Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรร.ร.ไทยรัฐปรับปรุง64

หลักสูตรร.ร.ไทยรัฐปรับปรุง64

Description: หลักสูตรร.ร.ไทยรัฐปรับปรุง64

Search

Read the Text Version

หลักสูตรโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานครหลักสตู รโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๓)

๒ ประกาศโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ เรอ่ื ง ให้ใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ___________________________ ตามท่ีโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ ไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๙) เพ่ือใหก้ ารจดั การศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยม่งุ เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั บนพ้ืนฐาน ความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพระดับสากล ผู้เรียนมีความตระหนัก รักความเป็นไทย มีวินัยใฝ่เรียนรู้ มี จิตสาธารณะ มีความเป็นพลเมืองดี มีทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีและด้านสื่อสารมวลชนศึกษา และได้ ดำเนินการจัดทำหลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๑) สอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง การบรหิ ารจดั การเวลาเรียน และปรับ มาตรฐานและตัวชวี้ ดั สอดคลอ้ งกับ คำส่งั สพฐ. ท่ี ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ. ลงวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๖๑ เปน็ ทีเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ จึงประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ดงั ปรากฏแนบทา้ ยประกาศนี้ ทง้ั นี้ หลกั สตู รโรงเรียนได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน เมือ่ วันท่ี ๑๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 256๓ จงึ ประกาศใหใ้ ชห้ ลักสตู รโรงเรยี นต้งั แตบ่ ัดนี้ เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 256๔ (นายถิรชยั วุฒธิ รรม) (นายวิเชยี ร สุขจันทร์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ หลักสตู รโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓ ความนำ จากการดำเนนิ งานด้านนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ไี ด้ประกาศใชห้ ลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ สำหรับโรงเรยี นตน้ แบบการใชห้ ลกั สูตรและโรงเรียนที่มีความพร้อม ตามรายชื่อที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศในปีการศึกษา ๒๕๕๒ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ และ ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ๔ ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๓ ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในชั้นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๒ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ และ ๕ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๔ เป็นต้นไปให้ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทกุ ชนั้ เรียน ซ่ึงโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระ เกียรติ เป็นโรงเรียนพร้อมใช้หลักสูตร โดยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้ กำหนดวิสัยทัศน์ หลกั การ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมท้ัง คณุ ลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชน้ั ซ่งึ สะทอ้ นถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความ เป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเป็น เกณฑส์ ำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคุณภาพผเู้ รียน โรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ ได้ประเมินหลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช ๒๕๕๒ พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐานในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ (รายวิชาภาษาองั กฤษ) ยังไมบ่ รรลุเป้าหมายตามที่ โรงเรียนกำหนด และเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รองรับความตอ้ งการของชุมชนที่มุ่งเนน้ ความเปน็ พลเมืองดี เพ่อื เตรียมนักเรียนให้พร้อมเข้าสู่การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ของไทย โรงเรียนจึงเห็น ควรปรับปรุงหลักสูตรสถานศกึ ษาพุทธศักราช ๒๕๕๒ ฉบับปรับปรุงตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตัวชี้วัด สอดคล้องกับคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่ง สพฐ. ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ เรื่องให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาตร์ และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ โดยให้โรงเรียนใชห้ ลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้สอนในช้ันประถมศกึ ษา ปีที่ ๑ และ ๔ ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ชใ้ นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑, ๒, ๔ และ ๕ และ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ให้ใชใ้ นทุกชั้นปี โดยกำหนดให้เป็นหลกั สูตรแกนกลางของประเทศ กำหนดจดุ หมาย และ มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีพัฒนาการเต็มตาม ศักยภาพ ส่งเสริมทักษะวชิ าการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวติ มีคุณภาพและมีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ นัน้ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ งานวิชาการ เพ่อื ศกึ ษาวิเคราะหห์ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตร ระดับท้องถิน่ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร และเอกสารประกอบหลักสูตร ต่างๆ รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหา จุดเน้น ความต้องการของโรงเรียน ผู้เรียนและชุมชน พบว่ามีความต้องการให้จดั การศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา สามารถสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ คิดแก้ปัญหาได้ เลือกและใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ได้ถูกต้องเหมาะสม และมี หลักสูตรโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔ คุณภาพ มีทักษะด้านสื่อสารมวลชน ตลอดจนมีความเป็นเลิศทางการสื่อสารสองภาษา และมีความเป็น พลเมืองดี ด้วยเหตผุ ลสำคญั ดงั กล่าวมานน้ั โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ จึงไดด้ ำเนินการจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาที่มีความเหมาะสม ชัดเจนสอดคล้องกับจุดเน้นความต้องการของโรงเรียน ผู้เรียนและชุมชน มี เป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับ สถานศึกษาและระดบั ชั้นเรยี น มีการกำหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ มีโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา (โครงสรา้ งเวลาเรยี นและโครงสร้างหลักสูตรช้ันปี) รายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตาม โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ตลอดจนเกณฑ์การจบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาตอนต้น โดยกำหนดรายวิชาสื่อมวลชนศึกษา ความเป็นพลเมืองดี อาเซียนศึกษา และภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในรายวิชาเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทุกชั้นปี และส่งเสริมให้ผู้เรียนมี สนุ ทรียภาพทางด้าน ดนตรี นาฏศลิ ป์ และกฬี าตามความถนดั และความสนใจในกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (ชมุ นมุ ) เพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสูส่ ังคมคณุ ภาพ มีความรู้อยา่ งแทจ้ ริง และมี ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ ได้สำเร็จตามท่ี คาดหวังด้วยความรว่ มมอื ร่วมใจและความรับผิดชอบของทุกฝ่ายอย่างดียงิ่ ทำให้หลกั สูตรสถานศึกษาดังกล่าว น้สี ำเร็จพรอ้ มท่ีจะนำไปใชใ้ นการวางแผนสู่การปฏบิ ัตริ ะดับช้ันเรยี น ตลอดจนการประเมินผลการใช้หลักสูตร เพอื่ นำไปปรับปรงุ พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป วิสยั ทศั น์ ภายในปี 2566 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ เป็นโรงเรียนสมบูรณ์แบบใน การจดั การศกึ ษาเพื่อสรา้ งความเปน็ พลเมืองดแี ละเป็นต้นแบบสื่อมวลชนศกึ ษา สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ มุง่ พฒั นาผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซ่ึง การพฒั นาผู้เรยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรียนร้ทู ่กี ำหนดน้นั จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไมร่ ับข้อมลู ข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลอื กใช้วิธีการสื่อสารท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่อื นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๕ ๓. ความสามารในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใช้ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดั สินใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ่ ตนเอง สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการ อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ การรู้จกั หลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคท์ ีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อนื่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพอ่ื ให้สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่นื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งดีดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตยส์ ุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๖. มุง่ ม่ันในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๖ โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับประถมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กิจรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาองั กฤษ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ที่สถานศึกษาจัดตามความพรอ้ มและจดุ เน้น ส่อื มวลชนศกึ ษา ------ หน้าทพี่ ลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาจีน - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (เพิม่ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน (ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้บงั คบั ) กิจกรรมแนะแนว /ความเปน็ พลเมืองดี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ลกู เสือ – เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ชมุ นุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลา กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ หลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๗ โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศึกษา mini English Programe กล่มุ สาระการเรียนร้/ู กิจรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ Mathematics ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ Science and Technology ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ Health and Physical Education ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ English ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘0 ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รายวชิ าเพ่มิ เติมทีส่ ถานศกึ ษาจดั ตามความพร้อมและจุดเนน้ ส่อื มวลชนศกึ ษา ------ หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ English for Communication ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาจีน - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (เพิม่ เติม) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (ลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้บงั คับ) กจิ กรรมแนะแนว /ความเปน็ พลเมอื งดี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ลกู เสอื – เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลา กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ ๑,๐๘๐ หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๘ โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๔) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ เวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) วทิ ยาศาสตร์ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) วิทยาการคำนวณ/ออกแบบและเทคโนโลยี ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ประวัติศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชีพ ภาษาองั กฤษ รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) รายวิชาเพม่ิ เตมิ ท่สี ถานศึกษาจดั ตามความพรอ้ มและจุดเนน้ สอ่ื มวลชนศึกษา ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) หน้าทพ่ี ลเมือง อาเซียนศกึ ษา บูรณาการกลุม่ สาระสังคมศกึ ษาฯ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ภาษาจีน ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) รวมเวลาเรียน (เพิ่มเตมิ ) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น/กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๒๐๐ (๕ นก.) ๒๐๐ (๕ นก.) ๒๐๐ (๕ นก.) กิจกรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ กิจกรรมนักเรียน ลกู เสือ - เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ชมุ นมุ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐ หลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๙ โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลาเรยี น (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวิชา/กจิ กรรม ๒๐๐ รายวชิ าพน้ื ฐาน ๒๐๐ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๘๐ ค๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๔๐ ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑ ๔๐ ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ ๔๐ ส๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๔๐ พ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๑๖๐ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๑๖๐ อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ส๑๑๒๓๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๑ ๘๐ อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร ๑ ๔๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน/ กิจกรรมแนะแนว /ความเปน็ พลเมอื งดี ๓๐ กิจกรรมนักเรียน ๔๐  ลูกเสอื – เนตรนารี ๑๐  ชุมนุม/สือ่ มวลชนศึกษา ๑,๐๔๐ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๐ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลาเรียน (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวิชา/กิจกรรม ๒๐๐ รายวิชาพ้ืนฐาน ๒๐๐ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๘๐ ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ ๔๐ ว๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ ๔๐ ส๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒ ๔๐ ส๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๒ ๔๐ พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ ๔๐ ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๑๖๐ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ ๑๖๐ อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๔๐ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ๔๐ ส๑๒๒๓๒ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๒ ๘๐ อ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๒ ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น กิจกรรมแนะแนว/ความเปน็ พลเมอื งดี ๓๐ กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐  ลกู เสอื – เนตรนารี ๑๐  ชมุ นมุ /ส่อื มวลชนศึกษา ๑,๐๔๐ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น หลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๑ โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลาเรียน (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวชิ า/กจิ กรรม ๒๐๐ รายวิชาพื้นฐาน ๒๐๐ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๘๐ ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ ๔๐ ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ๔๐ ส๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๔๐ ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๔๐ พ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๑๖๐ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๑๒๐ อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๔๐ รายวชิ าเพิ่มเติม ๔๐ ส๑๓๒๓๓ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๓ ๘๐ อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๓ ๔๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมแนะแนว/ความเปน็ พลเมอื งดี ๓๐ กิจกรรมนกั เรียน ๔๐  ลกู เสอื – เนตรนารี ๑๐  ชมุ นมุ /ส่ือมวลชนศึกษา ๑,๐๔๐ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น หลักสตู รโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๒ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลาเรยี น (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวชิ า/กิจกรรม ๑๖๐ ๑๖๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๒๐ ๘๐ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๔๐ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔ ๘๐ ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔ ๘๐ ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ ๔๐ ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔ ๘๐ พ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๑๒๐ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ ๔๐ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๔๐ อ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐ ๑๒๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ส๑๔๒๓๔ หน้าที่พลเมอื ง ๔ อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๔ ๓๐ จ๑๔๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ ๑๐ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑,๐๘๐ กจิ กรรมแนะแนว/ความเปน็ พลเมืองดี กจิ กรรมนกั เรียน  ลกู เสอื – เนตรนารี  ชุมนุม/สอ่ื มวลชนศึกษา กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน หลกั สตู รโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๓ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลาเรยี น (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวชิ า/กิจกรรม ๑๖๐ ๑๖๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๒๐ ๘๐ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๔๐ ค๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๘๐ ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๘๐ ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕ ๔๐ ส๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๘๐ พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕ ๑๒๐ ศ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๕ ๔๐ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๔๐ อ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๔๐ ๑๖๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ส๑๕๒๓๕ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๕ อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๕ ๓๐ จ๑๕๒๐๑ ภาษาจนี ๔๐ ๑๐ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑,๐๘๐ กจิ กรรมแนะแนว/ความเปน็ พลเมืองดี กจิ กรรมนักเรยี น  ลูกเสือ – เนตรนารี  ชุมนุม/สอ่ื มวลชนศึกษา กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๔ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลาเรยี น (ชม./ป)ี ๘๔๐ รายวชิ า/กิจกรรม ๑๖๐ ๑๖๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๒๐ ๘๐ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๔๐ ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ ๘๐ ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ๘๐ ส๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖ ๔๐ ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ ๘๐ พ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๖ ๑๒๐ ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ ๔๐ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖ ๔๐ อ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ ๔๐ ๑๖๐ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๔๐ ส๑๖๒๓๖ หน้าที่พลเมอื ง ๖ อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร ๖ ๓๐ จ๑๖๒๐๒ ภาษาจีน ๔๐ ๑๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๑,๐๘๐ กจิ กรรมแนะแนว/ความเปน็ พลเมืองดี กจิ กรรมนกั เรียน  ลกู เสอื – เนตรนารี  ชุมนุม/สอ่ื มวลชนศึกษา กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน หลกั สตู รโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๕ โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับประถมศกึ ษา Mini English Program ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี รายวชิ าพื้นฐาน ๘๔๐ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ MA๑๑๑๐๑ Mathematics ๒๐๐ SC๑๑๑๐๑ Science ๘๐ ส๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ HP๑๑๑๐๑ Health and Physical Education ๔๐ ศ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ EN๑๑๑๐๑ English ๑๖๐ รายวชิ าเพมิ่ เติม ๘๐ ส๑๑๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง ๔๐ EN๑๑๒๐๑ English for Communication ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรยี น  ลูกเสอื – เนตรนารี ๓๐  ชุมนมุ ๔๐ ๑๐ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑,๐๔๐ รวมเวลาเรียน หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๖ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศกึ ษา Mini English Program ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐ ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ MA๑๒๑๐๑ Mathematics ๒๐๐ SC๑๒๑๐๑ Science ๘๐ ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ HP๑๒๑๐๑ Health and Physical Education ๔๐ ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง๑๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ EN๑๒๑๐๑ English ๑๖๐ รายวชิ าเพิม่ เติม ๘๐ ส๑๒๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง ๔๐ EN๑๒๒๐๑ English for Communication ๔๐ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนักเรียน  ลกู เสือ – เนตรนารี ๓๐  ชมุ นุม ๔๐ กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๗ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับประถมศกึ ษา Mini English Program ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป)ี รายวิชาพน้ื ฐาน ๘๔๐ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ MA๑๓๑๐๑ Mathematics ๒๐๐ SC๑๓๑๐๑ Science ๘๐ ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๐ ส๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ HP๑๓๑๐๑ Health and Physical Education ๔๐ ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ EN๑๓๑๐๑ English ๑๖๐ รายวิชาเพิม่ เติม ๘๐ ส๑๓๒๐๑ หน้าท่ีพลเมอื ง ๔๐ EN๑๓๒๐๑ English for Communication ๔๐ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนักเรียน  ลกู เสอื – เนตรนารี ๓๐  ชมุ นุม ๔๐ กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๔๐ หลกั สูตรโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๘ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศกึ ษา Mini English Program ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐ ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ MA๑๔๑๐๑ Mathematics ๑๖๐ SC๑๔๑๐๑ Science ๑๒๐ ส๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ HP๑๔๑๐๑ Health and Physical Education ๘๐ ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ EN๑๔๑๐๑ English ๘๐ รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ ส๑๔๒๐๑ หน้าที่พลเมอื ง ๔๐ EN๑๔๒๐๑ English for Communication ๔๐ จ๑๔๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ กิจกรรมนกั เรียน  ลูกเสือ – เนตรนารี ๓๐  ชุมนมุ ๔๐ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๘๐ หลักสูตรโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๑๙ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศกึ ษา Mini English Program ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐ ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ MA๑๕๑๐๑ Mathematics ๑๖๐ SC๑๕๑๐๑ Science ๑๒๐ ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ HP๑๕๑๐๑ Health and Physical Education ๘๐ ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๘๐ ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ EN๑๕๑๐๑ English ๘๐ รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๒๐ ส๑๕๒๐๑ หน้าที่พลเมอื ง ๔๐ EN๑๕๒๐๑ English for Communication ๔๐ จ๑๕๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๑๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ กิจกรรมนกั เรียน  ลูกเสือ – เนตรนารี ๓๐  ชุมนมุ ๔๐ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๑,๐๘๐ หลักสูตรโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๐ โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดบั ประถมศึกษา Mini English Program ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ป)ี รายวชิ าพืน้ ฐาน ๘๔๐ ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ MA๑๖๑๐๑ Mathematics ๑๖๐ SC๑๖๑๐๑ Science ๘๐ ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ส๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ HP๑๖๑๐๑ Health and Physical Education ๘๐ ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐ EN๑๖๑๐๑ English ๘๐ รายวิชาเพมิ่ เติม ๑๒๐ ส๑๖๒๐๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๔๐ EN 16201English for Communication ๔๐ จ๑๖๒๐๑ ภาษาจีน ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรยี น  ลูกเสอื – เนตรนารี ๓๐  ชมุ นุม ๔๐ กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรียน ๑,๐๘๐ หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๑ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ รายวชิ า/กจิ กรรม หนว่ ยกติ /ชม. รายวิชา/กจิ กรรม หนว่ ยกิต/ชม. รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๑(๔๔๐) รายวิชาพ้นื ฐาน ๑๑(๔๔๐) ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒ ๑.๕ (๖๐) ว๒๑๑๐๓ วทิ ยาการคำนวณ ๑ ๐.๕ (๒๐) ว๒๑๑๐๔ ออกแบบและเทคโนโลยี ๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๒ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ ๑.๐ (๔๐) พ ๒๑๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ ๒ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรีและนาฏศิลป์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ๒ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๑๑๐๓ การงานอาชีพ ๒ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ ๑.๕ (๖๐) รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๒.๕ (๑๐๐) รายวชิ าเพม่ิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) ท ๒๑๒๐๑ สือ่ มวลชนศกึ ษา ๑ ๐.๕ (๒๐) ท ๒๑๒๐๒ สอื่ มวลชนศกึ ษา ๒ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๒๐๑ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๑๒๐๒ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๒ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๑๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๒๐๒ อาเซียนศึกษา ๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๒๐๔ อาเซียนศึกษา ๒ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร๑ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร๒ ๐.๕ (๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (๖๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน (๖๐) กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว ๑๕ กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี ๒๐ กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี ๒๐ กิจกรรมชมุ นุม ๑๕ กิจกรรมชมุ นุม ๒๐ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕ รวมเวลาเรียน ๖๐๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ หลักสตู รโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๒ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ รายวิชา/กิจกรรม หนว่ ยกิต/ชม. รายวิชา/กจิ กรรม หนว่ ยกติ /ชม. รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๑(๔๔๐) รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๑(๔๔๐) ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๓ วทิ ยาการคำนวณ ๒ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๒๑๐๔ ออกแบบและเทคโนโลยี ๒ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๓ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๓ สงั คมศึกษา ๔ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๑.๐ (๔๐) พ ๒๒๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ ๔ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรีและนาฏศิลป์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ ๔ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๓ การงานอาชีพ ๔ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๒ คอมพิวเตอร์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๒๑๐๔ คอมพวิ เตอร์ ๔ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔ ๑.๕ (๖๐) รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๒.๕ (๑๐๐) รายวชิ าเพ่มิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) ท ๒๒๒๐๑ สือ่ มวลชนศกึ ษา ๓ ๐.๕ (๒๐) ท ๒๒๒๐๒ ส่อื มวลชนศกึ ษา ๔ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๒๒๐๑ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๒๒๐๒ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๔ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๒๒๐๑ ภาษาจนี ๓ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๒๒๐๒ ภาษาจีน ๔ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๒๐๒ อาเซยี นศกึ ษา ๓ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๒๐๔ อาเซยี นศึกษา ๔ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร๓ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สาร๔ ๐.๕ (๒๐) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน (๖๐) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (๖๐) กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ๑๕ กจิ กรรมลกู เสอื – เนตรนารี ๑๕ กิจกรรมชุมนมุ ๑๕ กิจกรรมชมุ นุม ๑๕ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๓ โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ รายวิชา/กิจกรรม หนว่ ยกติ /ชม. รายวชิ า/กิจกรรม หนว่ ยกติ /ชม. รายวิชาพื้นฐาน ๑๑(๔๔๐) รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๑(๔๔๐) ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ (๖๐) ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๖ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๓ วิทยาการคำนวณ ๓ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๓๑๐๔ ออกแบบและเทคโนโลยี ๓ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๕ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ๖ ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๖ ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕ ๑.๐ (๔๐) พ ๒๓๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖ ๑.๐ (๔๐) ศ ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ ๖ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรีและนาฏศิลป์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ๖ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๑๐๓ การงานอาชีพ ๖ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๑๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ง ๒๓๑๐๔ คอมพวิ เตอร์ ๖ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑.๕ (๖๐) รายวิชาเพมิ่ เติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวชิ าเพม่ิ เติม ๒.๕ (๑๐๐) ท ๒๓๒๐๑ ส่อื มวลชนศึกษา ๕ ๐.๕ (๒๐) ๐.๕ (๒๐) สือ่ มวลชนศึกษา ๖ ๑.๐ (๔๐) ว ๒๓๒๐๑ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ว ๒๓๒๐๒ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๖ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๓๒๐๑ ภาษาจนี ๕ ๐.๕ (๒๐) จ ๒๓๒๐๒ ภาษาจนี ๖ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๒๐๒ อาเซยี นศึกษา ๕ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๒๐๔ อาเซียนศึกษา ๖ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร๕ ๐.๕ (๒๐) อ ๒๓๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร๖ ๐.๕ (๒๐) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน (๖๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน (๖๐) กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กจิ กรรมลกู เสอื – เนตรนารี ๑๕ กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ๑๕ กจิ กรรมชุมนุม ๑๕ กจิ กรรมชมุ นมุ ๑๕ กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรียน ๖๐๐ หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๔ รายวชิ าพ้นื ฐานและรายวชิ าเพมิ่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หน่วยกติ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกติ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จำนวน ๖๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ๐.๕ หนว่ ยกติ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ รายวิชาเพมิ่ เตมิ สอื่ มวลชนศึกษา ๑ ท ๒๑๒๐๑ ส่ือมวลชนศกึ ษา ๒ สอ่ื มวลชนศกึ ษา ๓ ท ๒๑๒๐๒ ท ๒๒๒๐๑ สอื่ มวลชนศึกษา ๔ สื่อมวลชนศึกษา ๕ ท ๒๒๒๐๒ สื่อมวลชนศึกษา ๖ ท ๒๓๒๐๑ ท ๒๓๒๐๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ จำนวน ๑๖๐ ชัว่ โมง ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖ ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๕ ค ๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ค ๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๔ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกิต ๑.๕ หนว่ ยกิต ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ รายวิชาเพ่มิ เติม ๑.๕ หน่วยกติ ๐.๕ หน่วยกติ - ๐.๕ หน่วยกิต ๑.๕ หน่วยกิต กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑.๕ หน่วยกิต ๐.๕ หน่วยกติ รายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ๑.๕ หน่วยกติ ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว ๑๓๑๐๑ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ จำนวน ๑๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว ๑๕๑๐๑ ๐.๕ หนว่ ยกิต ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ วทิ ยาศาสตร์ ๒ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ว ๒๑๑๐๑ วิทยาการคำนวณ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ว ๒๑๑๐๒ ว ๒๑๑๐๓ ออกแบบและเทคโนโลยี ๑ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง วทิ ยาศาสตร์ ๓ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ว ๒๑๑๐๔ ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๔ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง วิทยาการคำนวณ ๒ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ว ๒๒๑๐๒ ออกแบบและเทคโนโลยี ๒ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ว ๒๒๑๐๓ ว ๒๒๑๐๔ วิทยาศาสตร์ ๕ จำนววน ๖๐ ช่ัวโมง วทิ ยาศาสตร์ ๖ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ว ๒๓๑๐๑ ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาการคำนวณ ๓ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ออกแบบและเทคโนโลยี ๓ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ว ๒๓๑๐๓ ว ๒๓๑๐๔ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๑ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ว ๒๑๒๐๑ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๓ จำนววน ๒๐ ชว่ั โมง ว ๒๑๒๐๒ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๔ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ว ๒๒๒๐๑ ว ๒๒๒๐๒ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๕ จำนววน ๒๐ ช่ัวโมง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ว ๒๓๒๐๑ ว ๒๓๒๐๒ หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๖ กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ าพืน้ ฐาน ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๒๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ๑.๕ หน่วยกิต ส ๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ๒ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต ส ๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๓ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ส ๒๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๔ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ๑.๕ หนว่ ยกิต ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ส ๒๓๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๖ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ๐.๕ หน่วยกิต ส ๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ส ๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ๐.๕ หน่วยกิต ส ๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ส ๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ส ๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๕ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ส ๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๖ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา้ ท่ีพลเมือง ๑ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หน่วยกิต หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ส ๑๑๒๓๑ ส ๑๒๒๓๒ หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๓ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๓๒๓๓ หน้าที่พลเมอื ง ๔ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง หน้าทพ่ี ลเมอื ง ๕ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ส ๑๔๒๓๔ ส ๑๕๒๓๕ หน้าที่พลเมอื ง ๖ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง อาเซยี นศกึ ษา ๑ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ส ๑๖๒๓๖ อาเซียนศึกษา ๒ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ส ๒๑๒๐๑ ส ๒๑๒๐๒ หลกั สูตรโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๗ ส ๒๒๒๐๑ อาเซยี นศึกษา ๓ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ส ๒๒๒๐๒ อาเซยี นศึกษา ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส ๒๓๒๐๑ อาเซียนศกึ ษา ๕ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ส ๒๓๒๐๒ อาเซยี นศึกษา ๖ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ๑.๐ หนว่ ยกติ รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑.๐ หนว่ ยกิต จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หนว่ ยกติ พ ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว่ ยกติ พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑.๐ หน่วยกติ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑.๐ หนว่ ยกิต จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง พ ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง พ ๒๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง พ ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง พ ๒๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง พ ๒๒๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔ พ ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๕ พ ๒๓๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๖ รายวิชาเพมิ่ เติม - กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวชิ าพื้นฐาน ๐.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๐.๕ หน่วยกิต จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๕ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๑ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง ศ ๒๑๑๐๓ ทัศนศลิ ป์ ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๓ ศ ๒๒๑๐๓ ทัศนศลิ ป์ ๔ ศ ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๕ หลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๘ ศ ๒๓๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรแี ละนาฏศิลป์ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ ๒ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ๓ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ๕ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรแี ละนาฏศิลป์ ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ - กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชีพ ๔ ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๕ ๐.๕ หน่วยกติ ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชพี ๖ ๐.๕ หน่วยกติ รายวชิ าเพิม่ เตมิ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง - จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ จำนวน ๑๖๐ ชัว่ โมง รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนว่ ยกิต จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ อ ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๒๙ อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หน่วยกติ อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หน่วยกติ รายวิชาเพ่มิ เตมิ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกติ ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๒ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ๓ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ อ ๑๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๔ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกติ อ ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต อ ๑๔๒๐๑ ๐.๕ หน่วยกติ อ ๑๕๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๖ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๑ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๒ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกติ อ ๒๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร ๓ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต อ ๒๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร ๔ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต อ ๒๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร ๕ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ อ ๒๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๖ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง อ ๒๓๒๐๑ ภาษาจีน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง อ ๒๓๒๐๒ ภาษาจีน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จ ๑๔๒๐๑ จ ๑๕๒๐๑ ภาษาจนี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จ ๑๖๒๐๑ ภาษาจีน ๑ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ภาษาจีน ๒ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง จ ๒๑๒๐๑ ภาษาจีน ๓ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง จ ๒๑๒๐๒ ภาษาจนี ๔ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง จ ๒๒๒๐๑ ภาษาจนี ๕ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง จ ๒๒๒๐๒ ภาษาจีน ๖ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง จ ๒๓๒๐๑ จ ๒๓๒๐๒ หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๐ คำอธิบายรายวชิ า ( ๘ กล่มุ สาระการเรยี นร้)ู - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย - กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ - กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม - กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา - กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี - กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย หลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๒ รหัสวิชา ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำนวนเวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ฝึกอ่านสะกดคำตามมาตราตัวสะกด การผันวรรณยุกต์ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรต่ำ การอา่ นออกเสียงถูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี อ่านไดค้ ลอ่ ง จำคำไดแ้ มน่ ยำ เขา้ ใจความหมายของคำและข้อความที่ อ่าน การอ่านในใจ หาใจความสำคัญและรายละเอียดเรื่องที่อ่านโดยหาคำสำคัญของประโยคและข้อความ ใชก้ ระบวนการอ่านพัฒนาการอ่าน ตอบคำถาม คาดคะเนเรือ่ งหรอื เหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน นำความรู้จาก การอ่านกำหนดแนวทางปฏบิ ัติ การอ่านในใจและการอ่านออกเสยี งท้งั ร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง รู้จักเลือก อา่ นหนงั สือทเ่ี ปน็ ประโยชน์ท้ังประเภทความรู้และความบันเทงิ มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการอ่าน ฝึกปฏิบัติตนในการเขียนคำ สะกดคำใหม่ จำนวน ๔๕๐ คำ การเขียนตามคำบอกและบอก ความหมายของคำ การเรยี งประโยคจากคำทีก่ ำหนด เรียงความจากภาพ เขียนเร่อื งตามความคดิ ความรู้สกึ หรอื จินตนาการ จดบนั ทึกประจำวัน ท้งั ความรู้ ประสบการณ์ และเรือ่ งราว ในชวี ติ ประจำวัน ฝึกนิสัยรัก การเขียน และมมี ารยาทในการเขียนอย่างถูกตอ้ ง เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการเขยี น เขยี นได้อยา่ งถูกต้องสวยงาม มีระเบียบ สื่อความหมายได้ รู้หลักเกณฑ์การเขยี น และเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ สามารถนำการเขียนไปใช้ ประโยชน์ในชวี ิตจรงิ ได้ มีนสิ ัยทด่ี ใี นการเขียนและรกั การเขยี น การฟัง การดู และการพูด ฝึกการฟัง การดู และการพูด การจับใจความสำคัญ สิ่งที่ฟังและดู การใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทาง การตั้งคำถาม การตอบคำถาม การสนทนา การพูดแสดงความ คิดเห็น การเล่าเรื่องถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ มีมารยาทที่ดีในการฟงั การดู และการพูด เพื่อให้เข้าใจในสิ่งที่ฟัง ดู และพูด สามารถจับใจความสำคญั อย่างถูกต้อง แสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีฟงั พูดเลา่ เรื่องได้ รวมถงึ การตง้ั คำถาม การตอบคำถามจากส่ิงทีฟ่ ังและดู และประสบการณ์จาก สิง่ ท่ไี ดฟ้ ังและดไู ด้ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูดท่ีดี ฝึกใช้หลักการทางภาษา พัฒนาคำศัพท์ การสะกดคำและแจกลูก การประสมคำ อ่านคำ การ เขียนคำ การผันวรรณยุกต์ กลุ่มคำตามชนิดและหน้าที่ ประโยคการเรียงลำดับคำ การเรียงประโยค ตามลำดบั เหตกุ ารณ์ คำสภุ าพ การพูดทักทาย ขอบคณุ การสนทนา การแสดงความคิดเห็น การสนทนา ดว้ ยภาษาไทยกลางและภาษาถ่ิน คำคล้องจอง การแตง่ คำคลอ้ งจอง ๒ พยางค์ ปริศนาคำทาย บทรอ้ งเล่น ตัวเลขไทย การใช้ภาษาที่เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล เพื่อให้สามารถนำหลักการทางภาษาไปพัฒนา ความรู้ ความคิด อย่างมีวิจารณญาณ ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับกาลเทศะบุคคล สื่อความได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ในการดำรงชวี ติ จริง พรอ้ มท้งั ใชภ้ าษาพูดและภาษาเขียนไดถ้ ูกตอ้ งและสรา้ งสรรค์ การอา่ นนิทาน เรอ่ื งสัน้ บทรอ้ ยกรอง บทความ ได้ข้อคดิ เหน็ จากสง่ิ ที่อา่ น รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕,ป.๑/๖,ป.๑/๗,ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓,ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ รวมทงั้ หมด ๒๒ ตวั ชี้วดั หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๓ รหัสวชิ า ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวนเวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ฝกึ การอ่านสะกดคำอกั ษะควบกล้ำและอกั ษรนำมาผนั วรรณยกุ ต์อักษรสงู อกั ษรกลาง และอกั ษรต่ำ การผนั วรรณยกุ ต์ อักษรควบกล้ำและอกั ษรนำอ่านออกเสยี งได้ถกู ตอ้ งตามอักขวธิ ี อา่ นได้คลอ่ งและเร็ว จำ คำได้แม่นยำ เข้าใจความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน การอ่านในใจหาใจความสำคัญและรายละเอียด ของเร่อื งทอ่ี า่ น โดยหาคำสำคญั ของประโยคและขอ้ ความ การใชแ้ ผนภาพ โครงเร่อื ง หรอื แผนภาพความคิด พัฒนาความเข้าใจ การอ่านใช้กระบวนการอ่าน พัฒนาการอ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม หรือคาดคะเน เรื่องราวที่อ่าน การอ่านในใจและอ่านออกเสียงทั้งบทร้อยแก้วและร้อยกรองทั้งการอ่านออกเสียงธรรมดา และทำนองเสนาะ การท่องจำบทร้อยกรองที่ไพเราะที่เปน็ บทอาขยานและไม่ใช่บทอาขยาน การเลือกอ่าน หนงั สอื ทัง้ เปน็ ประโยชน์ ประเภทความรูแ้ ละประเภทความบนั เทงิ มีมารยาทในการอา่ นและนสิ ยั รกั การอ่าน ฝึกการปฏิบัติตนในการเขียนคำ สะกดคำใหม่ จำนวน ๘๐๐ คำ เขียนตามคำบอกจากบทเรียน เขียนคำตามความหมายและตัวสะกดการันต์ การเรียงประโยคจากคำที่กำหนด การแต่งประโยคจากภาพที่ กำหนด การเขียนประโยคและข้อความสั้น ๆ มีมารยาทและนิสัยรักการเขียน การจดบันทึก ความรู้ ประสบการณ์ เพื่อให้สามารถใช้กระบวนการเขียน พัฒนางานเขียนให้มีวิจารณญาณ ในการเขียนสามารถเขียน สื่อสารได้อย่างถูกต้องชัดเจน และเขียนได้อย่างสร้างสรรค์ นำการเขียนไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ มีนิสัยที่ดีใน การเขียนและรกั การเขยี น ฝึกการฟัง การดู และการพูด การจับใจความสำคัญสิ่งที่ฟัง และดู การเข้าใจเนื้อเรื่อง การใช้ ถ้อยคำน้ำเสยี ง และกิริยาท่าทาง การตัง้ คำถาม การตอบคำถาม การสนทนา การแสดงความคดิ เห็น การ เล่าเรอื่ งถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ ความรู้สกึ และประสบการณ์ การใชถ้ ้อยคำเหมาะแกเ่ รือ่ ง มีมารยาทท่ีดี ในการฟงั การดู และการพูด เพอ่ื ให้เข้าใจสิง่ ที่ฟังดู และพดู สามารถจับใจความสำคัญไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แสดง ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง พูด เล่าเรื่องได้ รวมถึงการตั้งคำถาม การตอบคำถามจากสิ่งที่ฟัง และดู สนทนาโต้ตอบและพูดถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์จากสิ่งที่ได้ฟังและดูได้ มี มารยาทในการฟัง การดู และการพดู ท่ีดี ฝกึ ใชห้ ลกั การทางภาษา พฒั นาคำศัพท์ สะกดคำ และแจกรปู ประสม คำอา่ น คำเขยี น คำ ผัน วรรณยุกต์ บอกความหมายและหน้าที่ของคำ กลุ่มคำ ประโยค เรียงลำดับคำในประโยค เรียบเรียง ประโยคตามลำดับความคิดเป็นข้อความ ใช้ภาษาที่สุภาพในการสื่อสารแลกเปลี่ยนความคิด โดยรู้จัก ภาษาไทยกลาง และภาษาถิ่น ใช้คำคล้องจองแต่งบทร้อยกรอง นำปริศนาคำทายและบทร้องเล่นในท้องถน่ิ มาใช้ในการเรียนการสอน ใช้กระบวนการเขียนเป็นเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้ การทำงาน ร่วมกับผู้อ่นื ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสาร ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน การใช้ภาษาให้เหมาะสม กับบุคคลและสถานการณ์ตามความเป็นจริง ใช้ภาษาในกลุ่มสระ การเรียนรู้พัฒนาการอ่าน และการเขียน และนำตวั เลขไทยมาใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๔ เพื่อให้สามารถนำหลักการทางภาษาไปใช้พัฒนาความรู้ ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ ใช้ภาษา เหมาะสมกบั กาลเทศะ บคุ คลสือ่ ความไดถ้ ูกต้อง ชัดเจนในการดำรงชีวิตจริง พรอ้ มท้ังใช้ภาษาพดู และภาษา เขียนได้ถูกต้องและสร้างสรรค์ อ่านนิทาน เรื่องสั้น บทร้อยกรอง บทความ สารคดี บทละคร เหมาะกับวัยของเด็ก มคี วามรู้ และข้อคิดจากสิง่ ที่อา่ นสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง รหัสตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗,ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕,ป.๒/๖,ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓,ป.๒/๔,ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๕ รวมทง้ั หมด ๒๗ ตวั ช้ีวัด หลักสูตรโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๕ รหสั วชิ า ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จำนวนเวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ฝึกการอ่านสะกดคำที่ไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดอ่านและเขียนคำที่ใช้การันต์อักษรควบกล้ำและ อักษรนำ การผันวรรณยุกต์ อักษรควบกล้ำ และอักษรนำการอ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธีอ่านได้ คล่องและเร็ว จำคำได้แม่นยำและกวาดสายตาในการอ่าน เข้าใจความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน เข้าใจความสำคัญและรายละเอียดของเรอ่ื งทอ่ี ่านยาวขนึ้ และมีหลายเหตกุ ารณ์ โดยหาคำสำคัญของประโยค และข้อความ การใช้แผนภาพโครงเรื่องหรือแผนภาพความคิดพัฒนาความเข้าใจการอ่านและสรุปใจความ สำคัญการใช้คำถามถามเนื้อหาเรื่องที่อ่าน ตั้งคำถามหรือตอบคำถามแสดงความรู้ความเข้าใจการอ่านหรือ คาดคะเนเหตกุ ารณ์เรอ่ื งราวที่อ่านการอ่านในใจและการอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้รวดเร็ว ถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์และอักขรวิธีการจำบทร้อยกรองที่ไพเราะ รู้จักเลือกอ่านหนังสือที่เป็น ประโยชน์ ความรคู้ วามบนั เทิง มีมารยาทในการอ่านและนิสยั รักการอา่ น ฝึกปฏิบัติตนในการเขียนสะกดคำตามคำบอก การสะกดคำใหม่ การแต่งประโยคโดยใช้คำใหม่ จำนวน ๑,๒๐๐ คำ การเขียนประโยคโดยกำหนดคำ การเขียนประโยคโดยกำหนดภาพและการเขียน เรยี งความ การปรบั ปรุงขอ้ เขียนให้สมบรู ณ์ การจดบันทึกความรปู้ ระสบการณแ์ ละเรือ่ งราวในชวี ิตประจำวัน เพื่อให้มคี วามรู้ความเข้าใจใช้ความรู้ความคิดจากการเขียน เขียนแสดงความคิดเหน็ สามารถนำการ เขียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตจริงไดม้ ีนสิ ัยทีด่ แี ละรกั การเขยี น ฝึกการฟัง การดู และการพูด การจับใจความสำคัญ สิ่งที่ฟังและดกู ารเข้าใจเนือ้ เร่ืองการใช้ถอ้ ยคำ นำ้ เสียงและกิริยาทา่ ทางการแสดงทรรศนะเรือ่ งทฟ่ี งั และดู การตง้ั คำถาม การตอบคำถาม การสนทนา การ แสดงความคิดเห็น การเล่าเรื่อง การถ่ายทอดความรู้ความคิดความรู้สึกและประสบการณ์การใช้ถ้อยคำ เหมาะสมแก่เรอ่ื งอยา่ งสร้างสรรคต์ ามหลกั การพดู มีมารยาททด่ี ีในการฟัง การดู และการพูด เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจสง่ิ ท่ฟี ัง ดู และพดู สามารถจับใจความสำคญั อย่างถูกตอ้ ง แสดงความคดิ เห็นจากเร่ืองท่ี ฟัง พูดเล่าเรื่องได้ แสดงทรรศนะเรื่องที่ฟังและดู สนทนาโต้ตอบแสดงความคิดเห็น พูดเล่าเรื่องถ่ายทอด ความรคู้ วามคิด ความรสู้ กึ ประสบการณจ์ ากสิ่งทไี่ ด้ฟังและดไู ด้ ใช้ถอ้ ยคำเหมาะแกเ่ รื่องอย่างสร้างสรรค์ตาม หลกั การพดู มีมารยาทในการฟังการดูและการพูดที่ดี ฝึกอา่ นและเขียนสะกดคำตามหลกั เกณฑข์ องภาษาโดยนำเสียงพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ มาประสม เป็นคำอา่ นและเขยี นบอกความหมายและหน้าทีข่ องคำ กลมุ่ คำ และประโยค เรียงลำดบั ในประโยค และเรียง ประโยคตามลำดับความคิดเป็นข้อความใช้ภาษาสุภาพในการสื่อสารแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยเข้าใจ ภาษาไทยกลางและภาษาถิ่น ใช้คำคล้องจองแต่บทร้อยกรอง เล่นปริศนาคำทาย บทร้องเล่นในท้องถิ่นท่ี หลากหลาย ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือการเรียนการแสวงหาความรู้และการทำงานรวมกับผู้อื่น ใช้ เทคโนโลยกี ารสือ่ สารพัฒนาการเขยี น เข้าใจความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน ใชภ้ าษาได้เหมาะสม กับบุคคลและสถานการณ์ ใช้ภาษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ พัฒนาการอ่านและการเขียนและนำตวั เลข ไทยมาใช้ในชวี ติ ประจำวัน เพื่อให้สามารถนำหลักการทางภาษาไปใช้พัฒนาความรู้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณใช้ภาษาท่ี เหมาะสมกบั กาลเทศะบุคคลส่อื ความได้อย่างถูกตอ้ งและชัดเจนในการดำรงชีวติ จรงิ พรอ้ มทง้ั ใช้ภาษาพูดและ ภาษาเขียนไดถ้ ูกตอ้ งและสร้างสรรค์ การอ่านนทิ านเรือ่ งสน้ั สารคดี บทร้อยกรอง บทความ บทละคร มคี วามรู้และข้อคดิ จากส่งิ ท่อี ่าน หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๖ รหัสตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวมทง้ั หมด ๓๑ ตวั ช้วี ัด หลกั สตู รโรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๗ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ จำนวนเวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ศกึ ษาและฝึกทักษะในการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู การพูด หลกั ภาษาและวรรณคดี การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองทม่ี คี ำควบกล้ำ อกั ษรนำ คำประสม สำนวนทเ่ี ปน็ สุภาษติ คำพังเพย ปรศิ นาคำทายเป็นทำนองเสนาะ อา่ นจบั ใจความสำคญั จากสอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ นทิ าน เรอื่ งเลา่ บทความ โฆษณา ข่าว สารคดี บันเทิงคดี อ่านจากแผนภาพโครงเร่ือง อา่ นหนังสือตาม ความสนใจเหมาะสมกบั วัยและมีมารยาทในการอ่าน คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด และคร่งึ บรรทัด ตามหลกั การเขียน กระบานการ เขยี นส่อื สารและ เขียนเรื่องราวในรปู แบบต่างๆ เขียนบนั ทกึ เขยี นรายงาน เขียนเรยี งความ เขยี นตาม จนิ ตนาการ เขยี น ตามคำบอก คำขวญั คำแนะนำ แผนภาพโครงเรอื่ ง ยอ่ ความจากนทิ าน ความเรียง ประเภทต่างๆ ประกาศ จดหมาย มีทักษะในการเขยี น เขียนได้ถูกตอ้ ง รวดเร็ว เป็นระเบยี บสวยงาม ส่ือความ ได้อย่างมี รปู แบบ คดิ ลำดบั เหตุการณเ์ กย่ี วกับเรื่องท่ีเขยี นอยา่ งเสรี และสร้างสรรค์ได้ มีมารยาททดี่ มี ีนิสยั รกั การอ่าน จำแนกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ จากเร่อื งท่ฟี ังและดู จากคำพดู ทีแ่ สดงการเปรยี บเทยี บ แสดงความ ต้องการโดยตรงและโดยนยั สำนวน สุภาษิต คำพงั เพย อภปิ รายซกั ถาม คิดเปรยี บเทยี บ วิเคราะห์ ปฏิบัตติ นถูกตอ้ งในการฟัง การดู การพูด ดูข่าวเหตุการณต์ า่ งๆ ละครทวี ี บทความ โอวาท ประชมุ จบั ใจความสำคัญ เรียงลำดับเหตุการณ์สรุปความสามารถ พูดส่ือความได้ชดั เจน ถูกต้อง มมี ารยาทที่ดใี นการฟัง ดู และพูด และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ อา่ น เขยี นสะกดคำ บอกความหมาย คำแม่ ก.กา ผนั อักษร คำเป็นคำตาย คำพอ้ ง คำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ า คำวิเศษณ์ พจนานกุ รม ประโยค กลอนสี่ คำขวัญ คำพงั เพย สุภาษิต คำภาษา ถิน่ ภาษาไทยมาตรฐาน คำสภุ าพ ประโยค ส่วนขยายคำประโยค เลือกใชค้ ำและประโยคส่ือสาร การใช้ คำ กลุ่มคำตามชนิดและหนา้ ท่ี ของคำและกลมุ่ คำ การสนทนา การเชอ้ื ชวน การชกั ชวน คำภาษาองั กฤษ การเขยี นจดหมาย เขยี นเรียงความ ตัวเลขไทย การพูด การเขยี นอยา่ งมคี ุณธรรม นำเทคโนโลยี พัฒนา ความรู้ ใชภ้ าษาอย่างสร้างสรรค์ การใช้ภาษาของกล่มุ คนในชมุ ชน ใชภ้ าษาเหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล ส่ือความหมายไดถ้ ูกตอ้ ง มีคุณธรรมเชงิ สร้างสรรค์ การใชภ้ าษาดำรงชวี ติ และการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม อ่าน เล่านทิ านพื้นบา้ น ตำนาน เรอื่ งส้นั บทร้อยกรอง นทิ านคตธิ รรม เพลงพ้นื บา้ น บทอาขยาน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน และความสนใจ ใช้หลักการพิจารณาคณุ คา่ ของหนังสอื แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ เลือกอา่ นบทประพันธ์ได้ถกู ต้อง บอกคุณคา่ ของวรรณกรรม ตามจุดประสงคข์ อง การอา่ น นำไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน เหน็ คณุ ค่า และภาคภมู ิใจในภาษาไทย รหสั ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔,ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔,ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔,ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔,ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมทั้งหมด ๓๓ ตวั ชี้วัด หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๘ รหัสวชิ า ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย จำนวนเวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง อ่านได้คล่องและอ่านได้เร็วขึ้น ความหมายของคำ การเปรียบเทยี บและใช้แหล่งความรู้พัฒนาการ อ่าน แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ ตีความ สรุปความ คำสำคัญในเรื่องที่อ่าน และใช้ แผนภาพโครงเรื่องหรือแผนภาพความคิดพัฒนาการอ่าน นำความรู้ความคิดจากการอ่านไปใช้แก้ปัญหา ตัดสนิ ใจ คาดการณ์ และการอา่ นเปน็ เครือ่ งมือพัฒนาตน การตรวจความรู้ คน้ คว้าเพิม่ เติม อ่านในใจ และ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้คล่องแคล่วและรวดเร็ว ถูกตอ้ งตามลกั ษณะคำประพันธ์ และ อกั ขรวิธี และจำบทรอ้ ยกรองท่มี คี ณุ ค่าทางความคิดและความงดงามทางภาษา อธบิ ายความหมายและคุณค่า นำไปใช้อา้ งอิง เลอื กหนงั สือตามจดุ ประสงคอ์ ยา่ งกว้างขวาง มารยาทการอา่ นและนสิ ยั รักการอา่ น เขียนเรียงความ ย่อความ การรายงาน ชี้แจงการปฏิบัติงาน เขียนจดหมายสื่อสารได้เหมาะกับ โอกาสและจุดประสงค์ เขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรือเรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง รวมทั้งใช้ กระบวนการเขยี นพฒั นางานเขียน มารยาทการเขียน และรักการเขียน ศึกษา คน้ คว้า ใชท้ ักษะการเขียน จดบนั ทึก ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ เหตุการณ์ เพ่ือนำมาพฒั นางานเขียน และการรายงาน และเขียน ส่อื สารอย่างมมี ารยาททางสงั คม จับประเด็นสำคัญ แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเหน็ สรปุ ความ วเิ คราะห์ตามข้อเทจ็ จรงิ แสดงความ คิดเห็น จุดประสงค์ของเรือ่ ง และของผู้พูด ถ้อยคำ น้ำเสียงที่แสดงออก กิริยาท่าทาง รับสารจากการฟงั การดู โดยสังเกตเปรยี บเทยี บจากประสบการณ์ต่อชีวติ จริง สนทนาโต้ตอบ พูดแสดงความคดิ พูดต่อหน้า ชุมชน และพดู รายงาน โดยใช้ถ้อยคำเหมาะสมแก่เรือ่ งและจดุ ประสงค์ตามหลักการพูด มารยาทการฟงั การดู และการพดู สะกดคำในวงคำศัพทท์ กี่ ว้าง และยากขนึ้ อ่านและเขยี นคำไดถ้ ูกต้องคล่องแคล่ว การใช้คำ กลุ่มคำ ตามชนิดและหน้าที่ มาเรียบเรียงเป็นประโยค การใช้ประโยคสื่อสารได้ชัดเจน การใช้คำที่มีความหมาย โดยตรง และความหมายโดยนยั การใช้ภาษาในการสนทนา เช้อื เชิญ ชกั ชวน ปฏเิ สธ ชี้แจง ด้วยถ้อยคำ สุภาพ และใช้คำราชาศัพท์ได้ถูกต้อง การคิดไตร่ตรองก่อนพูดและเขียน ลักษณะของคำไทย คำภาษาถ่ิน คำภาษาอังกฤษ ที่ปรากฏในภาษาไทยซึ่งทำให้มีคำใช้มากขึ้น แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์กลอนโดย แสดงความคิดสร้างสรรค์ เล่านิทานพื้นบ้าน และตำนานพื้นบ้านในท้องถิ่นอย่างเห็นคุณค่า การใช้ทักษะทางภาษาเป็น เครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้และการอยู่ร่วมกันในสังคม และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนา ความรู้ระดับของภาษา ลักษณะของภาษาพูดภาษาเขียน ใช้ภาษาถูกต้องและเหมาะสมกับบุคคลและ สถานการณ์ การใช้ภาษาในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตา่ งๆ ในการพัฒนาความรู้ เหน็ คุณค่าการใชต้ ัวเลขไทย การ ใช้ภาษาอย่างถูกต้องมีคุณธรรม โดยการพูดการเขียนตามความเป็นจริงและเหมาะแก่สถานการณ์ การใช้ ภาษาอย่างสร้างสรรค์เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและสรา้ งความสามคั คีสอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒั นธรรม การใช้ภาษาของกลมุ่ บุคคลในชมุ ชน หลักสตู รโรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๓๙ รหสั ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗,ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗,ป.๕/๘,ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔,ป.๕/๕,ป.๕/๖,ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒,ป.๕/๓,ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตวั ชวี้ ัด หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๐ รหสั วิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย จำนวนเวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง อา่ นได้คลอ่ งและอ่านได้เรว็ ขนึ้ ความหมายของคำ การเปรียบเทียบและใชแ้ หลง่ ความรพู้ ฒั นาการอา่ น แยกขอ้ เท็จจริง และขอ้ คิดเหน็ วเิ คราะห์ความ ตีความ สรปุ ความ คำสำคญั ในเรอ่ื งท่อี ่าน และใชแ้ ผนภาพโครง เร่ืองหรอื แผนภาพความคิดพัฒนาการอ่าน นำความรคู้ วามคิดจากการอ่านไปใช้แก้ปัญหา ตดั สินใจ คาดการณ์ และการอ่านเป็นเครื่องมือพัฒนาตน การตรวจความรู้ ค้นคว้าเพิ่มเติม อ่านในใจ และอ่านออกเสียงบทร้อย แก้วและบทร้อยกรองได้คล่องแคล่วและรวดเร็ว ถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์ และอักขรวิธี และจำบท ร้อยกรองที่มีคุณค่าทางความคิดและความงดงามทางภาษา อธิบายความหมายและคุณค่านำไปใช้อ้างอิง เลอื กหนงั สอื ตามจดุ ประสงค์อยา่ งกว้างขวาง มารยาทการอ่านและนสิ ัยรักการอา่ น เขยี นเรียงความ ย่อความ การรายงาน ชีแ้ จงการปฏบิ ัติงาน เขียนจดหมายสอ่ื สารได้เหมาะกับโอกาส และจุดประสงค์ เขยี นเรอ่ื งราวจากจนิ ตนาการหรอื เร่ืองราวที่สมั พนั ธ์กบั ชวี ิตจริง รวมทงั้ ใช้กระบวนการเขียน พัฒนางานเขียน มารยาทการเขียน และรักการเขียน ศึกษา ค้นคว้า ใช้ทักษะ การเขียนจดบันทึก ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ เหตุการณ์ เพือ่ นำมาพัฒนางานเขยี น และการรายงาน และเขยี นสอ่ื สารอยา่ งมีมารยาท ทางสังคม จับประเด็นสำคัญ แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น สรุปความ วิเคราะห์ตามข้อเท็จจริง แสดงความ คดิ เหน็ จดุ ประสงค์ของเรอื่ ง และของผู้พูด ถ้อยคำ นำ้ เสยี งทแี่ สดงออก กิริยาท่าทางรับสารจากการฟัง การดู โดยสังเกตเปรียบเทียบจากประสบการณต์ อ่ ชีวติ จรงิ สนทนาโตต้ อบ พูดแสดงความคิด พูดต่อหน้าชมุ ชน และ พดู รายงาน โดยใช้ถ้อยคำเหมาะสมแกเ่ ร่ืองและจุดประสงค์ตามหลกั การพดู มารยาทการฟงั การดู และการพูด สะกดคำในวงคำศัพท์ที่กว้าง และยากขึ้น อ่านและเขียนคำได้ถูกต้องคล่องแคล่ว การใช้คำ กลุ่มคำ ตามชนดิ และหน้าท่ี มาเรยี บเรียงเป็นประโยค การใชป้ ระโยคสอื่ สารไดช้ ดั เจน การใชค้ ำทีม่ ีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย การใช้ภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ชี้แจง ด้วยถ้อยคำสุภาพ และใช้ คำราชาศัพท์ได้ถูกต้อง การคิดไตร่ตรองก่อนพูด และเขียน ลักษณะของคำไทย คำภาษาถ่ิน คำภาษาต่างประเทศ ทปี่ รากฏในภาษาไทยซ่งึ ทำให้มีคำใช้มากขึ้น แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกาพย์กลอนโดย แสดงความคดิ สร้างสรรค์ เล่านิทานพืน้ บา้ น และตำนานพ้นื บ้านในทอ้ งถ่นิ อย่างเหน็ คุณค่า การใชท้ ักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือ การเรียน การแสวงหาความรแู้ ละการอยรู่ ว่ มกันในสังคม และการใชเ้ ทคโนโลยกี ารสือ่ สารพฒั นาความรู้ระดับ ของภาษา ลักษณะของภาษาพูดภาษาเขียน ใช้ภาษาถูกต้องและเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์ การใช้ ภาษาในกลุม่ สาระการเรียนร้ตู ่างๆ ในการพฒั นาความรู้ เหน็ คณุ ค่า การใช้ตวั เลขไทย การใชภ้ าษาอยา่ งถูกตอ้ ง มคี ุณธรรม โดยการพดู การเขียนตามความเป็นจรงิ และเหมาะแกส่ ถานการณ์ การใชภ้ าษาอย่างสร้างสรรค์เป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวมและสร้างความสามัคคีสอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม การใช้ ภาษาของกลุ่มบุคคลในชุมชน เลือกอา่ นหนังสือได้หลากหลาย ทั้งนทิ าน ตำนาน เรอื่ งสัน้ สารคดี บทความ บทรอ้ ยกรอง บทละคร ตามจุดประสงคก์ ารอ่าน ใชห้ ลักการพจิ ารณาหนังสือ พิจารณาให้เหน็ คุณค่า และนำไปใชใ้ นชวี ิตจริง หลักสูตรโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๑ รหสั ตวั ช้วี ดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมท้ังหมด ๓๔ ตวั ชีว้ ดั หลักสตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๒ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวนเวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต อ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสำคัญของเรื่อง ระบุเหตุผล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น จากงานเขียน ทั้งสารคดี บันเทิงคดี และเอกสารทางวชิ าการ อ่านเอกสารคูม่ ือวิธีใช้เคร่ืองมือเครือ่ งใช้ทาง เทคโนโลยี วิเคราะห์คุณค่าจากการอ่านหนังสือที่อ่าน เขยี นสือ่ สาร บรรยายประสบการณ์ เรยี งความ ยอ่ ความ ความคิดเหน็ จดหมาย บันทึก รายงาน และโครงงาน พดู สรุปจากเรื่องที่ฟังและดู พดู แสดงความคิดเหน็ ใหเ้ หตผุ ลความนา่ เช่ือถอื อธบิ ายเสยี งในภาษา พลงั ภาษา วธิ สี ร้างคำ ชนดิ ของคำ ประโยค วเิ คราะห์ระดบั ภาษา ภาษาพูด ภาษาเขยี น แตง่ บทร้อยกรองประเภทกาพย์ สรุปเนื้อหา วิเคราะห์ และประเมินคุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรม ทั้งด้านจินตนาการ ศิลปะการ ประพันธ์ อารมณ์ คุณธรรม วิเคราะหแ์ นวคิดสำคญั นำความรู้ข้อคิดไปใช้ ท่องจำอาขยาน บทร้อยกรอง ทม่ี คี ุณค่า รหสั ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘,ม.๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓ ท ๕.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ รวมทง้ั หมด ๒๗ ตวั ชี้วัด หลักสตู รโรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๓ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ จำนวนเวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต ฝึกการอ่านคำอธิบาย อ่านคำบรรยาย อ่านเรื่องเล่า อ่านนิทาน อ่านข่าว อ่านบทความชี้แจง เหตุผล อ่านออกเสยี งทัง้ รอ้ ยแก้วและร้อยกรอง อ่านหนังสือ และงานเขียนต่างๆ ทั้งบันเทิงคดี และสารคดี ท่องจำบทประพันธ์ท่ีชอบ เพื่อให้สามารถจับใจความสำคัญ แยกข้อเท็จจริงจากขอ้ คิดเห็น ตีความ แสดง ความคิดจากสิ่งที่ได้อ่านได้ถูกต้องชัดเจน เลือกอ่านหนังสือได้ตรงตามความต้องการอ่านได้อย่างมี วิจารณญาณ มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกการเขยี นคำอธบิ าย เขยี นบรรยาย เขียนเร่อื งเลา่ เขียนนทิ าน เขยี นข่าว เขยี นบทความ เขียน รายงาน หรืองานเขียนต่างๆ เขียนคัดลอกข้อความ เขียนจดหมาย กรอกแบบฟอร์ม แต่งคำประพันธ์ เขยี นอักษรไทย และเขยี นตัวเลขไทยไดถ้ ูกต้องชดั เจนตามความตอ้ งการ และมมี ารยาทในการเขียน ฝึกการฟัง การดู การพูด โดย ฟัง ดู คำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว บทความ พูดสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เล่าเรื่อง รายงาน ชี้แจงเหตุผล อธิบายตามต้องการ แสดงความ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั สิ่งท่ีไดพ้ ูด ดู ฟงั ได้ถกู ตอ้ งชดั เจนตรงตามความต้องการและมีมารยาทในการ ฟัง ดู พูด ศกึ ษาหลกั ภาษาเกีย่ วกบั เสียงในภาษาไทย การจำแนกคำในภาษาไทย การใชป้ ระโยคในการสื่อสาร การใชพ้ จนานกุ รม การแตง่ คำประพันธ์ตรงตามความตอ้ งการและถกู ตอ้ ง ฝึกการพูดสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พูดรายงาน มีศิลปะในการพูดสนทนา และศึกษาการ เขยี นโครงเรือ่ งของเรียงความ ย่อความไดช้ ัดเจน ทำให้การใชภ้ าษาดำเนินไปไดด้ ว้ ยดี อ่านวรรณคดี และวรรณกรรม และงานประพันธท์ ี่ใชภ้ าษาอย่างมีรสนยิ ม ในฐานะทีเ่ ปน็ วฒั นธรรม ของชาติ เพอื่ ให้เห็นคณุ คา่ และใช้ภาษาเป็นเครือ่ งมอื แสวงหาความรู้ รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘,ม.๑/๙ ท ๒.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖,ม.๑/๗,ม.๑/๘,ม.๑/๙ ท ๓.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕,ม.๑/๖ ท ๔.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓ ท ๕.๑ ม.๑/๑,ม.๑/๒,ม.๑/๓,ม.๑/๔,ม.๑/๕ รวมท้ังหมด ๓๒ ตวั ชี้วดั หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๔ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวนเวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกิต อ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายเรื่องที่อ่าน เขียนผัง ความคิด อภิปราย วเิ คราะห์ ระบุข้อสังเกต และประเมินคุณค่าจากการอ่าน เขยี นบนั ทกึ เขียนบรรยาย และพรรณนา เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ รายงานการศึกษา โครงงาน จดหมายกจิ ธรุ ะ วิเคราะหว์ จิ ารณง์ านเขยี นโดยยดึ หลักการเขยี นและมารยาทในการเขียน ฟัง ดู และพดู สรุปใจความสำคัญ วิเคราะห์วจิ ารณข์ ้อเทจ็ จริง ขอ้ คิดเหน็ จากเรอื่ งทไ่ี ดฟ้ ัง สรา้ งคำชนดิ ตา่ งๆ วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยค แตง่ กลอนสภุ าพ ใช้คำราชาศพั ท์ถูกตอ้ ง รวบรวม และอธบิ ายความหมายคำภาษาบาลแี ละสันสกฤต สรุปเนื้อหา วิเคราะห์ วิจารณ์ อธิบายคุณค่าเชิงศิลปะ อารมณ์ คุณธรรมของวรรณคดี วรรณกรรม นำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง รหัสตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗,ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗ ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕ รวมท้งั หมด ๓๐ ตวั ช้ีวัด หลักสูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๕ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวนเวลา ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกติ การอ่านออกเสียงคำตามหลักเกณฑ์ทางภาษา การจับใจความสำคัญ การตีความ การอ่านอย่างมี สมรรถภาพและอ่านได้เร็ว วงคำศัพท์ที่ควรทราบ สำนวนโวหารประเภทพรรณนาและอุปมา การใช้บริบท การอ่านสร้างความเข้าใจ แหล่งความรู้ในการพัฒนาประสบการณ์และความรู้ การแสดงความคิดเห็นเชิง วเิ คราะหเ์ รอื่ งท่ีอา่ น การใชแ้ ผนภาพความคิดวิเคราะห์ พฒั นาการอ่าน การยอ่ เรือ่ งและนำความรู้ความคิด ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต การใชพ้ จนานุกรมและบรบิ ทการอ่านตรวจสอบความรู้ การอ่านในใจอย่าง มีประสิทธิภาพ การอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองตามลักษณะคำประพันธ์ด้วยน้ำเสียงถูกต้อง เหมาะสม การวเิ คราะหค์ ณุ ค่าด้านภาษาและเน้ือหาจากเรอ่ื งท่ีอ่าน การท่องจำบทอาขยานและบทประพันธ์ ท่มี ีคุณคา่ นำไปใช้อา้ งอิง การเลือกอ่านหนังสอื สือ่ สารสนเทศและส่ือสิ่งพิมพ์เพ่อื พัฒนาตนด้านความรู้และ การทำงาน มารยาทในการอา่ นและการสร้างนิสยั รักการอ่าน การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความ การเขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนรายงาน การใช้กระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน มารยาทในการเขียน การสร้างนิสัยรักการเขียนและการศึกษา ค้นควา้ การเลือกใชภ้ าษาเรียบเรียงข้อความได้อย่างประณีต การศึกษา คน้ ควา้ รวบรวมและบันทึกข้อมูล การจัดลำดบั ความคดิ ขน้ั ตอนในการนำเสนอตามรูปแบบของงานเขียนประเภทตา่ งๆ การสรุปความ การจับประเด็นสำคัญจากเรื่องทีฟ่ ังและดู การวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็นและ จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู การสังเกตน้ำเสียง กิริยาท่าทาง และการใช้ถ้อยคำของผู้พูด การพูด นำเสนอความรูค้ วามคดิ จากการอ่าน การฟงั และการดู มารยาทในการฟัง การดู และการพดู คำมูล คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน การใช้ ประโยคตามเจตนาของการสื่อสาร การใช้ภาษาแสดงความคิดเห็น คำราชาศัพท์และการใช้คำราชาศัพท์ตาม ฐานะของบุคคล การคิดไตร่ตรองและลำดับความคิดก่อนพูดและเขียนอักษรไทย และหลักการใช้อักษรไทย ชนดิ ของคำในภาษาไทย คำศพั ทท์ างวิชาการและเทคโนโลยี การแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกาพย์ การแต่งบท รอ้ ยกรองประเภทกลอน โดยแสดงความคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ การรอ้ ง เล่น และถา่ ยทอดเพลงพน้ื บ้านในท้องถิ่น อยา่ งเห็นคุณค่า การใช้ทกั ษะทางภาษาแสวงหาความรู้ การใชท้ กั ษะทางภาษาระดมความคิด การใช้ทักษะ ทางภาษาในการทำงาน ระดับของภาษาท่เี ป็นทางการและภาษาท่ีไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาพูดและภาษา เขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา การยกย่องผู้ใช้ภาษาไทยอย่างมคี ณุ ธรรมและวัฒนธรรม รหสั ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗,ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖,ม.๒/๗ ท ๓.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕,ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓ ท ๕.๑ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔,ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๒๙ ตวั ชว้ี ัด หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรฐั วทิ ยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๖ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน รหสั วิชา ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวนเวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ่านบทรอ้ ยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสำคัญและรายละเอียด บอกความแตกต่างของคำท่ีมี ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย เขยี นบันทกึ จากเรือ่ งในรปู แบบผงั ความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน วเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมินความน่าเชอื่ ถอื ของเร่ืองที่อา่ น แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ เร่ืองที่อา่ น เขยี นสื่อสารอยา่ งถูกตอ้ งตามระดับภาษา เขียนคำขวญั คำคม คำโฆษณา คตพิ จน์ ชวี ประวัติ ยอ่ ความ จดหมายกิจธุระ โครงงาน เขียนอธิบายชแี้ จง วเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความคดิ เห็น โตแ้ ยง้ เรื่องทอี่ า่ น กรอกแบบ สมัครงาน และเขยี นบรรยายความรแู้ ละทักษะตนเอง แสดงความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ พูดรายงาน เรือ่ งท่ฟี งั และดู นำข้อคดิ มาปรับใช้ในชีวติ ใช้ศลิ ปะการพูด ในโอกาสตา่ งๆ จำแนกคำยมื ภาษาอังกฤษ วเิ คราะหส์ รา้ งประโยค ใช้คำราชาศพั ท์ คำทับศัพท์ ศัพท์บัญญตั ิ วเิ คราะห์ ภาษาท่เี ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ อธิบายคำศพั ท์ทางวชิ าการและวชิ าชพี แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทโคลง สรุปเนอื้ หา วรรณคดี และวรรณกรรม วิเคราะห์บคุ ลิกลกั ษณะตัวละครอย่างมีเหตุผลวเิ คราะหว์ ิถีชวี ติ ไทยผา่ นวรรณคดแี ละวรรณกรรม อธบิ ายคณุ คา่ นำความรแู้ ละข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมไปใช้ในชีวิตจรงิ ท่องจำอาขยานหรอื บทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า รหสั ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗, ม.๓/๘,ม.๓/๙, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗ ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวมทงั้ หมด ๓๓ ตวั ชว้ี ดั หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๗ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน รหสั วชิ า ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ จำนวนเวลา ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว่ ยกติ ฝึกการฟงั ดู พูด อ่าน และเขียน ฟังข้อความเรื่องราวในรูปแบบตา่ งๆ สรุปความ สังเกตน้ำเสียง กริ ยิ าท่าทาง พดู อธิบาย อภิปราย พูดในที่ประชมุ พูดแสดงความคดิ เหน็ พดู ในโอกาสต่างๆ อ่านออกเสียง ร้อยแก้ว รอ้ ยกรอง อา่ นวรรณกรรมประเภทต่างๆ ท่องจำบทประพันธ์ที่ประทบั ใจ อา่ นในใจ เขียนเรยี งความ รายงานวิชาการ จดหมายกิจธุระ เขียนแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง อธิบาย ย่อความ ถอดความจากบท ประพนั ธ์ แต่งบทประพันธ์ ศกึ ษาหลกั ภาษาเก่ียวกับคำ แบบสร้างของคำ กลุ่มคำ ประโยคทซ่ี บั ซอ้ นยงิ่ ข้นึ การสงั เกตคำไทยแท้ คำทมี่ าจากภาษาอ่นื การเขียนตวั สะกดให้ถูกตอ้ ง ราชาศัพท์ ศึกษาภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ทางภาษาประเภทต่างๆ ฝึกการใช้ภาษาในการแสวงหาความรู้ ระดมความคิด วิเคราะห์ ประเมินค่า การใช้ภาษาอย่างเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาของกลุ่มอาชีพต่างๆ การใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรมไทย ใช้ตัวเลขไทยและภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณ์ไทย เพื่อใหส้ ามารถอา่ นและฟังอย่างมวี ิจารณญาณ แสดงความคดิ เห็นเชิงวิจารณ์ วิเคราะห์ วินิจฉัยเรื่องที่ อา่ น ทีฟ่ ัง ไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล พูดและเขียนได้ชดั เจน ถกู ตอ้ งเหมาะสม ตรงตามจดุ ประสงค์ สามารถแสดงออกเชิง สร้างสรรค์ทั้งการพูดและการเขียน มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของวรรณกรรมพื้นบ้าน เห็น ความสำคัญของเอกลักษณไ์ ทย และมีมารยาทในการใชภ้ าษา โดยใช้กระบวนการคิดวจิ ารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิด แผนภาพโครงรา่ ง กระบวนการกลมุ่ กระบวนการสรา้ งคา่ นิยม กระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการปฏิบตั ิ การอภปิ ราย บทบาทสมมุติ สถานการณ์จำลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด Story line แฟ้มสะสมงาน การคัดเลือก หนังสือแผนภาพแสดงเหตุการณ์ รหัสตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖,ม.๓/๗, ม.๓/๘,ม.๓/๙, ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๓.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕,ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๑,ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวมทงั้ หมด ๓๒ ตวั ชว้ี ัด หลกั สูตรโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๘ รายวิชาเพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระภาษาไทย สอ่ื มวลชนศกึ ษา หลกั สตู รโรงเรยี นไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔)

๔๙ คำอธิบายรายวชิ าส่ือมวลชนศึกษา ๑ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ อ่านสะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ/ประโยค จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน เขียน แผนภาพความคิดจากเรอื่ งที่อ่าน มีทกั ษะอา่ นในใจและอา่ นออกเสยี ง มมี ารยาทในการอา่ นและ มนี ิสยั รักการ อ่าน อ่านนิทานหรือเรื่องที่สนใจและนำข้อคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจำวัน เขียนคำและประโยค ส้นั ๆ เพ่ือแสดงความคิดเป็นความรู้สกึ หรือจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน ตั้งคำถาม/คำตอบ/สนทนา และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด ใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ นำมาเปน็ เครอ่ื งมือในการแสวงหาความรใู้ นชีวติ ประจำวนั สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จากสอ่ื หนงั สือพิมพ์ สรา้ งสรรคง์ านประดิษฐ์จากเศษวัสดุ หนงั สือพมิ พ์และเกิด ความภาคภมู ิใจในผลงาน ศึกษา สงั เกต ชนดิ ประเภท รูปทรงของสง่ิ ทอ่ี ยรู่ อบตัวเรา บอกเลา่ ความรสู้ ึกในการ รับรู้ ถ่ายทอดสิ่งที่รับรู้เป็นงานศิลปะ โดยใช้กระบวนการทางศิลปะและอุปกรณ์อื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยเกดิ ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ มีความคดิ สร้างสรรค์ อ่านออกเสียงคำและประโยคง่ายๆ จากหนังสือพิมพ์ ตระหนักในประโยชน์ของการอ่าน หนังสอื พิมพ์ และแยกแยะขา่ วจริงข่าวหลอกได้ เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ คิดวิเคราะห์แยกแยะขา่ วสารที่ไดร้ ับ อธบิ ายความหมายของคำและ ข้อความที่อา่ น เขียนส่ือสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ พูดแสดงความคดิ เห็นและความรสู้ ึกจากเรอื่ งท่ีอา่ น ฟงั และดู พูดส่ือสารไดต้ ามวตั ถุประสงค์ แสดงความคิดจากการอ่าน การฟัง ใชว้ ัสดุอุปกรณ์และเครื่องมืองา่ ยๆ ใน การทำงานอยา่ งปลอดภัย มที ักษะในการทำงานและแยกแยะข่าวจรงิ ข่าวปลอมได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. อา่ นออกเสียงคำ ขอ้ ความ เรื่องสัน้ ๆ ได้ถูกตอ้ ง ๒. เขยี นสอ่ื สารด้วยคำ และประโยคง่ายๆ ได้ ๓. เขียนแผนผงั ความคิดได้ ๔. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สึก จากเรือ่ งท่ีอ่าน ฟงั และดู ๕. พดู สอ่ื สารได้ตามวัตถุประสงค์ ๖. บอกข้อคิดที่ได้จากการอา่ น ฟงั และดู ไดถ้ กู ตอ้ ง ๗. ปฏิบัตติ นตามกฎ กตกิ า ขอ้ ตกลงในการเลน่ เกม ๘. ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ และเคร่อื งมอื งา่ ยๆ ในการทำงานอยา่ งปลอดภยั ๙. วเิ คราะหภ์ าพข่าว และสรุปข้อคิดจากภาพข่าว ๑๐. จดั ทำแฟ้มข่าว และใช้เป็นหนงั สืออา่ นประจำหอ้ งเรยี นได้ ๑๑. ประดษิ ฐข์ องเล่นจากกระดาษสือ่ สิ่งพมิ พ์ได้ ๑๒. ทำงานระบบกลุม่ ได้ ๑๓. แยกแยะข่าวจริง ข่าวปลอมได้ หลกั สูตรโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)

๕๐ คำอธบิ ายรายวิชา ส่อื มวลชนศกึ ษา ๒ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ศึกษา คน้ ควา้ วเิ คราะห์ ปฏิบัติ เข้าใจความสำคัญ และรายละเอียดของเร่ืองท่อี ่าน ใช้คำถามแสดง ความรู้ ความคิด เลือกอ่าน ฟัง และดูข่าวที่เป็นประโยชน์ พูดและเขยี นแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น ฟัง และดู นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน มีนิสัยรักการอ่าน ร้เู ท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจทิ ัล ตามศักยภาพของผเู้ รยี น โดยใช้กระบวนการฝกึ ทกั ษะ การตั้งคำถาม ตอบคำถาม อยา่ งมีเหตุผล คน้ ควา้ หาคำตอบดว้ ยตนเอง เรยี นรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม สบื ค้นขอ้ มูลด้วยสือ่ ต่างๆ อยา่ งหลากหลาย สร้างสรรค์ผลงานด้วยรูปแบบต่างๆ ทตี่ นเองถนัด อย่างมคี ณุ ภาพ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ แยกแยะข่าวสารที่ได้รับ อธิบายความหมายของคำและ ข้อความจากส่ือต่างๆ ได้ ตัง้ คำถามและตอบคำถามจากเร่อื งทอี่ ่าน และฟงั ระบใุ จความสำคญั และรายละเอียด ของเรื่องที่อ่านและฟัง เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน พูด/บอกสาระสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู แสดง ความคิดเห็น สื่อสารชัดเจน มีทักษะพื้นฐานในการใช้ใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ แก้ปัญหา แยกแยะ ขา่ วจริง ขา่ วปลอม จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. เขียนความคาดหวังของตนเองท่ีมตี ่อการเรียนรู้หลักสูตรสอื่ มวลชนได้ ๒. วเิ คราะห์ผลเสียของการใช้เวลาหน้าจอดิจิทัลนานเกนิ ไปได้ ๓. วิเคราะห์ขา่ วที่อ่านและฟงั ๔. สรา้ งความตระหนกั ถึงผลเสียในการใชเ้ วลาหน้าจอดจิ ทิ ลั ๕. ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กติกา ระเบยี บวนิ ยั ในการใช้สื่อดจิ ิทัล ๖. วิเคราะห์ขา่ วดว้ ยเทคนคิ หมวก ๖ ใบ ๗. ประดษิ ฐ์ภาพปะติด และประดิษฐ์สง่ิ ของเป็นของเลน่ ของใชแ้ ละของตกแต่งได้ ๘. บอกวธิ ปี ้องกนั ไม่ใหถ้ กู หลอกลวงจากมจิ ฉาชพี ได้ ๙. อา่ นและฟงั โฆษณาสนิ ค้า แลว้ สามารถคิดวิเคราะหอ์ ยา่ งมเี หตุผลได้ ๑๐. วิเคราะหผ์ ลกระทบต่อสขุ ภาพ ในการดูโทรทัศนม์ ากเกนิ ไปได้ ๑๑. แยกแยะขา่ วจริง ขา่ วปลอมได้ ๑๒. ทำงานระบบกล่มุ ได้ หลกั สตู รโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พทุ ธศักราช ๒๕๕๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๔)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook