Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Published by WATKAO, 2021-01-25 07:59:03

Description: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Keywords: แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

www.webkal.org

แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๗๒๐๐-๑๙-๔ จดั ทำ�โดย พระมหาเถระ รนุ่ ปี ๒๕๓๔ วดั พระธรรมกาย เน่ืองในโอกาส ทีร่ ะลึกงานมุทิตาสกั การะ พระมหาเถระและพระเถระ วนั อาทติ ย์ที่ ๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ขออนโุ มทนาบุญกับทกุ ทา่ น ผมู้ สี ่วนช่วยใหห้ นงั สือ... “แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก” ส�ำ เรจ็ บรบิ ูรณ์ จำ�นวนพมิ พ์ ๘,๐๐๐ เล่ม พิมพท์ ี่ บริษทั ร่งุ ศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำ กัด โทร. ๐-๒๗๔๓-๙๐๐๐ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสำ�นักหอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก.-- ปทมุ ธานี : มูลนธิ ธิ รรมกาย, ๒๕๕๓. ๒๖๔ หนา้ . ๑. ธรรมะ. ๒. พระไตรปิฎก. I. ชอ่ื เรื่อง. ๒๙๔.๓๑๕ www.webkal.org

นโม ตสฺส ภควโต... ขอนอบน้อมแด่ คุณพระรัตนตรัย และ คุณครูอปุ ัชฌายอ์ าจารย์ พระมงคลเทพมนุ ี (สด จันทสโร) พระราชภาวนาวสิ ทุ ธิ์ (หลวงพ่อธมั มชโย) พระภาวนาวริ ิยคุณ (หลวงพ่อทตั ตชโี ว) และคุณยายอาจารยม์ หารตั นอบุ าสกิ าจนั ทร์ ขนนกยงู คณุ มารดา - บิดา ทท่ี �ำ ให้มพี วกเราทุกรูปในวนั นี้ www.webkal.org

คำ�น�ำ “แรงบันดาลใจ” คือ ประกายแห่งความคิดอันเจิดจ้า กลา้ ท่ีจะลกุ ขึ้นมาเปลี่ยนแปลงใหเ้ กดิ สงิ่ ท่ีดีขึ้น “แรงบันดาลใจ” คือ พลังชวี ิตที่พรอ้ มจะพชิ ิตอปุ สรรค ไปสู่ความสำ�เรจ็ การสรา้ งบารมีไมว่ ่ายคุ นหี้ รือยคุ ไหนๆ ลว้ นต้องอาศยั แรงบนั ดาลใจอยา่ งแรงกลา้ ทจี่ ะทวนกระแสกเิ ลส แกไ้ ขสงิ่ ไมด่ ี เพียรสร้างความดี และอดทนรักษาความดใี ห้ไดต้ ลอดรอดฝง่ั “พระไตรปิฎก” คือ คัมภีร์ที่สำ�คัญและยิ่งใหญ่ท่ีสุด ในโลก เป็นแหล่งรวบรวมคำ�สอนอันบริสุทธ์ิของพระสัมมา- สมั พทุ ธเจา้ และพระอรหนั ตสาวกทงั้ หลาย นบั เปน็ แหลง่ กำ�เนดิ แรงบันดาลใจชัน้ ยอด ของชาวพุทธมาตลอดอายพุ ุทธกาล www.webkal.org

“พระไตรปฎิ ก” เปน็ ประดจุ ตน้ โพธิ์ใหญ่ ท่ีให้รม่ เงา แหง่ ธรรมอนั ชมุ่ เยน็ แกเ่ หลา่ สรรพสตั วท์ ง้ั หลายไดพ้ กั พงิ อาศยั ให้คลายทุกข์ และสร้างพลังชีวิตที่จะพิชิตกิเลสอันเร่าร้อน ในวฏั สงสาร เพอื่ เดนิ ทางตอ่ ไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย คอื พระนพิ พาน ตลอดระยะเวลา ๒๐ พรรษา ท่ผี ่านมา พระมหาเถระ ท้ังหลายตา่ งได้อาศยั ธรรมะในพระไตรปฎิ ก เปน็ แรงบนั ดาลใจ ในการฝึกฝนอบรมตนเองมาตลอด ท้ังโดยอ่านผ่านตาและใจ และฟงั ผ่านค�ำ สอนของครูบาอาจารย์ ในโอกาสน้ีจึงได้จัดทำ�หนังสือ “แรงบันดาลใจ จาก พระไตรปฎิ ก” โดยคดั จากเนอื้ หาในพระไตรปฎิ กทผี่ จู้ ดั ท�ำ รสู้ กึ ประทบั ใจ และเกิดแรงบันดาลใจดีๆ กับตนเองมาแล้ว พรอ้ ม สอดแทรกขอ้ คิดเลก็ น้อยเปน็ เคร่อื งน�ำ ทางแกผ่ อู้ ่าน คณะผจู้ ดั ท�ำ จงึ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ทา่ นผอู้ า่ นทกุ ทา่ นจะ ไดแ้ รงบนั ดาลใจดๆี จากหนงั สอื เลม่ น้ี เพอ่ื น�ำ ไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ จรญิ ในธรรมสบื ไป พระมหาเถระรุ่นปี ๒๕๓๔ วดั พระธรรมกาย www.webkal.org

สารบัญ ๔ ๑๓ คำ�นำ� ๑๗ ภาค ๑ ก�ำ ลงั ใจ ๒๓ ๒๗ กลา้ สอู้ ปุ สรรค ๓๓ กำ�ลังใจชนะอุปสรรค ๓๗ ผชู้ นะทีแ่ ทจ้ รงิ ๔๑ ยิ่งมดื ยิ่งใกล้สว่าง ๔๗ Positive Thinking ๕๓ เพยี งรักษาจติ เทา่ น้นั ๕๙ แข่งบุญแข่งบารม ี ๖๓ วธิ ชี นะคนพาล ๗๑ ผู้ชช้ี ะตาโลก ๗๗ ผู้อยใู่ กล้ตถาคต ๘๑ นำ้�ศักดส์ิ ิทธ์ิ แก้วบิ ากกรรม ๘๕ ๘๙ ภาค ๒ มองโลก มองชวี ิต ตาบอดคลำ�ชา้ ง สมบัติท่มี ีคา่ ท่ีสดุ ตนลิขิตชวี ิตตน ความงามอันจอมปลอม ความโกรธเหมือนรอยขดี www.webkal.org

ทกุ ข์เพราะกาม ๙๓ รักตนเอง ๙๗ น�ำ้ ตามากกว่ามหาสมุทร ๑๐๑ นนิ ทา สรรเสริญ ๑๐๕ เม่ือตอ้ งสอน ผู้มองต่างมุม ๑๐๙ คนรวยทแ่ี ท้จริง ๑๑๕ เกดิ ในโลก แตไ่ ม่ติดในโลก ๑๑๙ หากเดินผดิ ทาง แม้เก่งเท่าไรกไ็ ม่ถงึ เป้าหมาย ๑๒๕ กวา่ จะรจู้ ักกนั ๑๒๙ ๑๓๗ ภาค ๓ การสัง่ สมบญุ ๑๔๓ ๑๔๙ ท�ำ ดี ตอ้ งไม่มขี อ้ แม ้ ๑๕๕ ยอดผนู้ �ำ บุญ ๑๕๙ ผูเ้ ป็นใหญ่ในทรัพย ์ ๑๖๕ การได้ฟงั ธรรมเปน็ ลาภอันประเสรฐิ ๑๖๙ สอนตนเองใหไ้ ด ้ ๑๗๓ พันธนาการแหง่ ชีวติ ๑๘๑ ย่ิงสูงส่ง ย่ิงอ่อนน้อม ๑๘๙ สขุ ของคนดี ๑๙๓ ท�ำ ไมตอ้ งบวชแต่หนุ่ม สร้างบญุ อะไรดกี วา่ คบู่ ุญ www.webkal.org

ภาค ๔ การปฏิบตั ิธรรม ๑๙๙ ๒๐๓ กิจทีส่ ำ�คัญทีส่ ุด ๒๐๗ ปล่อยทุกอย่าง วางทุกส่งิ ๒๑๑ ความต่อเนื่อง ๒๑๕ ความพอดี ๒๑๗ ปัจจบุ ันสำ�คญั ท่สี ุด ๒๒๑ ตอ้ งรักษาใจ ๒๒๓ หนักแนน่ ดัง่ แผน่ ดิน ๒๒๗ ชา้ ๆ...แตค่ ุ้มคา่ ๒๓๑ เอาเตา่ เปน็ ครู ๒๓๕ เคร่อื งกน้ั จติ ปดิ กั้นใจ ๒๓๙ บุญมาก บรรลธุ รรมงา่ ย ๒๔๕ “ไมม่ เี วลา” ไม่มีในโลก ๒๔๙ ที่สดุ โลก ในตัวคณุ ภารกิจและจติ ใจ ๒๕๓ ๒๖๔ รายนามเจา้ ภาพร่วมอนโุ มทนา รายนามพระมหาเถระ ร่นุ ปี ๒๕๓๔ www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

www.webkal.org

กล้าสูอ้ ปุ สรรค ภาษิตจีนกล่าวว่า “หนทางหมื่นล้ี เริ่มต้นที่ก้าวแรก” กา้ วแรกจงึ เปน็ กา้ วทย่ี ง่ิ ใหญ่ เพราะท�ำ ใหม้ กี า้ วทส่ี อง กา้ วทส่ี าม ตามมา จนถึงกา้ วสุดทา้ ยบนเส้นชยั แต่กว่าจะเกิดกา้ วแรกได้ ตอ้ งมคี วาม “กลา้ ” กล้าทจี่ ะขวา้ งใจไปวางไวท้ ี่ตำ�แหนง่ หมื่นล้ี แล้วตัดสินใจก้าวเดินไปสู่จุดท่ีใจหวังตั้งไว้ ความกล้าจึงเป็น คณุ ลักษณะคูค่ นอศั จรรยข์ องโลกมาแตบ่ รรพกาล และสุดยอดคนอศั จรรย์ของจักรวาล คือ พระสมั มา- สัมพุทธเจ้า ทรงเป็นแบบอย่างของผู้กล้าในผู้กล้าทั้งหลาย แม้แต่ในสมัยที่ยังเป็นพระโพธิสัตว์มิได้ตรัสรู้ ก็ยังกล้าท่ีจะ เผชิญต่ออุปสรรคท้ังหลาย ไม่ปล่อยให้ความกลัวครอบงำ� ใจได้นานๆ เม่ือความกลัวเกิดข้ึนที่ไหน ก็กล้าสู้อยู่ตรงน้ัน จนกว่าจะชนะ ดังทพ่ี ระองคต์ รสั เลา่ ไว้ ดงั นี้ สมยั หนงึ่ พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี คร้ังน้ัน พราหมณช์ อื่ ชาณสุ โสณเิ ขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ถงึ ทป่ี ระทบั ภยเภรวสูตร : พระสุตตันตปิฎก มชั ฌิมนกิ าย มลู ปณั ณาสก์, มมร. เล่ม ๑๗ หน้า ๒๖๐ www.webkal.org

14 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก กราบทูลถามปัญหาว่า “ขา้ แต่ท่านพระโคดม เสนาสนะอันเงยี บสงดั คือ ป่า โปรง่ และปา่ ทบึ อยลู่ �ำ บาก ท�ำ วเิ วกไดย้ าก ในการอยโู่ ดดเดยี่ ว ก็อภิรมย์ได้ยาก ป่าทั้งหลายเห็นจะชักนำ�จิต ของภิกษุผู้ยัง ไมไ่ ด้สมาธิให้หวาดหวน่ั ” พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงตรัสถึงเหตุแห่งความสะดุ้ง กลัว และไมส่ ะดุ้งกลวั ของการอยใู่ นเสนาสนะป่า ๑๖ ประการ มี กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมบรสิ ทุ ธิ์ เปน็ ตน้ จากนนั้ ไดต้ รสั เลา่ เหตกุ ารณเ์ มอื่ ยงั เปน็ พระโพธสิ ตั ว์ ไมไ่ ดต้ รสั รู้ ทรงฝกึ ตนให้ เอาชนะความหวาดกลวั ท่ีเกดิ ขึ้น ขณะอยู่ในป่า โดยทรงทดลองไปอยทู่ ่ี อารามเจดยี ์ วนเจดยี ์ รกุ ขเจดยี ์ อนั นา่ สะพรงึ กลวั นา่ ขนพองสยองเกลา้ ในคนื เดอื นมดื ๑๔ ค�่ำ ๑๕ ค�่ำ และ ๘ ค�ำ่ แหง่ ปกั ษ์ เมอื่ อยใู่ นเสนาสนะนน้ั เสยี งสตั วป์ า่ มา นกยูงทำ�ไม้ให้ตกลงมา หรือลมพัดเศษใบไม้ให้ตกลงมา ความกลัวก็เกดิ ข้ึนกับพระองค์ จึงทรงดำ�รวิ า่ “เพราะเหตุไร เราจึงคิดกังวล แต่เรื่องความกลัวอยู่ อย่างเดยี ว ทางที่ดี เราควรจะกำ�จัดความกลัวและความขลาด ทีเ่ กดิ ขน้ึ แกเ่ ราในอริ ยิ าบถทเี่ ราเปน็ อยู่น้ันๆ เสีย เมอ่ื เราก�ำ ลงั (เดนิ ) จงกรมอยู่ ความกลวั และความขลาด www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 15 เกดิ ขึน้ แก่เรา เราจะไม่ยืน ไมน่ งั่ ไมน่ อน จะจงกรมอยู่จนกว่า จะกำ�จัดความกลวั และความขลาดนน้ั ได้ เมอ่ื เรายนื อยู่ ความกลัวและความขลาดเกดิ ข้นึ แก่เรา เราจะไมจ่ งกรม ไมน่ งั่ ไม่นอน จะยนื อยจู่ นกวา่ จะก�ำ จัดความ กลัวและความขลาดนนั้ ได้ เมอ่ื เราน่งั อยู่ ความกลัวและความขลาดเกิดขึ้นแกเ่ รา เราจะไม่นอน ไมย่ ืน ไม่จงกรม จะน่งั อยูจ่ นกวา่ จะก�ำ จดั ความ กลัวและความขลาดนัน้ ได้ เมอ่ื เรานอนอยู่ ความกลวั และความขลาดเกดิ ขนึ้ แกเ่ รา เราจะไมน่ ัง่ ไม่ยืน ไมจ่ งกรม จะนอนอยูจ่ นกวา่ จะก�ำ จดั ความ กลัวและความขลาดนน้ั ได”้ กลวั กบั กลา้ เปน็ คนละสดุ ขวั้ เมอื่ มคี วามกลา้ กป็ ราศจาก ความกลัว หากกล้าๆ กลัวๆ ก็คือพะวักพะวน ไม่สามารถ ตัดสินใจทำ�อะไรได้ ความสำ�เร็จก็ห่างไกล ฉะนั้นเราท่าน ทั้งหลาย มาสะสมนิสัยแห่งความกล้ากันเถิด กล้าท่ีจะก้าว ขา้ มความกลัว กล้าทีจ่ ะเปล่ยี นแปลง กลา้ ท่ีจะท�ำ ความดี โดย ไม่ครั่นคร้ามต่ออุปสรรคใดๆ เม่ือนั้นความสำ�เร็จก็จะมาถึง ในไมช่ า้ อย่างแน่นอน www.webkal.org

www.webkal.org

แหล่งกำ�เนิดก�ำ ลงั ใจ ก�ำ ลงั ใจเปน็ เรอื่ งสำ�คญั ยอดเขาหมิ าลยั เคยสูงเสียดฟา้ จนไมม่ ผี ใู้ ดไปถงึ แตส่ ดุ ทา้ ยกส็ งู ไมเ่ กนิ เขา่ ของผพู้ ชิ ติ เหตทุ ส่ี รา้ ง ความอศั จรรยเ์ ชน่ น้ันให้เกิดข้ึน ส่วนส�ำ คญั ทสี่ ดุ คือ “ก�ำ ลังใจ” เมื่อมีก�ำ ลังใจยอ่ มชนะอปุ สรรคท้ังมวลได้ แตก่ ระนนั้ ก�ำ ลงั ใจ กใ็ ชว่ า่ จะเกดิ ขน้ึ เอง หรอื ซอ้ื หาไดต้ าม ทอ้ งตลาด แล้วหากเราอยากสรา้ งก�ำ ลังใจ ตอ้ งทำ�อย่างไรเลา่ ในเรอื่ งน้ี พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดเ้ คยตรสั เลา่ ถงึ วธิ สี รา้ ง กำ�ลังใจของเทวดาในยามทำ�สงครามกับอสูร แล้วตรัสแสดง วิธีการสร้างกำ�ลังใจที่แท้จริงในพระพุทธศาสนา ปรากฏใน ธชคั คสตู ร ดังน้ี สมัยหน่ึง พระผูม้ พี ระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวนั อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ณ ท่ีนั้น พระผมู้ ีพระภาครบั ส่ังเรียกภกิ ษุท้ังหลายมาตรสั วา่ “ภกิ ษทุ งั้ หลาย เรอื่ งเคยมมี าแลว้ สงครามระหวา่ งเทพ ธชคั คสูตร : พระสตุ ตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค, มมร. เล่ม ๒๕ หน้า ๔๖๓ www.webkal.org

18 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก กบั อสูรประชิดกนั ครั้งนนั้ ท้าวสักกะจอมเทพรบั สั่งกบั เทพช้ัน ดาวดงึ สว์ า่ “ทา่ นผนู้ ริ ทกุ ขท์ งั้ หลาย ถา้ ความกลวั ความหวาดสะดงุ้ หรือความขนพองสยองเกล้า จะพึงเกิดข้ึนแก่พวกเทพผู้ไป ในสงคราม สมัยนน้ั พวกทา่ น พงึ แลดูยอดธงของเรา เพราะ วา่ เมือ่ พวกทา่ นแลดูยอดธงของเราอยู่ ความกลัว ความหวาด สะดุง้ หรือความขนพองสยองเกลา้ ทีจ่ กั เกิดขึ้นก็จักหายไป ถ้าพวกท่านไม่แลดูยอดธงของเรา ทีนั้น พวกท่านพึง แลดูยอดธงของทา้ วปชาบดีเทวราชเถิด... ถา้ พวกทา่ นไมแ่ ลดยู อดธงของทา้ วปชาบดเี ทวราช ทนี นั้ พวกทา่ นก็พึงแลดยู อดธงของทา้ ววรุณเทวราชเถดิ ... ถ้าพวกท่านไม่แลดูยอดธงของท้าววรุณเทวราช ทีนั้น พวกทา่ นพึงแลดยู อดธงของท้าวอสี านเทวราชเถิด... เม่ือพวกเทพแลดูยอดธง ของท้าวสักกะจอมเทพก็ดี แลดูยอดธงของท้าวปชาบดีเทวราชก็ดี แลดูยอดธงของท้าว วรณุ เทวราชกด็ ี แลดูยอดธงของท้าวอีสานเทวราชก็ดี ความ กลัว ความหวาดสะดุง้ หรือความขนพองสยองเกลา้ ทจี่ ักเกดิ ข้นึ พึงหายไปบ้าง ไม่หายไปบา้ ง ขอ้ นัน้ เพราะเหตไุ ร www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 19 เพราะว่า ท้าวสักกะจอมเทพยังไม่ปราศจากราคะ ไมป่ ราศจากโทสะ ไมป่ ราศจากโมหะ เปน็ ผมู้ คี วามกลวั มคี วาม หวาดสะดุ้ง หนีไปอยู่ ภิกษทุ ้ังหลาย ส่วนเรากลา่ วอย่างนี้ว่า “ภิกษทุ ้งั หลาย หากว่าความกลัว ความหวาดสะดุ้ง หรือความขนพองสยอง เกล้า พึงบงั เกิดแกพ่ วกเธอผอู้ ยู่ในป่า อยทู่ ีโ่ คนไม้ หรอื อยู่ใน เรอื นวา่ ง ทนี นั้ พวกเธอพงึ ระลกึ ถงึ เราตถาคตเนอื งๆ เทา่ นนั้ วา่ ‘แมเ้ พราะเหตุน้ี พระผู้มพี ระภาคพระองค์น้นั เปน็ พระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียบพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ เสด็จไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกผู้ควรฝึกได้อย่าง ยอดเยี่ยม เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็น พระพุทธเจา้ (ผู้รู้ ผตู้ ืน่ ผู้เบิกบานแล้ว) เป็นผู้จ�ำ แนกธรรม’ เพราะว่า เมื่อพวกเธอระลึกถึงเราตถาคตเนืองๆ อยู่ ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง หรือความขนพองสยองเกล้าท่จี ัก เกดิ ข้ึนกจ็ ักหายไป ถา้ พวกเธอไมร่ ะลกึ ถงึ เราตถาคตเนอื งๆ ทนี น้ั พวกเธอพงึ ระลึกถงึ พระธรรมเนืองๆ วา่ ‘พระธรรม อันพระผ้มู พี ระภาค ตรัสไว้ดีแล้ว ผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง ไม่ประกอบ ด้วยกาล ควรเรยี กใหม้ าดู ควรนอ้ มเข้ามาในตน อันวิญญูชน พงึ รู้เฉพาะตน’ www.webkal.org

20 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เพราะว่า เมื่อพวกเธอระลึกถึงพระธรรมอยู่เนืองๆ ความกลวั ความหวาดสะดุ้ง หรอื ความขนพองสยองเกลา้ ทจ่ี กั เกดิ ขึ้นกจ็ ักหายไป ถา้ พวกเธอไม่ระลึกถงึ พระธรรมเนืองๆ ทนี ้ัน พวกเธอ พึงระลึกถึงพระสงฆ์เนืองๆ วา่ ‘พระสงฆ์ สาวกของพระผู้มี พระภาค เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ติ รง ปฏบิ ตั ถิ กู ทาง ปฏบิ ตั สิ มควร ไดแ้ ก่ อรยิ บคุ คล ๔ คู่ คอื ๘ บุคคล พระสงฆส์ าวกของพระ ผู้มพี ระภาคน้ี เป็นผู้ควรแกข่ องทเ่ี ขานำ�มาถวาย ควรแก่ของ ต้อนรบั ควรแก่ทักษิณา ควรแก่การทำ�อญั ชลี เปน็ นาบญุ อัน ยอดเยยี่ มของโลก’ เพราะวา่ เมอื่ พวกเธอระลกึ ถงึ พระสงฆอ์ ยเู่ นอื งๆ ความ กลวั ความหวาดสะดงุ้ หรอื ความขนพองสยองเกลา้ ทจี่ กั เกดิ ขน้ึ ก็จกั หายไป ขอ้ น้นั เพราะเหตุไร เพราะว่า พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็น ผปู้ ราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ เปน็ ผ้ไู มม่ ี ความกลัว ไม่หวาดเสียว ไมส่ ะดุ้ง ไม่หนไี ป” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 21 คำ�ตอบของวิธีการสร้างกำ�ลังใจ คือ การระลึกถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ซึ่งมีอานุภาพไม่มีประมาณ แตท่ ว่า การระลกึ ถงึ พระรตั นตรยั กม็ ีอยู่ ๒ แบบ คือ ระลกึ ถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ภายนอก เป็นแบบ “ขอถึง” ซงึ่ อานุภาพก็เกดิ เพยี งบางส่วน แตอ่ กี ประการเปน็ แบบ “เข้าถึง” คอื ระลกึ ถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆภ์ ายใน ซง่ึ เปน็ รตั นะ ใสบริสุทธิ์ ท่ีสิงสถิตอยู่ที่ศูนย์กลางกายของเราทุกคน เช่นนี้ อานภุ าพและก�ำ ลงั ใจยอ่ มเกดิ ขนึ้ อยา่ งไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ สี น้ิ สดุ ดังนน้ั แหลง่ กำ�เนิดก�ำ ลงั ใจอันมหาศาล ไมม่ ปี ระมาณ ก็อย่ทู ี่ “ศนู ยก์ ลางกาย” ของเราน่นั เอง www.webkal.org

www.webkal.org

ผ้ชู นะทแี่ ทจ้ ริง จงอยา่ เสยี ใจ ในยามเสยี ทแี กค่ นพาล และอยา่ ดใี จหาก ชนะใครด้วยความชว่ั เพราะน่ันมิใชค่ วามชนะ หรือความแพ้ ทแ่ี ทจ้ ริง เป็นความแพ้ทจี่ ะกลบั ชนะได้ หรอื เป็นความชนะที่ จะกลบั พา่ ยแพใ้ นทีส่ ุด ในสมัยพุทธกาล มีสงครามระหว่างแคว้นมคธ และ แคว้นโกศล โดยมีเหตุจากพระเจ้าอชาตศัตรู หลงผิดเช่ือ คำ�ยุยงของพระเทวทัต จึงยึดอำ�นาจจากพระเจ้าพิมพิสาร พระราชบดิ า แลว้ กระท�ำ ปติ ฆุ าต ท�ำ ใหพ้ ระนางเวเทหิ พระราช มารดาเสยี ใจมาก หนกี ลับไปอยบู่ ้านเกดิ คอื แควน้ โกศล แล้ว ตรอมใจตายในทีส่ ุด พระเจา้ ปเสนทโิ กศล ผเู้ ปน็ พระเชษฐาพระนางเวเทหิ และเปน็ พระสหายกับพระเจา้ พิมพสิ าร โกรธแคน้ พระเจ้าอชาตศตั รู ผเู้ ปน็ หลาน จงึ ยดึ คนื แควน้ กาสี ซง่ึ เปน็ ของขวญั ทพ่ี ระเจา้ มหา- โกศล พระราชทานให้พระนางเวเทหิ เม่ือคราวอภิเษกสมรส กับพระเจ้าพิมพิสาร สังคามวัตถุสตู ร : พระสุตตันตปฎิ ก สงั ยตุ ตนกิ าย สคาถวรรค, มมร. เล่ม ๒๔ หนา้ ๔๖๙ www.webkal.org

24 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ฝา่ ยพระเจา้ แผน่ ดนิ มคธ อชาตศตั รู เวเทหบิ ตุ ร จงึ ยกทพั ไปบกุ แควน้ กาสี เมอ่ื พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทรงสดบั ขา่ ว กแ็ ตง่ ทพั ออกไปป้องกันเขตแดน เมื่อทำ�สงครามกัน ปรากฏผลว่า ฝ่ายพระเจ้าปเสนทิโกศลเป็นผู้ปราชัย ก็เสด็จล่าทัพกลับ กรงุ สาวัตถีราชธานีของพระองค์ เวลาเชา้ ภิกษเุ ป็นจำ�นวนมากเข้าไปบิณฑบาตยงั กรงุ สาวัตถี แล้วทราบข่าว ได้กลับมากราบทูลเร่ืองราวให้พระสัมมา- สัมพทุ ธเจ้าทรงทราบเหตกุ ารณ์ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าไดต้ รสั วา่ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระเจ้าแผ่นดินมคธอชาตศัตรู เวเทหบิ ตุ ร มีมติ รเลวทราม มีสหายเลวทราม มพี ระทัยนอ้ มไป ในคนเลวทราม ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย ฝา่ ยพระเจา้ ปเสนทิโกศล มีมิตรดีงาม มีสหายดีงาม มีพระทยั นอ้ มไปในคนดีงาม วันนี้ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทรงแพม้ าแลว้ อยา่ งน้ี จกั บรรทมเปน็ ทกุ ข์ ตลอดราตรนี ี”้ แลว้ ได้ตรสั พระคาถาประพนั ธ์ ว่า “ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้แพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ บุคคลละ ความชนะและความพา่ ยแพ้เสียแล้ว มีใจสงบ นอนเปน็ สุข” แตใ่ นการรบครงั้ ตอ่ มา สงครามจบลงดว้ ยความพา่ ยแพ้ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 25 ของพระเจา้ อชาตศตั รู ถกู พระเจา้ ปเสนทโิ กศลจบั เปน็ เชลยศกึ ไดด้ ว้ ยอบุ ายการรบ แตด่ ว้ ยความเอน็ ดทู ย่ี งั มตี อ่ หลาน จงึ เพยี ง แต่ยดึ พลชา้ ง พลม้า พลรถ และพลเดนิ เทา้ ไว้ แลว้ ปล่อยตัว กลับไป เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบ ได้ตรัสพระคาถา กบั ภกิ ษุทั้งหลายว่า บรุ ุษจะแย่งชงิ เขาไดส้ ำ�เรจ็ ก็เพียงชว่ั คราวเท่านั้น แต่ เมื่อใด ถูกคนเหล่าอื่นแย่งชิงกลับ ผู้นั้นย่อมเป็นผู้ถูกแย่งชิง เพราะวา่ คนพาลยอ่ มส�ำ คญั วา่ เปน็ สขุ ตราบเทา่ ทบี่ าปยงั ไมใ่ ห้ ผล แต่บาปใหผ้ ลเมือ่ ใด คนพาลยอ่ มประสบทกุ ขเ์ มอ่ื น้นั ผู้ฆ่าย่อมไดร้ ับการฆ่าตอบ ผ้ชู นะยอ่ มได้รับการชนะตอบ ผดู้ า่ ย่อมได้รับการดา่ ตอบ และผู้โกรธยอ่ มได้รบั ความโกรธตอบ ฉะนั้น เพราะความหมุนกลับแห่งกรรม ผู้แย่งชิงนั้น ยอ่ มถูกเขาแยง่ ชงิ เรื่องน้ีเป็นอุทาหรณ์ให้เห็นว่า ความแพ้ความชนะ ท่ีเกิดจากการสาดใส่กิเลสเข้าหากัน รังแต่นำ�มาซ่ึงความทุกข์ www.webkal.org

26 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปิฎก เป็นความพ่ายแพ้ท้ังสองฝ่าย ผู้ชนะย่อมก่อเวร ถูกจองเวร ผแู้ พก้ เ็ สียใจ นอนเป็นทกุ ข์ และหาทางแกแ้ ค้นกลับคนื ฉะน้ันพึงเป็นผู้ชนะด้วยความดีเถิด เพราะความเป็น ผชู้ นะท่ีแทจ้ ริง ยอ่ มเกิดไดด้ ว้ ยความดีเทา่ นัน้ ดงั ทพ่ี ระสัมมา- สมั พุทธเจ้าตรัสสอนว่า อกฺโกเธน ชเิ น โกธํ อสาธุํ สาธุนา ชิเน ชเิ น กทริยํ ทาเนน สจเฺ จนาลิกวาทินํ. “พึงชนะคนโกรธ ด้วยความไมโ่ กรธ พึงชนะคนไมด่ ี ด้วยความดี พงึ ชนะคนตระหน่ี ด้วยการให้ พงึ ชนะคนพดู เหลวไหล ดว้ ยค�ำ จรงิ ” www.webkal.org

ยิ่งมืด ยง่ิ ใกล้สว่าง ความหดหู่ทดท้อ หมดก�ำ ลังใจ เพราะเผชิญกับความ ลำ�บากแสนสาหัส ในขณะท่ีวิบากกรรมก�ำ ลังส่งผล มักทำ�ให้ หลายคน อยากตัดสินยุติชีวิตเพ่ือให้พ้นจากทุกข์ในปัจจุบัน แต่น่ันเป็นการด่ืมยาพิษแก้กระหาย มิใช่หนทางแก้ปัญหา ทแ่ี ทจ้ รงิ ขอใหเ้ ชอ่ื เถดิ วา่ คณุ คา่ ในตวั เรายง่ิ ใหญน่ กั เกนิ กวา่ ท่ี เราจะเขา้ ใจได้ ความทกุ ข์เผ็ดร้อนเปน็ ดงั หมอกควนั ทป่ี กคลมุ อำ�พรางมิให้ส่องเห็นแสงสว่างอันเจิดจ้าแห่งความสุข ที่อยู่ ภายในของทุกคน ดังเร่ืองราวจรงิ ในสมัยพุทธกาล มนี างทาสี ชอ่ื ว่า รชั ชุมาลา เปน็ ทาสในเรอื นเบี้ย คือ เกิดมาเป็นทาส เพราะพ่อแม่เป็นทาสในตระกูลพราหมณ์คน หนึ่ง ในกรงุ สาวตั ถี วันหนึง่ ตระกูลน้ันไดแ้ ตง่ สะใภเ้ ข้ามา แล้ว ต้ังให้เป็นใหญ่ในเรือน นับแต่นางเห็นลูกสาวทาสี ก็ไม่ชอบ หน้าดว้ ยเหตุทผี่ กู เวรกนั มาขา้ มชาติ นางแสดงอาการฮดึ ฮดั ดา่ วา่ ด้วยความโกรธ และชูก�ำ หมดั ใสล่ กู สาวทาสนี ั้น เมอ่ื ลกู สาว ทาสเี ติบโตขน้ึ พอจะท�ำ การงานได้ นางกใ็ ชเ้ ข่า ศอก กำ�หมดั ทุบตเี ธอเปน็ ประจ�ำ รชั ชมุ าลาวมิ าน : พระสุตตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย วมิ านวตั ถ,ุ มมร. เลม่ ๔๘ หนา้ ๓๙๘ www.webkal.org

28 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เมอ่ื เบยี ดเบยี นอยอู่ ยา่ งนี้ โดยไมม่ เี หตทุ สี่ มควรเลย นาง ได้จิกผม ใช้ทั้งมือท้ังเท้าตบถบี อยา่ งเต็มท่ี ทาสนี ้ันเม่อื โดนทำ� รา้ ยบ่อยๆ จงึ ไปศาลาอาบน�ำ้ แลว้ โกนผมเสยี เกล้ยี ง เม่ือหญิง สะใภเ้ หน็ จึงกล่าววา่ “เฮย้ อที าสชี ั่ว เพียงโกนผมเกลี้ยง มึง คดิ วา่ จะพน้ หรอื ” แลว้ เอาเชอื กพนั ศรี ษะ จบั นางใหก้ ม้ ลงเฆย่ี น ตรงนน้ั และสัง่ ไมใ่ หน้ างเอาเชอื กน้นั ออก นางทาสีจึงไดช้ ่ือวา่ รัชชุมาลา (ผมู้ เี ชอื กเป็นมาลา) ตงั้ แตน่ ้ันมา นางรชั ชมุ าลาไดร้ บั ทกุ ขท์ รมานเชน่ นน้ั ทกุ ๆ วนั อยนู่ าน หลายปี จนสุดความอดทน วันหนึง่ จงึ คิดวา่ “จะมีประโยชน์ อะไร ดว้ ยชีวิตอันลำ�เคญ็ เช่นน้ีของเรา” เกิดความเบอื่ หน่าย ในชวี ติ คดิ จะฆ่าตัวตาย ในวนั นนั้ เอง ตอนใกลร้ งุ่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เสดจ็ ออก จากมหากรุณาสมาบัติ ทรงตรวจดูสัตวโลก เห็นอุปนิสัยแห่ง โสดาปัตติผลของนางรัชชุมาลา และการดำ�รงอยู่ในสรณะ และศลี ของนางพราหมณสี ะใภน้ น้ั จงึ เสดจ็ เขา้ ไปปา่ ประทบั นงั่ ที่โคนไม้ต้นหนึ่ง ทรงเปล่งพระพุทธรัศมี เป็นฉัพพรรณรังสี (แสงสี ๖ ประการ) ออกไป ฝ่ายนางรัชชุมาลาคิดจะผูกคอตาย จึงถือเอาหม้อน้ำ� ออกจากเรือนไป ท�ำ ทเี ดินไปทา่ น�้ำ เข้าไปในราวปา่ ตามลำ�ดับ ผกู เชอื กเขา้ ทก่ี ง่ิ ไมต้ น้ หนง่ึ ทไ่ี มไ่ กลจากตน้ ไมท้ พ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 29 ประทับน่ัง ประสงค์จะทำ�เป็นบ่วงผูกคอตาย หันมองดูไป ข้างโน้นข้างน้ี ก็เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งอยู่ ณ ทน่ี น้ั ดนู า่ เลอ่ื มใสอย่างยิ่ง กำ�ลังเปลง่ พระพทุ ธรัศมีอยู่ คร้ัน เหน็ แลว้ ใจกถ็ กู ความเคารพในพระพทุ ธเจ้าเหน่ียวรงั้ ไว้ จงึ คดิ ว่า ท�ำ ไฉน พระคณุ เจา้ นี้จะแสดงธรรมแมแ้ ก่คนเชน่ เรา ท่ีเรา ไดฟ้ ังแลว้ พงึ พ้นจากชีวติ ท่ีล�ำ เคญ็ นี้ได้หนอ คร้ังนั้น พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรงทราบวาระจติ ของนาง แลว้ จงึ ตรสั เรียกว่า “รัชชมุ าลา” นางได้ยนิ พระดำ�รัสนั้นแล้ว เกดิ ปตี วิ า่ “พระองคร์ จู้ กั เรา” เปน็ ประหนงึ่ วา่ ถกู โสรจสรงดว้ ย น�้ำ อมฤต ไดถ้ กู ปตี สิ มั ผสั ไมข่ าดสาย เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค เจา้ ถวายบังคมแล้วไดย้ นื อยู่ ณ ทส่ี มควรสว่ นขา้ งหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอนุปุพพีกถา และอริยสัจ ๔ แกน่ าง นางกไ็ ดต้ ้งั อยใู่ นโสดาปตั ตผิ ล พระศาสดาทรงดำ�รวิ ่า ‘บัดนี้นางเกิดเป็นคนใหม่ที่ใครๆ จะกำ�จัดไม่ได้แล้ว’ แล้วจึง เสด็จจากไป ฝา่ ยนางรชั ชมุ าลา ไดเ้ กดิ ใหมภ่ ายในเปน็ โสดาบนั บคุ คล กายใจผ่องใส สมบูรณด์ ว้ ยสิริวรรณะ และพลงั ใจ หมดความ คิดท่ีจะฆ่าตัวตายอีก จึงคิดว่า “นางพราหมณีจะฆ่าหรือจะ เบยี ดเบยี นเรา หรอื จะท�ำ การอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ กช็ า่ งเถดิ ” แลว้ เอาหมอ้ ตกั น�้ำ กลบั ไปเรอื น ฝา่ ยพราหมณเ์ จา้ นายยนื อยทู่ ปี่ ระตู www.webkal.org

30 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เรอื นเหน็ นางแล้ว จงึ ถามว่า “วนั น้ี เธอไปท่าน�้ำ ต้ังนานแลว้ จงึ มา และสหี นา้ ของเธอกด็ ผู อ่ งใสยง่ิ นกั เธอดเู ปลย่ี นไปเพราะ อะไร” นางจึงเลา่ ความเป็นไปนน้ั แกเ่ จา้ นาย พราหมณ์ฟังคำ�ของนางก็ยินดี เข้าไปในเรือน แลว้ กลา่ วแกล่ ูกสะใภ้ ไม่ให้ปฏิบัตติ อ่ นางรชั ชุมาลาเช่นเดิมอกี แล้วไปยงั ส�ำ นกั ของพระศาสดา ถวายบงั คมแล้ว นมิ นต์พระ ศาสดาแลว้ น�ำ มาสเู่ รอื นของตน องั คาสเลย้ี งดดู ว้ ยของเคยี้ วของ ฉันอันประณีต พอพระผู้มีพระภาคเจา้ เสวยเสรจ็ ชกั พระหตั ถ์ ออกจากบาตร จึงเข้าไปเฝ้านั่ง ณ ท่ีสมควร แม้สะใภ้ของ พราหมณน์ น้ั กเ็ ขา้ ไปเฝา้ ถวายบงั คมแลว้ น่งั ณ ท่ีสมควร พระศาสดาตรสั กรรมทผ่ี กู เวรกนั มาในชาตกิ อ่ นของนาง รัชชุมาลา และของนางพราหมณีน้ันโดยละเอียด แล้วทรง แสดงธรรมตามสมควรแก่บริษัทท่ีมาประชมุ กัน นางพราหมณี และมหาชนที่ประชมุ กนั ในท่นี ้นั ฟงั ธรรมนนั้ แล้ว ต่างดำ�รงอยู่ ในสรณะและศลี พระศาสดาเสด็จลุกข้ึนจากอาสนะ ไดเ้ สด็จ ไปกรุงสาวัตถีตามเดมิ พราหมณไ์ ด้ตั้งนางรชั ชุมาลาไว้ในตำ�แหนง่ เปน็ ลูกสาว ฝ่ายลูกสะใภ้ของพราหมณ์ ก็มองดูนางรัชชุมาลาด้วยนัยน์ตา แสดงความรัก หมดเวรทอี่ าฆาตกนั มาข้ามชาติ ปฏิบตั ติ ่อกัน ด้วยความสิเน่หาน่าพอใจทีเดียวตราบเทา่ ชีวิตหาไม่ www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 31 ตอ่ มานางรชั ชมุ าลาตายไปบงั เกดิ เปน็ เทพธดิ า ในสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ นางมีอัปสรพันหน่ึงเป็นบริวาร นางประดับองค์ ด้วยเคร่ืองอาภรณ์อันเป็นทิพย์ มีประมาณบรรทุกหกสิบเล่ม เกวยี น เสวยทพิ ยสมบตั อิ ยา่ งใหญ่หลวง มใี จเบกิ บานเที่ยวเตร่ ไปในสวนนนั ทวนั เปน็ ต้น คร้ังนัน้ ท่านพระมหาโมคคลั ลานะ ไปเที่ยวเทวจาริก เห็นนางรุ่งโรจน์อยู่ด้วยเทวานุภาพ ด้วย เทวฤทธอ์ิ นั ยง่ิ ใหญ่ จึงถามถงึ กรรมทน่ี างไดก้ ระทำ�ไว้ แล้วกลับ มาเล่าให้พุทธบริษัทฟัง จะเห็นได้ว่า เมือ่ ความมดื แห่งรัตตกิ าลมาเยือน ยงิ่ มืด หนกั เขา้ เทา่ ใด กย็ ่อมเปน็ สัญญาณว่า ความสวา่ งของอาทติ ย์ อุทัยกำ�ลังจะมาเยือนในไม่ช้า เราต้องเช่ือมั่นว่า วิบากกรรม อันเผ็ดรอ้ นจากอกุศลกรรมทสี่ ง่ ผลอยู่ ยอ่ มมีสักวนั ท่ีหมดแรง หรอื บญุ ทเ่ี ราสง่ั สมไวใ้ นอดตี ยอ่ มตามมาสง่ ผลสกั วนั เราตอ้ งสู้ ความทุกข์ดว้ ยการหมัน่ สั่งสมบุญไปทกุ ๆ วนั ใหบ้ ุญเขม้ ข้นจน ไปตดั รอนวบิ ากกรรมเกา่ ให้หมดสนิ้ ไป เม่ือนนั้ แสงสว่างแห่ง ความสขุ จะมาเยือนและอย่กู บั เราตราบนริ ันดร์ www.webkal.org

www.webkal.org

Positive Thinking โลกที่เราอยู่ก็ดำ�เนินไปอย่างที่เคยเป็น ลมยังคงพัด ฝนยงั คงตก ดวงอาทติ ยย์ งั คงเคลอ่ื นไป แตท่ �ำ ไมบางคนมคี วาม- สุข เพราะลมท่ีพดั เพราะฝนทีก่ �ำ ลังตก เพราะแสงแดดทีส่ อ่ ง แต่บางคนกลบั มคี วามทุกขใ์ นสิ่งเดียวกนั นั้น คิดดี มีสุข ย่อมเป็นกำ�ไรชีวิต อย่างน้อยก็ก่อให้เกิด อารมณท์ แี่ ชม่ ชนื่ เบกิ บาน มคี วามหวงั มพี ลงั ในการสชู้ วี ติ ตอ่ ไป แตห่ ากวา่ ความคดิ นน้ั นำ�ไปสกู่ ารสรา้ งความดี สรา้ งบญุ บารมี เพมิ่ ขน้ึ หรอื นอ้ มน�ำ ใจไปสคู่ วามหยดุ นง่ิ ไดอ้ กี ดว้ ย นนั่ ยอ่ มเปน็ สุดยอด Positive Thinking ทีเดียว ดังเชน่ ความคิดอนั เปน็ เหตุบงั เกิดขน้ึ ของพระปัจเจกพทุ ธเจ้าพระองคห์ นง่ึ ดงั นี้ ครง้ั นน้ั พระเจา้ กรงุ พาราณสพี ระองคห์ นงึ่ มพี ระราช- อทุ ยานอยใู่ นทใี่ กลพ้ ระนคร พระองคเ์ สดจ็ ลกุ ขน้ึ แตเ่ ชา้ ตรู่ เสดจ็ ไปสู่พระราชอุทยาน เสด็จลงจากพระยานในระหว่างหนทาง ด้วยพระราชด�ำ ริวา่ “เราจะไปล้างหน้าทีท่ ่าน�้ำ ” ในอุทยานน้ัน นางราชสีห์ตกลูกราชสีห์แล้วไปหากิน ขัคควิสาณสตู ร : พระสุตตนั ตปฎิ ก มัชฌิมนกิ าย อุปริปัณณาสก,์ มมร. เลม่ ๔๖ หนา้ ๒๓๒ www.webkal.org

34 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ราชบรุ ษุ เหน็ ลกู ราชสหี น์ นั้ แลว้ ทลู วา่ “ลกู ราชสหี ์ พระเจา้ ขา้ ” พระราชาทรงพระราชด�ำ รวิ า่ “ไดย้ นิ วา่ ราชสหี ไ์ มก่ ลวั ใคร” จงึ ตรสั ส่งั ให้ตีกลอง เพือ่ ทดลองลกู ราชสหี น์ ัน้ ลกู ราชสีห์ฟังเสียง นัน้ กน็ อนตามเดิม พระราชาตรสั สงั่ ให้ตกี ลองถึง ๓ คร้ัง ใน ครง้ั ที่ ๓ ลูกราชสีหก์ ช็ ศู รี ษะขึน้ แลดูบริษทั ท้ังหมด แลว้ นอน เหมือนเดิม ขณะน้ัน พระราชาตรัสว่า “พวกเราควรไปก่อนที่แม่ ราชสหี ์นัน้ จะกลับมา” เมอ่ื จะเสด็จไป ทรงพระราชดำ�ริวา่ “ลกู ราชสหี ์ แมเ้ พง่ิ เกดิ ในวนั นี้ กไ็ มส่ ะดงุ้ ไมก่ ลวั เมอื่ ไร หนอ เราพึงตัดความสะดุ้งเพราะตัณหาและทิฏฐิ แล้วไม่พึง สะดุ้ง ไม่พงึ กลัว” ขณะที่พระองค์ทรงยึดอารมณ์น้ัน เสด็จไปอยู่ทอด พระเนตรเหน็ พวกชาวประมงก�ำ ลงั จบั ปลา แลว้ คลต่ี าขา่ ยตาก ไว้บนก่ิงไม้ ทรงเหน็ ลมพัด ไมต่ ิดขา่ ยทัง้ หลาย ทรงยึดนิมิตแม้ นนั้ อีกวา่ “เมื่อไรหนอ เราจะสามารถทำ�ลายข่ายคือตัณหาทิฏฐิ และข่ายคือโมหะไป ไมต่ ิดขดั เหมือนลมพัดไมต่ ิดขา่ ยเช่นนั้น” ตอ่ มา พระองคเ์ สดจ็ ไปสู่พระราชอทุ ยาน ประทับนัง่ ที่ ฝงั่ สระโบกขรณีท่มี แี ผ่นศิลา ทรงเหน็ ดอกปทมุ ทง้ั หลายทต่ี ้อง www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 35 ลมแลว้ โอนเอนไปถกู น�้ำ เมือ่ ปราศจากลม กก็ ลับต้ังอยู่ตาม เดิมอกี ไม่เปียกน�ำ้ จงึ ทรงถือนมิ ติ แมน้ นั้ ว่า “เมอื่ ไรหนอ แมเ้ ราเกดิ แลว้ ในโลก ไมพ่ งึ ตดิ ในโลกด�ำ รง อยู่ เหมอื นปทมุ เหลา่ น้ี เกดิ ในน�ำ้ ไม่เปียกน้ำ�ดำ�รงอยู่ ฉะนนั้ ” พระราชานน้ั ทรงพระราชด�ำ รบิ อ่ ยๆ วา่ เราไมพ่ งึ สะดงุ้ ไม่พึงติด ไม่พงึ เปยี ก เหมือนราชสีห์ ลม และปทุม ฉะนนั้ แล้วทรงสละราชสมบัติออกผนวช เจริญวิปัสสนาอยู่ ก็ทรง ท�ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ ปัจเจกโพธิญาณแลว้ ตรสั อุทานคาถานีว้ า่ สีโหว สทเฺ ทสุ อสนตฺ สนโฺ ต วาโตว ชาลมหฺ ิ อสชฺชมาโน ปทุมํ ว โตเยน อลิมฺปมาโน เอโก จเร ขคคฺ วสิ าณกปโฺ ป บคุ คลไม่สะดุ้งในธรรม มีความไมเ่ ทีย่ ง เป็นต้น เหมอื น ราชสีหไ์ มส่ ะดุง้ ในเสยี ง ไม่ข้องอยู่ในธรรม มขี นั ธ์และอายตนะ เปน็ ต้น เหมอื น ลมไมข่ ้องอย่ใู นขา่ ย ไมต่ ดิ อยดู่ ว้ ยความยนิ ดแี ละความโลภ เหมอื นดอกปทมุ ไม่ติดอยู่ดว้ ยน้ำ� พงึ เที่ยวไปผูเ้ ดยี ว เหมอื นนอแรด ฉะนนั้ www.webkal.org

www.webkal.org

เพยี งรกั ษาจติ เทา่ นัน้ “พระพุทธศาสนา” เปน็ ศาสนาของผู้รู้ ผตู้ นื่ ผู้เบิก บาน อกี ทั้งยงั เปน็ แหลง่ ความรู้อันบรสิ ทุ ธ์มิ ากมาย การทีเ่ รา จะศึกษาเรยี นรู้ความรเู้ หลา่ น้ันให้เข้าใจอยา่ งลึกซึง้ เพอ่ื นำ�มา ใช้เป็นแม่บทในการฝึกฝนอบรมตนเอง ให้สะอาดบริสุทธิ์ตาม พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า และเหล่าพระอรหันต์สาวกทัง้ หลายนน้ั เปน็ เรอื่ งยากอยา่ งยงิ่ โดยเฉพาะผทู้ ม่ี ศี รทั ธา แตไ่ มค่ อ่ ยมเี วลา หรือแม้มีเวลาแต่เป็นคนท่ีไม่ค่อยชอบศึกษาเรียนรู้ แต่ก็มีใจ อยากทจี่ ะหลดุ พน้ จากทกุ ขต์ ามพระพทุ ธองคไ์ ป เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ บางทา่ นทเ่ี ร่มิ ศกึ ษาใหมๆ่ เมื่อไมส่ ามารถตรองตามคำ�สอนได้ จึงเร่มิ เบ่ือหน่ายหมดก�ำ ลงั ใจทจ่ี ะศึกษาธรรมะไปเลยกม็ ี ในเรื่องนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเคยแนะนำ�ภิกษุ รปู หนึ่ง ผู้ซึ่งเกิดความเบ่ือหน่ายในเพศพรหมจรรย์ เพราะ หมดก�ำ ลงั ใจในการทจ่ี ะศกึ ษาเรยี นรธู้ รรมะทมี่ มี ากมายเหลา่ นนั้ โดยพระพทุ ธองคท์ รงแนะนำ�เทคนคิ พิเศษ เพอ่ื ใหเ้ หมาะกบั อธั ยาศยั ของภกิ ษุรปู นน้ั โดยมีเร่ืองราวดังต่อไปนี้ อุกกณั ฐติ ภิกษุ : พระสุตตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๐ หน้า ๔๐๗ www.webkal.org

38 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ในสมัยพุทธกาล มีบุตรเศรษฐีท่านหนึ่งเรียกว่า “อนุปุพพเศรษฐี” อาศัยในกรุงสาวัตถี เป็นผู้มีศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนา อกี ทงั้ ยงั เปน็ ผทู้ ชี่ อบขวนขวายในการสงั่ สมบญุ อยเู่ สมอ วนั หนึ่งท่านพจิ ารณาเห็นวา่ ชีวติ ของผคู้ รองเรือน มคี วามวนุ่ วาย สบั สน มีปัญหาสารพัดไมร่ ู้จบสน้ิ ประกอบ ไปด้วยทกุ ข์ จึงไดต้ ัดสนิ ใจออกบวชในพระพทุ ธศาสนา โดย มพี ระภกิ ษผุ ทู้ รงพระวนิ ยั เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ และพระภกิ ษผุ ทู้ รง พระอภธิ รรมเป็นอาจารย์ ภายหลงั บวชแล้ว ท่านถกู เรยี กว่า “อกุ กณั ฐติ ภกิ ษุ” ฝา่ ยพระอาจารยไ์ ดก้ ลา่ วสอนปญั หาในพระอภธิ รรมหมวดตา่ งๆ ใหอ้ ยา่ งมากมาย สว่ นพระอปุ ชั ฌายก์ ก็ ลา่ วขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นพระ วนิ ัยว่า “ในพระธรรมวินยั ภกิ ษุควรทำ�ส่งิ นี้ ไมค่ วรทำ�สงิ่ น้ี ส่งิ น้ีเหมาะ ส่งิ นีไ้ ม่เหมาะ ภิกษุควรนัง่ อย่างนี้ ควรเดิน อยา่ งน้ี เป็นตน้ ” อุกกัณฐิตภิกษุ เมื่อได้รับการถ่ายทอดหัวข้ออภิธรรม และไดเ้ รยี นรขู้ อ้ ปฏบิ ตั ใิ นพระวนิ ยั มากเขา้ ๆ นานวนั เขา้ จงึ เกดิ ความคดิ ขนึ้ วา่ “โอ...เราใครจ่ ะพน้ จากทกุ ข์ พน้ จากความสบั สน วนุ่ วายในทางโลก จงึ ออกบวชเพ่อื แสวงหาความสงบ แต่เมอ่ื บวชแล้วกลับรู้สึกว่า ข้อวัตรปฏิบัติของพระภิกษุในพระพุทธ- ศาสนามมี ากนัก ทงั้ ยังมีกจิ กรรมอันย่งุ ยากวุน่ วาย ราวกบั www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 39 ว่าจะเหยยี ดแขนเหยยี ดขาไมไ่ ดเ้ ลย เม่อื เปน็ เชน่ น้.ี .. เรากลับ ไปครองเรอื นก็อาจพ้นจากทกุ ขใ์ นวฏั ฏะได้ เราควรสึกไปเป็น คฤหสั ถ์ดีกวา่ ” ต้ังแต่น้ันมา ท่านก็เกิดความกระสันอยากสึก หมด ความยินดีในการประพฤติพรหมจรรย์ ไม่ทำ�การสาธยาย- ธรรม ไม่เล่าเรียนพระปาฏิโมกข์ กินไม่ได้นอนไม่หลับ จนร่างกายผ่ายผอม ซูบซีด เนื้อตัวสะพรั่งไปด้วยเส้นเอ็น ถกู ความเกยี จครา้ นครอบง�ำ หมดความเพยี ร ไมย่ อมท�ำ กจิ กรรม ใดๆ ปล่อยรา่ งกายให้สกปรกเศรา้ หมอง เหลา่ เพอื่ นภกิ ษแุ ละสามเณรเหน็ ดงั นนั้ จงึ พากนั ไปบอก พระอาจารยแ์ ละพระอปุ ชั ฌาย์ เมอื่ ทา่ นทราบเรอื่ งทง้ั หมดแลว้ จึงพาอกุ กณั ฐิตภกิ ษไุ ปเขา้ เฝา้ พระพุทธเจ้า เมอื่ พระพทุ ธองคท์ รงทราบเรอื่ งทง้ั หมดแลว้ จงึ ตรสั ถาม ว่า “ภิกษุ ถ้าเธอรกั ษาเพยี งส่ิงเดียวได้ แลว้ สงิ่ อ่นื ไม่ต้องรักษา อีกเลย เธอจะท�ำ ได้ไหม?” “อะไร? พระเจ้าข้า” “เธอจะรกั ษาจิตของเธอ ไดไ้ หม?” “อาจรกั ษาได้ พระเจ้าขา้ ” พระบรมศาสดาจงึ ทรงประทานโอวาทวา่ “ถา้ อยา่ งนนั้ www.webkal.org

40 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก เธอจงรักษาจิตของเธอไว้ เธออาจพ้นจากทุกข์ได้” แล้ว พระองค์ตรัสเปน็ คาถาว่า “ผมู้ ปี ญั ญาพงึ รกั ษาจติ ทเ่ี หน็ ไดแ้ สนยาก ละเอยี ดยงิ่ นกั มกั ตกไปสอู่ ารมณใ์ คร่ จิตทค่ี มุ้ ครองไว้ได้ ยอ่ มนำ�สขุ มาให้” ภายหลงั จบพระธรรมเทศนา อกุ กณั ฐติ ภกิ ษไุ ดม้ ดี วงตา เหน็ ธรรมบรรลโุ สดาปตั ตผิ ล และชนเหลา่ อน่ื เปน็ อนั มาก กไ็ ด้ บรรลเุ ป็นพระอริยบคุ คล มีพระโสดาบนั เป็นตน้ ณ ที่ตรงนัน้ เอง จากเร่ืองนี้จะเห็นได้ว่า คำ�สอนในพระพุทธศาสนาท้ัง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แทจ้ รงิ แล้วมารวมอยูท่ ่คี วามสำ�รวม ระวังรักษาใจของตนนั่นเอง เพราะเมื่อเรารักษาใจไว้ดีแล้ว ก็ย่อมสามารถควบคุมกาย วาจา และตรองตามคำ�สอนใน พระพทุ ธศาสนาไดท้ งั้ หมดโดยปรยิ าย และเมอ่ื เกดิ ความเขา้ ใจ ก็ยอ่ มมองเหน็ หนทางที่จะฝกึ ฝนตนเองให้บริสุทธ์ิ สะอาด จน กระทั่งเขา้ ถึงธรรมะภายในได้ในทสี่ ดุ www.webkal.org

แข่งบญุ แขง่ บารมี มีภาษติ กล่าวว่า “แข่งเรอื แข่งพาย พอแข่งได้ แตแ่ ข่ง บุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อม ถอ่ มตน มิให้ตีตนเสมอผหู้ ลักผู้ใหญ่ แตก่ เ็ ป็นเหตุให้หลายคน เขา้ ใจผดิ วา่ ไม่สมควรแข่งสร้างบุญบารมกี ับใครๆ ซง่ึ อนั ที่จริง การแขง่ กนั สรา้ งความดี หรอื แขง่ กนั สรา้ งบญุ ใหเ้ ปน็ บญุ บนั เทงิ เปน็ ประเพณชี าวพทุ ธมาแตโ่ บราณ ดงั เหตกุ ารณก์ ารบงั เกดิ ขนึ้ ของ “อสทสิ ทาน” ในคร้งั พทุ ธกาล ครั้งหนึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพร้อมด้วยภิกษุ ๕๐๐ เป็นบริวาร เสด็จกลับจากจาริกมาสู่วัดพระเชตวัน พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จไปวิหาร ทูลนิมนต์พระศาสดาพร้อม ดว้ ยภกิ ษสุ งฆม์ าฉนั ภตั ตาหารในวนั รงุ่ ขน้ึ ทรงตระเตรยี มอาคนั ตกุ ทาน แล้ว ไดต้ รสั เรยี กชาวพระนครวา่ “จงดูทานของเรา” ชาวพระนครมาเห็นทานของพระราชาแล้ว ก็คิดจะ สรา้ งบญุ บ้าง ในวนั รุ่งข้นึ ทูลนิมนตพ์ ระศาสดา ตระเตรยี ม ทานแลว้ สง่ ข่าวไปกราบทลู แด่พระราชาวา่ “ขอพระองคผ์ ู้ อสทสิ ทาน : พระสุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย คาถาธรรมบท, มมร. เล่ม ๔๒ หน้า ๒๖๓ www.webkal.org

42 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก เปน็ สมมติเทพ จงทอดพระเนตรทานของพวกข้าพระองค์” พระราชาเสดจ็ ไป ทอดพระเนตรทานของชาวพระนคร เหล่านั้นแล้ว ทรงดำ�ริว่า “ทานของชนเหล่าน้ี ย่ิงใหญ่กว่า ทานของเรา, เราจักทำ�ทานอีก” จึงรับส่ังให้ตระเตรียมทาน แล้วถวายทานท่ยี ่งิ กวา่ ของชาวพระนครในวันร่งุ ขึน้ แมช้ าวพระนครเหน็ ทานนนั้ แลว้ ในวนั รงุ่ ขนึ้ กต็ ระเตรยี ม ถวายทานทยี่ งิ่ กวา่ ของพระราชา ดว้ ยการแขง่ กนั สรา้ งบญุ บารมี เชน่ น้ี พระราชาและชาวพระนคร ไมอ่ าจเอาชนะอกี ฝา่ ยหนงี่ ได้ ต่อมาในวาระท่ี ๖ ชาวพระนครตระเตรยี มทานเพ่มิ ขนึ้ รอ้ ยเท่าพนั เท่า โดยที่ใครๆ ไม่อาจจะพูดได้ว่า “วัตถทุ านชือ่ น้ี ไมม่ ีในทานของชาวพระนครเหล่านี้” พระราชาทอดพระเนตร ทานน้ันแล้ว ทรงดำ�ริว่า “ถ้าเราไม่สามารถทำ�ทานให้ยิ่งกว่า ทานของชาวพระนครเหลา่ นน้ั , มปี ระโยชนอ์ ะไรทจี่ ะอยตู่ อ่ ไป” ดังนแี้ ล้ว ไดบ้ รรทมด�ำ ริถึงอบุ ายอยู่ เม่ือพระนางมัลลิกาเทวี ผู้เป็นพระมเหสีทราบเหตุ ไดก้ ราบทลู วา่ “ขา้ แตส่ มมตเิ ทพ พระองคอ์ ยา่ ทรงปรวิ ติ กไปเลย พระองค์เคยทอดพระเนตร หรือเคยสดับแล้วท่ีไหน? ว่ามี พระราชาผเู้ ป็นใหญใ่ นแผน่ ดนิ พ่ายแพ้แกช่ าวพระนคร หมอ่ ม ฉนั จะจดั แจงทานแทนพระองค์” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุ่นปี ๒๕๓๔ 43 แลว้ กราบทูลว่า “ข้าแตพ่ ระมหาราชเจา้ ขอพระองค์ จงรบั สงั่ ใหเ้ ขาท�ำ มณฑปส�ำ หรบั นงั่ ภายในเปน็ วงเวยี น เพอ่ื ภกิ ษุ ประมาณ ๕๐๐ รปู ดว้ ยไมเ้ รยี บทที่ ำ�ดว้ ยไมส้ าละและไมข้ านาง พวกภกิ ษทุ เ่ี หลือจักนง่ั ภายนอกวงเวยี น ขอจงรับสั่งให้ท�ำ เศวตฉตั ร ๕๐๐ คัน, ให้ช้างประมาณ ๕๐๐ เชือกผูกเศวตฉัตรเหล่านั้น ยืนกั้นอยู่เบ้ืองบนแห่งภิกษุ ประมาณ ๕๐๐ รปู ขอจงรบั สงั่ ใหท้ �ำ เรอื ดว้ ยทองค�ำ อนั มสี สี กุ สกั ๘ ล�ำ หรอื ๑๐ ล�ำ , เรอื เหลา่ นน้ั ตง้ั อยทู่ า่ มกลางมณฑป, เจา้ หญงิ องคห์ นง่ึ ๆ ใหน้ ง่ั บดของหอม อยู่ในระหวา่ งภิกษุ ๒ รูปๆ, เจ้าหญิงองค์ หนง่ึ ๆ ใหถ้ อื พดั ยนื พดั ภกิ ษุ ๒ รปู ๆ, เจา้ หญงิ ทเ่ี หลอื ใหน้ ำ�ของ หอมทบ่ี ดแลว้ มาใสใ่ นเรอื ทองค�ำ ทงั้ หมด, บรรดาเจา้ หญงิ เหลา่ นนั้ เจา้ หญงิ บางพวกใหถ้ อื ก�ำ ดอกอบุ ลเขยี ว เคลา้ ของหอมทใ่ี ส่ ไวใ้ นเรอื ทองคำ�แล้ว ให้พระภิกษุไดร้ ับกล่นิ ไอของหอม ชาวพระนครจักพ่ายแพ้ด้วยเหตุเหล่านี้ เพราะชาว พระนครไม่มีเจ้าหญิง, เศวตฉัตรก็ไม่มี, ช้างก็ไม่มี, ข้าแต่ มหาราช ขอพระองค์จงรับสั่งให้ท�ำ อยา่ งนีเ้ ถดิ ” พระราชาทรงชมเชยพระนางมัลลิกา แล้วจึงรับส่ังให้ ท�ำ ตามที่พระนางกราบทูล www.webkal.org

44 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก แต่เมื่อคัดช้างแล้วได้ ๔๙๙ เชือก ขาดไป ๑ เชือก นอกน้นั เป็นชา้ งดรุ ้าย พระนางมลั ลิกา จงึ แนะนำ�ให้นำ�ลูกช้าง ดรุ า้ ยเชอื กหนง่ึ ไปประจำ�ต�ำ แหนง่ ของพระองคลุ มี าล เมอื่ พระ ราชารบั สงั่ ให้ราชบุรษุ ท�ำ ตามน้นั ลูกช้างดุรา้ ยนั้นสอดหางเขา้ ในระหวา่ งขา หรบุ หทู งั้ สอง หลบั ตายนื นง่ิ อยู่ มหาชนแลดดู ว้ ย ความอัศจรรย์ในอานภุ าพของพระเถระ พระราชาทรงองั คาสภกิ ษสุ งฆม์ พี ระพทุ ธเจา้ เปน็ ประมขุ ดว้ ยอาหารอนั ประณีต แล้วถวายบงั คมพระศาสดา กราบทลู วา่ “ข้าแต่พระองคผ์ เู้ จริญ สิ่งใดเปน็ กัปปิยภัณฑ์ (ของทค่ี วร แกส่ มณะ) หรือเปน็ อกปั ปยิ ภณั ฑ์ (ของท่ไี ม่ควรแกส่ มณะ) ใน โรงทานน้ี หมอ่ มฉนั จกั ถวายสง่ิ นน้ั ทงั้ หมดแดพ่ ระองค”์ ในทานนั้นสน้ิ ทรัพยป์ ระมาณ ๑๔ โกฏิ ซ่ึงพระราชา ทรงบริจาคในวันเดียวเท่านน้ั วัตถทุ านนัน้ มขี องหาคา่ มไิ ด้ ๔ อยา่ ง คือเศวตฉตั ร ๑, บลั ลังก์ สำ�หรบั น่งั ๑, เชิงบาตร ๑, ตงั่ ส�ำ หรบั เชด็ เทา้ ๑ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ตรสั วา่ “ทานน้ี ชอ่ื วา่ อสทสิ ทาน (ทานอนั หาทเ่ี ปรยี บมไิ ด)้ ใครๆ จะสามารถถวายแดพ่ ระพทุ ธเจา้ พระองคห์ นงึ่ ไดค้ รง้ั เดยี วเทา่ นน้ั , ธรรมดาทานเหน็ ปานน้ี เปน็ ของยากท่ีบคุ คลจะถวายอกี ” www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 45 การแขง่ กนั สรา้ งความดขี องพระราชา และชาวพระนคร น้ี แมจ้ ะเจอื ดว้ ยความ “แขง่ ด”ี กนั อยบู่ า้ ง แตก่ เ็ ปน็ การแขง่ ขนั กันสรา้ งความดี ให้ย่งิ ๆ ขนึ้ ไป เขา้ หลกั วิชชาว่า “เอาตัณหา ละตัณหา” ซง่ึ ท่สี ุดทุกคนก็ Win-Win ต่างไดบ้ ญุ บารมกี นั ไป เตม็ ท่ที กุ คน ฉะนั้นเมอ่ื เหน็ ใครท�ำ คณุ งามความดี กใ็ หเ้ กิดเป็น ก�ำ ลงั ใจทจี่ ะท�ำ ใหไ้ ดบ้ า้ ง หรอื ท�ำ ใหย้ งิ่ ใหญก่ วา่ นนั้ กจ็ ะเปน็ การ สง่ เสรมิ ผู้มาในภายหลงั ใหเ้ กดิ เป็นกำ�ลังใจในการสร้างความดี ดงั เชน่ ท่ีเราได้จากการศึกษาเรอื่ ง อสทิสทาน ในสมยั พทุ ธกาล www.webkal.org

www.webkal.org

วธิ ชี นะคนพาล สำ�นวนวา่ “ตาตอ่ ตา ฟนั ต่อฟัน” หรอื “ลกู ผู้ชาย สบิ ปีลา้ งแค้นไม่สาย” เหล่านีล้ ้วนเปน็ บ่อเกิดแห่งการทะเลาะ วิวาท อาฆาตจองเวรกนั ไมจ่ บสน้ิ การด�ำ รงอย่ใู นโลกนี้ ยากที่ จะไม่พบเจอพวกคนพาล เมือ่ ต้องพบตอ้ งเกีย่ วขอ้ ง ก็มโี อกาส ถูกรุกรานท้งั ดว้ ยคำ�พดู หยาบคาย หรอื ถกู ทำ�รา้ ย ใส่ร้ายต่างๆ หากเราถอื ตามสำ�นวนขา้ งตน้ หนงึ่ กอ้ นอฐิ มา กป็ าสองกอ้ นอฐิ กลบั ไป จะเปน็ การกอ่ เวรภยั ไมจ่ บสน้ิ ท�ำ ใหเ้ ราหลดุ จากเสน้ ทาง แหง่ ความดี ออกขา้ งทางไปเปน็ พวกเดียวกบั คนพาล พระมงคลเทพมุนี (สด จันทสโร) หลวงปู่วัดปากนำ้� ภาษีเจริญ เคยให้หลักปฏิบัติเม่ือเจอภัยคนพาล ไว้ว่า “ไม่สู้ ไม่หนี ท�ำ ดเี รื่อยไป” ไมช่ า้ คนพาลกจ็ ะแพ้ภัยตนเองไปในทีส่ ุด ในเรอื่ งน้ีมีตัวอย่างจริงทเ่ี กิดขน้ึ ในสมัยพุทธกาล เป็นเร่อื งราว ของพระปุณณะ ชาวสนุ าปรนั ตะ ท่ีมหี ลกั คิดในการอยู่รว่ มกับ คนพาลอยา่ งยอดเยยี่ ม ดังน้ี สมยั หนึ่ง พระผูม้ ีพระภาคประทบั อยู่ ณ พระเชตวนั ปุณโณวาทสูตร : พระสุตตันตปิฎก มชั ฌิมนิกาย อปุ ริปัณณาสก์, มมร. เล่ม ๒๓ หน้า ๔๓๖ www.webkal.org

48 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก อารามของอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี เขตกรงุ สาวตั ถี ครัน้ เวลาเย็น พระปุณณะไดม้ ากราบทลู ลาเพ่ือไปหลีกออกเร้น บ�ำ เพ็ญธรรม พระพุทธองค์จึงทรงประทานโอวาทโดยย่อเร่ือง การสำ�รวม อนิ ทรีย์ ๖ แล้วตรัสถามวา่ “ปณุ ณะ เราใหโ้ อวาทเธอดว้ ยโอวาทโดยยอ่ น้ี เธอจกั อยู่ ในชนบทไหน” ท่านพระปุณณะกราบทูล ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จกั อยู่ในชนบทช่ือ สนุ าปรันตะ” “ปุณณะ พวกมนุษยช์ าวสนุ าปรันตชนบทเปน็ คนดรุ า้ ย นกั เปน็ คนหยาบคายนกั ถา้ พวกมนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทจกั ด่า บริภาษเธอ ในเรอ่ื งน้ี เธอจกั คดิ อย่างไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ... ในเร่ืองน้ีข้าพระองค์จักคิด อยา่ งนว้ี า่ ‘มนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทเหลา่ นดี้ หี นอ ดจี รงิ หนอ ท่ีไม่ประหารเราด้วยฝ่ามือ’ ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ในเร่ืองนี้ ข้าพระองค์จักคิดอย่างน้ี ข้าแต่พระสุคตในเรื่องน้ีข้าพระองค์ จกั คิดอยา่ งนี้” “ปณุ ณะ ถา้ พวกมนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทจกั ประหาร เธอดว้ ยฝ่ามือ ในเรอ่ื งนีเ้ ธอจักคิดอย่างไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักคิดอย่างน้ีว่า www.webkal.org

พระมหาเถระ รุน่ ปี ๒๕๓๔ 49 ‘มนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทเหล่านี้ดีหนอ ดีจริงหนอ ท่ีไม่ ประหารเราดว้ ยกอ้ นดนิ ’ ฯลฯ ” “ปณุ ณะ ถา้ พวกมนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทจกั ประหาร เธอด้วยก้อนดนิ ในเรื่องน้เี ธอจกั คดิ อย่างไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักคิดอย่างน้ีว่า ‘มนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทเหล่าน้ีดีหนอ ดีจริงหนอ ที่ไม่ ประหารเราดว้ ยทอ่ นไม’้ ฯลฯ ” “ปณุ ณะ ถา้ พวกมนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทจกั ประหาร เธอดว้ ยทอ่ นไม้ ในเรอื่ งน้ีเธอจักคิดอย่างไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักคิดอย่างนี้ว่า ‘มนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทเหล่านี้ดีหนอ ดีจริงหนอ ที่ไม่ ประหารเราด้วยศสั ตรา’ ฯลฯ ” “ปณุ ณะ ถา้ พวกมนษุ ยช์ าวสนุ าปรนั ตชนบทจกั ประหาร เธอดว้ ยศสั ตรา ในเรือ่ งน้เี ธอจกั คิดอยา่ งไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักคิดอย่างนี้ว่า ‘มนษุ ยช์ าวสุนาปรนั ตชนบทเหล่านี้ดหี นอ ดจี รงิ หนอ ที่ไมป่ ลง ชีวิตเราด้วยศัสตราทค่ี ม’ ฯลฯ ” “ปุณณะ ถ้าพวกมนุษย์ชาวสุนาปรันตชนบทจักปลง www.webkal.org

50 แรงบนั ดาลใจ จากพระไตรปฎิ ก ชวี ติ เธอดว้ ยศัสตราทีค่ ม ในเรอ่ื งน้ีเธอจักคดิ อยา่ งไร” “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักคิดอย่างน้ีว่า ‘พระสาวกท้ังหลาย ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นอึดอัด ระอา รังเกยี จอยู่ด้วยร่างกายและชีวิต แสวงหาศสั ตราเครอ่ื ง ปลงชวี ติ กม็ อี ยู่ เราไดศ้ สั ตราเครอ่ื งปลงชวี ติ ทไี่ มไ่ ดแ้ สวงหาเลย’ ฯลฯ” “ดลี ะ ดลี ะ ปณุ ณะ เธอประกอบดว้ ยความขม่ ใจและ ความสงบใจน้ี จักสามารถอยูใ่ นสนุ าปรันตชนบทได้ ปุณณะ เธอรเู้ วลาอนั สมควรในบดั นี้เถดิ ” ครั้งนั้น ท่านพระปุณณะชื่นชมยินดีพระภาษิตของ พระผมู้ พี ระภาคแลว้ ลกุ ขึ้นจากอาสนะ ถวายอภิวาท กระทำ� ประทักษิณ เก็บเสนาสนะเรียบร้อยแล้วถือบาตรและจีวร หลกี จารกิ ไปทางสุนาปรันตชนบท เมื่อจาริกไปโดยลำ�ดบั กถ็ งึ สนุ าปรันตชนบท ได้ยินว่า ท่านพระปุณณะอยู่ท่ีสุนาปรันตชนบทนั้น ในระหวา่ งพรรษาน้นั ทา่ นใหช้ าวสุนาปรันตชนบท แสดงตน เป็นอุบาสกประมาณ ๕๐๐ คน แสดงตนเป็นอุบาสิกา ประมาณ ๕๐๐ คน ระหว่างพรรษาน้ันเหมือนกัน ท่าน ปุณณะไดบ้ รรลุธรรมเปน็ พระอรหนั ตด์ ้วยวชิ ชา ๓ คอื ระลกึ www.webkal.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook