Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาค ก กศน กรณีทั่วไป

ภาค ก กศน กรณีทั่วไป

Published by watpleng, 2020-08-02 04:12:43

Description: ภาค ก กศน

Search

Read the Text Version

คมู ือเตรียมสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตําแหนงครูผชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 346 (5) ประสานงานและรวมมือกบั ขาราชการทหาร ขา ราชการฝา ยตุลาการขา ราชการฝายอัยการ ขา ราชการพลเรอื นในมหาวิทยาลัย ขา ราชการในสานักงานตรวจเงนิ แผนดินและขา ราชการครู ผตู รวจ ราชการและหวั หนา สวนราชการในระดบั เขตหรอื ภาค ในการพัฒนาจงั หวดั หรอื ปอ งปดภัยพิบัติสาธารณะ (6) เสนองบประมาณตอ กระทรวงทเ่ี กย่ี วของ หรือเสนอขอจดั ตงั้ งบประมาณตอสาํ นักงบประมาณ ตามมาตรา 52 วรรคสาม และรายงานใหกระทรวงมหาดไทยทราบ (7) กํากับดแู ลการบรหิ ารราชการสว นทองถ่ินตามกฎหมาย (8) กาํ กับการปฏบิ ตั หิ นาทีข่ องพนักงานองคก ารของรฐั บาลหรอื รฐั วสิ าหกจิ ในการนใ้ี หมีอํานาจทาํ รายงานหรือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั การดําเนินงานขององคการของรัฐบาลหรือรฐั วิสาหกิจตอ รัฐมนตรี เจาสังกดั องคก ารของรฐั บาลหรือรฐั วสิ าหกจิ (9) บรรจุ แตงต้งั ใหบําเหน็จ และลงโทษขา ราชการสว นภูมิภาคในจงั หวดั ตามกฎหมาย และ ตามท่ปี ลดั กระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดมี อบหมาย หมวดท่ี 2 อําเภอ มาตรา 61 ในจังหวดั หนึ่งใหมหี นวยราชการบรหิ ารรองจากจงั หวดั เรียกวาอาํ เภอ การตัง้ ยบุ และเปล่ยี นเขตอําเภอ ใหตราเปนพระราชกฤษฎกี า มาตรา 62 ในอําเภอหนึ่ง มีนายอาํ เภอคนหน่ึงเปน หวั หนาปกครองบังคับบัญชาบรรดาขาราชการในอําเภอ และรบั ผดิ ชอบงานบริหารราชการของอําเภอ นายอาํ เภอสังกดั กระทรวงมหาดไทย บรรดาอํานาจและหนา ทเ่ี กยี่ วกับราชการของกรมการอาํ เภอหรอื นายอาํ เภอซ่ึงกฎหมายกําหนดใหกรมการ อําเภอและนายอาํ เภอมีอยู ใหโ อนไปเปน อํานาจและหนา ทข่ี องนายอําเภอ มาตรา 65 นายอําเภอมีอํานาจและหนาท่ดี งั น้ี (1) บรหิ ารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถา กฎหมายใดมไิ ดบ ญั ญตั ิ วา การปฏิบัติตามกฎหมายนนั้ เปน หนา ที่ของผใู ดโดยเฉพาะ ใหเปน หนาทข่ี องนายอาํ เภอท่ีจะตองรักษาการให เปน ไปตามกฎหมายนน้ั ดว ย (2) บริหารราชการตามทคี่ ณะรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามท่ีนายกรัฐมนตรสี งั่ การในฐานะหวั หนารฐั บาล (3) บริหารราชการตามคาํ แนะนําและคําช้ีแจงของผูวาราชการจงั หวดั และผมู ีหนา ท่ีตรวจการอ่นื ซ่งึ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผวู าราชการจังหวัดมอบหมาย ในเม่อื ไมขดั ตอ กฎหมาย ระเบยี บ ขอบงั คบั หรอื คาํ สง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม มตขิ องคณะรัฐมนตรี หรอื การสง่ั การของ นายกรฐั มนตรี (4) ควบคุมดแู ลการบริหารราชการสว นทองถน่ิ ในอาํ เภอตามกฎหมาย เตรยี มสอบครูผูชวย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตาํ แหนงครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 347 สวนท่ี 3 การจัดระเบยี บบริหารราชการสวนทอ งถิ่น มาตรา 69 ทองถิน่ ใดทเ่ี ห็นสมควรจดั ใหร าษฎรมีสวนในการปกครองทองถิน่ ใหจ ดั ระเบยี บการปกครอง เปนราชการสว นทองถิ่น มาตรา 70 ใหจ ัดระเบียบบริหารราชการสวนทอ งถ่ิน ดังน้ี (1) องคการบริหารสวนจังหวัด (2) เทศบาล (3) สุขาภบิ าล (4) ราชการสว นทองถนิ่ อืน่ ตามท่มี กี ฎหมายกําหนด สว นท่ี 4 คณะกรรมการพฒั นาระบบราชกาํ หนด มาตรา 71/156 ใหมคี ณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหน่งึ เรยี กโดยยอวา “ก.พ.ร.” ประกอบดวย นายกรฐั มนตรหี รือรองนายกรฐั มนตรที น่ี ายกรัฐมนตรมี อบหมายเปนประธาน รฐั มนตรีหน่งึ คนที่ นายกรฐั มนตรีกําหนดเปนรองประธาน ผซู ่งึ คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแ กองคกรปกครองสวน ทองถน่ิ มอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผทู รงคุณวฒุ ไิ มเ กินสิบคน ซงึ่ คณะรฐั มนตรีแตงต้ังจากผูมีความรู ความเชยี่ วชาญในทางดา นนิติศาสตร เศรษฐศาสตรรฐั ศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงนิ การคลงั จิตวิทยาองคก าร และสังคมวทิ ยาอยางนอยดานละหนงึ่ คน ในกรณที ี่มีความจําเปนเพ่ือใหการปฏิบัตงิ านบรรลุผล คณะรฐั มนตรีจะกําหนดใหกรรมการผูทรงคณุ วฒุ ไิ มนอ ย กวา สามคนแตไมเกนิ หาคนตองทาํ งานเตม็ เวลาก็ได เลขาธกิ าร ก.พ.ร. เปน กรรมการและเลขานกุ ารโดยตําแหนง การแตง ต้งั กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิ ใหคณะรัฐมนตรีพจิ ารณาจากรายชือ่ บุคคลทไ่ี ดร ับการเสนอโดยวิธีการ สรรหา ทง้ั นี้ ตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารสรรหาทีค่ ณะรฐั มนตรีกําหนด มาตรา 71/359 กรรมการผูทรงคุณวุฒิมวี าระการดํารงตําแหนง คราวละสปี่  ผซู ง่ึ พน จากตาํ แหนง แลว อาจ ไดร บั แตงตง้ั อีกไดแตไ มเกินสองวาระตดิ ตอกัน มาตรา 71/1066 ก.พ.ร. มอี ํานาจหนาท่ี ดงั ตอไปนี้ (1) เสนอแนะและใหค าํ ปรกึ ษาแกค ณะรัฐมนตรีเกยี่ วกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐ อยา งอน่ื ซึ่งรวมถึงโครงสรางระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบคุ ลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและ เตรียมสอบครูผูชวย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูม ือเตรยี มสอบบรรจุเขารับราชการ ตาํ แหนง ครูผูชว ย ตามหลักเกณฑใหม 348 จริยธรรม คา ตอบแทน และวิธีปฏิบัตริ าชการอ่นื ใหเ ปน ไปตามมาตรา 3/1 โดยจะเสนอแนะใหม ีการกําหนด เปาหมาย ยทุ ธศาสตร และมาตรการก็ได (2) เสนอแนะและใหคําปรกึ ษาแกห นว ยงานอ่นื ของรัฐท่ีมิไดอยูในกาํ กบั ของราชการฝายบริหาร ตามท่หี นว ยงานดังกลา วรอ งขอ (3) รายงานตอ คณะรัฐมนตรีในกรณีท่มี ีการดาํ เนนิ การขัดหรอื ไมส อดคลอ งกบั หลกั เกณฑท่ีกําหนด ในมาตรา 3/1 (4) เสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อกาํ หนดหลกั เกณฑแ ละมาตรฐานในการจัดต้งั การรวม การโอน การยุบเลิก การกาํ หนดช่ือ การเปล่ียนช่อื การกําหนดอํานาจหนา ที่ และการแบง สวนราชการภายในของ สวนราชการทเ่ี ปนกระทรวง ทบวง กรม หรือสว นราชการอน่ื (5) เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎทอี่ อกตาม พระราชบญั ญัตนิ ี้ (6) ดําเนนิ การใหมีการช้แี จงทําความเขาใจแกส วนราชการและเจาหนาที่ท่ีเกยี่ วของและ ประชาชนทั่วไป รวมตลอดท้ังการฝก อบรม (7) ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และแนะนาํ เพ่ือใหมีการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั นิ ี้ และรายงานตอ คณะรฐั มนตรพี รอ มทั้งขอเสนอแนะ (8) ตคี วามและวินิจฉัยปญ หาท่เี กดิ ขน้ึ จากการใชบ งั คบั พระราชบญั ญตั ิน้ี หรือกฎหมายวาดวยการ ปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกาํ หนดแนวทางปฏบิ ัติ ในกรณีท่ีเปนปญหา มตขิ องคณะกรรมการ ตามขอน้ี เมอื่ ไดรบั ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรีแลว ใหใ ชบ ังคบั ไดตามกฎหมาย (9) เรยี กใหเจาหนา ทห่ี รือบคุ คลอ่นื ใดมาชี้แจงหรือแสดงความเหน็ ประกอบการพิจารณา (10) จดั ทํารายงานประจาปเ กี่ยวกบั การพฒั นาและจดั ระบบราชการและงานของรัฐอยา งอื่นเสนอตอ คณะรัฐมนตรี เพ่ือเสนอตอสภาผแู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา (11) แตงตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรอื คณะทางาน เพ่อื ปฏบิ ัติหนา ทีต่ าง ๆ ตามท่ี มอบหมาย และจะกาํ หนดอตั ราเบี้ยประชุมหรือคา ตอบแทนอน่ื ดวยก็ได (12) ปฏบิ ตั ิหนาที่อ่ืนตามทีก่ ําหนดในพระราชบญั ญตั ิน้ีหรอื ตามท่ีคณะรัฐมนตรีมอบหมาย บทเฉพาะกาล มาตรา 72 คาํ วา “ทบวงการเมอื ง” ตามกฎหมายอน่ื ทม่ี ีอยกู อ นวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบงั คับ ใหห มายความ ถึงกระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบัญญตั ิน้ีแลว แตกรณี เตรียมสอบครูผชู ว ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตําแหนงครผู ูชว ย ตามหลกั เกณฑใหม 349 แนวขอสอบพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผนดิน 1. ใครเปนผูรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดนิ ก. นายกรฐั มนตรี ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ง. รองนายกรัฐมนตรี 2. พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน ดิน มีกหี่ มวด กี่มาตรา ก. สวนที่ 1 มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล ข. สว นที่ 2 มี 10 หมวด 1 บทเฉพาะกาล ค. สว นท่ี 2 มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล ง. สว นที่ 2 มี 10 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 3. การจดั ระเบียบราชการในสาํ นกั นายกรฐั มนตรี ถูกระบุไวในหมวดใด ก. หมวดท่ี 1 ข. หมวดที่ 2 ค. หมวดที่ 3 ง. หมวดที่ 4 4. การรักษาราชการแทน ถูกระบไุ วในหมวดใด ก. หมวดที่ 5 ข. หมวดท่ี 6 ค. หมวดที่ 7 ง. หมวดที่ 8 5. จัดระเบียบบริหารราชการแผนดนิ แบงออกเปนก่สี วน ก. 1 สว น ข. 3 สว น ค. 5 สว น ง. 7 สวน 6. ขอใดกลาวผดิ จัดระเบยี บบริหารราชการแผน ดิน ก. ระเบียบบริหารราชการสว นกลาง ข. ระเบยี บบริหารราชการสว นภมู ภิ าค ค. ระเบียบบริหารราชการสว นทองถ่นิ ง. ระเบยี บบรหิ ารราชการสว นกรุงเทพมหานคร เตรยี มสอบครผู ูชวย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรยี มสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตาํ แหนงครูผูช ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 350 7. ใครเปน ผูรกั ษาการตามพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการแผนดนิ ก. นายกรฐั มนตรี ข. รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย ค. ปลดั กระทรวงมหาดไทย ง. รองนายกรัฐมนตรี 8. ขอ ใดไมเ ปน การจดั ระเบียบบริหารราชการสวนกลาง ก. สาํ นักนายกรฐั มนตรี ข. กระทรวง หรือทบวงซึ่งมฐี านะเทยี บเทา กระทรวง ค. กรม หรือสว นราชการที่เรียกช่ืออยางอน่ื และมีฐานะเปนกรม ง. สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา 9. การจดั ตงั้ การรวม หรือการโอนสว นราชการตามมาตรา 7 ใหต ราเปน กฏหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาํ หนด ค. พระราชกฤษฎกี า ง. ประกาศกระทรวง 10. การเปลี่ยนชื่อสวนราชการตามมาตรา 7 ใหตราเปน กฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาํ หนด ค. พระราชกฤษฎกี า ง. ประกาศกระทรวง 11. การยุบสวนราชการตามมาตรา 7 ใหต ราเปน กฎหมายใด ก. พระราชบัญญตั ิ ข. พระราชกําหนด ค. พระราชกฤษฎีกา ง. ประกาศกระทรวง 12. แกไขคาํ วา “สํานกั งานเลขานุการรัฐมนตรี” เปน “สํานกั งานรัฐมนตรี” โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบ บรหิ ารราชการแผน ดิน ฉบับใด ก. ฉบับที่ 3 ข. ฉบบั ท่ี 4 ค. ฉบับท่ี 5 ง. ฉบบั ที่ 6 เตรยี มสอบครผู ูช ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรียมสอบบรรจุเขา รับราชการ ตาํ แหนงครผู ูช ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 351 13. ในการมอบอาํ นาจของนายกรัฐมนตรี ขอ ใดกลาวผดิ ก. มอบใหร องนายกรฐั มนตรี ข. มอบใหร ัฐมนตรปี ระจําสาํ นักนายกรฐั มนตรี ค. มอบใหป ลัดสาํ นักนายกรฐั มนตรี ง. ถูกทกุ ขอ 14. การมอบอาํ นาจตามมาตราน้ีใหทาํ เปน ก. ลายลกั ษณอักษร ข. หนงั สือ ค. บันทึกขอความ ง. แจง ประกาศ 15. ในกรณที ี่นายกรัฐมนตรีไมอ าจปฏิบตั ิราชการได ใหรองนายกรัฐมนตรเี ปนผูรักษาราชการแทน ถามี รองนายกรฐั มนตรีหลายคน ใครเปน ผูม อบหมาย ใหเ ปน ผูร ักษาราชการแทน ก. รัฐสภา ข. คณะรฐั มนตรี ค. สภาผูแทนราษฎร ง. วุฒิสภา 16. ขอใดกลาวผดิ การจัดระเบยี บบริหารราชการสว นภมู ภิ าค ก. จังหวัด ข. อาํ เภอ ค. ตําบล ง. ถกู ทกุ ขอ 17. การตั้ง ยบุ และเปลยี่ นแปลงเขตจงั หวดั ใหตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชบญั ญตั ิ ข. พระราชกาํ หนด ค. พระราชกฤษฎกี า ง. กฎกระทรวง 18. ผูวา ราชการจงั หวดั รองผวู าราชการจังหวดั และผูชวยผูวาราชการจังหวดั สงั กัดหนว ยงานใด ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงศึกษาธิการ ค. สาํ นกั งานรฐั มนตรี ง. กระทรวงกลาโหม เตรียมสอบครูผชู วย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตําแหนงครผู ชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 352 19. การต้ัง ยบุ และเปลย่ี นแปลงเขต อาํ เภอ ใหต ราเปน กฎหมายใด ก. พระราชบญั ญตั ิ ข. พระราชกําหนด ค. พระราชกฤษฎกี า ง. กฎกระทรวง 20. ประธานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ หมายถึงขอใด เรยี กโดยยอวา “ก.พ.ร.” ก. นายกรฐั มนตรี ข. รองนายกรฐั มนตรี ค. รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทย 21. กรรมการผูทรงคณุ วุฒิคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ มีจาํ นวนเทา ใด ก. ไมเ กนิ 9 คน ข. ไมเ กนิ 10 คน ค. ไมเกิน 11 คน ง. ไมเกนิ 12 คน 22. ใครเปนผูแ ตง ตั้ง กรรมการผทู รงคุณวุฒิคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ก. รฐั สภา ข. คณะรฐั มนตรี ค. สภาผูแทนราษฎร ง. วุฒิสภา 23. ใครเปน ผแู ตง ตงั้ เลขาธิการ ก.พ.ร. ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. วุฒิสภา ง. สภาผแู ทนราษฎร 24. ใครเปน ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผนดนิ พ.ศ. 2534 ก. นายอานันท ปนยารชนุ ข. นายชวน หลีกภัย ค. นายสมัคร สุนทรเวช ง. พลเอก สุรยุทธ จุลานนท เตรียมสอบครูผชู ว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตําแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 353 25. ตามพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 ผวู า ราชการจังหวดั มีอํานาจกขี่ อ ก. 8 ข. 9 ค. 10 ง. 11 26. กรณที ี่ผูวา ราชการจังหวัดไมอ าจปฏบิ ัตริ าชการได หากมรี องผูวาราชการจังหวัด อยู 2 คน ใครเปนผู มีอํานาจแตงต้งั รองผูวา ราชการจงั หวัดคนใดคนหน่ึงเปน ผรู ักษาราชการแทน ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ผูวาราชการจงั หวดั ง. ผวู า ราชการจังหวดั แตงตัง้ โดยขอความเห็นชอบจากปลดั กระทรวงมหาดไทย 27. ใครเปน ประธานกรมการจงั หวดั ก. ผูวาราชการจงั หวดั ข. รองผูวา ราชการจงั หวัดท่ผี ูว าราชการมอบหมาย ค. ปลดั จงั หวัด ง. นายกองคการบริหารสว นจังหวดั 28. การบรหิ ารราชการแผนดินของจังหวดั ใด ใครมีหนา ทีเ่ ปน ที่ปรึกษาของผวู า ราชการจงั หวัด ก. สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรในจังหวดั ข. สภาจังหวัด ค. คณะกรรมการจังหวัด ง. คณะกรรมการธรรมภิบาลจงั หวดั 29. จังหวดั หนองคาย มีพ้ืนที่ 10,000 ตารางเมตร หากตองการจะแบงเขตพ้นื ที่ ของบางอําเภอจํานวน 1,000 ตารางเมตร ใหเปนของจงั หวดั บงึ กาฬ จะตอ งทําอยา งไร ก. ทาํ เปนคาํ สงั่ ของกระทรวงมหาดไทย ข. ตราเปนพระราชกฤษฎกี า ค. ตราเปนพระราชกาํ หนด ง. ตราเปนพระราชบัญญตั ิ 30. การจดั ระเบียบบริหารราชการสว นภูมภิ าค เปน ไปตามขอ ใด ก. จงั หวดั อําเภอ ข. สว นกลาง สวนภูมภิ าค สวนทอ งถ่นิ ค. จังหวดั อําเภอ ตาํ บล หมูบา น ง. จังหวัด อาํ เภอ ก่ิงอําเภอ เตรียมสอบครผู ูชวย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตาํ แหนง ครผู ูช ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 354 31. \"หัวหนาคณะผูแ ทน\" ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผน ดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 5) 2545 โดยท่ัวไปเปนขาราชการสังกดั สวนราชการใด ก. สาํ นักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงการตา งประเทศ ค. กระทรวงกลาโหม ง. กระทรวงใดก็ไดท่ีไดร บั แตงต้งั จากนายกรฐั มนตรี 32. การรักษาราชการแทนตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 ไมใชบ งั คับแกสวน ราชการใด ก. กระทรวงศึกษาธิการ ข. กระทรวงการคลงั ค. สํานักงานตํารวจแหงชาติ ง. กระทรวงกลาโหม 33. สํานักงานรัฐมนตรมี ีอํานาจหนาทเี่ กย่ี วกับเร่อื งใด ก. ราชการทางเมือง ข. ราชการทั่วไปของกระทรวง ค. ราชการทม่ี ไิ ดกาํ หนดใหเปนหนา ที่ของกรมหน่ึงกรมใดโดยเฉพาะ ง. ราชการประจํา 34. กระทรวงมหาดไทยมกี ลุมภารกจิ ดงั นี้ขอใดมิใช ก. ดา นกิจการความม่ันคงภายใน ข. ดานพฒั นาเมืองและสง เสริมการปกครองทองถิ่น ค. ดานพัฒนาชมุ ชนและและสง เสรมิ การปกครองทองถิ่น ง. ดานสาธารณภยั และพัฒนาเมือง 35. การกําหนดในสว นราชการระดบั กรมตัง้ แตสองกรมขึ้นไป อยูภ ายใตกลุมภารกจิ เดียวกัน สามารถ กระทําไดโดยอาศยั กฎหมายใด ก. พระราชกฤษฎีกา ข. ระเบียบกระทรวง ค. มตคิ ณะรัฐมนตรี ง. เปนไปตามกฎหมายวาดว ยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม 36. ตาํ แหนง ใดระเบียบบริหารราชการแผนดินมิไดกําหนดไว ก. ผชู ว ยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. ผชู ว ยปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรี ค. ผชู ว ยเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ง. ผชู ว ยปลัดกระทรวง เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตําแหนง ครผู ูชวย ตามหลกั เกณฑใ หม 355 37. สํานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี มีอาํ นาจหนาที่ในเรื่องใด ก. ราชการทางการเมอื ง ข. ราชการของรฐั สภา ค. ราชการในพระองค ง. ขอ ข. และ ค. ถูก 38. บคุ คลตามขอใด เปน ขาราชการเมือง ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ข. รองเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรฝี ายบริหาร ค. รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรฝี ายการเมือง ง. ขอ ก. และ ค. ถูก 39. ขอใดมไิ ดเปนอาํ นาจการบังคบั ของนายกรัฐมนตรี ก. มอี ํานาจบงั คับบัญชาปลดั กระทรวงมหาดไทย ข. มอี าํ นาจบงั คบั บัญชาปลดั สํานักนายกรัฐมนตรี ค. มอี าํ นาจบังคบั บญั ชาผูวา การไฟฟา สวนภูมภิ าค ง. ขอ ก. และ ค. ถกู 40. การจัดระเบียบบรหิ ารราชการแผน ดินมีรปู แบบใด ก. กระทรวง ทบวง กรม ข. จงั หวดั อาํ เภอ ค. จังหวดั อําเภอ กิง่ อาํ เภอ ตําบล หมูบาน ง. สว นกลาง สว นภูมิภาค สว นทอ งถนิ่ เตรยี มสอบครผู ชู ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตาํ แหนงครูผูชว ย ตามหลักเกณฑใ หม 356 เฉลยแนวขอสอบพรบ.ระเบียบบริหารราชการแผน ดนิ พ.ศ. 2534 และที่แกไ ขเพ่ิมเติม ขอ ขอ ขอ ขอ 1 ก 11 ค 21 ข 31 ข 2 ค 12 ค 22 ข 32 ง 3 ก 13 ค 23 ก 33 ก 4 ข 14 ข 24 ก 34 ข 5 ข 15 ข 25 ข 35 ง 6 ง 16 ค 26 ข 36 ง 7 ก 17 ก 27 ก 37 ง 8 ง 18 ก 28 ค 38 ง 9 ก 19 ค 29 ง 39 ค 10 ค 20 ก 30 ก 40 ง เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตาํ แหนง ครผู ูช ว ย ตามหลักเกณฑใหม 357 พระราชกฤษฎีกาวาดว ยหลักเกณฑแ ละวิธีการบรหิ ารกิจการบานเมอื งทด่ี ี พ.ศ.2546 และท่แี กไ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2562 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 9 ตุลาคม 2546 (ฉบับที่ 1) 30 เมษายน 2562 (ฉบบั ที่ 2) บังคับใชวนั ถัดจากวนั ประกาศฯ 10 ตุลาคม 2546 (ฉบับที่ 1) 1 พฤษภาคม 2562 (ฉบับที่ 2) จํานวน 9 หมวด 53 มาตรา พรฎ.ฉบบั ที่ 2 ( ยกเลกิ มาตรา 13 14 15 ) ผูรกั ษาการตาม พรฎ. นายกรฐั มนตรี ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร (ฉบับท่ี 1) พลเอกประยทุ ธ จันทรโอชา (ฉบบั ท่ี 2) คาํ นิยาม “สว นราชการ” หมายความวา สว นราชการตามกฎหมายวาดว ยการปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม และหนว ยงานอืน่ ของรฐั ท่ีอยูใ นกาํ กบั ของราชการฝา ยบรหิ ารแตไ มรวมถงึ องคก รปกครองสวนทอ งถ่ิน “รัฐวิสาหกจิ ” หมายความวา รฐั วสิ าหกจิ ท่จี ัดตงั้ ขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรอื พระราชกฤษฎีกา “ขา ราชการ” หมายความรวมถงึ พนกั งาน ลูกจาง หรือผูป ฏบิ ตั งิ านในสว นราชการ ***เทคนคิ การจาํ *** 9 หมวด = บริหาร ประโยชน สัมฤทธิ์ ประสทิ ธิ์ ขน้ั ตอน ปรับปรุง อาํ นวย ประเมนิ เบด็ เตลด็ 7 เปา หมาย = ประโยชน สมั ฤทธิ์ ประสทิ ธิ์ ข้นั ตอน ปรับปรุง อํานวย ประเมนิ 53 มาตรา พรฎ.น้ไี มบ ังคบั ใชกบั อปท. แตใหด ําเนนิ การตามหมวด 9 หมวด 1 การบริหารกจิ การบา นเมืองท่ดี ี มาตรา 6 การบรหิ ารกิจการบา นเมอื งทดี่ ี ไดแ ก การบรหิ ารราชการเพอื่ บรรลเุ ปา หมาย ดงั ตอไปน้ี (1) เกิดผลประโยชนสุขของประชาชน ***ออกขอ สอบบอ ย ควรจาํ *** (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกจิ ของรัฐ (3) มีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคมุ คา ในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไมมขี น้ั ตอนในการปฏบิ ตั ิงานเกนิ ความจําเปน (5) มีการปรบั ปรุงภารกจิ ของสว นราชการใหท ันตอสถานการณ (6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรบั การตอบสนองความตองการ (7) มีการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการอยางสมา่ํ เสมอ เตรยี มสอบครูผูชวย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขา รับราชการ ตําแหนง ครผู ชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 358 หมวด 2 การบรหิ ารราชการเพ่อื ใหเ กดิ ประโยชนสุขของประชาชน มาตรา 7 การบรหิ ารราชการเพ่อื ประโยชนส ุขของประชาชน หมายถึง การปฏบิ ัติราชการทมี่ ีเปาหมาย เพือ่ ใหเ กดิ ความผาสกุ และความเปนอยูท ีด่ ีของประชาชนความสงบและปลอดภยั ของสังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสดุ ของประเทศ มาตรา 8 ในการบริหารราชการเพ่อื ประโยชนส ขุ ของประชาชนสวนราชการจะตองดําเนินการโดยถือวา ประชาชนเปน ศูนยก ลางทีจ่ ะไดรับการบรกิ ารจากรัฐและจะตองมีแนวทางการบรหิ ารราชการดงั ตอไปนี้ (1) การกาํ หนดภารกจิ ของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพ่อื วัตถุประสงคตามมาตรา7 และ สอดคลองกบั แนวนโยบายแหง รัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรที ่แี ถลงตอรัฐสภา (2) การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของสวนราชการตอ งเปนไปโดยซ่ือสตั ยส จุ รติ สามารถตรวจสอบได และมงุ ให เกดิ ประโยชนสขุ แกป ระชาชนท้งั ในระดับประเทศและทองถ่ิน (3) กอนเริ่มดําเนินการสวนราชการตอ งจัดใหมกี ารศึกษาวิเคราะหผ ลดแี ละผลเสียใหครบถว นทุกดาน กําหนดขั้นตอนการดําเนนิ การท่โี ปรง ใส มกี ลไกตรวจสอบการดําเนินการในแตล ะขนั้ ตอน ในกรณีทีภ่ ารกจิ ใด จะมผี ลกระทบตอประชาชน สวนราชการตองดาํ เนนิ การรับฟงความคดิ เหน็ ของประชาชนหรอื ชีแ้ จงทําความ เขา ใจเพ่ือใหป ระชาชนไดต ระหนกั ถึงผลประโยชนทส่ี วนรวมจะไดรับจากภารกจิ นนั้ (4) ใหเปน หนา ท่ีของขา ราชการท่ีจะตองคอยรบั ฟงความคิดเห็นและความพงึ พอใจของสงั คมโดยรวม และประชาชนผูรบั บริการ เพื่อปรับปรงุ หรือเสนอแนะตอ ผูบังคับบัญชา เพ่ือใหมีการปรับปรงุ วธิ ปี ฏิบัติราชการ ใหเหมาะสม (5) ในกรณที ี่เกิดปญ หาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ใหส ว นราชการดาํ เนนิ การแกไขปญหาและ อุปสรรคนัน้ โดยเร็ว ในกรณีทีป่ ญหาหรืออุปสรรคนน้ั เกิดขนึ้ จากสวนราชการอ่นื หรือระเบียบขอ บังคับที่ออก โดยสวนราชการอ่ืน ใหสวนราชการแจงใหสว นราชการที่เก่ียวขอ งทราบเพื่อดําเนนิ การแกไ ขปรับปรุงโดยเร็ว ตอ ไป และใหแจง ก.พ.ร. ทราบดว ย การดําเนินการตามวรรคหนึง่ ใหส ว นราชการกําหนดวธิ ปี ฏบิ ัตใิ หเหมาะสมกบั ภารกิจแตละเรอ่ื งทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกําหนดแนวทางการดําเนินการท่วั ไปใหสว นราชการปฏิบตั ใิ หเปนไปตามมารตรานี้ดว ยก็ได หมวด 3 การบรหิ ารราชการเพือ่ ใหเกิดผลสัมฤทธต์ิ อภารกิจของรัฐ มาตรา 9 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเกิดผลสมั ฤทธ์ติ อ ภารกิจของรัฐใหส วนราชการปฏบิ ัติดงั ตอ ไปน้ี (1) กอนจะดําเนินการตามภารกจิ ใดสวนราชการตอ งจัดทาํ แผนปฏบิ ัติราชการไวเปน การลวงหนา (2) การกาํ หนดแผนปฏิบตั ริ าชการของสว นราชการตาม (1) ตองมีรายละเอยี ดของข้ันตอนระยะเวลา และงบประมาณที่จะตองใชใ นการดําเนนิ การของแตละข้ันตอนเปาหมายของภารกจิ ผลสัมฤทธิข์ องภารกิจ และตวั ชี้วดั ความสําเร็จของภารกิจ (3) สว นราชการตองจัดใหม ีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏบิ ัตริ าชการตาม หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการทีส่ ว นรวมราชการกาํ หนดขนึ้ ซ่ึงตอ งสอดคลองกับมาตรฐานที่ก.พ.ร.กําหนด เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตําแหนงครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 359 (4) ในกรณีท่ีการปฏบิ ัตภิ ารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏบิ ัตริ าชการเกิดผลกระทบตอประชาชน ให เปนหนาทข่ี องสวนราชการท่ีจะตอ งดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนัน้ หรือเปลย่ี นแผนปฏิบัติ ราชการใหเหมาะสม มาตรา 10 ในกรณีที่ภารกิจใดมคี วามเก่ียวขอ งกับหลายสวนราชการหรือเปน ภารกจิ ท่ีใกลเ คียงหรอื ตอเนื่องกัน ใหสว นราชการท่เี กย่ี วของน้นั กาํ หนดแนวทางการปฏบิ ัติราชการเพื่อใหเ กิดการบริหารราชการ แบบบูรณการรวมกัน โดยมุง ใหเกดิ ผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรฐั ใหส วนราชการมีหนาทีส่ นับสนุนการปฏบิ ัติราชการของผวู าราชการจงั หวดั หรือหวั หนาคณะผูแทนใน ตา งประเทศ เพ่ือใหก ารบริหารราชการแบบบรู ณาการในจังหวดั หรือในตา งประเทศ แลวแตก รณี สามารถใช อาํ นาจตามกฎหมายไดค รบถวนตามความจาํ เปนและบริหารราชการไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรา 11 สวนราชการมหี นาทีพ่ ัฒนาความรูในสว นราชการ เพอ่ื ใหมลี ักษณะเปน องคก ารแหงการเรียนรู อยางสม่าํ เสมอ โดยตองรบั รขู อมลู ขา วสารและสามารถประมวลผลความรูในดานตา ง ๆเพือ่ นํามาประยุกตใ ช ในการปฏบิ ตั ิราชการไดอ ยางถูกตอง รวมเรว็ และเหมาะสมกับสถานการณ รวมทง้ั ตองสง เสริมและพฒั นา ความรูค วามสามารถสรางวสิ ัยทศั นแ ละปรับเปลี่ยนทศั นคตขิ องขาราชการในสงั กดั ใหเปนบุคคลากรที่มี ประสทิ ธภิ าพและมีการเรียนรูรวมกนั ทง้ั นี้ เพ่อื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั ิราชการของสวนราชการใหสอดคลอง กับการบรหิ ารราชการใหเกดิ สัมฤทธ์ติ ามพระราชกฤษฎีกาน้ี มาตรา 12 เพื่อประโยชนในการปฏิบตั ริ าชการใหเกิดสมั ฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอตอ คณะรัฐมนตรีเพ่อื กาํ หนด มาตรการกํากับการปฏบิ ตั ิราชการ โดยวิธีการจดั ทําความตกลงเปนลายลักษณอ ักษรหรือโดยวธิ กี ารอื่นใด เพือ่ แสดงความรับผิดชอบใหก ารปฏิบตั ิราชการ มาตรา 16 ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏบิ ตั ิราชการของสวนราชการนั้นโดยจดั ทาํ เปนแผนหา ปซ ่งึ ตอ ง สอดคลอ งกับยุทธศาสตรช าติ แผนแมบ ท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีท่ีแถลงตอรฐั สภา และแผนอ่นื ทเ่ี กีย่ วขอ ง ในวาระเร่ิมแรก การจดั ทําแผนปฏบิ ัตริ าชการของสวนราชการเปน แผนหา ปต ามมาตรา 16 แหงพระ ราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบา นเมืองทดี่ ีพ.ศ. 2546 ซึง่ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราช กฤษฎีกาน้ี ใหจดั ทําเปน แผนสามปโ ดยมหี วงระยะเวลาต้งั แตปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปงบประมาณ พ.ศ. 2565 มาตรา 17 ในกรณที ี่กฎหมายวา ดวยวิธีการงบประมาณกําหนดใหสวนราชการตอ งจัดทําแผนปฏบิ ตั ริ าชการ เพื่อขอรับงบประมาณ ใหส ํานักงบประมาณและ ก.พ.ร. รว มกันกําหนดแนวทางการจดั ทําแผนปฏิบตั ริ าชการ ตามมาตรา 16 ใหสามารถใชไดกบั แผนปฏิบตั ิราชการท่ีตองจดั ทาํ ตามกฎหมายวา ดว ยวธิ ีการงบประมาณ ท้ังน้ี เพ่ือมใิ หเ พ่ิมภาระงานในการจดั ทําแผนจนเกนิ สมควร มาตรา 18 เม่ือมีกําหนดงบประมาณรายจายประจาํ ปตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการของสว นราชการใดแลว การโอน งบประมาณจากภารกจิ หน่ึงตามทก่ี าํ หนดในแผนปฏบิ ัตริ าชการไปดําเนนิ การอยางอืน่ ซ่งึ มผี ลทาํ ใหภารกจิ เดิม ไมบ รรลเุ ปาหมายหรือนําไปใชในภารกจิ ใหมท ี่มิไดกําหนดในแผนปฏิบตั ริ าชการ จะกระทาํ ไดตอเมื่อไดรบั อนมุ ัตจิ ากคณะรัฐมนตรีใหป รับแผนปฏบิ ัติราชการใหสอดคลอ งกนั แลว เตรียมสอบครผู ูชว ย By ทมี ฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจุเขา รับราชการ ตําแหนงครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 360 การปรับแผนปฏิบัติราชการตามวรรคหน่งึ จะกระทําไดเฉพาะในกรณที ่ีงานหรือภารกิจใดไมอ าจ ดาํ เนนิ การตามวัตถปุ ระสงคตอไปได หรือหมดความจาํ เปนหรือไมเ ปน ประโยชน หรือหากดาํ เนินการตอไป จะตองเสยี คา ใชจายเกินความจําเปน หรอื มคี วามจาํ เปนอยางอนื่ อนั ไมอาจหลกี เหลีย่ งได ที่จะตอง เปลี่ยนแปลงสาระสาํ คญั ของแผนปฏิบตั ริ าชการ มาตรา 19 เมื่อนายกรัฐมนตรีพนจากตําแหนง ใหหวั หนา สว นราชการมหี นาท่ีสรปุ ผลการปฏิบตั ิราชการและ ใหขอ มลู ตอ นายกรัฐมนตรีคนใหมต ามทีน่ ายกรัฐมนตรีคนใหมสง่ั การ ทง้ั น้ี เพื่อนายกรฐั มนตรีคนใหมจะไดใช เปนขอมลู ในการพจิ ารณากําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดนิ ตอ ไป หมวด 4 การบริหารราชการอยางมีประสทิ ธภิ าพและเกิดความคมุ คาในเชิงภารกจิ ของรฐั มาตรา 20 เพื่อใหการปฏิบตั ิราชการภายในสวนราชการเปน ไปอยางมปี ระสิทธิภาพ ใหสวนราชการกาํ หนด เปาหมายแผนการทาํ งาน ระยะเวลาแลว เสรจ็ ของงานหรือโครงการ และงบประมาณที่จะตอ งใชใ นแตละงาน หรือโครงการ และตอ งเผยแพรใ หข า ราชการและประชาชนทราบท่ัวกันดวย มาตรา 21 ใหสว นราชการจัดทําบัญชตี น ทนุ ในงานบรกิ ารสาธารณะแตละประเภทขน้ึ ตามหลักเกณฑแ ละ วิธีการทก่ี รมบัญชกี ลางกําหนด ใหสวนราชการคํานวณรายจา ยตอ หนวยของงานบริการสาธารณะที่อยูในความรบั ผิดชอบของสว น ราชการนัน้ ตามระยะเวลาที่กรมบญั ชีกลางกาํ หนดและรายงานใหสาํ นักงบประมาณ กรมบญั ชกี ลาง และ ก.พ.ร. ทราบ ในกรณีท่ีรายจายตอหนวยของงานบรกิ ารสาธารณะใดของสว นราชการใดสงู กวา รายจายตอ หนวยของ งานบริการสาธารณะประเภทและคณุ ภาพเดียวกนั หรือคลา ยคลงึ กันของสว นราชการอ่ืนใหสว นราชการนนั้ จดั ทําแผนการลดรายจายตอหนวยของงานบริการสาธารณะดงั กลาวเสนอสํานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ และถา มิไดม ขี อทักทว งประการใดภายใน 15 วนั ก็ใหส วนราชการดงั กลาวถอื ปฏิบตั ิตาม แผนการลดรายจายนน้ั ตอไปได มาตรา 22 ใหสาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ และสํานกั งบประมาณ รว มกนั จดั ใหมกี ารประเมินความคุมคา ในการปฏิบตั ิภารกิจของรัฐทสี่ ว นราชการดําเนินการอยูเพื่อรายงาน คณะรัฐมนตรีสําหรับเปนแนวทางในการพิจารณาวา ภารกจิ ใดสมควรท่จี ะไดดําเนินการตอไปหรือยบุ เลิก และ เพอ่ื ประโยชนใ นการจดั ตัง้ งบประมาณของสว นราชการในปตอ ไป ทั้งนี้ ตามระยะเวลาท่คี ณะรฐั มนตรีกาํ หนด ในการประเมินความคมุ คา ตามวรรคหน่ึง ใหค าํ นึงถึงประเภทและสภาพของแตละภารกิจ ความเปน ไปไดของ ภารกิจหรือโครงการทด่ี าํ เนนิ การ ประโยชนทร่ี ฐั และประชาชนจะพึงไดและรายจา ยท่ีตองเสยี ไปกอนและหลงั ทสี่ วนราชการดาํ เนนิ การดวย ความคมุ คาตามาตราน้ี ใหหมายความถึงประโยชนห รือผลเสียทางสงั คม และประโยชนหรอื ผลเสียอืน่ ซง่ึ ไมอาจคํานวณเปนตวั เงินได เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตาํ แหนงครูผูช วย ตามหลกั เกณฑใหม 361 มาตรา 23 ในการจัดซื้อหรือจัดจาง ใหส วนราชการดําเนนิ การโดยเปด เผยและเที่ยงธรรม โดยพิจารณาถึง ประโยชนแ ละผลเสยี ทางสงั คม ภาระตอ ประชาชน คณุ ภาพ วัตถปุ ระสงคทจี่ ะใช ราคาและประโยชนระยะ ยาวของสวนราชการที่จะไดร ับประกอบกนั ในกรณที ี่วัตถปุ ระสงคใ นการใชเ ปนเหตุใหตอ งคํานึงถึงคุณภาพและการดแู ลรักษาเปนสําคัญให สามารถกระทําไดโดยไมตอ งถือราคาตํ่าสดุ ในการเสนอซ้ือหรือจา งเสมอไป ใหส ว นราชการทมี่ ีหนาทด่ี ูแลระเบยี บเกยี่ วกับการพัสดุปรบั ปรุงระเบยี บทเี่ กยี่ วของเพ่ือใหสว นราชการ ดําเนินการตามวรรคหน่ึงและวรรคสองไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรา 24 ในการปฏบิ ัติภารกิจใด หากสวนราชการจําเปนตอ งไดร บั อนญุ าต อนุมัติ หรือความเห็นชอบจาก สวนราชการอืน่ ตามที่มกี ฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ บงั คับ ประกาศ หรอื มติคณะรฐั มนตรีกําหนด ใหส ว น ราชการท่ีมีอํานาจอนุญาต อนมุ ัติ หรอื ใหความเห็นชอบดังกลาว แจง ผลการพจิ ารณาใหส ว นราชการที่ยื่น คําขอทราบภายใน 15 วนั นับแตวนั ท่ไี ดรับคาํ ขอ ***ออกขอสอบบอย*** ในกรณีท่ีเร่ืองใดมกี ฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคบั ประกาศ หรอื มติคณะรฐั มนตรีกาํ หนดข้ันตอน การปฏบิ ตั ไิ ว และข้นั ตอนการปฏบิ ัตินน้ั ตองใชร ะยะเวลาเกนิ สิบหาวัน ใหสว นราชการทม่ี ีอํานาจอนุญาต อนุมัติ หรอื ใหความเหน็ ชอบประกาศกําหนดระยะเวลาการพิจารณาไวใหสว นราชการอื่นทราบ สวนราชการใดทม่ี อี ํานาจอนุญาต อนมุ ัติ หรือใหค วามเห็นชอบ มิไดดาํ เนินการใหแลว เสร็จตามวรรคหน่งึ หรอื วรรคสอง หากเกดิ ความเสยี หายใดขนึ้ ใหถ ือวาขา ราชการซึ่งมหี นา ท่ีเก่ียวของและ หวั หนาสวนราชการ นนั้ ประมาทเลินเลออยางรายแรง เวนแตจ ะพิสูจนไดว าความลา ชา น้ันมิไดเกิดขึ้นจากความผดิ ของตน มาตรา 25 ในการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยช้ขี าดปญ หาใด ๆ ใหเ ปนหนา ท่ขี องสวนราชการทีร่ ับผิดชอบในปญ หานนั้ ๆ จะตองพจิ ารณาวนิ ิจฉยั ชขี้ าดโดยเร็ว การต้งั คณะกรรมการข้นึ พจิ ารณาวินิจฉัย ใหด ําเนินการไดเทา ท่จี ําเปน อนั ไมอ าจหลกี เลี่ยงได ในการพจิ ารณาเร่ืองใด ๆ โดยคณะกรรมการ เมอื่ คณะกรรมการมีมติเปน ประการใดแลว ใหม ตขิ อง คณะกรรมการผกู พนั สวนราชการซง่ึ มผี ูแทนรวมเปนกรรมการอยดู ว ย แมว า ในการพิจารณาวนิ ิจฉัยเรื่องนั้น ผแู ทนของสว นราชการทีเ่ ปน กรรมการฝายขางนอยไวใ หปรากฏในเรอ่ื งนน้ั ดว ย ความผูกพันทก่ี าํ หนดไวในวรรคสอง มใิ หใชบ งั คบั กบั การวินิจฉยั ในปญ หาดานกฎหมาย มาตรา 26 การส่ังราชการโดยปกตใิ หก ระทําเปนลายลักษณอักษร เวนแตใ นกรณที ผี่ บู งั คับบัญชามีความ จําเปนท่ีไมอาจสง่ั เปน ลายลกั ษณอักษรในขณะนน้ั จะสั่งราชการดว ยวาจากไ็ ด แตใ หผูรบั คําส่ังนน้ั บันทึก คําสั่งดวยวาจาไวเ ปนลายลกั ษณอ ักษรและเม่ือไดป ฏิบัติราชการตามคาํ สัง่ ดังกลา วแลว ใหบ นั ทกึ รายงานใหผ ู ส่งั ราชการทราบ ในบันทึกใหอางองิ คําส่งั ดว ยวาจาไวดวย . เตรยี มสอบครผู ูช วย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คูม อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตําแหนง ครผู ูชว ย ตามหลักเกณฑใ หม 362 หมวด 5 การลดขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน มาตรา 27 ใหสวนราชการจัดใหม ีการกระจายอํานาจการตัดสินใจเก่ียวกบั การสง่ั การอนุญาต การอนุมัติ การปฏบิ ัติราชการ หรอื การดําเนินการอนื่ ใดของผูดาํ รงตาํ แหนง ใดใหแกผดู ํารงตาํ แหนงที่มหี นา ท่ี รบั ผดิ ชอบในการดาํ เนินการในเรื่องนนั้ โดยตรง เพื่อใหเ กิดความรวดเรว็ และลดข้ันตอนการปฏบิ ตั ิราชการ ท้ังนี้ ในการกระจายอาํ นาจการตดั สนิ ใจดังกลาวตองมงุ ผลใหเ กดิ ความสะดวกและรวดเร็วในการบรกิ าร ประชาชน เมอื่ ไดม กี ารกระจายอํานาจการตดั สนิ ใจตามวรรคหนึ่งแลว ใหส ว นราชการกาํ หนดหลกั เกณฑการ ควบคุม ตดิ ตามและกํากับดูแลการใชอํานาจและความรับผิดชอบของผูรบั มอบอาํ นาจและผูมอบอาํ นาจไวดว ย หลักเกณฑด งั กลาวตองไมส รา งข้ันตอนหรือการกล่ันกรองงานทีไ่ มจ ําเปนในการปฏบิ ตั งิ านของขาราชการ ในการนี้ หากสามารถใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศหรอื โทรคมนาคมแลวจะเปนการลดขั้นตอนเพม่ิ ประสิทธภิ าพ และประหยัดคา ใชจา ย รวมท้งั ไมเกดิ ผลเสยี หายแกราชการ ใหส วนราชการดาํ เนนิ การใหข า ราชการใช เทคโนโลยีสารสนเทศหรอื โทรคมนาคมตามความเหมาะสมและกาํ ลังเงนิ งบประมาณ เมื่อสวนราชการใดไดมีการกระจายอํานาจการตดั สนิ ใจตามวรรคหน่งึ หรือไดมีการใชเทคโนโลยี สารสนเทศหรอื โทรคมนาคมตามวรรคสองแลว ใหสว นราชการนนั้ เผยแพรใหป ระชาชนทราบเปน การท่ัวไป มาตรา 28 เพื่อประโยชนในการกระจายอาํ นาจการตัดสนิ ใจ ตามมาตรา 27 ก.พ.ร.ดว ยความเห็นชอบของ คณะรฐั มนตรีจะกาํ หนดหลกั เกณฑและวิธกี ารหรือแนวทางในการกระจายอํานาจการตัดสนิ ใจ ความ รบั ผิดชอบระหวางผูร ับมอบอํานาจและผรู ับมอบอาํ นาจ และการลดข้ันตอนในการปฏิบัติราชการใหสวน ราชการถือปฏบิ ัติได มาตรา 29 ในการปฏิบัตงิ านทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การบริการประชาชนหรือการติดตอประสานงานระหวางสวน ราชการดวยกัน ใหสวนราชการแตล ะแหงจดั ทาํ แผนภูมิขน้ั ตอนและระยะเวลาการดําเนนิ การรวมทั้ง รายละเอยี ดอ่นื ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ งในแตละขนั้ ตอนเปดเผยไว ณ ทที่ าํ การของสวนราชการและในระบบเครือขาย สารสนเทศของสวนราชการ เพอ่ื ใหประชาชนหรือผทู ่เี กีย่ วของเขาตรวจดไู ด “การบริการประชาชนและการติดตอ ประสานงานระหวา งสวนราชการดวยกนั ตอ งกระทาํ โดยใช แพลตฟอรม ดิจิทลั กลางทีส่ าํ นกั งานพฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัล (องคก ารมหาชน) กําหนดดวย” มาตรา 30 ในกระทรวงหนึง่ ใหเ ปน หนาท่ีของปลดั กระทรวงทีจ่ ะตองจดั ใหส วนราชการภายในกระทรวงที่ รบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานเก่ยี วกับการบริการประชาชนรว มกันจดั ต้ังศนู ยบริการรวม เพ่ืออาํ นวยความสะดวก แกประชาชนในการทจ่ี ะตอ งปฏบิ ัติตามกฎหมายหรือกฎอื่นใด ทัง้ น้ี เพอื่ ใหประชาชนสามารถตดิ ตอสอบถาม ขอทราบขอมลู ขออนุญาต หรือขออนุมัติในเรอื่ งใด ๆ ท่เี ปนอํานาจหนา ท่ีของสว นราชการในกระทรวง เดียวกัน โดยติดตอ เจาหนา ท่ี ณ ศนู ยบรกิ ารรว มเพยี งแหง เดียว เตรยี มสอบครผู ูชวย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรียมสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตาํ แหนงครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใ หม 363 มาตรา 31 ในศูนยบรกิ ารรว มตาม มาตรา 30 ใหจดั ใหมีเจาหนา ที่รบั เรอื่ งราวตาง ๆ และดําเนินการสง ตอให เจาหนาท่ขี องสวนราชการทีเ่ ก่ยี วของเพ่ือดาํ เนินการตอ ไป โดยใหมีขอมลู และเอกสารท่เี กยี่ วของกับอํานาจ หนาทีข่ องทุกสว นราชการในกระทรวงรวมทั้งแบบคําของตาง ๆ ไวใ หพ รอมที่จะบริการประชาชนได ณ ศนู ยบ รกิ ารรวม ใหเ ปน หนาท่สี วนราชการทเ่ี ก่ียวขอ งทจ่ี ะตองจัดพิมพรายละเอยี ดของเอกสารหลักฐานที่ประชาชน จะตองจัดหามาในการขออนุมัติหรือขออนญุ าตในแตล ะเรื่องมอบใหแกเ จาหนาทขี่ องศนู ยบริการรว มและให เปน หนาที่ของเจาหนาท่ีศูนยบริการรวมท่ีจะตองแจงใหประชาชนท่มี าติดตอไดท ราบในคร้ังแรกทม่ี าติดตอและ ตรวจสอบวา เอกสารหลกั ฐานทจ่ี ําเปนดังกลาวนน้ั ประชาชนไดยนื่ มาครบถว นหรอื ไม พรอมทัง้ แจงใหท ราบถงึ ระยะเวลาท่ีจะตองใชด าํ เนินการในเรอื่ งน้ัน ในการยน่ื คํารองหรือคาํ ขอตอศนู ยบรกิ ารรวมตามมาตรา 30 ใหถ ือวา เปนการย่นื ตอสว นราชการท่ี เก่ยี วของท้งั หมดตามทีร่ ะบไุ วในกฎหมายหรือกฎแลว ในการดําเนินการตามวรรคหนง่ึ หากมปี ญ หาหรืออุปสรรคในการปฏิบตั ริ าชการใหเปน ไปตาม หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารท่กี ําหนดในกฎหมายหรือกฎในเรอื่ งใด ใหส วนราชการที่เก่ยี วของแจงให ก.พ.ร.ทราบ เพอื่ ดําเนินการเสนอคณะรัฐมนตรใี หมกี ารปรบั ปรุงหลักเกณฑแ ละวธิ ีการตามกฎหมายหรือกฎนัน้ ตอ ไป มาตรา 32 ใหผ ูวาราชการจังหวดั นายอําเภอ และปลัดอาํ เภอผเู ปนหวั หนา ประจํากิ่งอาํ เภอจดั ใหส ว นราชการ ท่รี บั ผดิ ชอบดาํ เนินการเกีย่ วกับการบรกิ ารประชาชนในเรือ่ งเดยี วกนั หรือตอเน่อื งกันในจังหวดั อาํ เภอ หรอื กิง่ อําเภอนั้น รว มกันจัดตัง้ ศูนยบริการรว มไว ณ ศาลากลางจงั หวัด ทีว่ าการอําเภอหรอื ท่วี า การก่งิ อาํ เภอ หรือสถานท่ีอนื่ ตามที่เห็นสมควร โดยประกาศใหประชาชนทราบ และใหนาํ ความในมาตรา 30 และมาตรา 31 มาใชบังคบั ดวยโดยอนุโลม หมวด 6 การปรบั ปรุงภารกจิ ของสว นราชการ มาตรา 33 ใหสว นราชการจัดใหมีการทบทวนภารกิจของตนวาภารกจิ ใดมีความจาํ เปน หรอื สมควรที่จะ ยกเลิก ปรับปรงุ หรือเปลี่ยนแปลงการดาํ เนินการตอไปหรือไม โดยคํานึงถึงยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีทีแ่ ถลงตอรฐั สภา และแผนอนื่ ท่ีเกี่ยวของ รวมถึงกาํ ลงั เงนิ งบประมาณของประเทศ ความคุมคา ของภารกจิ และสถานการณอ่นื ประกอบกัน กาํ หนดเวลาในการจดั ใหมีการทบทวนตามวรรคหน่ึงใหเปนไปตามท่ี ก.พ.ร.กําหนด ในกรณีทส่ี วนราชการเหน็ ควรยกเลิก ปรับปรุง หรอื เปล่ียนแปลงภารกิจ ใหสว นราชการดาํ เนนิ การ ปรับปรงุ อาํ นาจหนาท่ี โครงสราง และอัตรากําลงั ของสวนราชการใหส อดคลองกนั และเสนอคณะรฐั มนตรี พจิ ารณาใหความเห็นชอบเพ่ือดําเนนิ การตอไป เตรยี มสอบครผู ชู ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตําแหนงครูผูชว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 364 ในกรณที ี่ก.พ.ร. พจิ ารณาแลว เหน็ วา ภารกจิ ของรัฐที่สวนราชการใดรบั ผดิ ชอบดาํ เนินการอยูส มควร เปล่ยี นแปลง ยกเลกิ หรือเพิ่มเติม ใหเสนอคณะรฐั มนตรีเพอ่ื พจิ ารณา เม่ือคณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบแลว ใหสว นราชการนน้ั ดาํ เนนิ การปรับปรุงภารกจิ อํานาจหนา ท่ี โครงสรา งและอตั รากาํ ลงั ของสว นราชการน้ันให สอดคลอ งกนั มาตรา 34 ในกรณีที่มกี ารยุบเลกิ โอน หรอื รวมสว นราชการใดทง้ั หมดหรือบางสว นหา มมิใหจดั ตั้งสวน ราชการท่มี ภี ารกจิ หรอื อาํ นาจหนาที่ทีม่ ีลกั ษณะเดียวกนั หรือคลา ยคลึงกันกบั สวนราชการดังกลา วขึ้นอีก เวน แตมเี หตผุ ลและความจําเปนเพ่ือรักษาความม่นั คงของรัฐหรอื เศรษฐกิจของประเทศ หรือรักษา ผลประโยชนส ว นรวมของประชาชน และโดยไดร ับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร.” ***ออกขอสอบป 58*** มาตรา 35 สวนราชการมีหนาทสี่ ํารวจ ตรวจสอบ และทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอบงั คบั และ ประกาศ ที่อยใู นความรบั ผิดชอบ เพ่ือดําเนนิ การยกเลิก ปรบั ปรุง หรือจดั ใหมกี ฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอบังคบั หรือประกาศขน้ึ ใหม ใหทนั สมัยและเหมาะสมกับสภาวการณ หรือสอดคลองกบั ความจาํ เปน ทางเศรษฐกจิ สงั คม และความม่ันคงของประเทศ ท้ังนี้ โดยคาํ นงึ ถึงความสะดวกรวดเรว็ และลดภาระของ ประชาชนเปนสําคญั ***ออกขอสอบบอย*** ในการดําเนนิ การตามวรรคหนึ่ง ใหสวนราชการนําความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของประชาชนมา ประกอบการพิจารณาดวย มาตรา 36 ในกรณที สี่ ํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นวา กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอ บงั คบั หรอื ประกาศ ท่ีอยูในความรับผิดชอบของสวนราชการใด ไมสอดคลองหรือเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน ไมเอ้ืออํานวยตอการพัฒนาประเทศ เปนอุปสรรคตอการประกอบกิจการหรือการดํารงชีวิตของประชาชน หรือกอใหเกิดภาระหรือความยุงยากตอประชาชนเกินสมควร ใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอแนะ ตอสว นราชการนั้นเพือ่ ดําเนินการแกไข ปรบั ปรุง หรือยกเลิกโดยเรว็ ตอ ไป ในกรณีที่สวนราชการทีไ่ ดรับการเสนอแนะไมเ หน็ ชอบดว ยกับคาํ เสนอแนะของสํานกั งาน คณะกรรมการกฤษฎีกา ใหเ สนอเรือ่ งตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉยั หมวด 7 การอาํ นวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน มาตรา 37 ในการปฏิบตั ิราชการทีเ่ กี่ยวของกบั การบริการประชาชนหรอื ติดตอประสานงานในระหวา งสว น ราชการดวยกัน ใหส วนราชการกาํ หนดระยะเวลาแลวเสรจ็ ของงานแตละงานและประกาศใหป ระชาชนและ ขา ราชการทราบเปนการทั่วไป สว นราชการใดมิไดกําหนดระยะเวลาแลวเสรจ็ ของงานใดและ ก.พ.ร. พิจารณาเห็นวา งานนั้น มีลักษณะท่ีสามารถกําหนดระยะเวลาแลวเสร็จได หรอื สว นราชการไดก ําหนด ระยะเวลาแลว เสร็จไว แต ก.พ.ร. เห็นวา เปน ระยะเวลาที่ลา ชา เกนิ สมควร ก.พ.ร.จะกาํ หนดเวลาแลว เสร็จให สวนราชการนนั้ ตองปฏบิ ัติก็ได ใหเปน หนาท่ีของผูบ งั คับบญั ชาท่ีจะตองตรวจสอบใหขา ราชการปฏิบตั งิ านใหแ ลวเสร็จตาม กําหนดเวลาตามวรรคหนึง่ เตรียมสอบครูผชู ว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจุเขารับราชการ ตําแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใ หม 365 มาตรา 38 เมื่อสวนราชการใดไดรับการติดตอสอบถามเปนหนังสือจากประชาชนหรือจากสวนราชการ ดวยกันเกีย่ วกับงานท่ีอยูในอํานาจหนาทีข่ องสวนราชการนั้น ใหเปน หนา ทขี่ องสวนราชการนั้น ท่ีจะตอง ตอบคําถามหรือแจงการดําเนินการใหทราบภายใน 15 วันหรือภายในกําหนดเวลาท่ีกําหนดไว ตามมาตรา 37 ***ออกขอสอบบอ ย*** มาตรา 39 ใหสว นราชการจดั ใหม ีระบบเครอื ขา ยสารสนเทศของสว นราชการเพื่ออํานวยความสะดวกใหแก ประชาชนท่จี ะสามารถติดตอสอบถามหรือขอขอมลู หรือแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับการปฏบิ ตั ริ าชการของสวน ราชการ เชน (กระทรงศึกษาธิการ : เสมาสนเทศ ; รวม.ศธ. 2560) ระบบเครือขา ยสารสนเทศตามวรรคหนงึ่ ตองจดั ทําในระบบเดยี วกบั ท่ีกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารจดั ใหม ีขึ้นตามมาตรา 40 มาตรา 40 เพ่อื อาํ นวยความสะดวกและความรวดเร็วแกประชาชนในการตดิ ตอกับสว นราชการทกุ แหง ให กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารจดั ใหมีระบบเครอื ขายสารสนเทศกลางขึ้น ในกรณที สี่ ว นราชการใดไมอาจจัดใหมีระบบเครือขายสานสนเทศของสว นราชการไดอาจรอ งขอให กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารดําเนินการจัดทําระบบเครือขา ยสารสนเทศของสวนราชการ ดงั กลาวก็ได ในการนีก้ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะขอใหสวนราชการใหความชวยเหลอื ดา นบคุ ลากร คา ใชจ าย และขอมลู ในการดําเนินการก็ได มาตรา 41 ในกรณีท่สี วนราชการไดรับคํารองเรียน เสนอแนะ หรือความคิดเหน็ เก่ยี วกับวธิ ปี ฏิบัติราชการ อปุ สรรค ความยงุ ยาก หรือปญ หาอื่นใดจากบคุ คลใด โดยมีขอ มูลและสาระตามสมควรใหเ ปนหนาทขี่ องสว น ราชการนน้ั ทีจ่ ะตองพจิ ารณาดาํ เนนิ การใหลุลวงไป และในกรณีทม่ี ีทอ่ี ยูของบุคคลนั้น ใหแจงใหบ คุ คลนนั้ ทราบผลการดาํ เนนิ การดว ย ท้ังน้ี อาจแจง ใหทราบผา นทางระบบ เครือขายสารสนเทศของสว นราชการดว ย กไ็ ด ในกรณีการแจง ผานทางระบบเครือขายสารสนเทศ มใิ หเปดเผยช่อื หรอื ท่ีอยขู องผูร องเรียน เสนอแนะ หรือแสดงความคิดเห็น มาตรา 42 เพ่ือใหการปฏบิ ตั ิราชการเปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพและเกิดความสะดวกรวกเร็ว ใหสวนราชการ ท่มี อี ํานาจออกกฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั หรือประกาศ เพอ่ื ใชบังคบั กบั สว นราชการอืน่ มหี นา ทตี่ รวจสอบวา กฎ ระเบียบ ขอ บังคบั หรอื ประกาศนน้ั เปน อุปสรรคหรือกอใหเ กิดความยุงยาก ซ้าํ ซอน หรอื ความลา ชา ตอ การปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องสว นราชการอ่ืนหรอื ไม เพอ่ื ดําเนินการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมโดยเรว็ ตอไป ในกรณีที่ไดรบั การรองเรียนหรอื เสนอแนะจากขา ราชการหรอื สวนราชการอน่ื ในเรื่องใดใหส ว นราชการที่ออก กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั หรอื ประกาศนั้นพิจารณาโดยทันที และในกรณที ีเ่ ห็นวาการรองเรียนหรือ เสนอแนะนั้นเกิดจากความเขา ใจผดิ หรอื ความไมเ ขาใจในกฎ ระเบียบ ขอบังคับ หรอื ประกาศใหช้แี จง ใหผ ูรอ งเรยี นหรือเสนอแนะทราบภายใน 15 วนั การรอ งเรียนหรือเสนอแนะตามวรรคสอง จะแจง ผา น ก.พ.ร. กไ็ ด เตรียมสอบครผู ชู วย By ทมี ฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตาํ แหนง ครผู ูชว ย ตามหลกั เกณฑใหม 366 ในกรณที ่ี ก.พ.ร. เหน็ วา กฎ ระเบียบ ขอ บังคับ หรือประกาศใดมีลักษณะตามวรรคหนึง่ ให ก.พ.ร. แจงใหส ว นราชการท่อี อกกฎ ระเบียบ ขอบงั คับ หรือประกาศน้นั ทราบเพื่อดาํ เนินการปรบั ปรงุ แกไข หรือยกเลิก ตอไปโดยเร็ว มาตรา 43 การปฏบิ ัติราชการในเรอ่ื งใด ๆ โดยปกตใิ หถ ือวาเปนเรอื่ งเปด เผย เวน แตกรณีมีความจําเปน อยา ง ยงิ่ เพ่ือประโยชนในการรักษาความมั่นคงของประเทศ ความม่นั คงทางเศรษฐกจิ การรกั ษาความสงบ เรยี บรอ ยของประชาชน หรือการคมุ ครองสิทธสิ ว นบุคคล จึงใหก าํ หนดเปน ความลับไดเ ทาทจี่ ําเปน มาตรา 44 สวนราชการตองจัดใหมกี ารเปด เผยขอ มูลเก่ยี วกบั งบประมาณรายจา ยแตล ะป รายการเกย่ี วกบั การจดั ซ้ือหรือจดั จา งท่จี ะดําเนนิ การในปง บประมาณน้ัน และสญั ญาใด ๆ ที่ไดมกี ารอนุมัตใิ หจดั ซ้ือหรอื จดั จางแลว ใหประชาชนสามารถขอดูหรอื ตรวจสอบได ณ สถานที่ทําการของสว นราชการ และระบบเครอื ขา ย สารสนเทศของสวนราชการ ท้งั น้ี การเปด เผยขอมูลดังกลาวตองไมกอใหเ กิดความไดเ ปรียบหรือเสยี เปรียบ หรอื ความเสยี หายแกบคุ คลใดในการจดั ซ้ือหรอื จัดจา ง ในการจดั ทาํ สัญญาจดั ซ้ือหรอื จัดจา ง หา มมิใหม ีขอ ความหรอื ขอตกลงหา มมใิ หเปด เผยขอความหรือ ขอตกลงในสัญญาดังกลา ว เวน แตขอมลู ดงั กลา วเปนขอ มลู ท่อี ยูภายใตบ งั คับกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ ขอบังคบั ท่ีเกี่ยวกบั การคมุ ครองความลับทางราชการ หรือในสว นท่เี ปน ความลบั ทางการคา บัญญัติเพิ่มในพรฎ.วาดวยหลกั เกณฑก ารบริหารกิจการบานเมอื งทดี่ ี ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2562 ในวาระเรม่ิ แรก ใหส ํานักงานพัฒนารัฐบาลดจิ ทิ ัล (องคการมหาชน) จัดใหมแี พลตฟอรม ดจิ ิทัล กลางเพือ่ ใหสวนราชการใชใ นการบริการประชาชนและการตดิ ตอประสานงานระหวา งกันไดภ ายในเกาสบิ วนั นบั แตวันทพ่ี ระราชกฤษฎีกานีใ้ ชบ งั คบั ใหเปนหนา ที่ของหวั หนาสว นราชการท่จี ะตองดําเนินการใหการบรกิ ารประชาชนและการตดิ ตอ ประสานงานระหวา งสว นราชการดวยกัน โดยการใชแพลตฟอรม ดจิ ิทลั กลางใหแลว เสร็จภายในสองป นบั แตพ น ก าหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ในกรณที ีส่ ว นราชการใดมเี หตุผลความจําเปนทีไ่ มสามารถดําเนนิ การใชแพลตฟอรมดจิ ทิ ัลกลางได ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนดในวรรคสอง ใหห วั หนาสวนราชการนนั้ เสนอ ก.พ.ร. เพ่ือพจิ ารณาขยาย ระยะเวลาดงั กลา วได หมวด 8 การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ มาตรา 45 นอกจากการจัดใหม กี ารประเมินผลตามมาตรา 9 (3) แลว ใหสว นราชการจัดใหมคี ณะผูประเมิน อิสระดําเนนิ การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการของสวนราชการเกย่ี วกบั ผลสัมฤทธ์ขิ องภารกจิ คณุ ภาพ การใหบริการ ความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ ความคมุ คา ในภารกิจ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาท่ี ก.พ.ร. กําหนด ***ออกขอสอบบอย*** เตรียมสอบครผู ูชวย By ทีมฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจุเขา รับราชการ ตําแหนง ครผู ชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 367 มาตรา 46 สว นราชการอาจจัดใหม กี ารประเมินภาพรวมของผบู ังคบั บัญชาแตล ะระดับหรือหนวยงานในสวน ราชการได ทง้ั นี้ การประเมนิ ดงั กลา วตอ งกระทําเปนความลับและเปนไปเพื่อประโยชนแหง ความสามคั คขี อง ขาราชการ มาตรา 47 ในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของขาราชการเพอ่ื ประโยชนในการบรหิ ารงานบคุ คล ใหส ว น ราชการประเมนิ โดยคํานึงถึงผลการปฏบิ ัตงิ านเฉพาะตวั ของขาราชการผูน นั้ ในตาํ แหนงท่ีปฏิบตั ิ ประโยชน และผลสมั ฤทธทิ์ ีห่ นวยงานท่ีขาราชการผูน ัน้ สังกัดไดร บั จากการปฏบิ ตั ิงานของขาราชการผนู ้ัน มาตรา 48 ในกรณที ี่สว นราชการไดดาํ เนินการใหบริการที่มีคณุ ภาพและเปนไปตามเปา หมายทกี่ ําหนด รวมทัง้ เปน ที่พึงพอใจแกป ระชาชน ให ก.พ.ร. เสนอคณะรฐั มนตรีจัดสรรเงนิ เพ่มิ พเิ ศษเปนบาํ เหน็จ ความชอบแกสว นราชการหรือใหส ว นราชการใชเงนิ งบประมาณเหลือจา ยของสวนราชการนัน้ เพ่ือนาํ ไปใชใน การปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิงานของสว นราชการหรอื จัดสรรเปนรางวัลใหข า ราชการในสงั กดั ท้งั น้ีตามหลักเกณฑ และวิธกี ารท่ี ก.พ.ร. กาํ หนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มาตรา 49 เมื่อสวนราชการใดไดดําเนินงานไปตามเปาหมาย สามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ โดยไม เปนการเพิ่มคาใชจายและคุมคาตอภารกิจของรัฐหรือสามารถดําเนินการตามแผนการลดคาใชจายตอ หนวยตามหลักเกณฑที่ ก.พ.ร. กําหนด ให ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินรางวัลการเพ่ิม ประสิทธิภาพใหแกสวนราชการน้ัน หรือใหสวนราชการใชเ งินงบประมาณเหลอื จายของสวนราชการนั้น เพ่ือ นาํ ไปใชใ นการปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิงานของสวนราชการหรือจดั สรรเปน รางวลั ใหขาราชการในสงั กัด ทง้ั น้ี ตาม หลักเกณฑและวธิ กี ารท่ี ก.พ.ร. กําหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี หมวด 9 บทเบด็ เตลด็ มาตรา 50 เพื่อใหการบริหารราชการเปน ไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพและคมุ คาในเชิงภารกจิ ของรฐั ก.พ.ร. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี อาจกําหนดใหส ว นราชการตองปฏบิ ตั ิการใดนอกเหนือจากที่กาํ หนดไว ในพระราชกฤษฎีกานี้ รวมทงั้ กําหนดมาตรการอนื่ เพม่ิ เติมจากท่บี ัญญัติไวใ นมาตรา 48 และมาตรา 49 กไ็ ด มาตรา 51 ในกรณที ี่พระราชกฤษฎกี าน้กี าํ หนดใหสว นราชการตอ งจัดทําแผนงานในเรอ่ื งใด และมีกฎหมาย ฉบบั อืน่ กําหนดใหส ว นราชการตองจัดทําแผนงานในเร่ืองเดียวกันทัง้ หมดหรือบางสว นเมื่อสวนราชการไดจ ดั ทํา แผนงานตามกฎหมายฉบบั ใดฉบับหน่งึ แลว ใหถือวาสว นราชการนน้ั ไดจ ัดทําแผนตามพระราชกฤษฎกี านด้ี วย แลว มาตรา 52 ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดทําหลกั เกณฑการบริหารกิจการบานเมืองที่ดตี ามแนวทาง ของพระราชกฤษฎีกานี้โดยอยา งนอ ยตองมีหลักเกณฑเก่ียวกับการลดขนั้ ตอนการปฏิบัติงานและการ อํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชนทสี่ อดคลองกับบทบัญญัติในหมวด 5 และหมวด 7 ***ออกขอสอบบอย*** เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตาํ แหนงครูผชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 368 ใหเปน หนา ทขี่ องกระทรวงมหาดไทยดูแลและใหความชวยเหลอื องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ ในการ จดั ทาํ หลกั เกณฑตามวรรคหน่ึง มาตรา 53 ใหองคการมหาชนและรัฐวสิ าหกจิ จัดใหมีหลักเกณฑก ารบริหารกจิ การบา นเมอื งทีด่ ตี าม แนวทางของพระราชกฤษฎีกาน้ี ในกรณีท่ี ก.พ.ร. เหน็ วาองคการมหาชนหรือรฐั วิสาหกจิ ใดไมจ ัดใหม หี ลักเกณฑตามวรรคหนึง่ หรอื มี แตไ มส อดคลองกับพระราชกฤษฎีกาน้ี ใหแจง รัฐมนตรซี ึ่งมีหนา ท่ีกาํ กับดแู ลองคการมหาชน หรอื รฐั วสิ าหกจิ เพอ่ื พจิ ารณาสงั่ การใหองคการมหาชนหรอื รัฐวิสาหกิจนั้น ดาํ เนนิ การใหถ ูกตองตอไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชกฤษฎีกาฉบับท่ี 2 คือ โดยท่ีพระราชกฤษฎกี าวาดวย หลกั เกณฑและวธิ ีการบรหิ ารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 กาํ หนดใหคณะรัฐมนตรแี ละหนวยงานที่ เกย่ี วขอ งจัดใหมีแผนการบริหารราชการแผนดนิ และแผนนติ ิบัญญัตขิ ้นึ เพอื่ เปน กรอบในการบริหารราชการ แผน ดินใหมีความชัดเจน แตเนือ่ งจากรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 ไดกําหนดใหรฐั จัดใหม ยี ุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพฒั นาประเทศอยางย่ังยืน และตอมาไดม ีการตราพระราชบัญญัติ การจดั ทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560 และพระราชบญั ญตั ิแผนและขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. 2560 ขึน้ ซึ่งกฎหมายดังกลา วไดกําหนดใหมีการจัดทํากรอบในการพฒั นาประเทศอยา งยั่งยืนไวใ นรปู ยทุ ธศาสตรชาติซ่ึงทุกหนวยงานตองปฏิบัติตาม ประกอบกับไดม ีการจดั ท าแผนการปฏิรูปประเทศเพื่อเปน กลไกวิธกี าร และขน้ั ตอนการดาํ เนินการปฏริ ปู ประเทศในดานตาง ๆ ขนึ้ แลว จงึ ไมมีความจาํ เปน ทีจ่ ะตอง จัดทาํ แผนการบรหิ ารราชการแผนดนิ และแผนนติ บิ ญั ญัติใหซ้าํ ซอนกนั อีก สมควรยกเลิกการจัดทําแผนการ บริหารราชการแผน ดินและแผนนิติบญั ญัติ และปรบั ปรงุ การจัดทาํ แผนปฏิบตั ิราชการของสวนราชการให สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตรช าติ แผนแมบ ท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรที ี่แถลงตอรัฐสภา และแผนอืน่ ที่เกย่ี วขอ ง รวมท้ังสมควรกาํ หนดใหการปฏิบตั งิ านที่ เกีย่ วของกบั การบรกิ ารประชาชนและการติดตอประสานงานระหวางสวนราชการดว ยกนั ตองกระทาํ โดยใช แพลตฟอรมดจิ ิทลั กลางเพื่อใหสอดคลอ งกบั การปฏิรปู ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการและการบรหิ าร ราชการแผน ดินตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จงึ จําเปนตองตราพระราชกฤษฎีกานี้ เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจุเขา รับราชการ ตาํ แหนง ครผู ูชวย ตามหลกั เกณฑใหม 369 แนวขอสอบ พระราชกฤษฎกี าวาดว ยหลักเกณฑและวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบานเมืองทด่ี ี 1. พระราชกฤษฎกี าวาดว ยหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารบรหิ ารกิจการบา นเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีก่หี มวด กมี่ าตรา ก. 9 หมวด 53 มาตรา ข. 8 หมวด 52 มาตรา ค. 9 หมวด 54 มาตรา ง. 8 หมวด 54 มาตรา 2. พระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑแ ละวิธีการบริหารกจิ การบา นเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546 ใหไว ณ วันทเ่ี ทา ใด ก. 9 มกราคม 2546 ข. 9 ตลุ าคม 2546 ค. 9 กมุ ภาพนั ธ 2546 ง. 9 พฤศจิกายน 2546 3. พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลักเกณฑและวิธีการบรหิ ารกิจการบา นเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546 นใี้ ชบงั คับ ตง้ั แต ก. วันท่ปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา ข. กอ นวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ค. วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ง. ไมม ขี อใดถกู 4. การปฏบิ ตั ติ ามพระราชกฤษฎกี านี้ จะปฏิบตั ิเมื่อใด และตอ งมเี งื่อนไขอยา งใด ใหเ ปนไปตามท่ผี ใู ด กาํ หนด ก. เลขาธิการรัฐมนตรีกาํ หนด ข. เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรีกําหนด 3. นายกรัฐมนตรกี ําหนด ง. คณะรัฐมนตรีกําหนด 5. การปฏบิ ตั ติ ามพระราชกฤษฎีกานี้จะปฏิบัติเม่ือใด และตองมีเงื่อนไขอยา งใด ใหเ ปนไปตามท่ีผูใ ด เสนอ ก. ก.พ.ร. ข. ครม. ค. กกต. ง. พ.ต.ท. 6. ตามพระราชกฤษฎกี าน้ี คาํ วา “สวนราชการ” หมายถึง ก. สว นราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม ข. หนว ยงานอ่ืนของรฐั ท่อี ยใู นก ากับของสว นราชการฝา ยบรหิ าร ค. ถกู ทง้ั ขอ 1. และ 2. ง. ไมมขี อใดถกู 7. ตามพระราชกฤษฎนี ้ี คาํ วา “สวนราชการ” ไมรวมถึง ก. องคการบริหารสวนจังหวดั ข. การปกครองสวนภมู ิภาค ค. การปกครองสวนกลาง ง. องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน 8. ตามพระราชกฤษฎีกาน้ี คาํ วา “รฐั วิสาหกิจ” หมายความวา อยางไร ก. รฐั วสิ าหกิจทจ่ี ดั ตั้งขนึ้ โดยพระราชบัญญัติ ข. รฐั วสิ าหกิจท่ีจัดต้งั ขน้ึ โดยพระราชกฤษฎีกา ค. รฐั วิสาหกิจทจี่ ัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง ง. ถกู หมดท้ัง 1. และ 2. เตรยี มสอบครผู ูช ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คูม ือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตําแหนง ครูผูช ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 370 9. ตามพระราชกฤษฎกี าน้ี คาํ วา “ขา ราชการ” ตามพระราชกฤษฎกี านี้หมายความรวมถึงใครบา ง ก. พนกั งาน ข. ลกู จา ง ค. ผปู ฏบิ ตั ิงานในสวนราชการ ง. ถูกทกุ ขอ 10. ใครเปน ผรู กั ษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้ ก. นายกรฐั มนตรี ข. รองนายกรฐั มนตรี ค. คณะรัฐมนตรี ง. ปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี 11. ขอใดเปน การบริหารเพื่อบรรลเุ ปา หมายของการบริหารกจิ การบานเมืองทีด่ ี ก. เกิดประโยชนสุขของประชาชน ข. เกดิ ผลสัมฤทธิต์ อ ภารกจิ ของรฐั ค. มปี ระสิทธภิ าพและเกิดความคมุ คา ในเชิงภารกจิ ของรฐั ง. ถูกหมดถูกขอ 12. การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีไดแกก ารบริหารราชการเพอ่ื บรรลเุ ปาหมายดงั ขอใด ก. ไมม ขี ้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านเกินความจาํ เปน ข. มกี ารปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทนั ตอสถานการณ ค. ประชาชนไดร ับการอาํ นวยความสะดวกและการไดร บั การตอบสนองความตองการ ง. ถกู หมดทุกขอ 13. การบริหารราชการเพ่ือประโยชนสุขของประชาชน หมายถึงขอใด ก. การปฏบิ ตั ิราชการทมี่ ีเปาหมายเพ่ือใหเกิดความผาสกุ ของประชาชน ข. การปฏิบัติราชการท่มี ีเปาหมายเพื่อใหเ กิดความเปน อยูท่ีดขี องประชาชน ค. การปฏิบัติราชการทม่ี เี ปาหมายเพื่อใหเ กิดความสงบและปลอดภยั ของสงั คมสว นรวม ง. ถกู หมดทุกขอ 14. การบริหารราชการเพื่อประโยชนสขุ ของประชาชน สวนราชการจะดําเนนิ การโดยถอื วา ประชาชนเปนเชน ใด ก. ประชาชนเปน มติ รกับสว นราชการ ข. สวนราชการเปน ศนู ยก ลางของประชาชนในดานการใชอ านาจ ค. ประชาชนเปนศูนยก ลางในการไดร ับการบรกิ ารจากภาครัฐ ง. ถูกหมดทุกขอ 15. การกาํ หนดภารกจิ ของรัฐและสวนราชการตอ งเปนไปเพ่ืออะไร ก. เพอ่ื ประโยชนส ขุ ของประชาชน ข. เพื่อประโยชนสขุ ของขาราชการ ค. เพ่อื ประโยชนสขุ ของหนว ยงานราชการ ง. ถกู หมดทุกขอ เตรียมสอบครผู ชู วย By ทมี ฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คูม ือเตรียมสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตาํ แหนง ครูผชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 371 16. การกาํ หนดภารกจิ ของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพอ่ื อะไร ก. เพอ่ื ประโยชนส ขุ ของประชาชน ข. เพอื่ ใหสอดคลองกับแนวนโยบายแหง รฐั ค. เพอ่ื ใหสอดคลองกบั นโยบายของคณะรัฐมนตรที ่ีแถลงตอรัฐสภา ง. ถูกหมดทุกขอ 17. การปฏิบตั ภิ ารกิจของสวนราชการตอ งเปนไปโดยขอใด ก. ความซอื่ สตั ย สุจริต ข. สามารถตรวจสอบได ค. เกดิ ประโยชนสขุ แกป ระชาชน ง. ถูกหมดทุกขอ 18. ขา ราชการมีหนาท่ตี องคอยรับฟง ความคดิ เห็นและความพึงพอใจของสงั คมโดยรวมเพ่ืออะไร ก. เพ่ือปรับปรุงหรือเสนอแนะตอผบู ังคบั บัญชา ข. เพอื่ ใหมีการปรบั ปรงุ วิธีการปฏบิ ตั ริ าชการใหเ หมาะสม ค. ถกู ท้ังขอ 1. และ 2. ง. ไมม ขี อใดถูก 19. ในกรณที ่ีเกดิ ปญหา และอุปสรรค จากการดําเนนิ การ สว นราชการตองดาํ เนนิ การอยางไร ก. แกไขปญหาและอุปสรรคน้ันโดยเร็ว ข. แกไขปญหาตามแผนของสวนราชการนน้ั ค. รบี ทาํ หนังสือปรกึ ษา ก.พ.ร. ง. รบี ทาํ หนังสอื ปรึกษาคณะรัฐมนตรี 20. สวนราชการตอ งดาํ เนินการแกไขปญ หา และอุปสรรคนั้นแลว ตองแจงใหใครทราบ ก. ครม. ข. รมต. ค. ปปช. ง. ก.พ.ร. 21. กรณที ส่ี วนราชการกาํ หนดวิธีการปฏิบตั ใิ หเ หมาะสมกับภารกจิ แตล ะเรอื่ ง ใหผูใดเปนผกู าํ หนด แนวทางการดาํ เนินการท่วั ไป ก. ครม. ข. รมต. ค. บ.ข.ส. ง. ก.พ.ร. 22. การกําหนดภารกจิ ของรฐั และสวนราชการ ใหส อดคลอ งกับแนวนโยบายของรัฐ เปน การบริหาร ราชการแบบใด ก. เกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ข. เกดิ ประโยชนสขุ ของประชาชน ค. มีประสิทธภิ าพและเกดิ ความคมุ คา ในเชงิ ภารกิจของรัฐ ง. เพือ่ ลดขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน เตรียมสอบครผู ูช วย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตําแหนงครผู ชู ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 372 23. ในการบรหิ ารราชการ กอนจะดาํ เนินการสง่ิ ใด สว นราชการตองดําเนนิ การตามขอใด ก. แจงใหประชาชนทราบกอนเสมอ ข. โฆษณาประชาสมั พันธใหประชาชนทราบ ค. วเิ คราะหผ ลการปฏบิ ตั ิลวงหนาไวกอน ง. จดั ทาํ แผนปฏบิ ัตริ าชการไวเปนการลวงหนา 24. การกาํ หนดแผนปฏบิ ตั ิราชการตอ งมรี ายละเอียดใดบาง ก. ระยะเวลาและงบประมาณ ข. ผลสมั ฤทธิข์ องภารกจิ ค. ตัวช้วี ัดความสําเรจ็ ของภารกิจ ง. ถกู ทกุ ขอ 25. สวนราชการตอ งจัดใหมีการตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบตั ิตามแผนปฏิบัตริ าชการตาม หลกั เกณฑ และวธิ กี ารทีส่ วนราชการกําหนดข้นึ ตองสอดคลอ งกับมาตรฐานท่ใี ครกําหนด ก. ครม. ข. รมต. ค. ปปป. ง. ก.พ.ร 26. ในกรณีท่ีการปฏบิ ัติภารกิจของราชการ เกิดผลกระทบตอ ประชาชนเปน หนา ท่ขี องผูใ ดตอ ง ดาํ เนนิ การแกไข ก. สว นราชการ ข. หัวหนาสวนราชการ ค. เจาหนา ทท่ี ุกคนท่ีเกีย่ วของ ง. ก.พ.ร. 27. ใหส วนราชการมีหนาท่ีสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ริ าชการของผูวาราชการจังหวัดหรอื หัวหนา คณะ ผูแ ทนในตา งประเทศ เพอ่ื อะไร ก. เพ่ือใหการบูรณาการงานตาง ๆ ในจังหวัดหรือในตา งประเทศ สามารถยนื ยันตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพยี ง ข. เพือ่ ใหจ ังหวดั หรือในตา งประเทศแลวแตก รณี สามารถใชตดิ ตอ กบั ประชาชนไดโ ดยตรง โดยใชอ าํ นาจตามกฎหมายไดครบถว น ค. เพอื่ ใหการบริหารราชการแบบบูรณาการในจังหวดั หรือในตางประเทศ แลว แตกรณสี ามารถใช อาํ นาจตามกฎหมายไดค รบถวนตามความจาํ เปน และบริหารราชการไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ ง. เพอ่ื ใหป ระชาชนทงั้ ในและตางประเทศสามารถใชอ าํ นาจตามกฎหมายไดค รบถว นตามความจาํ เปน และบริหารราชการไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ 28. สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูเ พือ่ ใหมีลกั ษณะเปนองคการแหง การเรียนรูอ ยางสม าเสมอ โดยปฏบิ ัติอยางไร ก. ตองสามารถรบั รขู าวสารอยางถูกตองรวดเร็ว ข. สงเสริมและพฒั นาความรูความสามารถ ค. สรางวสิ ยั และปรับเปลยี่ นทัศนคติของขาราชการในสังกัด ง. ถูกทกุ ขอ เตรยี มสอบครูผูช ว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตําแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใหม 373 29. เพอ่ื ประโยชนในการปฏิบัตริ าชการใหเกิดสมั ฤทธิ์ ผูใ ดอาจเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพอื่ กาํ หนด มาตรการกาํ กับการปฏบิ ัตริ าชการ ก. สว นราชการ ข. รมต. ค. ผวู าราชการจังหวัด ง. ก.พ.ร. 30. เพอ่ื ประโยชนในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอตอใครเพอ่ื กาํ หนดมาตรการ กาํ กับการปฏบิ ัตริ าชการ ก. ครม. ข. รมต. ค. รัฐสภา ง. วฒุ ิสภา 31. การรองเรียน หรือเสนอแนะ สว นราชการ จะแจงผา นหนว ยงานใดไดอีก ก. แจงผาน ก.พ.ร. ได ข. แจงผา น สํานกั นายกฯ ได ค. แจง ผา น ทางไปรษณียลงทะเบียนได ง. แจง ผา น คมช. ได 32. การกาํ หนดหลักเกณฑห รอื เงือ่ นไขตา ง ๆ ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวธิ ีการบรหิ าร กจิ การ บา นเมืองทีด่ ี เพ่ือใหสว นราชการปฏบิ ตั ิ ตองดําเนินการตามขอใดจงึ จะถกู ตองที่สุด ก. ตราเปน พระราชกฤษฎีกา ข. ก.พ.ร.เสนอตอ คณะรฐั มนตรเี พือ่ มมี ติ ค. ทําเปน ประกาศกระทรวง ง. ทําเปนระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี 33. หนวยงานตามขอใดมหี นา ทเี่ สนอแนะตอ สวนราชการเพ่อื ดําเนินการแกไข ปรับปรงุ หรอื ยกเลกิ กฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคบั ของราชการสว นทใ่ี ชอ ยู ก. สํานกั งานอยั การสงู สุด ข. สาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. สํานักงานคณะกรรมการตุลาการ ง. สาํ นักงาน ก.พ.ร. 34. หนวยงานตามขอใดเปน หนวยงานที่มีหนา ท่ีรวมกันในการจัดทาํ แผนการบริหารราชการแผน ดินเพอื่ เสนอตอ คณะรัฐมนตรี ก. สํานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี กบั สาํ นกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ข. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ สาํ นักเลขาธิการคณะรฐั มนตรีและ สาํ นักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี ค. สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ สาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี สาํ นัก เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี และสํานกั งบประมาณ ง. สาํ นักงบประมาณ กบั สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ 35. การจัดซ้ือจดั จางตองกระทําตามขอใด ก. ปกปด เปนความลับ ข. เปดเผย และรอบคอบ ค. เปด เผย และเที่ยงธรรม ง. สงบ เปด เผย เจตนาเปนเจาของ เตรียมสอบครูผชู วย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตําแหนงครผู ชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 374 36. การรับฟงขอ รองเรยี น การเปดเผยขอ มลู เปนการบริหารราชการแบบใด ก. เกิดประโยชนส ุขของประชาชน ข. การปรบั ปรงุ ภารกจิ ของสวนราชการ ค. เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิตอ ภารกจิ ของรฐั ง. การอํานวยความสะดวกและตอบสนองความตอ งการของประชาชน 37. การประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการเพอ่ื อะไร ก. เพื่อประโยชนใ นการบรหิ ารงานบคุ คล ข. เพ่อื ประโยชนในการพัฒนาระบบราชการ ค. เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปน ไปดว ยประโยชนท่ีประชาชนจะไดร บั ง. ถกู หมดทุกขอ 38. ในกระทรวงหนึ่งใหเ ปนหนาท่ขี องใครทีจ่ ะตองจดั ใหสว นราชการภายในกระทรวงท่รี บั ผดิ ชอบ ปฏบิ ัติงานเกยี่ วกับการบรกิ ารประชาชนรว มกันจดั ตัง้ ศูนยบรกิ ารรว มของกระทรวง ก. หวั หนา สว นราชการ ข. ผวู าราชการจงั หวัด ค. ปลดั กระทรวง ง. รัฐมนตรวี า การกระทรวง 39. ขอใดเปน เหตุผลในการประกาศใชพ ระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลกั เกณฑและวิธบี ริหารกิจการ บานเมอื งทีด่ ี ก. เพื่อใหการปฏบิ ตั งิ านของสวนราชการตอบสนองตอ การพฒั นาประเทศ ข. เพือ่ ใหการบริหารราชการแผนดนิ เปนไปเพ่ือประโยชนส ขุ ของประชาชน ค. เพือ่ ใหการบริหารแกป ระชาชนเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ ง. ถกู ทกุ ขอ 40. ขอใดไมใชเ ปา หมายของการบริหารกิจการบานเมอื งที่ดี ก. เกิดประโยชนส ขุ ตอ ประชาชน ข. เกดิ ผลสมั ฤทธิ์ตอภารกจิ ของรฐั ค. เกดิ การตรวจสอบทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ ง. มีการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการอยางสมํ่าเสมอ เตรยี มสอบครูผชู ว ย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตาํ แหนงครูผูชวย ตามหลักเกณฑใ หม 375 เฉลยแนวขอ สอบพระราชกฤษฎกี าวา ดว ยหลักเกณฑและวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมืองทีด่ ี ขอ ขอ ขอ ขอ 1 ก 11 ง 21 ง 31 ก 2 ข 12 ง 22 ข 32 ก 3 ค 13 ง 23 ง 33 ข 4 ง 14 ค 24 ง 34 ง 5 ก 15 ก 25 ง 35 ข 6 ค 16 ง 26 ก 36 ง 7 ง 17 ง 27 ค 37 ก 8 ง 18 ค 28 ง 38 ค 9 ง 19 ก 29 ง 39 ง 10 ก 20 ง 30 ก 40 ค เตรียมสอบครูผูช ว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรียมสอบบรรจุเขา รับราชการ ตําแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใหม 376 พระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 1. ใหไว ณ วันท่ี 27 กันยายน พ.ศ. 2539 เปน ปท ี่ 51 ในรชั กาลปจ จุบนั 2. ผูรับสนองพระบรมราชโองการ นายบรรหาร ศลิ ปอาชา(นายกรัฐมนตร)ี 3. มผี ลบังคบั ใชบ ังคับเมือ่ พนกาํ หนดหนึง่ รอ ยแปดสิบวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตนไป 4. มี 5 หมวด 87 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวด 1 คณะกรรมการวิธปี ฏิบัติราชการทางปกครอง หมวด 2 คาํ ส่งั ทางปกครอง สว นที่ 1 เจาหนาที่ สวนที่ 2 คูกรณี สว นท่ี 3 การพิจารณา สว นที่ 4 รูปแบบและผลของคาํ สงั่ ทางปกครอง สวนที่ 5 การอุทธรณค ําสง่ั ทางปกครอง สว นท่ี 6 การเพิกถอนคําสั่งทางปกครอง สว นท่ี 7 การขอใหพ จิ ารณาใหม สว นท่ี 8 การบังคบั ทางปกครอง หมวด 3 ระยะเวลาและอายุความ หมวด 4 การแจง หมวด 5 คณะกรรมการทีม่ ีอํานาจดําเนนิ การพจิ ารณาทางปกครอง บทเฉพาะกาล คาํ นิยาม \"วธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง\" หมายความวา การเตรยี มการและการดาํ เนนิ การของเจา หนาที่เพื่อจดั ใหม ี คําส่ังทางปกครองหรอื กฎ และรวมถึงการดําเนนิ การใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญตั นิ ี้ \"การพจิ ารณาทางปกครอง\" หมายความวา การเตรยี มการและการดําเนนิ การของเจาหนาที่เพ่ือจัดใหม ีคาํ ส่งั ทางปกครอง \"คําส่งั ทางปกครอง\" หมายความวา (1) การใชอ ํานาจตามกฎหมายของเจา หนา ที่ที่มีผลเปน การสรางนติ ิสัมพนั ธข น้ึ ระหวา งบุคคลในอนั ท่ี จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงบั หรอื มผี ลกระทบตอสถานภาพของสทิ ธหิ รอื หนาท่ขี องบคุ คลไมวาจะเปน เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตาํ แหนงครูผูชว ย ตามหลักเกณฑใหม 377 การถาวรหรอื ช่วั คราว เชน การสงั่ การ การอนญุ าต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจด ทะเบยี น แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ (2) การอนื่ ที่กาํ หนดในกฎกระทรวง \"กฎ\" หมายความวา พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัตทิ องถิน่ ระเบียบ ขอบงั คับ หรือบทบญั ญัติอน่ื ท่ีมีผลบังคับ เปนการทั่วไป โดยไมมุง หมายใหใชบงั คับแกกรณีใดหรอื บุคคลใดเปน การ เฉพาะ \"คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พิพาท\" หมายความวา คณะกรรมการท่จี ดั ตั้งขน้ึ ตามกฎหมายทีม่ ีการจดั องคกร และวธิ ีพจิ ารณาสาํ หรับการวนิ จิ ฉัยชีข้ าดสทิ ธิและหนาท่ีตามกฎหมาย \"เจาหนา ท\"ี่ หมายความวา บุคคล คณะบคุ คล หรอื นติ ิบุคคล ซ่ึงใชอาํ นาจหรือไดรบั มอบใหใ ชอ ํานาจทาง ปกครองของรัฐในการดําเนินการอยา งหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย ไมวา จะเปน การจัดต้ังข้ึนในระบบราชการ รฐั วสิ าหกิจหรอื กิจการอืน่ ของรฐั หรือไมก็ตาม \"คกู รณี\" หมายความวา ผยู นื่ คําขอหรือผูค ดั คานคําขอ ผูอยใู นบงั คับหรอื จะอยูในบงั คับของคําสัง่ ทางปกครอง และผูซงึ่ ไดเ ขามาในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิของผนู นั้ จะถกู กระทบกระเทอื นจากผล ของคําสง่ั ทางปกครอง พระราชบญั ญัตินมี้ ิใหใชบังคับ แก (1) รัฐสภาและคณะรฐั มนตรี (2) องคกรทใ่ี ชอ าํ นาจตามรัฐธรรมนญู โดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรอื รฐั มนตรใี นงานทางนโยบายโดยตรง (4) การพจิ ารณาพิพากษาคดีของศาลและการดําเนินงานของเจา หนาท่ีในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย (5) การพจิ ารณาวนิ ิจฉยั เร่ืองรอ งทุกขแ ละการสง่ั การตามกฎหมายวา ดว ยคณะกรรมการกฤษฎีกา (6) การดําเนนิ งานเกี่ยวกับนโยบายการตางประเทศ (7) การดําเนินงานเกยี่ วกับราชการทหารหรอื เจา หนา ทซ่ี งึ่ ปฏิบัติหนาที่ทางยทุ ธการรว มกับทหารใน การปอ งกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจกั รจากภยั คุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ (8) การดําเนินงานตามกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา (9) การดําเนนิ กจิ การขององคการทางศาสนา เตรียมสอบครูผชู วย By ทีมฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตําแหนงครูผชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 378 หมวด 1 คณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง ประธานกรรมการ คณะรัฐมนตรีแตงตัง้ ปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรี มวี าระดาํ รงตาํ แหนงคราวละ 3 ป ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการซง่ึ พน จากตําแหนง อาจไดรับ เลขาธิการคณะรฐั มนตรี แตง ตง้ั อีกได เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการพลเรือน ไมน อยกวา 5 คน ไมเกิน 9 คน เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า เลขาธิการคณะรัฐมนตรี คณะรฐั มนตรีแตงตั้ง ผูซึง่ มคี วามเชี่ยวชาญในทาง ผทู รงคณุ วุฒิ นิตศิ าสตร รฐั ประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สงั คมศาสตร หรือการ บรหิ ารราชการแผนดิน เลขานุการ/ผูช ว ยเลขานกุ าร เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแตงตัง้ ขรก.ในสงั กัด สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทาํ หนา ที่เปน สาํ นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ มาตรา 7 ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา \"คณะกรรมการวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง\" ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนง่ึ ปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรี ปลดั กระทรวงมหาดไทย เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกาและผูท รงคุณวุฒิอีกไมนอยกวา หาคนแตไมเ กนิ เกาคนเปนกรรมการ ใหคณะรัฐมนตรีแตงต้ังประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคุณวุฒิ โดยแตงตง้ั จากผซู ึ่งมีความเชี่ยวชาญในทางนติ ิศาสตร รฐั ประศาสนศาสตรรฐั ศาสตร สังคมศาสตร หรอื การ บริหารราชการแผน ดิน แตผนู ั้นตอ งไมเปนผดู าํ รงตาํ แหนงทางการเมือง ใหเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา แตง ตง้ั ขาราชการของสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเปน เลขานุการและผชู วยเลขานุการ มาตรา 8 ใหก รรมการซง่ึ คณะรัฐมนตรีแตง ตั้งมวี าระดํารงตําแหนงคราวละสามปก รรมการซง่ึ พนจากตําแหนง อาจไดรับแตง ตง้ั อีกไดในกรณีท่กี รรมการพน จากตําแหนงตามวาระ แตย ังมไิ ดแตงตง้ั กรรมการใหมใหกรรมการ น้นั ปฏบิ ัตหิ นา ทีไ่ ปพลางกอนจนกวา จะไดแตง ตั้งกรรมการใหม เตรียมสอบครูผชู วย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตาํ แหนงครผู ชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 379 มาตรา 9 นอกจากการพนจากตาํ แหนง ตามวาระตามมาตรา 8 กรรมการซ่ึงคณะรฐั มนตรแี ตง ตงั้ พนจาก ตําแหนง เม่ือคณะรัฐมนตรีมมี ติใหออกหรือเมือ่ มีเหตหุ น่ึงเหตใุ ดตามมาตรา 76 มาตรา 10 ใหสาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาทาํ หนา ท่เี ปนสาํ นักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏบิ ัติ ราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาขอ มลู และกจิ การตาง ๆท่เี ก่ยี วกับงาน ของคณะกรรมการวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง มาตรา 11 คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีอํานาจหนาท่ี ดงั ตอไปน้ี (1) สอดสองดูแลและใหคําแนะนาํ เก่ียวกบั การดาํ เนนิ งานของเจาหนา ที่ในการปฏบิ ัตติ าม พระราชบัญญตั ินี้ (2) ใหคาํ ปรกึ ษาแกเ จา หนา ทเี่ ก่ียวกบั การปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ตามท่ีบุคคลดังกลา วรองขอ ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑทคี่ ณะกรรมการวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครองกาํ หนด (3) มีหนงั สือเรียกใหเ จาหนาทห่ี รือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเหน็ ประกอบการพจิ ารณาได (4) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎกี าและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตาม พระราชบัญญัตินี้ (5) จดั ทํารายงานเกย่ี วกับการปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัตินีเ้ สนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตามความ เหมาะสมแตอ ยางนอ ยปละหน่งึ ครัง้ เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการปฏิบตั ิราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมี ความเปน ธรรมและมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน (6) เร่อื งอ่นื ตามที่คณะรฐั มนตรีหรอื นายกรฐั มนตรีมอบหมาย หมวด 2 คําส่งั ทางปกครอง สวนที่ 1 เจาหนา ที่ มาตรา 12 คาํ สัง่ ทางปกครองจะตอ งกระทาํ โดยเจา หนาทซี่ ึ่งมอี ํานาจหนา ท่ใี นเรื่องนนั้ มาตรา 13 เจา หนาท่ดี ังตอไปน้จี ะทาํ การพิจารณาทางปกครองไมได ***ออกขอ สอบบอย*** (1) เปน คูกรณีเอง (2) เปนคูห มน้ั หรอื คูสมรสของคกู รณี (3) เปน ญาติของคกู รณี คือ เปน บพุ การีหรือผสู บื สันดานไมวา ชั้นใด ๆ หรือเปนพน่ี อ งหรือ ลกู พีล่ กู นองนับไดเพียงภายในสามช้ัน หรอื เปน ญาติเก่ียวพนั ทางแตง งานนบั ไดเ พียงสองชน้ั (4) เปนหรือเคยเปน ผแู ทนโดยชอบธรรมหรือผพู ทิ ักษห รือผแู ทนหรือตวั แทนของคกู รณี (5) เปนเจาหน้ีหรือลูกหน้ี หรอื เปน นายจา งของคกู รณี (6) กรณีอ่นื ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขา รับราชการ ตําแหนง ครผู ูชวย ตามหลกั เกณฑใหม 380 มาตรา 14 เม่อื มีกรณตี ามมาตรา 13 หรอื คูกรณีคัดคา นวาเจาหนา ทผ่ี ูใ ดเปน บคุ คลตามมาตรา 13 ให เจาหนา ทผี่ นู น้ั หยุดการพจิ ารณาเร่ืองไวกอน และแจงใหผ ูบงั คบั บัญชาเหนอื ตนขึน้ ไปชั้นหนึ่งทราบ เพื่อท่ี ผูบงั คับบัญชาดงั กลา วจะไดมีคําสัง่ ตอไปการย่ืนคาํ คัดคา น การพิจารณาคาํ คัดคา น และการสง่ั ใหเจาหนา ทอี่ นื่ เขาปฏิบตั ิหนา ทแ่ี ทนผูท่ีถูกคัดคานใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 15 เมื่อมีกรณตี ามมาตรา 13 หรอื คูกรณีคัดคานวา กรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอาํ นาจพิจารณาทาง ปกครองคณะใดมลี กั ษณะดังกลา ว ใหป ระธานกรรมการเรียกประชมุ คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุคดั คา น น้นั ในการประชมุ ดังกลาวกรรมการผูถ กู คัดคานเมื่อไดชี้แจงขอเท็จจริงและตอบขอซักถามแลว ตอ งออกจากท่ี ประชุมถา คณะกรรมการท่ีมีอํานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผูถูกคัดคานในระหวางท่กี รรมการผถู ูก คดั คา นตองออกจากที่ประชุม ใหถือวาคณะกรรมการคณะนน้ั ประกอบดว ยกรรมการทุกคนที่ไมถ ูกคดั คาน ถาท่ปี ระชมุ มมี ติใหกรรมการผถู กู คัดคานปฏิบตั ิหนา ทีต่ อไปดว ยคะแนนเสียงไมนอยกวา สองในสามของ กรรมการท่ีไมถูกคัดคาน กใ็ หกรรมการผนู น้ั ปฏบิ ัตหิ นา ท่ีตอไปไดมติดังกลาวใหก ระทาํ โดยวธิ ลี งคะแนนลบั และ ใหเปนทสี่ ุดการยื่นคาํ คดั คานและการพิจารณาคาํ คัดคานใหเปนไปตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทก่ี าํ หนดใน กฎกระทรวง มาตรา 16 ในกรณมี เี หตุอนื่ ใดนอกจากทบ่ี ญั ญัตไิ วใ นมาตรา 13 เกี่ยวกับเจา หนาทห่ี รอื กรรมการใน คณะกรรมการที่มีอาํ นาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมสี ภาพรายแรงอันอาจทาํ ใหการพจิ ารณาทางปกครองไมเ ปน กลาง เจาหนา ท่ีหรือกรรมการผูนั้นจะทําการพิจารณาทางปกครองในเรอ่ื งน้นั ไมไ ด ในกรณตี ามวรรคหนึ่ง ใหด าํ เนินการดังนี้ (1) ถาผูน น้ั เหน็ เองวาตนมีกรณดี งั กลาว ใหผูน้ันหยดุ การพิจารณาเรอ่ื งไวกอนและแจง ให ผูบงั คบั บญั ชาเหนอื ตนขึน้ ไปช้ันหนึ่งหรอื ประธานกรรมการทราบ แลว แตก รณี (2) ถา มคี ูกรณคี ัดคา นวาผูนั้นมีเหตดุ งั กลา ว หากผูน ัน้ เห็นวาตนไมม ีเหตตุ ามที่คดั คานน้ัน ผูนั้นจะทาํ การพิจารณาเรอื่ งตอไปกไ็ ดแตต องแจงใหผูบงั คับบัญชาเหนือตนข้ึนไปชั้นหนง่ึ หรือประธาน กรรมการทราบ แลวแตก รณี (3) ใหผ บู งั คับบัญชาของผูนัน้ หรือคณะกรรมการที่มีอํานาจพิจารณาทางปกครองซ่งึ ผนู นั้ เปน กรรมการอยูมีคาํ สงั่ หรือมีมตโิ ดยไมช กั ชา แลว แตกรณี วาผูน้นั มอี ํานาจในการพจิ ารณาทางปกครองในเร่ืองนั้น หรอื ไมใหนําบทบัญญัติมาตรา 14 วรรคสอง และมาตรา 15 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่มี าใชบ งั คับโดย อนุโลม มาตรา 17 การกระทําใด ๆ ของเจา หนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอาํ นาจพิจารณาทางปกครองที่ได กระทาํ ไปกอนหยุด การพจิ ารณาตามมาตรา 14 และมาตรา 16 ยอ มไมเสยี ไป เวนแตเจาหนา ท่ี ผูเ ขา ปฏิบัติ หนาที่แทนผูถูกคดั คานหรือคณะกรรมการที่มีอํานาจพิจารณาทางปกครอง แลว แตก รณีจะเหน็ สมควร ดาํ เนินการสวนหนงึ่ สว นใดเสยี ใหมก ็ได เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตาํ แหนง ครผู ชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 381 มาตรา 18 บทบัญญัตมิ าตรา 13 ถึงมาตรา 16 ไมใหนํามาใชบงั คบั กบั กรณที ่ีมีความจําเปน เรง ดวน หากปลอย ใหล า ชา ไปจะเสียหายตอประโยชนส าธารณะหรอื สิทธิของบุคคลจะเสยี หายโดยไมมีทางแกไขได หรอื ไมมี เจา หนา ทอ่ี ่นื ปฏบิ ัตหิ นาทแ่ี ทนผนู ั้นได มาตรา 19 ถา ปรากฏภายหลงั วา เจา หนาทหี่ รือกรรมการใน คณะกรรมการทีม่ ีอาํ นาจพิจารณาทางปกครองใด ขาดคุณสมบตั หิ รือมลี กั ษณะตองหา มหรือการแตงตั้งไมช อบดวยกฎหมาย อันเปน เหตใุ หผูน้ันตอ งพน จาก ตําแหนงการพนจากตําแหนงเชนวาน้ไี มก ระทบกระเทือนถึงการใดทผ่ี นู ัน้ ไดปฏิบัติไปตามอาํ นาจหนาท่ี มาตรา 20 ผบู ังคับบัญชาเหนอื ตนขึน้ ไปช้นั หนึ่งตามมาตรา 14 และมาตรา 16 ใหห มายความรวมถงึ ผูซ ึง่ กฎหมายกาํ หนดใหมอี ํานาจกํากบั หรอื ควบคุมดูแลสาํ หรับกรณีของเจา หนาทท่ี ่ีไมมผี ูบ งั คับบญั ชาโดยตรง และ นายกรัฐมนตรีสําหรับกรณีที่เจาหนา ทผี่ นู ้นั เปน รฐั มนตรี สว นท่ี 2 คูกรณี มาตรา 21 บุคคลธรรมดา คณะบคุ คล หรือนิตบิ ุคคล อาจเปน คูกรณีในการพิจารณาทางปกครองไดตาม ขอบเขตที่สิทธขิ องตนถกู กระทบกระเทอื นหรืออาจถูกกระทบกระเทอื นโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได มาตรา 22 ผูมีความสามารถกระทาํ การในกระบวนการพิจารณาทางปกครองไดจ ะตอ งเปน *ออกขอสอบบอ ย* (1) ผูซึ่งบรรลนุ ติ ภิ าวะ (2) ผซู ่งึ มีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดใหม ีความสามารถกระทําการในเร่ืองท่ีกําหนดได แมผนู นั้ จะยังไม บรรลุนติ ภิ าวะหรอื ความสามารถถกู จํากัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย (3) นิตบิ ุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผูแทนหรอื ตวั แทน แลวแตก รณี (4) ผซู ง่ึ มีประกาศของนายกรัฐมนตรหี รอื ผูซ่ึงนายกรฐั มนตรีมอบหมายในราชกิจจานุเบกษากําหนดให มีความสามารถกระทําการในเรอ่ื งที่กําหนดได แมผนู น้ั จะยังไมบรรลนุ ติ ภิ าวะหรือความสามารถถูกจาํ กดั ตาม ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย มาตรา 23 ในการพิจารณาทางปกครองที่คูกรณีตองมาปรากฎตวั ตอ หนาเจาหนาทค่ี กู รณมี สี ทิ ธินาํ ทนายความหรือท่ีปรึกษาของตนเขามาในการพิจารณาทางปกครองไดการใดทท่ี นายความหรือท่ปี รกึ ษาได ทําลงตอ หนา คกู รณใี หถือวา เปนการกระทําของคูกรณี เวนแตค ูก รณีจะไดค ดั คานเสยี แตใ นขณะนั้น มาตรา 24 คูกรณีอาจมีหนังสอื แตงต้งั ใหบคุ คลหน่ึงบุคคลใดซึ่งบรรลนุ ิติภาวะกระทําการอยางหนึ่งอยางใด ตามทก่ี าํ หนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ไดในการนเ้ี จาหนาที่จะดําเนินกระบวน พจิ ารณาทางปกครองกับตวั คูกรณไี ดเฉพาะเมื่อเปนเร่ืองท่ผี ูน้ันมีหนาท่โี ดยตรงที่จะตอ งทําการน้นั ดว ยตนเอง และตอ งแจงใหผ ูไดรับการแตงตัง้ ใหก ระทําการแทนทราบดวย หากปรากฏวาผไู ดร บั การแตง ตง้ั ใหก ระทาํ การแทนผูใ ดไมทราบขอ เทจ็ จริงในเรอ่ื งนน้ั เพยี งพอหรือมี เหตไุ มค วรไววางใจในความสามารถของบคุ คลดงั กลาวใหเ จาหนา ทีแ่ จงใหคูกรณีทราบโดยไมช ักชา เตรยี มสอบครผู ชู ว ย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรียมสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตาํ แหนงครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 382 การแตง ตั้งใหก ระทําการแทนไมถ ือวา สน้ิ สดุ ลงเพราะความตายของคูกรณีหรอื การทค่ี วามสามารถหรือความ เปน ผูแทนของคูกรณเี ปล่ียนแปลงไป เวนแตผ สู ืบสิทธิตามกฎหมายของคกู รณีหรือคูกรณีจะถอนการแตงตง้ั ดังกลา ว มาตรา 25 ในกรณที ่ีมีการย่ืนคาํ ขอโดยมผี ูล งชอื่ รวมกนั เกินหา สิบคนหรอื มีคกู รณเี กินหา สิบคนย่ืนคาํ ขอท่ีมี ขอ ความอยา งเดยี วกันหรือทาํ นองเดียวกนั ถาในคําขอมีการระบใุ หบ ุคคลใดเปน ตวั แทนของบุคคลดงั กลาวหรือ มีขอ ความเปนปริยายใหเขา ใจไดเชนนน้ั ใหถ อื วาผูท ่ีถกู ระบุชื่อดังกลาวเปนตวั แทนรวมของคูกรณีเหลานัน้ ในกรณที ี่มคี ูกรณเี กนิ หาสิบคนย่ืนคาํ ขอใหมคี ําสง่ั ทางปกครองในเรื่องเดยี วกนั โดยไมมีการกาํ หนดใหบ คุ คลใด เปนตวั แทนรว มของตนตามวรรคหน่ึง ใหเจา หนา ท่ใี นเรื่องน้นั แตงตัง้ บุคคลท่ีคูกรณีฝา ยขางมากเหน็ ชอบเปน ตวั แทนรว มของบุคคลดังกลา ว ในกรณีน้ใี หน ํามาตรา 24 วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม ตัวแทนรว มตามวรรคหนึง่ หรือวรรคสองตองเปนบุคคลธรรมดาคูก รณีจะบอกเลิกการใหตัวแทนรวม ดาํ เนนิ การแทนตนเมื่อใดกไ็ ดแตต อ งมีหนังสือแจงใหเจาหนาทท่ี ราบและดาํ เนนิ การใด ๆ ในกระบวนการ พจิ ารณาทางปกครองตอ ไปดวยตนเองตวั แทนรวมจะบอกเลิกการเปนตวั แทนเมอ่ื ใดก็ได แตต อ งมหี นงั สือแจง ใหเ จา หนา ท่ที ราบกบั ตองแจง ใหคูกรณีทกุ รายทราบดวย สวนท่ี 3 การพิจารณา มาตรา 26 เอกสารท่ียน่ื ตอเจา หนา ทใี่ หจดั ทาํ เปน ภาษาไทย ถาเปนเอกสารทีท่ ําข้นึ เปนภาษาตางประเทศ ใหค กู รณจี ัดทําคําแปลเปน ภาษาไทยท่มี ีการรับรองความถูกตอ งมาใหภายในระยะเวลาที่เจาหนา ที่กําหนด ในกรณีนีใ้ หถือวา เอกสารดงั กลาวไดย ่ืนตอเจาหนา ทใี่ นวนั ที่เจาหนา ทไ่ี ดร ับคําแปลนนั้ เวนแตเ จาหนาทีจ่ ะ ยอมรบั เอกสารทีท่ ําข้ึนเปนภาษาตา งประเทศ และในกรณีนีใ้ หถอื วาวนั ที่ไดยืน่ เอกสารฉบบั ท่ีทาํ ขน้ึ เปน ภาษาตางประเทศเปน วนั ทเ่ี จาหนา ท่ีไดรับเอกสารดังกลา วการรบั รองความถูกตอ งของคําแปลเปนภาษาไทย หรอื การยอมรับเอกสารที่ทําข้ึนเปน ภาษาตางประเทศ ใหเปนไปตามตามหลกั เกณฑและวิธีการท่ีกําหนดใน กฎกระทรวง มาตรา 27 ใหเ จา หนาท่ีแจงสิทธแิ ละหนา ทใี่ นกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองใหคูกรณีทราบตามความ จําเปน แกกรณถี า คาํ ขอหรือคําแถลงมีขอบกพรองหรือมีขอความที่อานไมเขาใจหรือผดิ หลงอนั เหน็ ไดช ดั วาเกิด จากความไมร ูห รอื ความเลินเลอของคูกรณี ใหเจา หนา ท่แี นะนาํ ใหคูกรณแี กไขเพิม่ เติมใหถูกตอง มาตรา 28 ในการพิจารณาทางปกครอง เจา หนาท่ีอาจตรวจสอบขอ เท็จจรงิ ไดต ามความเหมาะสมในเร่อื ง นั้น ๆ โดยไมต องผูกพันอยูกับคาํ ขอหรือพยานหลกั ฐานของคกู รณี มาตรา 29 เจา หนา ที่ตอ งพจิ ารณาพยานหลักฐานท่ตี นเห็นวา จําเปนแกการพิสูจนข อเทจ็ จริง ในการนีใ้ ห รวมถึงการดาํ เนินการดงั ตอไปน้ี เตรียมสอบครูผูชว ย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คูม อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตาํ แหนงครูผูชว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 383 (1) แสวงหาพยานหลกั ฐานทุกอยางท่เี กีย่ วของ (2) รบั ฟงพยานหลักฐาน คําช้ีแจง หรือความเหน็ ของคกู รณีหรอื ของพยานบุคคลหรือพยาน ผเู ชีย่ วชาญทีค่ ูกรณกี ลาวอาง เวน แตเจา หนา ทีเ่ หน็ วา เปน การกลา วอา งที่ไมจําเปน ฟุมเฟอยหรือเพ่ือประวิงเวลา (3) ขอขอเท็จจรงิ หรือความเห็นจากคกู รณี พยานบุคคล หรอื พยานผเู ชี่ยวชาญ (4) ขอใหผูครอบครองเอกสารสงเอกสารทเ่ี กย่ี วของ (5) ออกไปตรวจสถานที่ คูกรณีตองใหความรวมมือกบั เจาหนา ท่ีในการพิสูจนข อเท็จจรงิ และมหี นา ท่ีแจงพยานหลักฐานทีต่ น ทราบแกเ จา หนา ทีพ่ ยานหรือพยานผเู ชี่ยวชาญท่เี จา หนาที่เรียกมาใหถอยคําหรอื ทําความเหน็ มสี ิทธิไดร บั คา ปว ยการตามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา 30 ในกรณีทีค่ าํ สั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธขิ องคกู รณี เจา หนา ที่ตองใหค กู รณีมีโอกาสท่จี ะ ไดทราบขอ เท็จจรงิ อยา งเพียงพอและมีโอกาสไดโ ตแยง และแสดงพยานหลักฐานของตน ความในวรรคหน่งึ มิใหน าํ มาใชบังคับในกรณีดงั ตอไปน้ี เวน แตเจาหนา ทีจ่ ะเหน็ สมควรปฏบิ ตั เิ ปนอยา งอืน่ (1) เม่ือมีความจาํ เปน รีบดวนหากปลอ ยใหเนิ่นชา ไปจะกอ ใหเ กิดความเสยี หายอยางรายแรงแกผ หู น่งึ ผใู ดหรอื จะกระทบตอ ประโยชนส าธารณะ (2) เมื่อจะมีผลทําใหระยะเวลาทก่ี ฎหมายหรอื กฎกาํ หนดไวในการทาํ คาํ ส่งั ทางปกครองตองลาชา ออกไป (3) เม่ือเปนขอเทจ็ จริงทีค่ ูกรณีนั้นเองไดใหไวในคาํ ขอ คําใหการหรือคําแถลง (4) เมื่อโดยสภาพเหน็ ไดช ัดในตัววา การใหโอกาสดงั กลา วไมอาจกระทาํ ได (5) เมื่อเปนมาตรการบังคบั ทางปกครอง (6) กรณอี ื่นตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวงหามมิใหเจาหนา ท่ีใหโ อกาสตามวรรคหน่ึง ถาจะกอใหเกิดผล เสียหายอยางรา ยแรงตอ ประโยชนส าธารณะ มาตรา 31 คูกรณมี ีสิทธขิ อตรวจดูเอกสารทจ่ี าํ เปน ตอ งรูเพื่อการโตแยง หรือชแ้ี จงหรอื ปองกันสิทธิของตนได แตถายงั ไมไ ดท ําคําสั่งทางปกครองในเร่ืองนน้ั คูก รณไี มมีสิทธิขอตรวจดเู อกสารอันเปนตน รางคาํ วินจิ ฉัย การตรวจดเู อกสาร คาใชจายในการตรวจดเู อกสาร หรือการจัดทําสาํ เนาเอกสารใหเ ปนไปตามหลักเกณฑและ วิธกี ารท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา 32 เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหต รวจดูเอกสารหรอื พยานหลักฐานไดถา เปนกรณีที่ตอ งรักษาไวเ ปน ความลับ มาตรา 33 เพ่ือประโยชนใ นการอํานวยความสะดวกแกประชาชนความประหยัดและความมปี ระสิทธภิ าพใน การดาํ เนนิ งานของรฐั ใหคณะรฐั มนตรวี างระเบียบกําหนดหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารเพือ่ ใหเจา หนาทกี่ าํ หนดเวลา สาํ หรบั การพิจารณาทางปกครองขึ้นไวตามความเหมาะสมแกก รณี ท้งั น้ี เทา ทีไ่ มขัดหรอื แยงกับกฎหมายหรอื เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตาํ แหนง ครผู ูช ว ย ตามหลักเกณฑใหม 384 กฎในเร่อื งนัน้ ในกรณีทีก่ ารดําเนนิ งานในเร่ืองใดจะตองผา นการพจิ ารณาของเจา หนาที่มากกวาหนึง่ ราย เจา หนาทที่ ่ีเกี่ยวของมีหนาทต่ี องประสานงานกนั ในการกําหนดเวลาเพ่อื การดําเนนิ งานในเรอื่ งนน้ั สวนที่ 4 รูปแบบและผลของคําสง่ั ทางปกครอง มาตรา 34 คําส่งั ทางปกครองอาจทําเปนหนงั สือหรือวาจาหรอื โดยการส่อื ความหมายในรูปแบบอื่นก็ได แตต องมีขอ ความหรือความหมายที่ชดั เจนเพยี งพอทีจ่ ะเขา ใจได ***ออกขอสอบบอย *** มาตรา 35 ในกรณที ่ีคําสง่ั ทางปกครองเปน คําสัง่ ดวยวาจาถาผรู ับคาํ สั่งน้นั รอ งขอและการรองขอไดกระทํา โดยมีเหตอุ นั สมควรภายในเจ็ดวันนับแตว ันท่ีมคี ําสงั่ ดังกลา วเจาหนาท่ผี ูอ อกคาํ สัง่ ตองยืนยนั คาํ ส่งั น้นั เปน หนังสอื ***ควรจํา*** มาตรา 36 คําส่งั ทางปกครองทท่ี าํ เปนหนงั สอื อยางนอยตองระบุ วัน เดือนและปท ่ที ําคําสั่ง ชอื่ และ ตาํ แหนงของเจา หนาท่ผี ูทําคาํ สัง่ พรอมท้ังมลี ายมือช่ือของเจาหนาทผี่ ทู าํ คําส่งั นน้ั ***ควรจาํ *** มาตรา 37 คําส่ังทางปกครองท่ที าํ เปนหนงั สอื และการยนื ยันคําสง่ั ทางปกครองเปนหนังสอื ตองจัดใหมี เหตุผลไวดว ย และเหตุผลน้ันอยา งนอ ยตอ งประกอบดวย ***ออกขอ สอบบอย*** (1) ขอเท็จจริงอนั เปนสาระสําคญั (2) ขอกฎหมายทอ่ี า งองิ (3) ขอพจิ ารณาและขอสนบั สนนุ ในการใชด ุลพินิจนายกรฐั มนตรีหรือผซู ง่ึ นายกรฐั มนตรีมอบหมาย อาจประกาศในราชกจิ จานุเบกษากําหนดใหคาํ ส่งั ทางปกครองกรณีหนง่ึ กรณใี ดตองระบุเหตุผลไวในคําส่ัง นนั้ เองหรอื ในเอกสารแนบทายคาํ ส่งั น้นั ก็ได บทบญั ญัติตามวรรคหน่ึงไมใ ชบังคบั กับกรณดี งั ตอ ไปนี้ (1) เปน กรณที ่มี ีผลตรงตามคําขอและไมกระทบสิทธแิ ละหนาท่ขี องบคุ คลอื่น (2) เหตุผลนั้นเปน ที่รูก ันอยแู ลว โดยไมจําตอ งระบุอีก (3) เปน กรณีท่ตี องรกั ษาไวเ ปนความลบั ตามมาตรา 32 (4) เปนการออกคําสัง่ ทางปกครองดวยวาจาหรอื เปนกรณเี รง ดว น แตต องใหเ หตุผลเปน ลายลักษณ อกั ษรในเวลาอันควรหากผูอยูในบงั คบั ของคําสัง่ นนั้ รองขอ มาตรา 38 บทบัญญัติตามมาตรา 36 และมาตรา 37 วรรคหน่ึง มิใหใชบ ังคบั กับคําสงั่ ทางปกครองที่กาํ หนด ในกฎกระทรวง ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑว ิธีการ และเงื่อนไขท่ีกําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 39 การออกคําสง่ั ทางปกครองเจาหนา ที่อาจกําหนดเง่ือนไขใด ๆ ไดเ ทา ท่ีจําเปน เพ่อื ใหบ รรลุ วตั ถุประสงคของกฎหมาย เวนแตก ฎหมายจะกาํ หนดขอจํากัดดุลพินจิ เปน อยา งอืน่ การกําหนดเง่ือนไขตาม วรรคหน่งึ ใหหมายความรวมถึงการกาํ หนดเง่ือนไขในกรณีดังตอไปน้ี ตามความเหมาะสมแกกรณดี วย เตรยี มสอบครูผูชวย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตําแหนงครผู ชู ว ย ตามหลักเกณฑใหม 385 (1) การกําหนดใหสิทธิหรอื ภาระหนา ทเ่ี ริม่ มีผลหรอื สิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนงึ่ (2) การกาํ หนดใหการเร่มิ มผี ลหรอื ส้นิ ผลของสทิ ธิหรือภาระหนาท่ตี องขึน้ อยูก ับเหตกุ ารณใ นอนาคตท่ี ไมแนนอน (3) ขอสงวนสทิ ธิที่จะยกเลกิ คําส่ังทางปกครอง (4) การกําหนดใหผูไดร ับประโยชนตองกระทาํ หรอื งดเวน กระทําหรอื ตอ งมภี าระหนา ที่หรือยอมรบั ภาระหนาท่หี รือความรับผดิ ชอบบางประการ หรือการกาํ หนดขอความในการจดั ใหม ี เปล่ยี นแปลง หรอื เพ่มิ ขอ กําหนดดงั กลาว มาตรา 40 คําสง่ั ทางปกครองที่อาจอุทธรณห รือโตแยงตอ ไปไดใหร ะบกุ รณีท่ีอาจอุทธรณหรือโตแยง การยื่นคํา อทุ ธรณห รือคําโตแ ยง และระยะเวลาสําหรับการอุทธรณหรือการโตแ ยงดังกลาวไวดวยในกรณที ี่มีการฝาฝน บทบญั ญตั ติ ามวรรคหน่งึ ใหร ะยะเวลาสาํ หรับการอุทธรณห รอื การโตแ ยง เริ่มนับใหมต้ังแตวันทไ่ี ดร ับแจง หลกั เกณฑตามวรรคหนง่ึ แตถา ไมมกี ารแจง ใหมและระยะเวลาดังกลาวมรี ะยะเวลาสนั้ กวา หนึ่งป ให ขยายเปนหน่งึ ปน ับแตวันที่ไดรบั คาํ ส่งั ทางปกครอง มาตรา 41 คําสั่งทางปกครองท่ีออกโดยการฝาฝน หรือไมป ฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑดังตอ ไปน้ี ไมเปน เหตุใหคําสั่ง ทางปกครองนนั้ ไมสมบูรณ (1) การออกคําสัง่ ทางปกครองโดยยงั ไมม ผี ยู ่นื คําขอในกรณีทีเ่ จาหนา ทีจ่ ะดาํ เนินการเองไมไ ดน อกจาก จะมีผยู ื่นคาํ ขอ ถาตอ มาในภายหลังไดม กี ารยนื่ คาํ ขอเชน นนั้ แลว (2) คําสงั่ ทางปกครองทตี่ องจัดใหม ีเหตผุ ลตามมาตรา 37 วรรคหนึง่ ถาไดมกี ารจัดใหม ีเหตุผลดงั กลา ว ในภายหลงั (3) การรับฟง คูกรณีที่จาํ เปน ตองกระทาํ ไดด าํ เนนิ การมาโดยไมส มบูรณ ถา ไดมีการรบั ฟงใหสมบูรณใน ภายหลงั (4) คาํ ส่งั ทางปกครองทต่ี องใหเ จาหนา ทอ่ี นื่ ใหความเหน็ ชอบกอนถา เจา หนาทีน่ ัน้ ไดใหความเห็นชอบ ในภายหลังเมอ่ื มีการดําเนนิ การตามวรรคหน่ึง (1) (2) (3) หรอื (4) แลว และเจาหนาทผ่ี ูมีคําสง่ั ทางปกครอง ประสงคใ หผลเปน ไปตามคาํ ส่ังเดมิ ใหเจาหนาทผี่ นู ้นั บันทึกขอเทจ็ จริงและความประสงคของตนไวใ นหรือ แนบไวกับคําสัง่ เดมิ และตองมีหนังสือแจง ความประสงคของตนใหคกู รณที ราบดว ยกรณีตาม (2) (3) และ (4) จะตองกระทาํ กอนส้นิ สดุ กระบวนการพิจารณาอทุ ธรณตามสวนท่ี 5 ของหมวดน้ี หรอื ตามกฎหมายเฉพาะวา ดว ยการน้ัน หรือถาเปน กรณีท่ีไมตองมีการอทุ ธรณด งั กลาวก็ตอ งกอนมีการนําคาํ สั่งทางปกครองไปสูการ พิจารณาของผูม ีอาํ นาจพจิ ารณาวนิ ิจฉัยความถูกตองของคําสั่งทางปกครองนั้น มาตรา 42 คําสง่ั ทางปกครองใหมีผลใชยนั ตอบุคคลตงั้ แตขณะท่ีผูน ้นั ไดร ับแจงเปนตนไปคําส่งั ทางปกครอง ยอมมีผลตราบเทาที่ยงั ไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดยเงอ่ื นเวลาหรอื โดยเหตอุ ืน่ เมือ่ คําส่ังทางปกครอง สน้ิ ผลลง ใหเ จา หนาทีม่ ีอํานาจเรยี กผซู ึง่ ครอบครองเอกสารหรือวัตถอุ ืน่ ใดท่ีไดจัดทาํ ข้ึนเน่ืองในการมีคําสง่ั ทาง เตรียมสอบครผู ูชวย By ทีมฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขา รบั ราชการ ตาํ แหนง ครูผชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 386 ปกครองดังกลาว ซึง่ มีขอความหรือเคร่ืองหมายแสดงถึงการมีอยูของคําส่งั ทางปกครองนั้น ใหส ง คืนส่งิ นั้นหรอื ใหนําสิง่ ของดงั กลา วอนั เปนกรรมสิทธ์ขิ องผูน น้ั มาใหเ จา หนาทจ่ี ัดทาํ เคร่ืองหมายแสดงการสิ้นผลของคาํ สัง่ ทาง ปกครองดงั กลาวได มาตรา 43 คําสัง่ ทางปกครองท่มี ีขอผดิ พลาดเล็กนอยหรือผิดหลงเล็กนอ ยนนั้ เจา หนา ทีอ่ าจแกไขเพิ่มเติม ไดเสมอ ในการแกไขเพิม่ เติมคําส่ังทางปกครองตามวรรคหน่ึงใหแ จงใหผูทเี่ กีย่ วของทราบตามควรแกก รณี ในการนี้เจาหนาที่อาจเรยี กใหผทู ีเ่ กีย่ วของจดั สง คําส่ังทางปกครอง เอกสารหรอื วัตถุอ่นื ใดท่ีไดจดั ทําขึน้ เน่ืองใน การมีคาํ ส่ังทางปกครองดงั กลาวมาเพ่ือการแกไขเพิ่มเตมิ ได สวนท่ี 5 การอทุ ธรณคาํ ส่ังทางปกครอง มาตรา 44 ภายใตบ ังคบั มาตรา 48 ในกรณที ่คี ําสั่งทางปกครองใดไมไดอ อกโดยรฐั มนตรี และไมม ีกฎหมาย กาํ หนดข้ันตอนอุทธรณภ ายในฝายปกครองไวเ ปน การเฉพาะ ใหค ูก รณอี ุทธรณค ําส่ังทางปกครองนนั้ โดย ยื่นตอ เจาหนา ทผี่ ทู ําคาํ สั่งทางปกครองภายใน 15 วนั นบั แตวนั ที่ตนไดร บั แจงคาํ ส่ังดงั กลา วคําอทุ ธรณต อง ทาํ เปน หนังสอื โดยระบขุ อโตแยงและขอเท็จจรงิ หรือขอกฎหมายท่อี างอิงประกอบดว ยการอทุ ธรณไ มเปน เหตุ ใหทเุ ลาการบังคบั ตามคาํ ส่ังทางปกครอง เวน แตจะมกี ารสง่ั ใหท เุ ลาการบงั คบั ตามมาตรา 56 วรรคหนง่ึ มาตรา 45 ใหเจาหนา ทตี่ ามมาตรา 44 วรรคหนงึ่ พิจารณาคําอทุ ธรณและแจง ผูอุทธรณโ ดยไมช ักชา แต ตอ งไมเกิน 30 วันนบั แตวันทไ่ี ดรับอทุ ธรณ ในกรณีท่ีเห็นดวยกับคําอุทธรณไ มวาทงั้ หมดหรือบางสว นกใ็ ห ดาํ เนนิ การเปลี่ยนแปลงคําส่งั ทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกําหนดเวลาดังกลาวดว ย ถา เจาหนาทีต่ ามมาตรา 44 วรรคหน่ึง ไมเหน็ ดวยกบั คําอุทธรณไมว า ทง้ั หมดหรือบางสว นกใ็ หเ รง รายงานความเห็นพรอมเหตผุ ลไปยงั ผมู ีอาํ นาจพิจารณาคําอุทธรณภ ายในกาํ หนดเวลาตามวรรคหน่งึ ใหผ มู ี อาํ นาจพิจารณาคําอุทธรณพิจารณาใหแลว เสร็จภายใน 30 วนั นบั แตวันท่ตี นไดร บั รายงาน ถา มีเหตุจําเปน ไมอ าจพจิ ารณาใหแ ลวเสร็จภายในระยะเวลาดงั กลาว ใหผมู อี ํานาจพจิ ารณาอทุ ธรณมหี นงั สือแจง ใหผูอุทธรณ ทราบกอนครบกําหนดเวลาดงั กลา ว ในการนีใ้ หข ยายระยะเวลาพิจารณาอทุ ธรณออกไปไดไมเกิน 30 วนั นบั แตวนั ที่ครบกําหนดเวลาดังกลาว เจาหนา ท่ผี ูใดจะเปน ผมู ีอํานาจพิจารณาอทุ ธรณตามวรรคสองใหเ ปนไป ตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวงบทบัญญัตมิ าตรานี้ไมใชกับกรณที ่มี ีกฎหมายเฉพาะกาํ หนดไวเปนอยา งอนื่ มาตรา 46 ในการพิจารณาอุทธรณ ใหเ จา หนาท่ีพิจารณาทบทวนคําสั่งทางปกครองไดไมว าจะเปนปญหา ขอ เท็จจริง ขอ กฎหมาย หรอื ความเหมาะสมของการทําคําสัง่ ทางปกครอง และอาจมคี าํ สง่ั เพิกถอนคาํ ส่ังทาง ปกครองเดิมหรือเปลย่ี นแปลงคําสัง่ นั้นไปในทางใดท้ังน้ี ไมวา จะเปน การเพมิ่ ภาระหรือลดภาระหรือใชดุลพนิ จิ แทนในเรอื่ งความเหมาะสมของการทาํ คาํ สง่ั ทางปกครองหรือมขี อกาํ หนดเปน เงื่อนไขอยางไรก็ได เตรยี มสอบครผู ชู ว ย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตาํ แหนงครูผชู ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 387 มาตรา 47 การใดที่กฎหมายกาํ หนดใหอ ุทธรณตอเจา หนาท่ีซง่ึ เปน คณะกรรมการขอบเขตการพจิ ารณา อุทธรณใ หเปนไปตามกฎหมายวา ดวยการนัน้ สาํ หรับกระบวนการพจิ ารณาใหปฏบิ ตั ิตามบทบญั ญตั ิ หมวด 2 น้ี เทา ทไี่ มข ัดหรือแยงกับกฎหมายดังกลา ว มาตรา 48 คําสง่ั ทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ ไมว าจะจดั ต้งั ข้นึ ตามกฎหมายหรือไม ใหค ูกรณีมสี ทิ ธิโตแยง ตอ คณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขต ามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดทัง้ ปญ หาขอเท็จจริงและขอกฎหมาย ภายในเกาสิบวันนับแตว ันที่ไดรับแจง คําสงั่ นัน้ แตถาคณะกรรมการดังกลาว เปนคณะกรรมการวนิ ิจฉัยขอพิพาท สิทธิการอุทธรณและกําหนดเวลาอุทธรณใ หเ ปน ไปตามที่บัญญตั ิใน กฎหมายวาดว ยคณะกรรมการกฤษฎกี า สวนท่ี 6 การเพิกถอนคาํ สัง่ ทางปกครอง มาตรา 49 เจาหนา ที่หรือผูบ ังคับบัญชาของเจาหนาทอี่ าจเพกิ ถอนคําสั่งทางปกครองไดตามหลักเกณฑใ น มาตรา 51 มาตรา 52 และมาตรา 53 ไมว า จะพนขน้ั ตอนการกําหนดใหอทุ ธรณหรือใหโ ตแยงตามกฎหมายนี้ หรอื กฎหมายอ่ืนมาแลว หรอื ไม การเพิกถอนคาํ สัง่ ทางปกครองทีม่ ลี ักษณะเปนการใหป ระโยชนตอ งกระทํา ภายในเกา สิบวันนบั แตไ ดร ูถึงเหตุท่ีจะใหเ พกิ ถอนคําสงั่ ทางปกครองนนั้ เวน แตค าํ ส่งั ทางปกครองจะไดทําขึ้น เพราะการแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซงึ่ ควรบอกใหแ จง หรือการขมขหู รือการชกั จงู ใจ โดยการใหทรัพยสินหรือประโยชนอ นื่ ใดทม่ี ชิ อบดวยกฎหมาย มาตรา 50 คําส่งั ทางปกครองท่ไี มช อบดวยกฎหมายอาจถกู เพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวน โดยจะใหมีผล ยอ นหลงั หรอื ไมย อนหลังหรอื มีผลไปในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กําหนดได แตถา คาํ สงั่ น้ันเปน คาํ ส่งั ซ่ึงเปนการใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตอ งเปน ไปตามบทบัญญตั ิมาตรา 51และมาตรา 52 มาตรา 51 การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองที่ไมช อบดว ยกฎหมายซงึ่ เปนการใหเงินหรอื ใหทรพั ยสนิ หรือให ประโยชนทอ่ี าจแบงแยกได ใหคํานึงถงึ ความเชื่อโดยสุจรติ ของผูร บั ประโยชนใ นความคงอยขู องคาํ สงั่ ทาง ปกครองนนั้ กบั ประโยชนส าธารณะประกอบกนั ความเชื่อโดยสจุ รติ ตามวรรคหนงึ่ จะไดรับความคุมครองตอเมอื่ ผรู บั คําสั่งทางปกครองไดใชประโยชน อันเกิดจากคาํ สัง่ ทางปกครองหรอื ไดดําเนนิ การเกย่ี วกับทรัพยส ินไปแลว โดยไมอาจแกไ ขเปลี่ยนแปลงไดหรือ การเปล่ยี นแปลงจะทําใหผ ูนั้นตองเสียหายเกนิ ควรแกกรณี ในกรณดี ังตอ ไปน้ี ผรู บั คําส่งั ทางปกครองจะอา งความเชือ่ โดยสจุ รติ ไมได (1) ผนู น้ั ไดแสดงขอความอนั เปนเทจ็ หรือปกปดขอความจริงซ่ึงควรบอกใหแจงหรือขมขู หรือชกั จูงใจ โดยการใหท รพั ยสินหรือใหประโยชนอ ่ืนใดท่ีมชิ อบดวยกฎหมาย (2) ผนู ้ันไดใหขอความซ่งึ ไมถูกตองหรือไมค รบถวนในสาระสําคัญ (3) ผนู ั้นไดรูถงึ ความไมช อบดวยกฎหมายของคําสง่ั ทางปกครองในขณะไดร ับคาํ สัง่ ทางปกครองหรอื การไมร นู ้ันเปนไปโดยความประมาทเลนิ เลออยางรายแรง เตรียมสอบครผู ชู วย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตําแหนง ครผู ูชวย ตามหลกั เกณฑใ หม 388 ในกรณีที่เพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคนื เงิน ทรัพยสินหรือประโยชนท ี่ผูร ับคาํ ส่งั ทางปกครองได ไป ใหน ําบทบัญญตั วิ าดวยลาภมิควรไดใ นประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบงั คบั โดยอนุโลม โดยถา เมอื่ ใดผรู ับคําส่ังทางปกครองไดรถู ึงความไมชอบดว ยกฎหมายของคําสั่งทางปกครองหรือควรไดรูเ ชน น้ันหากผู น้ันมิไดประมาทเลนิ เลออยางรายแรงใหถือวาผนู ้นั ตกอยใู นฐานะไมสจุ ริตต้งั แตเวลานน้ั เปนตนไป และในกรณี ตามวรรคสาม ผนู น้ั ตองรบั ผดิ ในการคืนเงนิ ทรัพยส นิ หรือประโยชนท ่ีไดร ับไปเตม็ จาํ นวน มาตรา 52 คาํ ส่งั ทางปกครองทไี่ มชอบดวยกฎหมายและไมอยูในบังคับของมาตรา 51 อาจถูกเพิกถอนทงั้ หมด หรอื บางสว นได แตผ ูไดร ับผลกระทบจากการเพิกถอนคาํ สั่งทางปกครองดังกลา วมสี ทิ ธไิ ดรบั คา ทดแทนความ เสียหายเน่อื งจากความเชื่อโดยสุจรติ ในความคงอยขู องคําสัง่ ทางปกครองได และใหนาํ ความในมาตรา 51 วรรคหนึง่ วรรคสอง และวรรคสามมาใชบังคบั โดยอนโุ ลม แตตองรองขอคาทดแทนภายในหนึง่ รอยแปดสิบวัน นบั แตไ ดร ับแจงใหทราบถงึ การเพิกถอนนน้ั คาทดแทนความเสยี หายตามมาตราน้ีจะตองไมสูงกวาประโยชน ที่ผนู ้นั อาจไดรบั หากคําส่ังทางปกครองดังกลาวไมถ ูกเพิกถอน มาตรา 53 คําส่ังทางปกครองทช่ี อบดวยกฎหมายซง่ึ ไมเ ปนการใหประโยชนแ กผ ูรบั คาํ ส่ังทางปกครองอาจ ถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหม ีผลตง้ั แตขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหน่ึง ตามท่กี าํ หนดได เวนแตเ ปน กรณที ่ีคงตองทําคําส่งั ทางปกครองที่มีเน้ือหาทํานองเดียวกนั นั้นอกี หรือเปนกรณี ที่การเพกิ ถอนไมอาจกระทาํ ไดเพราะเหตุอ่ืน ท้ังนี้ ใหคาํ นึงถงึ ประโยชนข องบุคคลภายนอกประกอบดว ย คําสั่ง ทางปกครองทีช่ อบดว ยกฎหมายซึ่งเปน การใหประโยชนแกผรู ับคาํ ส่ังทางปกครองอาจถูกเพกิ ถอนทั้งหมดหรือ บางสว นโดยใหม ีผลต้ังแตข ณะท่เี พิกถอน หรอื มีผลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนง่ึ ตามทีก่ ําหนดไดเฉพาะเมอื่ มกี รณี ดังตอไปนี้ (1) มีกฎหมายกําหนดใหเ พิกถอนไดหรอื มีขอสงวนสิทธใิ หเพกิ ถอนไดใ นคําสงั่ ทางปกครองน้ันเอง (2) คาํ สง่ั ทางปกครองนนั้ มขี อกาํ หนดใหผรู ับประโยชนตอ งปฏบิ ัติแตไมมกี ารปฏิบัตภิ ายในเวลาท่ี กําหนด (3) ขอเทจ็ จริงและพฤตกิ ารณเปล่ียนแปลงไป ซ่ึงหากมขี อเทจ็ จรงิ และพฤติการณเชนนี้ในขณะทํา คาํ สงั่ ทางปกครองแลว เจาหนาที่คงจะไมทําคําสั่งทางปกครองนนั้ และหากไมเ พิกถอนจะกอใหเ กิดความ เสยี หายตอประโยชนส าธารณะได (4) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซ่งึ หากมีบทกฎหมายเชน นี้ในขณะทําคําสงั่ ทางปกครองแลว เจา หนา ทีค่ งจะไมท ําคําส่งั ทางปกครองน้นั แตการเพิกถอนในกรณนี ี้ใหกระทําไดเทา ทผี่ รู ับประโยชนยงั ไมไดใ ช ประโยชน หรอื ยงั ไมไดร บั ประโยชนต ามคําสัง่ ทางปกครองดังกลา วและหากไมเ พิกถอนจะกอใหเ กิดความ เสียหายตอ ประโยชนสาธารณะได (5) อาจเกิดความเสยี หายอยางรายแรงตอประโยชนส าธารณะหรอื ตอประชาชนอันจําเปนตองปองกนั หรอื ขจัดเหตดุ งั กลา วในกรณีทมี่ กี ารเพิกถอนคําสงั่ ทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (3) (4) และ (5)ผไู ดรับ ประโยชนมีสิทธไิ ดรบั คา ทดแทนความเสยี หายอนั เกิดจากความเช่ือโดยสจุ ริตในความคงอยขู องคําสง่ั ทาง ปกครองได และใหนํามาตรา 52 มาใชบงั คบั โดยอนุโลม เตรียมสอบครผู ชู วย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูม อื เตรียมสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตาํ แหนงครผู ูชว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 389 คําส่ังทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเ งินหรอื ใหท รัพยสนิ หรือใหประโยชนท อ่ี าจ แบงแยกได อาจถกู เพกิ ถอนท้งั หมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผลยอนหลังหรือมีผลใน อนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนงึ่ ตามท่กี ําหนดไดใ นกรณดี งั ตอ ไปนี้ (1) มิไดปฏิบัตหิ รอื ปฏบิ ัติลาชาในอนั ท่จี ะดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามวัตถปุ ระสงคของคาํ สงั่ ทางปกครอง (2) ผูไดร ับประโยชนมิไดป ฏิบัติหรอื ปฏบิ ตั ิลา ชาในอันท่จี ะดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามเงอ่ื นไขของคาํ สง่ั ทางปกครองท้ังนี้ ใหน ําความในมาตรา 51 มาใชบังคับโดยอนุโลม สว นท่ี 7 การขอใหพ ิจารณาใหม มาตรา 54 เมื่อคูกรณมี ีคําขอ เจา หนาทอี่ าจเพิกถอนหรือแกไ ขเพิ่มเตมิ คาํ สงั่ ทางปกครองทีพ่ น กาํ หนด อทุ ธรณตามสวนท่ี 5 ไดใ นกรณีดังตอไปนี้ ***ออกขอ สอบบอ ย*** (1) มีพยานหลักฐานใหม อันอาจทําใหขอ เทจ็ จรงิ ที่ฟงเปนยุตแิ ลว น้ันเปล่ยี นแปลงไปในสาระสําคญั (2) คูก รณีทแ่ี ทจ ริงมิไดเขา มาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรอื ไดเ ขามาในกระบวนการ พจิ ารณาคร้งั กอนแลวแตถ ูกตัดโอกาสโดยไมเ ปนธรรมในการมีสวนรว มในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (3) เจาหนา ทีไ่ มมีอาํ นาจทจ่ี ะทําคําสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น (4) ถา คาํ ส่ังทางปกครองไดออกโดยอาศยั ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมาขอเท็จจรงิ หรือขอ กฎหมายนนั้ เปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญในทางท่ีจะเปนประโยชนแ กค กู รณี การย่นื คําขอตามวรรคหน่ึง (1) (2) หรือ (3) ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อคกู รณไี มอ าจทราบถึงเหตนุ ้นั ใน การพิจารณาครั้งทแ่ี ลว มากอนโดยไมใชค วามผิดของผูนนั้ การยนื่ คาํ ขอใหพจิ ารณาใหมต องกระทําภายใน 90 วนั นบั แตผ ูนั้นไดรูถ ึงเหตซุ ึ่งอาจขอใหพิจารณาใหมได ขอควรระวังในการตอบขอคําถาม ประเด็นเง่ือนไข ขอ เท็จจรงิ หรือขอกฎหมายเปลย่ี นแปลงไปในสาระสาํ คญั ในทางทีเ่ ปนประโยชนแก คกู รณี จึงจะขอพิจารณาใหมได ***ขอ สอบอาจหลอกวา เปนโทษแกคกู รณี*** สวนที่ 8 การบังคบั ทางปกครอง มาตรา 55 การบงั คับทางปกครองไมใชกับเจาหนาท่ีดวยกัน เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดไวเ ปนอยางอ่ืน มาตรา 56 เจาหนา ท่ีผูทาํ คําสง่ั ทางปกครองมอี ํานาจทจี่ ะพิจารณาใชม าตรการบังคบั ทางปกครองเพื่อให เปนไปตามคําส่งั ของตนไดต ามบทบัญญัติในสวนน้ี เวนแตจ ะมีการส่งั ใหท ุเลาการบงั คับไวก อ นโดยเจาหนา ท่ี ผูทาํ คาํ ส่งั นั้นเอง ผูมอี าํ นาจพิจารณาคําอุทธรณห รือผมู อี ํานาจพิจารณาวนิ ิจฉยั ความถูกตองของคําสง่ั ทาง ปกครองดังกลา ว เจาหนา ท่ตี ามวรรคหน่ึงจะมอบอาํ นาจใหเจาหนาทซี่ ึ่งอยใู ตบังคบั บญั ชาหรอื เจาหนาท่ีอื่นเปน ผูดาํ เนินการก็ไดต ามหลักเกณฑและวิธีการที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ใหเจา หนาทตี่ ามวรรคหน่งึ หรือวรรคสอง เตรียมสอบครผู ชู ว ย By ทีมฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตําแหนงครผู ูชว ย ตามหลกั เกณฑใหม 390 ใชมาตรการบงั คบั ทางปกครองเพียงเทาทจี่ ําเปน เพื่อใหบ รรลุตามวัตถุประสงคของคําส่งั ทางปกครอง โดย กระทบกระเทือนผูอยใู นบังคับของคําสัง่ ทางปกครองนอยที่สุด มาตรา 57 คําสั่งทางปกครองที่กําหนดใหผูใดชําระเงิน ถาถึงกําหนดแลวไมมีการชําระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาทีม่ หี นังสือเตือนใหผ นู ้ันชําระภายในระยะเวลาท่ีกําหนดแตตองไมนอยกวา 7 วนั ถาไมมีการปฏิบัติ ตามคําเตือน เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูน้ันและขาย ทอดตลาดเพอื่ ชาํ ระเงินใหค รบถว นวธิ กี ารยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพยสนิ ใหปฏิบัตติ ามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงโดยอนุโลม สวนผูมีอํานาจส่ังยึดหรืออายัดหรือขายทอดตลาดใหเปนไปตามที่ กาํ หนดในกฎกระทรวง ***ออกขอ สอบบอ ย*** มาตรา 58 คาํ ส่งั ทางปกครองท่ีกาํ หนดใหกระทําหรือละเวน กระทาํ ถา ผูอยูในบงั คับของคาํ สั่งทางปกครอง ฝา ฝน หรือไมปฏิบตั ติ าม เจาหนา ทีอ่ าจใชมาตรการบงั คับทางปกครองอยางหน่งึ อยางใด ดังตอ ไปนี้ (1) เจา หนา ทเ่ี ขา ดาํ เนนิ การดว ยตนเองหรอื มอบหมายใหบคุ คลอนื่ กระทาํ การแทนโดยผูอยูในบงั คับ ของคําส่ังทางปกครองจะตองชดใชคา ใชจ ายและเงนิ เพิม่ ในอัตรารอ ยละ 25 ตอปของคาใชจ า ยดังกลา วแก เจา หนา ท่ี (2) ใหมีการชําระคา ปรบั ทางปกครองตามจํานวนที่สมควรแกเหตุแตตองไมเ กิน 20,000 บาทตอวนั เจา หนาที่ระดบั ใดมีอํานาจกาํ หนดคาปรับทางปกครองจาํ นวนเทา ใดสาํ หรบั ในกรณีใด ใหเปน ไปตามทก่ี ําหนด ในกฎกระทรวงในกรณที ีม่ ีความจาํ เปน ท่จี ะตองบงั คบั การโดยเรง ดว นเพื่อปองกนั มใิ หมีการกระทําท่ีขดั ตอ กฎหมายทมี่ โี ทษทางอาญาหรือมิใหเกดิ ความเสยี หายตอประโยชนส าธารณะเจา หนาท่ีอาจใชม าตรการบังคับ ทางปกครองโดยไมตองออกคําส่งั ทางปกครองใหก ระทําหรือละเวนกระทํากอนก็ได แตท้ังนต้ี อ งกระทําโดย สมควรแกเ หตแุ ละภายในขอบเขตอํานาจหนา ทขี่ องตน ***ออกขอสอบบอย*** *** ควรจํา *** อาจกาํ หนดคาปรับ 15,000 บาท/วัน อาจกําหนดคา ปรบั ไดไมเกิน 15,000 บาท/วนั ปลดั กระทรวง/อธิบดี ผูวา ราชการจงั หวดั อาจกําหนดคา ปรบั 10,000 บาท/วนั นายอาํ เภอ/ผูบ ริหารทองถนิ่ มาตรา 59 กอนใชมาตรการบังคบั ทางปกครองตามมาตรา 58 เจาหนา ท่ีจะตองมีคาํ เตือนเปนหนงั สือใหม ีการ กระทําหรือละเวน กระทําตามคําส่ังทางปกครองภายในระยะเวลาที่กําหนดตามสมควรแกกรณี คาํ เตือน ดงั กลาวจะกําหนดไปพรอมกับคําสงั่ ทางปกครองก็ไดคาํ เตือนนั้นจะตองระบุ (1) มาตรการบังคับทางปกครองทจ่ี ะใชใ หช ัดแจง แตจะกาํ หนดมากกวาหนง่ึ มาตรการในคราว เดียวกนั ไมได เตรียมสอบครผู ูช ว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขารบั ราชการ ตําแหนง ครูผูช วย ตามหลักเกณฑใหม 391 (2) คาใชจา ยในการท่ีเจา หนาทีเ่ ขาดาํ เนนิ การดวยตนเองหรือมอบหมายใหบ ุคคลอนื่ กระทําการแทน หรอื จํานวนคา ปรับทางปกครองแลว แตกรณี การกาํ หนดคาใชจ า ยในคาํ เตือน ไมเปน การตดั สทิ ธทิ จ่ี ะเรียก คาใชจายเพิ่มข้ึนหากจะตองเสยี คาใชจา ยจรงิ มากกวา ท่ีไดกําหนดไว มาตรา 60 เจาหนา ที่จะตองใชมาตรการบงั คบั ทางปกครองตามท่ีกําหนดไวใ นคําเตือนตามมาตรา 59 การเปล่ยี นแปลงมาตรการจะกระทาํ ไดกต็ อเมื่อปรากฏวา มาตรการท่ีกาํ หนดไวไมบรรลุตามวตั ถุประสงค ถา ผอู ยูในบงั คบั ของคําสง่ั ทางปกครองตอสูขดั ขวางการบงั คับทางปกครองเจาหนา ที่อาจใชกําลังเขาดาํ เนนิ การ เพอื่ ใหเ ปนไปตามมาตรการบังคับทางปกครองไดแตต องกระทาํ โดยสมควรแกเหตุ ในกรณจี ําเปน เจา หนาที่อาจ ขอความชว ยเหลอื จากเจา พนักงานตํารวจได มาตรา 61 ในกรณีไมมีการชําระคา ปรบั ทางปกครอง ใหเ จาหนาทดี ําเนนิ การตอ ไปตามมาตรา 57 มาตรา 62 ผูถ ูกดําเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครองอาจอุทธรณก ารบงั คับทางปกครองนนั้ ได การอทุ ธรณการบังคับทางปกครองใหใชหลักเกณฑแ ละวธิ ีการเดียวกันกับการอุทธรณคําส่ังทางปกครอง มาตรา 63 ถา บทกฎหมายใดกําหนดมาตรการบงั คับทางปกครองไวโ ดยเฉพาะแลว แตเจา หนา ทีเ่ ห็นวา มาตรการบังคับนนั้ มลี ักษณะท่จี ะเกิดผลนอ ยกวามาตรการบังคับตามหมวดนี้ เจา หนาท่ีจะใชมาตรการบังคับ ทางปกครองตามหมวดนแ้ี ทนกไ็ ด หมวด 3 ระยะเวลาและอายคุ วาม มาตรา 64 กาํ หนดเวลาเปน วัน สปั ดาห เดือน หรอื ปน้นั มิใหนับวันแรกแหง ระยะเวลานนั้ รวมเขาดว ย เวน แตจ ะไดเ ริ่มการในวนั นั้นหรือมีการกาํ หนดไวเปนอยางอ่ืนโดยเจาหนา ท่ีในกรณีที่เจา หนา ท่มี หี นา ทีต่ อง กระทําการอยา งหนง่ึ อยางใดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด ใหนับวันสนิ้ สดุ ของระยะเวลานนั้ รวมเขาดว ย แมวาวันสุดทายเปนวนั หยุดทําการงานสําหรับเจาหนา ทใี่ นกรณที บ่ี ุคคลใดตอ งทําการอยางหน่ึงอยา งใด ภายในระยะเวลาที่กําหนดโดยกฎหมายหรือโดยคําส่งั ของเจา หนาที่ ถาวันสุดทายเปนวนั หยดุ ทาํ การงาน สาํ หรบั เจาหนา ทีห่ รอื วนั หยดุ ตามประเพณีของบุคคลผูรับคําสัง่ ใหถอื วาระยะเวลาน้นั ส้นิ สดุ ในวนั ทาํ งานทถี่ ัด จากวันหยุดน้นั เวนแตก ฎหมายหรือเจาหนา ที่ทมี่ คี ําสง่ั จะกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ***ออกขอ สอบบอ ย*** *** ถาตรงกบั วันหยุดของเจา หนา ท่ีใหนบั วนั หยดุ ทาํ การของเจาหนา ท่นี นั้ เขาดว ยเปน ระยะเวลาสน้ิ สดุ *** ถา ตรงกับวันหยุดของผูร ับคาํ สงั่ ใหน บั วันทาํ การถัดไปเปนระยะเวลาสนิ้ สุด มาตรา 65 ระยะเวลาทก่ี ําหนดไวในคําส่งั ของเจา หนา ที่อาจมกี ารขยายอีกได และถาระยะเวลานนั้ ไดส น้ิ สุด ลงแลว เจาหนาทีอ่ าจขยายโดยกาํ หนดใหมีผลยอนหลังไดเ ชน กนั ถา การส้นิ สดุ ตามระยะเวลาเดมิ จะกอ ใหเ กดิ ความไมเปน ธรรมทจ่ี ะใหส น้ิ สดุ ลงตามน้นั มาตรา 66 ในกรณีทผี่ ใู ดไมอ าจกระทําการอยา งหน่งึ อยางใดภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนดไวในกฎหมายไดเ พราะ มีพฤติการณท่จี าํ เปนอันมไิ ดเ กิดข้นึ จากความผิดของผนู ้ัน ถาผูนน้ั มีคําขอเจาหนา ที่อาจขยายระยะเวลา เตรยี มสอบครูผชู วย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานําทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขารับราชการ ตําแหนงครูผูช วย ตามหลกั เกณฑใหม 392 และดาํ เนินการสว นหน่งึ สวนใดทลี่ วงมาแลวเสียใหมก ็ได ทั้งนีต้ องย่ืนคําขอภายใน 15 วนั นบั แตพ ฤติการณเชน วา น้นั ไดสิน้ สุดลง มาตรา 67 เม่ือมีการอุทธรณตามบทบญั ญัติในสวนท่ี 5 ของหมวด 2 แหงพระราชบัญญัตนิ หี้ รอื การยน่ื คาํ ขอ ตอคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอพิพาทหรือคณะกรรมการวนิ ิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวา ดว ยคณะกรรมการ กฤษฎีกาเพ่ือใหว ินจิ ฉยั ช้ขี าดแลวใหอายุความสะดดุ หยดุ อยูไมนับในระหวา งนนั้ จนกวา การพจิ ารณาจะถึงท่สี ดุ หรอื เสรจ็ ไปโดยประการอืน่ แตถ าเสรจ็ ไปเพราะเหตุถอนคําขอหรือท้งิ คําขอใหถ ือวาอายุความเรยี กรอ งของผู ย่นื คาํ ขอไมเ คยมีการสะดดุ หยุดอยเู ลย หมวด 4 การแจง มาตรา 68 บทบญั ญตั ใิ นหมวดนม้ี ิใหใชบ งั คับกบั การแจงซงึ่ ไมอ าจกระทาํ โดยวาจาหรอื เปนหนังสอื ไดหรือมี กฎหมายกําหนดวธิ ีการแจงไวเปน อยางอื่นในกรณคี ําส่งั ทางปกครองท่แี สดงใหทราบโดยการสอ่ื ความหมายใน รูปแบบอื่นตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ใหมผี ลเมื่อไดแจง มาตรา 69 การแจง คําสั่งทางปกครอง การนดั พจิ ารณา หรือการอยางอืน่ ทเ่ี จาหนา ที่ตอ งแจง ใหผ ทู เี่ กยี่ วของ ทราบอาจกระทําดวยวาจากไ็ ด แตถา ผูน ้นั ประสงคจ ะใหก ระทาํ เปน หนงั สือก็ใหแ จง เปน หนังสอื การแจงเปน หนังสอื ใหสงหนังสือแจงตอ ผนู ั้น หรือถา ไดสงไปยังภูมลิ ําเนาของผูนน้ั ก็ใหถอื วา ไดร ับแจงตง้ั แตในขณะที่ ไปถงึ ในการดําเนนิ การเรื่องใดทีม่ กี ารใหท่ีอยูไ วกับเจา หนาทไี่ วแ ลว การแจงไปยังที่อยูดงั กลา วใหถ ือวา เปน การแจงไปยงั ภมู ิลาํ เนาของผูนน้ั แลว มาตรา 70 การแจง เปน หนังสือโดยวิธีใหบคุ คลนําไปสง ถาผูร ับไมยอมรับหรอื ถาขณะนําไปสงไมพบผรู ับ และหากไดสงใหก ับบุคคลใดซง่ึ บรรลนุ ิติภาวะท่ีอยหู รือทํางานในสถานทีน่ นั้ หรอื ในกรณที ี่ผนู นั้ ไมยอมรบั หากไดว างหนงั สือนั้นหรือปดหนงั สือนั้นไวในที่ซง่ึ เห็นไดงาย ณ สถานท่นี ัน้ ตอ หนา เจาพนกั งานตามทกี่ าํ หนด ในกฎกระทรวงทไี่ ปเปน พยานกใ็ หถือวา ไดร ับแจงแลว มาตรา 71 การแจงโดยวธิ ีสงทางไปรษณียต อบรับใหถ ือวา ไดร บั แจง ***ออกขอสอบบอ ย*** ภายในประเทศ เมื่อครบกาํ หนด 7 วัน ควรจาํ ตางประเทศ เม่ือครบกบั หนด 15 วัน เวน แตจ ะมกี ารพิสจู นไ ดว าไมมีการไดร ับหรอื ไดรบั กอนหรอื หลังจากวนั นั้น มาตรา 72 ในกรณีท่ีมีผรู ับเกิน 50 คนเจาหนาท่จี ะแจง ใหทราบตัง้ แตเ ริ่มดําเนินการในเรอื่ งนน้ั วา การแจงตอ บคุ คลเหลา นนั้ จะกระทาํ โดยวธิ ปี ด ประกาศไว ณ ท่ีทําการของเจา หนา ทีแ่ ละท่ีวา การอําเภอท่ีผรู ับมี ภมู ิลําเนากไ็ ด ในกรณีนี้ใหถ ือวาไดรับแจง เม่ือลวงพน ระยะเวลา 15 วัน นบั แตว ันทีไ่ ดแ จง โดยวธิ ดี ังกลาว เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานาํ ทาง

คมู ือเตรียมสอบบรรจุเขารบั ราชการ ตําแหนง ครผู ชู ว ย ตามหลักเกณฑใหม 393 มาตรา 73 ในกรณที ่ีไมร ตู ัวผูรบั หรือรตู วั แตไ มรภู ูมิลาํ เนาหรอื รตู ัวและภูมลิ ําเนาแตม ผี ูร บั เกนิ 100 คน การแจง เปนหนังสือจะกระทาํ โดยการประกาศในหนังสอื พิมพซ่ึงแพรหลายในทองถน่ิ น้ันกไ็ ด ในกรณนี ้ีใหถ ือ วา ไดร ับแจงเม่ือลวงพนระยะเวลา 15 วัน นบั แตวนั ทไี่ ดแจงโดยวธิ ีดังกลาว มาตรา 74 ในกรณีมเี หตุจําเปนเรง ดวนการแจงคาํ สั่งทางปกครองจะใชว ิธสี ง ทางเครอ่ื งโทรสารก็ได แต ตองมหี ลักฐานการไดส ง จากหนวยงานผูจัดบริการโทรคมนาคมที่เปน สื่อในการสง โทรสารนัน้ และตอ ง จัดสงคําส่งั ทางปกครองตัวจริงโดยวธิ ใี ดวธิ ีหนึ่งตามหมวดนใ้ี หแ กผรู บั ในทันทที ่ีอาจกระทําได ในกรณนี ้ใี หถือวา ผูรับไดร บั แจงคาํ สั่งทางปกครองเปนหนังสือตามวนั เวลา ท่ีปรากฏในหลกั ฐานของหนวยงานผูจัดบรกิ าร โทรคมนาคมดังกลา วเวนแตจะมีการพิสูจนไ ดว าไมมีการไดรบั หรอื ไดร บั กอ นหรือหลงั จากน้ัน หมวด 5 คณะกรรมการทม่ี อี าํ นาจดําเนินการพจิ ารณาทางปกครอง มาตรา 75 การแตง ตั้งกรรมการในลักษณะที่เปนผทู รงคุณวฒุ ใิ หแตงตัง้ โดยระบุตัวบุคคล มาตรา 76 นอกจากพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการพนจากตาํ แหนง เม่ือ (1) ตาย (2) ลาออก (3) เปนบุคคลลม ละลาย (4) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (5) ไดร บั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถงึ ท่ีสดุ ใหจาํ คุก เวน แตเ ปน ความผิดลหโุ ทษหรือความผดิ อนั ได กระทาํ โดยประมาท (6) มเี หตุตองพนจากตําแหนงกอนครบวาระตามกฎหมายวาดวยการนน้ั มาตรา 77 ในกรณที ่ีกรรมการพน จากตําแหนงกอนวาระ ผูมอี าํ นาจแตงตง้ั อาจแตงต้ังผูอ ื่นเปน กรรมการแทน ได และใหผ ูท่ีไดร ับแตงตงั้ ใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทา กบั วาระท่เี หลอื อยขู องผซู ง่ึ ตนแทน ในกรณที ่ี มกี ารแตงต้ังกรรมการเพ่ิมข้นึ ในระหวา งที่กรรมการซ่งึ แตง ตัง้ ไวแ ลวยังมวี าระอยใู นตาํ แหนง ใหผ ูท ี่ไดร ับแตงต้ัง ใหเ ปนกรรมการเพิ่มข้นึ อยใู นตําแหนงเทา กบั วาระที่เหลอื อยขู องกรรมการทไ่ี ดรบั แตงต้ังไวแลว มาตรา 78 ภายใตบังคบั มาตรา 76 การใหกรรมการในคณะกรรมการวินิจฉยั ขอพิพาทพนจากตาํ แหนงกอ น ครบวาระจะกระทํามิได เวน แตก รณมี เี หตุบกพรองอยา งยง่ิ ตอหนาทีห่ รือมคี วามประพฤติเส่อื มเสยี อยา ง รายแรง มาตรา 79 ภายใตบังคับมาตรา 15 วรรคสอง การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชมุ อยา ง นอ ยกึ่งหนง่ึ จึงจะเปน องคประชมุ เวน แตบ ทบญั ญัติแหง กฎหมายหรอื กฎหรือคาํ สัง่ ทจ่ี ัดใหม ีคณะกรรมการ ชุดนั้นจะกําหนดไวเ ปน อยางอื่นในกรณีที่มกี รรมการครบทจ่ี ะเปนองคป ระชุมได แตการพิจารณาเรอ่ื งใดถา ตอง เล่อื นมาเพราะไมครบองคประชุม ถาเปน การประชุมของคณะกรรมการซึ่งมิใชคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท เตรยี มสอบครูผชู ว ย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตาํ แหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 394 หากไดมกี ารนดั ประชมุ เรอ่ื งน้ันอกี ภายในสิบสีว่ ันนับแตว นั นดั ประชมุ ทีเ่ ลื่อนมาและการประชมุ ครั้งหลงั น้มี ี กรรมการมาประชมุ ไมน อยกวาหนงึ่ ในสามของจํานวนกรรมการท้ังหมดใหถ ือวาเปนองคป ระชมุ แตท ั้งน้ีตอง ระบคุ วามประสงคใ หเ กดิ ผลตามบทบญั ญัตินไี้ วในหนงั สือนัดประชมุ ดว ย มาตรา 80 การประชุมใหเปนไปตามระเบียบการท่ีคณะกรรมการกําหนดการนัดประชุมตองทําเปนหนังสือ และแจงใหกรรมการทุกคนทราบลวงหนาไมนอยกวาสามวัน เวนแตกรรมการน้ันจะไดทราบการบอกนัดในท่ี ประชุมแลว กรณีดังกลาวนี้จะทําหนังสอื แจงนัดเฉพาะกรรมการท่ีไมไดมาประชุมก็ไดบทบัญญัติในวรรคสองมิ ใหน ํามาใชบังคับในกรณมี ีเหตจุ าํ เปน เรง ดวนซงึ่ ประธานกรรมการจะนดั ประชุมเปนอยา งอน่ื กไ็ ด มาตรา 81 ประธานกรรมการมีอํานาจหนาท่ีดําเนินการประชุม และเพื่อรักษาความเรียบรอยในการประชุม ใหประธานมีอํานาจออกคําสั่งใด ๆ ตามความจําเปนได ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถ ปฏิบตั หิ นาที่ไดใ หรองประธานกรรมการทาํ หนาที่แทน ถาไมมรี องประธานกรรมการหรือมีแตไมส ามารถปฏิบัติ หนาท่ีได ใหกรรมการท่ีมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงข้ึนทําหนาที่แทนในกรณีที่ประธานกรรมการมีหนาท่ี ตอ งดาํ เนินการใด ๆ นอกจากการดําเนนิ การประชมุ ใหน าํ ความในวรรคสองมาใชบังคบั โดยอนุโลม มาตรา 82 การลงมติของท่ีประชุมใหถือเสียงขางมากกรรมการคนหน่ึงใหมีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพ่ิมขึ้นอีกเสียงหน่ึงเปนเสียงช้ีขาดเร่ืองใดถาไมมีผู คัดคาน ใหประธานถามที่ประชุมวามีผเู ห็นเปนอยางอื่นหรือไมเม่ือไมมีผูเ หน็ เปนอยางอื่น ใหถือวาที่ประชุมลง มตเิ หน็ ชอบในเรอ่ื งนัน้ มาตรา 83 ในการประชุมตองมีรายงานการประชมุ เปน หนงั สือถามีความเห็นแยง ใหบ นั ทึกความเหน็ แยง พรอม ท้ังเหตุผลไวในรายงานการประชมุ และถากรรมการฝายขา งนอยเสนอความเหน็ แยงเปน หนังสือก็ใหบันทกึ ความเห็นแยงน้นั ไวด ว ย มาตรา 84 คาํ วินจิ ฉัยของคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยขอพิพาทตองมีลายมือชอื่ ของกรรมการท่ีวนิ จิ ฉยั เรอื่ งนั้น ถา กรรมการคนใดมีความเหน็ แยง ใหมีสิทธิทําความเห็นแยงของตนรวมไวใ นคําวินิจฉยั ได บทเฉพาะกาล มาตรา 85 ใหถ ือวา ระเบยี บสํานักนายกรฐั มนตรีวา ดวยการปฏิบตั ริ าชการเพ่ือประชาชนของหนว ยงานของรฐั พ.ศ. 2532 เปน ระเบียบที่คณะรฐั มนตรีวางขน้ึ ตามมาตรา 33 แหง พระราชบญั ญัติน้ี มาตรา 86 บรรดาคําขอเพ่ือใหม ีคาํ สง่ั ทางปกครองท่เี จาหนาทไ่ี ดร บั ไวกอ นที่พระราชบญั ญัติน้ีใชบงั คับ ให เจา หนา ที่ทําการพจิ ารณาคาํ ขอดงั กลา วตามหลักเกณฑท่กี ฎหมายหรือกฎสาํ หรับเร่ืองน้นั ไดก ําหนดไว มาตรา 87 เมื่อไดม กี ารจดั ตั้งศาลปกครองขน้ึ แลว บทบัญญตั ิมาตรา 48 ใหเ ปนอนั ยกเลิก เตรยี มสอบครูผชู ว ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนาํ พา ศรัทธานําทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจุเขารับราชการ ตําแหนงครูผชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 395 หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่การดําเนินงานทางปกครองในปจจุบัน ยังไมมีหลักเกณฑและข้ันตอนที่เหมาะสม จึงสมควรกําหนดหลักเกณฑและข้ันตอนตาง ๆ สําหรับการ ดําเนินงานทางปกครองขนึ้ เพอื่ ใหการดําเนินงานเปน ไปโดยถกู ตองตามกฎหมายมปี ระสิทธภิ าพในการใชบังคับ กฎหมายใหสามารถรักษาประโยชนสาธารณะได และอํานวยความเปนธรรมแกประชาชน อีกทั้งยังเปนการ ปอ งกนั การทุจริตและประพฤติมชิ อบในวงราชการ จึงจาํ เปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ เตรยี มสอบครูผชู วย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนําพา ศรัทธานาํ ทาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook