Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาค ก กศน กรณีทั่วไป

ภาค ก กศน กรณีทั่วไป

Published by watpleng, 2020-08-02 04:12:43

Description: ภาค ก กศน

Search

Read the Text Version

คมู่ ือเตรียมสอบบรรจเุ ขา้ รบั ราชการ ตำแหน่งครผู ้ชู ว่ ย ตามหลักเกณฑใ์ หม่ ก ไม่ตอ้ งอ่านเปดิ ผ่านเลยกไ็ ด้ หากต้องการจะเป็นขา้ ราชการ วนั วันอ่านหนังสือบ้างหรือไม่ มเี วลานอกจากใช้หายใจ เคยบ้างไหมหยิบตํารามาทบทวน เล่น Facebook อกี ท้ังLine ให้หนกุ หนาน เมาทท์ งั้ วันเวลางานเฮฮาสรวล บ้างชอบ Drink เท่ียวกลางคนื ตามเพื่อนชวน บา้ งกก็ ินจนอ้วนท้วนแทบกลิง้ กลม วันเวลาผ่านไปทาํ อะไรอยู่ ลองนึกดูว่าเราทํานั้นเหมาะสม กบั ผลทเ่ี ราคาดหวงั อย่างรน่ื รมย์ อยา่ มัวจมเพราะผ่านไปไมห่ วนมา ท่ีผ่านมาหากยังทําไม่เต็มท่ี คราครงั้ นีจ้ งตั้งใจใฝ่ศึกษา คู่แข่งเรามากมายในโลกา วนั เวลาเขามุ่งม่นั อ่าน ท่อง จาํ อย่าได้หลงทะนงตนอวดตวั เก่ง มองตวั เองว่าอยู่เหนือมันน่าขัน คนทเี่ กง่ เขาไม่กลัวไม่สาํ คญั เทา่ กับคนท่ีขยันนนั้ น่าชม อันน้ำน้อยทลี ะหยดท่ีรินหยาด ไหลรวมอาจเกดิ ก่อตอ่ ผสม เปน็ มหาสายนทใี หญ่น่าชม เปน็ บ่อเกิดความรื่นรมย์และชีวนั เฉกเช่นด่งั ความรทู้ ใี่ ฝห่ า ทุกเวลาทวคี ําพาสขุ สนั ต์ มีความรู้เหมือนมคี ําทรัพย์อนนั ต์ ใครใครนนั้ ไม่อาจพรากจากเราไป “เวลานอนมีมากในโลงศพ” จงหมน่ั ทบทวนตวั เองอย่าเหลวไหล ความง่วงหาวแสนขี้เกยี จนนั้ คอื ภยั ทที่ ําให้เราเหินห่างหนทางดี คงไม่ต้องอวยพรเพราะเหตวุ ่า หากใฝห่ าอ่านตําราทัง้ เล่มน้ี ก็หมายถึงท่านได้พรที่แสนดี เปน็ พรทสี่ ดุ เลิศล้ำ“เพราะทำเอง” พรท่สี ุดเลศิ ล้ำ“เพราะทำเอง” ทม่ี า : อาจารย์อุดม สขุ ทอง เตรียมสอบครผู ู้ช่วย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คมู่ ือเตรยี มสอบบรรจเุ ข้ารบั ราชการ ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย ตามหลกั เกณฑใ์ หม่ ข กลยุทธ์ หมดั เดด็ ….. พุ่งชนเป้าหมาย เตรยี มสอบครผู ู้ชว่ ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คู่มอื เตรยี มสอบบรรจเุ ข้ารบั ราชการ ตำแหน่งครผู ู้ช่วย ตามหลักเกณฑ์ใหม่ ค คำนำ “ตามล่าหาอนาคต ตะลุยเส้นทางอาชพี ครู” เป็นคู่มือเตรียมสอบ เพื่อบรรจแุ ละแต่งตั้งบคุ คลเข้ารับ ราชการ เปน็ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทาง การศกึ ษา ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย ตามหลกั เกณฑใ์ หม่ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการเตรียมสอบบรรจุรับราชการครู โดยยึดหลักสูตรและเนื้อหาที่ใช้สอบ ประกอบด้วย 3 สว่ น ได้แก่ ส่วนที่ 1 ทักษะการคิดวิเคราะห์ เนื้อหาประกอบด้วย การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา การคิดวิเคราะห์ นามธรรม/ปรมิ าณ ส่วนที่ 2 ทักษะด้านภาษาอังกฤษ เนื้อหาประกอบด้วย ความรู้พื้นฐานด้านภาษาอังกฤษ และ ภาษาองั กฤษสำหรับการปฏิบตั งิ านในตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย ส่วนที่ 3 วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี เนื้อหาประกอบด้วย พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แก้ไขเพิ่ม ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในส่วนของความผิดต่อตำแหน่ง หน้าทีร่ าชการ พระราชบญั ญตั ิความรับผิดทางละเมดิ ของเจา้ หน้าที่ พ.ศ. 2539 และพระราชบญั ญัตมิ าตรฐาน ทางจริยธรรม ทั้ง 3 ส่วนนี้ เป็นวิชาพื้นฐานที่นำมาใช้สอบโดยมีจุดประสงค์เพื่อพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ ปฏิภาณไหวพริบ สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและไตร่ตรองได้ดี และเป็นผู้มีความรู้และมีลักษณะของการ เปน็ ข้าราชการทดี่ ี ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า “ตามล่าหาอนาคต ตะลุยเส้นทางอาชีพครู” คู่มือเตรียมสอบเพื่อบรรจุ และแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู ตำแหน่งครูผู้ช่วย หลักเกณฑ์ใหม่ ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด จะเป็นประโยชนแ์ ก่ผูท้ ี่กำลังเตรียมตวั เขา้ รับการสอบคดั เลอื กได้เป็นอยา่ งดี ใจนำพา ศรทั ธานำทาง เตรยี มสอบครูผู้ช่วย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คู่มือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา้ รับราชการ ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ตามหลกั เกณฑใ์ หม่ ง สารบญั หนา้ สว่ นที่ 1 ทักษะการคิดวเิ คราะห์................................................................................................................. 1 1.1 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหเ์ ชิงภาษา (ภาษาไทย) พร้อมแนวขอ้ สอบ .......................................... 2 1.2 การคิดวิเคราะห์นามธรรม / ปรมิ าณ (คณติ ศาสตร)์ พร้อมแนวขอ้ สอบ ................................ 144 2 ทักษะดา้ นภาษาอังกฤษสำหรบั การปฏิบตั งิ านตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ............................................... 261 แนวขอ้ สอบ ................................................................................................................................... 306 3 วิชาความรแู้ ละลกั ษณะการเป็นขา้ ราชการที่ดี ............................................................................ 334 3.1 พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ................... 335 - แนวข้อสอบ ......................................................................................................................... 349 3.2 พระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ีดี พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2562.............................................................................. 357 - แนวข้อสอบ .......................................................................................................................... 369 3.3 พระราชบัญญัตวิ ธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539..................................................... 376 - แนวขอ้ สอบ .......................................................................................................................... 396 3.4 ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในส่วนของความผิดตอ่ ตำแหน่งหน้าที่ราชการ ............. 403 - แนวข้อสอบ .......................................................................................................................... 410 3.5 พระราชบญั ญัตคิ วามรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าที่ พ.ศ. 2539........................................... 415 - แนวขอ้ สอบ .......................................................................................................................... 418 3.6 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562............................................................... 428 - แนวขอ้ สอบ .......................................................................................................................... 435 เตรียมสอบครูผู้ชว่ ย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครผู ชู วย ตามหลักเกณฑใหม 1 สว นท่ี 1 1. ภาษาไทย 2. การคดิ วิเคราะห นามธรรม/ปริมาณ เตรียมสอบครผู ูชว ย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูม อื เตรียมสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนง ครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใ หม 2 ภาษาไทย คำทม่ี ักเขียนผิด อะไหล ขโมย ทแยง ซา หรมิ่ อนญุ าต อเนก หมาใน บณิ ฑบาต มงุ มาด ไตฝ ุน เผอเรอ แกงบวด อัมพาต ยอ มเยา หยักศก วง่ิ เปย ว เลอื กสรร พศิ วาส การใช ณ น ใช ณ ในคำภาษาบาลแี ละสันสฤต ใช ณ ตามหลงั ตัว ฤ ร ษ เชน กฤษณา (ณ ตาม ฤ ร ษ ถา มี 3 ตวั น้ีใหเ อา ณ ตามทาย) ใช น -ใชใ นภาษาไทยท้งั หมด เชน หนู นาน -ใชในภาษาบาลี โดยท่ี น ไมอ านออกเสียงสระและใชเ ปนตวั สะกด เชน กิน ปกษนิ (นอกจาก ฤ ร ษ ตามหลงั คำไหนใช น ตามทาย) การใช ส ศ ษ ส สว นมากใชใ นคำไทยแท ศ ษ สวนมากใชในภาษาสนั สฤต เชน อัศจรรย กฤษณา ใชใ นภาษาอืน่ นอยมาก การใชบ นั บนั ท่ใี ชแ บบน้ี มี บันดาล บนั ได บันเทงิ บันลือ บันโดย บันกวด บันเหนิ บนั ดล นอกนนั้ ใช (บรร ยกเวน ภาษาบาลี สันสฤษ ใช บญั ) การเรียงขอ ความ ในการเรียงขอความใหเ ปนประโยค จะประกอบดว ยประธาน บทขยายประธาน กรยิ า บทขยายกริยา กรรม บทขยายกรรม 1. บทประธาน ทำหนาท่เี ปน ประธานของประโยค เชน เขาอานหนงั สือ 2. บทขายประธาน ทำหนา ท่ปี ระกอบหรือแตงประธานใหดขี ึ้น เชน หวั หนา ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 เรียนเกง 3. บทกริยา เปนบทแสดงอาการของประธานใหร ูว าประธานทำอยา งไร เชน เขาเขยี นจดหมาย 4. บทขายกริยา ทำหนาท่ีประกอบหรือแตง กริยาใหไ ดค วามย่ิงข้นึ เชน เขาว่งิ เรว็ 5. บทกรรม ทำหนาทเี่ ปน ผูถ ูกกระทำ เชน เธอชอบเปน ครู 6. บทขยายกรรมประกอบหรือแตง บทกรรมใหดขี ึน้ เชน ฉนั ตองการเด็กเกง 7. บทเชือ่ ม ทำหนาทเ่ี ชื่อมบทกับบท ประโยคกบั ประโยค เชน โดย ดวย เม่ือ แต และ หรอื มฉิ ะนน้ั .ก็ วลี คือ กลมุ คำที่ไมช ัดเจน ประโยค คอื ขอ ความทีก่ ลา วออกมาแลว รวู า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อยางไร ลกั ษณะประโยค 1. ประโยค 2 สวน คอื ประกอบดว ยประธานและกรยิ า ก็มคี วามสมบรู ณ เชน ฝนตก นอ งรอ งไห 2. ประโยค 3 สวน คือ ประกอบดว ยประธาน กรยิ า กรรม จึงจะสมบรู ณ เชน เขาตีนอง เตรยี มสอบครผู ูชว ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูมือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู วย ตามหลักเกณฑใหม 3 รปู แบบประโยค 1. เอกัตถประโยค คอื ประโยคความเดียว ประธาน กรยิ าและกรรมอันเดียว เชน พเี่ ปนครู 2. อเนกรรมประโยค คอื ประโยครวม มคี ำสนั ธานเชอ่ื ม เชน เธอจะไปกับฉนั หรือไปกับเขา สงั กรประโยค ประกอบดวยเอกรรถประโยคตั้งแต 2 ประโยค 3. คือประโยคหลัก (มขุ ยประโยค) และประโยครอง (อนุประโยค) เชน ครดู ูเดก็ ๆ เลน ชนิดของประโยค 1. ประโยคบอกเลา คอื ประโยคเลาเรื่อง กลาวถงึ หรือตอบรับ เชน ฉนั ไปทำงาน 2. ประโยคปฏเิ สธ จะมีคำวาไม ไมได มิได หามไิ ด บ บอ ฯลฯ 3. ประโยคคำถาม จะมีคำวา ใคร อะไร ท่ีไหน เมอื่ ไร ทำไม อยา งไร เพราะเหตใุ ด คำสมาส คำสนธิ คำสมาส คอื เอาคำมารวมกัน โดยไมเ ปล่ยี นแปลงอกั ษร เวลาอานมักจะออกเสียงสระ ตรงพยางคท า ยของคำ หนา เชน พลศกึ ษา ราชการ พลเมือง คำสนธิ คือ นำเอาคำมาเชอื่ มตอกนั เปนคำเดียวกัน มกี ารเปลีย่ นแปลงอักษรระหวางคำนั้นดวยพยางคตน ของ คำทาย เปน ตวั อ เสมอ แปลความหมายจากหนา มาหลงั เชน ธนู + อาคม = ธันวาคม มหา + โอฬาร = มโหฬาร ชนดิ ของคำในภาษาไทย 1. คำนาม คือ คำท่ใี ชเรียกชอ่ื คน สัตว ส่งิ ของ แบง เปน 5 ชนดิ 1.1 สามานยนาม นามทั่วไป เชน ตู วดั 1.2 วิสามานยนาม เฉพาะเจาะจง เชน ตู วัด 1.3 สมหุ นาม เปน หมวดหมู เชน พวก คณะ หมู 1.4 ลกั ษณะนาม เชน ขลุย 1 เลา , สมุด 1 โหล 1.5 อาการนาม นามบอกอาการ จะมีคำวา การ, ความ, เชน ความรกั การเดิม 2. คำสรรพนาม คือ คำทีใ่ ชแทนช่ือคน สัตว สงิ่ ของ 2.1 บุรษุ สรรพนาม ผม หลอ น คุณ ทา น 2.2 ประพนั ธส รรพนาม บทเชอ่ื ม ที่ ซง่ึ อัน 2.3 ปฤจฉาสรรพนาม ใชใ นคำถาม ใคร อะไร 2.4 วิภาคสรรพนาม บา ง ตา ง 2.5 นิยมสรรพนาม นี่ นนั่ โนน 2.6 อนิยมสรรพนาม ใคร ไหน ใด 3. คำกรยิ า คอื คำแสดงอาการของคน สตั ว สิ่งของ เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทีมฮกั แพง

คูมือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 4 3.1 สกรรมกรยิ า มีกรรมมารับ 3.2 อกรรมกรยิ า ไมตองมีกรรมมารับ 3.3 วติ รรถกรยิ า เหมือน คลา ย เปน ดุจ เทา 3.4 กรยิ านเุ คราะหหรอื กริยาชว ย เชน จง เคย ถกู 4. คำวเิ ศษณ คือ คำประกอบใหไ ดชดั เจนย่งิ ข้ึน 4.1 ลกั ษณะวเิ ศษณ กวาง ขาว ยาว อวน เต้ีย 4.2 กาลวิเศษณ เชา สาย บา ย เยน็ 4.3 สถานวเิ ศษณ ใกล ไกล 4.4 ประมาณวเิ ศษณ มาก นอ ย 4.5 นิยมวเิ ศษณ แนน อน 4.6 อนิยมวิเศษณ อื่น อะไร ไมแ นน อน 4.7 ประดิชาวเิ ศษณ จา คะ ครบั 4.8 ปฤฉาวิเศษณ ทำไม อะไร 4.9 นธวิเศษณ แสดงอาการหามหรือปฏิเสธ 4.10 ประพนั ธว ิเศษณ เชอ่ื มคำ ท่ี ซึง่ อนั 5. คำบพุ บท คือ คำนำหนา สรรพนาม - คำทเี่ ชอื่ มกบั คำอนื่ โดย ดวย แก แด ตอ เพื่อ สำหรับ - คำที่ไมเชอื่ กบั คำอ่ืน อนั วา ขา แต ดูกอน 6. คำสันธาน เช่ือมคำหรือขอ ความ - เช่ือมคำ กบั และ - เชือ่ มขอ ความหรือประโยค แต ถงึ จึง ก็ มฉิ ะนั้น...ก็ ฯลฯ 7. คำอทุ าน บอกอาการหรอื ความรสู กึ หรือแสดงเสยี งธรรมชาติ - บอกอาการ โอะ ! อุย! วา ย! เปร้ยี ง! - บทเสรมิ นำ้ ทา ผา ผอน ลูกเตา สำนวน คือ คำทมี่ ีความหมายเปนพิเศษไมต รงตามตวั อกั ษร เชน กระปลกกระเปร้ีย = ออนเพลยี คำพงั เพย กลาวเปรยี บเทียบ ยกเอาความจรงิ ที่อาจแลเห็นมาเปรียบเทียบ เชน กลนื ไมเ ขาคายไมอ อก = ไมร จู ะทำอยา งไร เนอื้ เตา ยำเตา = เอาของกลางมาใช สภุ าษติ เปนคตสิ อนใจใหป ระพฤตใิ นสิ่งทีด่ ี เชน น้ำนอ ยยอ มแพไฟ , รักวัวใหผ กู รกั ลกู ใหต ี การอา น ฑ เตรียมสอบครผู ูชวย By ทีมฮักแพง เรียบเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คูม ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครผู ชู ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 5 1. เมอ่ื ผสมกบั สระเสียงสนั้ ออกเสยี ง ด เชน บัณฑติ อา นวา บนั -ดิด มณฑป อานวา มน-ดบ 2. เม่อื ผสมกับสระเสียงยาว ออกเสียง ท เชน มณโฑ อา นวา มน-โท ความสามารถดา นเหตุผล การวัดความสามารถประเภทนี้ เมื่อดูวาทานมีความสามารถในการใชเ หตผุ ลเพียงใด ลกั ษณะของ ขอสอบวดั ความสามารถทางเหตุผล จะแบง ออกเปน 3 กลมุ คือ 1. อปุ มาอุปไมย 2. จดั ประเภท 3. สรปุ ความ 1. อุปมาอปุ ไมย เปนการวัดความสามารถในเชิงเปรียบเทียบ โดยอาจคำนึงถงึ หนาท่หี รอื รูปรางลักษณะ ซึง่ มี ความสมั พันธก นั ไมทางใดก็ทางหนึ่ง กระหาย = น้ำ หิว = ขาว ครู = สอน พระ = เทศน บานเมอื ง = กฎหมาย กองทพั = วนิ ัย งาน = เงิน ปรญิ ญา = ศึกษา 2. จัดประเภท 2.1 ไมเขา พวกกำหนดคำมาให คำเหลา น้ีมคี วามหมายเปน พวกเดียวกัน แตอกี คำจะแตกตางออกไป วิง่ ราว วง่ิ แขง วิ่งชา วิ่งเร็ว (คำทีไ่ มเขา พวกคอื วิง่ ราว เพราะไมใ ชการแขงขนั ) วหิ ค สกณุ า ทชิ ากร ปก ษณิ จตบุ าท (คำทไ่ี มเ ขา พวก คอื จตุบาท เพราะไมไ ดหมายถึงนก) 2.2 อนุกรมคำกำหนดคำให คำทั้งหมดจะเรียงลำดับในรปู ใดรูปหน่งึ แลว พิจารณาวา คำไหนเปน ตวั กลางของคำทัง้ หมด ชา ง มา แมว คน จิง้ หรีด (คน เพราะคนเปน สัตวทีป่ ระเสรฐิ กวา ) เยน็ รอน อนุ เดือด แหง (รอ น เพราะอยูระหวางเยน็ กับแหง) 2.3 ศพั ทส มั พนั ธ ถวยจาน ชาม แกว ปาไม ประมง ปศสุ ตั ว ชลประทาน 3. สรปุ ความ เปน การหาขอสรุป โดยพจิ ารณาตามเงือ่ นไขทกี่ ำหนดให ทานตอ งอานขอความที่กำหนดแลว พิจารณา วา ความสรุปอยา งไรจงึ จะเหมาะสมถูกตองตามหลกั แหง ตรรกวทิ ยา หรอื หลกั แหง เหตผุ ล เชน - ถา ฝนตกหนกั ถนนสายนจ้ี ะล่ืนมาก - วันนี้ถนนสายนี้ลืน่ มาก ดังน้ันยงั สรุปแนน อนไมไ ด (ถาโจทยตอวา วันนฝ้ี นตกหนักจงึ จะตอบวา ถนนลนื่ มาก) - นกั เรยี นท่ตี งั้ ใจเรียนทกุ คนสอบไดค ะแนนดสี มชายสอบไดคะแนนดี ดังน้ันยงั สรปุ แนนอนไมได (เพราะเง่อื นไขคือ นักเรยี นตงั้ ใจเรียน) เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูม ือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู วย ตามหลักเกณฑใ หม 6 - “ถา ปวดศรี ษะมาก ผมจะไมม าหาคณุ ” วันน้ผี มปวดศรี ษะมาก ดงั นน้ั ตอบผมไมมาพบคณุ (เพราะครบตามเงอื่ นไข คือ ถาปวดศีรษะมาก ๆ จะไมม าพบ) ความสามารถทางภาษา การวัดความถนดั ทางภาษาน้ี เพื่อดวู า ทานมคี วามสามารถทางภาษามากนอ ยเพียงใด ลักษณะของ ขอ สอบวดั ความสามารถทางภาษา จะแบงเปน 4 กลุม ดงั น้ี 1. คำตรงขา ม 2. คำท่เี กย่ี วขอ งสัมพนั ธก ัน 3. ความเขา ใจภาษา 4. ความสามารถในการจบั ใจความ 1. คำตรงขา ม ใหเลือกหาวา คำใดทีม่ คี วามหมายตรงขามมากทีส่ ุด โจทย มั่นคง ถาวร แนนแฟน ออ นแอ ออนนอม เทีย่ งธรรม (ตอบ ออนแอ) ตัวอยา งคำตรงขาม รุงเรือง - ตกอบั ระบุ - ปด บงั ประมาท - ระวงั ตระหนี่ - ฟมุ เฟอย นักแสดง - ผูดู สำรวม - บุกลี้ลกุ ลน 2. คำทเี่ ก่ยี วขอ ง เปน การวดั ความเขาใจภาษา โดยหาวา คำใดท่เี ก่ยี วขอ งกันโดยทางใดทางหนงึ่ เชน ความรูสึก การใชส อย ไกปน - เหนี่ยว อบายมุข - เทย่ี วกลางคนื ขลยุ - เลา ศีลแปด - แมช ี ศาล - ตาช่งั เอเชียอาคเนย - อาเซยี น 3. ความเขา ใจภาษา มุง วดั ความสามารถในการอานหรือรบั รูข อมลู ตา ง ๆ จากกราฟ สถติ ิ และภาพตาง ๆ ปกติจะมีภาพ หรอื กราฟใหดูแลวตอบคำถาม 4. ความสามารถในการจบั ใจความ ตอนแรกจะใหข อ ความที่อาจเปน รอ ยแกว หรือรอ ยกรองมาใหท านตอ งอานใหล ะเอียด แลว ใชเนอ้ื หา ที่อานไปแลว ตอบคำถาม “ขอควรระวัง ในการทำขอ สอบน้ี คอื ทา นจะตอ งใชเนื้อหาจากขอความทกี่ ำหนดใหเ ทา นน้ั มาตอบ จะใชค วามรเู ดิม ประสบการณเ ดิม สามญั สำนึกมาตอบไมไ ด” สรุปเน้อื หาตามหลักสูตรสอบภาษาไทย 1. ภาษาไทยมคี วามหมาย 3 อยา งคือ (1) คำ คอื คำทีใ่ ชใ นการพดู เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู อื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครูผชู ว ย ตามหลกั เกณฑใ หม 7 (2) คำ คือ พยางคใ นบทประพันธ (3) คำ คือคำในบทกลอน โดยปกตนิ ับ 2 วรรค เปน 1 คำกลอน 2. คำแบงออกเปน (1) คำประสม 3 สว น คือ คำท่ปี ระกอบดวยพยัญชนะตน สระ และวรรณยุกต เชน ปลา หวี (2) คำประสม 4 สว น คอื คำที่ประกอบดว ยพยญั ชนะตน สระ วรรณยุกต ตวั สะกดหรือการนั ต เชน เลน เสาร (3) คำประสม 5 สว น คือ คำทีป่ ระกอบดว ยพยญั ชนะตน สระ วรรณยกุ ต ตัวสะกด ตัวการันต เชน แพทย จันทร 3. คำในภาษาไทยมี 7 ชนดิ (1) คำนาม (2) คำสรรพนาม (3) คำกริยา (4) คำวเิ ศษณ (5) คำบพุ บท (6) คำสนั ธาน (7) คำอทุ าน 4. คำนาม คือ คำท่ใี ชแ ทนชอื่ คน สัตว สิง่ ของ สถานที่ กริยา อาการ 5. คำสรรพนาม คือ คำทใี่ ชแ ทนนาม หรอื ขอ ความทก่ี ลา วมาแลว 6. คำกรยิ า คอื คำท่แี สดงอาการของนามและสรรพนาม 7. คำวเิ ศษณ คือ คำทที่ ำหนา ท่ปี ระกอบคำนาม คำสรรพนาม ใหม คี วามหมายชดั เจนย่ิงขน้ึ 8. คำบพุ บท คือ คำท่แี สดงความสมั พันธระหวางคำหรอื ประโยค เพือ่ ใหรวู า ประโยคทอี่ ยหู ลงั บุพบทนน้ั มี หนา ท่ีเกย่ี วของกบั คำหรือประโยคขา งหนาอยา งไร 10. คำสันธาน คือ คำท่มี ีหนาที่เช่อื มคำกบั คำ ประโยคกับประโยค 11. คำอุทาน คือ คำท่เี ปลงเสยี งออกมาในเวลาท่ีตองการแสดงถงึ ความดใี จ ตกใจ เสยี ใจ ประหลาดใจ 12. มาตราแมก ก พยัญชนะทเ่ี ปนตัวสะกด ไดแก ก กร ข ด ดร ฆ เชน ตัก เลข เมฆ 13. มาตราแม กด พยัญชนะท่เี ปน ตัวสะกด ไดแก ด จ ช ชร ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ตร ก ท ทร ล ด ษ เชน มงุ กฎ วัฒนา อนญุ าต ประเทศ 14. มาตราแม กบ พยัญชนะท่เี ปน ตวั สะกด ไดแก บ ป พ ฟ ภ เชน ตบ ระบบ เคารพ 15. มาตราแม กน พยัญชนะท่ีเปนตวั สะกด ไดแก น ณ ญ ร ล ฬ เชน บริเวณ ชำนาญ บวน สน 16. มาตราแม กง พยัญชนะที่เปน ตัวสะกด ไดแ ก ง เชน จาง จง ตรง 17. มาตราแม กม พยัญชนะทีเ่ ปน ตัวสะกด ไดแก ม เชน ขม กลม นม 18. มาตราแม เกย พยัญชนะทเี่ ปน ตัวสะกด ไดแ ก ย เชน เฉย เชย กลอย 19. มาตราแม เกอว พยัญชนะท่ีเปนตวั สะกด ไดแ ก ว เชน แจว แพรว เตรยี มสอบครูผูชว ย By ทีมฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูมอื เตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 8 20. การอา นอกั ษรควบแท ตองอา นออกเสียงพยัญชนะท้งั สองตวั พรอ มกนั เชน แพรวพราว ครง้ั คราว เพลิดเพลิน 21. การอา นอกั ษรควบไมแ ท ใหอ า นออกเสียงพยญั ชนะตัวหนา เพยี งตัวเดียว หรอื เปลี่ยนเปนกรณที ่มี ี ทรควบ เชน จรงิ สรอ ย เสรมิ นนทรี ทราย ทราบ ม ทรุด 22. อักษรนำ คอื คำมที พี ยญั ชนะ 2 ตวั รว มกันในสระตวั เดยี ว 23. หลักการอา นอักษรนำ (1) อกั ษรสูงนำอกั ษรต่ำเด่ยี ว อกั ษรตำ่ เดี่ยว คอื ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ จะตอ งอา นออกเสียง พยญั ชนะตัวหลังใหม เี สียงสูงตามอกั ษรนำดว ย เชน ฉนวน สมาน ผวา (2) อกั ษรสูงนำอกั ษรต่ำคู อักษรตำ่ คู คอื ค ฆ ช ซ ฌ ฑ ท ธ พ ภ ตอ งอา นออกเสียงพยญั ชนะตัวหลงั ตามเสยี งอกั ษรสูง เชน สภา สภาพ ไผท (3) อักษรกลางนำอักษรต่ำเดย่ี ว อา นออกเสียงพยญั ชนะตัวกลางตามเสียงอกั ษรกลางทน่ี ำอยูเ ชน จมูก จริยา ตลาด ตลก (4) อ นำ ย อานออกเสยี ง ย ใหเปน เสียงกลางตาม อ มี 4 คำเทาน้ัน คอื อยา อยู อยาง อยาก (5) ห นำ อักษรต่ำเดย่ี ว อา นออกเสยี งตาม ห เชน หมอ หญิง หววิ หนกั หนอ 24. คำแผลง คือ คำทด่ี ดั แปลงจากคำพยางคเดียวเปนคำ 2 พยางค เพอื่ ใหเ กดิ ความไพเราะ แตย งั คงมี ความหมายเดิม 25. การอานคำแผลงที่เปน อกั ษรควบ ใหอา นออกเสียงพยางคห ลัง ในระดบั เสียงเดียวกบั คำเดิมเชน ตรับ แผลงเปนตำรับ จง แผลงเปน จำนง 26. การอา นคำแผลงทไ่ี มเปน อักษรควบไมต อ งออกเสยี งพยางคหลังตามรูปท่ีแผลงใหม เชน เกดิ แผลงเปน กำเนดิ จงแผลงเปนจำนง 27. คำพอ งคอื คำท่มี รี ูปหรอื เสียงเหมือนกนั แตความหมายแตกตา งกนั โดยสนิ้ เชงิ เชนเพลา (อกั ษรควบ) หมายถึง แกนลอ เพลา (เพ-ลา) หมายถึง เวลา 28. คำพอ งเสยี ง คือ คำทเ่ี ขยี นตา งกนั แตเวลาอา นออกเสยี งเหมือนกนั เชน กาน หมายถึงตัด กาญจน หมายถึง ทองคำ การ หมายถึง งาน กาล หมายถงึ เวลา กาฬ หมายถึง ดำ กานต หมายถึง นารกั กานท หมายถงึ กลอน 29. คำพอ งรปู พอ งเสยี งคือ คำทีเ่ ขียนเหมอื นกนั อา นกอ็ อกเสยี งเหมอื นกนั แตความหมายขน้ึ อยูกับหนาท่แี ละ การใชประกอบประโยคน้นั ๆ เชน ขนั (นาม) หมายถึง ภาชนะใชต กั น้ำ ขนั (กริ ยิ า) หมายถึง รอ ง, ทำใหแนน ขนั (วิเศษณ) หมายถงึ ชวนหัวเราะ 30. การอา นตวั ฑ มีหลกั การอา นดังนี้ (1) อานออกเสยี ง ด สำหรับคำทมี่ เี สียงสัน้ หรือคำตาย เชน บณั ฑติ บัณเฑาะว บุณฑริก มณฑป เตรียมสอบครูผูชว ย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คูมือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู ว ย ตามหลกั เกณฑใหม 9 (2) อา นออกเสยี ง ท สำหรบั คำทม่ี เี สียงยาวหรอื เปนคำ เชน บิณฑบาต มณฑล มณฑา มณโฑ 31. การอานตวั ฤ ในภาษาไทยจะอา น ฤ ได 3 แบบ ดังนี้ (1) อา นออกเสยี ง ริ เม่ือประสมกบั ก ต ท ป ศ ส เชน กฤษณา ตฤณ ทฤษฎี ปฤษฎางค ศฤงคาร (2) อานออกเสียง รึ เม่อื ประสมกบั คำ ค น พ ม ห เชน คฤหาสน นฤมล พฤหสั มฤคา มฤโหด (3) อานออกเสียง เรา มีเพยี งคำเดียวเทา น้นั คือ ฤกษ 32. การอา นคำสมาสตองอานออกเสียงสะกดของพยางคหนาใหเ นอ่ื งกบั พยางคแรกของคำหลังดวย เชน รัฐบาล อา นวา รดั – ถะ – บาน ประกาศนียบตั ร อา นวา ประ – กา – สะ – นี – ยะ – บดั ฉัตรมงคล อา นวา ฉัด – ตระ – มง – คล 33. การอานตามความนยิ มโดยไมไ ดย ดึ หลักเกณฑห ลกั ภาษา แตอ ยา งใด คอื ตามภาษาปากทีพ่ ูดตอ ๆ กัน เชน กาลเวลา อานวา กาล –เว–ลา ประโยค อา นวา ประ – โหยก ดิลก อา นวา ดิ – หลก 34. การอานวนั เดือนป ฯ 13 4 อานวา วันอาทิตย แรม 4 คำ่ เดือนสาม 4 23 ฯ อา นวา วนั จันทร ขึ้น 4 คำ่ เดือนสาม 35. ฯพณฯ อา นวาอยา งไร คำนีม้ าจากคำเดิมวา พณหวั เจา ทาน อานวา พะ – นะ– หวั – เจา – ทาน 36. วลี คือ กลุม คำท่ีเรยี งติดตอกนั เปนระเบยี บ มคี วามหมายเร่อื ง 37. เดยี วกัน มีคำตงั้ แต 2 คำขึ้นไป ตอ งเปนสว นใดสวนหนงึ่ ในประโยค 38. สำนวนตามพจนานุกรมหมายถึง ถอ ยคำท่เี รียบเรยี ง โวหาร ถอยคำทแี่ มบ างตัวจะไมถกู ตอ งตาม หลกั ไวยากรณ แตย อมรับเปน ภาษาท่ถี กู ตอง การแสดงคำออกมาเปน ขอความพเิ ศษเฉพาะภาษาหนง่ึ ๆ ลักษณะนามทใ่ี ชเ รียกขอความรายหนง่ึ ๆ เชน จดุ ไตต ำตอ เอามอื ซุบหีบ 39. อุปมาอปุ ไมย หมายถงึ สำนวนการพูดท่ีมีการเปรียบเทียบโดยมักจะมคี ำวา เปน อยางเหมอื น เปน คำเช่ือมในสำนวนนน้ั ๆ เสมอ เชน โงเ หมือนควาย หนา ซดี เปนไกต ม 40. คำพงั เพยคอื คำท่ผี ูร ูไ ดก ลาวเพือ่ สอนใจตนเองและผอู ื่น สบื เนอ่ื งกนั มาเปนวัฒนธรรม คำพงั เพยมกั มขี อคิด เชน คอหยัก ๆ สักแตวา เปนคน หมายถึง คนไมม ีความคิด 41. ภาษติ คอื คำกลา วทมี่ คี ติ เตรียมสอบครผู ูชว ย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คูมือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 10 42. สภุ าษติ คอื คำกลาวทม่ี คี ติดสี มควรยดึ ถอื ปฏบิ ัติ เชน คบคนพาลพาไปหาผดิ คบบัณฑติ บณั ฑิตพาไปหาผล หมายถึงคบคนดีเราก็จะไดด ีไปดวย 43. ราชาศพั ทตามพจนานกุ รม หมายถงึ คำเฉพาะใชสำหรับเพ็ดทลู พระเจาแผน ดนิ เจานายพระภกิ ษุสงฆ ขา ราชการ และสุภาพชน 44. ถวายการตอนรับ ถวายความจงรกั ภักดีทงั้ สองคำนีม้ กั พบเหน็ โฆษกท่สี ถานโี ทรทศั น วิทยพุ ูดเสมอๆ ซ่ึง เปน การใชราชาศพั ททผ่ี ิด ถวายการตอ นรับไมค วรใช ท่ีถูกท่ีควรใชคำวา “รับเสด็จ” ความจงรกั ภกั ดี กไ็ มอาจเปนสิง่ ทถ่ี วายได ควรใชค ำวา “จงรักภกั ดี” หรือ “มคี วามจงรกั ภกั ด”ี 45. ขอสังเกตการใชค ำราชาศัพทท ถ่ี ูกตอ ง (1) ถวาย ใชสำหรบั การมอบส่งิ ของ ถา เปน ของเลก็ ๆ ใชค ำวา “ทลู เกลา ฯถวาย” ถาเปน สง่ิ ของใหญใ ชค ำวา “นอมเกลา ฯถวาย” (2) ถาเปน คำราชาศัพททแ่ี สดงกริยาอยูแลวไมต องใชคำราชาศัพทน ำหนา อกี เชน เสดจ็ ตรสั เสวย ไม ตองใชคำวา ทรงเสด็จ ทรงตรัส ทรงเสวย อกี (3) คำราชาศัพทเ กยี่ วกบั อวัยวะตองมคี ำวา “พระ”นำหนา ดว ย เชน พระหตั ถ พระพกั ตร (4) ของใชท่ไี มม ีคำราชาศพั ทโดยเฉพาะก็ใหใ ชค ำวา “พระ” นำหนา เชน พระเกา อ้ี 46. การใชร ูปวรรณยกุ ตใ นภาษาไทยมหี ลักเกณฑ ดังน้ี (1) อักษรกลาง คำเปนผันไดครบเสยี ง เชน จา จา จา จา จา (2) อักษรสงู คำตายผนั ไดนอ ยทส่ี ุด เชน ผับ ผบ๊ั (3) รปู วรรณยกุ ตต ร(ี ไมต รี) จะใชไดเฉพาะกับอกั ษรกลางเทาน้ัน สว นอักษรตำ่ ถา มีเสียงเปนเสยี งตรจี ะ ใชร ูปวรรณยุกตโท เชน โนต เชติ๊ (4) คำทมี่ าจากภาษาตา งประเทศที่ไมมีรูปและเสยี งวรรณยกุ ต เชน บาลี สันสกฤต เขมร ยโุ รป ไมนิยมใชวรรณยกุ ต เชน เทคโนโลยี เทคนคิ (5) คำท่มี าจากภาษาตางประเทศที่มรี ปู และเสียงวรรณยุกต เชน ภาษาจนี จะผันตามหลกั ใน ภาษาไทย เชน กว ยเตีย๋ ว 47. การเขียนคำทีอ่ อกเสยี ง อะ โดยประวสิ รรชนยี  มหี ลกั เกณฑด งั นี้ (1) เปนคำที่กรอ นจากคำเดิม เชน หมากพราว เปนมะพรา ว (2) ออกเสยี ง อะ ในพยางคกลาง ตองประวิสรรชนยี เชน สาละวน อาละวาด สบั ปะรด (3) คำที่ใช ป ในภาษาบาลี และ ปร ในภาษาสันสฤต เมอ่ื นำมาใชในภาษาไทย ป จะไมป ระวสิ รรชนยี  แต ปร จะประวิสรรชนีย เชน ปทุม- ประทมุ (4) คำท่มี าจากภาษาบาลีและสนั สฤต อานออกเสียง อะ เต็มเสยี งพยางคพยางคท ายให ประวสิ รรชนยี เ ชน ลกั ษณะ วสิ าขะ ศลิ ปะ 48. การเขยี นคำทอี่ อกเสียง อะ โดยไมประวสิ รรชนมี ีหลกั เกณฑดงั นี้ (1) คำสมาสทม่ี ีเสยี ง อะ ก่ึงมาตราไมตองประวสิ รรชนยี  เชน อสิ รภาพ ศิลปะศาสตร (2) คำทีม่ าจากภาษาเขมรออกเสียง อะ ก่ึงมาตรา เชน ขนม ถนน ทบวง เตรยี มสอบครูผูชวย By ทีมฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูม ือเตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 11 (3) คำไทยแทท ีใ่ ชพยัญชนะตวั เดยี ว อา นออกเสยี ง อะ โดยไมตอ งประวิสรรชนียจ ะมีเพยี ง 2 คำ คอื ณ และ ธ (4) คำท่มี าจากภาษายโุ รปสว นใหญจะไมต อ งประวิสรรชนีย เชน แสตมป ไอศกรีม 49. หลักการใช –ำ มีดังน้ี (1) คำไทยแทท ่วั ๆ ไปมกั ใช อำ เชน ดำ รำ คำ (2) คำท่มี าจากภาษอนื่ บาลี-สันสฤต เชน อำมาตย อำมหิต เขมร เชน ชำนาญ 50. หลกั การใช ม มีดังน้ี (1) คำที่มาจากภาษาบาล-ี สนั สกฤตท่ีออกเสยี ง อะ มี ม เปนตวั สะกด เชน อปุ ถัมภ อมั พร คมั ภรี  (2) ใชก บั คำสนั สฤตท่ีมาจาก ส เม่อื นำมาใชภ าษาไทยใหแผลง ส เปนสมั เชน สัมผสั สัมมนา (3) ใชกับคำภาษายโุ รป เชน กรัม อลั บ้ัม สลัม 51. หลักการใช _รรม (ร หัน)ใชในคำทมี่ าจากภาษาบาลี สันสฤต ทม่ี คี ำเดมิ มาจากใช ร และมี ม ตามเชน กรรม มาจาก กรม 52. คำทใี่ ช ใ (ไมมวน) ในภาษาไทยมี 20 คำ คือ ใหญ ใหม ให สะใภ ใช ใฝ ใจ ใส หลงใหล ใคร ใคร ใน ใส ใด ใบ ใช ได ใบ ใย ใกล ผใู หญห าผาใหม ใหสะใภใชค ลอ งคอ ใฝใจเอาใสห อ มหิ ลงใหลใครขอดู จะใครลงเรือใบ ดูน้ำใสและปลาปู สิง่ ใดอยใู นตู มใิ ชอ ยูใตต ั่งเตยี ง บา ใบถ ือใยบวั หตู ามวั มาใกลเ คียง เลาทองอยา ละเลย่ี ง ยี่สบิ มว นจำจงดี หมายเหตุ เพมิ่ หมาใน เหลก็ ใน และหวงใย 53. คำทใี่ ช ไ(ไมม ลาย) ใชในภาษาไทยทีอ่ อกเสียงไอ นอกจากทใ่ี ช ใ ตามขอ 50 จะใช ไ (ไมม ลาย) ท้งั สน้ิ เชน ไป ไร ไฟ ไทย ไกล 54. คำทใี่ ช ไ_ย มกั ใชก ับคำท่มี าจากภาษาบาลี-สันสฤต ซึง่ เดิมเปน สระ เอยย เชน อาชาไนย (อาชาเนย)ฺ 55. คำทใี่ ช ย มักใชก ับคำทมี่ ีเสียง อะ และมี ย ตาม เชน ภยั (ภยฺ) อทุ ัย (อทุ ยฺ) นยั (นยฺ) ชัย (ชยฺ) 56. คำทใี่ ช ง เปน ตัวสะกดไมตอ งมี “ค” การนั ตม กั จะเขียนผดิ เสมอ ๆ จะมไี มกี่คำ ไดแ ก ชงโค ดำรง จำนง ประมง พะวง สำอาง 57. การนั ต หมายถงึ ตัวอักษรที่ไมออกเสยี งแตจ ะไมออกเสยี งไดต อเม่ือมีไมท ณั ฑฆาตกำกบั ตวั การันต จะเปน พยญั ชนะตวั เดียวสองตวั หรอื สามตัวเรียงกันเปนอกั ษรควบ อักษรนำ หรอื จะมรี ปู สระกำกับอยูดว ยกไ็ ด เชน จันทร อานวา จัน อนิ ทร อา นวา อนิ พชื พันธุ อา นวา พดื พนั 58. ทณั ฑฆาต คอื เครือ่ งหมาย ใชเ ขยี นบนอกั ษรท่ีเขียนบนตัวการันต เพื่อเปน การฆาเสียงมหี ลักการใชด งั นี้ (1) คำท่มี าจากภาบาล-ี สนั สฤต ใชไมทณั ฑฆาตเพอ่ื ลดจำนวนพยางคใหน อยลงเพอ่ื สะดวกใน เตรียมสอบครผู ูชวย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คูมอื เตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนง ครผู ชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 12 การออกเสียง เชน ศัพท อนนั ต วเิ ศษณ อนเุ คราะห (2) คำท่มี าจากภาษายุโรป ใชไมทัณฑฆาตเพอ่ื รกั ษารูปศพั ทเดิมของคำนัน้ เชน เปอรเซน็ ต มาจากคำวา Percent ชอลก มาจากคำวา Chalk (3) พยัญชนะตัวใดท่ีทำหนาท่เี ปนตัวสะกด และตัวสะกดนน้ั มสี ระกำกบั อยไู มตอ งใช ไมท ัณฑฆาต เชน โลกนติ ิ อา นวา โลก – กะ – นดิ (4) ถามี ร ควบกับตัวสะกดไมต อ งใชไ มทณั ฑฆาต เชน นรศิ ร ธนบตั ร สมทุ ร ยกเวน ภาพยนตร จันทร (5) คำไทยแทจ ะไมใชไมท ัณฑฆาต คำท่ใี ชไ มทัณฑฆาตจงึ เปน คำทมี่ าจากภาษาอนื่ (6) คำสมาสไมม ีการใชไ มทณั ฑฆาตระหวา งคำ เชน วันเฉลิมพระชนมพรรษา สังคมศาสตรบัณฑิต 59. การใช ซ ทร มีหลกั การใชด ังน้ี (1) คำไทยแทท ี่ออกเสยี ง “ซอ” ใหใ ช ซ เสมอ เชน ซมึ ซบ ไซ (2) คำที่มาจากภาษาเขมรใช ทร และออกเสยี ง ซ เชน ทรง แทรก ทรุดโทรม (3) คำที่มาจากภาษาบาล-ี สันสฤต ใช ทร และออกเสียง ว เชน อินทรีย ทรพั ย มทั รี 60. การใช น มหี ลกั การใชดงั นี้ (1) ใชใ นคำไทย เชน นั่ง นอน นก หนู (2) คำที่มาจากภาษาบาลี – สนั สฤต ที่มตี ัวสะกดอยูในแมก น มีตัวตามในพยญั ชนะ วรรคต (ต ถ ท ธ น) เชน คนั ถะ ชนนี สนั นษิ ฐาน (3) ใชในภาษาบาลี – สนั สฤตท่วั ไปไมอ ยูใ นหลักเกณฑการใช ณ เชน นารี นคร สถาน (4) ใชในคำทม่ี าจากภาษาอนื่ เชน ไนโตรเจน กวนอู จีน ญ่ีปุน (5) ใชเปน ตัวการนั ต เชน รตั น เชาวน กาญจน 61. การใช ณ มีหลกั การใชด ังน้ี (1) คำบาลี – สันสฤตที่มคี ำสะกดในแมกนมพี ยญั ชนะวรรคฎะเปนตัวตาม (ฆ ฐ ฑ ฒ ณ) หรอื ห เปน ตวั สะกดจะตอ งใช ณ เสมอ เชน กัณหา ตณั หา (2) ใชต ามหลงั ร ฤ ษ เชน นารายณ โรหิณี พราหมณ (3) คำไทยทใี่ ช ณ มาตั้งแตเดมิ เชน ณ ฯพณฯ เณร ณรงค 62. หลักการใช บัน บรร บันทกึ ไวด จู งดี บันมหี ลกั การใชดังนี้ เสียงบันลอื สน่นั ดัง บนั ดาลลงบนั ได บนั เหินไปจากรวงรัง รน่ื เรงิ บนั เทิงมี บนั โดยบนั โหยให เตรียมสอบครผู ูชว ย By ทมี ฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คูม ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 13 บนั ทกึ ถงึ ความหลงั บนั เดนิ นง่ั นอนบันดล บันกวดเอาลวดรดั บันจวบจัดตกแตง ตน คำ “บัน” นน้ั ฉงน ระวงั ปนกับ “ร หนั ”(คำท่ีออกเสยี ง “บัน” นอกจากนใ้ี ช “บรร”) บรร มีหลักการใชดงั นี้ 1. ใชกับคำทแี่ ผลงมาจาก ประ เชน ประจง – บรรจง ประดา – บรรดา ประจบ – บรรจบ ประกวด– บรรกวด ประจุ – บรรจุ ประโลม – บรรโลม ประทัด – บรรทัด ประทม –บรรทม ประทุก – บรรทกุ ประสาน – บรรสาน ประจวบ – บรรจวบ ประลยั –บรรลัย ประเจดิ – บรรเจดิ 2. ใชคำทแี่ ผลงมาจาก บริ หรอื ปริ เชน บรษิ ัท – บรรษัท บรหิ าร – บรรหาร ปริยาย – บรรยาย 63. การใช รร (ร หนั )เมอ่ื ประสมอยูก ับพยัญชนะตางๆ ไมมีตัวสะกด อา นออกเสียงเปนแมกน คอื เสียง “อัน” แตถ า มตี ัวสะกด รร กใ็ ชแทนไมห นั อากาศเทา น้นั มหี ลกั การใชค ือ (1) คำทมี่ าจากรูปศพั ทเดมิ รฺ (ร เรผะ) ในภาษาสนั สฤต เชน สรรพ มาจาก สรพฺ มรรค มาจาก มรคฺ (2) ใชในคำแผลงทม่ี าจากคำขน้ึ ตน ดว ย กระ ประ คระ เชน กรรโชก แผลงมาจาก กรรโชก บรรจง แผลงมาจาก ประจง ครรลอง แผลงมาจาก คระลอง 64. การเขียนประโยคตอ งคำนงึ ถงึ การเรยี งลำดบั ของบทตา งๆ ซึ่งจำแนกได 7 ชนดิ ดงั นี้ (1) บทประธานคอื บททที่ ำหนา ทเ่ี ปน ประธานของประโยค (2) บทขยายประธานคอื บททท่ี ำหนาทปี่ ระกอบหรอื ขยายบทประธานใหไ ดความย่ิงขึ้น (3) บทกริยาคอื บทที่แสดงความเปน ไปของบทประธานใหรูว าบทประธานเปนผทู ำ ผูถกู กระทำ (4) บทขยายกรยิ า คอื บททท่ี ำหนา ทปี่ ระกอบหรือขยายแตงบทกริยาใหไดค วามย่งิ ขึน้ (5) บทกรรม คอื บททีท่ ำหนา ทเี่ ปนผูถกู กระทำ (6) บทขยายกรรม คือ บททที่ ำหนาทีป่ ระกอบหรอื แตง บทกรรมใหไดใจความดียิ่งขึ้น (7) บทเชอื่ คอื บททท่ี ำหนาที่เช่อื มบทกับบท หรือประโยคกบั ประโยค หรือเสริมใหค วามเดนชดั ข้ึน 65. การทขี่ อความคลมุ เครอื ไมนา ฟง ไมร นื่ หู มีความบกพรอ งจาก (1) การใชถ อยคำภาษา (2) การผูกประโยค (3) การลำดับประโยค 66. การเรียงลำดบั ขอความดีท่ี มหี ลักดังน้ี (1) ประโยคทม่ี บี ทขยายประธานประกอบดวย บทประธาน +บทขยายประธาน+ บทกรยิ า + บทกรรม (นกั เรยี นชัน้ ม.1 แขงกีฬาฟตุ บอล) (2) ประโยคทม่ี บี ทขยายกรรม ประกอบดวย บทประธาน + บทกริยา+ บทกรรม + บทขยายกรรม (นกั เรยี นแขง กฬี าฟุตบอลภายใน) เตรยี มสอบครผู ูชวย By ทมี ฮกั แพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนงครผู ชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 14 (3) ประโยคทมี่ ีบทขยายกรยิ า บทประธาน + บทกรยิ า + บทขยายกริยา (นกเขาขันเพราะ) 67. การเรยี งขอ ความตอ งอานขอ ความท้ังหมดใหเ ขาใจจดุ หมายของเรื่องกอน แลว พยายามลำดับขอ ความ เหลาน้ันอยางเปนเหตเุ ปน ผลกนั (ขอ สอบมกั จะกำหนดใหม า 4 ประโยค) โดยคำนงึ ถึงความสละสลวย ถกู ตอง ตามหลักภาษาไทย และหากเปนคำประพันธจ ะตอ งรูวาคำประพันธนนั้ เปนคำประพันธประเภทใด จงึ จะ เรยี งลำดบั ไดถูกตอง 68. ลกั ษณะเรยี งความดีทปี่ ระกอบดวย (1) ความเปน เอกภาพ หมายถึง ตอ งมีความมุงหมาย และใจความสำคญั เพยี งอยา งเดียว (2) มีสมั พนั ธภาพ หมายถึง ขอ ความท่ีเขียนไปตามลำดับตอเนอื่ งกนั เพ่อื ไมใหเ นือ้ ความขาดตอนและ มคี วามชดั เจน (3) มีสารตั ถภาพ มกี ารเนน ใจความสำคญั และมขี อความสนับสนุนใหม ใี จความน้ันเดน ยิง่ ขึน้ (4) การยอ หนา ตองยอ หนา ใจความสำคัญและมีขอความสนับสนนุ ใหใ จความน้นั เดนย่งิ ข้ึน 69. ประโยคหมายถึง กลมุ คำท่มี คี วามสัมพนั ธกันตามหลักภาษาไทย มีใจความครบถว นสมบูรณ ในประโยคหน่งึ ๆ ควรประกอบดว ยประธานและกริยาเปนอยางนอย 70. ประโยค 2 สว นคือ ประโยคท่ปี ระกอบดวย บทประธานกับบทกริยา กม็ ีใจความสมบูรณเ ขาใจ ไดเ ชน แดดออก นกรอง ชางว่งิ 71. ประโยค 3 สวนคอื ประโยคทีป่ ระกอบดว ย บทประธาน บทกริยา และมบี ทกรรม เพอ่ื ใหไ ด ใจความสมบรู ณย่งิ ข้นึ เชน ฉนั กินขา ว แมป รงุ อาหาร 72. ประโยค มี 3 ชนดิ คอื (1) ประโยคบอกเลา คอื ประโยคท่ีมีการเลา เร่อื งกลา วถงึ หรอื ตอบรับ เชน พอ ไปทำงานคณุ แมไปงาน แตงงาน (2) ประโยคคำถาม คอื ประโยคทมี่ ใี จความแสดงความไมเขาใจและตองการคำตอบ มีท้งั ประโยคท่ี แสดงลักษณะธรรมดาและปฏิเสธ เชน เขาประชุมกันที่ไหน เธอเปน คนเขยี นหรอื เขาไมไ ดเปน คนทำหรือ (3) ประโยคปฏเิ สธ คือ ประโยคท่ีมีใจความปฏิเสธ จะตองคำปฏิเสธ เชน ไม ไมไ ด หา มอยา เชน หา ม เขียน อยา ไปนะ 73. รูปแบบของประโยค แบงได 3 รูปแบบ คือ (1) ประโยคความเดยี ว(เอกัตถประโยค) คอื ประโยคทม่ี ขี อ ความอนั บรบิ ูรณอยูเพยี งหนงึ่ ขอ ความ ซ่ึง ประโยคชนิดนี้เรามกั ใชก นั อยเู ปนประจำ เชน ฉนั เปนนักเรยี นผมมีนอ งสาว (2) ประโยคความรวม(อเนกตั ถประโยค) คอื ประโยคท่ีรวมเอาประโยคความเดียวตั้งแต 2ประโยคขึ้น ไปรวมเขาไวดวยกัน โดยจะมคี ำสนั ธานเปน บทเชอื่ มระหวางประโยค เพอ่ื ความสละสลวย เชน พแ่ี ละนอ งเรยี นเกง เธอจะไปดูหนงั หรือดดู นตรี (3) ประโยคความซอน (สงั กรประโยค) คอื ประโยคทมี่ ีประโยคเล็กตง้ั แต 2 ประโยคขึ้นไป เตรียมสอบครผู ูชว ย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คูมอื เตรียมสอบบรรจเุ ขา รบั ราชการ ตำแหนง ครูผชู ว ย ตามหลักเกณฑใ หม 15 มารวมกัน โดยมีประโยคหลกั ท่มี ใี จความสำคญั เพยี งประโยคเดียว เรียกวา มุขยะประโยค และประโยคยอยทำ หนา ท่ปี ระกอบประโยคหลัก เรยี กวา อนุประโยค เชน ฉนั เหน็ เขาตีกนั บานทีฉ่ ันอยูเกา แกม ากเขาไปอังกฤษ เพอ่ื เรียน 74. การยอความ คอื การเกบ็ ใจความสำคญั ของเรือ่ งมาเรียงใหมใ หส นั้ ๆ กะทัดรดั แตย ังคงไดเ รอื่ งราว ครบถวนไมเปลย่ี นแปลง การยอ ความใหไ ดด ีตองอาศัยหลักการอา น ฟง และเขียนประกอบกนั โดยเฉพาะคนที่ ฟงอะไรแลวเขาใจทันทีจะสามารถยอความไดเ กง เพราะสามารถจับใจความไดแ ละถายทอดได 75. การยอ ความมีจดุ ประสงค (1) เพ่ือเกบ็ เนือ้ เร่ือง ใชย อ ความท่ีเกี่ยวกบั ประวัตสิ าสตร ขาวเหตุการณ คือ การเกบ็ ใจความสำคัญไว อยา งสมบูรณ ตัดพลความ (ใจความทไี่ มส ำคัญ) ออกไป (2) เพอื่ เกบ็ ความคดิ ใชย อความที่เก่ยี วกับบทความ บทวจิ ารณ รายงาน โดยการยอ ตอ งเขาใจความ คดิ เหน็ และเปาหมายของเรือ่ ง การยอแบบน้ีจะสั้นบางครง้ั อาจมเี พยี งประโยคเดยี วกไ็ ด 76. วิธียอ ความควรทำอยา งไร (1) อานเร่ืองทีย่ อ ใหต ลอดอยา งละเอียด เรอื่ งอะไร.....ใครทำอะไร......ท่ไี หน....กับใคร......เมื่อใด......... อยา งไร ผลเปนอยา งไร.......... ไมควรใชว ิธอี านไปยอ ไป (2) แยกเนื้อหาเปน ประเด็น ๆ (3) อานขอความใหจบตอนหน่งึ แลว สรปุ ไว (4)นำใจความท่ีสรปุ ไวมาเรยี บเรียงใหมใหเ ปน ถอยคำของผยู อเอง (5) ควรใชประโยคส้นั ๆ ไมต อ งขยายใจความจากเรือ่ งเดมิ (6) อา นทบทวนแกไ ขจุดบกพรอ ง 77. การเขยี นอธบิ ายความหมายของคำหมายถึง การบรรยายดว ยขอ ความส้ัน ๆ ใหผ ูอา นเขาใจความหมาย ของคำนน้ั ในแงม ุมพรอมทง้ั ยกตัวอยา งประกอบดว ย เชน กระบวนการ หมายถึง ปรากฎการณธ รรมชาติที่ คอ ยๆ เปล่ียนแปลงอยางมีระบบไปสผู ลอยา งหนึ่ง เชน กระบวนการเจรญิ เติบโตของพืชและยงั หมายถึง กรรมวิธีท่กี ระทำอยา งตอเน่ืองจนสำเร็จ เชน กระบวนการทางเคมีเพอื่ ผลิตน้ำมันเชอ้ื เพลิง 78. การอา นจบั ใจความ ผูอา นตองใชค วามรูความสามารถสงู กวาการอา นเพอ่ื ความบันเทิง เพราะเปน การ อา นเพ่ือความรู การอานท่จี ะทำใหเ กิดความเขา ใจ ควรยดึ ถอื หลกั ปฏิบัตดิ งั น้ี (1) สามารถตคี วามได คือ สามารถเก็บความเดมิ มาเรียบเรยี งใหมได (2) สรปุ ไดร วดเรว็ ดวยความกะทัดรัด (3) ขยายความไดชดั เจนขน้ึ หรือใหเ รอื่ งเดิมสมบูรณข ้ึน 79. การใชอ กั ษรซ้ำอกั ษรซำ้ คอื พยัญชนะตวั สะกดและตวั ตามเปนพยญั ชนะซำ้ ตัวกัน มีหลกั การใชดงั น้ี (1) ถา พยญั ชนะท่เี ปน ตวั ตาม ไมม สี ระกำกับหรอื ไมม ตี วั สะกด ใหตดั ออกหนง่ึ ตวั เชน จิตต เปน จิต เขตต เปน เขต รัชชกาล เปน รัชกาล อสิ สระ เปน อสิ ระ สัจจ เปน สัจ บญุ ญ เปน บญุ เตรยี มสอบครผู ูชว ย By ทมี ฮักแพง เรียบเรยี งโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู อื เตรียมสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนง ครผู ชู วย ตามหลักเกณฑใหม 16 (2) ถา พยญั ชนะท่เี ปนตัวตามมีสระกำกับ หรือมตี ัวสะกดใหค งรูปไว เชน วัชรี สญั ญา สกั การเมตตา บญุ ญาธิการ อยั ยิกา รัชชูปการ บคุ คล จิตตานุปสสนา (3) คำบางคำถึงแมตัวตามมีสระกำกับ หรือมีตวั สะกด ก็ตองตดั ตัวหนาออก เชน นิสสยั เปน นสิ ยั ยตุ ติ เปน ยตุ ิ อนสุ สรณ เปน อนสุ รณ นสิ สิต เปน นสิ ิต วิชชา เปน วชิ า เตรยี มสอบครผู ูชวย By ทมี ฮักแพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรัทธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 17 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 18 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 19 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 20 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 21 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 22 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 23 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 24 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 25 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 26 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 27 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 28 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 29 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 30 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 31 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 32 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 33 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 34 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 35 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 36 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 37 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 38 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 39 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 40 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 41 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 42 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 43 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 44 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง

คมู ือเตรยี มสอบบรรจเุ ขา รับราชการ ตำแหนงครูผชู วย ตามหลกั เกณฑใหม 45 เตรียมสอบครูผูชวย By ทีมฮกั แพง เรยี บเรียงโดย อ.ใจนำพา ศรทั ธานำทาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook