจันจิรา รัตนนนั ทเดช นางสาวพรทิพย ์ ทับทิมทอง นายอตพิ ล สว่างอารมย์ พิมพครัง้ ที่ 1 สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบญั ญตั ิ รหัสสินคา 3548011

ค�ำแนะน�ำกำรใช้ ค่มู อื ครู รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 (เคมี) ม.5 จัดท�าข้ึนส�าหรับให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนการ จัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการ ประกันคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการ ศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (สพฐ.) เพม่ิ คําแนะนําการใช ชวยสรางความเขาใจ เพื่อใชคูมือครูได นาํ นํา สอน โซน 1สรปุ ประเมนิ อยา งถกู ตอ งและเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด ขน้ั นาํ เพมิ่ คําอธบิ ายรายวิชา แสดงขอบขา ยเนื้อหาสาระของรายวชิ า áâ¤ÅÐõ§ÒÊÃÃÒÒŒ §§¸ÍÒеµØ ÍÁ1หนว ยการเรยี นรูท ่ี Q ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Œ¹¾º ซึ่งครอบคลุมผลการเรยี นรตู ามทห่ี ลกั สตู รกําหนด กระตนุ ความสนใจ 1. ครดู าํ เนนิ การทดสอบกอ นเรยี น โดยใหน กั เรยี นทาํ ¸ÒµØãËÁ‹ ¨Ð¨Ñ´àÃÕ§¸ÒµØ¹Õé ŧ㹵ÒÃÒ§¸ÒµØ แบบทดสอบ จาํ นวน 10 ขอ จากนน้ั ครใู หน กั เรยี น 䴌͋ҧäà ทุกคนชวยกันตอบคําถาม Understanding เพม่ิ Pedagogy ชวยสรางความเขาใจในกระบวนการออกแบบ Check เพื่อตรวจสอบความพรอ มและความรู ตัวชวี้ ัด การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดอยางมี พื้นฐานของนักเรยี น ว 2.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 2. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการเปดประเด็นและ ชักชวนนักเรียนใหรวมกันอภิปราย โดยใช ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7 คาํ ถามดังตอไปนี้ ประสิทธภิ าพ • อนุภาคของสารหมายถึงอะไร เพิม่ Teacher Guide Overview ชวยใหเห็นภาพรวมของการ (แนวตอบ โมเลกุล อะตอม และไอออน) Understanding จัดการเรียนการสอนทั้งหมดของรายวิชากอนที่จะลงมือ • อนุภาคทีเ่ ลก็ ท่ีสุดของสารเรยี กวา อะไร Check สอนจรงิ (แนวตอบ อะตอม) ใหนักเรยี นพิจารณาขอความตามความเขา ใจของนกั เรียนวา ถูกหรอื ผิด แลว บนั ทกึ ลงในสมดุ เพิ่ม Chapter Overview ชว ยสรา งความเขา ใจและเหน็ ภาพรวม • อนภุ าคที่เลก็ ท่สี ุดน้มี ีสวนประกอบแยกยอย ถกู / ผิด ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรูแตละหนว ย 1. แบบจาํ ลองอะตอมทใ่ี ชอยูในปจจบุ ันคอื แบบจําลองอะตอมกลุมหมอก ไดอ ีกหรือไม 2. อะตอมของธาตุประกอบดว ย โปรตอน อเิ ลก็ ตรอน และนิวตรอน ับน ึทกลงในส ุมด (แนวตอบ แยกตอไปอีกไมไ ด) 3. ธาตชุ นดิ เดียวกันจะมีจาํ นวนนวิ ตรอนเทา กัน เพิ่ม Chapter Concept Overview ชวยใหเห็นภาพรวม 3. นกั เรยี นรวมกนั ตอบคาํ ถาม เพ่ือเชอ่ื มโยงไปสู 4. ธาตุอโลหะจะอยทู างฝง ซายของตารางธาตุ Concept และเน้อื หาสําคัญของหนว ยการเรยี นรู การเรียนรเู รื่อง โครงสรา งอะตอม 5. ธาตโุ ลหะมีจุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว และความหนาแนนสูง 4. ครถู ามคาํ ถาม Big Question จากหนงั สอื เรยี น วา ถา นกั เรียนคน พบธาตุใหม จะจดั เรยี งธาตุ นล้ี งในตารางธาตุไดอยางไร ครูเปด โอกาสให นกั เรยี นไดแ สดงความคดิ เหน็ โดยไมเ นน ถกู ผดิ 5. ครใู หน กั เรยี นรว มแสดงความคดิ เหน็ ซง่ึ นกั เรยี น จะไดค าํ ตอบทถี่ กู ตอ งจากการเรยี นตอ ไป และ มอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปศึกษาความรู ลวงหนาเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม แนวตอบ Big Question การจดั เรยี งธาตลุ งในตารางธาตอุ ยบู นพน้ื ฐาน ของเลขอะตอม (จํานวนโปรตอนในนิวเคลียส) การจดั เรียงอิเลก็ ตรอน และสมบตั ทิ างเคมี แนวตอบ Understanding Check 1. ถูก 2. ถกู 3. ผิด 4. ผิด 5. ถูก เพิ่ม ขอสอบเนนการคิด/ขอสอบแนว O-NET เพื่อเตรียม เกร็ดแนะครู ความพรอ มของผูเรยี นสูการสอบในระดบั ตา ง ๆ การเรียนการสอน เรือ่ ง โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ ครคู วรนําภาพ แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละทานมาใหนักเรียนพิจารณา และ โซน 3 ใหนักเรียนเปรียบเทียบวาแบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรทานใดที่มี ลักษณะใกลเคียงกับอะตอมในปจจุบันมากท่ีสุด และในเรื่องตารางธาตุครูควร แบง ธาตุออกเปน กลุมๆ (ดว ยเกณฑทีก่ าํ หนดรวมกัน) เพอ่ื ใหง า ยตอการจดจํา และเรยี นรู เพิ่ม กิจกรรม 21st Century Skills กจิ กรรมที่จะชวยพัฒนา โซน 2 ผูเรียนใหมีทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิต ในโลกแหง ศตวรรษท่ี 21 T6 โซน 1 ช่วยครูจดั โซน 2 ชว่ ยครเู ตรียมสอน กำรเรียนกำรสอน ประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ส�าหรับคร ู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครูผู้สอน เพ่ือนา� ไปประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในชนั้ เรียน โดยแนะน�าขน้ั ตอนการสอน และการจดั กจิ กรรมอยา่ งละเอยี ด เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นบรรลผุ ลสมั ฤทธ์ติ ามผลการเรยี นรู้ เกร็ดแนะครู นำ� สอน สรปุ ประเมิน ความรู้เสริมส�าหรับครู ข้อเสนอแนะ ข้อสังเกต แนวทางการจัด กจิ กรรมและอื่น ๆ เพ่อื ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน นักเรยี นควรรู ความรู้เพิ่มเติมจากเน้ือหา ส�าหรับอธิบายเสริมเพ่ิมเติมให้ กับนกั เรยี น

โดยใช ้ หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตรกายภาพ 1 (เคมี) ม.5 และแบบฝกหัดวิทยาศาสตรกายภาพ 1 (เคม)ี ม.5 ของบริษัท อกั ษรเจรญิ ทศั น ์ อจท. จา� กดั เปน็ สอ่ื หลกั (Core Materials) ประกอบการสอนและการจดั กจิ กรรมการเรยี นร ู้ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง กับผลการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซ่งึ ค่มู อื ครูเลม่ นี้มอี งค์ประกอบที่งา่ ยตอ่ การใชง้ าน ดังน้ี โซน 1 นาํ สอน สรปุ ประเมนิ โซน 3 ชว่ ยครเู ตรยี มนกั เรียน 1. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁดิโมคริตุส1 (Democritus) นักปรัชญาชาวกรีก กลาววา Prior Knowledge ขนั้ สอน ประกอบด้วยแนวทางส�าหรับการจัดกิจกรรมและ ͹ÀØ Ò¤·àèÕ Å¡ç ·ÊèÕ ´Ø เสนอแนะแนวขอ้ สอบ เพอื่ อา� นวยความสะดวกใหแ้ กค่ รผู สู้ อน “เม่ือนําสสารมาแบงยอยลงไปเร่ือย ๆ จะไดอนุภาคที่มีขนาด ¢Í§¸Òµ¤Ø Í× ÍÐäà สาํ รวจคน หา 1. ครูถามคาํ ถาม Prior knowledge จากหนงั สือ กิจกรรม 21st Century Skills เล็กมาก และไมสามารถแบงยอยออกไปไดอีก โดยเรียก อนภุ าคนี้วา อะตอม” เม่ือความรทู างวทิ ยาศาสตรเจรญิ กาวหนา เรียนวา อนุภาคที่เล็กท่ีสุดของธาตุคืออะไร กิจกรรมที่ให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้สร้างช้ินงาน มากข้ึน ทําใหแ นวคิดของดโิ มครติ ุสไมส ามารถอธบิ ายเหตกุ ารณต า ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เกยี่ วกับสสารได เพื่อเปนการทบทวนความรูเดิมจากคาบเรียน หรือท�ากิจกรรมรวบยอดเพ่ือให้เกิดทักษะที่จ�าเป็นใน ท่ีผา นมา ศตวรรษท่ี 21 1.1 Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ 2. ครูถามนกั เรยี นตอไปวา อะตอมที่มีขนาดเลก็ นี้ เราจะสามารถมองเห็นอะตอมดวยตาเปลา ขอสอบเนนการคดิ นักวิทยาศาสตรหลายทานไดพยายามศึกษาวาลักษณะโครงสรางภายในอะตอมน้ัน หรือไม (เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความ เปนอยางไร โดยใชวิธีการตาง ๆ ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน จนกระท่ังเกิดแบบจําลองอะตอม คิดเห็น) ตัวอย่างข้อสอบท่ีมุ่งเน้นการคิด มีทั้งปรนัย-อัตนัย พร้อม ตามแนวคิดและการทดลองของนกั วิทยาศาสตรหลาย ๆ ทานขน้ึ มา ซงึ่ สามารถสรุปแบบจาํ ลอง 3. ครูอธิบายคําตอบจากคําถามเพ่ือใหนักเรียน เฉลยอย่างละเอียด อะตอมที่มีการพัฒนาจนกลายมาเปนแบบจําลองอะตอมท่ีใชกันอยูในปจ จุบนั ได ดงั นี้ ไดเขาใจ โดยใหความรูจากความเช่ือของ ดิโมคริตุส นักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งกลาวไววา ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET 1. แบบจําลองอะตอมของดอลตัน จอหน ดอลตนั (John Dalton, พ.ศ. 2308-2387) “สิ่งของตางๆ ประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาด นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ เปนคนแรกท่ีนําเสนอแนวคิด เล็กมาก และถาแบงอนุภาคใหมีขนาดเล็กลง ตัวอย่างข้อสอบท่ีมุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ เกย่ี วกับอะตอม เพอื่ ใชอธิบายเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงของสาร เร่ือยๆ จนไมส ามารถแบงตอ ไปไดอ ีก อนภุ าค แนวข้อสอบ O-NET มีท้ังปรนัย-อัตนัย พร้อมเฉลยอย่าง กอนและหลังทําปฏิกิริยา รวมท้ังอัตราสวนโดยมวลของธาตุท่ี ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด เรียกวา อะตอม ซึ่งไม ละเอียด รวมกนั เปน สารประกอบ ซ่ึงสามารถสรุปได ดงั น้ี สามารถมองเห็นดวยตาเปลาได” จากนั้นครู • ธาตแุ ตล ะชนดิ ประกอบดว ยอนภุ าคทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ เรยี กวา เปด โอกาสใหน ักเรียนไดซกั ถามเพม่ิ เตมิ กจิ กรรมทาทาย อะตอม ซ่ึงอะตอมไมสามารถแยกออกไดอีก และไมสามารถ 4. นกั เรยี นรว มกนั ตอบคาํ ถามและแสดงความคดิ - ถูกสรางข้นึ หรอื ทาํ ลายไดในระหวา งเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี ภาพท่ี 1.1 แบบจาํ ลองอะตอม เห็นเก่ยี วกบั คําตอบของคําถาม เพ่อื เชอื่ มโยง เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรม เพอื่ ตอ่ ยอดสา� หรบั นกั เรยี น ของดอลตัน ไปสูการเรียนรูเรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม ทเี่ รยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ้ งการทา้ ทายความสามารถใน • อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลและสมบัติตาง ๆ ทม่ี า : คลังภาพ อจท. ระดบั ทีส่ งู ขึน้ แนวตอบ Prior Knowledge เหมือนกนั สว นอะตอมของธาตตุ า งชนิดกนั จะมมี วลและสมบตั แิ ตกตางกัน อะตอม กจิ กรรมสรางเสรมิ • สารประกอบเกดิ จากอะตอมของธาตุต้งั แต 2 ชนดิ ขนึ้ ไป มารวมตัวกนั ดวยพันธะเคมี โดยมีอัตราสวนของจํานวนอะตอมเปนเลขลงตัวอยางตํ่า และ เสนอแนะแนวทางการจดั กจิ กรรมซอ่ มเสรมิ สา� หรบั นกั เรยี นท่ี อะตอมของธาตุต้ังแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจรวมตัวเกิดเปนสาร ควรไดร้ บั การพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบดว ยอตั ราสว นมากกวา 1 แบบ ซงึ่ ทาํ ใหเ กดิ สารประกอบ ไดม ากกวา 1 ชนิด ภาพที่ 1.2 จอหน ดอลตัน ทฤษฎอี ะตอมของดอลตนั ใชอ ธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ อง ทม่ี า : คลังภาพ อจท. อะตอมไดเพียงระดับหนึง่ ซึง่ ตอ มานกั วทิ ยาศาสตรค น พบขอมลู บางประการทไี่ มส อดคลอ งกบั ทฤษฎอี ะตอมของดอลตนั เชน พบวา อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกนั อาจมีมวลแตกตางกันได â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 3 ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET นักเรียนควรรู ขอ ใดกลา วไดถูกตอง ก. แบบจาํ ลองอะตอม คอื มโนภาพทีส่ รา งขน้ึ โดยอาศัยขอมูล 1 ดิโมคริตุส ใชคําวา “อะตอม\" ซ่ึงเปนคํามาจากภาษากรีก แปลวา การทดลอง ซ่ึงอาจถกู หรอื ผิดก็ได ส่ิงที่เล็กที่สุดสําหรับเรียกหนวยท่ีเล็กที่สุดของสสารที่ไมสามารถแบงแยกตอ ข. ดอลตนั เสนอแนวคิดวาอะตอมไมไ ดเลก็ ทสี่ ดุ ไปไดอีก โดยเขาไดพยายามศึกษาเก่ียวกับวัตถุที่มีขนาดเล็ก และมีแนวคิด ค. ปจจุบันยังใชแ นวคดิ ของดอลตนั ทีว่ า อะตอมของธาตุชนิด เกย่ี วกับโครงสรางของสสารวา สสารท้งั หลายประกอบดวยอนภุ าคทเี่ ล็กทสี่ ุด เดียวกนั จะมีสมบัตเิ หมือนกัน ไมส ามารถมองเห็นได และไมสามารถแบง แยกใหเ ล็กลงกวานัน้ ไดอกี และยงั โซน 31. ขอ ก. เทา นนั้ 2. ขอ ข. เทา น้นั ไดข ยายความเกย่ี วกบั อะตอมอีกวา 4. ขอ ข. และ ค. 3. ขอ ก. และ ค. 1. วัตถตุ างๆ ในโลกประกอบดวยอะตอมเพียงชนิดเดยี ว 5. ขอ ก. ข. และ ค. 2. อะตอมอยใู นทว่ี าง 3. วตั ถุมลี ักษณะตา งกนั เพราะอะตอมเรียงตัวตา งกัน (วิเคราะหค าํ ตอบ แบบจาํ ลองอะตอม คือ มโนภาพที่สรางขนึ้ มา ของนกั วิทยาศาสตร ซง่ึ อาจถกู หรือผิดกไ็ ด ขอ ก. จึงถกู ดอลตัน โซน 2 เสนอแนวคดิ วา อะตอมมขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ขอ ข. จงึ ผดิ และปจ จบุ นั พบวาอะตอมของธาตุจะมีไอโซโทปของธาตุชนิดเดยี วกนั แตเลข T7 มวลตา งกนั ดงั นนั้ ตอบขอ 1.) หองปฏิบตั กิ าร (วทิ ยาศาสตร) แนวทางการวัดและประเมนิ ผล ค�าอธิบายหรือข้อเสนอแนะส่ิงท่ีควรระมัดระวัง หรือข้อควรปฏิบัติ เสนอแนะแนวทางการบรรลุผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ตามเน้อื หาในบทเรียน นกั เรยี นตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ทห่ี ลกั สตู รกา� หนด สือ่ Digital แนะน�าแหล่งเรยี นรแู้ ละแหล่งค้นคว้าจากส่ือ Digital ตา่ ง ๆ

ค�ำอธิบายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง / ปี วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1 (เคม)ี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ศกึ ษาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บแบบจำ� ลองอะตอมของดอลตนั ทอมสนั รทั เทอร์ฟอรด์ โบร์ และกลุ่มหมอก อนุภาค มลู ฐานของอะตอม สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี รโ์ มเลกลุ ไอออน และไอโซโทปของธาตุ ววิ ฒั นาการของการสรา้ งตารางธาตแุ ละตาราง ธาตใุ นปจั จบุ นั แนวโนม้ สมบตั บิ างประการของธาตใุ นตารางธาตตุ ามหมแู่ ละคาบ ศกึ ษาการเกดิ พนั ธะเคมใี นโมเลกลุ ของสาร การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ การอา่ นชอื่ สารประกอบโคเวเลนต์ สภาพขวั้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรง ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อ สารประกอบไอออนกิ และสมบัตบิ างประการของสารประกอบไอออนิก สมบตั ขิ องกรด เบส และเกลอื สารละลายอิเลก็ โทร- ไลต์ และนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน ศกึ ษาโครงสร้าง สมบตั ิ ประเภทของพอลิเมอร์ ตวั อย่างพอลิเมอร์ ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ ปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ และผลกระทบจากการใช้ ผลิตภณั ฑ์ของพอลิเมอร์ ศกึ ษาและทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ศกึ ษาและทดลองปจั จัยที่มผี ล ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจ�ำวัน และการใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ศึกษาสมบัติของสาร กัมมันตรังสีและค�ำนวณคร่งึ ชีวิตและปรมิ าณของสารกัมมันตรงั สี ประโยชนแ์ ละอันตรายของสารกัมมนั ตรงั สี โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำ� รวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูลและการอภปิ ราย เพื่อให้ผูเ้ รยี นเกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่อื สารสิ่งทเี่ รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ เห็นคณุ คา่ ของ การนำ� ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำ� วัน มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม และมเี จตคติทด่ี ตี ่อวิชาวทิ ยาศาสตร์ ตัวชวี้ ดั ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตุหรอื สารประกอบ และอยใู่ นรปู อะตอม โมเลกลุ หรือไอออนจากสูตรเคมี ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจ�ำลองอะตอมของโบร์กับแบบจ�ำลองอะตอมแบบ กล่มุ หมอก ว 2.1 ม.5/3 ระบจุ �ำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอนของอะตอม และไอออนทเี่ กดิ จากอะตอมเดียว ว 2.1 ม.5/4 เขยี นสญั ลักษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุ แทรนซชิ ันจากตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทยี บสมบัตกิ ารน�ำไฟฟ้า การใหแ้ ละรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตใุ นกลมุ่ โลหะกบั อโลหะ ว 2.1 ม.5/7 สืบคน้ ขอ้ มลู และนำ� เสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายทเ่ี กดิ จากธาตเุ รพรีเซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ ัน ว 2.1 ม.5/8 ระบุว่าพนั ธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ียว พันธะคู่ หรอื พนั ธะสาม และระบุจำ� นวนคอู่ เิ ล็กตรอนระหวา่ งอะตอม คู่ร่วมพนั ธะจากสตู รโครงสรา้ ง ว 2.1 ม.5/9 ระบุสภาพขั้วของสารทีโ่ มเลกลุ ประกอบดว้ ย 2 อะตอม

ว 2.1 ม.5/10 ระบสุ ารทเี่ กิดพนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสูตรโครงสร้าง ว 2.1 ม.5/11 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพข้ัวหรือการ เกิดพนั ธะไฮโดรเจน ว 2.1 ม.5/12 เขียนสตู รเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนกิ ว 2.1 ม.5/13 ระบวุ า่ สารเกดิ การละลายแบบแตกตวั หรอื ไมแ่ ตกตวั พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลและระบวุ า่ สารละลายทไ่ี ดเ้ ปน็ สารละลาย อิเลก็ โทรไลตห์ รอื นอนอเิ ล็กโทรไลต์ ว 2.1 ม.5/14 ระบสุ ารประกอบอนิ ทรยี ป์ ระเภทไฮโดรคาร์บอนวา่ อิม่ ตัวหรือไมอ่ ิ่มตัวจากสูตรโครงสรา้ ง ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นข้อมลู และเปรยี บเทียบสมบตั ิทางกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอร์และมอนอเมอรข์ องพอลเิ มอร์ชนิดน้ัน ว 2.1 ม.5/16 ระบสุ มบตั ิความเปน็ กรด-เบสจากโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์ ว 2.1 ม.5/17 อธิบายสมบตั ิการละลายในตัวท�ำละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะห์และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งโครงสร้างกับสมบตั เิ ทอรม์ อพลาสติกและเทอรม์ อเซตของ พอลิเมอร์และการน�ำพอลเิ มอรไ์ ปใชป้ ระโยชน์ ว 2.1 ม.5/19 สืบค้นข้อมูลและน�ำเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม พร้อม แนวทางป้องกันหรอื แก้ไข ว 2.1 ม.5/20 ระบสุ ตู รเคมีของสารต้งั ตน้ ผลติ ภัณฑแ์ ละแปลความหมายของสัญลกั ษณใ์ นสมการเคมขี องปฏิกริ ิยาเคมี ว 2.1 ม.5/21 ท ดลองและอธบิ ายผลของความเข้มขน้ พนื้ ทผี่ วิ อณุ หภูมิและตวั เรง่ ปฏกิ ิรยิ าทม่ี ผี ลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยา เคมี ว 2.1 ม.5/22 สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวันหรือใน อุตสาหกรรม ว 2.1 ม.5/23 อธบิ ายความหมายของปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ ว 2.1 ม.5/24 อธบิ ายสมบัตขิ องสารกมั มันตรงั สแี ละค�ำนวณครึ่งชีวติ และปรมิ าณของสารกัมมนั ตรงั สี ว 2.1 ม.5/25 สืบคน้ ขอ้ มูลและนำ� เสนอตวั อยา่ งประโยชนข์ องสารกัมมันตรงั สแี ละการป้องกันอันตรายท่ีเกดิ จาก กมั มนั ตภาพรังสี รวม 25 ตวั ชี้วดั

Pedagogy คมู ือครู รายวชิ าพื้นฐาน วิทย ำศำสตรก์ ำยภำพ 1 (เคม)ี ม.5 รวมถงึ สอื่ การเรยี นรรู้ ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ์ วทิ ยาศาสตร์ กายภาพ 1 (เคมี) ชั้น ม.5 ผู้จัดทา� ไดอ้ อกแบบการสอน (Instructional Design) อนั เปน็ วิธกี ารจัดการเรียนรู้และเทคนคิ การสอนทเี่ ปย มดว้ ยประสทิ ธภิ าพและมคี วามหลากหลายใหก้ บั ผเู้ รยี น เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นสามารถบรรลผุ ลสมั ฤทธต์ิ ามมาตรฐาน การเรียนร้แู ละตัวชี้วดั รวมถงึ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี นทหี่ ลกั สตู รกา� หนดไว้ โดยครูสามารถนา� ไปใชจ้ ัดการเรยี นรใู้ นช้ันเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ซ่ึงในรายวิชาน้ี ไดน้ �ารูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู ้ (5Es Instructional Model) มาใช้ในการออกแบบการสอน ดงั นี้ รปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5Es Instructional Model) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพ่ือช่วย กรEะeตnnggุนaคg1วeาmมeสnนt ใจ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค ์ สาํ รวeExจpแlลorะaคtนioหnา คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะส�าคัญในการค้นคว้าหาความรู้ และมี Elaขยาย ความสามารถในการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นระบบ ผู้จดั ท�าจงึ ได้เลอื กใช้ ตeEvรaวluจaสtiอoบnผล รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความร ู้ (5Es Instructional Model) าม รูtion ซึ่งเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์- 5 5Es 2 ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือท�า โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมือส�าคัญเพื่อการพัฒนา ควาbมoเrขa4าtioใจn Exอ3pธlaิบnาaยคว ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่ง ศตวรรษท่ี 21 วธิ ีสอน (Teaching Method) ผู้จัดท�าเลือกใช้วิธีสอนท่ีหลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิดประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซ่ึงจะเน้นใช้วิธีสอน โดยใช้การทดลองมากเป็นพิเศษ เน่ืองจากเป็นวิธีสอนท่ีมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย การคิดและการลงมือทา� ดว้ ยตนเอง อันจะช่วยให้ผเู้ รียนมีความรแู้ ละเกดิ ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่คงทน เทคนิคกำรสอน (Teaching Technique) ผจู้ ดั ทา� เลอื กใชเ้ ทคนคิ การสอนทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกบั เรอ่ื งทเ่ี รยี น เพอื่ สง่ เสรมิ วธิ สี อนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ เชน่ การใชค้ �าถาม การเล่นเกม เพอื่ นชว่ ยเพื่อน ซ่ึงเทคนิคการสอนตา่ ง ๆ จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมคี วามสุขใน ขณะท่เี รยี นและสามารถปฏบิ ตั กิ ิจกรรมได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รวมทัง้ ได้พฒั นาทักษะในศตวรรษที ่ 21 อีกด้วย

Teacher Guide Overview วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1 (เคม)ี ม.5 หน่วย ตวั ช้ีวัด ทกั ษะท่ีได้ เวลาทีใ่ ช้ การประเมิน สอื่ ทใ่ี ช้ การเรยี นรู้ 1 1. ระบวุ า่ สารเปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบ และ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ - หนงั สอื เรยี น อยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออน - ทักษะการสังเกต กอ่ นเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน โครงสรา้ ง จากสูตรเคมี - ทกั ษะการสือ่ สาร - สงั เกตการอภปิ ราย วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 อะตอมและ 2. เปรียบเทียบความเหมือนและความ - ทักษะการท�ำงานร่วมกนั เกยี่ วกับแบบจ�ำลอง (เคมี) ม.5 ตารางธาตุ แตกตา่ งของแบบจำ� ลองอะตอมของโบร์ - ทักษะการน�ำความรู้ไปใช้ อะตอม - แบบฝกึ หัด กับแบบจำ� ลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก - ท ักษะการคิดอยา่ ง - สังเกตการทำ� กจิ กรรม รายวชิ าพน้ื ฐาน 3. ระบุจ�ำนวนโปรตอน นิวตรอน และ มีวจิ ารณญาณ ปฏิกริ ิยาระหวา่ งโลหะ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 อเิ ลก็ ตรอนของอะตอม และไอออนทเี่ กดิ บางชนิดกับน้�ำ (เคมี) ม.5 จากอะตอมเดียว - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบก่อนเรยี น 4. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและ - ตรวจผงั มโนทัศน์ - แบบทดสอบหลังเรียน ระบกุ ารเป็นไอโซโทป - ตรวจแบบฝกึ หดั - ใบงาน 5. ระบหุ มแู่ ละคาบของธาตุ และระบวุ า่ ธาตุ 12 - สังเกตพฤติกรรม - PowerPoint เป็นโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ กลมุ่ ธาตเุ ร- การท�ำงานรายบุคคล - QR Code ช่ัวโมง พรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน - สังเกตพฤติกรรม - ภ าพยนตรส์ ารคดสี ้นั จากตารางธาตุ การท�ำงานกลมุ่ Twig 6. สืบค้นข้อมูล น�ำเสนอตัวอย่าง และ - สังเกตคณุ ลกั ษณะ อธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับ อนั พงึ ประสงค์ สมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สในการ - ตรวจแบบทดสอบ อธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาใน หลงั เรียน ชีวิตประจำ� วันและในอตุ สาหกรรม 7. สืบค้นข้อมูลและน�ำเสนอตัวอย่าง ประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาต ุ เรพรีเซนเททฟี และธาตุแทรนซชิ นั 2 1. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเด่ียว - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ พันธะคู่ หรอื พันธะสาม และระบุจำ� นวน - ทกั ษะการสังเกต ก่อนเรยี น พนั ธะเคมี คอู่ เิ ล็กตรอนระหว่างอะตอมครู่ ว่ มพนั ธะ - ทกั ษะการสื่อสาร - สงั เกตการอภปิ ราย เกย่ี วกับพนั ธะเคมี จากสตู รโครงสร้าง - ทกั ษะการท�ำงานรว่ มกัน - ตรวจใบงาน 2. ระบุสภาพขั้วของสารท่ีโมเลกุลประกอบ - ทักษะการน�ำความรไู้ ปใช้ - ตรวจแบบฝกึ หัด ด้วย 2 อะตอม - ท กั ษะการคดิ อย่าง - สังเกตพฤตกิ รรม 3. ระบสุ ารทเี่ กดิ พนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสตู ร มวี ิจารณญาณ 12 การท�ำงานรายบคุ คล โครงสร้าง - ส ังเกตคุณลักษณะ 4. อ ธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด ช่วั โมง อนั พงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบ ของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่าง หลงั เรียน โมเลกลุ ตามสภาพขั้วหรือการเกิดพนั ธะ ไฮโดรเจน 5. เขยี นสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบ ไอออนกิ

หน่วย ตัวชี้วัด ทกั ษะท่ีได้ เวลาทใี่ ช้ การประเมิน สอ่ื ท่ใี ช้ การเรยี นรู้ 3 1. ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัว - ทกั ษะการวิเคราะห์ - ตรวจแบบทดสอบ - ห นังสือเรยี น หรอื ไมแ่ ตกตวั พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลและระบุ - ทกั ษะการสังเกต กอ่ นเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สารเคมีและ ว่าสารละลายท่ีได้เป็นสารละลายอิเล็ก- - ทักษะการสือ่ สาร - ตรวจใบงาน วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 ผลติ ภัณฑ์ใน โทรไลต์หรือนอนอิเลก็ โทรไลต์ - ทักษะการท�ำงานรว่ มกนั - ตรวจผงั มโนทศั น์ (เคมี) ม.5 ชีวิตประจ�ำ วัน 2. ระบสุ ารประกอบอินทรียป์ ระเภทไฮโดร- - ทกั ษะการน�ำความรูไ้ ปใช้ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แ บบฝึกหัด คาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตร - ท กั ษะการคิดอยา่ ง - สังเกตพฤตกิ รรม รายวิชาพนื้ ฐาน โครงสร้าง มีวิจารณญาณ การท�ำงานรายบคุ คล วทิ ยาศาสตร์กายภาพ 1 3. สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทาง - สังเกตพฤติกรรม (เคม)ี ม.5 กายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอ- การท�ำงานกลุม่ - แบบทดสอบก่อนเรียน เมอร์ของพอลิเมอร์ชนิดน้นั - สงั เกตคุณลักษณะ - แบบทดสอบหลังเรยี น 4. ระบุสมบตั ิความเปน็ กรด-เบสจาก 18 อันพึงประสงค์ - ใบงาน โครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์ - ตรวจแบบทดสอบ - PowerPoint 5. อธิบายสมบัติการละลายในตัวท�ำละลาย ช่ัวโมง หลังเรยี น - QR Code ชนิดตา่ ง ๆ ของสาร - ภ าพยนตร์สารคดสี ั้น 6. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายความสัมพนั ธ์ Twig ระหวา่ งโครงสรา้ งกบั สมบตั เิ ทอรม์ อ- พลาสตกิ และเทอรม์ อเซตของพอลเิ มอร์ และการนำ� พอลิเมอรไ์ ปใช้ประโยชน์ 7. สืบค้นข้อมูลและน�ำเสนอผลกระทบของ การใช้ผลิตภณั ฑพ์ อลเิ มอรท์ ่มี ีตอ่ ส่งิ มี ชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม พรอ้ มแนวทาง ป้องกันหรือแก้ไข 4 1. ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ต รวจแบบทดสอบ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน - ทกั ษะการสงั เกต ก่อนเรยี น ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมการเคมขี องปฏิกริ ิยาเคมี - ทกั ษะการส่ือสาร - ต รวจใบงาน - ตรวจแบบฝึกหดั 2. ระบุสูตรเคมีของสารต้ังต้น ผลิตภัณฑ์ - ทกั ษะการท�ำงานร่วมกนั - สังเกตพฤตกิ รรม และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน - ทักษะการน�ำความร้ไู ปใช้ การท�ำงานรายบุคคล สมการเคมีของปฏกิ ิริยาเคมี - ท ักษะการคดิ อย่าง - สงั เกตคณุ ลกั ษณะ 3. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ มวี ิจารณญาณ อนั พงึ ประสงค์ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ใี่ ชป้ ระโยชน์ 18 - ตรวจแบบทดสอบ ในชวี ติ ประจำ� วนั หรอื ในอุตสาหกรรม หลงั เรียน 4. อธิบายความหมายของปฏกิ ิริยารดี อกซ์ ชั่วโมง 5. อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสี และ ค�ำนวณคร่ึงชีวิตและปริมาณของสาร กัมมันตรงั สี 6. ระบุสูตรเคมีของสารต้ังต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลักษณ์ใน สมการเคมีของปฏกิ ริ ยิ าเคมี

สำรบัญ Chapter Title Chapter Chapter Teacher Overview Concept Script หนวยการเรยี นรู้ท่ี 1 โครงสร้ำงอะตอมและ Overview ตำรำงธำตุ T2 - T3 T6 T4 - T5 • โครงสรา้ งอะตอม T40 • ตารางธาตุ T7 - T18 • สมบัติของธาตแุ ละการใชป้ ระโยชน์ T70 - T71 T19 - T24 ท้ายหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 T25 - T33 T114 - T115 T34 - T39 หนวยการเรยี นรู้ท่ี 2 พนั ธะเคมี T41 T42 • การเกิดพนั ธะเคมี • พนั ธะโคเวเลนต์ T43 - T44 • พนั ธะไอออนกิ T45 - T58 ท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 T59 - T65 T66 - T69 หนวยการเรียนรทู้ ี่ 3 สำรเคมีและผลิตภณั ฑใ์ นชีวิต ประจำ� วัน T72 - T73 T74 • กรด เบส และเกลือ T116 - T117 T75 - T82 • สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน T83 - T92 • พ อลิเมอร์ T93 - T110 ทา้ ยหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 T111 - T113 หนว ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ปฏิกิริยำเคมี T118 • การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี T119 - T137 • ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ T138 - T140 • ธาตกุ มั มันตรงั สี T141 - T146 ทา้ ยหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 T147 - T150 Fun Science Activity T151 T152 บรรณำนกุ รม

Chapter Overview แผนการจัด สอ่ื ท่ีใช้ จดุ ประสงค์ วธิ สี อน ประเมิน ทกั ษะที่ได้ คุณลักษณะ การเรียนรู้ อันพึงประสงค์ แผนฯ ท่ี 1 โครงสร้าง - แบบทดสอบก่อนเรยี น 1. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บ แบบสบื เสาะ - ตรวจสอบผลการทา� - ทกั ษะการวเิ คราะห ์ - มีวินัย อะตอม - ห นังสือเรียน แบบจ�าลองอะตอมของ หาความร ู้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ทกั ษะการสังเกต - ใฝเ่ รยี นรู้ รายวชิ าพื้นฐาน ดอลตัน ทอมสนั (5Es - สังเกตการตอบ - ทกั ษะการสอ่ื สาร - มงุ่ ม่นั ใน 6 วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ร ทั เทอรฟ์ อรด์ โบร ์ และ Instructional ค�าถาม การรว่ มกนั - ทักษะการท�างาน การท�างาน (เคม)ี ม.5 แบบกลุ่มหมอกได้ (K) Model) ท�าผลงาน และจาก ร่วมกัน ชัว่ โมง - แบบฝกึ หดั รายวิชา 2. อธิบายว่าสารเป็นธาตุ การน�าเสนอผลงาน พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ หรือสารประกอบ และ - ตรวจผงั มโนทัศน์ แผนฯ ที่ 2 กายภาพ 1 (เคม)ี ม.5 อยูใ่ นรูปอะตอม เรือ่ ง แบบจ�าลอง ตารางธาตุ - ใบงาน โ มเลกลุ หรอื ไอออน อะตอม - PowerPoint จากสตู รเคมไี ด ้ (K) - ตรวจใบงาน 2 - QR Code 3. อธบิ ายสมบัติของ เรื่อง แบบจ�าลอง - ภาพยนตรส์ ารคดีสน้ั อนุภาคมูลฐาน เขียน อะตอม ชัว่ โมง Twig สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี รข์ อง - ตรวจใบงาน เรือ่ ง ธาต ุ อธบิ ายความหมาย อนภุ าคมูลฐาน ไอโซโทปได้ (K) - ตรวจแบบฝึกหัดจาก 4. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ Unit Question 1 พั ฒ น า ก า ร ข อ ง แ บ บ ในหนงั สือเรยี น จ�าลองอะตอมได้ (P) 5. เห็นคุณประโยชน์ของ การเรียนวิทยาศาสตร์ ตระหนักในคุณค่าของ ความรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิต ประจ�าวัน (A) - หนงั สอื เรยี น 1. อธบิ ายววิ ฒั นาการของ แบบสืบเสาะ - ส งั เกตการตอบ - ทักษะการวเิ คราะห์ - มีวนิ ัย รายวิชาพื้นฐาน การจัดธาตุในตาราง หาความรู้ คา� ถาม การรว่ มกนั - ทักษะการสื่อสาร - ใฝเ่ รียนรู้ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 ธาต ุ และบอกแนวโนม้ (5Es ท�าผลงาน และจาก - ท กั ษะการทา� งาน - ม่งุ มัน่ ใน (เคม)ี ม.5 การเปลย่ี นแปลงสมบัติ Instructional การน�าเสนอผลงาน ร่วมกนั การทา� งาน - แบบฝึกหัดรายวิชา บางประการของธาตุ Model) - ต รวจผังมโนทัศน์ - ทักษะการน�าความรู้ พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตามหมู่และตามคาบได้ เร่อื ง ตารางธาตุ ไปใช้ กายภาพ 1 (เคม)ี ม.5 (K) - ต รวจใบงาน เรอ่ื ง - ใบงาน 2. สืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกับ ตารางธาตุ - PowerPoint ธาตทุ ่คี น้ พบในปัจจบุ ัน - ตรวจแบบฝึกหัดจาก - QR Code และน�าเสนอข้อมลู ได้ Unit Question 1 - ภาพยนตรส์ ารคดีสนั้ ถกู ต้อง (P) ในหนังสอื เรยี น Twig 3. ท า� งานรว่ มกบั ผอู้ ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับความคิดเห็น ของผู้อ่ืนได ้ (A) T2

แผนการจดั ส่ือที่ใช้ จุดประสงค์ วธิ ีสอน ประเมนิ ทักษะที่ได้ คณุ ลกั ษณะ การเรียนรู้ อนั พงึ ประสงค์ แผนฯ ที่ 3 สมบตั ิของธาตุ - แบบทดสอบหลงั เรียน 1. อ ธิบายเกีย่ วกับชนดิ แบบสบื เสาะ - ต รวจสอบผลการ - ทักษะการวิเคราะห์ - มีวนิ ัย และการใช้ - หนังสอื เรยี น และสมบตั ิของธาตุได้ หาความรู้ ท�ำแบบทดสอบ - ทกั ษะการสอ่ื สาร - ใฝเ่ รยี นรู้ ประโยชน์ รายวิชาพนื้ ฐาน (K) (5Es หลังเรียน - ท ักษะการท�ำงาน - มุง่ มนั่ ใน วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 2. อ ธิบายและยกตวั อย่าง Instructional - สังเกตการตอบ รว่ มกัน การทำ� งาน 4 (เคมี) ม.5 การใช้ประโยชนจ์ าก Model) คำ� ถาม การรว่ มกัน - ท ักษะการน�ำความรู้ - แบบฝึกหัดรายวชิ า ธาตุบางชนดิ ได้ (K) ทำ� ผลงาน และจาก ไปใช้ ชว่ั โมง พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 3. อ ธบิ ายความแตกต่าง การน�ำเสนอผลงาน กายภาพ 1 (เคมี) ม.5 ของการท�ำปฏกิ ริ ยิ ากับ - สงั เกตการทำ� กจิ กรรม - ใบงาน น�้ำของธาตหุ มู่ 1A 2A ปฏิกิรยิ าระหว่างโลหะ - PowerPoint และ 3A ได้ (K) บางชนดิ กบั นำ้� - QR Code 4. ทดลองและสรปุ ผล - ต รวจผังมโนทัศน์ - ภาพยนตร์สารคดีส้ัน การทดลองเกยี่ วกับ เร่ือง สมบตั ขิ องธาตุ Twig ปฏกิ ริ ิยาของธาตหุ มู่ และการใชป้ ระโยชน์ 1A 2A และ 3A กบั น้�ำ - ต รวจใบงาน เรื่อง ได้ (P) สมบตั ิของธาตแุ ละ 5. แสดงความเปน็ การใช้ประโยชน์ คนช่างสงั เกต ชา่ งคดิ - ตรวจแบบฝึกหัดจาก ช่างสงสัย ใฝเ่ รียนรู้ Unit Question 1 และม่งุ มั่นในการเสาะ ในหนังสือเรยี น แสวงหาความรู้ (A) T3

Chapter Concept Overview แบบจําลองอะตอม วิวัฒนาการของแบบจา� ลองอะตอมสามารถสรปุ ได้ ดังน้ี แบบจาํ ลองอะตอมของดอลตัน เปน็ ทรงกลมตนั มขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ไมส่ ามารถแบง่ แยกได้ แบบจําลองอะตอมของทอมสัน เป็นทรงกลม ประกอบด้วยโปรตอนซง่ึ มีประจบุ วก และอเิ ลก็ ตรอนซง่ึ มปี ระจลุ บกระจายอยอู่ ยา่ งสมา�่ เสมอ แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด เปน็ ทรงกลม ประกอบดว้ ยนวิ เคลยี สทม่ี ปี ระจบุ วกอยตู่ รงกลางอะตอม โดยมอี เิ ลก็ ตรอนทม่ี ปี ระจลุ บวงิ่ อยรู่ อบ ๆ นวิ เคลยี ส แบบจาํ ลองอะตอมของโบร์ เปน็ ทรงกลม ประกอบดว้ ยนวิ เคลยี สอยกู่ ลางอะตอม โดยมอี เิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นทอ่ี ยโู่ ดยรอบอะตอมเปน็ ระดบั ชนั้ พลงั งาน แบบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก เปน็ ทรงกลม ประกอบดว้ ยนวิ เคลยี สอยกู่ ลางอะตอม และอเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นทอี่ ยรู่ อบ ๆ นวิ เคลยี ส ไมม่ ที ศิ ทางทแี่ นน่ อน องคป์ ระกอบของอะตอม สญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ อะตอมประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและ เคลือข อสะัญตอลมักขษอณง์ทธาี่แตส ุ ดเขงียชนนแิดทขนอไงดธ้ าดตงั ุ นเี้ลขมวล และ นวิ ตรอนรวมกนั อยภู่ ายในนวิ เคลยี ส และมี เลขมวล (mass number) อนภุ าคอเิ ลก็ ตรอนเคลอื่ นทอ่ี ยรู่ อบ ๆ AZX เป็นตัวเลขท่ีแสดงผลรวมของ • ไอออน คอื ธาตทุ มี่ จี า� นวนอเิ ลก็ ตรอนกบั จา� นวนโปรตอนไมเ่ ทา่ กนั จ�านวนโปรตอนและนวิ ตรอน - ไอออนลบ คอื ธ าตุท่ีมีจ�านวนอิเล็กตรอนมากกว่าจ�านวน โปรตอน สญั ลกั ษณ์ของธาตุ - ไอออนบวก คอื ธาตุท่ีมีจ�านวนอิเล็กตรอนน้อยกว่าจ�านวน เลขอะตอม (atomic number) โปรตอน เปน็ ตวั เลขทแี่ สดงจา� นวนโปรตอน • โมเลกุล คอื อนภุ าคทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ ของธาตหุ รอื สารประกอบทเ่ี กดิ จากอะตอมอยา่ งนอ้ ย 2 อะตอมมารวมกนั และจดั เรยี งตวั อยา่ งแนน่ อน • ไอโซโทป คอื อะตอมของธาตชุ นดิ เดยี วกนั ทมี่ จี า� นวนโปรตอนเทา่ กนั แต่มีจ�านวนนิวตรอนแตกต่างกัน ววิ ัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ ดิมิทรี อวิ าโนวิช เมเดเลเอฟ โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ กฎพิริออดิก : เม่ือน�าธาตุมาเรียง ลา� ดบั ตามนา�้ หนกั ทเี่ พม่ิ ขน้ึ จะไดก้ ลมุ่ กฎชุดสาม : เมอื่ จดั เรยี งธาตุตามมวล ของธาตุที่มีสมบัติทางเคมีและสมบัติ อะตอมจากน้อยไปหามาก มวลอะตอม ทางกายภาพเป็นชุด ๆ ของธาตุท่ีอยู่ตรงกลางจะเป็นค่าเฉลี่ย ของมวลอะตอมของธาตุตัวบนและ ตัวลา่ ง จอหน์ นิวแลนด์ เฮนรี โมสลยี ์ กฎออกเตต : ถา้ นา� ธาตมุ า 8 ธาต ุ แลว้ จดั เรียงธาตุตามเลขอะตอม เน่อื งจากสมบตั ิ จัดเรียงธาตุตามมวลจากน้อยไปหา ต่าง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ์กับโปรตอน มาก ธาตุตัวท่ ี 8 จะมีสมบตั ิคลา้ ยคลงึ ในนิวเคลียสหรือเลขอะตอมมากกว่ามวล กับธาตุตัวท ่ี 1 เสมอ อะตอม และเปน็ ตารางธาตุท่ีใชถ้ ึงปัจจุบนั T4

สมบัตขิ องธาตุ ธาตุอโลหะ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี  1 ธาตโุ ลหะ • มีท้ัง 3 สถานะ ธาตุก่ึงโลหะ • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว • มสี ถานะเปน็ ของแขง็ (ยกเวน้ ปรอทเปน็ และความหนาแนน่ ตำ่� • มสี ถานะเป็นของแขง็ ของเหลว) • ไม่นำ� ไฟฟา้ และความร้อน • มจี ุดเดอื ด จุดหลอมเหลว (ยกเว้นแกรไฟตส์ ามารถนำ� ไฟฟ้าได)้ และความหนาแนน่ สงู • ม ีจดุ เดือด จุดหลอมเหลว • นำ� ไฟฟ้าได้ และความหนาแนน่ สูง • นำ� ไฟฟา้ และความร้อนได้ดมี าก สมบตั แิ ละการใช้ประโยชน์ของธาตุบางชนิด • มีความเปน็ อโลหะสงู มีความวอ่ งไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใน • ส่วนใหญ่มีสีเงิน เป็นโลหะเนอ้ื อ่อน มีความเปน็ โลหะสงู มีความ ธรรมชาติมักพบธาตุหมู่นี้ในลักษณะโมเลกุลคู่ เมื่อรวมตัวกับ ไฮโดรเจนจะมีสมบตั ิเปน็ กรดรุนแรง หนาแนน่ ต�่ำ มีความวอ่ งไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีสูง • ลิเทยี ม (Li) ใชเ้ ป็นข้ัวแบตเตอรี่ โซเดยี ม (Na) ใช้ประโยชนใ์ น • ฟ ลูออรีน (F) ใช้ประโยชน์ในรูปของสารประกอบ เช่น NaF ใช้เตมิ ลงในยาสีฟนั คลอรนี (Cl) นำ� มาเตมิ ลงในน�ำ้ หรือสระน้�ำ รูปของสารประกอบ เชน่ เกลือแกง (NaCl) ผงฟู (NaHCO3) เพอ่ื ท�ำให้น้�ำสะอาด ไอโอดีน (I) ใชผ้ ลิตยาฆ่าเชือ้ และสีย้อมผา้ ธาตหุ มู่ 1A ธาตหุ มู่ 7A แลนทาไนด์ ธาตุหมู่ 2A แอกทไิ นด์ ธาตุหมู่ 8A • สว่ นใหญม่ สี เี งนิ เปน็ โลหะเนอ้ื ออ่ น แตม่ คี วามแขง็ และมคี วามหนา • เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายน�้ำได้เล็กน้อย แนน่ มากกวา่ ธาตหุ มู่ 1A เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมไี ดด้ ี แตร่ นุ แรงนอ้ ยกวา่ มีความวอ่ งไวในการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีตำ�่ ธาตหุ มู่ 1A • ฮ ีเลียม (He) บรรจุในบอลลูนหรือลูกโป่งสวรรค์ • แ มกนีเซียม (Mg) ใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลติ โลหะผสมอะลมู เิ นยี ม บรรจลุ งในถงั แกส๊ สำ� หรบั นกั ประดานำ�้ นอี อน (Ne) และแมกนีเซียม แคลเซียม (Ca) เป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญของ และอาร์กอน (Ar) ใช้บรรจุในหลอดไฟฟ้า และ โครงสร้างทางร่างกายของส่ิงมชี วี ติ บรรจใุ นหลอดไฟโฆษณา ครปิ ทอน (Kr) ใชบ้ รรจใุ น หลอดไฟแฟลชส�ำหรับถ่ายรูปความเร็วสูง ซีนอน ธาตุแทรนซิชนั (Xe) ใช้เป็นแกส๊ ท่ีช่วยใหส้ ลบ • มีสถานะเป็นของแข็ง (ยกเวน้ ปรอทเป็นของเหลว) มีความเป็นโลหะน้อยกวา่ โลหะหมู่ 1A และ 2A มีจดุ เดอื ด จุดหลอมเหลว และ ความหนาแนน่ สูง นำ� ไฟฟ้าได้ สามารถเกดิ สารประกอบไดม้ ากมายหลายชนดิ รวมทั้งสารประกอบเชงิ ซอ้ นท่มี สี ีสันเฉพาะตัว • เหลก็ (Fe) เหลก็ กลา้ ใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง เปน็ สว่ นประกอบของลวดตะปู เหลก็ เคลอื บผวิ ดว้ ยสงั กะสใี ชเ้ ปน็ สงั กะสมี งุ หลงั คา และทำ� กระปอ๋ ง บรรจุอาหาร ทองแดง (Cu) ใชท้ ำ� สายไฟฟ้า อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ต่าง ๆ ทองแดงผสมสงั กะสีใช้ท�ำกลอนประตู กญุ แจ กระดุม ทองแดงผสม ดบี กุ ใช้ท�ำระฆงั ลานนาฬกิ า สงั กะสี (Zn) ใชท้ ำ� กลอ่ งของถ่านไฟฉาย โครเมยี ม (Cr) ใชเ้ คลือบผิวของเหล็กและโลหะอ่ืน ๆ และนำ� มา ใช้เปน็ สว่ นประกอบของเหลก็ กล้าผสมทใี่ ชท้ ำ� ตูน้ ริ ภยั เคร่ืองบนิ ไอพน่ จรวด และเรเดยี ม (Ra) ใชใ้ นการรักษาโรคมะเรง็ ได้ T5

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ âá¤ÅÐõ§ÒÊÃÃҌҧ§¸ÍÒеµØ ÍÁ1หนว ยการเรียนรทู ี่ Q ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ¹¤Œ¹¾º กระตนุ้ ความสนใจ ¸ÒµØãËÁ‹ ¨Ð¨Ñ´àÃÕ§¸ÒµØ¹Õé ŧ㹵ÒÃÒ§¸ÒµØ 1. ครดู าํ เนนิ การทดสอบกอ นเรยี น โดยใหน กั เรยี นทาํ 䴌͋ҧäà แบบทดสอบ จาํ นวน 10 ขอ จากนน้ั ครใู หน กั เรยี น ทุกคนชวยกันตอบคําถาม Understanding ตัวชีว้ ดั Check เพ่ือตรวจสอบความพรอ มและความรู ว 2.1 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 พนื้ ฐานของนักเรยี น ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7 2. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการเปดประเด็นและ ชักชวนนักเรียนใหรวมกันอภิปราย โดยใช Understanding ถกู / ผดิ คําถามดังตอไปนี้ Check • อนุภาคของสารหมายถึงอะไร บัน ึทกลงในส ุมด (แนวตอบ โมเลกุล อะตอม และไอออน) ใหนกั เรยี นพจิ ารณาขอความตามความเขา ใจของนักเรยี นวาถูกหรือผิด แลวบนั ทกึ ลงในสมดุ • อนุภาคท่ีเลก็ ทสี่ ดุ ของสารเรยี กวาอะไร (แนวตอบ อะตอม) 1. แบบจาํ ลองอะตอมทีใ่ ชอ ยใู นปจจบุ ันคอื แบบจาํ ลองอะตอมกลมุ หมอก • อนภุ าคทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ นีม้ ีสวนประกอบแยกยอ ย 2. อะตอมของธาตปุ ระกอบดว ย โปรตอน อเิ ล็กตรอน และนิวตรอน ไดอกี หรือไม 3. ธาตุชนิดเดยี วกันจะมจี ํานวนนิวตรอนเทา กัน (แนวตอบ แยกตอไปอีกไมได) 4. ธาตอุ โลหะจะอยูทางฝง ซา ยของตารางธาตุ 5. ธาตุโลหะมจี ุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว และความหนาแนนสูง 3. นักเรยี นรวมกันตอบคาํ ถาม เพือ่ เชื่อมโยงไปสู การเรยี นรเู รื่อง โครงสรา งอะตอม 4. ครถู ามคาํ ถาม Big Question จากหนงั สอื เรยี น วา ถานักเรยี นคน พบธาตใุ หม จะจดั เรยี งธาตุ นล้ี งในตารางธาตุไดอยา งไร ครเู ปด โอกาสให นกั เรยี นไดแ สดงความคดิ เหน็ โดยไมเ นน ถกู ผดิ 5. ครใู หน กั เรยี นรว มแสดงความคดิ เหน็ ซงึ่ นกั เรยี น จะไดค าํ ตอบทถ่ี กู ตอ งจากการเรยี นตอ ไป และ มอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปศึกษาความรู ลว งหนา เกี่ยวกบั แบบจาํ ลองอะตอม แนวตอบ Big Question การจดั เรยี งธาตลุ งในตารางธาตอุ ยบู นพนื้ ฐาน ของเลขอะตอม (จํานวนโปรตอนในนวิ เคลยี ส) การจัดเรียงอิเล็กตรอน และสมบัตทิ างเคมี แนวตอบ Understanding Check 1. ถกู 2. ถกู 3. ผิด 4. ผิด 5. ถกู เกร็ดแนะครู การเรยี นการสอน เรือ่ ง โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ครูควรนาํ ภาพ แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละทานมาใหนักเรียนพิจารณา และ ใหนักเรียนเปรียบเทียบวาแบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรทานใดที่มี ลักษณะใกลเคียงกับอะตอมในปจจุบันมากที่สุด และในเรื่องตารางธาตุครูควร แบงธาตุออกเปนกลุมๆ (ดวยเกณฑทก่ี าํ หนดรว มกนั ) เพื่อใหง า ยตอ การจดจํา และเรยี นรู T6

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 1. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁดิโมคริตุส1 (Democritus) นักปรัชญาชาวกรีก กลาววา Prior Knowledge ขนั้ สอน ͹ÀØ Ò¤·àÕè Å¡ç ·ÊèÕ ´Ø “เมื่อนําสสารมาแบงยอยลงไปเรื่อย ๆ จะไดอนุภาคท่ีมีขนาด ¢Í§¸Òµ¤Ø Í× ÍÐäà สาํ รวจคน้ หา เล็กมาก และไมสามารถแบงยอยออกไปไดอีก โดยเรียก อนุภาคน้วี า อะตอม” เมือ่ ความรูทางวิทยาศาสตรเ จริญกา วหนา 1. ครถู ามคาํ ถาม Prior knowledge จากหนังสอื มากข้นึ ทาํ ใหแ นวคดิ ของดิโมคริตสุ ไมสามารถอธิบายเหตุการณตา ง ๆ ที่เกิดขึน้ เก่ยี วกบั สสารได เรียนวา อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุคืออะไร เพ่ือเปนการทบทวนความรูเดิมจากคาบเรียน 1.1 Ẻ¨Òí ÅͧÍеÍÁ ที่ผา นมา นักวิทยาศาสตรหลายทานไดพยายามศึกษาวาลักษณะโครงสรางภายในอะตอมน้ัน 2. ครถู ามนักเรยี นตอไปวา อะตอมที่มขี นาดเล็ก เปนอยางไร โดยใชวิธีการตาง ๆ ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน จนกระท่ังเกิดแบบจําลองอะตอม น้ี เราจะสามารถมองเหน็ อะตอมดว ยตาเปลา ตามแนวคดิ และการทดลองของนกั วิทยาศาสตรห ลาย ๆ ทานขึน้ มา ซึง่ สามารถสรปุ แบบจาํ ลอง หรือไม (เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความ อะตอมทีม่ กี ารพฒั นาจนกลายมาเปนแบบจําลองอะตอมทใ่ี ชกันอยใู นปจ จบุ ันได ดังนี้ คดิ เหน็ ) 1. แบบจาํ ลองอะตอมของดอลตัน จอหน ดอลตนั (John Dalton, พ.ศ. 2308-2387) 3. ครูอธิบายคําตอบจากคําถามเพื่อใหนักเรียน นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ เปนคนแรกท่ีนําเสนอแนวคิด ไดเขาใจ โดยใหความรูจากความเชื่อของ เกีย่ วกับอะตอม เพ่อื ใชอธิบายเกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงของสาร ดิโมคริตุส นักปรัชญาชาวกรีก ซ่ึงกลาวไววา กอนและหลังทําปฏิกิริยา รวมท้ังอัตราสวนโดยมวลของธาตุที่ “สิ่งของตางๆ ประกอบดวยอนุภาคที่มีขนาด รวมกนั เปนสารประกอบ ซง่ึ สามารถสรุปได ดงั น้ี เล็กมาก และถาแบงอนุภาคใหมีขนาดเล็กลง • ธาตแุ ตล ะชนดิ ประกอบดว ยอนภุ าคทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ เรยี กวา เรื่อยๆ จนไมสามารถแบง ตอไปไดอ ีก อนุภาค อะตอม ซ่ึงอะตอมไมสามารถแยกออกไดอีก และไมสามารถ ภาพที่ 1.1 แบบจําลองอะตอม ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด เรียกวา อะตอม ซ่ึงไม ถูกสรา งข้นึ หรอื ทําลายไดใ นระหวางเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ของดอลตนั สามารถมองเห็นดวยตาเปลาได” จากนั้นครู ทม่ี า : คลังภาพ อจท. เปด โอกาสใหนักเรยี นไดซักถามเพม่ิ เตมิ • อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีมวลและสมบัติตาง ๆ เหมอื นกัน สวนอะตอมของธาตตุ า งชนดิ กนั จะมีมวลและสมบตั แิ ตกตางกัน 4. นกั เรยี นรว มกนั ตอบคาํ ถามและแสดงความคดิ - • สารประกอบเกดิ จากอะตอมของธาตตุ ง้ั แต 2 ชนิดขนึ้ ไป มารวมตัวกันดวยพันธะเคมี เห็นเกย่ี วกบั คาํ ตอบของคาํ ถาม เพ่ือเชื่อมโยง โดยมีอัตราสวนของจํานวนอะตอมเปนเลขลงตัวอยางตํ่า และ ไปสูการเรียนรูเร่ือง โครงสรางอะตอม อะตอมของธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจรวมตัวเกิดเปนสาร ประกอบดว ยอตั ราสว นมากกวา 1 แบบ ซงึ่ ทาํ ใหเ กดิ สารประกอบ แนวตอบ Prior Knowledge ไดมากกวา 1 ชนิด อะตอม ภาพที่ 1.2 จอหน ดอลตนั ทฤษฎอี ะตอมของดอลตนั ใชอ ธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ อง ท่ีมา : คลังภาพ อจท. อะตอมไดเพียงระดบั หนึ่ง ซึ่งตอมานักวิทยาศาสตรคน พบขอมูล บางประการทไี่ มส อดคลอ งกบั ทฤษฎอี ะตอมของดอลตนั เชน พบวา อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันอาจมีมวลแตกตางกันได â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 3 ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET นักเรียนควรรู ขอใดกลาวไดถ กู ตอง ก. แบบจําลองอะตอม คอื มโนภาพทสี่ รางข้นึ โดยอาศยั ขอ มูล 1 ดิโมคริตุส ใชคําวา “æอะตอม” ซ่ึงเปนคํามาจากภาษากรีก แปลวา การทดลอง ซงึ่ อาจถกู หรือผดิ กไ็ ด สง่ิ ทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ สาํ หรบั เรยี กหนว ยทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ ของสสารทไ่ี มส ามารถแบง แยกตอ ไป ข. ดอลตัน เสนอแนวคิดวาอะตอมไมไ ดเล็กท่สี ุด ไดอีก โดยเขาไดพยายามศึกษาเก่ียวกับวัตถุที่มีขนาดเล็ก และมีแนวคิด ค. ปจจบุ นั ยงั ใชแ นวคิดของดอลตนั ทีว่ า อะตอมของธาตชุ นดิ เกย่ี วกบั โครงสรางของสสารวา สสารทัง้ หลายประกอบดว ยอนุภาคท่ีเลก็ ทีส่ ดุ เดียวกันจะมสี มบตั เิ หมอื นกัน ไมส ามารถมองเหน็ ได และไมสามารถแบง แยกใหเลก็ ลงกวานนั้ ไดอีก อกี ทั้ง 1. ขอ ก. เทา นน้ั 2. ขอ ข. เทา น้ัน ยังไดขยายความเก่ยี วกับอะตอมอีกวา 3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค. 5. ขอ ก. ข. และ ค. 1. วตั ถุตา งๆ ในโลกประกอบดวยอะตอมเพยี งชนิดเดยี ว 2. อะตอมอยใู นที่วาง (วเิ คราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอม คือ มโนภาพทสี่ รา งขึ้นมา 3. วตั ถุมีลกั ษณะตา งกนั เพราะอะตอมเรียงตวั ตางกนั ของนักวทิ ยาศาสตร ซ่ึงอาจถกู หรอื ผิดก็ได ขอ ก. จงึ ถูก ดอลตัน เสนอแนวคดิ วา อะตอมมขี นาดเลก็ ทสี่ ดุ ขอ ข. จงึ ผดิ และปจ จบุ นั T7 พบวา อะตอมของธาตุจะมีไอโซโทปของธาตชุ นิดเดยี วกนั แตเลข มวลตา งกัน ดงั นนั้ ตอบขอ 1.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 2. แบบจาํ ลองอะตอมของทอมสนั เซอร โจเซฟ จอหน ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson, พ.ศ. 2399-2483) สาํ รวจคน้ หา นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ ไดทําการทดลองศึกษาสมบัติ ของรังสีแคโทด และพบวา รังสีแคโทดเบี่ยงเบนเขาหาขั้วบวก 5. ครูใหนักเรียนแบงกลุมละ 4-5 คน แลวเปด ใขนอสงนสานมาแมมไเ หฟลฟก็ าปรแาลกฏะทวาดรสงั อสบแี กคโาทรด1เบเบี่ยยี่ งงเเบบนนใขนอสงนราังมสแีแมคเ หโทลดก็ โอกาสใหน กั เรยี นในกลมุ นาํ เสนอขอ มลู เกย่ี วกบั เขาหาขั้วเหนือ เขาจึงสรุปวา อนุภาครังสีแคโทดมีประจุเปน ภาพที่ 1.3 แบบจาํ ลองอะตอมของ อะตอม ท่ีครูมอบหมายใหไปเรียนรูลวงหนา ประจลุ บ และเรียกอนุภาคดงั กลา ววา อเิ ล็กตรอน ทอมสัน ใหเพ่ือน ๆ ในกลุมฟง จากน้ันใหแตละกลุม ทมี่ า : คลงั ภาพ อจท. สง ตัวแทนมานาํ เสนอขอมลู หนา ชั้นเรียน ตอมาออยเกน โกลดสไตน (Eugen Goldstein) ไดทดลองดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด 6. ครูตรวจสอบความเขาใจวา นักเรียนมีความ จนคนพบอนุภาคใหมที่มีสมบัติเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาในทิศทางตรงขามกับ เขา ใจหรอื ไม โดยการถามคาํ ถามเกย่ี วกบั แบบ รงั สแี คโทด แสดงวา อนภุ าคนม้ี ปี ระจไุ ฟฟา เปน บวก และเรยี ก จําลองอะตอม เชน อนภุ าคนว้ี า โปรตอน • นกั วทิ ยาศาสตรส รา งแบบจาํ ลองอะตอมจาก อะไร หลังจากมีการคนพบอิเล็กตรอนและโปรตอนแลว (แนวตอบ จากการสังเกตและการทดลอง) ทอมสันจึงเสนอแบบจําลองอะตอมใหมวา “อะตอมมีลักษณะ • แบบจําลองแตละแบบมีความแตกตางหรือ เปนทรงกลม มีอนุภาคโปรตอนซ่ึงมีประจุบวกและอิเล็กตรอน ไม เพราะอะไร ซง่ึ มีประจลุ บกระจายอยทู ่วั ไปอยา งสมํา่ เสมอ อะตอมในสภาพที่ (แนวตอบ แตกตา งกัน เพราะความกา วหนา ภาพท่ี 1.4 เซอร โจเซฟ จอหน ทอมสัน เปนกลางจะมีประจบุ วกและประจลุ บเทากัน” ของเทคโนโลยีที่เพ่ิมมากข้ึน ทําใหผลการ ที่มา : คลังภาพ อจท. ทดลองแสดงแบบจําลองอะตอมมีความ นาเชอ่ื ถือมากขนึ้ ) Ruther3fo. rแd,บพบจ.ศาํ .ล2อ4ง1อ4ะ-ต24อ8ม0ข)อทงาํ รกทั าเรททอดรลฟ อองยริงด อลนอภุ ราด คแเอออลรฟเ นา2ไสปตย รงั ทัแเผทน อทรอฟ งอครําด บ(าLงoมrาdกErซnง่ึesมtี 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายในช้ันเรียน ฉากเรอื งแสงท่ฉี าบดว ยซิงคซลั ไฟด (ZnS) โคง เปน วงลอ มรอบแผนทองคาํ ดงั ภาพท่ี 1.5 เพอื่ เชือ่ มโยงไปสูก ารจดั การเรียนรู เรือ่ ง แบบ จําลองอะตอม วา อะตอมเปนสิ่งที่มีขนาด อแนหุภลางคกแาํ อเลนฟดิ า α ͹ÀØ Ò¤áÍÅ¿ÒÊÇ‹ ¹ÁÒ¡ เล็กมาก ไมสามารถศึกษาโครงสรางไดดวย α เคลอ่ื นที่เปนเสนตรงทะลผุ า น วิธีธรรมดาเหมือนการศึกษาโครงสรางของ แผน ทองคาํ α แผนทองคํา วัตถุท่ีสามารถเห็นไดดวยตาเปลา การศึกษา ฉากเรืองแสง ͹ÀØ Ò¤áÍÅ¿ÒÊÇ‹ ¹¹ÍŒ  เพื่อความเขาใจเกี่ยวกับอะตอม อาจทําได α เดนิ ทางเบย่ี งเบนเปน มมุ กวา ง โดยการจําลองรูปรางลักษณะของอะตอมวา αα ออกจากแนวเสน ทางเดมิ เปนอยางไร ซึ่งแบบจําลองท่ีดีจะตองอธิบาย α ͹ØÀÒ¤áÍÅ¿Ò¨íҹǹ¹ŒÍÂÁÒ¡ ลกั ษณะและองคป ระกอบของอะตอมได สะทอนกลบั มากระทบฉากบริเวณ ดานหนา ภาพท่ี 1.5 การทดลองของรัทเทอรฟ อรด ที่มา : คลังภาพ อจท. 4 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET แบบจําลองอะตอมของทอมสันและรัทเทอรฟอรดมีความ 1 รงั สแี คโทด คอื รงั สี (กระแสของอเิ ลก็ ตรอน) ทห่ี ลดุ ออกมาจากขวั้ ลบของ แตกตา งกันตามขอ ใด หลอดสญุ ญากาศเม่อื ตอขั้วท้ังสองเขากบั แหลง กาํ เนดิ ความตางศักย 2 อนภุ าคแอลฟา คอื อนภุ าคทป่ี ระกอบดว ยโปรตอน 2 อนภุ าค และนวิ ตรอน 1. ชนิดของอนุภาคท่ีอยูในอะตอม 2 อนภุ าค เหมอื นกับนวิ เคลียสของอะตอมธาตฮุ เี ลียม (He2+) ซงึ่ เกิดจากการ 2. ขนาดของอนุภาคทอี่ ยูใ นอะตอม สลายตวั ของอะตอมของธาตุกัมมนั ตรงั สี 3. จํานวนของอนุภาคท่อี ยใู นอะตอม 4. ตาํ แหนง ของอนุภาคท่ีอยูในอะตอม T8 5. การเคล่ือนท่ขี องอนุภาคทอ่ี ยูในอะตอม (วิเคราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอมของทอมสันกลาววา อะตอมประกอบดวยอนุภาคโปรตอนซ่ึงมีประจุบวก และอนุภาค อเิ ลก็ ตรอนซงึ่ มปี ระจลุ บกระจายอยทู วั่ ไปอยา งสมาํ่ เสมอ สว นแบบ จําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรดกลาววา อะตอมประกอบดวย โปรตอนรวมตัวกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลาง สวนอิเล็กตรอน เคล่ือนท่ีอยูรอบๆ นิวเคลียส แบบจําลองอะตอมของท้ังสองจึง ตา งกนั ตรงตาํ แหนง ของอนภุ าคทอ่ี ยใู นอะตอม ดงั นน้ั ตอบขอ 4.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน สาํ รวจคน้ หา จากการทดลอง รัทเทอรฟอรดจึงไดเสนอแบบจําลอง 8. ครูใหนักเรียนศึกษาแบบจําลองอะตอม อะตอมขึ้นมาใหมวา อะตอมประกอบดวยนิวเคลียสขนาดเล็ก ของนกั วทิ ยาศาสตรทง้ั 5 คน คอื ดอลตนั เปนที่รวมของประจุบวก โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่วิ่งอยูรอบ ๆ ทอมสนั รทั เทอรฟ อรด โบร และแบบกลมุ หมอก นิวเคลียสของอะตอม เน่ืองจากถาประจุบวกและลบกระจายอยู จากในหนังสือเรียน จากน้ันใหนักเรียน อยา งสมา่ํ เสมอตามแบบจาํ ลองอะตอมของทอมสนั อนภุ าคแอลฟา รวมกันอภิปรายวา โครงสรางอะตอมของ ก็ควรท่ีจะมีอัตราการเบ่ียงเบน การหักเห และการสะทอนกลับ นักวิทยาศาสตรแตละคนมีลักษณะอยางไร ในอัตราสวนท่ใี กลกัน ภาพท่ี 1.6 แแบบจาํ ลองอะตอมของ มีความเหมอื นหรือแตกตางกัน อยางไร รัทเทอรฟอรด ที่มา : คลังภาพ อจท. 9. ครูใชเทคนิคเพ่ือนคูคิดโดยใหนักเรียน จากแนวคดิ ของรทั เทอรฟ อรด ซง่ึ เสนอวา มวลสว นใหญ จับคูกับเพื่อนรวมชั้นเรียนแลวสืบคนขอมูล ของอะตอมควรจะเปนมวลของโปรตอนในนิวเคลียส แตตอมา มีการคนพบวา มวลอะตอมของธาตมุ กั จะมีคา เปน 2 เทาของ ก า ร พั ฒ น า แ บ บ จํ า ล อ ง อ ะ ต อ ม ข อ ง นั ก วิทยาศาสตรจากอดีตถึงปจจุบัน ดวยการ มวลของโปรตอนทั้งหมด รัทเทอรฟอรดจึงไดเสนอความเห็น สลับกันอภิปรายวิธีการสรางแบบจําลอง เพม่ิ เตมิ วา นา จะมอี นภุ าคทม่ี มี วลใกลเ คียงกบั โปรตอน แตไ มมี ประจไุ ฟฟา รวมอยูในนวิ เคลยี สดว ย และผลสรุปท่ีไดของนักวิทยาศาสตรจนครบ ภาพท่ี 1.7 ลอรด เออรเนสท ตอ มา เซอร เจมส แชดวกิ (Sir James Chadwick) ทาํ การ ทกุ คน รัทเทอรฟ อรด 10. ครใู หน กั เรยี นเขยี นลาํ ดบั ขนั้ ตอนแบบจาํ ลอง ทม่ี า : คลงั ภาพ อจท. ทดลองยงิ อนภุ าคแอลฟาไปยงั แผน โลหะเบรลิ เลยี ม (Be) ปรากฏ วา ไดอ นภุ าคใหมท ม่ี มี วลใกลเ คยี งกบั โปรตอน และเปน กลางทางไฟฟา เรยี กอนภุ าคนวี้ า นวิ ตรอน อะตอมของนักวิทยาศาสตรจากอดีตถึง ปจจุบัน และวาดภาพโครงสรางอะตอมท่ี 4. แบบจําลองอะตอมของโบร นลี ส โบร (Niels Bohr) นักวิทยาศาสตรแตละคนไดเสนอลงใน ไดพัฒนาแบบจําลองอะตอมมาจากการคนพบสีของเสน สเปกตรัมของไฮโดรเจน โดยสรุปวา อิเล็กตรอนเคล่ือนที่อยู กระดาษ A4 โดยนําเสนอในรูปแบบตาราง ดงั น้ี รอบนวิ เคลยี สและมพี ลงั งานเฉพาะตวั ซง่ึ อยใู นระดบั พลงั งานตาํ่ หรอื เรยี กวา สภาวะพน้ื (ground state) เมอื่ อะตอมไดร บั พลงั งาน ภาพแสดง เพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนจะถูกกระตุนใหมีพลังงานสูงข้ึนและ แบบจําลอง ลักษณะแบบ แบบจาํ ลอง เม่ือมีพลังงานที่เหมาะสม ภาพท่ี 1.8 แบบจําลองอะตอม อะตอม จาํ ลองอะตอม อิเล็กตรอนจะเคล่ือนที่ไปอยู ของโบร อะตอม ทีม่ า : คลงั ภาพ อจท. ดอลตนั ในระดบั พลงั งานทสี่ งู กวา หรอื เรยี กวา สภาวะกระตนุ (excited state) ทอมสัน ซ่ึงทําใหอะตอมไมเสถียร อิเล็กตรอนจึงคายพลังงานท่ีดูดกลืน เแขลาะไคปาอยอพกลมังางานเพอื่ออกเปมลาี่ยในนรรปู ะดสับเปลกงตมราัมส1ูระดับพลังงานท่ีต่ํากวา รัทเทอรฟอรด โบร ภาพที่ 1.9 นีลส โบร แบบกลุม หมอก ทมี่ า : คลงั ภาพ อจท. 11. ครสู มุ นกั เรยี น 2-3 คู ออกมานาํ เสนอลกั ษณะ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 5 ของแบบจาํ ลองอะตอมทร่ี วมกนั สรุป ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู แบบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ หมอกอธบิ ายสง่ิ ใดเกย่ี วกบั อะตอม ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ระดบั ชน้ั พลงั งานในแบบจาํ ลองอะตอมของนลี ส ไดดีกวาแบบจําลองอะตอมของโบร โบรว า จากการท่นี ีลส โบรไดศ ึกษาเกีย่ วกบั สเปกตรัมของธาตไุ ฮโดรเจน พบวา ธาตไุ ฮโดรเจนซึง่ มีเพยี ง 1 อิเล็กตรอน แตส ามารถเกดิ สเปกตรมั ได 4 เสน โดย 1. ขนาดของอะตอม แตล ะเสน มสี แี ละความถตี่ า งกนั ดงั นนั้ แสดงวา อเิ ลก็ ตรอนไมไ ดอ ยทู ร่ี ะดบั เดยี ว 2. การเคล่ือนที่ของอเิ ลก็ ตรอน แตอ ยไู ดห ลายระดบั ซงึ่ หา งจากนวิ เคลยี สไมเ ทา กนั แตล ะระดบั เรยี กวา “ระดบั 3. ชนิดของอนุภาคทพี่ บในอะตอม พลังงาน” ซึ่งมีคาเฉพาะตัว ระดับพลังงานตํ่าสุดจะอยูใกลนิวเคลียส เรียกวา 4. การจัดเรยี งอิเล็กตรอนในอะตอม ระดบั พลังงาน K และระดับถัดออกไป คือ L M N O P และ Q ตามลาํ ดบั 5. จาํ นวนอิเล็กตรอนในแตละระดับพลงั งาน (วิเคราะหคําตอบ แบบจําลองอะตอมของโบร อิเล็กตรอนจะ นักเรียนควรรู เคลอ่ื นทรี่ อบนวิ เคลยี สเปน วงกลม แตแ บบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ หมอก การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสจะมีทิศทางไม 1 สเปกตรัม เปนอนุกรมของแถบสีหรือเสนที่ไดจากการผานพลังงานรังสี แนนอน ดังนัน้ ตอบขอ 2.) เขา ไปในสเปกโตรสโคป หรอื สเปกโตรมเิ ตอร ซงึ่ ทาํ ใหพ ลงั งานรงั สแี ยกออกเปน แถบหรอื เปนเสน ท่ีมคี วามยาวคล่ืนตางๆ เรยี งลาํ ดบั กันไป T9

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน การเปลยี่ นระดบั พลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน อาจมกี ารเปลย่ี นไปยงั ระดบั พลงั งานทอ่ี ยตู ดิ กนั หรอื ขา มระดบั กไ็ ด โดยผลตา งของพลงั งานระหวา งระดบั พลงั งานตาํ่ จะมากกวา ผลตา งของพลงั งาน อธบิ ายความรู้ ระหวา งระดบั พลงั งานทสี่ งู ขนึ้ ไป โดยกาํ หนดระดบั พลงั งานทอี่ ยใู กลน วิ เคลยี สซงึ่ มพี ลงั งานตา่ํ ทส่ี ดุ คือ ช้ัน K สว นชน้ั ถัดไปเปนชน้ั L, M, N, … ตามลาํ ดบั แตในปจจุบันใช n แทน ระดับพลงั งาน 1. ครูต้ังคําถามเพ่ือทดสอบความเขาใจของ รอบนิวเคลียส โดยเรียกระดับพลังงานที่อยูใกลนิวเคลียสเปน นักเรียนเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอมของ ระดับพลังงานแรก n = 1 และเรียกระดับพลังงานถัดไปเปน ดอลตัน แบบจําลองอะตอมของทอมสนั และ n = 2, 3, 4, … ตามลําดบั แบบจําลองอะตอมของรทั เทอรฟอรด ดงั นี้ • แบบจาํ ลองอะตอมของดอลตนั ทอมสนั และ 5. แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก จากการศกึ ษา รทั เทอรฟ อรด มลี กั ษณะแตกตา งกนั อยา งไร พบวา แบบจาํ ลองอะตอมของโบรใ ชอ ธบิ ายเกยี่ วกบั เสน สเปกตรมั (แนวตอบ อนุภาคภายในอะตอม โดย ของธาตุไฮโดรเจนไดดี แตไมสามารถอธิบายเสนสเปกตรัม ดอลตันบอกวาอะตอมไมสามารถแบง ของอะตอมท่ีมีหลายอิเล็กตรอนได จึงไดมีการศึกษาเพ่ิมเติม แยกได ทอมสันพบอนุภาค 2 ชนิด คือ ทางกลศาสตรควอนตัม แลวสรางสมการสําหรับใชคํานวณ ภาพที่ 1.10 แบบจําลองอะตอมแบบ โปรตอนกับนิวตรอน สวนรัทเทอรฟอรด โอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานตาง ๆ ข้ึนมา จนได กลมุ หมอก พบ 3 อนภุ าค คือ โปรตอน นิวตรอน และ ท่ีมา : คลงั ภาพ อจท. อิเลก็ ตรอน) แบบจาํ ลองใหม ที่เรียกวา แบบจําลองอะตอมแบบกลมุ หมอก ซึ่งมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี • อนุภาคมูลฐานของอะตอมประกอบดวย • อเิ ลก็ ตรอนเคลอื่ นทรี่ อบนวิ เคลยี สอยา งรวดเรว็ ดว ยรศั มไี มแ นน อน จงึ ไมส ามารถบอก อะไรบาง และนักวิทยาศาสตรทานใดเปน ตําแหนงท่ีแนนอนของอิเล็กตรอนได บอกไดแตเพียงโอกาสท่ีจะพบอิเล็กตรอนในบริเวณตาง ๆ ผูคนพบ ปรากฏการณแ บบนเ้ี รยี กวา กลมุ หมอกของอเิ ลก็ ตรอน บรเิ วณทม่ี กี ลมุ หมอกอเิ ลก็ ตรอนหนาแนน (แนวตอบ อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอน จะมีโอกาสพบอิเลก็ ตรอนมากกวาบริเวณที่เปนหมอกจาง คนพบโดยทอมสัน โปรตอน คนพบโดย • การเคลอ่ื นทข่ี องอเิ ลก็ ตรอนรอบนวิ เคลยี สอาจเปน รปู ทรงกลมหรอื รปู อน่ื ๆ ขน้ึ อยกู บั โกลดส ไตน และนวิ ตรอน คน พบโดยแชดวกิ ) ระดบั พลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน แตผ ลรวมของกลมุ หมอกของอเิ ลก็ ตรอนทกุ ระดบั พลงั งานจะเปน รปู ทรงกลม 2. ครูตั้งคําถามเพื่อทดสอบความเขาใจของ ดงั นน้ั จงึ สามารถสรุปลักษณะของแบบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ หมอกได ดังน้ี “อะตอม นักเรียนเก่ียวกับแบบจําลองอะตอมของโบร ประกอบดว ยกลมุ หมอกของอเิ ลก็ ตรอนรอบนวิ เคลยี ส มลี กั ษณะเปน ทรงกลม บรเิ วณกลมุ หมอกทบึ และแบบกลมุ หมอก โดยทีค่ รูคอยอธิบายและ แสดงวา โอกาสพบอเิ ลก็ ตรอนมมี าก และบรเิ วณทกี่ ลมุ หมอกจางโอกาสทจี่ ะพบอเิ ลก็ ตรอนมนี อ ย” เสริมขอมลู ทถ่ี กู ตองใหก บั นกั เรยี น แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอกท่ีนักวิทยาศาสตรเสนอข้ึนมา ทําใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับ • แบบจําลองอะตอมของโบรมีขอเสียอยางไร โครงสรางของอะตอมมากข้ึน และสามารถเขาใจปรากฏการณบางอยางที่ไมสอดคลองกับ จึงทําใหมีการพัฒนาแบบจําลองอะตอม ทฤษฎอี ะตอมของโบรไ ด แบบกลมุ หมอกขน้ึ มา แบบจาํ ลองอะตอมแบบตา ง ๆ นนั้ ถกู สรา งขนึ้ ตามจนิ ตนาการบนพนื้ ฐานของความรตู าม (แนวตอบ แบบจําลองอะตอมของโบร แตละยุคสมยั และเม่ือนกั วทิ ยาศาสตรค นพบขอ บกพรอ ง หรอื มคี วามรใู หม ๆ เกิดข้นึ ก็จะนาํ ไปสู ใชอธิบายไดดีเฉพาะอะตอมท่ีมีเพียงตัว การเปลย่ี นแปลงแบบจาํ ลองอะตอม เพอ่ื ใหเ กดิ ความเหมาะสมและถกู ตอ งตอ ไป โดยสามารถสรปุ เดียว ไมสามารถอธิบายธาตทุ ี่มอี เิ ลก็ ตรอน และเปรียบเทยี บโครงสรางอะตอมตามแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ได ดังน้ี มากกวา 1 ตัวได) 6 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET ครอู าจอธบิ ายเพ่มิ เตมิ วา รูปทรงตางๆ ของกลุมหมอกอิเล็กตรอนจะขึ้นอยู ขอใดกลาวถกู ตอ งเกี่ยวกับแบบจําลองอะตอม กับระดับพลังงานของอเิ ลก็ ตรอน การใชทฤษฎีควอนตมั จะสามารถอธิบายการ 1. อะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอนและโปรตอน จัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสไดเปนออรบิทัล (orbital) ในระดับ 2. อะตอมเปน อนภุ าคที่เล็กที่สดุ ทีไ่ มสามารถแบง แยกได พลังงานยอ ย s p d f โดยแตละออรบ ทิ ัลจะบรรจอุ เิ ลก็ ตรอนได ดงั นี้ 3. อะตอมประกอบดวยนิวเคลยี สขนาดเล็กที่มีประจบุ วก โดยมอี เิ ล็กตรอนเคล่อื นทอ่ี ยูรอบๆ s orbital มี 1 ออรบ ิทัล หรอื 2 อิเล็กตรอน 4. อะตอมมอี เิ ล็กตรอนเคล่อื นท่อี ยูร อบนวิ เคลียสตามระดับ p orbital มี 3 ออรบทิ ัล หรือ 6 อเิ ลก็ ตรอน พลังงานซึ่งจะมีพลงั งานเฉพาะตัว d orbital มี 5 ออรบ ทิ ัล หรอื 10 อิเล็กตรอน 5. อะตอมประกอบดวยกลุมหมอกของอิเลก็ ตรอนรอบ f orbital มี 7 ออรบ ิทลั หรอื 14 อเิ ล็กตรอน นิวเคลียสท่มี ีลักษณะเปนทรงกลม (วิเคราะหคําตอบ จากการศึกษาเก่ียวกับแบบจําลองอะตอม T10 ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน แบบจําลองอะตอมไดเปลี่ยนแปลง รปู รา งตามการคน พบตา ง ๆ ซง่ึ ปจ จบุ นั เปน แบบจาํ ลองอะตอมเปน แบบกลุมหมอก ดังนั้น ตอบขอ 5.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ Ẻ¨Òí ÅͧÍеÍÁ ขน้ั สอน พ.ศ. 2346 ´Íŵѹ ขยายความเขา้ ใจ พ.ศ. 2447 เปนทรงกลมตัน มีขนาดเล็กทส่ี ุด ไมส ามารถแบงแยกได พ.ศ. 2454 สง่ิ ทีพ่ บในแบบจาํ ลอง : - 1. ครูใหนักเรียนดูและศึกษาเร่ือง แบบจําลอง อะตอม จากส่ือ PowerPoint พรอมกับท่ีครู ·ÍÁÊ¹Ñ บรรยายสรุปตามไปกับส่ือการสอน เพ่ือให เปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนซ่ึงมีประจุบวกและ นักเรียนเกิดมโนทัศนในส่ิงท่ีนักเรียนไดศึกษา อิเล็กตรอนท่ีมีประจุลบกระจายอยูอ ยา งสม่ําเสมอ มาแลว สงิ่ ทพี่ บในแบบจําลอง : โปรตอนและอิเล็กตรอน 2. ครูและนกั เรียนชว ยกนั สรปุ เกี่ยวกับแนวคิดใน Ã·Ñ à·ÍÏ¿ÍÏ´ การพฒั นาแบบจําลองอะตอมอกี ครงั้ เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสท่ีมีประจุบวกอยูตรง 3. ครเู ปดโอกาสใหนกั เรยี นสอบถามเนอ้ื หา เรอื่ ง กลางอะตอม โดยมีอิเล็กตรอนท่ีมีประจุลบว่ิงอยูรอบ ๆ แบบจําลองอะตอมของนักวิทยาศาสตรแตละ นวิ เคลียส ทานวา มสี ว นไหนท่ไี มเ ขา ใจและครูใหความรู เพม่ิ เตมิ ในสวนน้ัน ส่ิงท่ีพบในแบบจําลอง : นิวเคลียส ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน âºÃ เปน ทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยกู ลางอะตอม โดยมี อเิ ลก็ ตรอนเคลอื่ นทอ่ี ยโู ดยรอบอะตอมเปน ระดบั ชนั้ พลงั งาน พ.ศ. 2456 ส่ิงที่พบในแบบจาํ ลอง : ระดบั ชนั้ พลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน Ẻ¡ÅÁ‹Ø ËÁÍ¡ เปนทรงกลม ประกอบดวยนิวเคลียสอยูกลางอะตอม และ อเิ ลก็ ตรอนเคลอื่ นทอ่ี ยรู อบ ๆ นวิ เคลยี ส ไมม ที ศิ ทางทแี่ นน อน พ.ศ. 2469-ปจจุบัน สง่ิ ทพี่ บในแบบจําลอง : ความหนาแนนของอเิ ล็กตรอน และ โอกาสหรอื ความเปนไปไดใ นการพบอเิ ลก็ ตรอน แบบจําลองอะตอม â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 7 กจิ กรรม สรางเสริม เกร็ดแนะครู ใหน กั เรยี นสรปุ ลกั ษณะโครงสรา งอะตอมของนกั วทิ ยาศาสตร ครูสามารถใหน ักเรียนใชสมารตโฟนสแกน QR Code เรอื่ ง แบบจาํ ลอง ทา นตา งๆ และทาํ ตารางเปรยี บเทยี บความแตกตา งของโครงสรา ง อะตอมในหนังสือเรียน เพ่ือทบทวนเก่ียวกับแบบจําลองอะตอมรวมกับการ อะตอมของนักวทิ ยาศาสตรแ ตล ะทา นลงในกระดาษ A4 แลวสง ศึกษาเน้ือหาในหนงั สือเรยี น ครผู ูส อน ส่ือ Digital กจิ กรรม ทา ทาย ศึกษาเพมิ่ เติมไดจ าก QR Code เรื่อง แบบจาํ ลองอะตอมของโบร ใหนักเรียนลองสรางแบบจําลองของอะตอมตามแนวคิด ของนักวิทยาศาสตรทานตางๆ จากอุปกรณที่หาไดสะดวก เชน แบบจําลองอะตอมของโบร กระดาษ ดนิ น้ํามนั แลวนาํ ผลงานท่ีสรา งสง ครูผูสอน www.aksorn.com/interactive3D/RKB14 T11

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั นาํ 1.2 ͧ¤»ÃСͺ¢Í§ÍеÍÁ กระตนุ้ ความสนใจ จากการทดลองของนักวิทยาศาสตรที่กลาวมาแลว ทําใหทราบวา อะตอมประกอบดวย อนุภาคโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยูภายในนิวเคลียส และมีอนุภาคอิเล็กตรอนเคล่ือนที่อยู ครถู ามคําถามนกั เรียนเพือ่ กระตนุ ความสนใจ รอบ ๆ ดงั ภาพท่ี 1.11 ของนกั เรยี น กอ นนาํ เขา สบู ทเรยี นเรอื่ ง องคป ระกอบ ของอะตอม ¹ÇÔ à¤ÅÕÂÊ ÍÔàÅ硵Ã͹ (e-) â»ÃµÍ¹ (p+) • จากการศึกษา เร่ือง แบบจําลองอะตอม ¹ÇÔ µÃ͹ (n) นักเรียนสามารถบอกไดหรือไมวาอะตอม ประกอบดวยอนุภาคใดบา ง ภาพท่ี 1.11 อนุภาคมลู ฐานของอะตอม (แนวตอบ โปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน) ท่ีมา : คลงั ภาพ อจท. • นักเรียนคิดวาธาตุทุกชนิดจะมีจํานวน ตารางที่ 1.1 : การเปรียบเทียบความแตกตา งของอนุภาคมลู ฐานของอะตอม โปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน เทา กนั หรอื ไม อนภุ าค สญั ลกั ษณ ชนดิ ประจุ มวล (g) มวลเปรียบเทียบ (แนวตอบ ธาตุแตละชนิดไมจําเปนตองมี 1 โปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอนเทากนั ) อิเลก็ ตรอน e- -1 9.109 × 10-28 1,836 ขน้ั สอน โปรตอน p+ +1 1.673 × 10-24 1,839 สาํ รวจคน้ หา นวิ ตรอน n 0 1.675 × 10-24 1. ครใู หน กั เรยี นแบง กลมุ ออกเปน 4 กลมุ จากนน้ั 1. สัญลักษณน วิ เคลียร (nuclear symbol) คอื สัญลักษณท่ีแสดงชนิดของธาตุ เลขมวล ใหผูแทนนักเรียนของแตละกลุมออกมาจับ สลากเลือกหัวขอในการสืบคนขอมูลจาก และเลขอะตอมของธาตุ โดยเราสามารถใชเ ลขมวลและเลขอะตอมในการหาจาํ นวนอนภุ าคมลู ฐาน หนังสือเรียนหรือแหลงเรียนรูตางๆ ดังหัวขอ ของอะตอมได ซึ่งเขยี นแทนดว ยสญั ลักษณ ดงั น้ี ตอไปน้ี • สญั ลกั ษณนวิ เคลียร ÊÞÑ Å¡Ñ É³¢Í§¸ÒµØ • โมเลกุล • ไอออน àÅ¢ÁÇÅ (mass number) AZX จะไดวา • ไอโซโทป เปนตวั เลขทแ่ี สดงผลรวมของ จํานวนโปรตอน = Z จาํ นวนโปรตอนและนิวตรอน จาํ นวนอเิ ล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = Z 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมาสรุปเกี่ยวกับ àÅ¢ÍеÍÁ (atomic number) จํานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม หัวขอท่ีจับสลากไดในรูปแบบที่นาสนใจและ เปน ตัวเลขทแ่ี สดงจํานวนโปรตอน =A - Z เขาใจงาย ภาพที่ 1.12 สญั ลักษณน ิวเคลยี ร (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช 8 แบบสังเกตพฤติกรรมการทาํ งานกลุม) ที่มา : คลงั ภาพ อจท. เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET ในการสอน เร่ือง สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ ครูควรใหนักเรียนไดฝก ขอ ความใดกลา วถงึ อะตอมไดถูกตองที่สุด ทําโจทยเพ่ือใหเกิดความเขาใจ โดยครูอาจเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ 1. อะตอมอยูเปน อิสระได แลวใหนักเรียนตอบทีละคนวาเปนสัญลักษณของธาตุใด มีโปรตอน นิวตรอน 2. นิวเคลียสในอะตอมมปี ระจุเปนกลางเสมอ และอิเลก็ ตรอนจาํ นวนเทา ใด 3. เมื่ออะตอมเสยี อเิ ลก็ ตรอนจะเกิดเปน ไอออนบวก 4. เมื่อจํานวนโปรตอนเทา กับจํานวนนวิ ตรอนจะทาํ ใหอ ะตอม สื่อ Digital เปน กลาง 5. เมอ่ื จาํ นวนโปรตอนมากกวา จาํ นวนนวิ ตรอนจะทาํ ใหอ ะตอม ศึกษาเพิ่มเติมไดจากภาพยนตรสารคดีสั้น Twig เรื่อง อะตอมคืออะไร? กลายเปน ไอออนบวก https://twig-aksorn. (วิเคราะหคําตอบ เม่ืออะตอมเสียอิเล็กตรอนไปซึ่งเปนการเสีย com/film/what-is-an- atom-8157/ ประจุลบ ทําใหอะตอมกลายเปนไอออนบวก เชน อะตอมของ ลิเทียม (Li) เมื่อเสียอิเล็กตรอนใหธาตุอ่ืนไป 1 อนุภาค จะเปน T12 ลเิ ทียมไอออน (Li+) ดังนนั้ ตอบขอ 3.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ตัวอย่างท่ี 1.1 ขนั้ สอน ธาตุลิเทยี มมสี ญั ลกั ษณน วิ เคลยี ร คอื 73Li จงหาจํานวนอนุภาคมลู ฐานของธาตลุ เิ ทยี ม อธบิ ายความรู้ วธิ ที ํา จํานวนโปรตอน = เลขอะตอม = 3 1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการ จํานวนอิเลก็ ตรอน = จํานวนโปรตอน = 3 สืบคน โดยครถู ามคาํ ถาม ดงั น้ี จาํ นวนนวิ ตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 7 - 3 = 4 • สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ จะมีตัวเลข กํากบั ไว 2 ตวั ซ่ึงตวั เลขนน้ั หมายถงึ ส่งิ ใด ดังนั้น ธาตุลิเทียมมีจํานวนโปรตอนเทากับ 3 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 3 และจํานวนนิวตรอน (แนวตอบ ตวั เลขตัวลาง คือ จาํ นวนโปรตอน เทากับ 4 ตอบ ตวั เลขดา นบน คือ จํานวนโปรตอนรวมกบั นวิ ตรอน) ธาตตวั คุ อรยิป่าทงอท1นี่ ม1สี ัญ.2ลกั ษณน วิ เคลยี ร คอื 8346Kr จงหาจํานวนอนุภาคมูลฐานของธาตคุ ริปทอน • โมเลกลุ คอื อะไร แตกตา งจากอะตอม อยางไร วธิ ที าํ จาํ นวนโปรตอน = เลขอะตอม = 36 (แนวตอบ อะตอม คือ อนภุ าคทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ ของ จํานวนอิเล็กตรอน = จํานวนโปรตอน = 36 ธาตุท่ียังแสดงลักษณะและสมบัติของธาตุ จํานวนนิวตรอน = เลขมวล - เลขอะตอม = 84 - 36 = 48 นั้นๆ สวนโมเลกุล คือ อนุภาคท่ีเล็กที่สุด ของสารท่สี ามารถอยูไดอ สิ ระ ประกอบดวย ดงั นน้ั ธาตคุ รปิ ทอนมจี ํานวนโปรตอนเทา กับ 36 จาํ นวนอเิ ล็กตรอนเทา กับ 36 และจํานวนนิวตรอน หนึง่ อะตอมหรือมากกวาหนึ่งอะตอม) เทา กับ 48 ตอบ • ธาตทุ เี่ ปน ไอโซโทปกนั ตองเปน ธาตุชนดิ เดยี วกนั เสมอไปหรอื ไม 2. โมเลกุล (molecule) คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตหุ รือสารประกอบทอ่ี ยไู ดอยางอสิ ระ (แนวตอบ ธาตทุ เี่ ปน ไอโซโทปกนั จะมจี าํ นวน โปรตอนหรอื เลขอะตอมเทา กนั แตม จี าํ นวน และยงั คงแสดงสมบตั ขิ องธาตหุ รอื สารประกอบนนั้ ๆ เกดิ จากอะตอมอยา งนอ ย 2 อะตอมมารวมกนั นิวตรอนแตกตางกัน ดังน้ัน ธาตุท่ีเปน ไอโซโทปกนั ตอ งเปน ธาตชุ นดิ เดยี วกนั เสมอ) และจัดเรียงตัวอยางแนนอน โมเลกุลหน่ึง ๆ อาจจะประกอบดวยอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน • ธาตุท่ีไดรับอิเล็กตรอนเพิ่มเขามาจะกลาย หรอื ตา งชนดิ กนั กไ็ ด ตวั อยา งเชน แกส ไฮโดรเจน (H2) เปน ธาตบุ รสิ ทุ ธทิ์ ป่ี ระกอบกนั เปน โมเลกลุ โดย เปนไอออนชนิดใด และธาตุท่ีสูญเสีย การรวมตวั ของไฮโดรเจน 2 อะตอมเขา ดวยกนั น้าํ (H2O) เปนโมเลกุลของสารประกอบทเี่ กดิ จาก อเิ ล็กตรอนไปจะกลายเปนไอออนชนิดใด ไฮโดรเจน 2 อะตอมรวมตวั กับออกซิเจน 1 อะตอม (แนวตอบ ไอออนลบและไอออนบวก ตาม ลาํ ดบั ) H HH H O ภาพที่ 1.13 โมเลกลุ ของแกส ไฮโดรเจน ภาพที่ 1.14 โมเลกุลของน้ํา ท่มี า : คลงั ภาพ อจท. ทีม่ า : คลงั ภาพ อจท. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 9 ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู พจิ ารณาคําอธบิ ายตอ ไปน้ี ก. H มจี าํ นวนโปรตอนเทากับ D ครนู าํ โมเดลโมเลกลุ มาใชร ว มกบั การอธบิ ายโมเลกลุ เพอ่ื ใหน กั เรยี นเหน็ ภาพ ข. P มจี ํานวนนวิ ตรอนนอยกวา S โมเลกุลไดชัดเจนมากขึ้น อาจจะใชดินนํ้ามันสีตางๆ กับไมจิ้มฟนแทนโมเดล ค. O2- มีจาํ นวนอเิ ลก็ ตรอนเทากับ F- โมเลกลุ กไ็ ด ง. Al มจี ํานวนอนภุ าคมูลฐานท้งั หมด 27 ตวั ขอใดอธิบายสัญลกั ษณนิวเคลยี รไ ดถกู ตอ ง นักเรียนควรรู 1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค. 3. ก. และ ง. 4. ข. และ ง. 5. ค. และ ง. 1 ธาตคุ รปิ ทอน เปน ธาตหุ มู 8 ในตารางธาตุ มเี ลขอะตอม 36 เปน แกส เฉอ่ื ย ไมมีสี สามารถแยกออกจากอากาศไดโดยอดั อากาศใหเปน ของเหลว ใชค วบคู (วเิ คราะหค าํ ตอบ 11131H8561OPแ2ล-แะแลละ21ะD131692ม9SFจี- ํามมนจีีจวําํานนนโววปนนรอตนิเอิลวนตก็ ตเรทอราอนกนเบัทเทา1ากกับบั 16 กับอารก อน (Ar) สําหรับหลอดเรอื งแสง เพอ่ื เพมิ่ ความสวา งและประสิทธภิ าพ 10 ของหลอดไฟ อนภุ าคมลู ฐานประกอบดว ยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน 1237Al มจี าํ นวน อนภุ าคมลู ฐานทงั้ หมด 13 + 13 + 14 = 40 ตวั ดังนน้ั ตอบขอ 2.) T13

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ธาตบุ างชนดิ ในธรรมชาติ เชน แกส มตี ระกลู หรอื แกส เฉอ่ื ย (inert gas) ไดแ ก ฮเี ลยี ม (He) นีออน (Ne) อารก อน (Ar) คริปทอน (Kr) ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn) โมเลกลุ ของแกส เหลา นี้ อธบิ ายความรู้ มีเพียง 1 อะตอมเทาน้ันที่เปนองคประกอบ จึงจัดเปนโมเลกุลประเภท โมเลกุลอะตอมเด่ียว (monoatomic molecule) 2. ครอู ธบิ ายความรเู กยี่ วกบั โมเลกลุ วา เปน อนภุ าค ธาตบุ างชนดิ จะอยใู นรูปโมเลกุลทีป่ ระกอบดวย 2 อะตอม ซึง่ อยูด ว ยกันโดยแรงดงึ ดูด ทเี่ ลก็ ทส่ี ดุ ของสาร ซง่ึ สามารถอยไู ดอ ยา งอสิ ระ ซไทน่ึงาโองตเะรคตเมจอีนมเรใ(นยีNกโ2ม)วเแา ลลกโะมุลธเคาลตูอกใุาุลนจอหจะมะตเูปอ7Aนมขคไอูด(งแdธกiaา tฟตoุตmลาอู iงcอชรmนนี oิด(lกFe2cัน)uกคle็ไล)ดอไรดเนีมแ ื่อก(Cม lไา2ฮ)รโวโดบมรรกเมจันนีนจึง((BเHกr22ิด))เแปอลนอะสกไาซอรโเิ ปอจนดระนี ก(O(อI22บ)) ในธรรมชาติ และสามารถแสดงสมบัติเฉพาะ 1A 8A เชน ไฮโดรเจนคลอไรด (HCl) คารบอน- ตัวของสารนั้นได โมเลกุลเกิดจากอะตอม H 2A 3A 4A 5A 6A 7A มอนอกไซด (CO) ไฮโดรเจนฟลอู อไรด (HF) ต้งั แต 2 อะตอมขนึ้ ไป มารวมกนั ในทางเคมี NOF เปนตน สําหรับโมเลกุลท่ีมีอะตอมมากกวา เมื่อพิจารณาถึงชนิดของอะตอมท่ีมารวมกัน Cl สามารถจาํ แนกโมเลกลุ ไดเ ปน 2 ประเภท ดงั นี้ Br 2 อะตอมข้ึนไป เรยี กวา โมเลกลุ หลายอะตอม • โมเลกุลของธาตุ ประกอบดวยอะตอมชนดิ I (polyatomic molecule) ซ่ึงอาจเกิดจาก เดยี วกนั มารวมกนั เชน แกส ไนโตรเจน (N2) ทอะปี่ ตรอะกมอขบอดงธว ายตกชุาํ มนะดิ ถเดนั ยี 8วกอนัะตเอชมน มกาาํเชมอ่ืะถมนัตอ (กS8นั ) ประกอบดวยไนโตรเจน 2 อะตอม แกส หรือเปนธาตุตางชนิดกันมารวมกันเปน ออกซิเจน (O2) ประกอบดวยออกซิเจน 2 ภาพท่ี 1.15 ธาตุท่ีปรากฏในรูปของโมเลกุลอะตอมคู สการรดปคราะรกบ ออบนกิเช(น Hน2Cํา้ O(H3)2O) แอมโมเนยี (NH3) อะตอม กาํ มะถนั (S8) ประกอบดว ยซลั เฟอร ทม่ี า : คลงั ภาพ อจท. 8 อะตอม • โมเลกุลของสารประกอบ ประกอบดวย Science Focus ÊÙµÃà¤ÁÕ อะตอมตา งชนดิ กนั มารวมกนั เชน นาํ้ (H2O) ประกอบดวยไฮโดรเจน 2 อะตอม และ สตู รเคมี (chemical formula) คอื กลมุ ของสญั ลกั ษณข องธาตทุ เี่ ขยี นแทนสารประกอบ หรอื โมเลกลุ ออกซิเจน 1 อะตอม แอมโมเนีย (NH3) ของธาตทุ ม่ี อี ะตอมมารวมกนั ตงั้ แต 2 อะตอมขน้ึ ไป แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื สตู รโมเลกลุ สตู รอยา งงา ย ประกอบดวยไนโตรเจน 1 อะตอม และ และสูตรโครงสราง ไฮโดรเจน 3 อะตอม กรดคารบอนิก (H2CO3) ประกอบดว ยไฮโดรเจน 2 อะตอม คารบ อน 1 อะตอม และออกซเิ จน 3 อะตอม • สตู รโมเลกุล เปนสูตรทเี่ ขยี นแสดงองคประกอบที่มอี ยใู น 1 โมเลกลุ วา ประกอบดวยอะตอม แ1ขกอโมสงธคเลาาตกรุอลุบ ะอจไนะรปไบดราอะงกอแอกลบไะซดมดว ีจยาํ1ไนฮโวโมดนเรเลทเกจานลุ ใด2ปเรอชะะนกตอแอบกมดสแวไกฮยสคโดคารราเบรจบอนอนมนสี 1ไูตดรออโะอมตกเอลไมซกุลดแเม ปลสี ะน ตูอรHอโก2มซแเลิเสจกดนลุ งเว2ปาน อแะCกตOส อไ2มฮแโสดดรเงจวนา • สูตรอยา งงา ย เปน สตู รท่ีเขียนแสดงองคป ระกอบที่มีอยูใน 1 โมเลกุลวา ประกอบดว ยอะตอม ของธาตใุ ดมารวมกันในอตั ราสวนอยา งต่าํ ของธาตทุ เี่ ปนองคป ระกอบ เชน (CH2O)n เปน สูตรอยางงา ย ของกลโู ค• สส(ูตCร6โHค1ร2งOส6ร)า ง เปนสูตรทเ่ี ขียนแสดงองคป ระกอบทีม่ ีอยใู น 1 โมเลกลุ วา ประกอบดวยอะตอม ของธาตใุ ดบา ง อยา งละกอี่ ะตอม และอะตอมแตล ะอะตอมยดึ เหนยี่ วกนั ดว ยพนั ธะชนดิ ใด เชน แกส CO2 มสี ตู รโครงสรา งเปน O C O 10 ขอสอบเนน การคิด จากจํานวนเลขอะตอม เลขมวล ชนิด และจํานวนอนุภาคของธาตุ A ถงึ C สญั ลกั ษณ โปรตอน อเิ ลก็ ตรอน นิวตรอน อะเลตขอม เลขมวล ขอ ใดคือสัญลกั ษณนวิ เคลียรทถี่ กู ตอ งของธาตุ A B และ C A ................. 11 1. 2131A 1237B และ 1375C2+ 2. 2131A 1237B และ 3157C2+ B ................. ................. ................. 23 C2+ 17 ................. 3. 2122A 2164B และ 1382C2+ 4. 2122A 1246B และ 1382C2+ 13 14 ................. 18 ................. 5. 1213A 1237B และ 1355C2+ ................. ................. (วิเคราะหคําตอบ เลขอะตอมเปนตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน สวนเลขมวลเปนตัวเลขท่ีแสดงผลรวมของจํานวนโปรตอนและ นิวตรอน ดงั น้ัน ธาตุ A สัญลกั ษณน ิวเคลยี รเปน 1213A เพราะมีเลขมวลเทากับ 23 และเลขอะตอมเทา กับ 11 ธาตุ B สัญลักษณนิวเคลียรเปน 1237B เพราะมีอิเล็กตรอนเทากับ 13 ซึ่งจะเทากับจํานวนโปรตอน เลขอะตอมจึงเทากับ 13 และเลขมวลเทา กบั 13 + 14 = 27 ธาตุ C สัญลกั ษณนิวเคลยี รเ ปน 1375C2+ เพราะมโี ปรตอนเทา กบั 17 จงึ มเี ลขอะตอมเทา กบั 17 ดว ย สว นเลขมวลจะเทา กบั 17 + 18 = 35 ดังน้ัน ตอบขอ 1.) T14

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ 3. ไอออนและไอโซโทปของธาตุ 3. ครตู ง้ั คาํ ถามเพอ่ื ขยายความเขา ใจของนกั เรยี น เก่ยี วกบั สญั ลกั ษณนวิ เคลียร โมเลกลุ ไอออน อธาิเลตก็ทุ ตมี่ รจี อาํ น1น)มวนาไกออกเิอลวอก็านตจาํร(นอioนวnนน)โอ ปคยอืรกตวธอา านจตาํวุทนามี่วไนจี อาํโอปนอรวนตนอลอนบิเ2ลว(็กา aตnไอiรoออnนอ)กนตบับัวจวอกาํ1ยนา(วcงaนเtชiโoปนnร)ตแอลนะไเมรยี เ ทกธากาตันทุ โมี่ ดจี ยาํ เนรียวนก และไอโซโทปธาตุ ดังนี้ • จงหาจํานวนโปรตอน นวิ ตรอน และ อิเล็กตรอนของไอออนตอไปนี้ โซเดียมไอออน ซัลเฟอรไอออน (21แ42Mนวgต2อ+บ แมก13ซ61Pีเซ2-ยี มไออ2566อFนe3+ มสี ญั ลกั ษณนิวเคลียร คอื มสี ัญลกั ษณน ิวเคลียร คอื Na23+ จํานวนโปรตอน = 11 Sไอออนบวก 32 2- จาํ นวนโปรตอน = 16 ไอออนลบ มีจาํ นวนโปรตอน = 12 จาํ นวนนวิ ตรอน = 12 16 จาํ นวนนวิ ตรอน = 16 11 จํานวนอเิ ลก็ ตรอน = 10 จาํ นวนอิเล็กตรอน = 18 จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน = 10 อะตอมของแตละธาตุจะเปล่ียนเปน ไอออนบวกหรือลบไดนัน้ เกดิ จากปจ จัย ดังนี้ จาํ นวนนวิ ตรอน = 12 • อะตอมของโลหะจะเสียอิเล็กตรอนแลวเปล่ียนเปนไอออนบวก โดยจะมีประจุเทากับ ฟอสฟอรัสไอออน มีจํานวนโปรตอน = 16 จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอนทเ่ี สยี ไป เชน Mg2+ มปี ระจบุ วก 2 แสดงวา อะตอมของ Mg สญู เสยี อเิ ลก็ ตรอน จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน=18 จาํ นวนนวิ ตรอน=15 ไป 2 ตัว เหลก็ ไอออน มจี ํานวนโปรตอน = 26 • อะตอมของอโลหะจะรับอิเล็กตรอนแลวเปล่ียนเปนไอออนลบ โดยจะมีประจุเทากับ จาํ นวนอเิ ล็กตรอน = 23 จาํ นวนอิเลก็ ตรอนทรี่ ับมา เชน Cl- มีประจลุ บ 1 แสดงวา อะตอมของ Cl รบั อเิ ล็กตรอนมา 1 ตัว จํานวนนวิ ตรอน = 30) • ธาตุใดตอ ไปนี้ เปนไอโซโทปกัน 28026Pb 3105P 188O 21812Pb 199F ตวั อย่างที่ 1.3 (แนวตอบ 28026Pb และ 28121Pb เปน ไอโซโทปกนั ) ไอออนบวกของธาตอุ ะลมู ิเนียมมีสญั ลกั ษณน ิวเคลยี ร คอื 2173Al3+ จงหาอนุภาคมลู ฐานของไอออนบวก 4. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามทาทายการ ของธาตุอะลมู ิเนยี ม คิดขั้นสูง H.O.T.S. “ถา นักเรียนนาํ ธาตุ Z ไป วิธีทาํ จาํ นวนโปรตอน = เลขอะตอม = 13 ผานกระบวนการหนึ่ง แลวมีผลทําใหอะตอม จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน = 13 - 3 = 10 จํานวนนิวตรอน = 27 - 13 = 14 ของธาตุ Z เกิดการเปลี่ยนแปลง นกั เรยี นจะ ใชสิ่งใดเปนเกณฑในการพิจารณาวาธาตุ Z ดงั นน้ั ไอออนบวกของธาตุอะลูมิเนียมมีจํานวนโปรตอนเทากับ 13 จํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 10 เปล่ยี นไปเปนธาตใุ หมหรือไม” และจํานวนนิวตรอนเทากับ 14 ตอบ 5. ครเู ปด โอกาสใหน กั เรยี นสอบถามเนอ้ื หาเกยี่ วกบั สัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน และ ไอโซโทปธาตุวา มีสวนไหนท่ีไมเขาใจและครู คาํ ถามทา ทายการคดิ ขนั้ สงู ใหค วามรเู พ่ิมเติมในสว นนั้น ถานกั เรยี นนําธาตุ Z ไปผา นกระบวนการหน่งึ แลวมีผลทําใหอะตอมของธาตุ Z เกิดการ แนวตอบ H.O.T.S. เปล่ียนแปลง นกั เรียนจะใชส่ิงใดเปนเกณฑใ นการพิจารณาวาธาตุ Z เปล่ียนไปเปนธาตใุ หม หรอื ไม เมอื่ จาํ นวนโปรตอนของธาตเุ ปลยี่ นไปจะทาํ ให ธาตุเปลี่ยนชนิดไป เน่ืองจากจํานวนโปรตอนเปน â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 11 จาํ นวนทเ่ี ฉพาะเจาะจงของแตล ะธาตุ ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET นักเรียนควรรู ไอออนบวกของไฮโดรเจน (H+) ขาดอนุภาคมูลฐานขอใด 1 ไอออนบวก เกิดจากอะตอมเสียอิเล็กตรอนใหกับสารอื่น ทําใหมีจํานวน 1. โปรตอน โปรตอนมากกวาจํานวนอิเล็กตรอน จึงเปลี่ยนไปเปนไอออนบวกที่มีประจุบวก 2. อเิ ล็กตรอน เทา กบั จาํ นวนอิเลก็ ตรอนทเี่ ปล่ยี นไป 3. โปรตอนและนวิ ตรอน 2 ไอออนลบ เกดิ จากอะตอมรบั อเิ ลก็ ตรอนเขา มา ทาํ ใหม จี าํ นวนอเิ ลก็ ตรอน 4. นวิ ตรอนและอเิ ล็กตรอน มากกวาจํานวนโปรตอน จึงเปล่ียนไปเปนไอออนลบท่ีมีประจุลบเทากับจํานวน 5. โปรตอนและอิเล็กตรอน อเิ ลก็ ตรอนท่ีรบั เขา มา (วเิ คราะหค าํ ตอบ H+ มจี าํ นวนโปรตอนเทา กบั 1 มจี าํ นวนนวิ ตรอน เทากับ 0 และมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 0 ดังนั้น H+ จึงขาด นิวตรอนและอิเลก็ ตรอน ดงั นน้ั ตอบขอ 4.) T15

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน 2) ไอโซโทป (isotope) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันท่ีมีจํานวนโปรตอนเทากัน แตม ีจํานวนนิวตรอนแตกตางกัน เชน อธบิ ายความรู้ ธาตไุ ฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คอื โปรเทียม ดวิ เทอเรยี ม และทรเิ ทียม 6. ครใู หน กั เรยี นกลบั เขา สกู ลมุ เดมิ แลว ใหร ว มกนั ศึกษาการหาอนุภาคมูลฐานจากตัวอยาง = p+ ในหนังสือเรียน เพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจ =n เน้ือหามากย่ิงขึ้น ซึ่งครูใหนักเรียนทําตาม = e- ขนั้ ตอนการแกโจทยปญ หา ดังน้ี • ขน้ั ที่ 1 ทาํ ความเขาใจโจทยต วั อยาง (protâi»uÃmà·, ÕÂHÁ, 11H) (deu´teÔÇrài·uÍmà,ÃÂÕDÁ, 21H) (triti·uÃmÔà·, ÂÕTÁ, 31H) • ขน้ั ที่ 2 สง่ิ ทโ่ี จทยต อ งการถามหา และจะหา สงิ่ ทโี่ จทยตองการ ตอ งทําอยา งไร ภาพที่ 1.16 ไอโซโทปของธาตุไฮโดรเจน • ขน้ั ท่ี 3 ดาํ เนินการ ท่ีมา : คลังภาพ อจท. • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคาํ ตอบของโจทยต วั อยา ง ธาตคุ ารบ อนมี 3 ไอโซโทป คือ คารบ อน-12 คารบ อน-13 และคารบ อน-14 7. ครูสุมนักเรียนใหออกมานําเสนอวิธีการ แกปญหาโจทยตัวอยางตามข้ันตอนในแตละ = p+ ข้ัน โดยท่ีครูคอยแนะนําและเสริมขอมูลที่ =n ถกู ตอ งใหน กั เรยี น = e- ¤ÒϺ͹-12 (162C) ¤ÒϺ͹-13 (163C) ¤Òú ͹-14 (164C) ภาพท่ี 1.17 ไอโซโทปของธาตุคารบอน ทีม่ า : คลังภาพ อจท. Science Focus äÍâ«â·¹áÅÐäÍ⫺ÒÏ ไอโซโทน (isotone) คือ ธาตุตางชนิดกนั ท่มี จี าํ นวนโปรตอนตางกัน แตม ีจาํ นวนนิวตรอนเทา กนั เชน แตมจี ําน1ว46Cนนแิวลตะร1อ57นNเทเปา กน ันไอคโซือโท8นกนั เนื่องจากอะตอมของธาตทุ ั้ง 2 ชนดิ มจี าํ นวนโปรตอนไมเ ทากนั ไอโซบาร (isobar) คือ ธาตุตางชนิดกันที่มีเลขมวลเทากัน แตมีจํานวนโปรตอนและนิวตรอน ตา งกนั เชน นวิ ตรอน41ไ08มAเ rทาแกลันะ แ4109ตKม ีเลเปขนมไวอลโเซทบาากรันกัน เนือ่ งจากอะตอมของธาตทุ ้งั 2 ชนิด มีจํานวนโปรตอนและ 12 เกร็ดแนะครู ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET ธาตุ X และ Y เปนไอโซโทปกนั โดยธาตุ X มีจํานวนโปรตอน ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั ไอโซอเิ ลก็ ทรอนกิ วา หมายถงึ ธาตหุ รอื ไอออนของ เทา กับ 15 เลขมวลเทากบั 30 ธาตุ Y มจี าํ นวนนิวตรอนมากกวา ธาตทุ ม่ี จี าํ นวนอเิ ลก็ ตรอนเทา กนั เชน S2- กบั Ar เปน ไอโซอเิ ลก็ ทรอนกิ กนั เพราะ ธาตุ X อยู 4 ตวั ขอ ใดคอื สัญลักษณน ิวเคลียรของธาตุ Y มอี เิ ลก็ ตรอน 18 ตวั เทา กนั สว นการตงั้ คาํ ถามเพอ่ื ขยายความเขา ใจของนกั เรยี น เกย่ี วกับเรื่อง สญั ลกั ษณนวิ เคลียรข องธาตุ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร และ 1. 1256Y 2. 1350Y ไอออนนัน้ ครูอาจต้ังคําถามที่มีความหลากหลายมากขึน้ แลวใหน ักเรียนตอบ ทีละคน เพอื่ เปน การตรวจสอบความรคู วามเขาใจของนักเรยี น 3. 1351Y 4. 1354Y T16 5. 1455Y (วิเคราะหคําตอบ ธาตุ Y เปนไอโซโทปกับธาตุ X จึงมีจํานวน โปรตอนเทากับธาตุ X คอื 15 และมีนิวตรอน = 15 + 4 = 19 ธาตุ Y จงึ มเี ลขมวลเปน 15 + 19 = 34 ดังนนั้ สญั ลกั ษณนวิ เคลียรข อง ธาตุ Y คือ 1354Y ดงั น้ัน ตอบขอ 4.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ธาตุแตละชนิดอาจจะมีไอโซโทปไดหลายไอโซโทป บางไอโซโทปมีอยูในธรรมชาติ ขน้ั สอน แตบางไอโซโทปไดจากการสังเคราะหขึ้นมาเพื่อใชประโยชนในดานตาง ๆ โดยไอโซโทปของธาตุ ที่นํามาใชประโยชนสวนใหญเปนไอโซโทปกัมมันตรังสี เชน ใช 14C บอกอายุของวัตถุโบราณ ขยายความเขา้ ใจ และใชศกึ ษากลไกของการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ใช 24Na เพ่อื ตรวจการไหลเวยี นของเลอื ด ใช 60Co สาํ หรบั เปนแหลง กาํ เนดิ รงั สีแกมมาเพ่ือใชใ นการรักษามะเรง็ และใชใ นการถนอมอาหาร ใช 131I 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเน้ือหาเร่ือง สําหรับตรวจอาการผดิ ปกตขิ องตอ มไทรอยด องคป ระกอบของอะตอมวา มีสวนไหนทย่ี ังไม เขาใจและใหความรเู พ่ิมเตมิ ในสวนนัน้ โดยที่ ตวั อย่างที่ 1.4 ครอู าจจะใช PowerPoint ชวยในการอธบิ าย เพิม่ เติม ไอโซโทปหนงึ่ ของออกซเิ จน คอื ออกซเิ จน -18 ไอโซโทปนใี้ นรปู ออกไซดไ อออน จะมจี าํ นวนอเิ ลก็ ตรอน และนิวตรอนเทา ใด 2. ครูใหนกั เรยี นทําใบงาน เรื่อง อนภุ าคมูลฐาน 3. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจาก Topic วิธที าํ เม่อื เปน ไอออนจะเปนไอออนที่มปี ระจุ คือ -2 มีสัญลักษณนวิ เคลียส คอื 188O2- จาํ นวนอเิ ล็กตรอน = 8 + 2 = 10 Question จากหนงั สือเรยี น 4. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปผังมโนทัศน (Concept Mapping) เรอ่ื ง โครงสรา งอะตอม และใหนกั เรียนทาํ แบบฝก หัด Unit Question สงเปน การบานชวั่ โมงถัดไป จาํ นวนนวิ ตรอน = 18 - 8 = 10 ดังน้ัน ไอโซโทปของออกซเิ จน -18 ในรปู ออกไซดไอออน มจี าํ นวนอิเลก็ ตรอนเทากับ 10 และจาํ นวน นิวตรอนเทา กบั 10 ตอบ ตัวอยา่ งท่ี 1.5 ถา ไอโซโทปหน่งึ ของธาตชุ นิดหน่ึงมีประจใุ นนวิ เคลยี สเปน 2 เทา และมีเลขมวลเปน 3 เทา ของ 136C ไอโซโทปนี้จะมอี นุภาคมูลฐานอยา งละก่ีอนุภาค วธิ ีทาํ จาํ นวนโปรตอน = เลขอะตอม = 2 × 6 = 12 มเี ลขมวลเปน 3 เทา = 3 × 13 = 39 จาํ นวนอเิ ล็กตรอน = จาํ นวนโปรตอน = 12 จํานวนนวิ ตรอน = 39 - 12 = 27 ดังนน้ั ไอโซโทปของธาตชุ นดิ นม้ี ีจํานวนโปรตอนเทา กับ 12 จาํ นวนอเิ ล็กตรอนเทา กับ 12 และจํานวน นิวตรอนเทา กับ 27 ตอบ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 13 ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู ธาตุในขอ ใดที่เปน ไอโซโทปกบั ธาตุทมี่ สี ัญลกั ษณเ ปน 115A 1. 152B 2. 162B ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกบั ธาตกุ มั มนั ตรงั สี ดังน้ี 3. 151B 4. 161B ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) คือ ธาตุท่ีแผรังสีได เนื่องจาก 5. 171B (วเิ คราะหค ําตอบ ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดยี วกันท่ีมี นิวเคลียสของอะตอมไมเสถียร และกัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณที่ธาตุ จํานวนโปรตอนเทากัน แตมีจํานวนนวิ ตรอนแตกตางกนั แผร งั สไี ดเองอยางตอเนื่อง รงั สีทไี่ ดจ ากการสลายตวั มี 3 ชนดิ ดังน้ี 151A มจี ํานวนโปรตอนเทากับ 5 มจี าํ นวนนิวตรอนเทา กับ 6 152B มจี าํ นวนโปรตอนเทากบั 5 มจี าํ นวนนิวตรอนเทา กับ 7 • อนุภาคแอลฟา คอื อนภุ าคของฮีเลียม มปี ระจุ +2 มีเลขมวล 4 มีอาํ นาจ 162B มจี าํ นวนโปรตอนเทา กบั 6 มีจาํ นวนนิวตรอนเทา กับ 6 ทะลุทะลวงตํ่า ไมส ามารถทะลุผา นกระดาษได 151B มจี ํานวนโปรตอนเทากับ 5 มจี ํานวนนิวตรอนเทากบั 6 161B มจี ํานวนโปรตอนเทากับ 6 มีจํานวนนวิ ตรอนเทา กบั 5 • อนุภาคบตี า คอื มีประจุ -1 มีเลขมวล 0 มอี ํานาจทะลทุ ะลวงมากกวา 151A จึงเปน ไอโซโทปกับ 152B ดังนนั้ ตอบขอ 1.) แอลฟา 100 เทา • รังสีแกมมา คือ คลื่นแมเ หล็กไฟฟาความถสี่ ูง ไมมีประจแุ ละมวล มพี ลงั งานสูง T17

นาํ สอน สรุป ประเมิน ขน้ั สรปุ ตัวอย่างท่ี 1.6 ตรวจสอบผล ธาตุ T เปนธาตุทมี่ ี 2 ไอโซโทป พบวา ไอโซโทปชนิดแรกมีจาํ นวนนวิ ตรอน 142 อนุภาค และมจี ํานวน อเิ ล็กตรอน 90 อนุภาค สว นไอโซโทปชนิดทสี่ องมจี ํานวนนิวตรอนเปน 1.5 เทาของจํานวนโปรตอน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุป จงเขียนสญั ลกั ษณน วิ เคลยี รข องไอโซโทปท้งั สองของธาตุ T เกี่ยวกับองคประกอบของอะตอม ใหไดขอสรุป ดังน้ี วธิ ีทาํ ไอโซโทปชนดิ แรกของธาตุ T เลขอะตอม = จาํ นวนโปรตอน = จํานวนอเิ ลก็ ตรอน = 90 • การศึกษาแบบจําลองอะตอมของนัก- เลขมวล = จาํ นวนโปรตอน + จาํ นวนนวิ ตรอน = 90 + 142 = 232 วิทยาศาสตรเพ่ือนํามาใชอธิบายลักษณะ สญั ลกั ษณน วิ เคลียร คือ 23920T ของอะตอม พบวา อนุภาคมูลฐานของ ไอโซโทปชนิดทส่ี องของธาตุ T อะตอมประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน จาํ นวนโปรตอน = จํานวนอเิ ล็กตรอน = 90 ท่ีรวมกันในนิวเคลียส และอิเล็กตรอน จํานวนนิวตรอนเปน 1.5 เทา ของจาํ นวนโปรตอน = 1.5 × 90 = 135 ท่เี คล่อื นทร่ี อบนวิ เคลียสของอะตอม เลขมวล = จํานวนโปรตอน + จํานวนนิวตรอน = 90 + 135 = 225 สัญลกั ษณน ิวเคลยี ร คือ 22950T • จํานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ดังนน้ั สัญลกั ษณน วิ เคลยี รข องไอโซโทปทัง้ สองของธาตุ T คอื 23920T และ 22950T ตอบ ของอะตอมในธาตุสามารถเขียนแทนดวย สัญลักษณนิวเคลียร คือ AZX โดย X แทน ? QToupiecstion สญั ลักษณข องธาตุ A แทนเลขมวล และ Z แทนเลขอะตอม ซงึ่ เลขมวล คอื จาํ นวนรวม คาํ ชแี้ จง : ใหน ักเรียนตอบคําถามตอ ไปนี้ ของโปรตอนและนิวตรอนในอะตอม และ เลขอะตอม คอื จํานวนโปรตอนในอะตอม 1. ใหนกั เรยี นสรุปลักษณะของแบบจาํ ลองอะตอมแบบตา ง ๆ มาพอสังเขป 2. ใหระบจุ ํานวนอนภุ าคมลู ฐานของธาตตุ อไปน้ี 2131Na 199F และ 168O ขนั้ ประเมนิ 3. ใหร ะบวุ า สารทก่ี าํ หนดใหต อ ไปนี้ Fe H2O Au Na CuSO4 และ HCl เปน ธาตหุ รอื สารประกอบ 4. ใหระบุวาสารท่ีกําหนดใหตอไปนี้ O2- Cu Ca2+ B2 CH4 และ Mg อยูในรูปอะตอม ตรวจสอบผล โมเลกลุ หรอื ไอออน 1. ครตู รวจสอบผลการทาํ แบบทดสอบกอนเรยี น 5. ธาตุทเ่ี ปนไอโซโทปกันจะมีลกั ษณะเปนอยา งไร 2. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคาํ ถาม 6. ธาตทุ ม่ี ีเลขอะตอมเทากนั แตมีเลขมวลตางกนั จัดเปน ธาตเุ ดยี วกันหรอื ไม เพราะเหตใุ ด การรวมกันทําผลงาน และจากการนําเสนอ ผลงาน 7. ธาตุ P มเี ลขอะตอม 15 มีจํานวนนวิ ตรอน 16 จะมเี ลขมวล จํานวนโปรตอน และจาํ นวน 3. ครูวัดและประเมินจากการทําใบงาน เรื่อง อเิ ลก็ ตรอนเทาใด ตามลาํ ดบั แบบจาํ ลองอะตอม 4. ครูวัดและประเมินจากการทําใบงาน เรื่อง 14 อนภุ าคมลู ฐาน 5. ครูวดั และประเมนิ ผลจากการทาํ Unit Question ในหนังสอื เรียน 6. ครูวัดและประเมินผลจากผังมโนทัศนท่ี นักเรียนไดสรางข้ึนจากขั้นขยายความรูของ นกั เรยี นเปน รายบคุ คล แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเก่ียวกับโครงสรางอะตอม ไดจาก 1. ผงั มโนทศั นท น่ี กั เรยี นไดส รา งขนึ้ ในขนั้ ขยายความรู โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และ การประเมินผลจากแบบประเมินช้ินงาน ภาระงาน (รวบยอด) ที่แนบมาทาย 2. ธาตุ จาํ นวนโปรตอน จาํ นวนอเิ ลก็ ตรอน จาํ นวนนวิ ตรอน แผนการจดั การเรยี นรู หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ แบบประเมินชนิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ เกณฑป ระเมนิ ผงั มโนทศั น 2131Na 11 11 12 แบบประเมินผลงานผงั มโนทัศน ประเดน็ ทปี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 199F 9 9 10 32 คําชีแ จง : ใหผ สู อนประเมนิ ผลงาน/ชนิ งานของนักเรยี นตามรายการทีกาํ หนด แลว ขีด ลงในชอ งทีตรงกับระดบั 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคลองกับ ผลงานสอดคลองกับ ผลงานสอดคลองกับ ผล งาน ไม ส อด ค ล อง คะแนน จดุ ประสงคทีกาํ หนด จดุ ประสงคท กุ ประเดน็ จุดประสงคเ ปน สวนใหญ จุดประสงคบางประเด็น กับจดุ ประสงค ลําดับที รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2. ผลงานมีความ เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน 4 3 21 ถูกตองสมบูรณ ถกู ตองครบถว น ถกู ตองเปน สวนใหญ ถูกตอ งเปนบางประเดน็ ไมถกู ตองเปนสวนใหญ 186O 8 8 8 1 ความสอดคลอ งกับจดุ ประสงค 3. ผลงานมีความคิด ผล งาน แสด งออกถึง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความนาสนใจ ผลงานไมแสดงแนวคิด สรา งสรรค 2 ความถกู ตองของเนือหา ค วาม คิ ด ส รางส รรค ใหมแตยังไมเปนระบบ แตยังไมมีแนวคิดแปลก ใหม 3 ความคิดสรา งสรรค แ ป ล ก ให ม แ ล ะ เป น ใหม 4 ความตรงตอเวลา ระบบ รวม 4. ผลงานมคี วามเปน ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญไมเปน 3. Fe Au และ Na เปนธาตุ สวโมนเลHก2Oุล Cไดuแ SกO 4B2แลCะHH4 Cl เปนสารประกอบ 4. อะตอม ไดแ ก Cu Mg ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป น ระเบี ย บ แ ต ยั งมี ระเบยี บแตม ีขอ บกพรอ ง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข อ ความประณตี ขอ บกพรองเล็กนอย บางสว น บกพรองมาก ลงชือ ................................................... ผปู ระเมิน ............../................./................ เกณฑการตดั สนิ คุณภาพ ไอออน ไดแก O2- Ca2+ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–16 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช 5. จะตอ งเปน ธาตชุ นดิ เดยี วกนั มจี าํ นวนโปรตอนเทา กนั แตจ าํ นวนนวิ ตรอน ตํากวา 8 ปรับปรุง แตกตางกนั 6. ธาตุเดียวกัน เนอื่ งจากธาตชุ นิดเดียวกนั จะมจี าํ นวนโปรตอนหรือ T18 1 เลขอะตอมเทา กัน 2 7. 31, 15, 15

นาํ นํา สอน สรปุ ประเมนิ 2. µÒÃÒ§¸ÒµØ Prior Knowledge ขน้ั นาํ ตารางธาตุ (periodic table) คอื ตารางทรี่ วบรวมธาตตุ า ง ๆ ¸Òµ¨Ø Òí ṡÍ͡໹š กระตนุ้ ความสนใจ ไวเปนหมวดหมูตามคุณสมบัติที่เหมือนกัน เพ่ือสะดวกในการ »ÃÐàÀ·ã´ä´ºŒ ÒŒ §? 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับแบบ จดจํา และงายตอ การศึกษา จําลองอะตอม และองคประกอบของอะตอม เพ่ือเปนการทบทวนความรูของนักเรียนจาก ตงั้ แตป  พ.ศ. 2346-2456 มกี ารคน พบธาตใุ นธรรมชาตปิ ระมาณ 63 ธาตุ ซงึ่ นกั วทิ ยาศาสตร คาบเรียนท่ีผานมา และนาํ ไปสูหัวขอ ตอ ไป ไดพยายามจัดธาตุเหลาน้ีใหเปนหมวดหมู โดยในชวงแรกนักวิทยาศาสตรจะแบงธาตุออกเปน หมวดหมโู ดยอาศยั สมบตั ิของธาตุ ซ่ึงไดจากการสังเกตพบความคลายคลึงกันของสมบตั ิของธาตุ 2. ครูนาํ เขา สูบ ทเรียนเกี่ยวกับตารางธาตุ โดยครู เปน กลุม ๆ ทาํ ใหนาํ มาจัดเปน ตารางธาตไุ ด เชน แบงกลุม โดยอาศัยสมบตั คิ วามเปน โลหะ-อโลหะ ถามคาํ ถามเพ่ือกระตนุ ความคดิ ดังน้ี ความเปนกรด-เบส ตอมาเมื่อหามวลอะตอมของธาตุได จึงใชมวลอะตอมมาประกอบในการจัด • ตารางธาตคุ อื อะไร มคี วามสาํ คญั อยา งไร ตารางธาตุ จนในปจจุบันจัดตารางธาตุโดยอาศัยการจัดเรียงอิเล็กตรอน ซึ่งวิวัฒนาการของการ (แนวตอบ ตารางธาตุ คือ ตารางที่นัก สรางตารางธาตุ เปน ดังน้ี วิทยาศาสตรไดรวบรวมธาตุตางๆ ไวเรียง ตามเลขอะตอมเปนหมวดหมูเพื่อประโยชน เปนนักวิทยาศาสตรคนแรกที่เสนอเกี่ยวกับการ นาํ เสนอ ¡®¾ÃÔ ÔÍÍ´¡Ô ซง่ึ มใี จความสาํ คญั วา ในการศกึ ษาลกั ษณะและสมบัติของธาตุ) จดั เรยี งธาตุ โดยนาํ เสนอ ¡®ª´Ø ÊÒÁ ซง่ึ มใี จความ “เม่ือนําธาตุมาจัดเรียงลําดับตามนํ้าหนักที่ • นักวิทยาศาสตรมีวิธีการอยางไร เพื่อให สาํ คญั วา “เมอื่ เรยี งธาตตุ ามมวลอะตอมจากนอ ยไป เพ่ิมขึ้น จะไดกลุมของธาตุที่มีสมบัติทางเคมี สามารถจดจําธาตตุ างๆ ทม่ี ีจาํ นวนมากได หามาก มวลอะตอมของธาตทุ อ่ี ยตู รงกลางจะเปน และสมบตั ทิ างกายภาพเปน ชดุ ๆ” (แนวตอบ รวบรวมธาตุใหเปนระบบ จัดเปน คา เฉลยี่ ของมวลอะตอมของธาตตุ วั บนและตวั ลา ง” ตารางธาต)ุ âÂÎѹ¹ à´ÍàºÍäÃà¹ÍÏ ¨Íˏ¹ ¹ÔÇᏴ ´ÔÁÔ·àÁÃà´Õ ÍàÅÔÇàÒÍ⿹ÇÔª »¨˜ ¨ºØ ѹ 3. ครถู ามคาํ ถาม Prior Knowledge “ธาตจุ าํ แนก àιÃÕ âÁÊÅՏ ออกเปน ประเภทใดไดบ า ง” เพอื่ เปน การกระตนุ ใหนักเรียนรว มกนั คิด 4. นักเรียนรวมชวยกันตอบคําถาม ครูอาจจะ เลือกคําตอบที่ไมชัดเจน มาอภิปรายรวมกัน เพ่ือเชื่อมโยงไปสูการเรียนเรอ่ื ง ตารางธาตุ นาํ เสนอ ¡®Í͡൵ ซงึ่ มใี จความสาํ คญั วา เสนอให ¨´Ñ àÃÂÕ §¸ÒµµØ ÒÁàÅ¢ÍеÍÁ เนอื่ งจาก แนวตอบ Prior Knowledge “ถานําธาตุ 8 ธาตุ แลวจัดเรียงตามมวลจาก สมบตั ติ า ง ๆ ของธาตมุ คี วามสมั พนั ธก บั โปรตอนใน นอ ยไปหามาก ธาตตุ วั ท่ี 8 จะมสี มบตั คิ ลา ยคลงึ นวิ เคลยี ส หรอื เลขอะตอมมากกวา มวลอะตอม และ โลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ กับธาตุตัวท่ี 1 เสมอ” (ไมรวมธาตุไฮโดรเจน ยงั ไดท าํ นายวา ตอ งเผอ่ื ชอ งวา งในตารางธาตเุ พอ่ื รอ และฮเี ลยี ม) การคนพบธาตุใหมในอนาคต ซึ่งตารางธาตุของ โมสลยี เ ปน ตารางธาตทุ ใี่ ชก นั อยจู นถงึ ปจ จบุ นั ภาพท่ี 1.18 วิวฒั นาการของตารางธาตุ ที่มา : คลังภาพ อจท. â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 15 ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู ขอใดกลาวถกู ตอ งเกย่ี วกบั ธาตใุ นตารางธาตุ ครูนํารูปภาพของตารางธาตุที่ถูกคิดคนโดยนักวิทยาศาสตรแตละทานมา 1. ธาตุในคาบที่ 6 มี 18 ธาตุ ประกอบการอธบิ าย เชน ตารางธาตขุ องเมเดเลเอฟ หรอื ตารางธาตุของโมสลยี  2. ธาตใุ นหมู 8A มีชอื่ วา ธาตุแฮโลเจน 3. ธาตุหมู B เรียกวา ธาตเุ รพรีเซนเททฟี H1 1.01 18 8A 4. ธาตุในคาบที่ 4 คอื ธาตุ Rb จนถงึ Xe 5. ธาตใุ นหมู 2A มีชอ่ื วา ธาตุแอลคาไลนเ อิรท Hydrogen (วเิ คราะหคาํ ตอบ ขอ 1. ไมถ กู ตอ ง ธาตใุ นคาบที่ 6 มี 32 ธาตุ ขอ 2. ไมถ กู ตอง ธาตุในหมู 8A มีชอ่ื วา แกสเฉอื่ ยหรือแกส 1 1A 2 2A 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B 10 8B 11 1B 12 2B 13 3A 14 4A 15 5A 16 6A 17 7A He2 4.003 1 มตี ระกลู ขอ 3. ไมถูกตอ ง ธาตุในคาบที่ 4 คือ ธาตุ K จนถงึ Kr Helium ขอ 4. ไมถูกตอง ธาตหุ มู B เรยี กวา ธาตุแทรนซิชนั ขอ 5. ถกู ตอ ง ธาตใุ นหมู 2A มชี ่ือวา ธาตุแอลคาไลนเ อิรท Li Be3 6.94 4 9.01 B C N O F Ne5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18 ดงั นนั้ ตอบขอ 5.) Lithium Beryllium 2Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon Na Mg11 22.99 12 24.31 Al Si P S Cl Ar13 26.98 14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95 3 Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon Sodium Magnesium K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 28 58.70 29 63.55 30 65.37 31 69.72 32 72.59 33 74.92 34 78.96 35 79.90 36 83.80 Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc 4Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30 Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin 5Antimony Tellurium Iodine Xenon Cs Ba La Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn55 132.91 56 137.33 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222) Cesium Barium Lanthanum Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon 6 Fr Ra Ac Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Uuo87 (223) 88 226.03 89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 115 (293) 117 294 118 (294) 7Francium Radium Actinium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb Lu58 140.12 59 140.91 60 144.24 61 (145) 62 150.40 63 151.96 64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97 Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Th Pa U Np Pu Am Cm Bk Cf Es Fm Md No Lr90 232.04 91 231.04 92 238.03 93 237.05 94 (244) 95 (243) 96 (247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257) 101 (260) 102 (259) 103 (262) Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium T19

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน µÒÃÒ§¸ÒµØã¹»˜¨¨Øº¹Ñ สาํ รวจคน้ หา âÅËÐáÍŤÒäÅ H1 1.01 1. ครูเกร่ินนําเกี่ยวกับการจัดตารางธาตุลงใน 1A Alkali metal Hydrogen ตารางธาตุ โดยการเลาประวัติของโยฮันน 2A AâÅlkËaÐliáneÍÅe¤arÒth䬏àÍÃÔ · เดอเบอไรเนอร จอหน นวิ แลนด ดมิ ทิ รี อวิ าโนวชิ เมนเดเลเอฟ และเฮนรี โมสลีย ใหนักเรียน หมู ฟงพอสังเขป จากน้ันถามคําถามเพื่อกระตุน ความคดิ ของนกั เรียน ดังนี้ 1 1A 2 2A • ตารางธาตุของเมนเดเลเอฟ และโมสลีย Li Be3 6.94 4 9.01 แตกตา งกันอยางไร Lithium Beryllium ¸ÒµáØ ·Ã¹«ªÔ ѹ (แนวตอบ ตารางธาตุของเมนเดเลเอฟจะใช Transition มวลอะตอมเปนเกณฑในการจัดเรียงลําดับ Na Mg11 22.99 12 24.31 ของธาตุ แตตารางธาตุของโมสลียใชเลข อะตอมเปนเกณฑในการจัดเรียงลําดับของ Sodium Magnesium 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B ธาตุ) • นักเรียนคิดวาธาตุที่จัดอยูในหมูเดียวกัน K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 มสี ่ิงใดทเ่ี หมอื นกัน Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt (แนวตอบ สมบัตทิ างเคมี) Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Cs Ba La Hf Ta W Re Os Ir55 132.91 56 137.33 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 Cesium Barium Lanthanum Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Fr Ra Ac Rf Db Sg Bh Hs Mt87 (223) 88 226.03 89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) Francium Radium Actinium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium ธาตIุแnทneรนr Tซrิชaนั nชsiน้ัtioในn ธาตแุ ลนทาไนด Ce Pr Nd Pm Sm58 140.12 59 140.91 60 144.24 61 (145) 62 150.40 Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Th Pa U Np Pu90 232.04 91 231.04 92 238.03 93 237.05 94 (244) Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium ธาตุแอกทิไนด ธาตุท่ีอยใู นแนวนอน เรยี กวา คาบ (periods) ซึง่ มีทัง้ หมด 7 คาบ 16 วิวฒั นาการของตารางธาตุ เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ครสู ามารถใหน ักเรียนใชส มารตโฟนสแกน QR Code เร่ือง ววิ ัฒนาการ นกั วิทยาศาสตรจ ัดเรียงธาตใุ นตารางธาตตุ ามลักษณะอยางไร ของตารางธาตใุ นหนงั สือเรียน เพ่อื ศึกษาเก่ียวกบั วิวฒั นาการของตารางธาตุ 1. ความสะดวก 2. ความสวยงาม สื่อ Digital 3. ตามลาํ ดับการคน พบ 4. ตามสมบตั ทิ ค่ี ลา ยคลงึ กนั ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ไดจาก QR Code เรื่อง ตารางธาตุ 5. ตามปรมิ าณท่ีพบมากในธรรมชาติ (วิเคราะหค ําตอบ ตารางธาตุ คอื ตารางท่ีรวบรวมธาตุตา งๆ ไว ตารางธาตุ เปนหมวดหมูตามสมบัติที่เหมือนกัน เพื่อใหสะดวกในการจดจํา www.aksorn.com/interactive3D/RKB13 และงา ยตอ การศกึ ษา ดงั นนั้ ตารางธาตจุ งึ จดั เรยี งธาตตุ ามสมบตั ิ ทค่ี ลายคลงึ กัน ตอบขอ 4.) T20

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 8AáI¡neʍ ràt©gÍè× aÂs ขน้ั สอน 7A¸ÒµØáHÎaâlÅoàg¨e¹n 6A¸ÒµM¡Ø e§èÖ taâÅlloËidÐ สาํ รวจคน้ หา 13 3A 14 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมชวยกัน ¸ÒµáØ ªÅâ¤à¨¹ 18 8A คาบ พจิ ารณาตารางธาตจุ ากหนงั สอื เรยี น แลว ถาม Chalcogen คําถามเพอ่ื ใหนกั เรียนไปสบื คนขอ มูล ดงั น้ี 6A 17 7A He2 4.003 1 • สแี ตละสใี นตารางธาตุ มีสมบตั แิ ตกตางกนั 4A 15 5A 16 หรอื ไม อยา งไร Helium • การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ มกี ารจดั เรยี ง อยางไร B C N O F Ne5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม) 2Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon 13 26.98 14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95 3. นักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลจากแหลงการ Al Si P S Cl Ar10 8B 11 1B 12 2B Aluminium Silicon เรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต Phosphorus Sulfur Chlorine Argon 3 หนังสอื อางอิงตา งๆ ในหองสมุด 28 58.70 29 63.55 30 65.37 31 69.72 32 72.59 33 74.92 34 78.96 35 79.90 36 83.80 4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันวิเคราะหผลจาก Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br KrNickel Copper Zinc การสบื คน ขอ มลู 4Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton 46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30 5. ครูสมุ นักเรยี นจากกลมุ ตา งๆ เพ่ือนาํ เสนอผล Pd Ag Cd In Sn Sb Te I XePalladium Silver Cadmium Indium Tin จากการสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการจัดเรียงธาตุ 5Antimony Tellurium Iodine Xenon ในตารางธาตุในปจจบุ ัน 78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222) Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At RnPlatinum Gold Mercury Thallium Lead 6Bismuth Polonium Astatine Radon 110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 116 (293) 117 (294) 118 (294) Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Og 7Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson 63 151.96 64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97 Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb LuEuropium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium 95 (243) 96 (247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257) 101 (260) 102 (259) 103 (262) Am Cm Bk Cf Es Fm Md No LrAmericium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium ธาตุที่อยูใ นแนวตั้ง ภาพท่ี 1.19 ตารางธาตใุ นปจจุบนั ทีม่ า : คลงั ภาพ อจท. เรียกวา หมู (group) มีทั้งหมด 18 หมู แบงออกเปน 2 กลมุ ใหญ ๆ คือ ธาตกุ ลุม A เรียกวา ธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ (representative element) ประกอบดว ยหมู 1A-8A ธาตุกลุม B เรยี กวา ธาตแุ ทรนซชิ ัน (transition element) ประกอบดวยหมู 1B-8B â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 17 ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET ส่ือ Digital ขอ ความใดถกู ตอ งเกี่ยวกับกลุมธาตแุ ฮโลเจน (halogen) ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ไดจ ากภาพยนตรส ารคดสี นั้ Twig เรอื่ ง บทนาํ เรอื่ งตารางธาตุ 1. อยูใ นสถานะแกสทม่ี ีสี https://twig-aksorn.com/film/introduction-to-the-periodic-table-8199/ 2. มเี วเลนซอ เิ ล็กตรอนเทากับ 7 3. เกิดเปน สารประกอบโคเวเลนตกบั โลหะ 4. เปน แกส เฉอื่ ยที่อยใู นรปู โมเลกลุ มคี วามวอ งไวในการทาํ ปฏกิ ริ ยิ าต่าํ 5. ทาํ ปฏิกิริยากบั ไฮโดรเจนอยา งรวดเรว็ โดยการใช อิเลก็ ตรอนรว มกัน 1 คู (วิเคราะหคําตอบ ธาตุแฮโลเจนเปนธาตุหมู 7A และมีเวเลนซ อิเล็กตรอนเทา กับ 7 ดังน้นั ตอบขอ 2.) T21

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน จากตารางธาตุ สามารถสรุปเกีย่ วกบั การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตไุ ด ดงั นี้ 1. จัดเรยี งธาตตุ ามแนวนอน โดยเรียงลาํ ดบั เลขอะตอมทเี่ พมิ่ ขน้ึ จากซายไปขวา สาํ รวจคน้ หา 2. ธาตุตามแนวนอน เรยี กวา คาบ ซง่ึ มีทัง้ หมด 7 คาบ ไดแ ก คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ คือ H และ He คาบที่ 5 มี 18 ธาตุ คอื Rb จนถึง Xe 6. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอ คาบที่ 2 มี 8 ธาตุ คอื Li จนถงึ Ne คาบท่ี 6 มี 32 ธาตุ คอื Cs จนถงึ Rn สรปุ วา การจดั เรยี งธาตใุ นปจ จบุ นั จดั เรยี งตาม คาบท่ี 3 มี 8 ธาตุ คือ Na จนถึง Ar คาบที่ 7 มี 32 ธาตุ คอื Fr จนถงึ Og เลขอะตอม ซึง่ แบงธาตุออกเปน หมไู ด 8 หมู คาบท่ี 4 มี 18 ธาตุ คอื K จนถงึ Kr และคาบได 7 คาบ โดยสรปุ ไดวา 3. ธาตุตามแนวตงั้ เรียกวา หมู ซง่ึ มที ั้งหมด 18 แถว แบง ออกเปนธาตกุ ลมุ A หรอื ธาตุ • ธาตุในหมูเดียวกันจะมีเวเลนซอิเล็กตรอน เรพรีเซนเททีฟ และธาตุกลมุ B หรือธาตุแทรนซิชนั โดย เทากัน จัดเรียงไวในแนวด่ิงจะมีสมบัติทั้ง • ธาตกุ ลุม A มี 8 หมู คอื หมู 1A ถึง 8A โดยธาตใุ นแตละหมูจะมสี มบัติคลายกัน ทางเคมแี ละกายภาพคลา ยคลึงกนั และมชี อื่ เรยี กเฉพาะหมู เชน • ธาตุในคาบเดียวกันจะมีจํานวนระดับ หมู 1A ชอ่ื วา โลหะแอลคาไล หมู 2A ชื่อวา โลหะแอลคาไลนเ อริ ท พลงั งานเทา กัน ซง่ึ จะจดั เรยี งธาตุตามแนว หมู 6A ชอ่ื วา ธาตุแชลโคเจน หมู 7A ชอื่ วา ธาตแุ ฮโลเจน นอนและจะมีแนวโนมของการเปล่ียนแปลง สมบัตติ า งๆ ตอเนอ่ื งกนั ดว ย หมู 8A ชอื่ วา แกส มตี ระกลู หรอื แกส เฉ่อื ย • ธาตกุ ลุม B มี 8 หมู คือ หมู 1B ถงึ 8B โดยเริม่ จากหมู 3B ถงึ หมู 2B เรยี กวา ธาตแุ ทรนซิชัน Science Focus ÍÍ¡«Ôਹ ออกซิเจนเปนธาตุที่อยูในหมู 6A หรือธาตุแชลโคเจน ภาพที่ 1.20 ออกซิเจนจาํ เปน มสี ญั ลกั ษณเ ปน O ในอากาศมอี อกซเิ จนเปน องคป ระกอบอยปู ระมาณ ตอการหายใจของสงิ่ มชี ีวิต รอยละ 21 โดยปริมาตร ซ่ึงออกซิเจนเปนสวนสําคัญในการสันดาป ที่มา : คลงั ภาพ อจท. พืชและสัต1วจําเปนตองใชในการหายใจ (กระบวนการเมแทบอลิซึม ของเซลล) และออกซิเจนไดมาจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ของพืช มนุษยจําเปนตองอาศัยออกซิเจนในการดํารงชีวิต โดยการ หายใจเอาออกซเิ จนเขา ไป เพอ่ื ใชใ นกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร ตา ง ๆ ใหเ ปน พลงั งาน ซงึ่ เฮโมโกลบนิ ในเมด็ เลอื ดแดงจะเปน ตวั สาํ คญั ในการชวยพาออกซิเจนไปยังเซลลตาง ๆ ท่ัวรางกาย ทําใหเซลล ของอวยั วะตาง ๆ มชี ีวิตอยไู ด หากเซลลของอวยั วะตาง ๆ ในรางกาย ไดร บั ปริมาณออกซเิ จนลดลงหรือขาดออกซเิ จน จะทําใหอ วยั วะนน้ั ๆ ตายได ดงั นน้ั ออกซิเจนจึงมคี วามสําคญั ตอ การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย เปนอยางมาก 18 นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคิดแนว O-NET 1 กระบวนการเมแทบอลซิ ึมของเซลล เปนการหายใจของเซลล โดยท่เี ซลล ขอใดจบั คูธาตกุ ับชอื่ หมูธาตไุ มถกู ตอง จะนาํ สารอาหารโมเลกลุ เดย่ี วทถี่ กู ยอ ยจากกระบวนการยอ ยอาหารมาสรา งเปน 1. นีออน-แกสเฉือ่ ย พลังงาน โดยทีจ่ ะผา นกระบวนการไกลโคลิซสิ วฏั จักรเครบส และการถายทอด 2. โบรมีน-ธาตุแฮโลเจน อิเล็กตรอน ซึ่งออกซเิ จนจะเปนตวั รบั อิเล็กตรอนตวั สุดทา ย เพือ่ ใหไดพ ลงั งาน 3. ออกซเิ จน-แกส มตี ระกูล ออกมา 4. โซเดยี ม-โลหะแอลคาไล 5. แมกนีเซียม-โลหะแอลคาไลนเอิรท (วิเคราะหคําตอบ ออกซเิ จนเปน ธาตใุ นหมู 6A หรอื ธาตุแชลโค- เจน ดังนน้ั ตอบขอ 3.) T22

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 4. ธาตุ 2 แถวลาง ซึง่ แยกออกมานัน้ เรียกวา ธาตุแทรนซิชันชั้นใน (inner transition ขนั้ สอน elements) โดย อธบิ ายความรู้ • ธาตแุ ถวบน คือ ธาตทุ ม่ี ีเลขอะตอมตัง้ แต 58 ถึง 71 เรยี กวา กลมุ ธาตแุ ลนทาไนด (lanthanide series) ธาตุกลุมนี้ควรจะอยูในหมู 3B โดยจะเรียงตอจากธาตุ La ธาตุในกลุมน้ี 1. ครอู ธิบายสรุปเกย่ี วกบั เนอ้ื หา หรือเปดโอกาส จะมีเลขอะตอมมาก และเปนธาตหุ ายาก ใหน ักเรยี นไดสอบถามในสว นทีม่ ขี อ สงสัย • ธาตุแถวลา ง คือ ธาตทุ ี่มีเลขอะตอมตัง้ แต 90 ถึง 103 เรียกวา กลุม ธาตุแอกทิไนด 2. ครนู าํ นกั เรยี นอภปิ รายสรปุ เกยี่ วกบั พฒั นาการ (actinide series) ธาตุกลุมนี้ควรอยูในหมู 3B โดยเรียงตอจากธาตุ Ac ธาตุในกลุมน้ีจะมี ของตารางธาตุและตารางธาตใุ นปจจบุ ัน โดย เลขอะตอมมาก เปนธาตุหายาก และเปนธาตุกมั มันตรงั สที ี่มีครึ่งชีวิตส้ัน ครใู ชคําถาม ดงั นี้ • ธาตุตางๆ ใชเกณฑอะไรในการจัดลงใน 5. ธาตไุ ฮโดรเจนมสี มบตั บิ างอยา งคลา ยธาตหุ มู 1A เชน มเี วเลนซอ ิเลก็ ตรอนเทากบั 1 ตารางธาตุ และมสี มบตั บิ างอยางคลายธาตุหมู 7A เชน มสี ถานะเปนแกส ไมน ําไฟฟา จึงแยกไวตา งหาก (แนวตอบ การจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนตาม ไมถกู จัดใหอยูในหมูใด กฎออกเตต) • นักเรียนคิดวาตารางธาตุสามารถเปล่ียน 6. ธาตุที่เปนโลหะและอโลหะถูกแยกออกจากกันดวยเสนขั้นบันได โดยทางซายของ แปลงไดอีกหรือไม เสนข้ันบันไดเปนโลหะ สวนทางขวาของเสนข้ันบันไดเปนอโลหะ สวนธาตุท่ีอยูชิดเสนขั้นบันได (แนวตอบ สามารถเปล่ียนแปลงไดถามีธาตุ จะมีสมบัติก้ําก่ึงระหวางโลหะกับอโลหะ เรียกวา ธาตุก่ึงโลหะ (metalloid) ไดแก โบรอน (B) ชนิดใหมเพ่ิมขึ้นมาหรือมีธาตุที่ไมสามารถ ซิลิคอน (Si) เจอรเมเนียม (Ge) อารเซนิกหรือสารหนู (As) แอนติโมนีหรือพลวง (Sb) จัดเขาในระบบตารางธาตุปจจุบันได หรือ เทลลเู รยี ม (Te) พอโลเนยี ม (Po) และแอสทาทีน (At) มีผูคิดคนตารางธาตุแบบใหมที่มีความ ครอบคลุมมากกวาเดิม ก็อาจจะทําให ธาตุไฮโดรเจน H 8A ขนั้ สอตานรางธาตเุ ปลีย่ นแปลงได) 1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A ขยายความเขา้ ใจ B 1. ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั พดู คยุ เกยี่ วกบั ธาตทุ ค่ี น Si พบใหมใ นปจจบุ ันทงั้ 4 ธาตุ ตามรายละเอียด Ge As จากหนังสือเรียน Sb Te 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเน้ือหาเร่ือง Po At ตารางธาตุวา มีสวนไหนท่ียังไมเขาใจและให ความรเู พม่ิ เติมในสวนนั้น ธาตุก่งึ โลหะ ภาพท่ี 1.21 ธาตุกึง่ โลหะ 3. ครูใหนักเรียนทําใบงาน เร่ือง ตารางธาตุ ทม่ี า : คลังภาพ อจท. แลวมอบหมายใหนักเรียนตอบคําถามจาก Topic Question ลงในสมดุ แลว สง เปน การบา น â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 19 ในช่ัวโมงถดั ไป 4. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปผังมโนทัศน (Concept Mapping) เรอ่ื ง ตารางธาตุ และ ใหนักเรียนทาํ Unit Question สง เปนการบาน ชั่วโมงถดั ไป ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู กําหนดขอมลู เก่ยี วกบั ปรอท ดงั น้ี ก. เปน โลหะท่นี ําไฟฟา ไดด ี ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั สมบตั ขิ องธาตโุ ลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ ดงั นี้ ข. มีสถานะเปนของเหลวท่อี ุณหภูมหิ อ ง • สมบตั ขิ องธาตุโลหะ : ผวิ เปนมันวาว มีความเหนียว ทบุ ไมแตก ค. มีจดุ หลอมเหลวสงู มาก ขอมูลในขอ ใดไมเกย่ี วขอ งกับปรอท แตอาจจะแบนลงหรือยืดเปนเสน ได จดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวสูง 1. ขอ ก. เทา น้นั 2. ขอ ก. และ ข. นาํ ไฟฟา และนาํ ความรอ นไดด ี มสี ถานะเปน ของแขง็ ทอ่ี ณุ หภมู หิ อ ง 3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค. • สมบตั ิของธาตุอโลหะ : ผวิ ไมเ ปนมันวาว ไมมีความเหนียว เปราะ 5. ขอ ค. เทานนั้ จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวตํ่า ไมน าํ ไฟฟา มีทงั้ 3 สถานะ • สมบตั ขิ องธาตุกงึ่ โลหะ : สว นใหญผ ิวไมเปนมันวาว ไมม ีความเหนียว เปราะ จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวสูง (วิเคราะหคําตอบ ปรอทจัดเปนโลหะท่ีมีสถานะของเหลวท่ี อุณหภูมหิ อง นําไฟฟาไดดี และจุดหลอมเหลวไมส ูง ดังนน้ั ตอบ ขอ 5.) T23

นาํ สอน สรุป ประเมิน ขนั้ สรปุ ตารางธาตใุ นปจ จบุ นั มธี าตบุ รรจอุ ยคู รบแลว ทงั้ 7 คาบ โดยสหภาพเคมบี รสิ ทุ ธแิ์ ละเคมปี ระยกุ ต ระหวางประเทศ หรอื International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) ไดต กลง ตรวจสอบผล บรรจุธาตทุ คี่ นพบใหมอ ีก 4 ธาตุ เขาไปในตารางธาตุ ดังน้ี ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ เกยี่ วกบั ตารางธาตุ 1. ธาตุท่ีมีเลขอะตอม 113 ไดรับชื่อวา นิฮงเนียม (nihonium) มีสัญลักษณเปน Nh โดยใหไดข อ สรุป ดังนี้ โดยธาตชุ นดิ นถ้ี กู คน พบในประเทศญป่ี นุ ซง่ึ เปน ธาตชุ นดิ แรกทคี่ น พบในประเทศทางเอเชยี อกี ดว ย • ตารางธาตุ คือ ตารางที่รวบรวมธาตุตางๆ 2. ธาตุท่ีมเี ลขอะตอม 115 ไดร บั ช่ือวา มอสโคเวียม (moscovium) มสี ญั ลักษณเปน Mc ไวเปนหมวดหมูตามคุณสมบัติท่ีเหมือนกัน โดยต้ังชื่อตามชื่อของเมืองมอสโก ในประเทศรัสเซีย ซึ่งเปนแหลงวิจัย คนควา และสังเคราะห เพอื่ สะดวกในการจดจาํ และงา ยตอ การศกึ ษา ธาตชุ นิดนี้ • ตารางธาตุที่ใชในปจจุบัน เปนตารางธาตุ 3. ธาตุท่ีมีเลขอะตอม 117 ไดรับช่ือวา เทนเนสซีน (tennessine) มีสัญลักษณเปน Ts ของเฮนรี โมสลีย โดยเสนอใหจดั เรียงธาตุ โดยตงั้ ชอ่ื ตามชอื่ ของรฐั เทนเนสซี ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ เปน บรเิ วณทต่ี งั้ ของศนู ยว จิ ยั ตา ง ๆ ตามเลขอะตอม ทค่ี นพบธาตชุ นิดนี้ • ตารางธาตใุ นปจ จบุ นั ประกอบดว ยธาตตุ าม 4. ธาตทุ มี่ เี ลขอะตอม 118 ไดรบั ชื่อวา โอกาเนสสนั (oganesson) มสี ญั ลักษณเ ปน Og แนวต้ัง เรยี กวา หมู ซ่ึงมีทงั้ หมด 18 แถว โดยตง้ั ชือ่ ตามนายยรู ิ โอกาเนสเซียน (Yuri Oganessian) นกั วิทยาศาสตรชาวรัสเซยี ผบู ุกเบิก แบง เปน ธาตกุ ลมุ A หรอื ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี การสังเคราะหธ าตุหนกั ตาง ๆ และธาตุกลุม B หรือธาตุแทรนซิชัน ธาตุ ตามแนวนอน เรยี กวา คาบ มที ง้ั หมด 7 คาบ ? QToupiecstion ขนั้ ประเมนิ คําชี้แจง : ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี ตรวจสอบผล 1. นักวทิ ยาศาสตรใชเ กณฑอะไรในการจัดธาตตุ า ง ๆ ลงในตารางธาตุ 1. ครตู รวจการนาํ เสนอขอ มลู เกย่ี วกบั การจดั เรยี ง 2. ตารางธาตุที่ใชกันอยูใ นปจ จบุ ันมีการจดั เรยี งธาตุอยางไร ธาตุในตารางธาตุ ทไี่ ดจากการสบื คน 3. ตารางธาตุในปจ จบุ นั แบงออกเปน กห่ี มู และกค่ี าบ 2. ครูประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมการ ตอบคําถาม พฤติกรรมการทํางานกลุม และ 4. กําหนดธาตุให 5 ชนิด ดังนี้ ธาตุ B อยใู นหมู 4A คาบที่ 3 พฤตกิ รรมการทาํ งานรายบุคคล ธาตุ A อยใู นหมู 7A คาบที่ 2 ธาตุ D อยูในหมู 1A คาบที่ 5 ธาตุ C อยูในหมู 8B คาบที่ 4 3. ครูตรวจสอบผลจากการทําใบงาน เรอ่ื ง ธาตุ E อยใู นหมู 6A คาบที่ 4 ตารางธาตุ ธาตทุ ้งั 5 ชนดิ น้คี ือธาตใุ ด และมสี มบัติเปนโลหะ อโลหะ หรือก่ึงโลหะ 4. ครูตรวจสอบผลการตอบคําถามจาก Topic Question ในหนงั สือเรียน 5. ถานกั เรียนเปน นกั วิทยาศาสตรท ่ีสังเคราะหธาตทุ ีม่ เี ลขอะตอม 115 ข้นึ มา นักเรยี น จะจัดเรยี งธาตุนี้ไวใ นหมใู ด เพราะเหตใุ ด 5. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากการทาํ Unit Question ในหนังสอื เรยี น 20 แนวทางการวัดและประเมินผล แนวตอบ Topic Question ครสู ามารถวดั และประเมนิ ความเขา ใจเกยี่ วกบั การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ 1. เรียงธาตุตามลําดับเลขอะตอมหรอื จาํ นวนโปรตอน ไดจากการนําเสนอผลจากการสืบคนขอมูลท่ีนักเรียนไดนําเสนอในขั้นสํารวจ 2. จัดเรยี งธาตตุ ามลาํ ดบั เลขอะตอม คน หา โดยศกึ ษาเกณฑก ารวดั และการประเมนิ การนาํ เสนอผลงานทแี่ นบมาทา ย 3. 18 หมู และ 7 คาบ แผนการจดั การเรยี นรู หนวยการเรียนรูท ี่ 1 โครงสรา งอะตอมและตารางธาตุ 4. ธาตุ A คือ ฟลูออรีน เปน โลหะ แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ธาตุ B คือ ซิลคิ อน เปนกง่ึ โลหะ ธาตุ C คอื เหลก็ เปน โลหะ คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ธาตุ D คือ รูบเิ ดยี ม เปน โลหะ ธาตุ E คอื ซลี ีเนยี ม เปน อโลหะ ตรงกับระดบั คะแนน 5. เมื่อพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ โดยใชเลขอะตอมหรือ จํานวนโปรตรอน จะไดหมทู ่ี 5 ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนอื้ หา   2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 วธิ ีการนาเสนอผลงาน   4 การนาไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชอื่ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ............/................./................... เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง T24 5

นาํ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 3. ÊÁºµÑ Ԣͧ¸ÒµØ Prior Knowledge ขนั้ นาํ áÅСÒÃãªÑ»ÃÐ⪹ âÅËÐ ÍâÅËÐ áÅС§èÖ âÅËÐ ÁÊÕ ÁºµÑ àÔ ´¹‹ ÍÂÒ‹ §äà กระตนุ้ ความสนใจ ธาตแุ ตล ะชนดิ ในตารางธาตจุ ะมที งั้ สมบตั ทิ เี่ หมอื นกนั และ 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเก่ียวกับตาราง สมบัติท่แี ตกตา งกัน จงึ ทําใหน ําธาตุแตล ะชนดิ ไปใชป ระโยชนไ ด ธาตุ และการจัดเรียงลําดับของธาตุ เพ่ือ แตกตางกนั ซ่ึงสามารถระบุชนดิ และสมบตั ิของธาตุ และการนาํ เปนการทบทวนความรูของนักเรียนจากคาบ ธาตุแตล ะชนดิ ไปใชประโยชนได ดังนี้ เรยี นทีผ่ า นมา แลวนําไปสหู วั ขอตอไป 3.1 ª¹Ô´áÅÐÊÁºÑµ¢Ô ͧ¸ÒµØ 2. ครูถามคําถาม Prior Knowledge “โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ มีสมบัติเดนอยางไร” นกั วทิ ยาศาสตรใ ชส มบตั ขิ องธาตใุ นการจดั หมวดหมขู องธาตอุ อกไดเ ปน 3 กลมุ ใหญ ๆ ดงั นี้ เพือ่ เปน การกระตุนใหน ักเรียนรวมกันคิด สมบัติ โลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ 3. นักเรียนรวมกันตอบคําถามและแสดงความ คดิ เหน็ เกยี่ วกบั คาํ ตอบของคาํ ถาม เพอื่ เชอ่ื มโยง สถานะ เปนของแข็งทอ่ี ณุ หภูมิหอ ง พบไดท้งั 3 สถานะ ของแข็ง ไปสูการเรยี นรูเ ร่อื ง สมบัตขิ องธาตุและการใช (ยกเวนปรอทมีสถานะเปน ประโยชน ของเหลว) แนวตอบ Prior Knowledge ความมนั วาว ผิวเปน มนั วาว สวนมากผิวไมเ ปนมนั วาว บางชนิดผวิ เปนมนั วาว (ยกเวน แกรไฟตและเกลด็ บางชนดิ ผวิ ไมเปนมนั วาว 1. โลหะ เปน กลมุ ธาตทุ มี่ สี มบตั เิ ปน ตวั นาํ ไฟฟา ได ไอโอดนี ) นําความรอนท่ีดี เหนียว มีจุดเดือดสูง ปกติ เปนของแข็งที่อุณหภูมิหอง (ยกเวน ปรอท) การนําไฟฟา นําไฟฟาและความรอ นไดด ี ไมนาํ ไฟฟาและความรอ น สวนใหญม ีสมบัติเปน สาร เชน แคลเซียม อะลูมเิ นยี ม เหลก็ และความรอ น (ยกเวน แกรไฟตน ําไฟฟา ก่งึ ตัวนาํ (semiconductors) ไดด)ี ซึง่ จะสามารถนาํ ไฟฟาไดด ี 2. อโลหะ เปนกลุมธาตุที่มีสมบัติไมนําไฟฟา มี ข้ึน เม่อื อุณหภมู สิ ูงข้นึ จดุ หลอมเหลวและจดุ เดอื ดตา่ํ เปราะบาง และ มีการแปรผันทางดานคุณสมบัติทางกายภาพ ความเหนียว สวนมากเหนยี ว ดงึ ยดื ออก อโลหะทเี่ ปน ของแขง็ จะเปราะ เปราะ มากกวาโลหะ เชน ออกซิเจน กํามะถัน เปนเสน ลวด หรอื ตเี ปน ดงึ ยืดออกเปนเสน ลวด ฟอสฟอรัส แผนบางได หรอื ตีเปน แผน บาง ๆ ไมไ ด 3. กงึ่ โลหะ เปนกลมุ ธาตทุ มี่ ีสมบัติกาํ้ กึ่งระหวาง ความหนาแนน สว นมากมีความหนาแนนสงู มคี วามหนาแนนตํ่า บางชนิดมคี วามหนาแนน สูง โลหะและอโลหะ เชน ซิลิคอน เจอรเมเนียม บางชนดิ มีความหนาแนน มสี มบตั ิบางประการคลายโลหะ เชน นาํ ไฟฟา คอนขา งตาํ่ ไดบ า งทอี่ ณุ หภมู ิปกติ และนาํ ไฟฟาไดม ากขึน้ เมอื่ อุณหภมู ิเพ่มิ ข้นึ เปน ของแข็ง เปนมันวาว จดุ เดอื ดและ สว นมากสูง (ยกเวน ปรอท สว นมากต่ํา โดยเฉพาะ บางชนดิ มีจุดเดือดและ สีเงิน จุดเดือดสูง แตเปราะแตกงายคลาย จดุ หลอมเหลว จดุ หลอมเหลวต่ํา) อโลหะทเี่ ปนแกส จุดหลอมเหลวตา่ํ บางชนิด อโลหะ มจี ุดเดอื ดสงู การเกดิ เสียง มเี สยี งดังกังวาน ไมม ีเสยี งดังกงั วาน ไมมีเสียงดังกังวาน เมอื่ เคาะ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 21 ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู ธาตุในขอใดประกอบดวยธาตโุ ลหะเทานั้น ครนู าํ ตวั อยางของโลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะชนิดตางๆ มาเปน ตัวอยา ง 1. โบรอน อารก อน สงั กะสี ใหน กั เรยี นศกึ ษาสมบตั ขิ องธาตุ เพอื่ ใหเ กดิ ความเขา ใจมากขนึ้ เชน ปรอท ทมี่ ี 2. ออกซิเจน โบรมีน กํามะถัน สถานะของเหลว ซง่ึ เปน ขอ ยกเวน ของธาตทุ เ่ี ปน โลหะหรอื แกรไฟตท น่ี าํ ไฟฟา ได 3. โพแทสเซียม ซลิ ิคอน คลอรนี ซึ่งเปนขอยกเวนของอโลหะ (โดยอาจจะทําเปนการทดลองเล็กๆ ใหนักเรียน 4. โซเดียม แคลเซียม ไนโตรเจน ศกึ ษา) 5. อะลมู ิเนียม แมกนเี ซียม ทองแดง (วิเคราะหคําตอบ สังกะสี โพแทสเซียม โซเดียม แคลเซียม อะลูมิเนยี ม แมกนเี ซียม และทองแดง จัดเปนธาตโุ ลหะ โบรอน และซิลิคอน จัดเปนธาตุก่ึงโลหะ สวนอารก อน ออกซิเจน โบรมีน กํามะถัน คลอรีน และไนโตรเจน จัดเปนธาตุอโลหะ ดังนั้น ตอบขอ 5.) T25

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ¡Ò÷´Åͧ »¯¡Ô ÔÃÂÔ ÒÃÐËÇÒ‹ §âÅËкҧª¹Ô´¡Ñº¹éÒí สาํ รวจคน้ หา ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ¨´Ø »ÃÐʧ¤ • การสงั เกต 1. ทําการทดลองเพ่ือศึกษาปฏิกิริยาระหวางโซเดียม แมกนีเซียม และ 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน แลว • การทดลอง ใหชวยกันศึกษาชนิดและสมบัติของธาตุ • การจาํ แนกประเภท อะลูมเิ นียมกบั น้าํ จากหนงั สือเรยี น หนา 21 จติ วิทยาศาสตร 2. เปรียบเทียบแนวโนมความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาของธาตุหมู 1A • ความมเี หตุผล 2. นกั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั อภปิ รายภายในกลมุ • ความสนใจใฝรู 2A และ 3A กับนาํ้ ตรวจสอบและรวบรวมขอมูล โดยทุกคนตอง • ความรบั ผดิ ชอบ ทาํ ความเขา ใจใหต รงกนั แลว ใหส มาชกิ ทกุ คน ภายในกลุมรวมกันเปรียบเทียบความเหมือน ÇÑÊ´ÍØ »Ø ¡Ã³áÅÐÊÒÃà¤ÁÕ 5. นา้ํ กลน่ั 9. ลวดแมกนเี ซยี ม และความแตกตางของธาตุทง้ั 3 กลมุ น้ี 1. บกี เกอรข นาด 50 cm3 6. ชนิ้ โซเดียม 10. แผนอะลมู เิ นยี ม 2. คมี คบี สาร 7. กอ นโพแทสเซียม 3. ครูสุมตัวแทนของนักเรียนแตละกลุม เพ่ือ 3. กระจกนาฬกา 8. กระดาษลิตมัสสแี ดงและสีน้าํ เงิน นําเสนอขอมูลท่ีแตละกลุมไดไปสืบคนขอมูล 4. ตะเกียงแอลกอฮอลพรอมทก่ี ัน้ ลม มา โดยครูตรวจสอบขอมูลจากการนําเสนอ เพ่อื ความถกู ตอ ง Ç¸Ô ¡Õ Ò÷´Åͧ (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช 1. ใสนาํ้ กลั่นลงในบกี เกอรขนาด 50 cm3 จํานวน 4 ใบ ใบละ 25 cm3 ! S afety first แบบสงั เกตการทาํ งานกลมุ ) 2. ใสชิ้นโซเดียมขนาดเทาเมล็ดถั่วเขียวท่ีซับน้ํามันใหแหงแลวลงใน อธบิ ายความรู้ บีกเกอรใบที่ 1 จากน้ันนํากระจกนาฬกามาปดปากบีกเกอรทันที โลหะโซเดียมจะทําปฏิกิริยา สังเกตการเปลี่ยนแปลง เม่ือการเปล่ียนแปลงสิ้นสุดลง ใชกระดาษ รุนแรงกับนํ้า ดังนั้น จึงไมควร 1. ครูใหนกั เรยี นปฏบิ ัติกิจกรรมการทดลอง เรอ่ื ง ลิตมัสสีแดงและสีน้ําเงินทดสอบสารละลายในบีกเกอร สังเกตและ ท้ิงโลหะโซเดียมท่ีเหลือจากการ ปฏิกิริยาระหวางโลหะบางชนิดกับนํ้า โดยให บันทึกผล ทดลองลงในอางนํ้า เพราะจะ นักเรียนศึกษาวิธีการทําการทดลองในหนังสือ 3. ทําการทดลองเชน เดียวกับขอ 2. แตใ ชกอนโพแทสเซียมขนาดเทา เกิดปฏิกิริยากับน้ําอยางรุนแรง เรียน หนา 22-23 จากน้ันใหนักเรียนบันทึก เมล็ดถั่วเขยี วแทนชิน้ โซเดยี ม สงั เกตและบนั ทึกผล ตอ งนาํ มาทาํ ลายดว ยแอลกอฮอล สรุปข้ันตอนการทดลองในรูปของแผนภาพ 4. ใสลวดแมกนีเซยี มขนาด 0.5 cm × 1.0 cm ที่ขดั สะอาดแลวลงใน กอนจะเททงิ้ ลงในอางนา้ํ และออกแบบตารางบนั ทึกผลการทดลอง บีกเกอรใบท่ี 3 สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผล จากนั้นนํา บกี เกอรไปตัง้ ไฟเพอ่ื ใหนํ้ามีอุณหภมู ิ 60 Cํ เปนเวลา 3 นาที สังเกต การเปล่ียนแปลง เม่ือการเปล่ียนแปลงสิ้นสุดลง ใชกระดาษลิตมัสสีแดงและสีนํ้าเงินทดสอบสารละลาย ในบีกเกอร สังเกตและบนั ทกึ ผล 5. ทําการทดลองเชน เดยี วกับขอ 4. แตใชแ ผน อะลมู เิ นยี มแทนลวดแมกนีเซียม สังเกตและบนั ทกึ ผล ลวดแมกนีเซยี ม ชิ้นโซเดยี ม กอ นโพแทสเซียม แผนอะลูมิเนียม บีกเกอรใบที่ 1 บีกเกอรใบที่ 2 บีกเกอรใบท่ี 3 บกี เกอรใ บท่ี 4 22 ภาพที่ 1.22 การทดลองปฏกิ ริ ยิ าระหวางโลหะบางชนดิ กบั นา้ํ ท่มี า : คลังภาพ อจท. บนั ทึก การทดลอง ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET ธาตุ หมทู ่ี ผลการทดลอง ซีเซียม (Cs) จัดเปนธาตุหมู 1A ในตารางธาตุ ขอความใด โลหะโซเดยี มลกุ ติดไฟและลอยอยเู หนอื ผิวนํ้า ถกู ตองเก่ียวกบั ซเี ซียม โซเดียม 1 เคลอื่ นทไ่ี ปมาและเกิดความรอ นขน้ึ โลหะโพแทสเซียมเกดิ ปฏิกริ ยิ ารนุ แรงกับน้าํ ก. นําไฟฟาไดท ั้งในสถานะของแขง็ และของเหลว โพแทสเซยี ม 1 โดยลุกติดไฟ และมีการพงุ ของนํ้าอยางรุนแรง ข. ทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากับนํ้าอยางรนุ แรง โลหะแมกนีเซียมจมอยใู นนาํ้ และเกดิ ฟองแกส ค. ทําปฏิกริ ิยากบั นํ้าจะไดส ารละลายมีคา pH นอยกวา 7 ผดุ ขึ้นมาเล็กนอ ย แมกนีเซยี ม 2 ไมเกิดปฏกิ ริ ยิ า 1. ขอ ก. เทา น้นั 2. ขอ ก. และ ข. 3. ขอ ก. และ ค. 4. ขอ ข. และ ค. 5. ขอ ก. ข. และ ค. อะลูมิเนยี ม 3 (วิเคราะหค ําตอบ ขอ ค. ไมถ กู ตอ ง เพราะซเี ซียมเมอ่ื ทาํ ปฏิกริ ยิ า กบั น้าํ จะไดสารละลายมีคา pH มากกวา 7 ดงั น้ัน ตอบขอ 2.) T26

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒ¡Ò÷´Åͧ ขน้ั สอน 1. แกส ท่ีเกดิ ขึน้ จากปฏกิ ิริยาคือแกส อะไร จะมีวิธที ดสอบอยางไร 2. สารละลายหลังจากการเกิดปฏิกริ ยิ าของธาตแุ ตละชนดิ มสี มบัตอิ ยา งไร อธบิ ายความรู 3. จงเรียงลําดบั ความวอ งไวในการเกดิ ปฏกิ ิริยากบั นาํ้ ของโซเดียมและโพแทสเซยี ม 4. จงเรียงลําดับความวองไวในการเกิดปฏิกิรยิ ากบั นาํ้ ของโซเดียม แมกนีเซยี ม และอะลูมเิ นียม 2. ครใู หน ักเรียนรวมกันอภปิ รายกอนทําการ ทดลอง โดยครูถามคําถามกอนทาํ กจิ กรรม ÍÀ»Ô ÃÒ¼šÒ÷´Åͧ ดว ยคาํ ถามตอไปนี้ • ปญหาของการทดลองน้ี คืออะไร จากการทดลอง พบวา โซเดียม แมกนีเซียม และโพแทสเซียมสามารถทําปฏิกิริยากับน้ําได มีแกส • สมบัตทิ สี่ ําคัญของธาตหุ มู 1A 2A และ 3A เกดิ ขนึ้ และเกดิ สารละลายทม่ี สี มบตั เิ ปน เบส เนอื่ งจากสารละลายเปลย่ี นสกี ระดาษลติ มสั จากสแี ดงเปน สนี า้ํ เงนิ มีอะไรบา ง โดยโซเดียมและโพแทสเซียมทําปฏิกิริยากับน้ําที่อุณหภูมิหองอยางรุนแรง ซึ่งโพแทสเซียมจะเกิดปฏิกิริยาท่ี • นกั เรยี นคดิ วา ธาตใุ ด จะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ากบั นาํ้ รนุ แรงกวา โซเดยี ม สว นแมกนเี ซยี มทาํ ปฏกิ ิริยากบั นํา้ ท่อี ุณหภูมิหองไดช า มาก แตป ฏกิ ริ ิยาจะเกิดเร็วขึ้นเม่อื ไดดีทีส่ ุด น้ํามอี ณุ หภมู สิ งู ข้ึน ในขณะที่อะลมู ิเนยี มไมท ําปฏิกริ ยิ าทั้งในนํ้ารอนและนํา้ เย็น 3. ครใู หค วามรเู กยี่ วกบั ขอ ควรระวงั กอ นทาํ กจิ กรรม จากการทดลอง สามารถสรปุ แนวโนม ความเปน โลหะและอโลหะของธาตตุ ามตารางธาตุได การทดลอง เชน โลหะโซเดียมสามารถทํา ดังน้ี ปฏกิ ริ ยิ ารนุ แรงกบั นา้ํ เกดิ แกส ทต่ี ดิ ไฟ และเกดิ การไหมเ มอื่ สมั ผสั ควรใชด ว ยความระมดั ระวงั ความเปน โลหะ 4. ครใู หน กั เรยี นลงมอื ทาํ การทดลองตามขนั้ ตอน ความเ ปนโลหะ 1A 8A และบนั ทึกผลการทดลอง 1 H 2A 3A 4A 5A 6A 7A He ความเปนอโลหะ 5. ครูใหตัวแทนนักเรียนของแตละกลุมออกมา 2 Li Be B C N O F Ne นําเสนอผลการทดลองหนาชั้นเรียน โดยให 3 Na Mg Al Si P S Cl Ar นักเรียนเปรียบเทียบผลการทดลองของแตละ 4 K Ca Ga Ge As Se Br Kr กลมุ วา เหมอื นหรอื แตกตา งกนั อยา งไร หากผล 5 Rb Sr In Sn Sb Te I Xe การทดลองแตกตางกัน ใหนักเรียนรวมกัน 6 Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn อภปิ รายสาเหตทุ ที่ าํ ใหผ ลการทดลองแตกตา ง 7 Fr Ra กัน ความเปน อโลหะ แนวตอบ คาํ ถามทายการทดลอง ภาพที่ 1.23 แนวโนมความเปน โลหะและอโลหะของธาตหุ มู A 1. แกสไฮโดรเจน ทีม่ า : คลังภาพ อจท. 2. ธาตแุ ตล ะชนิดมีสมบตั ิเปน เบส 3. ความวองไวตอการเกิดปฏิกิริยาของธาตุหมู â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 23 1A จะเพิ่มข้ึนตามคาบ ดังนั้น ความวองไว ตอการเกิดปฏิกิริยาจะเพ่ิมข้ึนจากโซเดียมถึง โพแทสเซยี ม 4. โซเดียม แมกนีเซียม และอะลูมิเนียม ตาม แนวโนมความเปน โลหะ ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET เกร็ดแนะครู ขอ ใดเรยี งลําดับความเปนโลหะจากมากไปนอ ยไดถูกตอง ครูอธิบายเพิม่ เติมเก่ยี วกับสมบัตขิ องธาตุตา ง ๆ เชน 1. Li > K > Al > O > F 1. แนวโนม จุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวของโลหะหมู 1A-3A และธาตุหมู 4A 2. Rn > I > H > Na > C 3. K > Mg > B > N > Ne จะลดลงตามหมู และจะเพ่มิ ขึน้ ตามคาบ เม่อื เลขอะตอมเพมิ่ ขน้ึ สวนแนว- 4. Cs > Si > Ga > F > Cl โนม จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวของอโลหะ จะเพมิ่ ขน้ึ ตามหมู และจะลดลง 5. Bi > Po > At > Mg > S ตามคาบ เม่ือเลขอะตอมเพม่ิ ข้นึ (วเิ คราะหค ําตอบ แนวโนมของความเปน โลหะจะเพิ่มจากขวาไป 2. แนวโนมความหนาแนนของธาตุเรพรีเซนเททีฟจะเพ่ิมขึ้นตามหมู เมื่อเลข อะตอมเพ่ิมขึน้ สว นตามคาบ พบวา โลหะแทรนซชิ นั > 4A > 3A > 2A > ซา ย จากบนลงลา งของตารางธาตุ ดงั นน้ั ตอบขอ 3.) 1A สว นอโลหะแนวโนมความหนาแนน ตามคาบจะไมช ดั เจน T27

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน 3.2 ¡ÒÃ㪻Œ ÃÐ⪹¨Ò¡¸ÒµºØ Ò§ª¹Ô´ ขยายความเขา้ ใจ จากแนวโนม สมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตทุ ไ่ี ดศ กึ ษามาแลว ทาํ ใหท ราบวา ธาตใุ นหมเู ดยี วกนั จะมสี มบตั ทิ ใี่ กลเ คยี งกนั ตอ มาจะเรยี นรเู กยี่ วกบั ลกั ษณะ สมบตั เิ ฉพาะตวั และการนาํ ไปใชป ระโยชน 1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการ ของธาตุเรพรีเซนเททฟี ในแตล ะหมู และธาตแุ ทรนซชิ ัน ดังนี้ ทดลอง โดยครูใชคําถามหลังทําการทดลอง ดงั น้ี ¸ÒµØËÁÙ‹ 1A • เปรยี บเทยี บความวอ งไวตอ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า ของธาตุแตละชนิด âÅËÐáÍŤÒäÅ alkali metals • เมอ่ื โลหะทาํ ปฏิกริ ยิ ากับนํ้าแลว สารละลาย ทไ่ี ดมฤี ทธเ์ิ ปน กรด กลาง หรอื เบส 1 2 ลักษณะและสมบตั ิ • แกส ทเ่ี กิดข้นึ ในการทดลอง คือแกสใด 3 Li3 6.94 4 • สวนใหญม สี ีเงนิ (ยกเวน ซีเซยี ม (Cs) จะมสี ีทองเจอื ปน) 2. ครมู อบหมายใหน กั เรียนแตละคนเขยี น 5 • เปนโลหะเน้อื ออน มีความหนาแนน ตํา่ ผังมโนทศั นสรปุ สมบัตขิ องธาตุหมู 1A 2A Lithium 6 • มีความวองไวในการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมสี งู เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมกี ับธาตหุ มู 7A ไดด ี และ 3A ลงในกระดาษ A4 สง เปนการบาน 7 ในชว่ั โมงถัดไป Na11 22.99 และเกิดปฏิกริ ยิ ารนุ แรงกบั นํา้ จึงตอ งเกบ็ ไวในนํา้ มนั • มเี วเลนซอ เิ ลก็ ตรอน 1 ตวั ทาํ ใหส ญู เสยี อเิ ลก็ ตรอนไดง า ย ดงั นน้ั จงึ มคี วามเปน Sodium โลหะสงู K19 39.10 • ในธรรมชาติมักพบอยูในรูปสารประกอบ เชน โซเดียมคลอไรด (NaCl) Potassium ลิเทียมออกไซด (Li2O) ภาพที่ 1.24 ธาตหุ มู 1A Rb37 85.47 ท่ีมา : คลงั ภาพ อจท. Rubidium Cs55 132.91 Cesium Fr87 (223) Francium ตัวอยางการนําไปใชป ระโยชน ภาพท่ี 1.25 แบตเตอร่ีลเิ ทยี มไอออน ภาพท่ี 1.26 ขนมปง ทม่ี า : คลังภาพ อจท. ทมี่ า : คลงั ภาพ อจท. ลิเทยี ม (Li) โซเดียม (Na) สามารถดูดความรอนไดดี นํามา ในชวี ติ ประจาํ วนั มกี ารนาํ สารประกอบโซเดยี มมาใชป ระโยชนม ากมาย เชน ใชในการถายเทความรอนและ เกลอื แกงหรือโซเดยี มคลอไรด (NaCl) นาํ มาใชใ นการประกอบอาหาร สามารถถายเทอิเล็กตรอนไดดี ผงฟูหรือโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต (NaHCO3) นํามาใชในการทํา จงึ นาํ มาทาํ เปน แบตเตอร่ี ขนมปง ใหฟู 24 สื่อ Digital ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET ศึกษาเพ่ิมเติมไดจากภาพยนตรสารคดีส้ัน Twig เร่ือง โลหะอัลคาไล ธาตุใดอยใู นหมูเ ดยี วกัน https://twig-aksorn.com/film/alkali-metals-8220/ M เปน ธาตทุ ีม่ ีสถานะเปน แกส สเี หลอื ง อยเู ปน อะตอมคู N เปนธาตุในหมูที่ทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา และอยูในคาบเดียว T28 กับโบรอน Q เปนธาตุทม่ี ีเลขอะตอมเทากับ 11 R เปน ธาตุก่ึงโลหะที่มเี ลขอะตอมนอยทสี่ ุด 1. M และ N 2. N และ Q 3. M และ R 4. N และ R 5. Q และ R (วเิ คราะหคําตอบ M เปน ธาตุฟลูออรนี ซง่ึ อยใู นหมู 7A N เปนธาตลุ ิเทียม ซึ่งอยใู นหมู 1A Q เปน ธาตโุ พแทสเซยี ม ซ่ึงอยูในหมู 1A R เปน ธาตโุ บรอน ซ่งึ อยใู นหมู 3A ดังนัน้ ตอบขอ 2.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ¸ÒµØËÁÙ‹ 2A ขนั้ สอน âÅËÐáÍŤÒ䬏àÍÔÏ· alkaline earth metals สาํ รวจคน้ หา 2 2 ลักษณะและสมบัติ 1. ครูใหนกั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 4 คน ศกึ ษา 3 เรือ่ ง สมบตั ิของธาตตุ ามหมู จากหนงั สือเรียน Be4 9.01 4 • สว นใหญม สี ีเงิน หนา 24-28 หรอื แหลง เรยี นรตู างๆ โดยแบง 5 • เปน โลหะเน้อื ออ น แตม คี วามแข็งและมีความหนาแนนมากกวาธาตหุ มู 1A กันคนละเรอื่ ง ดงั น้ี Beryllium 6 • เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมกี บั นาํ้ และธาตหุ มู 7A ไดด ี แตป ฏกิ ริ ยิ ามคี วามรนุ แรงนอ ยกวา • สมบตั ขิ องธาตุหมู 1A 7 • สมบตั ิของธาตหุ มู 2A Mg12 24.31 ธาตหุ มู 1A • สมบตั ิของธาตหุ มู 7A • มเี วเลนซอ ิเล็กตรอน 2 ตวั ทาํ ใหสูญเสียอิเล็กตรอนไดง าย ดงั น้ัน จึงมีความ • สมบตั ขิ องธาตุหมู 8A Magnesium • สมบัติของธาตุแทรนซชิ นั เปนโลหะท่ีดี Ca20 40.08 2. จากนั้นใหนักเรียนนําเรื่องที่ตนเองศึกษามา ภาพท่ี 1.27 ธาตุหมู 2A อธิบายใหเพ่ือนภายในกลุมฟง จนเกิดความ Calcium ทีม่ า : คลังภาพ อจท. เขาใจท่ีตรงกันภายในกลุม Sr38 87.62 3. ครูสมุ ตัวแทนนักเรียน 2 กลุม ออกมาอธบิ าย เกยี่ วกับสมบัตขิ องธาตหุ มู 1A และ 2A โดย Strontium กลมุ หนงึ่ อธบิ ายสมบตั ขิ องธาตหุ มู 1A อกี กลมุ หนง่ึ อธิบายสมบตั ิของธาตหุ มู 2A Ba56 137.33 4. จากน้ันครูใหซักถามขอสงสัย โดยครูเปน Barium ผูอธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ จากนั้นครูต้ังคําถามเพื่อทดสอบความเขาใจ Ra88 226.03 ของนักเรียน เชน • ธาตุหมู 1A และ 2A มสี มบตั ใิ ดคลา ยคลึง Radium กนั และมสี มบตั ิใดท่แี ตกตา งกัน (แนวตอบ สมบตั ทิ ค่ี ลา ยคลงึ กนั คอื เปน โลหะ ตวั อยา งการนําไปใชประโยชน เน้ือออน สวนใหญเปนสีเงิน สวนสมบัติท่ี แตกตา งกัน คอื ธาตหุ มู 1A มีความไวตอ เบริลเลยี ม (Be) ปฏิกิริยาเคมีสูงมาก จึงไมพบโลหะหมูน้ี เปน โลหะทีม่ ีความแขง็ แรง นํ้าหนักเบา แตเ ปราะ มักนาํ มาใชเ ปน โลหะ เปนธาตุอิสระในธรรมชาติ แตพบอยูในรูป ผสมเพื่อทาํ ใหโลหะแขง็ แกรง ข้ึน สารประกอบ สว นโลหะหมู 2A มคี วามแข็ง และหนาแนนมากกวาหมู 1A ที่อยูคาบ แมกนีเซยี ม (Mg) เดยี วกนั ) เปน ธาตทุ พี่ บไดม ากในธรรมชาติ โดยพบเปน สว นประกอบของเปลอื กโลก อยูประมาณรอยละ 2 และเปนธาตุที่ละลายอยใู นนาํ้ ทะเลเปน อันดับ 3 นยิ มนาํ มาใชเ ปน วตั ถดุ บิ ในการผลติ โลหะผสมอะลมู เิ นยี มและแมกนเี ซยี ม ภาพที่ 1.28 ภาพเอกซเรย แคลเซียม (Ca) ของลําไสใหญ เปนโลหะสเี ทาออ น เปน ธาตุท่มี คี วามสาํ คัญ ทม่ี า : คลงั ภาพ อจท. ตอ สง่ิ มชี วี ิตอยา งย่ิง เนอื่ งจากเปนสวนประกอบ แบเรียม (Ba) ทส่ี าํ คญั ของโครงสรา งรา งกายของสง่ิ มีชีวิต เปน ธาตทุ จ่ี ะพบไดน อ ยในธรรมชาติ เชน กระดูกและฟน สามารถทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั อากาศไดด ี ภาพที่ 1.29 โครงกระดกู ทําใหพบไดเฉพาะในรูปของสาร ทม่ี า : คลงั ภาพ อจท. ประกอบเทา นน้ั นาํ มาใชป ระโยชน ในหลายดา น เชน ดา นการขดุ เจาะ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 25 นาํ้ มนั การทาํ เหมอื งแรการถา ยภาพ เอกซเรยทางการแพทย ขอ สอบเนน การคิดแนว O-NET เกร็ดแนะครู ขอ ใดไมใ ชส มบัติของธาตุหมู 2A ใหครูทดสอบสีของเปลวไฟใหนักเรียนดู โดยนําสารประกอบของธาตุไป 1. เปนโลหะเน้ือออ น เผาใหสีของเปลวไฟแตกตางกัน เชน 2. เกดิ ปฏกิ ริ ยิ ากบั นา้ํ ไดดี - Ca2+ ใหเปลวไฟสีแดงอฐิ โดยใชส าร CaCO3 CaCl2 CaSO4 3. สญู เสยี อเิ ล็กตรอนไดง าย - Sr2+ ใหเ ปลวไฟสีแดง โดยใชส าร SrCl2 Sr(NO3)2 4. มีเวเลนซอ เิ ล็กตรอนเทากบั 2 - Ba2+ ใหเ ปลวไฟสีเขียว โดยใชส าร BaCO3 BaSO4 BaCl2 5. มคี วามหนาแนน นอ ยกวา ธาตุหมู 1A (วิเคราะหคําตอบ ธาตุหมู 2A เปนโลหะเนื้อออน มีเวเลนซ อิเล็กตรอน 2 ตัว จึงสูญเสียอิเล็กตรอนไดงาย เกิดปฏิกิริยากับ นํ้าและธาตุหมู 7A ไดดี และมีความหนาแนนมากกวา ธาตหุ มู 1A ดังนั้น ตอบขอ 5.) T29

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ¸ÒµØËÁÙ‹ 7A Cinhermeaisltrlyife สาํ รวจคน้ หา ¸ÒµØáÎâÅਹ halogen โซเดยี มฟลอู อไรดท น่ี าํ มาเตมิ ลงในยาสฟี น สามารถปอ งกนั ฟน 5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพ่ิมเติมจากแหลง 17 2 ลักษณะและสมบตั ิ ผไุ ด เนอ่ื งจากโซเดยี มฟลอู อไรด เรียนรูตาง ๆ เก่ียวกับสมบัติของธาตุหมู 3A 3 จะไปชวยเพิ่มความแข็งแรงให และยกตวั อยา งธาตหุ มู 3A ทีค่ วรรจู ัก พรอ ม F9 18.998 4 • เปน อโลหะทมี่ คี วามวอ งไวตอ การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า กับชั้นเคลือบฟน ทําใหทนทาน บอกประโยชนของธาตุชนิดนน้ั ๆ แลวสรปุ ลง 5 เคมีสูง ตอกรดที่แบคทีเรียตาง ๆ ผลิต ในกระดาษ A4 สงครู จากนนั้ ครตู ้ังคําถามให Fluorine 6 ข้ึนได นอกจากนี้ ฟลูออไรดยัง นกั เรยี นชว ยกันตอบ 7 • ในธรรมชาตมิ กั พบธาตหุ มนู ใี้ นลกั ษณะโมเลกลุ ชวยยับย้ังการเจริญเติบโตของ • ธาตุหมู 3A มสี มบตั เิ ปนอยา งไร Cl17 35.45 คู ซ่ึงประกอบดวย 2 อะตอม เชื้อจลุ ินทรยี ได (แนวตอบ เปนโลหะ แตความเปน โลหะนอย กวาธาตุหมู 1A และ 2A มีสถานะเปน Chlorine • เมอ่ื รวมตวั กบั ไฮโดรเจนจะมสี มบตั เิ ปน กรด เชน ของแข็ง เวเลนซอ ิเล็กตรอนเทากบั 3 ตัว มี กรดไฮโดรคลอริก (HCl) กรดไฮโดรฟลูออรกิ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง และสูงกวา Br35 79.90 (HF) ธาตุหมู 1A และ 2A) Bromine • มเี วเลนซอ เิ ลก็ ตรอน 7 ตวั ทาํ ใหร บั อเิ ลก็ ตรอน 6. ครสู ุม ตัวแทนนกั เรยี น 2 กลมุ ออกมาอธิบาย จากธาตุอื่น ๆ ไดดี ดังน้ัน จึงมีความเปน เก่ยี วกบั สมบตั ขิ องธาตหุ มู 7A และหมู 8A I53 126.90 อโลหะสงู ภาพที่ 1.30 ธาตหุ มู 7A Iodine ทีม่ า : คลังภาพ อจท. At85 (210) Astatine 1T1s7 294 Tennessine ตัวอยางการนาํ ไปใชประโยชน โบรมนี (Br) มีสถานะเปนของเหลวสีแดง สามารถระเหยไดงายท่ีอุณหภูมิหอง นํามาใชในการเตรียมเอทิลีนโบรไมด และเอทิลนี ไดโบรไมด เพ่ือใชเตมิ ลงในนาํ้ มนั แกสโซลนี และนาํ มาใชใ นอุตสาหกรรมยอ มและฟอกสี ไอโอดีน (I) มีสถานะเปนของแข็ง ไมละลายน้ํา มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต เน่ืองจากเปนธาตุท่ีเปน องคประกอบสําคัญในการผลิตฮอรโมนท่ีสําคัญบางชนิด นอกจากนี้ ยังนํามาใชในการผลิตยาฆาเช้ือ และสียอมผา ไดอ กี ดว ย ภาพที่ 1.31 ยาสฟี นผสมฟลูออรนี ภาพที่1.32ในสระวา ยนา้ํ จะมกี ารเตมิ คลอรนี ลงไปเพอ่ื ฆา เชอ้ื โรค ที่มา : คลังภาพ อจท. ท่มี า : คลงั ภาพ อจท. ฟลอู อรนี (F) คลอรีน (Cl) เปนแกสสีเหลืองออน และเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต มีสถานะเปนแกสสีเขียวอมเหลือง มีน้ําหนักมากกวา ซ่ึงฟลูออรีนบริสุทธิ์สามารถทําใหเกิดรอยไหมบน อากาศ มีกล่ินเหม็น และเปนพิษรายแรง มีคุณสมบัติ ผวิ หนงั ได ดงั นน้ั โดยทวั่ ไป จะใชป ระโยชนฟ ลอู อรนี ในการฆาเช้ือโรคไดดี จึงนิยมนํามาเติมลงในน้ําหรือ ในรปู ของสารประกอบ เชน โซเดยี มฟลอู อไรด (NaF) สระนา้ํ เพื่อทาํ ใหน าํ้ สะอาด ใชเ ตมิ ลงในยาสฟี น เพอื่ ชว ยปอ งกนั ฟน ผุ 26 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมเกีย่ วกับธาตุหมู 7A วา เปนธาตุที่มีความวองไวในการ ขอ ใดจบั คธู าตแุ ละประโยชนของธาตุไดถกู ตอ ง เกิดปฏิกิริยา ซึ่งเปนตัวรับอิเล็กตรอนที่ดี (ตัวออกซิไดส : oxidizing agent) 1. ลิเทียม-ใชท ําแบตเตอรี่ เนอื่ งจากมเี วเลนซอ เิ ลก็ ตรอน 7 ตัว ขาดอีก 1 ตวั จึงจะเสถียร จากนนั้ ครเู ขยี น 2. คลอรนี -ใชเ ตมิ ลงในยาสีฟน ระดบั พลงั งานของธาตหุ มู 7A ใหน กั เรยี นดู เพอ่ื ใหน กั เรยี นเขา ใจเกย่ี วกบั สมบตั ิ 3. ทองแดง-ใชท ํากระปองบรรจุอาหาร ในการทาํ ปฏิกริ ิยาของธาตหุ มู 7A มากขนึ้ 4. อารก อน-ใชบ รรจลุ งในถังออกซิเจนของนักประดานํา้ 5. แมกนเี ซียม-ใชใ นการถา ยภาพเอกซเรยทางการแพทย T30 (วิเคราะหคาํ ตอบ ขอ 1. ถูกตอ ง ลเิ ทียม ใชทําแบตเตอรี่ ขอ 2. ไมถกู ตอ ง คลอรนี ใชเติมลงในน้าํ หรือสระนํา้ ขอ 3. ไมถ กู ตอ ง ทองแดง ใชท าํ สายไฟฟา อปุ กรณไ ฟฟา ตา งๆ ขอ 4. ไมถกู ตอ ง อารก อน ใชบ รรจุในหลอดไฟฟา ขอ 5. ไมถ กู ตอง แมกนเี ซยี ม ใชเ ปน วัตถดุ บิ ในการผลิตโลหะ ผสมระหวางอะลูมเิ นยี มกบั แมกนเี ซียม ดงั นั้น ตอบขอ 1.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ¸ÒµØËÁÙ‹ 8A ขนั้ สอน ᡍÊà©ÕèÍ inert gas สาํ รวจคน้ หา 18 1 ลักษณะและสมบตั ิ 7. จากนั้นครใู หซ กั ถามขอ สงสัย โดยครเู ปน 2 ผูอธิบายคําตอบจนนกั เรยี นเกิดความเขา ใจ He2 4.003 3 • มสี ถานะเปนแกส ไมม สี ี ไมม ีกล่นิ ละลายนา้ํ ไดเล็กนอย และตงั้ คาํ ถามเพอื่ ทดสอบความเขา ใจของ 4 • มคี วามวอ งไวในการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมตี ่ํา นกั เรียน Helium 5 • มเี วเลนซอเิ ลก็ ตรอน 8 ตัว จึงยากตอ การสญู เสียหรอื รับอิเลก็ ตรอนเพิ่ม • ธาตหุ มู 7A มีสมบัติอยางไร พรอมทัง้ 6 ยกตวั อยา งธาตทุ ี่รจู ัก Ne10 20.18 7 ตัวอยางการนําไปใชป ระโยชน (แนวตอบ ธาตหุ มู 7A หรอื ธาตแุ ฮโลเจน เปน ธาตุที่มีสมบัติเปนอโลหะ มีความวองไวตอ Neon นอี อน (Ne) การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีสูง ในสภาพธรรมชาติ เปน แกส ไมม สี ี เปน แกส ทไ่ี มว อ งไวในการเกดิ จะพบวา ธาตุกลุมน้ีจะอยูเปนโมเลกุลคู Ar18 39.95 ซึ่งประกอบดวย 2 อะตอม คุณสมบัตอิ ยาง เปพฏื่อกิ ชริ ิยวายยจืดงึ อนาิยยมุกนาํารมใาชบงรารจนุใขนอหงลไอสดหไฟลอฟดา1 หนึ่งของธาตุหมู 7A คือ เม่ือรวมตัวกับ Argon ไฮโดรเจน (H) จะมฤี ทธเ์ิ ปน กรดรนุ แรง เชน และนํามาบรรจุในหลอดไฟโฆษณาเพ่ือให กรดไฮโดรคลอรกิ (HCl) กรดไฮโดรฟลอู อรกิ Kr36 83.80 แสงสสี ม แดง (HF) ธาตุหมู 7A จะรบั เวเลนซอ ิเลก็ ตรอน จากธาตุอื่นๆ ไดดี จึงมีสมบัติความเปน Krypton ภาพท่ี 1.33 ธาตหุ มู 8A ภาพที่ 1.34 หลอดไฟนีออน อโลหะสูง ตัวอยางของธาตุหมู 7A ที่ควร ท่มี า : คลังภาพ อจท. ท่ีมา : คลังภาพ อจท. รจู กั ไดแก ฟลอู อรนี (F) และคลอรีน (Cl)) Xe54 131.30 • ธาตุหมู 8A มีสมบัติอยา งไร พรอมทงั้ ยกตวั อยางธาตทุ คี่ วรรจู กั Xenon (แนวตอบ ธาตุหมู 8A หรือแกสเฉ่ือย ไดแก ฮีเลียม (He) นีออน (Ne) อารกอน (Ar) Rn86 (222) ครปิ ทอน (Kr) ซีนอน (Xe) และเรดอน (Rn) ธาตใุ นหมู 8A จะมสี ถานะเปนแกสทรี่ ะดับ Radon อณุ หภมู ิและความดันปกติ และเปน ธาตทุ ม่ี ี ความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีตํ่า มี Og118 (294) เวเลนซอ เิ ลก็ ตรอนทค่ี รบ 8 อยแู ลว จงึ ยากตอ การสญู เสยี หรอื รบั อเิ ลก็ ตรอนเพมิ่ มลี กั ษณะ Oganesson เปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ละลายนํ้าไดเล็ก นอย นิยมใชในการบรรจุลงในบริเวณท่ีไม ภาพท่ี 1.35 ลกู โปง ฮเี ลยี ม (He) อารกอน (Ar) ตอ งการใหเ กดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี) ท่บี รรจุดว ยแกสฮีเลียม เปนแกส ไมม สี ี ไมม กี ลิ่น ไมมรี ส นํามาใชบรรจุในหลอดไฟฟา ทมี่ า : คลังภาพ ไมติดไฟ นิยมนํามาใชบรรจุใน เพื่อชวยยืดอายุการใชงานของ อจท. บอลลนู หรอื ลกู โปง สวรรค ใชผ สม ไสหลอด ใชในอุตสาหกรรม กับแกสออกซิเจนแลวบรรจุลง การเชอ่ื มโลหะ และนาํ มาใชบ รรจุ ในถังสําหรับผูที่จะลงไปทํางาน ในหลอดไฟโฆษณาเพื่อใหแสง ใตท ะเล หรือสาํ หรบั นกั ประดานํ้า สีมว งและสนี ํา้ เงิน นอกจากน้ี ยงั มกี ารนาํ ฮเี ลยี มเหลว คริปทอน (Kr) มาใชเ ปน สารสําหรบั หลอ เยน็ นํามาใชบรรจุในหลอดไฟแฟลช สาํ หรบั ถา ยรูปความเร็วสงู ซนี อน (Xe) เปนธาตุที่ไมมีสี ไมมีกล่ิน พบ เพียงเล็กนอ ยในบรรยากาศ เปน แกสที่มีฤทธ์ิเปนยาสลบ และนํา มาใชบรรจุในหลอดไฟโฆษณา เพือ่ ใหแสงสนี ํ้าเงนิ เขยี ว â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 27 ขอ สอบเนน การคดิ แนว O-NET นักเรียนควรรู ขอ ใดไมใชส มบตั ขิ องธาตุแทรนซชิ ันที่อยูในคาบเดียวกนั ก. เกดิ สารประกอบทม่ี ีสีตา ง ๆ 1 ชว ยยืดอายุการใชง านของไสห ลอด การใชแ กสอารกอนบรรจใุ นหลอดไฟ ข. มีเลขออกซิเดชันไดห ลายคา จะชว ยยดื อายกุ ารใชง านของไสห ลอดได เนอ่ื งจากแกสอารก อนไมทาํ ปฏกิ ริ ิยา ค. มีขนาดอะตอมแตกตา งกันมาก กับไสห ลอดขณะท่รี อ น แตถา บรรจุอากาศในหลอดไฟ ไสหลอดจะทาํ ปฏิกิริยา ง. มจี ํานวนเวเลนซอ ิเลก็ ตรอนเทา กัน กบั แกส ตา ง ๆ ได จึงทําใหไสห ลอดขาดไดงาย จ. มีจดุ หลอมเหลวต่ํากวาธาตหุ มู 2A ในคาบเดียวกัน T31 1. ขอ ก. และ ข. 2. ขอ ก. และ จ. 3. ขอ ค. และ ง. 4. ขอ ค. และ จ. 5. ขอ ง. และ จ. (วเิ คราะหค าํ ตอบขอ ค.และจ.ไมใ ชส มบตั ขิ องธาตแุ ทรนซชิ นั เพราะ ในคาบเดียวกันจากซายไปขวาขนาดอะตอมของธาตุแทรนซิ- ชนั จะลดลงเลก็ นอ ย และธาตแุ ทรนซชิ นั จะมจี ดุ หลอมเหลวสงู กวา ธาตหุ มู 2A ในคาบเดียวกนั ดังน้นั ตอบขอ 4.)

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ¸ÒµØá·Ã¹«ÔªÑ¹ transition elements สาํ รวจคน้ หา 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 28 58.70 29 63.55 30 65.37 8. ครูสุมตัวแทนนกั เรียน 1 กลุม ออกมาอธิบาย Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc 1 เก่ยี วกบั สมบัตขิ องธาตุแทรนซชิ ัน Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41 9. จากนั้นครูใหซักถามขอสงสัย โดยครูเปน Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium 2 ผูอธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ และต้ังคําถามเพื่อทดสอบความเขาใจของ La Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59 นักเรยี น Lanthanum Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury 3 • ธาตุแทรนซิชัน มีสมบัติอยางไร พรอมท้ัง ยกตัวอยา งธาตทุ ี่รูจัก Ac Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289) (แนวตอบ เปน โลหะซง่ึ สว นใหญม จี ดุ หลอมเหลว จุดเดือด และความหนาแนนสูง มีเวเลนซ Actinium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium 4 อิเล็กตรอน เทากับ 2 ยกเวนโครเมียมกับ ทองแดง ซึ่งมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 ลกั ษณะและสมบตั ิ ภาพท่ี 1.36 ธาตแุ ทรนซชิ ัน เชน สงั กะสี (Zn) เหลก็ (Fe) ทองแดง (Cu)) ทม่ี า : คลังภาพ อจท. • ทอี่ ณุ หภมู หิ อ งมสี ถานะเปน ของแขง็ (ยกเวน ปรอท เปนของเหลว) • มีความเปน โลหะนอ ยกวาโลหะหมู 1A และ 2A • มีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง • นําไฟฟาได • สามารถเกิดสารประกอบไดหลายชนิด รวมท้งั สารประกอบเชงิ ซอ นทมี่ ีสีสันเฉพาะตวั ตัวอยา งการนาํ ไปใชป ระโยชน ภาพท่ี 1.37 กระปอ งบรรจอุ าหารทที่ าํ จากแผน เหลก็ บาง ท่มี า : คลังภาพ อจท. เหลก็ (Fe) เหล็กกลา (เหล็กผสมคารบอน) นํามาใชในงานกอสราง เปนสวนประกอบของลวด ตะปู เม่ือนํา เหล็กไปเคลือบผิวดวยสังกะสี จะนาํ มาใชเปน สงั กะสีมุงหลงั คา และทํากระปอ งบรรจุอาหาร ทองแดง (Cu) นํามาใชทําสายไฟฟา อุปกรณไฟฟาตาง ๆ ทองแดงผสมสังกะสี (ทองเหลือง) นํามาใชทํากลอนประตู กญุ แจ กระดมุ ทองแดงผสมดบี กุ (ทองสมั ฤทธิ์) นาํ มาใชทําระฆงั ลานนาฬกา สังกะสี (Zn) แผน สงั กะสบี ริสุทธน์ิ ํามาใชทําขั้วของถา นไฟฉาย โครเมียม (Cr) นํามาใชเคลือบผิวของเหล็กและโลหะอ่ืน ๆ ทําใหไดผิวโลหะที่เปนมันวาว และ ไมผุกรอน นํามาใชเปนสวนประกอบของเหล็กกลาผสมที่ใชทําตูนิรภัย จรวด เคร่อื งบนิ ไอพน เรเดียม (Ra) เปน ธาตุกมั มนั ตรงั สี สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลม ะเรง็ ได จึงนาํ มาใชใ นการ รกั ษาโรคมะเร็ง 28 ภาพท่ี 1.38 สายไฟฟา ทองแดง ท่มี า : คลังภาพ อจท. เกร็ดแนะครู กจิ กรรม ทา ทาย ครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมวา สารประกอบและไอออนของโลหะแทรนซิชัน ใหนักเรียนสืบคนจากแหลงขอมูลตางๆ เก่ียวกับการจัด สว นมากจะมสี ี ยกเวนหมู 2B และ 3B เนือ่ งจากมอี เิ ล็กตรอนไมเ ต็มในระดับถัด เรียงอิเล็กตรอนและประโยชนของธาตุแทรนซิชัน แลวจัดเรียง เขามาจากระดับเวเลนซอิเล็กตรอน จึงทําใหอิเล็กตรอนในระดับนี้สามารถดูด อิเล็กตรอนของธาตุแทรนซิชันจํานวน 10-15 ธาตุ จากน้ันระบุ กลืนคลื่นแสงแลวเล่ือนขึ้นไปอยูในสภาวะกระตุน เมื่อกลับเขาสูระดับพลังงาน ประโยชนของธาตุแทรนซิชันที่นํามาจัดเรียงอิเล็กตรอนมาพอ เดิมซ่ึงเปนภาวะปกติจะปลอยหรือคายคลื่นแสงสีใดสีหนึ่งในแถบสีที่ตามอง สังเขป เห็นได ตัวอยา งสีของสารประกอบของแทรนซชิ ัน เชน KMnO4 สมี ว ง K2Cr2O7 สสี ม K2CrO4 สเี หลือง MnO2 สีนา้ํ ตาลเขม Cu2O สแี ดง NiO สีเขยี วเขม T32

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ตวั อยางการนําสมบตั ิของธาตมุ าใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วนั ขนั้ สอน ´ŒÒÁ¨Ñº อธบิ ายความรู้ ทําจากพอลเิ มอรที่มีอโลหะเปน องคป ระกอบ จงึ ไมนําความรอน 1. ครูถามคําถามเพื่อเช่ือมโยงสิ่งท่ีนักเรียนได เรียนรูไ ปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ดังน้ี µÇÑ ËÁŒÍ à«ÅŏÊØÃÔÂÐ • นักเรียนคิดวา สามารถนําความรูเก่ียวกับ ทาํ จากโลหะอะลมู เิ นยี มหรือ ทาํ จากซิลิคอนซง่ึ เปนสารกึง่ ตัวนํา เมื่อไดร ับแสง สมบัติของธาตใุ นหมูต างๆ ไปใชประโยชน สเตนเลสที่นาํ ความรอนไดด ี อาทติ ยจ ะนาํ ไฟฟา ได ไดอยา งไรบา ง (แนวตอบ ขนึ้ อยูก บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน) 2. ครใู หนักเรยี นเขียนบนั ทึกการเรียนรหู ลงั เรยี น (learning logs) เรอ่ื ง สมบตั ิของธาตุและการ ใชป ระโยชน 3. ครูใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจาก Topic Question เพื่อเปนการทบทวนความรูเร่ือง สมบัติของธาตุและการใชประโยชน ภาพที่ 1.39 หมออะลูมเิ นยี ม ภาพที่ 1.40 เซลลส รุ ยิ ะ ทีม่ า : คลังภาพ อจท. ทีม่ า : คลังภาพ อจท. ? QToupiecstion คาํ ชีแ้ จง : ใหนักเรยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. เพราะเหตุใดธาตุหมู 1A จงึ เปน ธาตุทใ่ี หอเิ ลก็ ตรอนไดด ี 2. ธาตชุ นดิ หนึ่งอยูในหมู 2A นกั เรียนคดิ วา ธาตนุ ม้ี ีคุณสมบตั อิ ยา งไร 3. ธาตุแทรนซชิ ันชนิดใดที่นยิ มใชท ําเปน สายไฟฟา และอปุ กรณไฟฟาตาง ๆ 4. ธาตุกึ่งโลหะชนิดใดที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเหมือนโลหะ แตเปราะเหมือนอโลหะ นิยมใชทําวงจรไฟฟาขนาดเล็กและอุปกรณไฟฟา เชน โทรทัศน ไมโครคอมพิวเตอร โซลารเ ซลล 5. ธาตชุ นดิ หนงึ่ มีสถานะเปนแกส ที่อณุ หภูมหิ อ ง ไมว องไวตอ การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ใชบรรจุในหลอดไฟโฆษณาใหแสงสีสม นกั เรียนคดิ วาแกสชนดิ นี้คอื แกส ชนิดใด â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 29 ขอสอบเนน การคดิ แนว O-NET แนวตอบ Topic Question ขอใดกลาวถกู ตองทส่ี ดุ 1. มีเวเลนซอิเลก็ ตรอนอยูช้นั นอกสุดเพยี ง 1 อนภุ าค 1. อะตอมของธาตุชนิดเดยี วกนั มมี วลเทา กนั 2. ธาตหุ มู 2A จะมเี วเลนซอิเล็กตรอนอยชู ้นั นอกสดุ เพียง 2 อนุภาค จงึ ถกู ดงึ 2. อะตอมของธาตุชนิดเดยี วกนั มเี ลขมวลเทากัน 3. อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทา กนั หรือสูญเสียอิเล็กตรอนไปไดงาย ดังน้ัน ธาตุหมู 2A จึงมีสมบัติความเปน 4. อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกันมีจาํ นวนนวิ ตรอนเทากนั โลหะที่ดี 5. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจํานวนอเิ ล็กตรอนเทากัน 3. ทองแดง (วิเคราะหคําตอบ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะตองมี 4. ซลิ ิคอน 5. แกสนีออน จํานวนโปรตอนเทากัน ดังนั้น อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจึงมี เลขอะตอมเทา กัน ดังน้ัน ตอบขอ 3.) T33

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน Summary อธบิ ายความรู้ â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 4. ใหน กั เรยี นแบง กลมุ เปน 8 กลมุ ศกึ ษาเกย่ี วกบั Ẻ¨íÒÅͧÍеÍÁ สมบัติและการนําไปใชประโยชนของธาตุ แทรนซิชนั โดยการจบั สลากเลือกธาตุทีแ่ ตละ ววิ ัฒนาการของแบบจําลองอะตอมสามารถสรุปได ดังน้ี กลมุ จะไดศ กึ ษา ดังนี้ • กลุมที่ 1 ธาตุเหล็ก ภาพที่ 1.41 ววิ ฒั นาการของ แบบจาํ ลองอะตอมของดอลตัน • กลุมท่ี 2 ธาตุทองแดง แบบจาํ ลองอะตอม • กลุมที่ 3 ธาตสุ งั กะสี เปน ทรงกลมตนั มขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ไมส ามารถแบง แยกได • กลุมท่ี 4 ธาตุโครเมียม ท่ีมา : คลงั ภาพ อจท. • กลุมที่ 5 ธาตุโคบอลต แบบจาํ ลองอะตอมของทอมสัน • กลมุ ที่ 6 ธาตุเงิน • กลมุ ที่ 7 ธาตุทองคํา อเปเิ ลนก็ ทตรรงอกนลซมงึ่ มปปี รระะกจอลุ บบดกวระยจโาปยรอตยออู นยซา ่ึงงมสมีปา่ํรเะสจมุบอวก และ • กลุมที่ 8 ธาตแุ มงกานีส แลวใหตัวแทนกลุมแตละกลุมออกมารายงาน แบบจาํ ลองอะตอมของรทั เทอรฟอรด ผลการศกึ ษาใหเ พอื่ นกลมุ อน่ื ฟง หนา ชนั้ เรยี น อเปะนตทอรมงกโดลยมมปอี รเิ ะลกก็ อตบรดอวนยทนม่ี วิ ปีเครละยีจสลุ ทบม่ีวง่ิปี อรยะจรู อบุ บวกๆอยนตูวิ รเคงกลลยี าสง แบบจาํ ลองอะตอมของโบร อเปเิ ลน ก็ทตรรงอกนลมเคลปอ่ื รนะทกอ่ีอยบโูดดว ยยรนอวิบเอคะลตยี อสมอเยปกู น ลราะงดอบั ะชตน้ัอพมลงโั ดงายนมี แบบจาํ ลองอะตอมแบบกลุมหมอก อเปเิ ลน ก็ ทตรรงอกนลเมคลอ่ืปนรทะกอี่ อยบรู อดบว ยๆนนวิ วิ เเคคลลยี ยี สสอไยมกู ม ลที าศิงทอาะงตทอแี่มนน แอลนะ ͧ¤»ÃСͺ¢Í§ÍеÍÁ อะตอมประกอบดว ยอนภุ าค สัญลักษณนิวเคลยี ร อโอปนยรภูภุตาาอยคนใอแนเิลลนะก็วินตเวิครตลอรยีนอสนเครลวแอ่ืมลนกะทนมั ี่ีเคลือขอสะัญตอลมักขษอณงทธาี่แตสุ ดเขงยีชนนแิดทขนอไงดธาดตังุ นเี้ลขมวล และ อยรู อบ ๆ เลขมวล (mass number) ภาพที่ 1.42 องคป ระกอบของอะตอม เปนตัวเลขที่แสดงผลรวมของ จาํ นวนโปรตอนและนวิ ตรอน Aทมี่ า : คลงั ภาพ อจท. ZX• • แ-โโไ-ปมอลไจจไรอเะออาําํลตจอออนนกอดันออววุลนเนนรนนไคยีบลโโมคืองปปวบเือตกรรทคธวัตตคา ออาือออกอืตยนนนธันุทาธ าภุ งาีม่ตแาตทุีจคนทุ ําม่ีทนม่ี นจีเี่อจี วลาํ าํนนนก็นวอทวนเินส่ี ลออดุ ็กเิเิขลลตอก็ก็รงตอตธรรนาออกตนนับหุมนจรอา ําอืกยนสกกวาววนราา ประกอบททภ่มีาเ่ี กพาดิท:จ่ี ค1า.ล4กงั3อภสะาตญัพอลอมกั จษอเเทปลณย.นขาน อตงวิ นเวะั คตเอ ลลอยียขมรท 2แี่(สaสญัอtดoะงลmตจกั อาiํ cษนมณวnมนuขาโmรอปวงbรมธตeากrอ)ตนันุ • ไอโซโทป คอื อะตอมของธาตชุ นดิ เดยี วกนั ทม่ี จี าํ นวนโปรตอนเทา กนั แตม จี ํานวนนิวตรอนแตกตางกัน 30 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคิด ธาตุท่ีมีสัญลักษณนิวเคลียรเปน 3125A จะมีจํานวนโปรตอน ในการเรียนการสอน เรื่อง องคป ระกอบของอะตอม นักเรียนจะไดเ รยี นรู นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอนเปนเทา ใด ตามลาํ ดับ เก่ียวกับสัญลักษณนิวเคลียร โมเลกุล ไอออน และไอโซโทป ซึ่งจะไดเรียนรู เกี่ยวกับการคํานวณท่ีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้น ครูอาจหาโจทยการคํานวณ 1. 15 15 และ 17 เกย่ี วกบั สญั ลกั ษณน วิ เคลยี ร โมเลกลุ ไอออน และไอโซโทป มาใหน กั เรยี นฝก ทาํ 2. 15 17 และ 15 เพม่ิ เติม เพือ่ ใหน กั เรยี นเกิดความเขาใจทถ่ี ูกตองมากข้นึ 3. 15 17 และ 17 4. 17 15 และ 15 5. 17 17 และ 15 (วเิ คราะหค าํ ตอบ ธาตทุ ม่ี สี ญั ลกั ษณน วิ เคลยี รเ ปน 1352A จะมจี าํ นวน โปรตอน = 15 มจี าํ นวนนิวตรอน = 32 - 15 = 17 และมจี ํานวน อิเล็กตรอนเทากับจํานวนโปรตอน = 15 ดังนั้น ตอบขอ 2.) T34

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ÇÔÇѲ¹Ò¡Òà ดิมิทรี อวิ าโนวชิ เมเดเลเอฟ 1 ขน้ั สอน ¢Í§¡ÒÃÊÌҧµÒÃÒ§¸ÒµØ กฎพิริออดิก : เมื่อนําธาตุมา อธบิ ายความรู้ เรียงลําดับตามน้ําหนักท่ีเพิ่มข้ึน โยฮันน เดอเบอไรเนอร จะไดกลุมของธาตุท่ีมีสมบัติทาง 5. ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพ่ิมเติมจากแหลง เคมีและสมบัติทางกายภาพเปน เรียนรูตางๆ เก่ียวกับสมบัติของธาตุหมู 4A กฎชุดสาม : เม่ือจัดเรยี งธาตตุ าม ชดุ ๆ 5A 6A และยกตัวอยางธาตทุ รี่ ูจ ัก มวลอะตอมจากนอยไปหามาก มวลอะตอมของธาตทุ ีอ่ ยูตรงกลาง 6. ครูถามคําถามเพ่ือเชื่อมโยงสิ่งที่นักเรียนได จะเปน คา เฉลย่ี ของมวลอะตอมของ เรียนรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน โดย ธาตุตัวบนและตวั ลาง ใหนักเรียนคิดวา สามารถนําความรูเก่ียวกับ สมบัติของธาตุในหมูตางๆ ไปใชประโยชน จอหน นิวแลนด เฮนรี โมสลยี  อยา งไรบาง กฎออกเตต : ถา นาํ ธาตมุ า 8 ธาตุ จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม เนื่องจาก 7. ครูสุมตัวแทนของนักเรียนแตละกลุม ออกมา แลว จดั เรยี งธาตตุ ามมวลจากนอ ย สมบัติตาง ๆ ของธาตุมีความสัมพันธ อธิบายเกยี่ วกับสมบตั ิของธาตุแตล ะกลุม แลว ไปหามาก ธาตุตัวท่ี 8 จะมสี มบัติ กบั โปรตอนในนวิ เคลยี สหรอื เลขอะตอม ครูใหนักเรียนซักถามขอสงสัย โดยครูคอย คลายคลึงกบั ธาตตุ ัวที่ 1 เสมอ มากกวามวลอะตอม และเปนตาราง อธิบายคําตอบจนนักเรียนเกิดความเขาใจ ธาตุท่ใี ชถ งึ ปจจุบนั ตรงกัน H1 1.01 18 8A Hydrogen 1 1A 2 2A 3 3B 4 4B 5 5B 6 6B 7 7B 8 8B 9 8B 10 8B 11 1B 12 2B 13 3A 14 4A 15 5A 16 6A 17 7A He2 4.003 1 Helium Li Be3 6.94 4 9.01 B C N O F Ne5 10.81 6 12.01 7 14.01 8 15.999 9 18.998 10 20.18 Lithium Beryllium 2Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon Na Mg11 22.99 12 24.31 Al Si P S Cl Ar13 26.98 14 28.09 15 30.97 16 32.06 17 35.45 18 39.95 3 Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon Sodium Magnesium K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr19 39.10 20 40.08 21 44.96 22 47.90 23 50.94 24 51.996 25 54.94 26 55.85 27 58.93 28 58.70 29 63.55 30 65.37 31 69.72 32 72.59 33 74.92 34 78.96 35 79.90 36 83.80 Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc 4Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe37 85.47 38 87.62 39 88.91 40 91.22 41 92.91 42 95.94 43 (98) 44 101.07 45 102.91 46 106.40 47 107.87 48 112.41 49 114.82 50 118.69 51 121.75 52 127.60 53 126.90 54 131.30 Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin 5Antimony Tellurium Iodine Xenon Cs Ba La Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn55 132.91 56 137.33 57 138.91 72 178.49 73 180.95 74 183.85 75 189.21 76 190.20 77 192.22 78 195.09 79 196.97 80 200.59 81 204.37 82 207.19 83 208.98 84 (209) 85 (210) 86 (222) Cesium Barium Lanthanum Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury Thallium Lead 6Bismuth Polonium Astatine Radon Fr Ra Ac Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Og87 (223) 88 226.03 89 227.03 104 (267) 105 (268) 106 (271) 107 (272) 108 (270) 109 (276) 110 (281) 111 (280) 112 (289) 113 (284) 114 (289) 115 (288) 115 (293) 117 294 118 (294) 7Francium Radium Actinium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb Lu58 140.12 59 140.91 60 144.24 61 (145) 62 150.40 63 151.96 64 157.25 65 158.93 66 162.50 67 164.93 68 167.26 69 168.93 70 173.04 71 174.97 Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Th Pa U Np Pu Am Cm Bk Cf Es Fm Md No Lr90 232.04 91 231.04 92 238.03 93 237.05 94 (244) 95 (243) 96 (247) 97 (247) 98 (251) 99 (252) 100 (257) 101 (260) 102 (259) 103 (262) Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium ภาพท่ี 1.44 ววิ ัฒนาการของการสรา งตารางธาตุ ทมี่ า : คลังภาพ อจท. ÊÁºÑµÔ¢Í§¸ÒµØ ธาตอุ โลหะ ธาตุกง่ึ โลหะ ธาตโุ ลหะ • มีท้งั 3 สถานะ • มสี ถานะเปนของแขง็ • มีจุดเดอื ด จุดหลอมเหลว • มีจุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว • มีสถานะเปน ของแข็ง และความหนาแนน ต่าํ และความหนาแนน สงู (ยกเวนปรอทเปน ของเหลว) • ไมน ําไฟฟา และความรอ น • นําไฟฟาได • มจี ดุ เดอื ด จุดหลอมเหลว (ยกเวน แกรไฟตสามารถนาํ ไฟฟาได) และความหนาแนนสูง • นาํ ไฟฟา และความรอ นไดด มี าก â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 31 ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู คาํ กลา วทวี่ า “ถา นาํ ธาตุ 8 ธาตุ มาจดั เรยี งจากมวลนอ ยไปหามาก 1 ดมิ ิทรี อิวาโนวชิ เมเดเลเอฟ ตารางพิริออดกิ (Periodic table) ที่เมเดเล- ธาตุตวั ท่ี 8 จะมีสมบัติคลา ยคลึงกับธาตตุ ัวท่ี 1 เสมอ” เปนตาราง เอฟคิดคน ขึน้ มา โดยใหจดั เรยี งธาตตุ ามลําดับของนํา้ หนักเชงิ อะตอม และแบง ธาตทุ ี่คดิ คน โดยนกั วทิ ยาศาสตรทานใด ธาตอุ อกเปน คาบและหมู ซงึ่ ธาตใุ นหมเู ดยี วกนั จะมคี ณุ สมบตั คิ ลา ยคลงึ กนั จาก ตารางนี้ทําใหเมเดเลเอฟสามารถทํานายคุณสมบัติของธาตุท่ียังไมถูกคนพบได 1. เฮนรี โมสลยี  ในเวลาตอ มา เมอ่ื วทิ ยาศาสตรม คี วามกา วหนา ขนึ้ ความรเู กย่ี วกบั อะตอมมมี าก 2. จอหน นิวแลนด ขนึ้ นกั วทิ ยาศาสตรจ งึ ปรบั ปรงุ ตารางพริ อิ อดกิ ของเมเดเลเอฟอกี เลก็ นอ ย จนใน 3. โยฮันน เดอเบอไรเนอร ทส่ี ดุ กพ็ ฒั นามาเปน ตารางธาตทุ ใี่ ชก นั อยใู นปจ จบุ นั ทาํ ใหเ มเดเลเอฟถกู ยกยอ ง 4. ดิมทิ รี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ ใหเปน “บิดาแหง ตารางธาต”ุ 5. ลอรด เออรเนสต รัทเทอรฟ อรด (วิเคราะหคําตอบ จอหน นิวแลนดไดน าํ ธาตุมา 8 ธาตุ แลว จดั เรยี งตามธาตตุ ามมวลจากนอ ยไปหามาก ธาตตุ วั ท่ี 8 จะมีสมบตั ิ คลายคลึงกับธาตตุ วั ที่ 1 เสมอ ดงั น้นั ตอบขอ 2.) T35

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขนั้ สอน ÊÁºÑµÔáÅСÒÃ㪌»ÃÐ⪹ • มีความเปนอโลหะสูง มีความวองไวตอการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ในธรรมชาติมักพบธาตุหมูน้ี ขยายความเขา้ ใจ ¨Ò¡¢Í§¸ÒµØºÒ§ª¹Ô´ ในลักษณะโมเลกุลคู เม่ือรวมตัวกับไฮโดรเจน จะมสี มบัติเปน กรดรุนแรง 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง • สวนใหญมีสีเงิน เปนโลหะเนื้อออน มีความเปน • ฟลอู อรนี (F) ใชประโยชนใ นรปู สารประกอบ เชน สมบัติของธาตุและการใชประโยชนวา มีสวน โลหะสงู มคี วามหนาแนน ต่าํ มคี วามวอ งไวในการ NaF ใชเ ตมิ ลงในยาสฟี น คลอรีน (Cl) นาํ มาเตมิ ไหนทย่ี งั ไมเ ขา ใจและใหค วามรเู พมิ่ เตมิ ในสว น เกดิ ปฏิกิริยาเคมีสูง ลงในน้ําหรือสระน้ํา เพื่อทําใหนํ้าสะอาด ไอโอดีน นน้ั โดยทค่ี รอู าจจะใช PowerPoint ชว ยในการ • ลเิ ทยี ม (Li) ใชเปน ขั้วแบตเตอรี่ โซเดยี ม (Na) ใช อธบิ ายเพิ่มเติม ประโยชนใ นรปู สารประกอบ เชน เกลอื แกง (NaCl) (I) ใชผลิตยาฆาเช้ือและสยี อ มผา ธาตุหมู 7A ผงฟู (NaHCO3) 2. ครใู หน กั เรยี นทําใบงาน เรื่อง สมบตั ขิ องธาตุ และการใชประโยชน ธาตุหมู 1A 3. ครูมอบหมายใหนักเรียนสรุปผังมโนทัศน ภาพท่ี 1.45 สมบตั ขิ องธาตุ (Concept Mapping) เร่ือง สมบัติของธาตุ ในแตล ะหมู และการใชป ระโยชน แลว ใหนกั เรยี นทาํ Unit Question 1 สงเปน การบา นช่วั โมงถดั ไป ที่มา : คลงั ภาพ อจท. 4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเพื่อทบทวน แลนทาไนด ความเขา ใจของนกั เรยี น จากแบบฝก หดั รายวชิ า พน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตรกายภาพ 1 (เคมี) ม.5 ธาตุหมู 2A แอกทไิ นด ธาตุหมู 8A ขน้ั สรปุ • สวนใหญมีสีเงนิ เปนโลหะเนอ้ื ออ น แตมีความแข็ง • เปนแกสไมมีสี ไมมีกล่ิน ละลายน้ําไดเล็กนอย และมีความหนาแนนมากกวาธาตุหมู 1A เกิด มคี วามวอ งไวในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีตํา่ ตรวจสอบผล ปฏกิ ริ ิยาเคมีไดด ี แตร ุนแรงนอ ยกวา ธาตุหมู 1A • ฮีเลียม (He) บรรจุในบอลลูนหรือลูกโปงสวรรค • แมกนีเซยี ม (Mg) ใชเ ปน วตั ถุดบิ ในการผลติ โลหะ บรรจลุ งในถงั แกส สาํ หรบั นกั ประดานาํ้ นอี อน (Ne) ครแู ละนกั เรยี นรว มกนั สรปุ เกยี่ วกบั สมบตั ขิ อง และอารก อน (Ar) ใชบ รรจใุ นหลอดไฟฟา และบรรจุ ธาตุและการใชป ระโยชน โดยใหไดข อสรุป ดงั นี้ • แผสคมลอเซะลียมูม1เิ น(ียCมaแ) ลเะปแนมสกวนนีเซปยี รมะกอบท่ีสําคัญของ ในหลอดไฟโฆษณา คริปทอน (Kr) ใชบรรจุใน หลอดไฟแฟลชสําหรับถายรูปความเร็วสูง ซีนอน • ธาตุแบง ออกเปน ธาตุโลหะ อโลหะ และ โครงสรา งรา งกายของสิง่ มชี วี ติ (Xe) ใชเ ปนแกส ทช่ี วยใหส ลบ กึ่งโลหะ ธาตุแทรนซชิ ัน • ธาตโุ ลหะ มสี มบตั ิ ดงั น้ี มสี ถานะเปน ของแขง็ (ยกเวนปรอทเปนของเหลว) มีจุดเดือด • ทอ่ี ณุ หภมู หิ อ งมสี ถานะเปน ของแขง็ (ยกเวน ปรอทเปน ของเหลว) มคี วามเปน โลหะนอ ยกวา โลหะหมู 1A และ 2A จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง นํา มีจดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว และความหนาแนนสงู นาํ ไฟฟา ได สามารถเกดิ สารประกอบไดหลายชนดิ รวมท้งั ความรอนและนําไฟฟาไดดีมาก สารประกอบเชงิ ซอนทม่ี ีสีสนั เฉพาะตวั • เหลก็ (Fe) เหล็กกลา ใชในงานกอสราง เปนสวนประกอบของลวดตะปู เหล็กเคลอื บผิวดวยสงั กะสีใชเ ปน สังกะสี • ธาตุอโลหะ มสี มบัติ ดงั น้ี มีทัง้ 3 สถานะ มงุ หลงั คา และทาํ กระปอ งบรรจอุ าหาร ทองแดง (Cu) ใชท าํ สายไฟฟา อปุ กรณไ ฟฟา ตา ง ๆ ทองแดงผสมสงั กะสี มจี ดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว และความหนาแนน ใชทํากลอนประตู กญุ แจ กระดุม ทองแดงผสมดีบกุ ใชทาํ ระฆงั ลานนาฬกา สังกะสี (Zn) ใชทําขั้วของถา น ตาํ่ ไมน ําไฟฟา และไมนําความรอน (ยกเวน ไฟฉาย โครเมียม (Cr) ใชเ คลือบผิวของเหล็กและโลหะอน่ื ๆ และนํามาใชเ ปนสวนประกอบของเหลก็ กลา ผสม แกรไฟตส ามารถนําไฟฟาได) ที่ใชท าํ ตูนิรภยั เครื่องบนิ ไอพน จรวด และเรเดยี ม (Ra) ใชในการรักษาโรคมะเร็งได • ธาตกุ งึ่ โลหะ มสี ถานะเปน ของแขง็ มจี ดุ เดอื ด 32 จุดหลอมเหลว และความหนาแนนสูง นํา ไฟฟาไดด เี มอ่ื อณุ หภูมิสงู นักเรียนควรรู ขอสอบเนน การคดิ 1 แคลเซียม เปนแรธาตุที่มีอยูในรางกายมากกวาแรธาตุอื่นๆ จะทํางาน ขอ ใดไมใ ชป ระโยชนข องธาตุในหมู 8A รวมกับฟอสฟอรัสเพื่อชวยใหกระดูกและฟนแข็งแรง และจะทํางานรวมกับ 1. ใชบ รรจุในหลอดไฟฟา แมกนเี ซียม เพือ่ ชว ยใหห ัวใจและเสนเลอื ดมีความแข็งแรง โดยรอ ยละ 20 ของ 2. ใชเปนแกส ท่ีชวยใหสลบ แคลเซยี มในกระดกู ของวยั ผใู หญจ ะถกู ยอ ยสลายและสรา งใหมท กุ ป นอกจากน้ี 3. ใชเ ตมิ ลงในน้ําหรือสระน้ํา รา งกายจาํ เปนตอ งไดร บั วติ ามนิ ดีทเ่ี พียงพอ จึงจะสามารถดูดซึมแคลเซียมไดดี 4. ใชบ รรจลุ งในลูกโปง สวรรค 5. ใชบ รรจลุ งในหลอดไฟโฆษณา อาหารทีเ่ ปนแหลงของแคลเซียม ไดแ ก นมและผลติ ภัณฑจากนมทุกชนิด ชสี เตา หู ถวั่ เหลอื ง ถวั่ ลสิ ง เมล็ดทานตะวนั บรอกโคลี กะหลาํ่ ใบเขยี ว ปลา (วเิ คราะหค าํ ตอบ นอี อนและอารก อนนาํ มาใชบ รรจใุ นหลอดไฟฟา ซารด ีน ปลาแซลมอน สว นอาหารทม่ี ไี ขมนั กรดออกซาลกิ และกรดไฟติกใน และหลอดไฟโฆษณา ซีนอนใชเปนแกสที่ชวยใหสลบ ฮีเลียมใช ปริมาณมาก จะขดั ขวางการดูดซมึ ของแคลเซียมในรา งกาย บรรจลุ งในลกู โปง สวรรค คลอรนี ใชเ ตมิ ลงในนาํ้ หรอื สระนาํ้ ดงั นนั้ ตอบขอ 3.) T36

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ Self Check ขนั้ ประเมนิ ใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจ โดยตอบคําถามในตาราง หากนักเรียนตอบคําถามไมถูกตอง ตรวจสอบผล ใหนักเรียนกลับไปศกึ ษาทบทวนตามหวั ขอ ทก่ี ําหนดใหทา ยตาราง 1. ครูตรวจการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับสมบัติของ ถกู /ผิด ทบทวนทหี่ ัวขอ ธาตุตามหมู 1. แบบจาํ ลองอะตอมของโบรแ ละแบบจาํ ลองอะตอมแบบกลมุ หมอกตา งกนั 1.1 2. ครูสังเกตการทํากิจกรรม ปฏิกิริยาระหวาง ทก่ี ารเคลอื่ นที่ของอิเล็กตรอน โลหะบางชนดิ กับนํ้า 1.1 2. อะตอมมีลักษณะเปนรปู ทรงกลม ประกอบดวยอนภุ าคทีม่ ปี ระจบุ วก 3. ครูตรวจสอบผลจากใบงาน เรื่อง สมบัติของ และมอี ิเล็กตรอนซ่งึ มีประจุลบกระจายอยูท่วั อยางสม่ําเสมอ ขอ สรุปนี้ 1.1 ธาตแุ ละการใชป ระโยชน คอื แบบจาํ ลองอะตอมของรัทเทอรฟ อรด 1.2 4. ครตู รวจการทาํ แบบฝก หดั จาก Unit Question 3. การทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผน ทองคําทาํ ใหคนพบโปรตอนทม่ี ี 1.2 5. ตรวจแบบบันทกึ กจิ กรรม เรอื่ ง ปฏกิ ิริยา ประจบุ วก 1.2 ระหวางโลหะบางชนดิ กบั นํ้า 4. เลขอะตอมเปน ตัวเลขที่แสดงผลรวมของจาํ นวนโปรตอนและนิวตรอน 6. ครูวดั และประเมนิ ผลจากผงั มโนทัศนท่ี 5. เไทอาโซกโบั ทเปลขขออะงต1อ7มClคชือน1ิด7หนง่ึ มีเลขมวลเทา กบั 37 จะมีจํานวนโปรตอน 1.2 6. ธาตุ X มีอิเล็กตรอนเทา กบั 21 และมีเลขมวลเทา กบั 45 แสดงวา ธาตุ X 2. นกั เรยี นไดสรา งข้ึนจากขน้ั ขยายความรขู อง นกั เรยี นเปน รายบคุ คล จะมจี ํานวนอเิ ลก็ ตรอนเทากบั จํานวนอิเล็กตรอนของ 24Cr3+ 2. 7. ไอโซโทป คือ อะตอมของธาตุชนิดเดยี วกันท่มี ีจาํ นวนอเิ ล็กตรอนตา งกัน ับน ึทกลงในส ุมด 3.1 8. ตารางธาตุในปจจุบันจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม เพราะสมบัติของธาตุ 3.1 มคี วามสมั พันธกับจํานวนโปรตอนในนวิ เคลยี ส 3.2 9. อะลูมิเนยี ม (Al) จดั เปน ธาตใุ นกลมุ โลหะแทรนซชิ นั 10. ออกซเิ จนมีความหนาแนนสูงกวา อะลมู ิเนียม 11. ฮเี ลยี มนิยมนาํ มาใชบรรจใุ นลูกบอลลนู เนือ่ งจากเปนแกสท่ีไมมสี ี และไมมีกลิ่น 12. ฟลอู อรนี เปน ธาตุทีม่ ีกล่ินฉุน นิยมนํามาใชเ ปนสว นประกอบของยาสฟี น เพราะมฟี ลูออไรด ซ่ึงชวยปองกันฟนผุ แนวตอบ Self Check â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 33 1. ถกู 2. ผดิ 3. ผดิ 4. ผดิ 5. ถกู 6. ถกู 7. ผิด 8. ถูก 9. ผิด 10. ผดิ 11. ถกู 12. ถกู ขอสอบเนน การคดิ แนวทางการวัดและประเมินผล สารคูใ ดตอไปนี้ประกอบดว ยธาตุมากกวา 2 ชนิด ครูสามารถวัดและประเมินความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของธาตุและการใช 1. โซดาไฟและลกู เหมน็ ประโยชนไดจากผังมโนทัศนทน่ี กั เรียนไดสรา งขนึ้ ในขน้ั ขยายความรู โดยศึกษา 2. นา้ํ ตาลทรายและหนิ ปูน เกณฑการวดั และการประเมินผลจากแบบประเมนิ ชนิ้ งาน ภาระงาน (รวบยอด) 3. น้าํ และคารบอนไดออกไซด ที่แนบมาทายแผนการจดั การเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรา งอะตอมและ 4. โซเดียมคลอไรดแ ละปูนขาว ตารางธาตุ 5. ซลิ กิ าและคารบ อนมอนอกไซด แบบประเมนิ ชนิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ เกณฑป ระเมนิ ผงั มโนทศั น (วเิ คราะหคําตอบ นํา้ ตาลทรายมสี ูตรเคมี คือ C12H22O11 มีธาตุ 3 ชนิด คอื C H และ O หินปูนมีสูตรเคมี คือ CaCO3 มีธาตุ 3 แบบประเมินผลงานผงั มโนทัศน ประเด็นทีประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 ชนดิ คือ Ca C และ O ดังน้นั ตอบขอ 2.) 32 คําชีแ จง : ใหผสู อนประเมินผลงาน/ชนิ งานของนักเรยี นตามรายการทีกําหนด แลว ขดี ลงในชองทีตรงกับระดับ 1. ผลงานตรงกบั ผลงานสอดคลองกับ ผลงานสอดคลองกับ ผลงานสอดคลองกับ ผล งาน ไม ส อด ค ล อง คะแนน จดุ ประสงคทกี าํ หนด จุดประสงคท ุกประเด็น จดุ ประสงคเ ปนสวนใหญ จุดประสงคบางประเดน็ กับจดุ ประสงค ระดบั คณุ ภาพ 2. ผลงานมคี วาม เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน เนือหาสาระของผลงาน 4 3 21 ลําดับที รายการประเมนิ ถูกตอ งสมบูรณ ถูกตอ งครบถว น ถูกตองเปนสว นใหญ ถกู ตองเปน บางประเดน็ ไมถูกตอ งเปน สว นใหญ 1 ความสอดคลองกบั จุดประสงค 3. ผลงานมคี วามคิด ผล งาน แ สด งออก ถึ ง ผลงานมีแนวคิดแปลก ผลงานมีความนาสนใจ ผลงานไมแสดงแนวคิด สรา งสรรค 2 ความถูกตองของเนอื หา ค วาม คิ ด ส รางส รรค ใหมแตยังไมเปนระบบ แตยังไมมีแนวคิดแปลก ใหม 3 ความคิดสรางสรรค แ ป ล ก ให ม แ ล ะ เป น ใหม 4 ความตรงตอเวลา ระบบ รวม 4. ผลงานมีความเปน ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญมีความ ผ ล ง า น มี ค ว า ม เป น ผลงานสวนใหญไมเปน ระเบียบ ระเบียบแสดงออกถึง เป น ระเบี ย บ แ ต ยั งมี ระเบียบแตม ขี อ บกพรอง ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ มี ข อ ความประณตี ขอ บกพรองเล็กนอ ย บางสวน บกพรอ งมาก ลงชือ ................................................... ผูป ระเมิน ............../................./................ เกณฑการตดั สินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–16 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช ตาํ กวา 8 ปรับปรงุ T372 1

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ แนวตอบ Unit Question Unit Question 1. C D A B คําชแี้ จง : ใหนักเรียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 2. แบบจําลองอะตอมของโบร อะตอมประกอบ 1. จากแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ตอ ไปน้ี ดวยนิวเคลียสอยูตรงกลาง มีโปรตอน และ นวิ ตรอนอยูภ ายใน สวนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนท่ี A KMBL CD อยูโ ดยรอบเปน ระดับพลงั งาน สวนแบบจําลอง ภาพท่ี 1.46 แบบจําลองอะตอมแบบตางๆ อะตอมแบบกลุมหมอก อะตอมประกอบดวย ที่มา : คลังภาพ อจท. กลมุ หมอกของอเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นทรี่ อบนวิ เคลยี ส อยา งรวดเรว็ ตลอดเวลาไปทว่ั ทง้ั อะตอม บรเิ วณ เรียงลําดับการพัฒนาแบบจําลองใหถูกตอง ทก่ี ลุม หมอกทึบ จะมีโอกาสท่จี ะพบอิเลก็ ตรอน มากกวาบรเิ วณท่มี กี ลมุ หมอกจาง 2. เปรียบเทียบความแตกตางของแบบจําลองอะตอมของโบรและแบบจําลองอะตอมแบบ กลมุ หมอก 3. ทอมสนั เปน นกั วทิ ยาศาสตรท ค่ี น พบอเิ ลก็ ตรอน ซง่ึ อเิ ลก็ ตรอนมปี ระจลุ บกระจายอยูทว่ั ใน 3. นกั วทิ ยาศาสตรทา นใดเปนผูคนพบอิเล็กตรอน และไดเ สนอวาอเิ ล็กตรอนมกี ารดาํ รงอยูใ น อะตอม อะตอมอยางไร 4. ไอออนบวกของไฮโดรเจน (H+) ไมม อี นุภาคมลู ฐานชนดิ ใด เพราะเหตุใด 4. H+ มจี าํ นวนโปรตอนเทา กบั 1 มจี าํ นวนนวิ ตรอน 5. ถเปานไอ1โซ.5โทเปทหา ขนองึ่ งขอ12ง6Cธาธตาุชตนุไิดอหโซนโึง่ ทมปปี นรจ้ีะะจมุในีอนนวิุภเาคคลมียูลสฐเปานนอ2ยา เงทลา ะขกอ่ีองนภุ 126าCค และมเี ลขมวล เทากับ 0 และมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 0 6. มธาีธตาุตAุใดBบา แงลทะ่ีเปCนมไอสี โญั ซลโทักปษกณันนเวิ พเครลาะียเรหเปตนุใด168A 167B และ 157C ตามลําดับ จงพิจารณาวา ดงั นัน้ H+ จึงขาดนิวตรอนและอิเลก็ ตรอน 7. กําหนดตารางแสดงจํานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขมวล และเลขอะตอมของธาตุ 5. อเิ ล็กตรอน 12 อนุภาค โปรตอน 12 อนภุ าค ตา ง ๆ ให ดงั นี้ และนวิ ตรอน 6 อนุภาค ธาตุ จํานวนโปรตอน จาํ นวนนิวตรอน จาํ นวนอิเลก็ ตรอน เลขมวล เลขอะตอม 6. ธาตทุ เ่ี ปน ไอโซโทปกนั คอื อะตอมของธาตชุ นดิ 17 เดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน แตมีเลขมวลตาง A 14 13 กัน หรือกลาวไดอ ีกอยา งหนง่ึ วา มีโปรตอนเทา กนั แตม ีนวิ ตรอนตา งกนั ดงั นัน้ ธาตุ B และ C B 11 12 จงึ เปน ไอโซโทปกัน C 35 7. ก. ธาตุ A อยใู นหมูท่ี 3 คาบที่ 3 ธาตุ B อยูในหมทู ่ี 1 คาบที่ 3 D 7 14 ธาตุ C อยใู นหมูท่ี 7 คาบท่ี 3 ธาตุ D อยูในหมูท่ี 5 คาบที่ 2 ก. ธาตุ A B C และ D อยใู นหมูใด และคาบใดของตารางธาตุ ข. สัญลกั ษณนิวเคลียรข องธาตุ A ควรเปน อยา งไร ข. 2173A ค. ธาตใุ ดบา งทจี่ ัดอยใู นหมูเดียวกับธาตโุ ซเดียม (Na) ค. ธาตโุ ซเดียมเปน ธาตใุ นหมู 1 ดงั นัน้ ธาตุที่ 34 อยูในหมูเ ดียวกันกบั ธาตโุ ซเดยี ม คือ ธาตุ B T38

นาํ สอน สรปุ ประเมนิ 8. จงอธิบายแนวโนมความเปนโลหะและอโลหะของธาตใุ นตารางธาตุ แนวตอบ Unit Question 9. ธาตุ X Y และ Z อยูในหมู 1A 3A และ 5A ตามลําดบั ธาตุใดมีจดุ เดือดตํา่ ท่ีสุด และธาตใุ ด 8. แนวโนมสมบัติของธาตุตางๆ ในตารางธาตุ นาํ ความรอ นไดดที ี่สุด ไดด ังตอ ไปนี้ 10. ธาตุใดในหมู 1A เปนโลหะมากท่ีสุด และธาตุใดในหมู 7A เปนอโลหะมากท่สี ดุ 1. ธาตุทางดานซายมือของตารางธาตุจะมี 11. ใหน กั เรยี นใชข อมลู ตอ ไปน้ตี อบคาํ ถาม สมบัติเปนธาตุโลหะ และความเปนธาตุ โลหะจะคอ ยๆ ลดลงจากซา ยไปขวา ธาตุ จาํ นวนโปรตอน จาํ นวนนวิ ตรอน จํานวนอิเลก็ ตรอน 2. ธาตุทางดานขวามือของตารางธาตุจะ W 11 11 12 มีสมบัติเปนธาตุอโลหะ และความเปน X 17 17 18 อโลหะจะคอยๆ ลดลงจากขวาไปซาย Y 20 20 20 Z 9 9 10 9. ธาตุ Z มจี ดุ เดอื ดตา่ํ ทส่ี ดุ และธาตุ X นาํ ความ รอนไดดที ส่ี ุด ก. ธาตใุ ดทมี่ สี มบัตใิ กลเ คียงกนั ข. ธาตใุ ดท่อี ยูในคาบเดยี วกันกบั ธาตุ W 10. ธาตุหมู 1A คือ ธาตุแฟรนเซียม (Fr) และ ค. ธาตใุ ดทอี่ ยใู นคาบท่ี 2 ธาตหุ มู 7A คือ ธาตฟุ ลอู อรนี (F) ง. สญั ลักษณนวิ เคลยี รของธาตุ Z ควรเปน อยางไร 12. ธาตชุ นดิ หนงึ่ มีเลขอะตอมเทา กับ 36 ธาตุนี้จะมสี มบตั อิ ยางไร 11. ก. ธาตุ X กบั Z 13. จากขอ มลู ที่กาํ หนดใหต อไปนี้ ข. ธาตุ X 2173Al3+ 4200Ca2+ 3157Cl- 2131Na+ ค. ธาตุ Z ใหน ักเรยี นพิจารณาวา มีไอออนใดบางทมี่ ีจํานวนอิเลก็ ตรอนเทากนั ง. 199Z 14. ใหน กั เรียนใชข อ มูลตอไปนต้ี อบคําถาม 12. เปน ธาตุสถานะแกส ยากตอการเกิด H He ปฏิกริ ิยาเคมี (1) Be B C (2) O F (3) Na (4) Al (5) P (6) (7) Ar 13. ไอออนท่มี ีจาํ นวนอิเล็กตรอนเทา กัน คอื 1217Al3+ กับ 1213Na+ และ 4200Ca2+ กับ 1375Cl - ก. สมบัตทิ ว่ั ไปของธาตุหมายเลข (3) เปน อยา งไร และอยูในหมใู ดของตารางธาตุ ข. จงระบสุ มบตั ิท่ีคลา ยคลงึ กนั ของธาตุหมายเลข (1) และ (4) 14. ก. เปนแกสท่ีเกิดปฏิกิริยาเคมียาก และเปน ค. ธาตุท่มี ีเลขอะตอมเทาใด จึงจะจดั อยใู นหมเู ดียวกบั ธาตหุ มายเลข (6) ธาตใุ นหมูที่ 8A ซึ่งเปน แกสเฉอ่ื ย 15. ใหนักเรียนยกตัวอยางการใชประโยชนของธาตุหมู 1A 2A 7A 8A และธาตุแทรนซิชัน ท่พี บในชีวติ ประจําวนั มาพอสงั เขป ข. มสี ถานะเปน ของแขง็ นาํ ไฟฟา และความ รอนไดด ี â¤Ã§ÊÌҧÍеÍÁáÅеÒÃÒ§¸ÒµØ 35 ค. ธาตุท่มี เี ลขอะตอม 52 15. ธาตุหมู 1A หรอื โลหะแอลคาไล เชน ลเิ ทียม (Li) มีสมบตั ดิ ดู ความรอนไดด ี มักใชในการถา ยเทความรอน ใชเปน ข้ัวแบตเตอรี่ ธาตหุ มู 2A หรือโลหะแอลคาไลนเ อริ ท เชน เบรลิ เลยี ม (Be) เปน โลหะซงึ่ มีสีเทาเหมือนเหล็ก แข็งแรง นํา้ หนักเบา แตเ ปราะ มกั ใชสาํ หรับเปน โลหะผสม เพอ่ื ทําใหโลหะแขง็ แกรงขนึ้ ธาตุหมู 7A หรือธาตแุ ฮโลเจน เชน คลอรีน (Cl) มสี ถานะเปนแกส มีสเี ขยี วอมเหลอื ง มนี า้ํ หนักมากกวา อากาศ และเปน พิษอยา งรายแรง มคี ณุ สมบัติ ในการฆาเชอื้ โรคไดด ี จงึ นิยมใชเตมิ ลงในนา้ํ หรอื ในสระนา้ํ ธาตุหมู 8A หรือแกสเฉื่อย เชน อารกอน (Ar) ใชเปนแกสบรรจุในหลอดไฟ เพื่อใหไสหลอดมีอายุการใชงานที่ยาวนานขึ้น นอกจากน้ี ยังใชบรรจุ ในหลอดไฟโฆษณาใหแ สงสีมว งนา้ํ เงนิ ธาตุแทรนซชิ ัน เชน ไทเทเนยี ม (Ti) ใชเ ปน โครงสรา งในการผลติ อาวธุ และอุปกรณทางทหาร ชิ้นสว นของเคร่อื งบนิ เคร่อื งไอพน ชิ้นสวนของจรวดนําวิถี และยานอวกาศ T39

Chapter Overview แผนการจัด ส่อื ที่ใช้ จดุ ประสงค์ วิธีสอน ประเมิน ทักษะที่ได้ คุณลักษณะ การเรียนรู้ อนั พึงประสงค์ แผนฯ ท่ี 1 การเกิด - หนงั สอื เรยี น 1. บ อกความหมายและ แบบสบื เสาะ - ตรวจแบบทดสอบ - ทกั ษะการวิเคราะห ์ - มีวนิ ยั พันธะเคมี รายวิชาพื้นฐาน อธิบายการเกดิ พันธะ หาความรู้ ก่อนเรยี น - ทักษะการสงั เกต - ใฝเ่ รียนรู้ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 เคมไี ด ้ (K) (5Es - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการนา� ความรู้ - มุ่งมั่นใน 2 (เคมี) ม.5 2. สบื คน้ ขอ้ มลู อภิปราย Instructional การเกิดพนั ธะเคมี ไปใช้ การทา� งาน - แบบฝกึ หัด เก่ียวกับการเกิดพันธะ Model) - สังเกตพฤติกรรม - มีความซอ่ื สตั ย์ ชั่วโมง รายวชิ าพืน้ ฐาน เคมีได้ (P) การท�างานกลมุ่ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 3. แสดงความเปน็ คน - สงั เกตพฤตกิ รรม แผนฯ ท่ี 2 (เคมี) ม.5 ชา่ งสงั เกต ชา่ งคดิ การท�างานรายบุคคล พันธะโคเวเลนต์ - ใบงาน ช่างสงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ - สังเกตความมวี นิ ยั - PowerPoint และมุ่งมัน่ ในการ ใฝเ่ รียนร ู้ และมงุ่ มั่น 5 - แบบทดสอบก่อนเรยี น เสาะแสวงหาความร ู้ (A) ในการท�างาน ชวั่ โมง - หนงั สือเรียน 1. อธบิ ายการเกิดชนิด แบบสืบเสาะ - ตรวจใบงาน เรื่อง - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - มวี ินัย รายวิชาพนื้ ฐาน และสมบัตขิ องพนั ธะ หาความรู้ พันธะโคเวเลนต์ - ทกั ษะการสังเกต - ใฝเ่ รียนรู้ แผนฯ ท่ี 3 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 โคเวเลนต์ได้ (K) (5Es - ประเมินการนา� เสนอ - ทักษะการสอ่ื สาร - มงุ่ มั่นใน พันธะไอออนกิ (เคมี) ม.5 2. อธบิ ายความหมาย Instructional ผลงาน - ทกั ษะการทา� งานรว่ มกนั การทา� งาน - แบบฝึกหัด ของสภาพขวั้ ของพนั ธะ Model) - สงั เกตพฤติกรรม - ทักษะการนา� ความรู้ - มคี วามซ่อื สตั ย์ 5 รายวชิ าพนื้ ฐาน และสภาพขว้ั โมเลกุล การท�างานกลุ่ม ไปใช้ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 โคเวเลนตไ์ ด้ (K) - สงั เกตพฤติกรรม ชั่วโมง (เคม)ี ม.5 3. อธบิ ายชนดิ และลกั ษณะ การท�างานรายบุคคล - ใบงาน ของแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ ง - สังเกตความมวี ินยั - PowerPoint โมเลกลุ โคเวเลนตไ์ ด ้ (K) ใฝเ่ รียนร ู้ และมงุ่ มั่น - QR Code 4. เขียนสูตรและอ่านชอ่ื ในการท�างาน - ภาพยนตรส์ ารคดีสน้ั สารประกอบโคเวเลนต์ Twig ได ้ (P) 5. แสดงความเปน็ คน ชา่ งสงั เกต ช่างคดิ ช่างสงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มั่นในการ เสาะแสวงหาความร ู้ (A) - แบบทดสอบหลงั เรียน 1. อธิบายความหมายของ แบบสบื เสาะ - ต รวจใบงาน เรอ่ื ง - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - มวี ินยั - หนังสือเรยี น พันธะไอออนกิ ได ้ (K) หาความรู้ พันธะไอออนิก - ทกั ษะการสังเกต - ใฝเ่ รยี นรู้ รายวิชาพื้นฐาน 2. อธิบายกลไกในการ (5Es - สังเกตพฤตกิ รรม - ทักษะการส่อื สาร - มุ่งมัน่ ใน วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 เกดิ พันธะไอออนิกได้ Instructional การทา� งานกลมุ่ - ทกั ษะการท�างาน การท�างาน (เคมี) ม.5 (K) Model) - สงั เกตพฤตกิ รรม รว่ มกนั - มีความซอ่ื สัตย์ - แบบฝึกหดั 3. อธิบายสมบัตขิ อง การทา� งานรายบคุ คล - ทักษะการนา� ความรู้ รายวิชาพืน้ ฐาน สารประกอบไอออนกิ ได้ - สงั เกตความมวี นิ ัย ไปใช้ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ 1 (K) ใฝ่เรยี นรู ้ และม่งุ มัน่ (เคมี) ม.5 4. เขยี นสูตรและอ่านชื่อ ในการทา� งาน - ใบงาน สารประกอบไอออนกิ ได ้ - ตรวจแบบทดสอบ - PowerPoint (P) หลังเรยี น - QR Code 5. ความเปน็ คนชา่ งสงั เกต - ภาพยนตรส์ ารคดีสัน้ ชา่ งคดิ ช่างสงสัย Twig ใฝ่เรียนร้ ู และมงุ่ ม่นั ในการเสาะแสวงหา ความรู้ (A) T40

Chapter Concept Overview หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การเกดิ พันธะเคมี อะตอมของธาตหุ รือสารประกอบไม่สามารถอยูเ่ ปน็ อิสระได ้ เนอื่ งจากความไมเ่ สถยี ร จึงต้องมกี ารรวมตวั กนั เพ่อื จัดอิเล็กตรอนให้เสถยี ร ทา� ให้เกิด แรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอะตอมขน้ึ เรียกว่า พันธะเคมี พนั ธะโคเวเลนต์ พนั ธะโคเวเลนต ์ คือ พนั ธะเคมที ี่เกิดจากอะตอมของธาตอุ โลหะกับธาตอุ โลหะเข้ามาสร้างแรงยดึ เหน่ียวตอ่ กนั โดยการใช้เวเลนซอ์ ิเล็กตรอนรว่ มกนั ชนิดของพนั ธะโคเวเลนต์ พนั ธะเดย่ี ว พันธะคู่ พนั ธะสาม เกิดจากอะตอมคู่ที่เข้ามาร่วมสร้างพันธะต่อกัน เกิดจากอะตอมคู่ท่ีเข้ามาร่วมสร้างพันธะต่อกัน เกิดจากอะตอมคทู่ ่เี ขา้ มารว่ มสร้างพันธะต่อกนั มกี ารใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ มีการใชอ้ เิ ล็กตรอนรว่ มกัน 2 คู่ มีการใช้อิเล็กตรอนรว่ มกัน 3 คู่ Cl Cl หรือ Cl Cl O C O หรอื O C O N N หรอื N N การอ่านชอ่ื สารประกอบโคเวเลนต์ • ใหอ้ ่านชอ่ื ของธาตุทอี่ ยขู่ ้างหน้าก่อน แล้วตามด้วยชื่อของธาตทุ อี่ ยู่ด้านหลัง โดยเปลี่ยนเสียงพยางคท์ า้ ยของธาตเุ ปน็ ไ-ด ์ (-ide) • ระบุจา� นวนอะตอมของธาต ุ (ตัวเลขทห่ี ้อยไว้หลังธาตุ) ไวห้ นา้ ช่อื ธาตุ โดยใช้ช่ือเลขในภาษากรกี 1 มอนอ (mono) 2 ได (di) 3 ไตร (tri) 4 เตตระ (tetra) 5 เพนตะ (penta) 6 เฮกซะ (hexa) 7 เฮปตะ (hepta) 8 ออกตะ (octa) 9 โนนะ (nona) 10 เดคะ (deca) สภาพขวั้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกลุ โคเวเลนต์ ขวั้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกลุ โคเวเลนต์ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท • ขว้ั ของพันธะ พจิ ารณาได้จากการใช้อเิ ล็กตรอนร่วมกนั วา่ มคี า่ EN เท่ากนั • แรงแวนเดอรว์ าลส ์ แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื แรงลอนดอน ซง่ึ เปน็ หรือไม ่ ถ้าเท่ากนั จะไม่เกดิ ข้ัว แต่หากไม่เทา่ กนั จะเกิดขว้ั ของพนั ธะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ท่ีไม่มีข้ัว และแรงขั้วคู่ Hδ+ Cδl− หรือ H Cl ซ่ึงเปน็ แรงดงึ ดดู ทีเ่ กิดขน้ึ กบั โมเลกลุ โคเวเลนตท์ ม่ี ีขวั้ • ขั้วของโมเลกุล เป็นผลรวมระหว่างขั้วของพนั ธะต่าง ๆ ทงั้ หมดในโมเลกลุ • พนั ธะไฮโดรเจน คอื แรงยดึ เหนย่ี วทเ่ี กดิ ขนึ้ ในโมเลกลุ โคเวเลนต์ โดยทศิ ทางของขว้ั จะหนั ไปทางขวั้ ลบ ขว้ั โมเลกลุ จะขน้ึ อยกู่ บั รปู รา่ งของโมเลกลุ ท่เี กิดจากอะตอม H ไปสรา้ งพนั ธะกับอะตอมของ F O หรือ N CO2 Oδ− Cδ+ δ+ Oδ−เขยี นทศิ ทางของแรง เปน็ ดงั น้ี C พนั ธะไอออนิก พนั ธะไอออนกิ คอื พนั ธะเคมที เี่ กดิ จากอะตอมของธาตโุ ลหะกบั ธาตอุ โลหะเขา้ มาสรา้ งแรงยดึ เหนย่ี วตอ่ กนั และแรงดงึ ดดู ทางไฟฟา้ ระหวา่ งไอออนบวก และไอออนลบของอะตอมทงั้ สอง การเขยี นสูตรและเรยี กชอื่ สารประกอบไอออนิก การเขยี นสตู รของสารประกอบไอออนิกจะเขยี นไอออนบวกของโลหะไว้ขา้ งหน้า ตามดว้ ยไอออนลบของอโลหะ และการอา่ นชื่อสารประกอบไอออนิก ใหอ้ า่ นตามลา� ดบั ของธาตทุ เี่ ขยี นในสตู ร คอื อา่ นชอ่ื โลหะหรอื ไอออนบวกกอ่ น แลว้ ตามดว้ ยชอื่ อโลหะหรอื ไอออนลบ โดยเปลยี่ นเสยี งพยางคท์ า้ ยเปน็ ไ-ด ์ (-ide) สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนิก สว่ นใหญ่จะมีจดุ หลอมเหลวและจุดเดือดสงู ในภาวะปกติเปน็ ของแข็งจะไม่น�าไฟฟา้ แต่เมื่อหลอมเหลว หรืออย่ใู น รูปของสารละลายจะสามารถน�าไฟฟา้ ได้ พนั ธะโลหะ พนั ธะโลหะ คอื พนั ธะทเ่ี กดิ จากการนา� อเิ ลก็ ตรอนมาใชร้ ว่ มกนั ของธาตโุ ลหะ เกดิ แรงยดึ เหนย่ี วทแี่ ขง็ แรงมากระหวา่ งไอออนบวกนวิ เคลยี สกบั อเิ ลก็ ตรอน ที่เคลอื่ นที่อย่างอสิ ระไปท่ัวทง้ั กอ้ นของโลหะ สมบตั ิของโลหะ น�าไฟฟา้ ได้ดเี มือ่ เป็นของแข็ง แตจ่ ะน�าไฟฟา้ ไดล้ ดลงเม่อื เป็นของเหลว มีจดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดสูง มีความเหนยี ว สามารถตัด ดัด หรอื ยดื ออก มคี วามหนาแน่นและมีผวิ มันวาว T41