Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำรายงานแผนพัฒนางานนิเทศการศึกษาส่วนบุคคล

การจัดทำรายงานแผนพัฒนางานนิเทศการศึกษาส่วนบุคคล

Published by charn1015, 2021-12-20 15:56:03

Description: การจัดทำรายงานแผนพัฒนางานนิเทศการศึกษาส่วนบุคคล

Search

Read the Text Version

แผนนิเทศรายบุคคล Anlytical Thinking skill ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๕ กล่มุ งานแผนและนโยบายและการบรหิ ารการศึกษา BMA superviser หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สำนักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร PRANAKHON model Education PRANAKHON model Active learning PRANAKHON model Need assessing PRANAKHON model Education of Analytical นายชาญชาติ ถนอมตน ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ โรงเรยี นคลองลำเจียก (หวังทองบำรงุ ) สงั กัดสำนักงานเขตบงึ ก่มุ กรุงเทพมหานคร โครงการฝกึ อบรมหลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร ก่อนแต่งตง้ั ให้ดำรงตำแหน่งศกึ ษานิเทศก์

คำนำ รายงานการจัดทำรายงานแผนพฒั นางานนิเทศการศึกษาส่วนบุคคล หลักสูตรการพัฒนา ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรงุ เทพมหานคร กอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ำรงตำแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ประกอบด้วยโรงเรยี นทรี่ ับผิดชอบ สงั กัดสำนกั งานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรยี น ได้แก่ ๑) โรงเรียน วดั มกฏุ กษัตรยิ าราม ๒) โรงเรยี นวดั ราชนดั ดา ๓) โรงเรียนวดั ใหมอ่ มตรส ๔) โรงเรยี นวดั ตรที ศเทพ ๕) โรงเรยี นวัดอนิ ทรวหิ าร ตามรูปแบบ (PRANAKHON Model) มีจำนวน ๘ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) Preparing เตรยี มความพร้อม ศึกษาคน้ คว้า สมั ภาษณ์ ๒)Retrieving การนำขอ้ มูลทีค่ น้ พบมาใช้ ๓) Analysing วเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่ค้นพบ ๔) Need Assessing การประเมนิ ความตอ้ งการจำเปน็ ๕) Knowledge making การสรา้ งบทเรยี น หรือองคค์ วามร้อู งค์กร ๖. Happening การดำเนนิ การแสวงหาข้อคน้ พบ แนวทางแก้ไข และพฒั นาในระหวา่ งการดำเนนิ งาน ๗. Observing การตรวจสอบ ความสอดคลอ้ ง และ ๘) Networking เชอื่ มโยงความรู้ เปน็ แนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เนอื่ งจากขอ้ คน้ พบ จากการสงั เคราะห์ รายงานการประเมินตนเองสถานศึกษา Self-Assessment Report (SAR) คือ ควรมกี ารจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นใหผ้ ้เู รียนเกิดการคดิ วเิ คราะห์ในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ขอขอบคุณ และขอเปน็ กำลังใจให้กบั โรงเรียนที่รบั ผดิ ชอบ สงั กดั สำนกั งานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรยี น ได้แก่ ๑) โรงเรยี นวัดมกุฏกษัตรยิ าราม ๒) โรงเรยี นวัดราชนดั ดา ๓) โรงเรียนวัดใหมอ่ มตรส ๔) โรงเรยี นวดั ตรีทศเทพ ๕) โรงเรียนวดั อินทรวิหาร ทม่ี ุง่ ม่นั ใฝ่สมั ฤทธิ์ และประสานความร่วมมือ ในการพัฒนาการศกึ ษาเพ่อื ผเู้ รยี นอย่างดยี ง่ิ และเตม็ ความสามารถ ชาญชาติ ถนอมตน ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๔

สารบญั หนา้ คำนำ สารบญั สว่ นที่ 1 บทนำ............................................................................................................................ ๑ ทมี่ าและความสำคญั ของแผนนิเทศรายบุคคล................................................................... ๑ วตั ถุประสงคข์ องการนเิ ทศการศึกษา................................................................................. ๓ ขอบเขตการนิเทศการศึกษา.............................................................................................. ๓ ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ ........................................................................................................... ๔ สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการนเิ ทศการศึกษา ........................................................................................... ๕ ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมการจัดการศึกษาของโรงเรยี นในความรับผิดชอบ............. ๕ วิสัยทศั น์..........................................................................................................................๑๐ พนั ธกิจ ............................................................................................................................๑๐ เปา้ ประสงค์ .....................................................................................................................๑๐ การออกแบบการนิเทศ ....................................................................................................๑๑ ขอบข่ายการนิเทศการศึกษา ...........................................................................................๑๕ รูปแบบการนเิ ทศ/กจิ กรรมการนเิ ทศทใ่ี ช้........................................................................๑๖ การประเมนิ ผล(ตัวชวี้ ดั ความสำเร็จ)................................................................................๑๘ สว่ นที่ 3 แผนปฏิบัติการนเิ ทศ...................................................................................................๒๐ แนวปฏิบตั ิการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล ..................................................................๒๐ โรงเรยี นในความรบั ผิดชอบ .............................................................................................๒๐ โครงการ/กจิ กรรมทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ...............................................................................๒๐ ภารกิจงาน ขอบขา่ ยการนิเทศและอืน่ / ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย............................................๒๐ ส่วนที่ 4 ปฏิทินการนเิ ทศการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ..............................................2๒ เดอื นมกราคม ..................................................................................................................2๒ เดอื นกมุ ภาพันธ์...............................................................................................................2๒ เดือนมีนาคม....................................................................................................................2๔ เดอื นเมษายน...................................................................................................................๒๕ เดอื นพฤษภาคม...............................................................................................................๒๖ เดอื นมิถุนายน..................................................................................................................๒๗ เดอื นกรกฎาคม................................................................................................................๒๘ เดอื นสิงหาคม ..................................................................................................................๒๙ เดือนกันยายน..................................................................................................................๓๑ ภาคผนวก...................................................................................................................................3๓

ส่วนท่ี 1 บทนำ 1. ทมี่ าและความสำคญั ของแผนนิเทศรายบุคคล การจัดการศึกษาเป็นการสร้างความเจริญงอกงามให้แก่ผู้เรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต พระนคร มีข้อค้นพบที่เป็นความต้องการจำเป็น จากการวิเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง Self- Assessment Report (SAR) พบว่า ควรมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ใน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นข้อค้นพบที่ควรได้รับการส่งเสริม และสนับสนุน ด้วยนวัตกรรมการนิเทศแบบ PRANAKHON model เพื่อฝึกทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ด้วยการจัดการศึกษา ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการ 3 ด้านได้แก่ กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการบริหาร และ กระบวนการนิเทศ โดยมีผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบด้านกระบวนการเรียนการสอน ผู้บริหารรับผิดชอบ กระบวนการบริหาร และผู้นิเทศรับผิดชอบกระบวนการนิเทศ เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุน การจัด การศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานครฉบับที่ 3 ที่ ผู้บริหารกรุงเทพมหานครได้กำหนดนโยบายสำคัญด้านการศึกษา ข้อที่ ๑ พัฒนานักเรียนให้มีทักษะ การคิดวิเคราะห์และทักษะการใช้ชีวิตเพื่อส่งเสริมความรอบรู้และการดำรงตนในรูปแบบวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) สำหรับการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มีการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่าง มีคณุ ภาพ ดว้ ยการพัฒนาแผนการจดั การศกึ ษา เป็นระยะสั้น และระยะยาว ในแตล่ ะปีงบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 – 2569 กรุงเทพมหานครไดก้ ำหนดวิสัยทัศนใ์ นการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาไว้ว่า “จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพเพื่อพัฒนาสู่อัตลักษณ์ผู้เรียนแห่งมหานครที่พร้อม ดว้ ยคณุ ธรรม” โดยกำหนดยุทธศาสตรใ์ นการพฒั นาเปน็ 5 ยุทธศาสตรด์ งั นี้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาผู้เรียนตามอัตลกั ษณ์แห่งมหานคร ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับประสิทธิภาพจัดการศึกษาตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทุกกลุ่ม อยา่ งเท่าเทยี มและทั่วถึง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พฒั นาประสิทธิภาพการจัดการดจิ ิทัลเพอ่ื การศึกษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 พัฒนาทนุ มนุษยแ์ ละบรหิ ารจดั การสูอ่ งค์การสมรรถนะสงู แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกรงุ เทพมหานครฉบบั ที่ 3 แล้ว ผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร ไดก้ ำหนดนโยบายสำคัญด้านการศกึ ษาดังน้ี 1. พัฒนานักเรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการใช้ชีวิตเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ และการดำรงตนในรูปแบบวิถชี วี ติ ใหม่ (New Normal) 2. พัฒนาทักษะครูและนักเรียนให้มีสมรรถนะในการใช้เทคโนโลยีและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ และการส่อื สาร 3. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการศึกษา Big data เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของกรุงเทพมหานคร

๒ 4. ปลูกฝงั นกั เรยี นให้มีหลักคดิ ที่ถูกต้องดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและความเปน็ พลเมอื งโลก จากยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร หน่วย ศึกษานิเทศก์ในฐานะ หน่วยงานผู้ดูแล กำกับ ติดตาม การจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานคร ได้กำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยศึกษานิเทศก์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2569 ไว้ว่า “องค์กรพัฒนาการศึกษามืออาชีพ สู่อัตลักษณ์ผู้เรียนแห่งมหานคร” และกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาใหส้ อดคล้องกับเป้าหมายของกรงุ เทพมหานคร ไว้ 4 ยทุ ธศาสตร์ 10 เปา้ ประสงค์ ได้แก่ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการสู่ความเป็นเลิศ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พัฒนานวตั กรรมเพือ่ สนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงาน ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พัฒนาการนิเทศเชิงรุก ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาทรัพยากรมนษุ ยส์ ู่ความย่งั ยืน เป้าประสงคท์ ่ี 1 หน่วยศึกษานิเทศก์ทำงานอย่างเป็นระบบ เป้าประสงค์ท่ี 2 หน่วยศึกษานิเทศก์มีวัฒนธรรมองค์กรท่ีเข้มแข็ง เป้าประสงคท์ ่ี 3 ศึกษานิเทศก์มีความเชี่ยวชาญทางวิชาการ เป้าประสงคท์ ่ี 4 ศึกษานิเทศก์มีนวัตกรรมการนิเทศที่มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ท่ี 5 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เป้าประสงค์ที่ 6 สถานศึกษาได้รับสนับสนุนทรัพยากรจากเครือข่ายความร่วมมือ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปา้ ประสงคท์ ี่ 7 ผู้บริหารสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา เป้าประสงค์ท่ี 8 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษามีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ เป้าประสงค์ที่ 9 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริม อัตลักษณ์ของผู้เรียนแห่งมหานคร เป้าประสงค์ที่ 10 ผู้เรียนรู้หน้าที่ มีจิตสาธารณะ รักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นนวัตกรที่พร้อมรับทุก การเปล่ียนแปลง จากเป้าหมายด้านการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานคร สำนักการศึกษา หน่วยศึกษานิเทศก์ กลุ่มงานแผนและนโยบายและการบริหารหารการศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มงานหนึ่งของหน่วยศึกษานิเทศก์มีภาระ งานทไี่ ด้รับมอบหมายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามพันธกจิ 4 ดา้ นได้แก่ พนั ธกิจข้อที่ 1 การวางแผนงานการนเิ ทศการศึกษาอย่างมีประสทิ ธิภาพ พนั ธกิจขอ้ ที่ 2 พฒั นาการนเิ ทศการบริหารการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ พันธกิจขอ้ ที่ 3 พฒั นาการจัดการศกึ ษาระดับปฐมวยั ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษากรุงเทพมหานคร พันธกจิ ข้อที่ 4 พัฒนาการดำเนนิ การงานแนะแนวในสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ศึกษานิเทศก์เป็นตำแหน่ง บุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พุทธศักราช 2547 ปฏิบัติหน้าที่ให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และเป็นสร้างความเข้าใจในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ส่งผลต่อผลการประเมินนโยบายของ การก่อนรูปนโยบายเพื่อแก้ไข และพัฒนาการศึกษา โดยมีเป้าประสงค์จากต้นสังกัดกรุงเทพมหานคร และ

๓ แผนพัฒนางานนิเทศการศึกษาส่วนบุคคลของศึกษานิเทศก์น้ี เป็นปัจจัยในการดำเนินการนโยบาย สู่ความสำเร็จในระดับหน่วยจุลภาคคือสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อระดับองค์การมหภาคคือกรุงเทพมหานคร การวางแผนการดำเนินงานนิเทศแบบพระนคร (PRANAKHON model) เป็นการกำหนดแนวทางหรือเป็น ระบบวงจรควบคุมคุณภาพการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย ผู้เรียนแห่งมหานครที่พร้อมด้วยคุณธรรม ทตี่ ัง้ ไว้ 2. วตั ถุประสงค์ของการนิเทศการศึกษา 2.1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการวางแผนงานการนิเทศการศึกษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ให้มี ประสิทธิภาพ 2.2 เพื่อนิเทศ ติดตามกระบวนการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา กรงุ เทพมหานคร 2.3 เพื่อนเิ ทศ ติดตามการบรหิ ารการศกึ ษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานครในกลุ่มกรงุ เทพกลาง 2.4 เพ่ือนเิ ทศ ติดตามการดำเนินการงานแนะแนวในสถานศกึ ษาโรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานคร 2.5 เพื่อนิเทศ ติดตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสำนักงานเขตพระนคร ดว้ ยการนิเทศแบบ PRANAKHON model 3. ขอบเขตการนิเทศการศกึ ษา 3.1 กลุ่มเปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมายในการดำเนินงานการนเิ ทศเพอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ไดแ้ ก่ 1. ศกึ ษานิเทศก์ของหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ 2. โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครท่ีเปิดสอนระดับปฐมวัย จำนวน 429 โรงเรียน 3. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาของโรงเรยี นสังกดั กรุงเทพมหานครในกลุ่มเขตกรงุ เทพกลาง 4. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครูผ้รู ับผิดชอบกิจกรรมแนะแนวของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ในกลมุ่ เขตกรงุ เทพกลาง 5. โรงเรียนในความรบั ผิดชอบ ได้แก่ สำนกั งานเขตพระนคร 3.2 ระยะเวลาในการดำเนินงาน ตัง้ แต่ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 256๔ ถึงวนั ที่ 30 กนั ยายน 256๕

๔ 4. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. หนว่ ยศึกษานิเทศก์มแี ผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบตั ิราชการประจำปี ท่สี อดคล้องกับบริบท โรงเรียนในสังกดั กรุงเทพมหานคร 2. หน่วยศกึ ษานิเทศกม์ ีคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านและปฏบิ ตั ิงานตามแผนอยา่ งเป็นระบบ 3. ผูบ้ ริหารสถานศึกษา บริหารจดั การสถานศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. สถานศกึ ษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษากรุงเทพมหานครในระดบั ปฐมวยั 5. สถานศึกษาดำเนินการงานแนะแนวอย่างมคี ณุ ภาพ 6. โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพระนครมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพด้านการจดั การศึกษาเพิม่ ขนึ้

ส่วนที่ 2 ทศิ ทางการนเิ ทศการศกึ ษา 1. การวิเคราะห์สภาพปัจจบุ นั ปัญหา บรบิ ทและข้อมูลพนื้ ฐานของโรงเรยี น ในความรับผิดชอบ 1.1 ผลการจัดการศึกษาตามมาตรฐานสถานศกึ ษาในปีที่ผ่านมา รายการ ผลการจดั การศกึ ษา (จำนวน รร./ร้อยละ) ขอ้ ค้นพบ มฐ. 1 คุณภาพเด็ก กำลงั พฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเย่ียม เด็ก มฐ. 2 กระบวนการ ๑. มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายอารมณ์ จิตใจ สงั คม บรหิ ารและการ ระดบั ปฐมวยั และสติปัญญาอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ จัดการ ๒. มกี ารสร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ 0 0 02 3 ตรง เลน่ และปฏบิ ัติกจิ กรรม เรียนรู้ลงมอื ทำ ๓. สรา้ งองคค์ วามร้ดู ว้ ยตนเองอย่างมคี วามสุข 0 0 0 40 60 ๔. มบี รรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรยี น ท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ 0 0 03 2 ๕. มสี ว่ นร่วม ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กับวัย 0 0 0 60 40 สถานศึกษา ๑. มกี ารจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาที่ครอบคลุม พฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่นิ สอดคล้องกบั หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 ๒. มีการออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีเตรียม ความพร้อมและไม่เรง่ รดั วชิ าการ เน้นการเรยี นรู้ ผา่ นการเลน่ และการลงมอื ปฏบิ ัติ ตอบสนอง ความต้องการและความแตกต่างของเดก็ ปกติ และกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ ๓. มกี ารใหค้ วามช่วยเหลอื เดก็ ผ่านงานวจิ ยั ใน ช้ันเรียนและการ ๔. มีแผนจดั ประสบการณ์ IEP เปน็ ของตนเอง ซึ่งสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของครอบครวั ชมุ ชนและท้องถน่ิ ๕. มกี ารประเมนิ และพฒั นาหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั หลักสตู รการศกึ ษา ปฐมวยั และบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ

๖ รายการ ผลการจดั การศกึ ษา (จำนวน รร./รอ้ ยละ) ข้อค้นพบ มฐ. 3 การจัด ประสบการณท์ ีเ่ นน้ กำลงั พฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม ผู้สอน เดก็ เปน็ สำคัญ ๑. มกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลเด็กเป็นรายบุคคล 0 0 03 2 จัดทำแผนการจดั ประสบการณ์ จากการ รวมคะแนน วิเคราะห์มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ใน ท้ังหมด 0 0 0 60 40 หลกั สตู รสถานศกึ ษา ๒. มกี จิ กรรมทีส่ ง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ครบทุก คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ ๐ ๐ ๐8 7 ด้านทง้ั ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ด้าน ระดบั คณุ ภาพ สงั คม และดา้ นสตปิ ัญญาไม่มุ่งเนน้ การพัฒนา 89.33 ดา้ นใดด้านหนง่ึ เพยี งด้านเดียว มฐ.1 คณุ ภาพ ๓. มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริง ผูเ้ รียน 4.47 = ดีเลิศ ดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย ๔. มีผูป้ กครองและผเู้ กยี่ วขอ้ งมสี ่วนร่วมนำผล ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การประเมนิ ที่ได้ไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก 0 0 04 1 ผเู้ รียน 0 0 0 80 20 ๑. มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ มีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๒. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณอภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ และ แก้ปญั หาได้ ๓. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสือ่ สารเพอื่ พัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นรู้ การสื่อสาร ในการทำงาน ๔. มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และ เจตคตทิ ีด่ ีพรอ้ ม ที่จะศึกษาตอ่ ในระดับชัน้ ที่ สงู ขนึ้ และการทำงานหรอื งานอาชพี ๕. มสี ขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คมท่ี ดี มคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามที่ สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขดั กับกฎหมายและ วฒั นธรรมอันดขี องสังคม

๗ รายการ ผลการจดั การศึกษา (จำนวน รร./รอ้ ยละ) ข้อคน้ พบ กำลงั พฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม ๖. มคี วามภมู ิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย และรจู้ กั การยอมรับที่จะอย่รู ว่ มกนั กับผู้อืน่ มฐ. 2 กระบวนการ 0 0 0 5 0 ผบู้ ริหารสถานศึกษา บริหารและการ 0 0 0 100 0 ๑. มกี ารกำหนดเป้าหมายวิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ จัดการ ของสถานศกึ ษา ๒. มีแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓. แผนปฏิบัตริ าชการประจำปี ๔. มคี วามรว่ มมอื กนั ในการทำงาน มฐ. 3 กระบวนการ 0 0 0 5 0 ผูส้ อน จัดการเรียนการ 0 0 0 100 0 ๑. มโี ครงการโรงเรียนคุณธรรม สง่ เสรมิ ผูเ้ รยี น สอนทีเ่ น้นผเู้ รยี น เกิดการเรียนรถู้ งึ การทำความดเี พือ่ นำไปส่กู าร เป็นสำคัญ พัฒนา ปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์ ๒. มกี ารจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning และการสอนแบบโครงงาน รวมคะแนน ๐ ๐ ๐ 14 1 ท้งั หมด ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ 81.33 ระดับคุณภาพ 4.07 = ดเี ลศิ จากตารางผลการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานสถานศึกษาในปีที่ผา่ นมาของโรงเรยี นที่รบั ผดิ ชอบ สงั กดั สำนักงานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรยี น คือ 1) โรงเรยี นวัดมกุฏกษตั รยิ าราม 2) โรงเรยี นวัดราช นดั ดา 3) โรงเรียนวัดใหมอ่ มตรส ๔) โรงเรียนวัดตรที ศเทพ และ ๕) โรงเรียนวดั อนิ ทรวิหาร พบว่า ระดบั ปฐมวยั จำนวน ๓ มาตรฐาน ในภาพรวมอย่รู ะดับดีเลศิ x\" = 4.47 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.33 และ ระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน จำนวน ๓ มาตรฐาน ในภาพรวมอยรู่ ะดบั ดีเลิศ x\" = 4.07 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.33 ๑.2 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโรงเรียนในความรบั ผิดชอบในปที ่ีผา่ นมา 1.๒.๑ ผลการประเมนิ พฒั นาการระดบั ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2563 ของโรงเรยี น ในสังกัดสำนกั งานเขตที่รับผดิ ชอบ จำนวนนกั เรยี น จำนวนเด็กท่ีมผี ลการประเมินพฒั นาการ เตม็ สำนกั งานเขต ดี พอใช้ ควรส่งเสรมิ /ควร ปรบั ปรงุ พระนคร 1. วดั มกุฏกษัตรยิ าราม 72 70 2 0 2. วดั ราชนัดดา 17 15 2 0 3. วดั ใหม่อมตรส 10 10 0 0 ๔. วัดตรีทศเทพ 18 18 0 0 ๕. วัดอินทรวิหาร 18 17 1 0

๘ จำนวนนักเรยี น จำนวนเด็กทม่ี ีผลการประเมนิ พฒั นาการ เต็ม สำนกั งานเขต ดี พอใช้ ควรสง่ เสรมิ /ควร ปรับปรุง รวม ๑๓๕ ๑๓๐ ๕ ๐ รอ้ ยละ 100 96.30 3.70 0 ค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 98.77 ระดับคุณภาพ ๒.9๖ จากตารางผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2563 ของโรงเรยี นท่ีรับผดิ ชอบ สังกัดสำนกั งานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรียน คือ 1) โรงเรียนวดั มกุฏกษตั รยิ าราม 2) โรงเรียนวดั ราช นดั ดา 3) โรงเรียนวัดใหม่อมตรส ๔) โรงเรยี นวัดตรที ศเทพ และ ๕) โรงเรียนวดั อินทรวิหาร พบวา่ ผลการประเมนิ พฒั นาการระดับปฐมวัย ในภาพรวมอยู่ระดับดี x\" = ๒.๙๖ คิดเป็นรอ้ ยละ 9๘.๗๗ ๑.2.2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นปกี ารศึกษา 2563 ของโรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขต ท่รี ับผดิ ชอบ จำนวน จำนวนนกั เรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธริ์ ะดับ 3 ขน้ึ ไป สำนักงานเขต นกั ภาษา คณิต วิทยา สงั คมฯ สขุ ศิลปะ การงาน ภาษา เรยี นเต็ม ไทย ศาสตร์ ศาสตร์ ศึกษา อาชพี ฯ อังกฤษ พระนคร 1. วัดมกฏุ กษตั รยิ าราม 291 172 141 190 224 236 211 209 150 2. วัดราชนดั ดา 56 38 32 38 42 49 51 50 44 3. วดั ใหม่อมตรส 42 29 24 38 35 38 39 38 29 ๔. วัดตรีทศเทพ 79 52 51 57 70 67 62 62 41 ๕. วัดอนิ ทรวิหาร 82 62 61 73 71 78 77 78 66 รวม 534 353 309 396 442 468 440 437 330 ร้อยละ 100 66.10 57.87 74.16 82.77 87.64 82.40 81.84 61.80 จากตารางผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนปกี ารศึกษา 2563 ของโรงเรียนท่ีรับผิดชอบสังกดั สำนกั งาน เขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรยี น คอื 1) โรงเรยี นวดั มกุฏกษตั ริยาราม 2) โรงเรยี นวัดราชนัดดา 3) โรงเรียนวัดใหม่อมตรส ๔) โรงเรียนวดั ตรีทศเทพ และ ๕) โรงเรียนวดั อนิ ทรวหิ าร พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น ระดับ ๓ ขน้ึ ไป เรยี งลำดบั จากมากไปหานอ้ ย มผี ลสัมฤทธเ์ิ ฉลย่ี สงู สุด คือ กลุม่ สาระ การเรยี นรูส้ ุขศึกษา และพลศกึ ษา อยใู่ นระดับมากท่ีสุด คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๗.๖๔ รองลงมา คอื กลุ่มสาระ การเรียนรู้ คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๒.๗๗ และมผี ลสมั ฤทธ์เิ ฉลยี่ ต่ำสุด คือ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๗.๘๗

๙ ๑.2.3 จุดเดน่ ของโรงเรยี น ๑. การทำงานเป็นทมี ๒. ผูบ้ รหิ ารมีวิสยั ทศั น์ มีความสามารถด้านผู้นำการเปลยี่ นแปลง ขับเคล่อื นตามนโยบาย มกี ารบรหิ ารจัดการด้านต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการ กำหนดมาตรฐานการศึกษาท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานทีส่ ถานศึกษาก าหนดและด าเนินการตามแผน ๓. มีการประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามการดำเนินงาน นำผลไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา ๔. โรงเรยี นมีหลักสูตรสอดคล้องกับบริบทของชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน มกี ิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารทู้ ีห่ ลากหลาย ตรงตามความตอ้ งการของผู้เรียน ๕. ครมู ีความรู้ ความต้ังใจ ม่งุ ม่ันในการจัดการจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้ ปฏิบตั ิจรงิ มีการใชว้ ิธกี ารและแหลง่ เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศการเรยี นรคู้ รใู ช้สอ่ื เทคโนโลยเี หมาะสมกบั ผเู้ รียน ๖. ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถดา้ นการอา่ น ๗. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการสร้างโครงงาน ๘. โรงเรยี นคณุ ธรรม ๑.2.4 จดุ ควรพัฒนา 1. ควรมีการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห์ทดี่ ขี ึน้ ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 2. ควรพฒั นาการเรียนรวู้ ิชาภาษาอังกฤษในทกุ ระดับชัน้ 3. ควรสง่ เสริมการนำสอ่ื เทคโนโลยีมาใชในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ควรสง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีทักษะการอา่ น ๕. ควรฝึกฝน สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนพัฒนาชิ้นงาน และโครงงานให้เกดิ ประโยชน์จริงเพิม่ ขึ้น ๑.2.5. ปัจจัยส่งเสรมิ ความสำเรจ็ โอกาส 1. วัด ใหก้ ารสนบั สนุนการจดั การศึกษา ด้วยทุนทรพั ย์ และการจัดการเรียนรกู้ ลุ่มสาระ การเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2. คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครอง และผ้ปู กครอง ให้ ความร่วมมือในการจดั การศึกษา 3. หน่วยงานภายนอก ภาครัฐ และเอกชนให้การสนบั สนนุ ในการจัดการศึกษา 4. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ๕. เป็นสังคมเมืองมีแหลง่ เรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย

๑๐ ๑.2.6 อปุ สรรค 1. เศรษฐกิจ 2. วิกฤตสถานการณ์ 3. ชุมชนเมอื ง 2. วิสยั ทศั น์ 2.1 วิสยั ทศั น์ของกลมุ่ งานแผนและนโยบายและบริหารการศกึ ษา “เป็นผนู้ ำในการวางแผนเพือ่ ขบั เคลือ่ นการจดั การศึกษาทุกระดบั ตามมาตรฐาน กรุงเทพมหานครอย่างเปน็ ระบบ” 2.2 วิสยั ทัศนใ์ นการปฏบิ ตั งิ านของผจู้ ดั ทำ “สง่ เสริมการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นใหผ้ ู้เรียนเกดิ การคิดวิเคราะหท์ ่ดี ีขนึ้ ในทกุ กล่มุ สาระ การเรยี นรดู้ ้วยกระบวนการนเิ ทศแบบเพ่อื นร่วมคิด มติ รคโู่ รงเรยี น” 3. พันธกจิ 3.1 วางแผนงานการนิเทศการศึกษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ 3.2 พัฒนาการนิเทศการบริหารการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ 3.3 พฒั นาการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษากรงุ เทพมหานคร 3.4 พัฒนาการดำเนนิ กรงานแนะแนวในสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ 3.5 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นในความรับผดิ ชอบใหไ้ ดม้ าตรฐานของโรงเรยี นในสงั กัด กรุงเทพมหานคร 3.6 ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนท่รี ับผิดชอบ 4. เป้าประสงค์ 4.1 หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศกม์ ีแผนพัฒนาการศกึ ษา แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปี ทีส่ อดคล้องกบั บรบิ ท โรงเรียนในสังกดั กรุงเทพมหานคร 4.2 หนว่ ยศึกษานิเทศก์ทำงานอย่างเป็นระบบ 4.3 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4.4 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษากรุงเทพมหานครในระดับปฐมวัย 4.5 สถานศกึ ษาดำเนนิ การงานแนะแนวอย่างมีคุณภาพ 4.6 โรงเรียนในความรับผดิ ชอบมีคณุ ภาพตามมาตรฐานโรงเรียนสังกัดกรงุ เทพมหานคร ๔.๗ นักเรียนในโรงเรียนทร่ี ับผดิ ชอบมีทักษะการคิดวเิ คราะห์

๑๑ 5. การออกแบบการนิเทศ ๕.๑ รปู แบบ/กระบวนการนิเทศ /เทคนิคการนเิ ทศ กจิ กรรมนิเทศทีใ่ ช้ในการนเิ ทศตามภาระของกลมุ่ งาน เปา้ ประสงค์ รปู แบบ/กระบวนการนิเทศ /เทคนิค กิจกรรมนิเทศ การนิเทศ 1. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์มี โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ กจิ กรรมอบรมและจัดทำ แผนพัฒนาการศึกษา หนว่ ยศึกษานเิ ทศกแ์ บบมสี ว่ นรว่ มโดย แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา/ แผนปฏิบัตริ าชการ ใชร้ ปู แบบ แผนปฏบิ ัตงิ านของหน่วย ประจำปี ท่ีสอดคล้องกับ การนเิ ทศแบบรว่ มพฒั นาวิชาชีพ ศกึ ษานิเทศกป์ ระจำปีท่ี บรบิ ทโรงเรียนในสงั กัด สอดคล้องกับบริบทของ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 2. หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ โครงการพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ 1.การประเมินความพงึ พอใจ ทำงานอย่างเป็นระบบ หน่วยศกึ ษานเิ ทศกแ์ บบมีสว่ นรว่ มโดย กระบวนการชมุ ชน ใชร้ ูปแบบการนิเทศแบบทางตรง ใช้ แห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) กระบวนการนิเทศชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ ในการปฏบิ ัตงิ านของ ทางวชิ าชีพ (PLC) ศกึ ษานิเทศก์และบุคลากร ๒. กจิ กรรมการเร่งรดั การสรรหา บรรจุ แตง่ ตัง้ ศึกษานเิ ทศก์ 3. ผู้บริหารสถานศกึ ษา Part Model: ๑) Participation ๒) ๑. สนทนากล่มุ (Focus group) บรหิ ารจดั การ Analyzing ๓) Reflection ๔) การพฒั นาแผนพฒั นาคณุ ภาพ สถานศกึ ษาอย่างมี Treatment การศกึ ษาและกระบวนการ ประสทิ ธภิ าพ บริหารจดั การการศกึ ษา ๒. กิจกรรมนิเทศ ตดิ ตามการใช้ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และกระบวนการบรหิ ารจดั การ การศึกษา

๑๒ เปา้ ประสงค์ รปู แบบ/กระบวนการนเิ ทศ /เทคนิค กจิ กรรมนิเทศ การนเิ ทศ จัดอบรม 4. สถานศกึ ษามีคุณภาพ การโคช้ (Coaching) 1. โครงการพฒั นาคุณภาพการ จดั การศึกษาระดับปฐมวยั และ ตามมาตรฐานการศกึ ษา การดำเนินงานบา้ น นกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยในโรงเรียน กรงุ เทพมหานครใน สงั กัดกรงุ เทพมหานคร 2. โครงการสง่ เสริมพัฒนาการ ระดับปฐมวยั ของเด็กปฐมวัยโรงเรยี นสังกัด กรงุ เทพมหานคร 5.สถานศึกษาดำเนินการ การนิเทศโดยผู้เชี่ยวชาญ 3. กิจกรรมประเมินพัฒนาการ งานแนะแนวอยา่ งมี (mentoring approach) และการเรยี นรขู้ องเด็ก คุณภาพ จดั อบรม 1. กจิ กรรมส่งเสริมและนเิ ทศ ตดิ ตามการดำเนนิ งานแนะแนว ของสถานศึกษา ๕.๒ รูปแบบ/กระบวนการนเิ ทศ /เทคนิคการนิเทศ กจิ กรรมนิเทศทใ่ี ช้ในการในการนเิ ทศตามบรบิ ท และความจำเปน็ โรงเรยี นในความรับผิดชอบ ข้อคน้ พบ/สภาพ/ปัญหา ท่ีต้องการพัฒนา รปู แบบ/กระบวนการนเิ ทศ /เทคนิคการนิเทศ กิจกรรมนเิ ทศ ปรบั ปรุง หรอื สง่ เสริม สถานศกึ ษาสำนักงานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรยี น ได้แก่ 1) วัดมกุฏกษัตริยาราม 2) วัดราชนัดดา 3) วัดใหมอ่ มตรส ๔) วดั ตรีทศเทพ และ ๕) วดั อินทรวิหาร มี จดุ ควรพัฒนา ดังน้ี ๑. ควรมีการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ให้ PRANAKHON Model: ผเู้ รยี นเกิดการคิดวิเคราะหใ์ นทกุ กล่มุ สาระ ๑. Preparing การเตรียมความพร้อม ศกึ ษาค้นควา้ ๑. ผู้นเิ ทศ ศึกษาเอกสารรายงานผล การเรียนรู้ แลกเปล่ียนรู้กบั ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา และผู้สอน การประเมินตนเองของสถานศกึ ษา SAR และ สอบถามวธิ ีการจดั การ เรียนการสอน โดยผบู้ ริหาร สถานศึกษา และผู้สอนเปน็ ผ้ใู ห้ ข้อมูล

๑๓ ข้อค้นพบ/สภาพ/ปัญหา ท่ีตอ้ งการพฒั นา รปู แบบ/กระบวนการนเิ ทศ /เทคนิคการนิเทศ กจิ กรรมนเิ ทศ ปรบั ปรุง หรือส่งเสริม ๒. ผู้นิเทศ ผู้บริหาร และผ้สู อน นำ ๒. Retrieving การนำขอ้ มูลที่ค้นพบมาใช้ ข้อมลู ที่ค้นพบใชป้ ระกอบเปน็ ข้อมูล การศึกษาสภาพ จดุ เดน่ จุดควรพฒั นา โอกาส และอปุ สรรค ในการสังเคราะหม์ าตรฐาน การศกึ ษาของโรงเรียน และของ โรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตเดยี วกนั เพือ่ พัฒนาการจดั การศึกษา ๓. Analysing การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ที่ค้นพบ ๓. ผู้นเิ ทศ ผบู้ รหิ าร และผูส้ อน รว่ มกันวิเคราะห์ข้อมลู ที่สังเคราะห์ จากรายผลการประเมนิ ตนเองของ สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขต ดว้ ยการรว่ มสนทนาแลกเปล่ยี น เรยี นรู้ ๔. Need Assessing การสำรวจความต้องการ ๔. ผ้นู เิ ทศ ผู้บริหาร และผู้สอน จำเปน็ ร่วมกันสำรวจความตอ้ งการจำเปน็ ในการกำหนดเปา้ หมายร่วมในการ พัฒนาการจดั การเรยี นการสอนท่ี เน้นให้ผเู้ รยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห์ใน ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๕. Knowledge making การสร้างบทเรียน หรอื ๕. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา องค์ความรู้องค์กร สรา้ งบทบาทหรือองค์ความรู้ ในการส่งเสริม สนบั สนนุ กำกับและ ติดตาม ผ้สู อน ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วเิ คราะหห์ ลกั สูตรสถานศกึ ษา และ เอกสารประกอบหลกั สูตร จดั ทำ แผนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การคิดวเิ คราะห์ ผู้นิเทศ ให้คำปรึกษา และสนับสนนุ ข้อมูลทางวิชาการเกีย่ วกบั การ จัดการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ให้ผู้เรียนเกดิ การ คิดวิเคราะห์

๑๔ ขอ้ คน้ พบ/สภาพ/ปญั หา ที่ตอ้ งการพฒั นา รูปแบบ/กระบวนการนิเทศ /เทคนิคการนิเทศ กิจกรรมนิเทศ ปรบั ปรงุ หรอื ส่งเสริม ๖. ผูส้ อน ผ้บู ริหาร และผนู้ เิ ทศ ๖. Happening การดำเนนิ การแสวงหาขอ้ ค้นพบ สะทอ้ นคดิ ผลการปฏิบัตขิ องกันและ กัน ในการสง่ เสรมิ การจดั การเรียน แนวทางแก้ไข และพฒั นาในระหว่างการดำเนนิ งาน การสอนที่เน้นใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การคดิ วเิ คราะห์ ในบทบาทหน้าทข่ี อง ตนเอง และอภิปรายผลขอ้ คน้ พบ และแนวทางร่วมกนั แลกเปลี่ยน เรยี นรู้ เป็นการประชมุ ปรกึ ษาหารือ ร่วมกัน หลงั ปฏิบตั กิ ารนิเทศแต่ละ รอบ ระหว่างผทู้ ำหนา้ ทีน่ เิ ทศกับผ้รู ับ การนเิ ทศ และร่วมกันอภปิ รายสรา้ ง องค์ความรู้เปน็ กระบวนการจดั การ เรียนรู้ที่เรมิ่ ตน้ จากปัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ โดยสร้างความรู้จากกระบวนการ ทำงานกลุม่ เพ่ือแก้ปญั หาหรือ สถานการณเ์ กย่ี วกับชีวติ ประจำวนั และมคี วามสำคัญต่อผ้เู รียน ปญั หาจะ เป็นจดุ ตัง้ ตน้ ของกระบวนการเรยี นรู้ และ เปน็ ปัจจัยกระตุน้ การพฒั นา ทกั ษะการแกป้ ัญหาดว้ ยเหตุผลและ การสืบค้นหาขอ้ มูลเพ่ือเข้าใจกลไก ของปญั หา รวมทั้งวธิ ีการแกป้ ญั หา การเรียนรแู้ บบนี้มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรยี น ในดา้ นทกั ษะและ กระบวนการเรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รยี นใหส้ ามารถเรยี นรู้ โดยการชน้ี ำตนเองซ่งึ ผู้เรยี นจะได้ ฝกึ ฝน การสร้างองค์ความรูโ้ ดยผา่ น กระบวนการคิดดว้ ยการแกป้ ัญหา อยา่ งมคี วามหมายตอ่ ผ้เู รียนด้วย ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ๓ ประการ ได้แก่ ๑) วเิ คราะห์เนอ้ื หา (Analysis of elements) ๒) วเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ Analysis of relationships และ ๓) การวเิ คราะห์ หลกั การ (Analysis of organizational principles)

๑๕ ขอ้ คน้ พบ/สภาพ/ปัญหา ที่ต้องการพฒั นา รูปแบบ/กระบวนการนิเทศ /เทคนิคการนิเทศ กิจกรรมนเิ ทศ ปรบั ปรงุ หรอื ส่งเสรมิ ๗. ผนู้ ิเทศ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ๗. Observing การตรวจสอบความสอดคล้อง และผู้สอน ร่วมการตรวจสอบดว้ ย ดัชนีความสอดคลอ้ งการจดั การ เรยี นการสอนทเี่ นน้ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห์ เปน็ การ ประมวลผลความรู้ รว่ มกันของผทู้ ำ หน้าทนี่ ิเทศ และผรู้ ับการนิเทศ จาก บนั ทึกผลการจดั การเรยี นการสอน และการบันทกึ ผลการปฏบิ ัตกิ าร นิเทศ ภายหลังจากการปฏบิ ตั กิ าร นิเทศ ๘. Networking การเชอื่ มโยงความรู้ ๘. ผู้นเิ ทศ ผู้บริหารสถานศกึ ษา และ ผู้สอน ร่วมกันในการอภปิ รายผลเพื่อ ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนที่ เน้นใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห์ใน ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรใู้ นครงั้ ถดั ไป สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับแนว ทางการดำเนินงานที่เหมาะสม และ จดั ทำรายงานขอ้ มูล เปน็ ขอ้ คน้ พบ จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา โอกาส และ อปุ สรรค สรา้ งเป็นบทเรยี นการเรยี นรทู้ ่ี ได้รับ เปน็ การสร้างระบบผดงุ คณุ ภาพ อย่างตอ่ เน่อื งต่อไป 6. ขอบข่ายการนเิ ทศการศกึ ษา 6.1 การนเิ ทศตามตวั ช้วี ัดของกลมุ่ งานแผนและนโยบายและการบริหารการศึกษา 6.2 การนิเทศตามตวั ชี้วดั ตามแผนปฏบิ ตั งิ านประจำปพี .ศ. 2565 ของหน่วยศึกษานิเทศก์ 6.3 การนิเทศ ตามตัวชีว้ ัดตามแผนปฏบิ ัตริ ชการประจำปี พ.ศ. 2565 ของสำนักการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร 6.4 การนเิ ทศเพอ่ื ส่งเสรมิ กระบวนการประเมินพฒั นาการและการเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ตามตวั ช้ีวดั กรงุ เทพมหานครประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 6.5 การนเิ ทศเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโรงเรียนในกลมุ่ กรุงเทพกลาง 6.6 การนิเทศเพ่ือส่งเสริมกระบวนการบรหิ ารของผู้บริหารสถานศึกษา 6.7 การนิเทศเพ่ือสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการงานแนะแนวในสถานศึกษา 6.8 การนิเทศเพื่อพฒั นาตามความตอ้ งการ จำเป็นของโรงเรยี นในความรบั ผดิ ชอบ 6.9 การนเิ ทศตามงาน/โครงการ ตามนโยบายและงานซง่ึ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

๑๖ 7. รปู แบบการนเิ ทศ/กิจกรรมการนเิ ทศทใี่ ช้ 7.1 การนิเทศตามภาระงานของหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ และกล่มุ งาน แผนและนโยบายและบรหิ ารการศึกษา 7.2 นเิ ทศตามสภาพปญั หาและความตอ้ งการจำเป็น โรงเรียนในความรับผิดชอบ เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพระนคร จำนวน ๕ โรงเรียน คือ 1) โรงเรียนวัดมกุฏกษัตริยาราม 2) โรงเรียนวัดราชนัดดา 3) โรงเรียนวัดใหม่อมตรส ๔) โรงเรียนวัดตรีทศ เทพ และ ๕) โรงเรียนวัดอินทรวหิ าร ข้อค้นพบความตอ้ งการจำเป็นรว่ ม คือ ควรมกี ารจัดการเรียนการสอน ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จากผลการสังเคราะห์ข้อมูลรายงานการ ประเมินตนเองของโรงเรียนที่รับผิดชอบ ได้กำหนดเป็นเป้าประสงค์ที่ 7 นักเรียนในโรงเรียนที่รับผิดชอบมี ทักษะการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้การนิเทศการศึกษาสำเร็จตามเป้าประสงค์ ผู้รายงานได้พัฒนารูปแบบการ นิเทศแบบต่อยอดรูปแบบตื่นรู้ เพื่อใช้ในการพัฒนาโรงเรียนที่รับผิดชอบสังกัดสำนักงานเขตพระนครใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ ดว้ ย PRANAKHON model ดังนี้ รูปแบบศึกษานเทศก์แบบต่อยอดรูปแบบตื่นรู้ (BMA Supervisor) ผ่านการนิเทศแบบพระนคร (PRANAKHON model) ท่ีผลต่อการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ Preparing Retrieving Analysing Need Assessing Knowledge making Happening Benchmarking BMA PRANAKHON Education of Analysis Model making Supervisor Model Analytical of Active learning Thinking skill elements Networking Observing Analysis of relationships Analysis of organizational principles

๑๗ รายละเอยี ดของรูปแบบ การทดลองใช้รูปแบบศึกษานิเทศก์แบบต่อยอดรูปแบบตื่นรู้ (BMA Supervisor) ผ่านการนิเทศ แบบพระนคร (PRANAKHON model) ที่ผลต่อการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิด การคิดวิเคราะห์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้รายงาน แบ่งกระบวนการดำเนินการ ออกเป็น 4 ระยะ 9 ขน้ั ตอนดังนี้ 1. ระยะการวางแผนนเิ ทศ มีกระบวนการดำเนนิ การดงั นี้ ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม (Preparing) ศึกษาค้นคว้า เอกสารรายงานผลการประเมิน ตนเอง SAR สร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ สนทนาเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนการสอน เป็น การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ซึง่ กันและกัน ขั้นที่ 2 การนำข้อมูลที่ค้นพบมาใช้ (Retrieving) ประกอบเป็นข้อมูลการศึกษาสภาพ จุดเด่น จุดควรพัฒนา โอกาส และอุปสรรค ในการสังเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตเดยี วกัน เพอ่ื พฒั นาการจดั การศกึ ษา ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีค้นพบ (Analysing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลที่ สังเคราะห์จากรายผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต ด้วยการร่วมสนทนา แลกเปล่ียนเรยี นรู้ระหวา่ ง ผนู้ ิเทศ ผบู้ ริหารสถานศึกษา และผู้สอน ขั้นที่ ๔ การสำรวจความต้องการจำเป็น (Need Assessing) ผู้นิเทศ ผู้บริหาร และผู้สอนร่วมกัน สำรวจความต้องการจำเป็นในการกำหนดเป้าหมายร่วมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิด การคดิ วิเคราะห์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. ระยะการดำเนนิ การ มกี ระบวนการดำเนินการดังน้ี ขั้นที่ ๕ การสร้างบทเรียน หรือองค์ความรู้องค์กร (Knowledge making) ผู้สอน ทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา และเอกสารประกอบหลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ ผู้บริหารสถานศึกษา สร้างแนวทางการส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตาม ผู้นิเทศ ใช้รูปแบบนิเทศการสอนแบบต่อยอดรูปแบบตื่นรู้ (BMA Supervision) ผ่านการ นิเทศแบบพระนคร (PRANAKHON model) ที่ผลต่อการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียน เกิดการคดิ วิเคราะห์ในทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ขั้นที่ ๖ การดำเนินการ แสวงหาข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข และพัฒนาในระหว่างการ ดำเนินงาน (Happening) ผู้สอน ผู้บริหาร และผู้นิเทศ สะท้อนคิดผลการปฏิบัติของกันและกัน ในการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ ในบทบาทหน้าที่ของตนเอง และอภิปรายผลข้อค้นพบและแนวทางร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการประชุมปรึกษาหารือร่วมกัน หลัง ปฏิบัติการนิเทศแต่ละรอบ ระหว่างผู้ทำหน้าที่นิเทศกับผู้รับการนิเทศ และร่วมกันอภิปรายสร้างองค์ความรู้เป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มต้นจากปัญหาที่เกิดขึ้น (Problem Based Learning) โดยสร้างความรู้จาก กระบวนการทำงานกลุ่ม เพื่อแก้ปัญหาหรือสถานการณ์เกี่ยวกับชีวิตประจำวันและมีความสำคัญต่อผู้เรียน ปัญหาจะเป็นจุดตั้งต้นของกระบวนการเรียนรู้และ เป็นปัจจัยกระตุ้นการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยเหตุผล และการสืบค้นหาข้อมูลเพื่อเข้าใจกลไกของ ตัวปัญหา รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบนี้มุ่งเน้นพัฒนา ผู้เรียนในด้านทักษะและ กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้โดยการชี้นำตนเองซึ่งผู้เรียนจะ ได้ฝึกฝน การสร้างองค์ความรู้โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยการแก้ปัญหาอย่างมีความหมายต่อผู้เรียนด้วยทักษะ

๑๘ การคิดวิเคราะห์ ๓ ประการ ได้แก่ ๑) วิเคราะห์เนื้อหา (Analysis of elements) ๒) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ Analysis of relationships และ ๓) การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of organizational principles) ระยะที่ 3 การตรวจสอบ มกี ระบวนการดำเนินการดงั น้ี ขั้นที่ ๗ การตรวจสอบความสอดคล้อง (Observing) ผู้นิเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้สอน ร่วมการตรวจสอบด้วยดัชนีความสอดคล้องของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิด วิเคราะห์ เป็นการประมวลผลความรู้ ร่วมกันของผู้ทำหน้าที่นิเทศ และผู้รับการนิเทศ จากบันทึกผลการ จดั การเรียนการสอน และการบันทึกผลการปฏิบัตกิ ารนเิ ทศ ภายหลงั จากการปฏิบตั ิการนเิ ทศ ระยะท่ี 4 การปรับปรุงและดำเนินการให้เหมาะสม มกี ระบวนการดำเนินงานดงั นี้ ขั้นที่ 8 การเชื่อมโยงความรู้ (Networking) ผู้นิเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้สอน ร่วมกันในการ อภิปรายผล และการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ในทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ในครั้งถัดไป สรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสมจัดทำรายงานข้อมูล และข้อค้นพบ จำแนก จุดเด่น จุดควรพัฒนา โอกาส และอุปสรรค สร้างเป็นบทเรียนการเรียนรู้ที่ได้รับ เป็นการ สร้างระบบผดุงคณุ ภาพอย่างต่อเนอ่ื งต่อไป 8. การประเมนิ ผล (ตัวชีว้ ดั ความสำเร็จ) วิธีการประเมิน เครอ่ื งมือ ประเมนิ คุณภาพ แบบประเมนิ คุรภาพแผนฯ ตัวช้วี ัด เป้าหมาย แผนพัฒนาฯและ แผนปฏิบัตงิ าน แบบสอบถามความพงึ พอใจ 1.รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการประเมิน ร้อยละ 70 แบบประเมนิ ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ าน คณุ ภาพของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและ ประจำปี แบบประเมินผบู้ ริหารสถานศึกษา แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปที ่สี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของกรงุ เทพมหานครตัง้ แต่ระดบั 3 ขึ้น สอบถามความพงึ ไป พอใจ 2. ร้อยละความพงึ พอใจของศึกษานเิ ทศก์ที่มี ร้อยละ 60 ประเมนิ คุณภาพคมู่ ือ ต่อการทำงานอย่างเป็นระบบตง้ั แต่ระดับมาก ปฏบิ ตั งิ าน ขน้ึ ไป ประเมินผู้บริหาร 3. รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการประเมนิ ร้อยละ 70 สถานศึกษา คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านครอบคลุมขอบขา่ ยของ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ตง้ั แต่ 3.0 ข้นึ ไป 4. ร้อยละของผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีผล การ ร้อยละ 60 ประเมนิ กระบวนการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา ตัง้ แตร่ ะดบั ดีขึน้ ไป

๑๙ ตัวชี้วดั เป้าหมาย วิธกี ารประเมิน เครื่องมอื 5. ร้อยละของโรงเรียนดำเนนิ งานด้าน ร้อยละ 80 แบบประเมินกระบวนการประเมิน การประเมนิ พัฒนาการและการเรียนรขู้ องเด็ก ร้อยละ 70 ประเมนิ กระบวนการ ปฐมวยั ในระดับดีขน้ึ ไป รอ้ ยละ 90 ประเมนิ พัฒนาการ พฒั นาการฯ 6. ร้อยละของสถานศกึ ษาทีด่ ำเนนิ การงาน ของสถานศกึ ษา แนะแนวไดต้ ามมาตรฐานการแนะแนว ร้อยละ 70 แบบประเมินการดำเนนิ งานแนะแนว ประเมินการ ของสถานศกึ ษา 7. โรงเรียนในความรบั ผดิ ชอบมผี ล ดำเนินงานแนะแนว การประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาตาม ของสถานศกึ ษา แบบประเมินผลการปฏบิ ัติงานตาม มาตรฐานโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานครใน ระบบประกันคณุ ภาพภายในของ ทุกมาตรฐานตั้งแตร่ ะดับดเี ลศิ ขึ้นไป ประเมินระบบประกนั สถานศึกษา 8. โรงเรียนท่ีรบั ผดิ ชอบมีการจัดการเรยี นการ คุณภาพภายในของ สอนทเี่ นน้ ให้ผเู้ รยี นเกิดการคดิ วิเคราะหท์ ดี่ ีข้นึ สถานศึกษา ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเมนิ การจัดการ ๑. แบบประเมนิ การจัดการเรยี นการ สอนที่เน้นใหผ้ เู้ รียนเกิดการคดิ เรยี นการสอนท่ีเนน้ ให้ วเิ คราะหข์ องนกั เรียน ผ้เู รยี นเกิดการคิด วิเคราะหข์ องนักเรยี น

สว่ นท่ี 3 แผนปฏิบัติการนิเทศ 1. แนวปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล 1.1 ศึกษานิเทศก์นำมาตรฐานและตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมินตามขอบข่ายการนิเทศ ในแผนปฏิบัติราชการของสำนักการศึกษา แผนปฏิบัติราชการของหน่วยศึกษานิเทศก์ แผนปฏิบัติการ ของกลุ่มงานแผนและนโยบายและการบริหารการศึกษา รวมถึงภาระงานของกลุ่มงานอื่นที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตลอดจนภาระงานอื่นที่ได้รับมอบหมายพิเศษและที่เกี่ยวข้อง เป็นตวั กำหนดเปา้ หมายในการนิเทศประเมินผล 1.2 ศกึ ษานเิ ทศก์ นำข้อมูลโรงเรียน เครอื ขา่ ยโรงเรียนในเขตทรี่ บั ผิดชอบมาใชใ้ นการนเิ ทศ 1.3 ศึกษานิเทศก์ปฏิบัติหน้าที่นิเทศสถานศึกษาที่รับผิดชอบ หรือโรงเรียนในโครงการ ที่รบั ผดิ ชอบ 1.4 ประสานแผนปฏิบัติการนิเทศกับโรงเรียนที่ได้รับการนิเทศตามปฏิทินที่กำหนดไว้และปฏิบัติ ตามแผนงาน 1.5 นเิ ทศตดิ ตามสถานศกึ ษา เดือนละ อยา่ งนอ้ ย 1 ครั้ง 1.6.นเิ ทศตดิ ตามเครอื ข่ายโรงเรียนท่รี บั ผดิ ชอบภาคเรยี นละ 1 คร้ัง 1.7 นเิ ทศตดิ ตามสถานศกึ ษาในความรบั ผิดชอบ ตามความตอ้ งการจำเป็นของโรงเรยี น 2. โรงเรยี นในความรับผิดชอบ ชื่อโรงเรียน สำนักงานเขต จำนวนนักเรยี น เปิดสอนระดบั โรงเรียนวัดมกุฏกษตั ริยาราม พระนคร ๓๖๓ อ. 1 - ป. 6 โรงเรียนวดั ราชนัดดา พระนคร ๗๓ อ. 1 - ป. 6 โรงเรียนวดั ใหม่อมตรส พระนคร ๕๒ อ. 1 - ป. 6 โรงเรยี นวัดตรที ศเทพ พระนคร ๙๗ อ. 1 - ป. 6 โรงเรยี นวดั อนิ ทรวหิ าร พระนคร 100 อ. 1 - ป. 6 3. โครงการ/กจิ กรรมนิเทศ ทไี่ ด้รับมอบหมาย - 4. ภารกิจงาน ขอบขา่ ยการนเิ ทศและอ่นื ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมายพเิ ศษ ลำดบั รายการ หน่วยงาน/ สถานท่ี/วัน เดอื น ปี ผ้มู อบหมาย ระหวา่ งเดือน ธันวาคม 256๔ และเดอื น 1 การประเมินเพื่อขอมีหรือเลื่อน สกจ. มถิ นุ ายน 256๕ วิทยฐานะครชู ำนาญการ

๒๑ ลำดบั รายการ หนว่ ยงาน/ สถานที่/วัน เดือน ปี ผมู้ อบหมาย 2 การประเมนิ เพอ่ื ขอมีหรือเล่ือน สกจ. ระหว่างเดือน มกราคม 256๕ และเดอื น วิทยฐานครขู ำนาญการพเิ ศษ- กรรกฎาคม 256๕ เชีย่ วชาญ 3 คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพ สยศ/โรงเรยี น ระหว่างเดือนกุมภาพนั ธ์ - มีนาคม 256๕ ภายในของสถานศกึ ษา สงั กัด กรุงเทพมหานคร 4 คณะกรรมการประเมินครูดีเด่น กล่มุ งานหลกั สตู ร ระหว่างเดือน มกราคม - กมุ ภาพันธ์ 256๕ และการจัดการฯ 5 คณะกรรมการตดั สิน ผลงาน/ เครอื ขา่ ยโรงเรยี น ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 256๕ ชน้ิ งาน/โครงงาน/นวัตกรรม นักเรียน

สว่ นท่ี 4 ปฏิทนิ การนิเทศการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565 ที่ สาระนเิ ทศ/วิธีดำเนนิ การ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมอื / หมายเหตุ เอกสาร ภาระงานอ่นื 1 ประเมนิ วิทยฐานะชำนาญการของครแู ละ ครโู รงเรยี นในเขตพระนคร เอกสารการ (สกจ.) ภาระงาน บุคลากรทางการศึกษา ประเมนิ กลมุ่ หลกั สูตร ฯ 2 ประเมินครูผูส้ อนดเี ด่นกลมุ่ สาระปฐมวัย ครผู สู้ ่งผลงานเข้าคดั เลอื ก แบบประเมนิ ภาระงานกลมุ่ แผน ครผู ูส้ อนดเี ด่น 3 นิเทศ ตดิ ตามการจดั การศกึ ษาของ โรงเรียนวัด แบบบันทกึ การนเิ ทศ โรงเรยี นในความรับผิดชอบในประเดน็ มกุฏกษตั ริยาราม ดงั นี้ โรงเรยี นวดั ราชนัดดา - การจัดการเรียนการสอนออนไลนใ์ น โรงเรียนวัดใหม่อมตรส สถานการณ์โควิด โรงเรียนวัดตรีทศเทพ - การจดั ส่งเอกสารให้ผเู้ รยี นทไี่ มส่ ามารถ โรงเรียนวดั อนิ ทรวหิ าร เรียนออนไลน์ได้ - การจัดสง่ อาหารเสริม (นม) ให้กบั ผู้เรยี น - การเตรยี มการเพ่อื รับการเปดิ ภาคเรียน ในเดอื นกมุ ภาพันธ์ 2565 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ท่ี สาระนิเทศ/วิธดี ำเนินการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมอื /เอกสาร หมายเหตุ 1 การประชมุ เพื่อจดั ทำคู่มอื การปฏิบัติงาน หวั หนา้ กล่มุ งานฯ/ แบบบนั ทึกการ ภาระงานกลุ่ม ประชุม แผน ครอบคลมุ ขอบขา่ ยของหน่วย ตวั แทนคณะทำงานของ ศึกษานเิ ทศก์ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์

๒๓ ที่ สาระนเิ ทศ/วธิ ีดำเนินการ/กิจกรรม กล่มุ เป้าหมาย เคร่อื งมอื /เอกสาร หมายเหตุ ภาระงานกลุ่ม 2 นเิ ทศ กระบวนการดำเนนิ งานแนะแนว โรงเรียนในกลุ่มกรงุ เทพ แบบประเมนิ แผน มาตรฐานการ ในสถานศกึ ษา กลาง ปฏิบัตงิ านแนะ ภาระงานตาม แนวโรงเรยี น ความจำเปน็ 3 สงั เกตการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นให้ โรงเรยี นวัด กรงุ เทพมหานคร ของถานศกึ ษา ผเู้ รียนเกิดการคดิ วิเคราะห์ของนักเรียน มกฏุ กษตั รยิ าราม (แผน 2/2565) ทด่ี ูแล 4 นเิ ทศ ตดิ ตามการจดั การศึกษาของ โรงเรยี นวดั แบบสงั เกตการ ภาระงานกลุ่ม โรงเรยี นในความรับผิดชอบในประเด็น มกฏุ กษตั รยิ าราม สอนกอ่ น ครัง้ ที่ 1 แผน ดงั น้ี โรงเรยี นวดั ราชนัดดา (ก่อนการพัฒนา) - การจัดสภาพแวดล้อมตามมาตรการ โรงเรยี นวัดใหมอ่ มตรส ตามรูปแบบ ความปลอดภัยในช่วงสถานการณ์โควิด โรงเรียนวัดตรที ศเทพ (PRANA KHON - การนบั เวลาเรยี น, การสอนชดเชย โรงเรียนวัดอินทรวิหาร Model) - การเตรยี มตัวเพอ่ื เขา้ รบั การทดสอบ แบบบนั ทกึ ทางการศึกษา (O-net) ในโรงเรยี นท่ี การนิเทศ เขา้ ร่วมโครงการ ศพด. และโรงเรียน ปกตโิ ดยความสมัครใจสอบของ นกั เรียนและผูป้ กครอง - การจัดตารางเรยี นสำหรบั ครูผู้สอน พิเศษ เช่นครตู ่างประเทศในโรงเรยี น สองภาษา ไทย – จีน - เตรียมความพร้อมในการเตรียมการ ประเมินความสามารถ ด้านการอา่ น ออกเสยี งและอ่านรู้เรอ่ื ง (RT) ของ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - เตรียมความพรอ้ มในการเตรียมการ ประเมนิ ความสามารถด้าน ภาษาไทยและความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ (NT) ของนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

๒๔ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2565 ที่ สาระนิเทศ/วิธดี ำเนนิ การ/กิจกรรม กลุม่ เปา้ หมาย เครือ่ งมอื /เอกสาร หมายเหตุ 1 จดั ทำค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านครอบคลมุ ตัวแทนคณะทำงานของ หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ เอกสารประกอบการ ภาระงาน ขอบข่ายของหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ จัดทำคู่มือการ กลมุ่ แผน ปฏบิ ัติงาน 2 นเิ ทศ ตดิ ตามการบริหารจดั การศึกษา โรงเรียนในกลมุ่ กรงุ เทพ แบบสอบถามสภาพ ตชว.หน่วย ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา กลาง การบริหารจัด ศกึ ษานเิ ทศ การศกึ ษาของ ก์ โรงเรยี นสังกัด กรุงเทพมหานคร (12/2565) 3 นเิ ทศ ติดตามการได้รบั การสนับสนนุ โรงเรยี นในเขตพระนคร แบบสำรวจข้อมลู ตชว.หนว่ ย ทรพั ยากรจากเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ใน โรงเรียนในการได้รับ ศึกษานเิ ทศ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา การสนับสนนุ ก์ ทรพั ยากรจาก เครือขา่ ยความ รว่ มมือในการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา (11/2565) 4 นิเทศการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ให้ โรงเรยี นวัดราชนดั ดา แบบสงั เกตการสอน ภาระงาน ผเู้ รยี นเกิดการคิดวิเคราะห์ของนักเรยี น ก่อน คร้งั ที่ 1 (ก่อน ตามความ การพฒั นา) จำเป็นของ ตามรูปแบบ ถานศกึ ษา (PRANAKHON ทด่ี แู ล Model) 5 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศกึ ษาของ โรงเรียนวัด 1. แบบประเมิน ภาระงาน โรงเรียนในความรับผิดชอบในประเด็น มกุฏกษัตรยิ าราม การอา่ น (กลมุ่ ดังนี้ โรงเรยี นวดั ราชนัดดา (พฒั นาวิชาชีพ พฒั นา - ประเมินการอา่ นของนักเรียนชน้ั โรงเรยี นวัดใหมอ่ มตรส 2/2565) วิชาชีพฯ) ประถมศกึ ษาปีที่ 1-2 โรงเรยี นวดั ตรีทศเทพ 2. แบบบันทึก - สังเกตการสอนของครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรยี นวัดอินทรวหิ าร การสังเกตการณส์ อน - เยี่ยมสนามสอบ RT ครผู ูส้ อนภาษาไทย - เยี่ยมสนามสอบ NT (พฒั นาวิชาชพี - เยย่ี มสนามสอบ O-net 1/2565) 3. แบบบันทกึ นเิ ทศ

๒๕ เดอื น เมษายน พ.ศ. 2565 ท่ี สาระนเิ ทศ/วิธีดำเนนิ การ/กิจกรรม กลุ่มเปา้ หมาย เคร่อื งมือ/เอกสาร หมายเหตุ 1 จัดทำค่มู อื การปฏบิ ตั ิงานครอบคลมุ ตัวแทนคณะทำงานของ เอกสารประกอบการจัดทำ ภาระงาน ขอบขา่ ยของหนว่ ยศึกษานิเทศก์ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ 2 นิเทศ กระบวนการบริหารและการ โรงเรียนในกล่มุ กรุงเทพ ค่มู ือการปฏิบัติงาน กล่มุ แผน จัดการสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน กลาง แบบสอบถามกระบวนการ ภาระงาน การศึกษาโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานครทง้ั ระดับการศึกษา บริหารและการจดั กลุม่ แผน 3 นิเทศการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้น โรงเรียนวัดใหมอ่ มตรส การศกึ ษาตามมาตรฐาน ให้ผ้เู รยี นเกิดการคดิ วิเคราะห์ของ นกั เรียน การศึกษาโรงเรียนสงั กดั กรงุ เทพมหานคร (แผน 1/2565) แบบสงั เกตการสอนกอ่ น ภาระงาน ครงั้ ที่ 1 (กอ่ นการพัฒนา) ตามความ ตามรูปแบบ จำเปน็ ของ (PRANAKHON Model) ถานศกึ ษา ท่ีดแู ล 4 ประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นในกลมุ่ กรุงเทพ แบบสรุปผลการนเิ ทศ ตชว.หน่วย ติดตามและตรวจสอบ ศึกษานิเทศ ทั้งระดบั ปฐมวยั และการศึกษาขน้ั กลาง ระบบการประกนั คุณภาพ ก์ พ้นื ฐาน ภายในโรงเรียน (10/2565) ภาระงาน 5 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศกึ ษาของ โรงเรียนวัด กลมุ่ วจิ ัยฯ 1. แบบนิเทศติดตาม โรงเรยี นในความรบั ผดิ ชอบใน มกุฏกษตั ริยาราม การทำวิจัยในชนั้ เรียนของ ประเด็นดังน้ี โรงเรียนวัดราชนดั ดา ครูผ้สู อน (วจิ ัย 1/2565) - การทำวจิ ยั ในชั้นเรยี นของ โรงเรยี นวัดใหมอ่ มตรส 2. แบบนิเทศติดตาม ครูผ้สู อน โรงเรยี นวดั ตรีทศเทพ การวัดและประเมินของ - การวัดและประเมนิ ผลของ โรงเรียนวัดอนิ ทรวหิ าร สถานศกึ ษา สถานศึกษา (วิจัย 2/2565) 3. แบบบนั ทึกนิเทศ

๒๖ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 256๕ ที่ สาระนิเทศ/วธิ ีดำเนนิ การ/กิจกรรม กลุม่ เป้าหมาย เครอื่ งมอื /เอกสาร หมายเหตุ 1 จดั ทำค่มู ือการปฏิบตั ิงานครอบคลมุ ตัวแทนคณะทำงานของ เอกสารประกอบการ ภาระงาน ขอบขา่ ยของหน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ จดั ทำคู่มอื การ กลุม่ แผน ปฏิบตั งิ าน 2 นิเทศตดิ ตาม การดำเนนิ งาน โรงเรียนในสำนกั งานเขต แบบติดตามการ ตชว. ของ เครือข่ายการศึกษาเพือ่ พฒั นา พระนคร ดำเนนิ งานเครอื ข่าย สำนัก คณุ ภาพการจดั การศึกษาวชิ า การศกึ ษา เพือ่ พฒั นา การศกึ ษา ภาษาองั กฤษในโรงเรียนทรี่ บั ผดิ ชอบ คณุ ภาพการจัด บรู ณาการ การศึกษาวชิ า ร่วมกับ ภาษาองั กฤษในโรงเรยี น สำนักงาน สังกดั กรงุ เทพมหานคร เขต (สำนกั 3/2565) 3 นิเทศ ติดตาม การดำเนินงาน โรงเรียนวัดตรที ศเทพ 2. แบบประเมิน นเิ ทศ ภาระงาน โครงการเสริมสรา้ งศักยภาพของเด็ก ติดตาม การดำเนนิ งาน กลุ่ม และเยาวชน โรงเรยี นวัดตรที ศเทพ โครงการเสรมิ สรา้ ง นวตั กรรม ศกั ยภาพของเด็กและ เยาวชนเพอ่ื คุณภาพชวี ติ ท่ดี ใี นพืน้ ท่ี กรุงเทพมหานคร (นวตั กรรม 3/2565) 4 นิเทศ ตดิ ตามการจดั การศึกษาของ โรงเรยี นวดั แบบบนั ทกึ นิเทศ ภาระงาน โรงเรียนในความรบั ผิดชอบใน มกุฏกษัตริยาราม กลมุ่ แผน ประเดน็ ดงั น้ี โรงเรียนวัดราชนดั ดา - ความพร้อมดา้ นสภาพแวดล้อม โรงเรยี นวดั ใหมอ่ มตรส - การจัดชน้ั เรยี น การจดั ครเู ข้าสอน โรงเรยี นวดั ตรที ศเทพ - การบริการอาหาร อาหารเสริม โรงเรียนวัดอินทรวหิ าร - ความปลอดภัยในการเปิดภาค เรียนใหม่

๒๗ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2565 ที่ สาระนเิ ทศ/วิธีดำเนนิ การ/กจิ กรรม กลุ่มเปา้ หมาย เครอ่ื งมอื /เอกสาร หมายเหตุ 1 จดั ทำคมู่ ือการปฏิบตั งิ านครอบคลุม ตัวแทนคณะทำงานของ เอกสารประกอบ ภาระงาน ขอบข่ายของหน่วยศึกษานเิ ทศก์ หน่วยศึกษานิเทศก์ การจดั ทำคมู่ ือการ กลมุ่ แผน ปฏิบัตงิ าน 2 ประเมินสถานศึกษาที่เปดิ สอนระดับ โรงเรียนสงั กัด แบบประเมิน ตชว. ของ ปฐมวัยในกลุ่มกรุงเทพกลางด้าน กรงุ เทพมหานครที่เปิดสอน กระบวนการประเมิน สำนกั กระบวนการประเมนิ พฒั นาการและการ ระดับปฐมวยั ท่ีรบั ผิดชอบ พฒั นาการและ การศึกษา เรยี นรูเ้ ด็กปฐมวัยของสถานศกึ ษา จำนวน 9 โรงเรียนรว่ มกบั การเรียนรเู้ ดก็ ปฐมวยั บูรณาการ โรงเรยี นในสังกดั กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตและสำนัก ของสถานศกึ ษา รว่ มกบั อนามัย โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งาน กรงุ เทพมหานคร เขต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (สำนกั 2/2565) 3 นเิ ทศ ติดตามการแข่งขันความสามารถ โรงเรยี นในเขตพระนคร แบบสอบถามการ ตขว.หน่วย ของนกั เรยี นในเวทกี ารแข่งขนั ระดบั ได้รบั รางวลั ศึกษานิเทศ ตา่ ง ๆ (14/2565) ก์ 4 นเิ ทศติดตามการจัดกจิ กรรมพัฒนา โรงเรยี นในเขตพระนคร แบบรายงานกจิ กรรม ภาระงาน ศกั ยภาพดา้ นดนตรสี ากลของโรงเรียน การพัฒนาศกั ยภาพ กลุ่มวิจัย ดา้ นดนตรีสากลใน โรงเรียนสังกัด กรงุ เทพมหานคร (วจิ ยั 3/2565) 5 นิเทศ ติดตามการจัดการศกึ ษาของ โรงเรยี นวดั 1. แบบสังเกตการ ภาระงาน โรงเรียนในความรบั ผดิ ชอบในประเด็น มกุฏกษตั รยิ าราม สอนครผู สู้ อน กล่มุ ดังนี้ โรงเรยี นวดั ราชนดั ดา คณิตศาสตร์ นวตั กรรม - นเิ ทศการสอนครคู ณิตศาสตร์ โรงเรยี นวดั ใหมอ่ มตรส (นวตั กรรม 1/2565) - เยยี่ มชน้ั เรยี น/หอ้ งปฏิบัติการทาง โรงเรียนวัดตรีทศเทพ 2. แบบนิเทศการ คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดอนิ ทรวิหาร เย่ียมชัน้ เรยี น/ห้อง ปฏิบัติการทาง คณิตศาสตร์ (นวตั กรรม 2/2565) 3. แบบบนั ทึกนเิ ทศ

๒๘ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ที่ สาระนิเทศ/วธิ ีดำเนนิ การ/กจิ กรรม กลุม่ เปา้ หมาย เครอ่ื งมอื /เอกสาร หมายเหตุ 1 จัดทำคมู่ อื การปฏิบัติงานครอบคลมุ ตัวแทนคณะทำงานของ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ เอกสารประกอบการ ภาระงาน ขอบขา่ ยของหนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ โรงเรียนในเขตพระนคร 2 นเิ ทศติดตาม การดำเนินงานส่งเสรมิ จดั ทำคมู่ ือปฏิบตั ิงาน กล่มุ แผน โรงเรยี นวัดอนิ ทรวิหาร อัตลกั ษณข์ องเดก็ แห่งมหานคร 1. แบบประเมนิ ตชว.หน่วย โรงเรียนในสำนกั งานเขต 3 นเิ ทศ ตดิ ตามการจดั การศึกษาเรียน พระนคร พฤติกรรมตามอัต ศกึ ษานิเทศ ร่วม ลกั ษณ์ของเดก็ แห่งมหา ก์ 4 นเิ ทศตดิ ตามผลงานด้านจติ สาธารณะ ดา้ นรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม นครระดบั ปฐมวยั (20/2565) 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมตามอตั ลกั ษณข์ องเดก็ แหง่ มหา นคร ระดบั การศกึ ษา ข้นั พื้นฐาน (21/2565) 3. แบบสรปุ ผลการ ประเมนิ คุณลกั ษณะ ตามอตั ลักษณข์ อง นักเรยี นแหง่ มหานคร (22/2565) 1. แบบบนั ทกึ การ ภาระงานอน่ื นิเทศ (กลมุ่ งาน 2. แบบประเมิน ประกันฯ) โรงเรียนเรยี นรว่ มใน สังกัดกรุงเทพมหานคร (ประกนั 1/2565) 1. แบบบนั ทึกโรงเรียน ตชว.หน่วย ทน่ี ักเรยี นมีผลงานด้าน ศกึ ษานิเทศ จติ สาธารณะและด้าน ก์ รักษ์สิ่งแวดล้อม (23/2565) 2. แบบบันทกึ โรงเรียน และนกั เรยี นท่ีมผี ลงาน เป็นนวตั กรรม (24/2565)

๒๙ ที่ สาระนิเทศ/วิธีดำเนินการ/กจิ กรรม กล่มุ เป้าหมาย เครือ่ งมือ/เอกสาร หมายเหตุ 5 นิเทศ ตดิ ตามการจดั การศกึ ษาของ โรงเรยี นวัด 1. แบบสังเกตการจัด ตชว.หน่วย ประสบการณท์ ี่ ศึกษานเิ ทศ โรงเรียนในความรับผิดชอบในประเด็น มกฏุ กษตั ริยาราม สง่ เสรมิ อัตลกั ษณ์ของ ก์ ดังนี้ โรงเรียนวัดราชนดั ดา เดก็ แหง่ มหานครระดบั ปฐมวยั - การจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสรมิ โรงเรยี นวัดใหมอ่ มตรส (17/2565) อตั ลกั ษณ์ของเด็กแหง่ มหานครระดับ โรงเรยี นวดั ตรีทศเทพ 2. แบบสังเกตการจัด ประสบการณ์ท่ี ปฐมวัย โรงเรยี นวัดอนิ ทรวิหาร ส่งเสริมอตั ลักษณ์แห่ง - การจัดการเรียนการสอนทีส่ ง่ เสริม มหานครระดับ การศึกษาข้นั พื้นฐาน อัตลักษณข์ องเด็กแห่งมหานครระดับ (18/2565) การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ท่ี สาระนิเทศ/วิธีดำเนนิ การ/กิจกรรม กลุม่ เปา้ หมาย เคร่อื งมือ/เอกสาร หมายเหตุ 1 นเิ ทศติดตาม การดำเนนิ การพัฒนาการ โรงเรยี นในเขตพระนคร แบบสำรวจจำนวนครูท่ี ภาระงาน จดั การเรียนรู้ตามแนวคดิ ชุมชนแหง่ การ ไดร้ ับการพฒั นาการ กลุ่ม เรียนรู้ (PLC) จัดการเรียนรู้ตาม พฒั นา แนวคดิ ชุมชนแหง่ การ วชิ าชีพ เรยี นรู้ (15/2565) 2 นิเทศตดิ ตาม ความต้องการเกี่ยวกบั การ โรงเรยี นในเขตพระนคร แบบสำรวจความ ภาระงาน ขอมหี รือเลือนวิทยฐานะของข้าราชการ ครแู ละบุคคลากรทางการศึกษาใหส้ งู ข้นึ ต้องการเก่ยี วกับการ กลุ่ม เลอ่ื นวิทยฐานะให้ พฒั นา สูงขนึ้ ของขา้ ราชการครู วิชาชีพ ฯ (16/2565) 3 นิเทศ ตดิ ตามการจัดการศึกษาเรยี นร่วม โรงเรียนวัด 1. แบบบนั ทึกการ ภาระงาน มกฏุ กษัตริยาราม นเิ ทศ กลมุ่ 2. แบบประเมนิ นวัตกรรม โรงเรียนเรียนรว่ มใน สงั กดั กรงุ เทพมหานคร (ประกนั 1/2565)

๓๐ ท่ี สาระนิเทศ/วิธดี ำเนนิ การ/กจิ กรรม กลุม่ เป้าหมาย เครอ่ื งมือ/เอกสาร หมายเหตุ 4 นเิ ทศตดิ ตาม ความสามารถในการใช้สอ่ื โรงเรยี นในสำนกั งานเขต 1. แบบประเมิน ภาระงาน เทคโนโลยี นวตั กรรม ในการจัดการ พระนคร ความสามารถในการ กลมุ่ เรียนรู้ จัดการเรยี นรู้โดยใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (นวตั กรรม 4/2565) 2. แบบประเมนิ การ จดั การเรยี นรู้โดยใช้ส่อื นวัตกรรมและ เทคโนโลยีการศึกษา และเปน็ ชุมชนแหง่ การ เรยี นรทู้ างวชิ าชพี (นวัตกรรม 5/2565) 5 นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการศึกษาของ โรงเรียนวัด 1. แบบนเิ ทศ ติดตาม ภาระงาน โรงเรยี นในความรับผดิ ชอบในประเด็น มกุฏกษัตริยาราม การจดั การเรยี นการ กลุ่ม ดงั น้ี โรงเรียนวัดราชนัดดา สอนภาษาอังกฤษ ประกนั - การจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ โรงเรยี นวดั ใหมอ่ มตรส โรงเรียนสงั กัด - กรจัดการเรียนการสอนของ โรงเรยี นวัดตรีทศเทพ กรงุ เทพมหานคร บุคคลภายนอกชว่ ยปฏบิ ตั ริ าชการ โรงเรียนวดั อินทรวหิ าร (ประกนั 2/2565) ด้านการสอนโรงเรียนสองภาษา 2. แบบนเิ ทศ ติดตาม การจดั การเรียนการ สอน ภาษาตา่ งประเทศ เพือ่ การส่อื สารของ บคุ คลภายนอกชว่ ย ปฏบิ ัติราชการด้านการ สอนโรงเรียนสงั กัด กรุงเทพมหานคร (ประกนั 3/2565) 3. แบบติดตามการ จดั การเรียนการสอน ของบคุ คลาภายนอกที่ ชว่ ยปฏบิ ัติราชการด้าน การสอนโครงการ โรงเรยี นสองภาษาฯ (ประกัน 4/2565)

๓๑ เดือน กันยายน พ.ศ. 2565 ที่ สาระนเิ ทศ/วิธดี ำเนนิ การ/กิจกรรม กลุม่ เปา้ หมาย เคร่ืองมือ/เอกสาร หมายเหตุ 1 จดั ทำรายงานการจดั ทำนวัตกรรมที่ ศึกษานเิ ทศก์กล่มุ งานแผน แบบสำรวจ ตชว.หนว่ ย สนบั สนุนการนิเทศการศกึ ษา นวัตกรรมทส่ี นบั สนนุ ศึกษานเิ ทศ การนเิ ทศการศึกษา ก์ (7/2565) 2 จัดทำรายงานผลการวจิ ัยทส่ี นับสนุน ศึกษานิเทศกก์ ลุม่ งานแผน แบบสำรวจงานวจิ ัยที่ ตชว.หน่วย การนิเทศการศึกษา สนบั สนนุ การนเิ ทศ ศึกษานิเทศ การศึกษา ก์ (8/2565) 3 จดั ทำรายงานการเขียนบทความ/ ศึกษานเิ ทศกก์ ลมุ่ แผนงาน แบบรายงานการ ตชว.หน่วย ผลงานทางวิชาการ/งานวจิ ยั ท่ีได้รับการ เขียนบทความ/ ศึกษานเิ ทศ เผยแพร่ ผลงานทางวชิ าการ/ ก์ งานวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับการ เผยแพร่ (5/2565) 4 จัดทำรายงานการเปน็ วิทยากรและ ศึกษานิเทศกก์ ลมุ่ แผนงาน แบบรายงานการเปน็ ตชว.หนว่ ย คณะกรรมการท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นา วทิ ยากรและ ศกึ ษานิเทศ การศึกษา คณะกรรมการที่ ก์ เกี่ยวขอ้ งกับการ พฒั นาการศึกษา (6/2565) 5 ประเมนิ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ ศึกษานเิ ทศกก์ ลมุ่ งานแผน แบบประเมนิ ความ ตชว.หน่วย หน่วยศึกษานเิ ทศก์ พึงพอใจกลุม่ งาน ศึกษานิเทศ นิเทศการพัฒนาสอื่ ก์ นวัตกรรม และ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา (9/2565) 6 ประเมินแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ศกึ ษานิเทศกท์ กุ คน แบบประเมนิ ตชว.หน่วย ของหน่วยศึกษานเิ ทศก์ แผนพัฒนาคุณภาพ ศกึ ษานเิ ทศ 7 ประเมินคู่มอื การปฏิบตั งิ านของหนว่ ย ศกึ ษานิเทศกท์ กุ คน ศึกษานเิ ทศก์ การศึกษา(1/2565) ก์ แบบประเมนิ คูม่ ือ ตชว.หนว่ ย การปฏบิ ัติงานของ ศึกษานเิ ทศ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ ก์ (2/2565)

๓๒ ท่ี สาระนิเทศ/วธิ ดี ำเนินการ/กิจกรรม กลุ่มเปา้ หมาย เครือ่ งมือ/เอกสาร หมายเหตุ 8 สรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมใน ศกึ ษานเิ ทศกท์ ุกคน แบบสรุปผลโครงการ ตชว.หนว่ ย ท่ดี ำเนนิ การของ ศึกษานเิ ทศ ความรับผดิ ชอบ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ ก์ (3/2565) 9 นเิ ทศ ติดตามการจดั การศึกษาของ โรงเรยี นวัด แบบบันทึกการนเิ ทศ ภาระงาน โรงเรียนในความรบั ผิดชอบในประเด็น มกุฏกษตั รยิ าราม กลุม่ แผน ดังน้ี โรงเรียนวัดราชนัดดา - การจัดทำเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล โรงเรยี นวดั ใหมอ่ มตรส ภาคเรยี นท่ี 1 โรงเรยี นวดั ตรที ศเทพ - การจดั ทำเอกสารธรุ การหอ้ งเรยี นและ โรงเรียนวดั อนิ ทรวหิ าร หลกั ฐานการจบการศึกษา - การนำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการ พัฒนาและตดั สนิ ผเู้ รียน

ภาคผนวก

๓๔ เครือ่ งมอื ในการนิเทศ เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ตัวชี้วดั ตามแผนปฏิบัตริ าชการ ของหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 24 รายการ 21 ตวั ช้วี ัด ฉบบั ที่ รายการเครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการ ตวั ชว้ี ัดตามแผนปฏบิ ตั ิราชการ กลุ่มงานทรี่ บั ผิดชอบ ประเมนิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลุม่ งานแผนฯ 1/2565 แบบประเมินแผนพัฒนา 1.1รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ความพึงพอใจ คณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. ของศกึ ษานเิ ทศก์ทม่ี ีต่อการทำงานอย่างเปน็ 2565 – 2569)และ ระบบตั้งแต่ 3.0 ข้ึนไป แผนปฏบิ ัติราชการประจำปี พ.ศ. 2565 2/2565 แบบประเมินคู่มือการ 1.2 รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการประเมิน กลมุ่ งานแผนฯ ปฏิบัติงานของหน่วย คมู่ อื การปฏบิ ัติงานครอบคลมุ ขอบขา่ ยของ ศึกษานิเทศก์ หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศกต์ งั้ แต่ 3.0 ข้ึนไป 3/2565 แบบสรปุ ผลโครงการที่ 1.3 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการดำเนนิ กลมุ่ งานนิเทศ 4/2565 ดำเนนิ การของหน่วย โครงการ/กจิ กรรม/ภาระงาน ตามแผน การพฒั นาระบบประกัน ศกึ ษานิเทศก์ สำนักการศกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านของหน่วยศึกษานิเทศก์ กรุงเทพ คณุ ภาพการศกึ ษา มหานครประจำปีงบประมาณ 3.1 จำนวนศกึ ษานเิ ทศกท์ ี่มีหรือเล่อื น ๒๔๖๔ วทิ ยฐานะสงู ขึ้น กลุ่มงานนิเทศการพฒั นา วชิ าชีพทางการศึกษา แบบสำรวจศึกษานเิ ทศก์ท่มี ี หรือเลอื่ นวิทยฐานะสงู ขึน้ 5/2565 แบบรายงานการเขยี น 3.2 จำนวนบทความ / ผลงานทางวิชาการ กล่มุ งานนิเทศการพฒั นา บทความ/ ผลงานทางวชิ าการ / งานวิจยั ที่ไดร้ บั การเผยแพร่ วิชาชีพทางการศึกษา / งานวิจัยทไ่ี ด้รบั การเผยแพร่ 6/2565 แบบรายงานการเปน็ วทิ ยากร 3.3 ร้อยละของศกึ ษานเิ ทศก์ ทีไ่ ด้รับเชญิ กลมุ่ งานนิเทศการพฒั นา และคณะกรรมการทเี่ กีย่ วขอ้ ง เปน็ วิทยากรหรอื เปน็ คณะกรรมการท่ี วิชาชพี ทางการศกึ ษา การพฒั นาการศึกษา เกยี่ วข้องกับการพฒั นาการศกึ ษา 7/2565 แบบสำรวจนวตั กรรมที่ 4.1 จำนวนนวตั กรรมท่สี นับสนุนการนิเทศ กลุ่มงานนิเทศการพัฒนาสื่อ สนบั สนนุ การนเิ ทศการศึกษา การศกึ ษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษา 8/2565 แบบสำรวจงานวิจยั ทีส่ นบั สนุน 4.2 จำนวนงานวจิ ยั ทส่ี นับสนุนการนเิ ทศ กลุ่มนเิ ทศการวจิ ยั และ ประเมินผล การนิเทศการศึกษา การศกึ ษา

๓๕ ฉบบั ท่ี รายการเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการ ตวั ชี้วัดตามแผนปฏิบัตริ าชการ กลุ่มงานทีร่ บั ผดิ ชอบ ประเมิน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 9/2565 กล่มุ งานนเิ ทศการพฒั นาสอ่ื แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 4.3 ร้อยละของความพงึ พอใจระดับมากข้นึ นวัตกรรมและเทคโนโลยี 10/2565 ไป ของศกึ ษานิเทศกแ์ ละผ้ทู ่เี กี่ยวข้องที่มีต่อ 11/2565 กลุม่ งานนเิ ทศการพฒั นาสอ่ื ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี 12/2565 การศึกษา 13/2565 14/2565 แบบสรปุ ผลการนเิ ทศ ติดตาม 5.1 ร้อยละของสถานศกึ ษา กล่มุ งานนิเทศ 15/2565 และตรวจสอบ ระบบการ มีผลการประเมินคณุ ภาพภายในตง้ั แต่ระดบั การพฒั นาระบบประกนั 16/2565 ประกนั คุณภาพภายในโรงเรยี น ดขี น้ึ ไป 17/2565 คุณภาพการศกึ ษา แบบสำรวจขอ้ มูลโรงเรียนใน 6.1จำนวนเครือข่ายท่ีสนับสนนุ การพฒั นา กลุ่มงานนเิ ทศการพฒั นา การไดร้ บั การสนบั สนนุ คณุ ภาพการศึกษา หลักสูตรการศกึ ษาข้นั ทรัพยากร พื้นฐานและการจัดการ จากเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ใน 6.2 รอ้ ยละของโรงเรียนทไ่ี ดร้ บั สนบั สนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ทรพั ยากรจากเครือข่าย ความร่วมมือในการ เรียนรู้ พฒั นาคุณภาพการศึกษา แบบสอบถามสภาพการบริหาร 7.1 รอ้ ยละของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามผี ล กลุ่มงานนิเทศ จัดการศึกษาของโรงเรียนสังกดั การประเมินกระบวนการจดั การศกึ ษาตง้ั แต่ การพัฒนาระบบประกัน กรุงเทพมหานคร ระดบั ดีขนึ้ ไป คุณภาพการศกึ ษา แบบประเมินผบู้ ริหาร 7.2 รอ้ ยละของผู้บริหารสถานศกึ ษาที่นำ กลุ่มงานนิเทศ สถานศกึ ษาดา้ นการนำ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาไปปฏบิ ตั ิและ การพัฒนาระบบประกัน แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสู่ ดำเนนิ การติดตามอยา่ งต่อเนื่อง คุณภาพการศึกษา การปฏบิ ัติ แบบสอบถามการไดร้ บั รางวลั 8.1 จำนวนของผลงานทีแ่ สดงถึงความ กลุ่มงานนิเทศการพฒั นา เชีย่ วชาญทางวชิ าชีพในระดับกทม./ชาต/ิ วิชาชีพทางการศกึ ษา นานาชาติ แบบสำรวจจำนวนครทู ไ่ี ด้รบั 8.2 ร้อยละของจำนวนครูทีไ่ ด้รับการพฒั นา กลุ่มงานนิเทศการพฒั นา การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรู้ ตามแนวคิดชมุ ชนแห่ง วิชาชพี ทางการศกึ ษา ตามแนวคดิ ชมุ ชนแหง่ การ การเรยี นรู้ ( PLC) เพ่ิมขน้ึ เรียนรู้ (PLC) แบบสำรวจความตอ้ งการ 8.3 รอ้ ยละของข้าราชการครูและบุคลากร กลมุ่ งานนิเทศการพฒั นา เก่ียวกับการเลื่อนวิทยฐานะให้ ทางการศึกษามีหรือเล่ือนวิทยฐานะท่ีสูงข้นึ วิชาชพี ทางการศกึ ษา สูงขึ้นของขา้ ราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา แบบสังเกตการจดั 9.1 รอ้ ยละของโรงเรียนทคี่ รูจัดการเรียนรทู้ ่ี กลุ่มงานนิเทศการพัฒนา ประสบการณ์ท่สี ง่ เสริม ส่งเสริมอัตลักษณข์ องนักเรยี นแห่งมหานคร หลกั สูตรการศกึ ษาขั้น อัตลักษณ์ของเดก็ แหง่ มหานคร ตัง้ แตร่ ะดบั ดีข้นึ ไป พื้นฐานและการจดั การ ระดับปฐมวยั เรยี นรู้

๓๖ ฉบับที่ รายการเครอื่ งมือท่ใี ช้ในการ ตวั ช้วี ดั ตามแผนปฏิบตั ิราชการ กลมุ่ งานทีร่ บั ผดิ ชอบ 18/2565 ประเมิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กลมุ่ งานนเิ ทศการพัฒนา 19/2565 แบบสงั เกตการจดั 9.2 รอ้ ยละของโรงเรยี นที่จัดกิจกรรม/ หลกั สูตรการศกึ ษาข้ัน ประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ โครงการ สง่ เสรมิ อตั ลักษณข์ องนักเรยี นแหง่ พ้ืนฐานและการจดั การ 20/2565 อตั ลกั ษณข์ องเดก็ แหง่ มหานคร มหานคร เรยี นรู้ 21/2565 ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 10.1 ร้อยละของโรงเรยี นทีน่ กั เรยี นมีผลการ กลมุ่ งานนิเทศการพัฒนา แบบสำรวจขอ้ มลู โรงเรยี นท่คี รู ประเมนิ คุณลกั ษณะตามอตั ลักษณข์ อง หลกั สตู รการศึกษาขนั้ 22/2565 จัดกจิ กรรม/โครงการ นักเรยี นแห่งมหานคร ต้ังแต่ระดบั ดขี น้ึ ไป พื้นฐานและการจัดการ 23/2565 สง่ เสริมอตั ลักษณ์ของนักเรียน เรียนรู้ 24/2565 แห่งมหานคร 10.2 รอ้ ยละของโรงเรยี นท่ีนกั เรียนมี ผลงานที่เกดิ จากการเรยี นร้หู นา้ ท่ี มจี ติ กลมุ่ งานนเิ ทศ แบบประเมนิ พฤติกรรม สาธารณะ รักษส์ ิง่ แวดล้อม เป็นนวัตกรที่ การพฒั นาระบบประกัน ตามอตั ลักษณข์ องเด็กแหง่ มหา พรอ้ มรับทกุ การเปลยี่ นแปลง นคร ระดบั ปฐมวัย คุณภาพการศกึ ษา แบบประเมินพฤติกรรม ตามอตั ลักษณ์ของเดก็ แหง่ มหานคร ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน แบบสรปุ ผลการประเมิน คุณลกั ษณะตามอตั ลักษณ์ของ นกั เรยี นแห่งมหานคร แบบบนั ทกึ โรงเรียนท่นี ักเรียนมี ผลงานด้านจติ สาธารณะ ดา้ น รกั ษส์ ิง่ แวดล้อม แบบบนั ทกึ โรงเรยี นและ นกั เรียนท่ีมีผลงานทีเ่ ปน็ นวตั กรรม (เปน็ แบบอยา่ งใน การนำไปปฏบิ ัต)ิ

๓๗ เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประเมินตวั ช้วี ัดตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ของสำนักการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ทห่ี นว่ ยศึกษานิเทศกไ์ ดร้ ับมอบหมาย จำนวน 3 รายการ 2 ตวั ช้วี ดั ประกอบด้วย ฉบบั ที่ รายการเครือ่ งมือ ตัวชีว้ ัดตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ กลมุ่ งานทีร่ บั ผิดชอบ สำนกั 1/2565 ท่ีใช้ในการประเมิน สำนักการศกึ ษาปี พ.ศ. 2565 กล่มุ งานแผนและ สำนัก 2/2565 นโยบายและการ แบบนิเทศการจัดประสบการณ์ 1. ร้อยละของนักเรียน บริหารหารศึกษา กลุ่มงานแผนและ ของครปู ฐมวยั ระดับปฐมวยั มีพัฒนาการสมวัย นโยบายและการ บรหิ ารหารศกึ ษา (ผลลัพธ)์ (นศน.) แบบประเมนิ กระบวนการประเมิน 2. ร้อยละของโรงเรียนดำเนินงานด้าน พฒั นาการและการเรียนรู้เดก็ การประเมินพฒั นาการและการเรียนรู้ ปฐมวยั ของสถานศึกษาโรงเรยี นใน ของเดก็ ปฐมวยั ในระดบั ดขี ึ้นไป สังกดั กรงุ เทพมหานคร (ผลลัพธ)์ (นศ.น) ปีงบประมาณพ.ศ. 2565 สำนัก 3/2565 แบบตดิ ตามการดำเนนิ งาน 3.ร้อยละท่ีเพมิ่ ขน้ึ ของค่าเฉลี่ย กลุ่มงานนิเทศ เครือข่ายการศึกษาเพื่อพัฒนา ผลการทดสอบทางการศึกษา การพฒั นาระบบ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาวชิ า ระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ประกันคณุ ภาพ ภาษาอังกฤษในโรงเรยี นสังกัด วชิ าภาษาอังกฤษของนักเรียน การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร ในเครือข่ายการศกึ ษา(ผลลพั ธ)์ (นศน.) เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการนิเทศการศึกษาตามภาระงานประจำของกลุ่มงาน ของหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั ที่ รายการเคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการประเมิน การนเิ ทศตามภาระงาน กลมุ่ งานท่ี ประจำของหน่วย รับผดิ ชอบ ศึกษานเิ ทศก์ แบบสอบถามกระบวนการบรหิ ารและการ งานบริหารการศกึ ษา กลมุ่ งานแผนและ แผน 1/2565 จัดการสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา นโยบายและการ โรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานคร ปีงบประมาณ บริหารการศกึ ษา พ.ศ. 2565 แผน 2/2565 แบบประเมนิ มาตรฐานการปฏิบตั ิงานแนะแนว งานแนะแนว โรงเรยี นสังกัดกรุงเทพมหานคร แผน 3/2565 แบบประเมินมาตรฐานการปฏิบตั ิงานแนะแนว งานแนะแนว โรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร ประกนั 1/2565 แบบประเมินโรงเรยี นเรยี นร่วมในสังกัด งานการจดั การศึกษา กลุม่ งานนิเทศ กรุงเทพมหานคร พิเศษ การพฒั นาระบบ ประกัน 2/2565 แบบนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน งานกล่มุ สาระการเรียนรู้ ประกนั คณุ ภาพ ภาษาองั กฤษ โรงเรยี นสังกดั กรุงเทพมหานคร ภาษา การศึกษา แบบติดตามการจัดการเรยี นการสอน ตา่ งประเทศ ประกัน 3/2565 ภาษาตา่ งประเทศเพือ่ การสือ่ สาร ของบคุ คลภายนอกชว่ ยปฏบิ ัติราชการดา้ นการ สอนโรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานคร

๓๘ ฉบับที่ รายการเครือ่ งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ การนเิ ทศตามภาระงาน กลุม่ งานท่ี ประจำของหน่วย รบั ผิดชอบ ประกัน 4/2565 แบบตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอน ศกึ ษานิเทศก์ นวัตกรรม 1/2565 ของบุคคลภายนอกทีช่ ่วยปฏบิ ัติราชการ กลมุ่ งานนิเทศ นวัตกรรม 2/2565 ดา้ นการสอน งานกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การพฒั นาส่ือ นวตั กรรม 3/2565 โครงการโรงเรียนสองภาษา โรงเรยี นสังกัด คณติ ศาสตร์ นวตั กรรมและ กรุงเทพมหานคร งานกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม 4/2565 แบบสงั เกตการสอนครผู ูส้ อนคณติ ศาสตร์ การงานอาชพี ทางการศึกษา นวัตกรรม 5/2565 แบบนิเทศการเยีย่ มชน้ั เรยี น/ห้องปฏบิ ตั ิการทาง คณติ ศาสตร์ งาน สอ่ื นวัตกรรมและ พัฒนาวชิ าชีพ 1/2565 แบบประเมิน นิเทศ ตดิ ตามการดำเนินงาน เทคโนโลยีการศึกษา พฒั นาวชิ าชพี 2/2565 โครงการเสริมสร้างศกั ยภาพของเด็กและ พัฒนาวชิ าชีพ 3/2565 เยาวชน เพื่อคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีในพนื้ ที่ วิจยั 1/2565 กรงุ เทพมหานคร ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระ วจิ ยั 2/2565 กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ วจิ ยั 3/2565 รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ วิจยั 4/2565 โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร วิจัย 5/2565 แบบประเมินการจดั การเรยี นรู้โดยใชส้ ่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษาและเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี แบบบันทึกการสงั เกตการสอนกลุ่มสาระการ งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลมุ่ งานนเิ ทศ เรยี นรภู้ าษาไทย ภาษาไทย การพฒั นา แบบบนั ทกึ ผลการประเมินการอ่านของนกั เรียน วชิ าชพี ทาง สังกดั กรุงเทพมหานคร การศึกษา แบบสรุปผลประเมินการอ่านของนกั เรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร แบบนิเทศ ติดตาม การทำวิจัยในชนั้ เรียนของครู งานวจิ ยั และประเมนิ ผล กลมุ่ นเิ ทศการ การศึกษา วจิ ัยและ แบบประเมินการวดั และประเมินผลของครูกลุ่ม งานกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ประเมนิ ผล สาระสุขศึกษาและพลศึกษา พลศึกษา แบบรายงาน กิจกรรมการพัฒนาศกั ยภาพดา้ น งานกลมุ่ สาระศลิ ปะ ดนตรีสากลในโรงเรียนสงั กัดกรุงเทพมหานคร โดยหนว่ ยศึกษานิเทศก์ สำนกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม การวัดและประเมนิ ผลของ ประกอบงานวิจัยของ กลุม่ นิเทศการ สถานศกึ ษา กลุม่ มงานฯ วิจัยและ แบบนเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานพัฒนาทักษะ ประกอบงานวจิ ยั ของ ประเมินผล ภาษาอังกฤษ ตามนโยบายของ กลุ่มมงานฯ กระทรวงศึกษาธกิ าร

๓๙ ฉบับท่ี 1/2565 แบบประเมนิ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2565 – 2569) ชือ่ - สกลุ …………………………………….........……………………………………..………………..……….……………… กลุ่มงาน…………………………..…………………………………………………………………………………………………… รายการ 4 ระดบั คณุ ภาพ 3210 ประเด็นการประเมินท่ี 1 การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ตวั ชีว้ ัด 1.1 ระดับความสำเร็จของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลสำหรบั ใช้ในการจดั ทำ แผนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ตวั ช้วี ัด 1.2 ระดับความสำเร็จของการศึกษาความเปน็ ไปไดข้ องการบรรลุ วสิ ัยทศั น์ โดยใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะห์จดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) ตัวช้วี ัด 1.3 ระดบั ความสอดคลอ้ งของแผนพฒั นาการศึกษา รวมคะแนน ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 การนำแผนพัฒนาการศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ตัวชี้วัด 2.1 ระดับความสอดคล้องระหว่างแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากบั แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานกรุงเทพมหานคร ตวั ช้ีวัด 2.2 รอ้ ยละของโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณทถ่ี กู นำไปปฏบิ ัติ รวมคะแนน ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 ผลของแผนพัฒนาการศึกษา ตัวชี้วดั 3.1 สดั ส่วนตัวช้ีวัดของเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ บรรลุตามเป้าหมายท่ีกำหนด รวมคะแนน รวมคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 1-3 คะแนนเฉลี่ย (นำคะแนนท่ไี ด้ หารด้วย 6) คะแนนเฉลย่ี และการแปลความหมาย คะแนนเฉล่ยี การแปลความหมาย 3.01 – 4.00 ดมี าก 2.01 – 3.00 ดี 1.01 – 2.00 พอใช้ 0.00 – 1.00 ปรับปรุง

๔๐ คำช้ีแจง 1. แนวทางการประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมินแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ เพื่อประเมินกระบวนการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ การนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ ไปสู่การปฏิบัติ และผลที่ได้จากการปฏิบัติตามแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ ดังนั้น แนวทางที่ใช้ใน การประเมินแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของหน่วยศึกษานิเทศก์ จึงพิจารณาจากองค์ประกอบของการประเมินทั้งสาม ด้านดังกล่าวมากำหนดเปน็ ตวั ชี้วัด 2. ประเด็นการประเมนิ การประเมินแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของหนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ มี 3 ประเด็น จำนวน 6 ตวั ชี้วดั ไดแ้ ก่ ประเด็นการประเมินท่ี 1 การจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษา จำนวน 3 ตัวชวี้ ดั ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 การนำแผนพฒั นาการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ัติ จำนวน 2 ตวั ช้วี ัด ประเดน็ การประเมินที่ 3 ผลของแผนพัฒนาการศกึ ษา จำนวน 1 ตัวชวี้ ดั 2.1 ประเด็นการประเมนิ ที่ 1 การจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ตัวชว้ี ัด 1.1 ระดบั ความสำเร็จของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลสำหรับใชใ้ นการจัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ตวั ชว้ี ัด 1.2 ระดับความสำเรจ็ ของการศึกษาความเปน็ ไปได้ของการบรรลวุ สิ ยั ทัศน์ โดยใช้เทคนคิ การวเิ คราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) ตวั ชว้ี ัด 1.3 ระดบั ความสอดคลอ้ งของแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2.2 ประเดน็ การประเมนิ ที่ 2 การนำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาไปสกู่ ารปฏิบัติ ตัวชวี้ ดั 2.1 ระดับความสอดคล้องระหว่างแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษากับแผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กรุงเทพมหานคร ตัวช้ีวัด 2.2 ร้อยละของโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏิบัติราชการประจำปงี บประมาณท่ถี ูกนำไปปฏบิ ัติ 2.3 ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 3 ผลของแผนพัฒนาการศกึ ษา ตัวช้วี ดั 3.1 สดั ส่วนตัวชวี้ ัดของเป้าประสงคต์ ามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทบ่ี รรลุ ตามเปา้ หมายที่ กำหนด 3. การให้ระดบั คุณภาพ การให้ระดับคุณภาพในแบบประเมินนี้ ให้ท่านทำเครื่องหมาย √ ลงในช่องระดับคุณภาพโดยพิจารณาจาก คำอธบิ ายตัวช้วี ดั และเกณฑ์การใหค้ ะแนนตวั ชว้ี ดั

๔๑ ประเดน็ การประเมินท่ี 1 การจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา รายการ 4 ระดับคณุ ภาพ 3210 ประเดน็ การประเมินที่ 1 การจดั ทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ตวั ช้ีวัด 1.1 ระดับความสำเรจ็ ของการเก็บรวบรวมข้อมลู สำหรับใช้ในการจัดทำแผนการ พฒั นาคุณภาพการศึกษา ตวั ชว้ี ัด 1.2 ระดบั ความสำเรจ็ ของการศึกษาความเป็นไปได้ของการบรรลุวสิ ยั ทศั น์ โดย ใช้เทคนคิ การวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส อุปสรรค (SWOT Analysis) ตัวชวี้ ัด 1.3 ระดบั ความสอดคล้องของแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา รวมคะแนน ตัวชี้วัด 1.1 ระดับความสำเร็จของการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับใช้ในการจัดทำแผนการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา คำอธบิ ายตัวชี้วัด 1.1 พจิ ารณาจากระดบั ความสำเร็จ ของการเกบ็ รวบรวมข้อมูลสาหรับใชใ้ นการจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา ซึ่งประกอบดว้ ย 1. ข้อมลู จากล่างขึ้นบน (bottom up) ได้แก่ 1.1 ปัญหาที่หน่วยศึกษานิเทศก์ต้องแก้ไข เช่น ปัญหาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการประเมินคุณภาพภายในหรือ SAR และ ผลการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ปัญหาเด็กอา่ นหนังสือไม่ออก ปัญหาเดก็ อา่ นหนงั สือไมไ่ ด้ 1.2 ความต้องการของหน่วยศึกษานิเทศก์ เช่น อัตรากำลังศึกษานิเทศก์ บุคลากรที่สนับสนุนในการ ปฏบิ ตั ิงาน สง่ิ อำนวยความสะดวกในการนิเทศ 1.3 ปัญหาและความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียของสถานศึกษา ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ครู หัวหนา้ ฝา่ ยการศกึ ษา 2. ขอ้ มลู จากบนลงล่าง (top down) ได้แก่ 2.1 แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 2.2 แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกรงุ เทพมหานคร 2.3 นโยบายของผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร 2.4 นโยบายเกีย่ วกบั การศกึ ษาของชาติ เชน่ แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ แผนพฒั นาการศกึ ษา และนโยบายอืน่ ๆ ของรฐั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการศึกษาโดยกำหนดเปน็ ระดบั ข้ันของความสำเรจ็ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การใหค้ ะแนนเป็น 5 ระดับ เกณฑก์ ารให้คะแนนตัวชว้ี ัด 1.1 ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน 0 ไมม่ กี ารสำรวจและใชข้ อ้ มลู เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 1 มกี ารสำรวจและใช้ข้อมลู 1 - 2 ข้อ ในการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2 มกี ารสำรวจและใช้ข้อมลู 3 - 4 ขอ้ ในการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 3 มีการสำรวจและใช้ขอ้ มูล 5 - 6 ข้อ ในการจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ 4 มกี ารสำรวจและใชข้ ้อมูล 7 ข้อ ในการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพ

๔๒ การแปลความหมายระดับคะแนนตัวชีว้ ดั 1.1 ระดับคะแนน 4 3 2 1 0 การแปลความหมาย ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ต้องปรับปรุง ตวั ช้ีวดั 1.2 ระดบั ความสำเร็จของการศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องการบรรลวุ สิ ัยทัศน์ โดยใช้เทคนิคการ วิเคราะห์ จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส อปุ สรรค (SWOT Analysis) คำอธิบายตวั ชีว้ ดั 1.2 พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ของการบรรลุวิสัยทัศน์ โดย การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ว่า การที่หน่วยศึกษานิเทศก์จะดำเนินงานให้บรรลุตาม ประเด็นการพัฒนาเหล่านั้นได้ หน่วยศึกษานิเทศก์มีจุดแข็งและมีโอกาสอะไร อย่างไร และหน่วยศึกษานิเทศก์มีจุดอ่อน และมีอุปสรรคอะไร อย่างไร ที่จะทำให้การดำเนินงานล้มเหลว ไม่สามารถบรรลุตามประเด็นการพัฒนาเหล่านั้นได้ โดยที่ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยศึกษานิเทศก์ว่า ปัจจุบันหน่วยศึกษานิเทศก์มีศักยภาพ มากน้อยเพียงใดที่จะดำเนินงานให้บรรลุตามประเด็นการพัฒนาดังกล่าว การวิเคราะห์โอกาส อุปสรรคเป็นการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอกของหน่วยศึกษานิเทศก์ว่า ปัจจุบันหน่วยศึกษานิเทศก์มีสภาพแวดล้อมภายนอกอะไรบ้างที่จะช่วย สนับสนุนให้หน่วยศึกษานิเทศก์ดำเนินงานให้บรรลุตามประเด็นการพัฒนาดังกล่าว และมีสภาพแวดล้อมภายนอก อะไรบ้างที่จะทำให้หน่วยศึกษานิเทศก์ดำเนินงานไม่บรรลุตามประเด็นการพัฒนาดังกล่าว โดยกำหนดเป็นระดับขั้นของ ความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การใหค้ ะแนนเป็น 5 ระดับ เกณฑก์ ารให้คะแนนตวั ชีว้ ัด 1.2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 0 ไมม่ ีการวิเคราะห์จุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส อุปสรรค 1 มีการวเิ คราะห์จุดแข็ง และ จดุ อ่อน 2 มีการวเิ คราะห์จดุ แข็ง จุดออ่ น และโอกาส 3 มกี ารวเิ คราะห์จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอุปสรรค 4 มีการวเิ คราะหจ์ ุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอุปสรรค พรอ้ มแสดงใหเ้ หน็ ว่ามกี ารนำเอา ผลการวิเคราะห์ดังกล่าวไปใช้ในการจัดทำแผนอย่างเปน็ รปู ธรรม การแปลความหมายระดับคะแนนตวั ชวี้ ัด 1.2 ระดับคะแนน 4 3 210 การแปลความหมาย ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ตอ้ งปรบั ปรุง ตวั ชี้วดั 1.3 ระดับความสอดคล้องของแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษา คำอธบิ ายตวั ชีว้ ัด 1.3 พิจารณาจากความสอดคล้องระหวา่ งวสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ และตัวช้ีวัด ในแผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ดังนี้ 1. พันธกจิ เปน็ ภารกิจหนา้ ท่ีทนี่ ำไปส่กู ารบรรลวุ สิ ยั ทัศน์ 2. เป้าประสงค์เพื่อการพฒั นาเป็นภาพความสำเร็จทแี่ ทจ้ ริงของวสิ ัยทศั น์ 3. ตัวชว้ี ัดสามารถวัดความสำเรจ็ ของเปา้ ประสงคเ์ พ่อื การพัฒนาได้ 4. กลยทุ ธก์ ารพฒั นาสอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ 5. กลยุทธก์ ารพัฒนานำไปสคู่ วามสำเร็จตามตัวชวี้ ดั ของเป้าประสงค์เพือ่ การพฒั นาได้ 6. แนวทางการพัฒนาสอดคลอ้ งกับกลยทุ ธก์ ารพัฒนาได้อยา่ งเหมาะสม 7. แนวทางการพัฒนานำไปสู่ความสำเร็จตามตวั ช้ีวัดของเปา้ ประสงคเ์ พื่อการพฒั นา

๔๓ เกณฑ์การใหค้ ะแนนตวั ชี้วดั 1.3 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 0 1 1. พนั ธกิจเปน็ ภารกจิ หน้าทีท่ ี่ไม่นำไปสกู่ ารบรรลวุ ิสยั ทัศน์ 2 1. พนั ธกจิ เปน็ ภารกจิ หน้าทท่ี ่นี ำไปสกู่ ารบรรลุวิสยั ทัศน์ 3 2. เปา้ ประสงคเ์ พ่ือการพฒั นาเป็นภาพความสำเรจ็ ท่ีแท้จริงของวสิ ัยทัศน์ 4 1. พนั ธกจิ เป็นภารกิจหนา้ ที่ทนี่ ำไปสู่การบรรลุวสิ ัยทศั น์ 2. เป้าประสงค์เพอ่ื การพฒั นาเป็นภาพความสำเร็จทีแ่ ท้จริงของวิสยั ทัศน์ 3. ตัวชี้วดั สามารถวัดความสำเรจ็ ของเปา้ ประสงคเ์ พอ่ื การพัฒนาได้ 1. พนั ธกิจเปน็ ภารกจิ หนา้ ทท่ี ่ีนำไปสกู่ ารบรรลวุ สิ ยั ทัศน์ 2. เป้าประสงคเ์ พอื่ การพัฒนาเปน็ ภาพความสำเร็จท่ีแทจ้ ริงของวิสยั ทัศน์ 3. ตวั ช้วี ดั สามารถวัดความสำเร็จของเป้าประสงค์เพอ่ื การพัฒนาได้ 4. กลยุทธ์การพฒั นาสอดคลอ้ งกบั พันธกจิ 5. กลยทุ ธ์การพฒั นานำไปส่คู วามสำเรจ็ ตามตวั ชีว้ ัดของเปา้ ประสงค์เพ่ือการพฒั นาได้ 1. พนั ธกจิ เปน็ ภารกจิ หน้าทีท่ ่ีนำไปสู่การบรรลวุ ิสัยทัศน์ 2. เป้าประสงค์เพอ่ื การพฒั นาเปน็ ภาพความสำเรจ็ ทแี่ ทจ้ รงิ ของวิสัยทศั น์ 3. ตัวช้วี ดั สามารถวัดความสำเร็จของเป้าประสงค์เพ่ือการพัฒนาได้ 4. กลยุทธก์ ารพัฒนาสอดคล้องกบั พันธกิจ 5. กลยุทธ์การพฒั นานำไปส่คู วามสำเรจ็ ตามตวั ช้ีวดั ของเปา้ ประสงค์เพ่อื การพฒั นาได้ 6. แนวทางการพฒั นาสอดคล้องกับกลยุทธก์ ารพัฒนาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7. แนวทางการพฒั นานำไปส่คู วามสำเร็จตามตวั ช้วี ดั ของเปา้ ประสงค์เพ่อื การพัฒนา การแปลความหมายระดับคะแนนตัวช้วี ัด 1.2 ระดบั คะแนน 4 3 210 การแปลความหมาย ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ต้องปรับปรงุ ประเดน็ การประเมินที่ 2 การนำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ รายการ ระดับคุณภาพ 43210 ประเดน็ การประเมนิ ท่ี 2 การนำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ตวั ชว้ี ดั 2.1 ระดบั ความสอดคล้องระหวา่ งแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากบั แผนพฒั นา การศึกษาขั้นพ้นื ฐานกรงุ เทพมหานคร ตัวช้ีวดั 2.2 รอ้ ยละของโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณท่ี ถูกนำไปปฏบิ ัติ รวมคะแนน

๔๔ ตัวชว้ี ัด 2.1 ระดบั ความสอดคลอ้ งระหว่างแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษากบั แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กรุงเทพมหานคร คำอธิบายตวั ชวี้ ัด 2.1 พจิ ารณาจากความสอดคลอ้ งระหวา่ งวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวช้ีวัด และ โครงการของ แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีกบั แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ดงั น้ี 1. วสิ ัยทศั น์ของแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปี ตรงกบั วสิ ัยทัศน์ของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2. พนั ธกจิ ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงค์ของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 3. เป้าประสงคข์ องแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปี ตรงกบั เปา้ ประสงค์ของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 4. กลยุทธข์ องแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกบั กลยุทธ์ของแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 5. ตวั ชว้ี ดั ของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกับตัวชว้ี ัดของแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 6. โครงการของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกับโครงการของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เกณฑ์การใหค้ ะแนนตัวช้วี ดั 2.1 ระดบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน คะแนน 1. วิสยั ทัศน์ของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกบั วสิ ยั ทศั นข์ องแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 0 2. พันธกจิ ของแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี ตรงกับเป้าประสงคข์ องแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 1 1. วิสยั ทศั นข์ องแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี ตรงกบั วสิ ัยทัศนข์ องแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2 2. พันธกิจของแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงค์ของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. เป้าประสงค์ของแผนปฏิบตั ิราชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงค์ของแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 3 1. วิสัยทศั น์ของแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปี ตรงกบั วสิ ยั ทัศนข์ องแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2. พนั ธกจิ ของแผนปฏิบตั ิราชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงคข์ องแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 4 3. เปา้ ประสงคข์ องแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงคข์ องแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 4. กลยุทธ์ของแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี ตรงกับกลยทุ ธ์ของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. วิสยั ทศั นข์ องแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปี ตรงกบั วสิ ัยทศั นข์ องแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2. พนั ธกิจของแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี ตรงกบั เปา้ ประสงคข์ องแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 3. เป้าประสงคข์ องแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงคข์ องแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. กลยุทธ์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี ตรงกับกลยุทธ์ของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 5. ตัวชวี้ ดั ของแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี ตรงกบั ตัวชวี้ ดั ของแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 1. วสิ ัยทศั น์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี ตรงกับวิสยั ทัศน์ของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2. พนั ธกจิ ของแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี ตรงกบั เป้าประสงค์ของแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 3. เปา้ ประสงคข์ องแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกับเป้าประสงค์ของแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 4. กลยุทธ์ของแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี ตรงกับกลยทุ ธ์ของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 5. ตวั ชว้ี ัดของแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี ตรงกับตวั ชว้ี ดั ของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 6. โครงการของแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ตรงกับโครงการของแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา

๔๕ การแปลความหมายระดับคะแนนตวั ชีว้ ดั 2.1 ระดับคะแนน 4 3 210 การแปลความหมาย ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ตอ้ งปรบั ปรงุ ตัวชีว้ ดั 2.2 รอ้ ยละของโครงการ/กจิ กรรม ในแผนปฏิบตั ิราชการประจำปีที่ถูกนำไปปฏบิ ัติ คำอธิบายตวั ช้วี ดั 2.2 พจิ ารณาจากร้อยละของโครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติราชการประจำปีการทถ่ี ูกนำไปดำเนินการ สูตรการคำนวณ ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมทถี่ ูกนำไปปฏบิ ัติ = จำนวนโครงการ/กิจกรรมท่ีถูกนำไปปฏบิ ัติ x 100 จำนวนโครงการทงั้ หมด เกณฑก์ ารให้คะแนนตัวชีว้ ดั 2.2 ระดบั เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน น้อยกว่าหรอื เท่ากับร้อยละ 60 ของโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี 0 ทถี่ กู นำไปดำเนินการ รอ้ ยละ 60.01-70 ของโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปที ่ีถกู นำไปดำเนินการ 1 ร้อยละ 70.01-80 ของโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติราชการประจำปที ี่ถกู นำไปดำเนินการ 2 รอ้ ยละ 80.01-90 ของโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏิบัติราชการประจำปีทถี่ ูกนำไปดำเนินการ 3 รอ้ ยละ 90.01 - 100 ของโครงการ/กจิ กรรมในแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปที ีถ่ กู นำไปดำเนินการ 4 การแปลความหมายระดับคะแนนตวั ชวี้ ดั 2.2 ระดบั คะแนน 4 3 2 1 0 การแปลความหมาย ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ตอ้ งปรบั ปรงุ ประเด็นการประเมินที่ 3 ผลของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดบั คณุ ภาพ 43210 รายการ ประเดน็ การประเมินท่ี 3 ผลของแผนพัฒนาการศึกษา ตัวชีว้ ัด 3.1 สัดส่วนตัวช้วี ัดของเป้าประสงค์ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาที่บรรลุ ตามเป้าหมายท่ีกำหนด รวมคะแนน คำอธบิ ายตวั ช้วี ัด 3.1 พจิ ารณาจากจำนวนตัวช้วี ัดทีบ่ รรลุตามเป้าหมายทกี่ ำหนดกับจำนวนตัวชีว้ ดั ทัง้ หมดของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา สูตรการคำนวณ สัดสว่ นตวั ชวี้ ัดท่บี รรลตุ ามเปา้ หมายทก่ี ำหนด = จำนวนตัวชว้ี ดั ทบี่ รรลุตามเปา้ หมายท่ีกำหนด จำนวนตวั ช้วี ัดท้ังหมด

๔๖ เกณฑก์ ารให้คะแนนตัวช้ีวัด 3.1 ระดับคะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 0 สัดสว่ นตวั ชี้วดั ทบ่ี รรลุตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั 0.60 1 สัดสว่ นตวั ช้ีวดั ทบี่ รรลุตามเปา้ หมายท่ีกำหนด = 0.61-0.70 2 สดั สว่ นตวั ชว้ี ดั ที่บรรลตุ ามเป้าหมายท่ีกำหนด = 0.71-0.80 3 สัดสว่ นตวั ชว้ี ดั ทบ่ี รรลุตามเป้าหมายทก่ี ำหนด = 0.81-0.90 4 สดั ส่วนตัวชว้ี ัดท่ีบรรลุตามเป้าหมายทกี่ ำหนด = 0.91-1.00 การแปลความหมายระดบั คะแนนตวั ช้ีวัด 3.1 ระดับคะแนน 4 3 210 การแปลความหมาย ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ตอ้ งปรบั ปรุง

๔๗ ฉบบั ท่ี 2/2565 แบบประเมินคู่มอื การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ เกณฑ์การให้ระดับคณุ ภาพ 1 หมายถึง เม่ือประเมนิ แลว้ อยใู่ นระดับ 0 - 49 (% ของงานหรอื คา่ เฉลยี่ 1.74 ของระดบั คุณภาพ) ตอ้ งปรับปรงุ 2 หมายถงึ เมื่อประเมนิ แล้วอยู่ในระดับ 50 ถงึ 74 (% ของงานหรือคา่ เฉลีย่ 1.75-2.74 ของระดับ คณุ ภาพ) พอใจ 3 หมายถงึ เมอ่ื ประเมนิ แล้วอยู่ในระดับ 75 ถงึ 89 (% ของงานคา่ เฉล่ยี 2.75-3.49 ของระดับ คณุ ภาพ) ระดบั ดี 4 หมายถึง เมื่อประเมนิ แลว้ อย่ใู นระดบั 90 ขนึ้ ไป (% ของงานคา่ เฉลยี่ 3.50-4.00 ของระดับคณุ ภาพ) ระดบั ดีมาก คำชี้แจง โปรดใส่เครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งคะแนนตามความเห็นของทา่ น ท่ี รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ด้านการจัดทำคูม่ อื การปฏิบัตงิ านของหน่วยศกึ ษานิเทศก์ 123 4 1 สอดคล้องแผนพัฒนาการศกึ ษาในระดับชาติและระดับกรุงเทพมหานคร 2 สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและบริบทของหนว่ ยงาน 3 มีการดำเนินงานตามลำดับขั้นตอน 4 มีการกำหนด วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงคแ์ ละยุทธศาสตร์ ในแนวทางเดียวกนั 5 ความเป็นไปได้ในแนวทางปฏบิ ัติตามคมู่ ือการปฏบิ ตั งิ าน 6 การกำหนดขอบเขตการปฏิบัตติ ามหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ ด้านการปฏิบัตงิ านตามกระบวนงานหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบของหน่วยศึกษานเิ ทศก์ 20 กระบวนงาน 1 กระบวนงาน รบั -สง่ หนงั สอื 2 กระบวนการทำลายเอกสาร 3 กระบวนงานการจดั ทำคำของบประมาณ 4 กระบวนงานการจดั ซื้อ-จดั จ้าง 5 กระบวนงานการขอพระราชทานเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์ 6 กระบวนงานการการควบคมุ วนั ลา 7 กระบวนงานการใชร้ ถราชการ 8 กระบวนงานการควบคุมการใชน้ ้ำมันรถราชการ ด้านการปฏิบัติงานตามกระบวนงานหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบของหน่วยศึกษานิเทศก์ 20 กระบวนงาน (ต่อ) 9 กระบวนงานการวางแผนการนเิ ทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook