Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

Description: คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผ้อำนวยการสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา

คู่มอื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ก คำนำ ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๑๙ (๔) และ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งบาง ตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพอื่ เพม่ิ พูนความรู้ ทกั ษะ เจตคตทิ ่ดี ี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพท่ี เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความก้าวหน้าแก่ราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ประกอบกับ ก.ค.ศ. ได้กาหนดมาตรฐานตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศกึ ษาไว้ว่าต้องผา่ นการพฒั นาตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ.กาหนด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานได้จัดทารายละเอียดหลักสูตรการพัฒนาตามหนงั สอื สานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๗/ว ๘ ลงวนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๓ เพอ่ื ให้บรรลุผลตามหลักการและ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหวังว่า คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษาจะใช้เป็นแนวทางดาเนินการพัฒนา ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความรู้ ทักษะเจตคติที่ดี คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่ เหมาะสม สามารถดาเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา แปลงนโยบายเป้าหมาย สู่การปฏิบัติ เป็นนักบริหารจัดการที่ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และ เกิดประสิทธิผล และขอขอบคุณคณะทางานจัดทา/ปรับปรุงหลักสูตร และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายในการจัดทาคู่มือ หลกั สตู รการพฒั นาจนสาเร็จเรยี บร้อยไว้ ณ โอกาสนด้ี ้วย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน ธันวำคม ๒๕๖๓

คมู่ ือหลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สำรบัญ บทที่ ๑ บทนำ………........................................................................................................................... ๑ ความเป็นมา................................................................................................................... ....... ๑ วตั ถปุ ระสงค.์ ........................................................................................................................ ๓ กรอบหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน…. ๔ โครงสรา้ งหลกั สตู รการพฒั นาก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา………… สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน............................................................. ๖ วิธีการพฒั นา........................................................................................................................ ๗ วทิ ยากร...................................................................................................................... .......... ๗ สอ่ื และนวัตกรรมการพัฒนา................................................................................................. ๗ การประเมินผลการพฒั นา.................................................................................................... ๘ บทบาทของบุคลากรทม่ี สี ว่ นเกยี่ วข้องกับการดาเนนิ การพฒั นา........................................... ๘ กระบวนการพฒั นา............................................................................................................. ๑๐ แนวปฏบิ ัติสาหรับผเู้ ข้ารับการพัฒนา................................................................................. ๑๐ ๑๑ บทท่ี ๒ กระบวนกำรพัฒนำ................................................................................................................. ๑๑ ส่วนท่ี ๑ การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะของผู้อานวยการสถานศึกษา ....................................... ๑๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ คุณลกั ษณะผ้อู านวยการสถานศึกษาทพ่ี ึงประสงค์ ……… รายวิชาที่ ๑.๑ การพฒั นาอดุ มการณแ์ ละกระบวนทัศนข์ องการเปน็ ๑๒ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา และการพฒั นาวนิ ัยในตนเอง ใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและธรรมาภบิ าล ๒๑ ในการบรหิ ารของสถานศึกษา…………………………………………… ๓๒ รายวชิ าที่ ๑.๒ การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ทีเ่ หมาะสมกับผ้อู านวยการและ ๓๔ การพฒั นาทกั ษะการพดู และการฟัง อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ……. หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ ภาวะผูน้ าทางวชิ าการ ……………………………………………. ๕๓ รายวิชาท่ี ๒.๑ ภาวะผ้นู าการเปลย่ี นแปลงสคู่ วามสาเร็จ …………………………… รายวิชาท่ี ๒.๒ - ผู้นาในการบรหิ ารจัดการ ๖๙ - ผ้นู าการเปลย่ี นแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั และการวดั และประเมินผลตามหลักสตู ร… - ผู้นาการนิเทศภายในพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ งานวิจัยมาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา …………………………………. รายวชิ าท่ี ๒.๓ การพัฒนาทักษะและความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) และการบริหารจัดการสถานศึกษา โดยใชด้ จิ ทิ ัลและเทคโนโลย…ี ……………………………………………

คมู่ ือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สำรบัญ (ต่อ) รายวิชาท่ี ๒.๔ การพัฒนาทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ (English Literacy)…… ๗๓ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา …………………… ๗๘ รายวชิ าที่ ๓.๑ การขบั เคลื่อนนโยบายในสถานศกึ ษาและการบริหารจดั การ ๗๙ สถานศึกษาเชงิ กลยทุ ธ์ ……………………………………………………............. ๑๐๕ รายวิชาท่ี ๓.๒ การบริหารงานวิชาการ …………………………………………………… ๑๐๖ รายวิชาท่ี ๓.๓ การบรหิ ารงบประมาณ ………………………………………………….. ๑๐๗ รายวชิ าท่ี ๓.๔ การบรหิ ารงานท่ัวไป ……………………………………………………… ๑๐๘ รายวชิ าที่ ๓.๕ การบริหารงานบคุ คล …………………………………………………….. รายวชิ าที่ ๓.๖ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ โดยใชช้ มุ ชน ๑๐๙ ๑๒๕ แหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) …………………………………….. ๑๓๑ รายวิชาท่ี ๓.๗ พระบรมราโชบายในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ …………………………… ๑๓๓ ขอบข่ายงานการจัดกจิ กรรมนันทนาการ ………………………………………………….. ๑๓๖ ส่วนท่ี ๒ การเรียนร้ใู นสภาพจรงิ ........................................................................................ ๑๓๙ ส่วนท่ี ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธ์พัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา.................... ๑๔๒ บทท่ี ๓ กำรวัดและประเมินผล........................................................................................................... ๑๕๒ แนวทางการวดั และประเมินผล............................................................................................ ๑๘๓ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ................................................................................................. ๑๙๔ เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง............................................................................. รายชอ่ื คณะกรรมการดาเนินการจัดทา...............................................................................................

ค่มู ือหลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา บทท่ี ๑ บทนำ ควำมเป็นมำ เพื่อให้ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีเหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความกา้ วหนา้ แก่ราชการ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๔) และมาตรา ๘๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ ๒๕๔๗ ก.ค.ศ. จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ดงั น้ี หลกั เกณฑ์ ๑. การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา เป็นการพัฒนาผ้ทู ่ีได้รับการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการสถานศึกษา หรือ ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๒. ขอบขา่ ยการพัฒนา ๒.๑ การนาความรู้ หลักการบริหารการศึกษา การกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการบรหิ ารงานไป ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การศึกษาในสถานศึกษา ๒.๒ การเป็นผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีเจตคติที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ การประพฤติตน และการดารงชีวิตทเ่ี หมาะสมกับการดารงตาแหน่ง ๒.๓ การปฏิบัติงานตามหน้าท่ีทางวิชาการ การบริหารจัดการ การบังคับบัญชา การเป็น ผู้ใต้บังคบั บัญชาการนิเทศการศึกษาและการประสานงาน ๒.๔ การบริหารจัดการตามภารกิจของสถานศึกษา ได้แก่ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงาน บุคคลการบริหารงบประมาณ การบรหิ ารงานทว่ั ไป ให้มปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ๒.๕ การใชภ้ าษาไทย ภาษาองั กฤษ ดิจิทัล และเทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการในสถานศึกษา ๒.๖ เร่อื งทตี่ ้องปฏบิ ัติตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ๓. กาหนดระยะเวลาการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผ้อู านวยการสถานศึกษา จานวนไม่น้อยกวา่ ๑๕๐ ชั่วโมง และรองผอู้ านวยการสถานศึกษา จานวนไม่น้อยกวา่ ๑๒๐ ชั่วโมง ท้ังนี้ ให้ส่วนราชการกาหนดจานวนชวั่ โมงของเน้ือหาสาระตามขอบขา่ ยการพัฒนาไดต้ ามความเหมาะสม วธิ ีกำร ให้สว่ นราชการตน้ สังกัดดาเนินการดงั นี้ ๑. จัดทารายละเอียดการพัฒนาตามท่ีหลักเกณฑ์กาหนดให้เหมาะสมกับตาแหน่งรองผู้อานวยการ สถานศกึ ษาหรอื ตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา แลว้ แตก่ รณี และดาเนนิ การพัฒนา

ค่มู อื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๒ ๒. กาหนดองค์ประกอบ ตัวช้วี ัด และรายละเอียดการประเมนิ ผล ๓. ดาเนินการพัฒนาโดยใช้วิธีการพัฒนาที่หลากหลาย เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จาก ผู้มีประสบการณ์ การเรียนรู้จากสถานท่ีจริง การใช้กรณีศึกษา การศึกษาดูงานสถานศึกษาต้นแบบ การฝึก ปฏบิ ัตงิ านการนาเสนอผลการศกึ ษา/เรียนรู้ เพ่ือแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ๔. เกณฑ์การตัดสิน ผู้เข้ารับการพัฒนาจะต้องมีระยะเวลาเข้ารับการพัฒนาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของ ระยะเวลาการพฒั นาท้ังหมด และตอ้ งผา่ นการประเมินผลเมื่อสิน้ สุดการพัฒนาไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ จึงจะถอื วา่ ผ่าน การพัฒนา ผูไ้ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมินผลการพัฒนาไมส่ ามารถบรรจุและแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งได้ มำตรฐำนกำรพฒั นำ ให้ส่วนราชการต้นสงั กัดดาเนนิ การตามมาตรฐานการพฒั นา ดังตอ่ ไปนี้ ๑. การบรหิ ารจัดการ จัดทารายละเอียดหลักสูตรและคู่มือการพัฒนา จัดทาแผนพัฒนา คัดเลือกวิทยากรและวิทยากร พี่เลี้ยงจัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิทยากร จัดวิทยากรเป็นคณะหรือทีมจัดการเรียนรู้สร้างความเข้าใจในเรื่อง หลักสูตรและการประเมินผลการพัฒนากับวิทยากร และดาเนินการพัฒนาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนดจัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้เพียงพอ จัดระบบควบคุมคุณภาพการพัฒนา รวมท้ังกากับ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการพัฒนาให้ ก.ค.ศ. ทราบ ๒. วิทยากรและวิทยากรพ่ีเลี้ยงต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความรอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์ ประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษาและเรื่องที่เกี่ยวข้อง มีความรับผิดชอบการพัฒนา และสามารถสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนา รวมท้ังสามารถจัดกิจกรรมการพัฒนา โดยเนน้ ผู้เข้ารบั การพฒั นาเป็นสาคัญ ๓. สอ่ื และนวตั กรรมการพัฒนา จดั ให้มีคูม่ อื ส่ือและนวตั กรรมประกอบการพัฒนา ส่งให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาศึกษาล่วงหน้า จัดเอกสาร สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ และโสตทัศนูปกรณ์ท่ีมีเนื้อหาความรู้ทางวิชาการทันสมัย เข้าถงึ ไดส้ ะดวก มคี ณุ ภาพดี มปี ริมาณ เพียงพอ ชว่ ยใหผ้ ู้เข้ารบั การพฒั นามีความสนใจ กระตือรือร้น และมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ ๔. สถานที่ทีใ่ ช้ในการพฒั นา สถานท่ีที่ใช้ในการพัฒนาต้องเหมาะสม และมีบรรยากาศท่ีดี มีอุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก เอือ้ ตอ่ การพฒั นา รวมทงั้ มีแหล่งศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งเพยี งพอสาหรับการพัฒนา ๕. การประเมินผลการพฒั นา การประเมินผลการพัฒนาต้องประเมินผลก่อนการพัฒนา ระหว่างการพัฒนาและเม่ือส้ินสุดการ พฒั นาโดยมงุ่ เนน้ การประเมินผลตามสภาพจริงอย่างเปน็ ระบบ และไดม้ าตรฐานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด

คู่มือหลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๓ วตั ถุประสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางการดาเนินการให้ผู้เข้ารับการพัฒนาได้เพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความก้าวหน้าแก่ราชการ โดยสามารถช่วยเหลือผู้อานวยการสถานศึกษาในการแปลง นโยบายสู่การปฏิบัติ กาหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นในการปฏิรูปและการพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นท่ี การศึกษา เป็นผู้นาทางวิชาการ และนักบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการ หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา หลักสูตรพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๓ ระยะ ใช้เวลาในการพัฒนาไม่น้อยกว่า ๑๘๐ ช่ัวโมง โดยมีโครงสร้างหลักสูตร ดังน้ี ระยะที่ ๑ กำรเสรมิ สรำ้ งสมรรถนะของผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ ไม่น้อยกว่ำ ๖๓ ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ คุณลักษณะผู้อานวยการสถานศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค์ (๑๒ ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ (๒๑ ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ การบริหารและการจดั การในสถานศึกษา (๓๐ ชวั่ โมง) ระยะท่ี ๒ กำรเรยี นรู้ในสภำพจริง ไมน่ อ้ ยกว่ำ ๙๐ ชัว่ โมง ผู้เข้ารับการพัฒนาเรียนรู้ตามสภาพจริงการบริหารจัดการในสถานศึกษา ภาครัฐและเอกชน องค์กรเอกชน แหล่งเรียนรู้ท่ีเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ที่มีนวัตกรรมหรือมีการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศด้านการ บริหาร โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรอบรู้ มีประสบการณ์ ให้คาแนะนา มีการกากับติดตามและประเมินผลการ เรยี นรใู้ นสภาพจริง ระยะที่ ๓ กำรจดั ทำและนำเสนอแผนกลยุทธพ์ ัฒนำกำรศึกษำในสถำนศึกษำ ไมน่ ้อยกวำ่ ๒๗ ชวั่ โมง ผู้เข้ารับการพัฒนาจัดทาแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาการศึกษาในสถานศึกษา โดยการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเสริมสร้างสมรรถนะและการเรียนรู้ในสภาพจริงแล้วนาเสนอ เพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ระยะเวลาในการพัฒนา ใชเ้ วลาในการพัฒนา จานวนไม่น้อยกวา่ ๑๘๐ ชวั่ โมง

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๔

คมู่ อื หลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๕ กรอบหลักสตู รกำรพัฒนำขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ กอ่ นแตง่ ต้ังให้ดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ สงั กดั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน ระยะที่ ๑ จำนวน ๖๓ ช่ัวโมง หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ คณุ ลกั ษณะผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำทีพ่ ึงประสงค์ (๑๒ ชั่วโมง) รายวชิ าที่ ๑.๑ การพัฒนาอุดมการณ์และกระบวนทัศนข์ องการเป็นผู้อานวยการสถานศกึ ษา เวลา ๖ ช่ัวโมง และการพัฒนาวนิ ยั ในตนเอง ให้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและ ธรรมาภบิ าล ในการบริหารของสถานศกึ ษา รายวิชาท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทเี่ หมาะสมกับผอู้ านวยการสถานศึกษา และการพัฒนาทักษะการพูดและการฟงั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เวลา ๖ ชว่ั โมง หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ ภำวะผู้นำทำงวิชำกำร (๒๑ ชวั่ โมง) รายวิชาท่ี ๒.๑ ภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงสูค่ วามสาเรจ็ เวลา ๖ ช่ัวโมง รายวิชาท่ี ๒.๒ - ผู้นาในการบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร เวลา ๙ ช่วั โมง - ผูน้ าการเปล่ียนแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญและ การวัดและประเมนิ ผลตามหลักสูตร - ผนู้ าการนิเทศภายในพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวิจยั มาใช้พฒั นาคุณภาพการศึกษา รายวิชาท่ี ๒.๓ การพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Literacy) เวลา ๓ ช่วั โมง และการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยใช้ดจิ ทิ ัลและเทคโนโลยี รายวิชาที่ ๒.๔ การพฒั นาทักษะความรภู้ าษาองั กฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชวั่ โมง หน่วยกำรเรยี นร้ทู ี่ ๓ กำรบริหำรและกำรจดั กำรในสถำนศึกษำ (๓๐ ช่ัวโมง) รายวิชาท่ี ๓.๑ การขบั เคลื่อนนโยบายในสถานศกึ ษา เวลา ๖ ชวั่ โมง และการบริหารจดั การสถานศึกษาเชงิ กลยุทธ์ รายวชิ าที่ ๓.๒ การบริหารงานวิชาการ เวลา ๔ ชั่วโมง รายวิชาท่ี ๓.๓ การบรหิ ารงบประมาณ เวลา ๔ ช่วั โมง รายวิชาที่ ๓.๔ การบรหิ ารงานท่ัวไป เวลา ๓ ชั่วโมง รายวชิ าที่ ๓.๕ การบริหารงานบุคคล เวลา ๔ ชั่วโมง รายวิชาที่ ๓.๖ การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ เวลา ๖ ชว่ั โมง โดยใช้ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) รายวชิ าที่ ๓.๗ พระบรมราโชบายในหลวงราชการที่ ๑๐ เวลา ๓ ชัว่ โมง รวม ๓ หนว่ ยกำรเรียนรู้ ๑๓ รำยวชิ ำบูรณำกำร หมำยเหตุ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑.๑ , ๑.๒ ,๓.๑ และ ๓.๖ จดั เสริมเพิม่ เติมอีก หน่วยละ ๑ ชว่ั โมง

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๖ โครงสร้ำงหลักสตู รกำรพัฒนำกอ่ นแต่งต้ังใหด้ ำรงตำแหน่งผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำ สงั กดั สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน หนว่ ยกำร รำยละเอียดหลกั สตู ร เวลำ เรียนรทู้ ี่ (ช.ม.) ประเมนิ ก่อนพฒั นา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓๐ นาที ๑ คุณลักษณะผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำทพ่ี งึ ประสงค์ (๑๒ ช่ัวโมง) ๖ รายวิชาท่ี ๑.๑ การพัฒนาอดุ มการณ์และกระบวนทัศน์ของการเปน็ ผู้อานวยการ ๖ สถานศกึ ษาและการพฒั นาวินยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพและธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารของสถานศึกษา ๖ รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพและสุนทรยี ภาพเหมาะสมกับผู้อานวยการ สถานศึกษา และการพฒั นาทักษะการพูดและการฟงั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ภำวะผู้นำทำงวิชำกำร (๒๑ ช่ัวโมง) รายวชิ าท่ี ๒.๑ ภาวะผนู้ าการเปลี่ยนแปลงส่คู วามสาเร็จ รายวชิ าที่ ๒.๒ - ผูน้ าในการบริหารจัดการหลกั สูตร ๙ - ผนู้ าการเปลยี่ นแปลงกระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั และการวดั และประเมินผลตามหลักสูตร ๒ - ผูน้ าในการนิเทศภายในพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ งานวจิ ัยมาใชพ้ ฒั นาคณุ ภาพการศึกษา รายวชิ าท่ี ๒.๓ การพัฒนาทักษะและความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital ๓ Literacy) และการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดยใช้ดิจิทัลและ เทคโนโลยี รายวชิ าที่ ๒.๔ การพัฒนาทกั ษะความรูภ้ าษาองั กฤษ (English Literacy) ๓ ๓ กำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรในสถำนศกึ ษำ (๓๐ ชัว่ โมง) รายวชิ าท่ี ๓.๑ การขับเคล่อื นนโยบายในสถานศึกษา และการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ๖ เชิงกลยทุ ธ์ รายวิชาท่ี ๓.๒ การบรหิ ารงานวชิ าการ ๔ รายวิชาที่ ๓.๓ การบริหารงบประมาณ ๔ รายวิชาท่ี ๓.๔ การบริหารงานทวั่ ไป ๓ รายวิชาท่ี ๓.๕ การบรหิ ารงานบุคคล ๔ รายวิชาท่ี ๓.๖ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ ๖ โดยใช้ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)

ค่มู ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา ๗ หน่วยกำร รำยละเอียดหลักสตู ร เวลำ เรียนร้ทู ี่ (ช.ม.) รายวชิ าที่ ๓.๗ พระบรมราโชบายในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ ประเมินหลังพัฒนา (แบบทดสอบจานวน ๓๐ ข้อ) ๓ ๓๐ นาที วธิ กี ำรพฒั นำ ๑. การศกึ ษาด้วยตนเองจากเอกสารและแหลง่ เรียนรู้ ๒. การศกึ ษาจากวทิ ยากรและผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๓. การแลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยกระบวนการกลมุ่ ๔. การฝกึ ประสบการณ์ในสภาพจริง ๕. การสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากกิจกรรมการเสรมิ สร้างสมรรถนะและการฝึกประสบการณ์ ๖. การนาเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วทิ ยำกร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คัดเลือกวิทยากรและวิทยากรพ่ีเล้ียงท่ีมีความรอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์และประสบความสาเร็จ เป็นที่ยอมรับในเชิงวิชาการและการบริหารงานในเรอ่ื ง ที่รับผิดชอบ มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศที่ดีในการพัฒนา และให้ถือว่าผู้เข้ารับการพัฒนา มคี วามสาคญั ท่สี ดุ สอ่ื และนวตั กรรมกำรพฒั นำ ๑. คูม่ อื และเอกสารประกอบการพฒั นา ๒. แบบฝึกปฏิบัติ ใบงาน ใบความรู้ ๓. สื่อเทคโนโลยี ๔. เวบ็ ไซต์ท่ีเกี่ยวข้อง ๕. ชุดการเรยี นรู้ ๖. สถานท่ีและแหล่งเรียนรู้

ค่มู อื หลกั สตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๘ กำรประเมนิ ผลกำรพัฒนำ การประเมินผลการพัฒนาเป็นกระบวนการเพื่อปรับปรุง พัฒนา โดยกาหนดให้มีการประเมิน ก่อนพัฒนา ระหว่างการพัฒนา และเม่ือสิ้นสุดการพัฒนา มุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดย ยึดวตั ถุประสงค์ท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ดงั นี้ ๑. ผู้เขา้ รบั การพฒั นาศึกษาเอกสารและคน้ ควา้ จดั ทาเอกสารสรุปรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ส่งพร้อมวันรายงานตัว ๒. ผเู้ ข้ารับการพัฒนาต้องเข้ารับการประเมนิ ความรู้กอ่ นและหลังการพฒั นาด้วยการทดสอบความรู้ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสาหรบั ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา จานวน ๓๐ ข้อ ๓. การประเมินผล (๕๓๐ คะแนน) ๓.๑ ประเมินระหวา่ งการพัฒนา (๕๐๐ คะแนน) สว่ นที่ ๑ การเสรมิ สร้างสมรรถนะของผอู้ านวยการสถานศึกษา (Competency) (๑๕๐ คะแนน) สว่ นท่ี ๒ การเรยี นรู้ในสภาพจริง (๒๐๐ คะแนน) ส่วนที่ ๓ การจดั ทาและนาเสนอแผนกลยทุ ธพ์ ฒั นาการศึกษาในสถานศึกษา (๑๕๐ คะแนน) ๓.๒ ประเมินหลังการพฒั นา (๓๐ คะแนน) แบบทดสอบ จานวน ๓๐ ขอ้ ๔. เกณฑ์การผ่านการพัฒนาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องมี คะแนนการประเมนิ ตามเกณฑ์ ท่กี าหนด ดงั น้ี ๔.๑ มรี ะยะเวลาในการเขา้ รับการพัฒนา ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๙๐ ของระยะเวลาการพฒั นาทัง้ หมด ๔.๒ ได้คะแนนการประเมนิ ผล ระหว่างการพัฒนาไมต่ า่ กว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๔.๓ ผ่านการประเมินความรู้หลงั การพัฒนาด้วยการทดสอบความรู้เมื่อส้ินสุดการพฒั นา ไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๘๐ บทบำทของบคุ ลำกรทมี่ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งกับกำรดำเนินกำรพฒั นำ ๑. บทบำทผู้บริหำรโครงกำร ๑.๑ ประสานกับส่วนราชการและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องเพื่อเตรียมดาเนินการพัฒนา เช่น รายช่ือ ผ้เู ข้ารับการพัฒนา กาหนดระยะเวลา งบประมาณ อาคารสถานท่ี ฯลฯ ๑.๒ ศกึ ษาและทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับหลกั สูตร คู่มือ หลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนนิ การพัฒนา ๑.๓ ดาเนินการพัฒนาตามกระบวนการและขั้นตอนอย่างเป็นระบบให้บรรลุจุดประสงค์ของ หลักสตู รทก่ี าหนด ๑.๔ อานวยความสะดวกแก่วิทยากร ผู้เขา้ รับการพฒั นาและผ้เู กยี่ วข้องตลอดโครงการ ๑.๕ ให้คาปรึกษาแนะนาและแก้ปญั หาทเี่ กิดข้นึ ในการดาเนนิ การพัฒนา ๑.๖ กากบั และควบคมุ เวลาการเข้ารับการพฒั นาของผู้เขา้ รับการพัฒนา ๑.๗ รายงานผลการดาเนินการพฒั นาใหผ้ อู้ านวยการหน่วยดาเนนิ การพัฒนาเพอื่ ดาเนนิ การต่อไป ๒. บทบำทคณะกรรมกำรวชิ ำกำร ๒.๑ ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั สูตร คมู่ ือ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารดาเนินการพัฒนา ๒.๒ พิจารณาคัดเลอื กวทิ ยากรตามคณุ สมบัตทิ ่กี าหนดไวใ้ นคมู่ ือ ๒.๓ ใหค้ าปรึกษาแนะนาเชิงวชิ าการใหแ้ กว่ ิทยากรและผูท้ ่ีเกยี่ วขอ้ ง

คู่มอื หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๙ ๓. บทบำทคณะกรรมกำรวดั และประเมินผล ๓.๑ ศึกษารายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และแบบ ประเมินต่าง ๆ ทกี่ าหนดไว้ในคูม่ ือ ๓.๒ จัดเตรียมเอกสารแบบประเมินต่าง ๆ ทกี่ าหนดไว้ในคู่มอื ให้แกผ่ ู้บริหารโครงการ วทิ ยากรหรือ วิทยากรพี่เลย้ี ง และผู้ทีเ่ กีย่ วข้อง ๓.๓ ชี้แจงและทาความเข้าใจรายละเอียดการวัดและประเมินผลตามหลักเกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้ใน หลักสูตรและแบบประเมินต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในคู่มือแก่ผู้บริหารโครงการ วิทยากร หรือวิทยากรพี่เลี้ยง และ ผเู้ ก่ยี วข้อง ๓.๔ รวบรวมแบบประเมินต่าง ๆ จากผู้บริหารโครงการ วิทยากรหรือวิทยากรพี่เล้ียง และผู้ท่ี เกย่ี วขอ้ งเพ่ือประมวลผล ๓.๕ วเิ คราะห์และสรุปผลการประเมินวทิ ยากรรายบุคคล ๓.๖ วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลการประเมินโครงการ ๓.๗ สรุปผลการประเมินผู้เข้ารับการพัฒนาตามแบบกรอกคะแนนและแบบสรุปผล การพัฒนาตามแบบประเมนิ ทกี่ าหนดไว้ในคู่มือ ทง้ั น้ี ผู้ลงนามในแบบประเมิน ประกอบด้วย ประธาน คณะกรรมการบรหิ ารโครงการ ประธานคณะทางานพฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ฯ หัวหน้าวิทยากรพี่เลยี้ ง หวั หนา้ วดั และ ประเมินผล ประธานหน่วยพัฒนา รวม ๕ คน ๔. บทบำทวิทยำกร ๔.๑ ศกึ ษาหลกั สูตรและทาความเขา้ ใจสาระของหน่วยการเรยี นรู้ทีร่ บั ผดิ ชอบใหช้ ัดเจน ๔.๒ ดาเนินการจัดกิจกรรมตามขอบข่ายสาระและแนวทางการจัดกิจกรรมของหน่วยการเรียนรู้ ตามทีห่ ลักสูตรกาหนด ๔.๓ วางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกันในหนว่ ยการเรียนรใู้ นกรณที ีม่ ีวิทยากรเป็นทมี ๔.๔ ให้คาปรึกษา แนะนาเชิงวิชาการ แก่ผู้เข้ารับการพัฒนาในสาระของหน่วยการเรียนรู้ ท่ีรับผดิ ชอบ ๔.๕ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและให้ขวัญกาลังใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้แก่ผู้เข้ารับการ พัฒนา ๕. บทบำทวทิ ยำกรพ่ีเล้ยี ง วิทยากรพ่ีเล้ียง หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าท่ีช่วยวิทยากรในการจัดกิจกรรมการพัฒนา อานวยความ สะดวกใหแ้ กผ่ ูเ้ ข้ารับการพัฒนา โดยมีบทบาท ดงั นี้ ๕.๑ ศกึ ษาหลกั สตู รและทาความเขา้ ใจสาระของหนว่ ยการเรียนรูท้ ี่รบั ผดิ ชอบใหช้ ดั เจน ๕.๒ ร่วมวางแผนการจดั กจิ กรรมการพัฒนาและอานวยความสะดวกให้แกว่ ทิ ยากร ๕.๓ เสริมประสบการณ์การบริหารจัดการเขตพ้ืนที่การศึกษา ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เข้ารับ การพัฒนา ๕.๔ สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มและให้ขวัญกาลังใจในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรียนรู้แก่ผู้เข้ารับการ พฒั นา ๕.๕ ประเมนิ ผเู้ ขา้ รับการพัฒนาตามแบบประเมินทกี่ าหนด

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๑๐ กระบวนกำรพัฒนำ ๑. กอ่ นกำรพัฒนำ ผู้เข้ารับการพัฒนา ศึกษา ค้นคว้า ด้วยตนเองจาก เอกสาร ตารา บทความ งานวิจัย ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และ แหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย ประกอบไปด้วย หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ คุณลกั ษณะผู้อานวยการสถานศึกษาที่พงึ ประสงค์ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวชิ าการ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๓ การบรหิ ารและการจดั การในสถานศกึ ษา การพฒั นาตามแนวนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประกอบไปดว้ ย ๑. การพัฒนาทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy) ๒. การพัฒนาทกั ษะความรู้ภาษาองั กฤษ (English Literacy) ๓. การพฒั นาความเปน็ ผูน้ าทางการบริหาร (Leadership) ๒. ระหวำ่ งกำรพัฒนำ ผู้เข้ารับการพัฒนา รับฟัง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนากับวิทยากร และ ระหว่างผู้เข้ารับการพัฒนาด้วยกัน ใช้กระบวนการกลุ่มในการดาเนินกิจกรรม ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน และกจิ กรรมนาเสนอผลการดาเนนิ กิจกรรม ๓. หลงั กำรพัฒนำ ผู้ผ่านการพัฒนาเป็นผู้มีความรู้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ สามารถนาผลการเรียนรู้ไปปฏิบัติ จริงโดยมีกระบวนการติดตามและประเมินผลจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน แนวปฏิบัตสิ ำหรบั ผู้เขำ้ รับกำรพัฒนำ ๑. ศึกษาเอกสารหลักสตู รและแนวทางการพัฒนาอย่างชัดเจน ๒. เตรียมเอกสารประกอบการศึกษาในแต่ละรายวชิ าหรือในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ ๓. ตรงตอ่ เวลา ใหค้ วามสนใจและตง้ั ใจเข้ารว่ มกิจกรรมตามหลกั สูตรทกุ กจิ กรรม ๔. ดาเนินการตามกิจกรรมท่ีวิทยากรและวทิ ยากรพเ่ี ล้ยี งได้แนะนาและสงั เกต ๕. ทบทวนบทเรยี นทกุ วันในแต่ละรายวชิ า สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ ๖. ปฏบิ ัติตนตามระเบียบของหนว่ ยดาเนนิ การพัฒนา ๗. ในกรณที จ่ี าเป็นตอ้ งลากิจ ลาปว่ ย ใหย้ น่ื ใบลาต่อประธานหนว่ ยพฒั นา โดยผา่ นประธาน คณะกรรมการบรหิ ารโครงการหรือวทิ ยากรพเี่ ลย้ี ง ๘. แต่งกายสุภาพเรยี บรอ้ ย ใช้วาจาทสี่ ุภาพ ปฏิบัติตนเหมาะสม ให้เกียรติซ่งึ กันและกัน ๙. ละเว้นอบายมุขทุกชนดิ ตลอดระยะเวลาการเข้ารับการพัฒนา ๑๐. ปฏิบัตกิ ิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ไี ด้รับมอบหมาย

คมู่ ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา บทท่ี ๒ กระบวนกำรพฒั นำ ส่วนท่ี ๑ กำรเสริมสร้ำงสมรรถนะของผ้อู ำนวยกำรสถำนศึกษำ (ไม่นอ้ ยกว่ำ ๖๓ ช่ัวโมง) หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๑ คุณลกั ษณะผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำที่พึงประสงค์ ระยะเวลำ ๑๒ ชั่วโมง คำอธิบำยหนว่ ยกำรเรยี นรู้ การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้อานวยการสถานศึกษา ทักษะการพูด อุดมการณ์ และกระบวนทัศน์ การสรา้ งอุดมการณ์และปรบั กระบวนทศั นใ์ นการเปน็ ผอู้ านวยการสถานศึกษา วินัยในตนเอง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ธรรมาภิบาลในการบริหาร โดยใช้วิธีการเรียนรู้ ท่ีเน้นการปฏิบัติ และการประเมินผลท่ี หลากหลาย เพอ่ื ให้ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษามคี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารบั การพฒั นามีอุดมการณแ์ ละกระบวนทัศนข์ องการเปน็ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๒. เพือ่ ให้ผู้เข้ารบั การพัฒนามบี คุ ลกิ ภาพและสุนทรยี ภาพเหมาะสมกบั ตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๓. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนามที ักษะการพดู ทถ่ี ูกต้องและพัฒนาทักษะการฟงั ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพเหมาะสม กบั ตาแหน่ง ๔. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนามีวนิ ัยในตนเอง มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพและหลัก ธรรมาภบิ าล ในการบรหิ ารของสถานศกึ ษา ควำมคิดรวบยอด ผู้อานวยการสถานศึกษายุคใหม่ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ บุคลิกภาพ ท่ีดี มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีความมุ่งมั่น ด้วยอุดมการณ์ และกระบวนทัศน์ สามารถบริหารสถานศึกษาได้อยา่ ง มีคุณภาพ เป็นแบบอย่างที่ดี ให้แก่เพ่ือนร่วมงานและหน่วยงานทางการศึกษา ส่งผลสัมฤทธ์ิต่อผู้เรียนสู่การ พัฒนาการศกึ ษาของชาติ หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี ๑ คณุ ลกั ษณะผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำที่พึงประสงค์ (๑๒ ช่วั โมง) รายวิชาท่ี ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทัศนข์ องการเปน็ ผู้อานวยการสถานศึกษา เวลา ๖ ช่ัวโมง และการพฒั นาวนิ ยั ในตนเอง ใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและ ธรรมาภิบาล ในการบริหารของสถานศึกษา รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทเ่ี หมาะสมกับผ้อู านวยการสถานศกึ ษา และการพฒั นาทักษะการพดู และการฟงั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เวลา ๖ ชว่ั โมง

คมู่ อื หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๑๒ รายวชิ าท่ี ๑.๑ การพฒั นาอุดมการณ์และกระบวนทัศนข์ องการเปน็ ผู้อานวยการสถานศึกษา เวลำ ๖ ชว่ั โมง และการพฒั นาวนิ ยั ในตนเอง ใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ และธรรมาภบิ าล ในการบรหิ ารของสถานศกึ ษา วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผู้เข้ารบั การพัฒนา มอี ุดมการณ์ กระบวนทัศน์ ของการเปน็ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๒. เพ่อื ให้ผู้เข้ารบั การพัฒนา นาอดุ มการณ์และกระบวนทศั น์ไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ านอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนารแู้ นวทางในการร้จู ักตวั เอง มีความเปน็ ครู และความเปน็ ผู้บรหิ าร ๔. เพ่อื ให้ผู้เขา้ รบั การพัฒนารู้แนวทางในการเปน็ คนดี มีอดุ มการณ์ มีจติ วญิ ญาณ มีวนิ ยั ในตนเอง มีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีจรรยาบรรณ ๕. เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนารู้แนวทางการปฏบิ ัตติ ามหลักจรรยาบรรณวชิ าชีพและหลกั ธรรมาภิบาล ในการบริหารสถานศึกษา ๖. เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพฒั นารู้แนวทางในการสร้างความสขุ ด้วยการดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เนอ้ื หำ 1. กำรพฒั นำอดุ มกำรณ์และกระบวนทศั น์ของกำรเป็นผูอ้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ จำนวน ๓ ช่ัวโมง 1.1 หลักและวธิ ีการในการสรา้ งอดุ มการณแ์ ละเกยี รติภูมิในวิชาชพี 1.2 การทางานเปน็ ทีม การเป็นผู้นาและผตู้ ามทด่ี ี 1.3 การคดิ วเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ คดิ แกป้ ัญหา และคดิ สร้างสรรค์ 1.4 การสอื่ สาร โน้มนา้ วและจงู ใจ การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การประสานงาน การ สร้างเครอื ข่ายและการมมี นุษยสัมพนั ธ์ทีด่ ี 1.5 การวางแผนการทางานอย่างสร้างสรรค์ 1.6 ความเป็นครู และผูบ้ ริหาร 2. กำรพฒั นำวนิ ยั ในตนเอง ให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยำบรรณวชิ ำชพี และธรรมำภิบำล ในกำรบริหำรของสถำนศกึ ษำ จำนวน ๔ ชัว่ โมง 2.1 การสรา้ งวัฒนธรรมคณุ ภาพ และวัฒนธรรมประชาธิปไตยในการปฏิบตั ิงานโดยกระบวนการมี สว่ นรว่ มในสถานศกึ ษา 2.2 คนเกง่ คนดี และการปฏบิ ตั งิ าน 2.3 คนดี มีอุดมการณ์ มีจิตวญิ ญาณความเป็นครู 2.4 การมวี ินัยในตนเองของผบู้ ริหาร 2.5 คุณธรรม จริยธรรม สาหรับผบู้ รหิ าร 2.6 จรรยาบรรณวิชาชพี และธรรมมาภบิ าลในสถานศึกษา 2.7 การดารงชีวิตตามหลกั ของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

คูม่ อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๑๓ กำรวัดและประเมินผล ๑. การตรวจช้นิ งาน ๒. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม วิทยำกร วิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มีความรอบรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการ ถ่ายทอด ท่ีดี เข้าใจง่าย และประสบความสาเร็จเป็นที่ยอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสร้าง บรรยากาศที่ดีในการพัฒนาและจัดกิจกรรมการพัฒนาโดยเน้นการสร้างอุดมการณ์ กระบวนทัศน์ของการเป็น ผู้อานวยการสถานศกึ ษาและสามารถบรู ณาการกิจกรรมการเรยี นรรู้ ่วมกับรายวชิ าอืน่ ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งได้

คมู่ อื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๑๔ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๑ คณุ ลักษณะของผู้อำนวยกำรท่ีพึงประสงค์ (๗ ชว่ั โมง) รำยวชิ ำท่ี ๑.๑/๑ กำรสร้ำงอุดมกำรณ์และปรับกระบวนทัศนใ์ นกำรเปน็ ผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ (๓ ช่วั โมง) ลำดบั ผู้รับผิดชอบ เนือ้ หำ/กจิ กรรม เวลำ ส่ือ/อปุ กรณ์ ๑ วิทยากร วทิ ยากรบรรยายบนเวทใี หญ่ประกอบวดี ทิ ศั น์ ๖๐ นาที ประจาวิชา ๒ วทิ ยากรพีเ่ ล้ยี ง แยกกลุ่มพบวทิ ยากรประจากลมุ่ ๑๕ ใบงานที่ ๑ My ประจากลุ่ม วทิ ยากร เกร่ินนา อธิบายใบงานให้ผู้รับการพฒั นา นาที Life Timeline ทราบ และลงมือปฏบิ ตั ใิ นเวลาท่ีกาหนด (ใบงานเดย่ี ว) ๓ วทิ ยากรพี่เลยี้ ง วทิ ยากรพ่เี ลยี้ งดาเนนิ การแบ่งกลุ่มย่อย ออกเปน็ ๖๐ - กระดาษบรู๊ฟ ประจากลุ่ม ๕ กลุ่มๆละ ๕ คน ผเู้ ขา้ รับการพฒั นานาเสนอ นาที - ปากกาเคมี แลกเปลี่ยนเรียนรอู้ ุดมการณ์และกระบวนทัศน์จาก - คลปิ หนีบ ขอ้ มูลใบงานท่ี ๑ คนละประมาณ ๓ นาที เพื่อ กระดาษ ร่วมกนั วเิ คราะหแ์ ละหลอมรวมอดุ มการณ์และ - คลปิ บอร์ด กระบวนทศั น์ให้เปน็ อุดมการณร์ ว่ มทด่ี ีทส่ี ุดของ พรอ้ มขาตงั้ กลุ่มยอ่ ย ๔ วทิ ยากรพ่เี ลย้ี ง - เม่ือแต่ละกลุ่มย่อยนาเสนอครบ ให้สมาชกิ แตล่ ะ ๔๐ ประจากลุ่ม ท่านอภิปราย วเิ คราะห์และหลอมรวมเปน็ นาที อดุ มการณ์ร่วมทด่ี ีที่สุดของกลุ่ม โดยจัดทาลงใน กระดาษบรฟู๊ (ช้ินงานกลุ่มสง่ วทิ ยากรพเี่ ลี้ยง) - ตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลงาน ๕ วิทยากรพี่เลย้ี ง วิทยากรพ่ีเลีย้ ง สรุปพร้อมเสนอแนะเพม่ิ เติม ๕ นาที ประจากลมุ่

คู่มอื หลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๑๕ ใบงำนท่ี ๑ สำหรับวิทยำกรพเี่ ล้ียง ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเขียนประวัติตนเองจากอดีต ปัจจุบัน การก้าวสู่การเป็นข้าราชการครู จนถึงการ กา้ วสู่ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนและเป้าหมายของการเป็นผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ผรู้ บั การพฒั นาทาใบงาน ท่ี ๑ (งานเดยี่ ว) วทิ ยากรพเ่ี ล้ียงดาเนินการแบ่งกลุ่มย่อย ออกเปน็ ๕ กล่มุ ๆละ ๕ คน หลังจากนน้ั ใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนา นาเสนออุดมการณ์และกระบวนทัศน์ในการทางานจากใบงานท่ี ๑ คนละไม่เกิน ๓ นาที เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ และหลอมรวมอุดมการณ์และกระบวนทศั น์ให้เป็นอดุ มการณ์รว่ มทด่ี ที ่ีสุดของกลมุ่ ย่อย เมื่อแต่ละกลุ่มย่อยนาเสนอครบ ให้สมาชิกแต่ละท่านอภิปราย วิเคราะห์และหลอมรวมเป็นอุดมการณ์ รว่ มทด่ี ที ่สี ุดของกลุม่ โดยจดั ทาลงในกระดาษบร๊ฟู (งานกล่มุ ) เมื่อแล้วเสรจ็ ตวั แทนกล่มุ จะดาเนนิ การนาเสนอ ใหก้ ลุม่ รบั ฟงั จากนัน้ วทิ ยากรพีเ่ ลย้ี งดาเนนิ การสรปุ และเสนอแนะเพิม่ เตมิ วิทยากร เก็บใบงานที่ ๑ (งานเด่ียว) และงานกลุม่ ไวเ้ พอ่ื ประเมนิ ผล

คูม่ อื หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๑๖ หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๑ คุณลกั ษณะผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำท่ีพงึ ประสงค์ รำยวิชำที่ ๑.๑ กำรสรำ้ งอดุ มกำรณ์และปรับกระบวนทัศน์ในกำรเปน็ ผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ ใบงำนท่ี ๑ My Life Timeline ชือ่ - สกุล.............................................................เลขท.่ี ........ กลุ่มท่ี ......... หน่วยการพัฒนา.......................................................................เวลา................น. คำชแี้ จง ข้อท่ี ๑ ใหผ้ ู้รับการพฒั นาเขียนประวัตติ นเองจากอดตี ปจั จุบนั และอนาคต การกา้ วสู่ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการสถานศึกษาและเป้าหมายของการเป็นผู้อานวยการสถานศึกษา • ภูมหิ ลัง - การศกึ ษา - การก้าวสู่อาชพี รับราชการครู .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................... ......................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

คู่มือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษา ๑๗ My Life Timeline ความภาคภูมิใจ ปี .......... ผอู้ านวยการโรงเรียน .......................................................... .......................................................... .......................................................... ปี .......... .......................................................... ........................................... ........................................... ปี .......... ปี .......... เป้าหมายในอีก ๕ ปี ขา้ งหนา้ เป้าหมายในอีก ๑๐ ปี ขา้ งหนา้ .......................................................... .......................................................... .......................................................... .......................................................... ........................................... ........................................... เปำ้ หมำยของกำรเป็นผ้อู ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ ตำมทัศนะของทำ่ น ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. .................................................

คู่มอื หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๑๘ หน่วยกำรเรยี นท่ี ๑ คุณลักษณะผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำทพ่ี งึ ประสงค์ ( ๗ ชวั่ โมง) รำยวชิ ำที่ ๑.๑/๒ กำรพัฒนำวินยั ในตนเองให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยำบรรณวิชำชพี และธรรมำภิบำล ในกำรบริหำรสถำนศึกษำ ( ๔ ชั่วโมง) ลำดบั ผ้รู บั ผิดชอบ เนอ้ื หำ/กจิ กรรม เวลำ สอ่ื /อปุ กรณ์ ๑ วิทยากร วทิ ยากรบรรยายภาพรวมการพฒั นาวนิ ยั ในตนเอง ๒๕ ประจาวชิ า ให้มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และ นาที ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารสถานศึกษา ๒ วิทยากร ชมวีดทิ ศั นส์ ลับกับการบรรยายจรงิ หัวข้อ ๖๐ ประจาวชิ า ถอดรหัสความสาเรจ็ ผบู้ ริหาร ที่ครองตน ครองคน นาที ครองงาน ทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งในการมวี นิ ยั มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และธรรมาภบิ าล ๓ วิทยากร ชมวีดทิ ัศนส์ ลบั กับการบรรยายจรงิ หวั ขอ้ ๖๐ ประจาวิชา ถอดรหัสความล้มเหลวของผู้บริหารที่มคี วาม นาที บกพร่องในการครองตน ครองคน ครองงาน ๔ วทิ ยากรพี่เลี้ยง แยกพบวทิ ยากรประจากลมุ่ ปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี ๒ ๙๐ ใบงานท่ี ๒ ประจากล่มุ จากการชมวีดทิ ัศน์และการบรรยาย นาที (ใบงานกลุ่ม) ถอดรหัสความสาเรจ็ ผู้บริหาร และ ถอดรหัสความล้มเหลว ผู้เขา้ รบั การพฒั นาได้มมุ มองแงค่ ิดในการเปน็ ผู้บรหิ ารท่ดี ี อยา่ งไรบา้ ง ๕ วิทยากรพ่เี ลยี้ ง วิทยากรพ่เี ล้ียง สรุปพร้อมเสนอแนะเพ่มิ เติม ๕ นาที ประจากลมุ่

คู่มอื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑๙ ใบงำนท่ี ๒ สำหรบั วิทยำกรพเี่ ล้ียง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ คุณลกั ษณะผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีพงึ ประสงค์ รายวชิ า ๑.๑/๒ การพฒั นาวินัยในตนเอง ให้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และธรรมาภิบาล ในการบริหารสถานศกึ ษา ให้วิทยากรประจากลุ่มมอบหมายสมาชิกในกลุ่มเป็นประธาน ๑ ท่าน และเลขานุการกลุ่ม ๑ ท่าน เพื่อ บันทึกรายงานสรุปผลการอภิปรายกลุ่มในหัวข้อ จากการชมวีดิทัศน์และการบรรยาย ถอดรหัสความสาเร็จ ผู้บริหาร และ ถอดรหัสความล้มเหลวผู้บริหาร ผู้เข้ารับการพัฒนามีมุมมอง แง่คิด ในการเป็นผู้บริหารท่ีดี อย่างไร

คมู่ ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๒๐ ใบงำนที่ ๒ สำหรบั ผ้เู ขำ้ รับกำรพฒั นำ กลุม่ ท่ี .......................... ประธานกลุ่ม ................................................................................................. เลขานกุ าร...................................................................................................... วทิ ยากรพเี่ ลี้ยง................................................................................................. รายงานสรุปจากการชมวีดทิ ัศนแ์ ละการฟงั บรรยาย ขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ิ ขอ้ พึงระวัง

คมู่ ือหลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒๑ รายวิชาท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพ ทเี่ หมาะสมกับผอู้ านวยการสถานศกึ ษา เวลำ ๗ ชวั่ โมง และการพัฒนาทักษะการพูดและการฟงั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่อื ให้ผบู้ ริหารมคี วามรู้ความเข้าใจ มีทกั ษะ การพฒั นาบุคลิกภาพและสุนทรยี ภาพ ๒. เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนาวิเคราะห์บุคลิกภาพตนเองและหาวธิ ีการแนวทางการปรบั ปรงุ ฝึกฝนตนเอง ได้ ๓. เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพฒั นาปฏิบัติตนให้เปน็ ผูท้ ีม่ ีบุคลกิ ภาพเหมาะสมกบั ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 4. เพ่ือใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นามีทักษะการพูดที่ถูกต้องและเหมาะสมกบั ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา 5. เพื่อให้ผรู้ บั การพฒั นามคี วามมั่นใจในการพดู ในโอกาสต่างๆ 6. เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพฒั นามีทักษะการฟัง อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เน้ือหา ๑. การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ทเี่ หมาะสมกบั ผู้อานวยการสถานศกึ ษา จานวน ๓ ช่ัวโมง 1.1 การวิเคราะห์ตวั เอง (self-analysis) การปรบั ปรุงและฝึกฝนตนเอง (Self-improvement and Training) การแสดงออก (Behavior) การประเมินผล (Evaluation 1.2 การพฒั นาบุคลกิ ภาพดา้ นต่าง ๆ 1) การพฒั นาบุคลกิ ภาพทางกาย การแต่งกายในโอกาสต่าง ๆ การวางตวั อย่างสง่างาม การพูด การยืน การเดนิ การวางทา่ ทที า่ ทาง การส่ือสาร เปน็ ตน้ 2) การพัฒนาบุคลิกภาพทางสังคม การพูด มารยาทในการรบั ประทานอาหาร การทักทาย ความไม่เห็นแกต่ วั ความซอื่ สัตย์ ความบรสิ ทุ ธิ์ใจ การรจู้ ักใจเขาใจเรา ความเปน็ คนตรงต่อ เวลา 3) การพฒั นาบุคลิกภาพทางอารมณ์ การควบคมุ อารมณ์ในสถานการณต์ า่ ง ๆ การกล้า แสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ การแสดงออกความรัก ความไม่พอใจ ในระดบั พอดี 4) การพฒั นาบุคลิกภาพทางสติปญั ญา การพัฒนาตนเองใหม้ ีภมู ริ ู้ ความรสู้ กึ นกึ คิดเจตคติ และความสนใจ 1.3 บทบาทผูบ้ ริหารกับพธิ ีการ 1) การจัดโต๊ะหม่บู ูชา 2) ข้นั ตอนและวิธีการจัดพธิ ีการ พิธกี รรมต่าง ๆ 3) การทาความเคารพในโอกาสต่าง ๆ ๒. การพฒั นาทกั ษะการพูดอย่างมีประสทิ ธภิ าพ จานวน ๓ ช่ัวโมง ๒.๑ เทคนคิ วธิ กี ารพดู ในโอกาสต่าง ๆ เป็นเชงิ บวกอย่างสรา้ งสรรค์ ๒.๒ ทักษะการพดู แบบฉบั พลนั ๒.๓ ศลิ ปะการพดู ในท่ชี ุมชน ๓. การพฒั นาทกั ษะการฟงั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ จานวน ๑ ช่ัวโมง ๓.๑ ทกั ษะการฟงั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

คูม่ ือหลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๒๒ การวดั และประเมนิ ๑. สงั เกตพฤติกรรมและบุคลิกภาพผู้เข้ารบั การพัฒนา ๒. ตรวจผลงานจากการฝึกปฏิบตั ิ ๓. ใบงาน วิทยากร คดั เลือกวิทยากรที่มีบุคลิกภาพท่ดี ี มีความเชีย่ วชาญในการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ มปี ระสบการณ์ เทคนิค วธิ กี าร ถา่ ยทอดทดี่ ี เขา้ ใจงา่ ย สามารถสร้างบรรยากาศท่ีดใี นการพัฒนาและจดั กิจกรรมพัฒนาโดยเน้นการ เสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพแกผ่ เู้ ข้ารับการพฒั นา

คมู่ อื หลกั สตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๒๓ หน่วยที่ ๑ คณุ ลกั ษณะของผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำท่ีพึงประสงค์ เวลำ ๗ ช่ัวโมง รำยวิชำที่ ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพ ทเ่ี หมาะสมกับผอู้ านวยการสถานศึกษาและการพัฒนา ทักษะการพดู และการฟัง อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.2.1 การพฒั นาบคุ ลิกภาพ ทเ่ี หมาะสมกบั ผู้อานวยการสถานศึกษา จานวน ๓ ช่ัวโมง ๑.๒.๑.๑ การพัฒนาบุคลิกภาพ จานวน ๒ ชวั่ โมง ลาดบั ผรู้ บั ผดิ ชอบ เสียงบรรยาย/กิจกรรม เวลา ส่อื /อุปกรณ์ ๑ พธิ กี ร พิธกี รเกร่นิ นาและแนะนาวิทยากร ๕ นาที ๒ วทิ ยากรประจาวชิ า วทิ ยากรบรรยายพร้อมสาธติ และฝึกปฏบิ ตั ิ ๑.๓๐ นาที VTR และวทิ ยากรพี่เล้ียง ตามขอบข่ายการพัฒนาบุคลิกภาพด้านตา่ ง ๆ ใบงานท่ี ๑ ดังน้ี - การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพทางกาย การแต่ง กายในโอกาสต่าง ๆ การวางตัวอย่างสงา่ งาม การพดู การยืน การเดนิ การวางท่าทีทา่ ทาง การสือ่ สาร เป็นตน้ - การพัฒนาบคุ ลิกภาพทางสังคม การพดู มารยาทในการรับประทานอาหาร การ ทักทาย ความไม่เห็นแก่ตวั ความซื่อสัตย์ ความบริสทุ ธ์ิใจ การรูจ้ ักใจเขาใจเรา ความ เปน็ คนตรงต่อเวลา - การพฒั นาบุคลิกภาพทางอารมณ์ การ ควบคุมอารมณ์ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ การกล้า แสดงออกอย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ การแสดงออกความรัก ความไม่พอใจ ใน ระดบั พอดี - การพฒั นาบคุ ลิกภาพทางสตปิ ัญญา การ พัฒนาตนเองใหม้ ีภมู ริ ู้ ความรู้สึกนกึ คิดเจตคติ และความสนใจ - ผู้เข้ารบั การพัฒนาวเิ คราะห์บุคลกิ ภาพ ตวั เอง (self-analysis) การปรบั ปรุงและ ฝึกฝนตนเอง (Self-improvement and Training) การแสดงออก (Behavior) การ ประเมนิ ผล (Evaluation) ตามใบงานท่ี กาหนด - วิทยากรประจาวชิ าสรปุ และเสนอแนะ เพมิ่ เติม หมำยเหตุ : เวลาในการดาเนินกิจกรรมแตล่ ะกิจกรรมสามารถปรับไดต้ ามความเหมาะสม

คู่มอื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๒๔ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ คณุ ลกั ษณะของผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำที่พงึ ประสงค์ รำยวชิ ำที่ ๑.๒.๑ กำรพฒั นำบุคลกิ ภำพ ทเ่ี หมำะสมกบั ผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ ใบงำนท่ี ๑ ช่อื - สกลุ ................................................................................................... เลขที่ .......... กล่มุ ท่ี ........ หนว่ ยพัฒนำ ............................................................... เวลำ ..................น. คำชแี้ จง ให้ผเู้ ข้ารับการพฒั นา วิเคราะหบ์ คุ ลกิ ภาพของตนเองปจั จบุ ันและแนวทางการปรบั ปรุงตนเอง การวิเคราะหต์ วั เอง การปรบั ปรงุ และฝึกฝนตนเอง (Self Analysis) (Self Improvement and Training) การพฒั นาบุคลิกภาพทางกาย การพฒั นาบุคลกิ ภาพทางสังคม การพฒั นาบุคลิกภาพทางอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพทางสติปญั ญา

คู่มอื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๒๕ หน่วยท่ี ๑ คณุ ลกั ษณะของผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำที่พงึ ประสงค์ เวลำ ๗ ชว่ั โมง รำยวิชำท่ี ๑.๒ การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ทเี่ หมาะสมกับผูอ้ านวยการสถานศึกษาและการพัฒนา ทักษะการพดู และการฟงั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 1.2.1 การพฒั นาบุคลิกภาพ ทเ่ี หมาะสมกับผู้อานวยการสถานศึกษา จานวน ๓ ชว่ั โมง ๑.๒.๑.๒ บทบาทผบู้ ริหารกับพธิ กี าร จานวน ๑ ชว่ั โมง ลาดับ ผ้รู ับผิดชอบ เสียงบรรยาย/กิจกรรม เวลา สื่อ/อปุ กรณ์ ๕ นาที ๑ พธิ กี ร พิธีกรเกร่ินนาและแนะนาวทิ ยากร ๒ วิทยากรประจา แจ้งวตั ถปุ ระสงค์ ความสาคัญของพธิ กี าร ๕๕ นาที ๑.โต๊ะหมู่บชู า วิชา พิธกี รรมตา่ ง ๆ บรรยาย สาธิตและฝึกปฏบิ ตั ิ พระพุทธรูป พิธกี ารพธิ ีกรรมต่าง ๆ ดังนี้ แจกนั ดอกไม้ ๑. การจดั โตะ๊ หมูบ่ ชู า ธูปเทียน ๑.๑ การจดั โตะ๊ หมู่บชู าในพิธีทางศาสนา ๒. พานพมุ่ ๑.๒ การจัดโตะ๊ หมบู่ ชู าในพิธีถวายพระพร ดอกไม้ ๑.๓ การตั้งโต๊ะหม่บู ชู าในพธิ ีรบั พานพุ่มเงนิ พระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ หรือ พานพุ่มทอง ของพระราชทาน ๓. ธูปเทยี นแพ ๑.๔ การตง้ั โตะ๊ หมู่บูชาในการรบั ๔. เคร่อื งทอง เสด็จฯ หรือตามเส้นทางเสด็จฯ นอ้ ย ๑.๕ การตง้ั โต๊ะหมูบ่ ชู าในพธิ ีถวาย ๕. ใบความรู้ สกั การะเนื่องในวนั สาคญั เกย่ี วกับ สถาบัน พระมหากษัตริย์ ๑.๖ การตง้ั โต๊ะหมบู่ ชู าในการประชมุ หรือสมั มนา ๒. ขน้ั ตอนและวธิ กี ารจัดพธิ กี าร พธิ ีกรรมต่าง ๆ ๒.๑ การจดุ ธปู เทยี นบูชาพระรัตนตรยั ๒.๒ การวางพานพมุ่ ๒.๒.๑ พานพ่มุ ดอกไม้ ๒.๒.๒ พานพมุ่ เงิน-พานพมุ่ ทอง ๓. การทาความเคารพในโอกาสตา่ ง ๆ หมำยเหตุ : เวลาในการดาเนินกจิ กรรมแตล่ ะกิจกรรมสามารถปรับไดต้ ามความเหมาะสม

คมู่ ือหลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒๖ รำยวชิ ำท่ี ๑.๒ การพฒั นาบุคลกิ ภาพ ทเี่ หมาะสมกบั ผ้อู านวยการสถานศกึ ษาและการพฒั นา ทักษะการพดู และการฟงั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๑.๒.๒ การพัฒนาทักษะการพดู อยา่ งมีประสิทธภิ าพ จานวน ๓ ชวั่ โมง ลาดบั ผู้รับผิดชอบ เสียงบรรยาย/กจิ กรรม เวลา สื่อ/อุปกรณ์ ๑ วิทยากรพีเ่ ล้ยี ง VTR - แยกกล่มุ พบวทิ ยากรพ่เี ลี้ยง ๒๕ นาที ๒ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี ง ใบงานท่ี ๒ ๓ วทิ ยากรพี่เลยี้ ง - วิทยากรพี่เลยี้ งเกริน่ นาและ การ์ดหวั ขอ้ ๔ วิทยากรพีเ่ ลยี้ ง ช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ เหตผุ ลการ พฒั นาทกั ษะการพดู ใหเ้ ป็นไป ตามคณุ ลักษณะผู้อานวยการ สถานศกึ ษาท่ีพึงประสงค์ และ เชอ่ื มโยงไปกบั การทากจิ กรรม การพดู แนะนาตนเอง ชมวดี ิทัศน์ วิทยากรพี่เลี้ยงดาเนนิ การให้ผเู้ ข้า ๓๐ นาที รบั การพัฒนาทากิจกรรมตามที่ กาหนด ดงั น้ี ๑. การพูดแนะนาตนเอง โดยให้ผ้เู ขา้ รับการพฒั นา แนะนา ตนเอง คนละประมาณ ๑ นาที เกรนิ่ นาเทคนิคการพูด และให้ผู้ ๓๐ ชม. เข้ารับการพฒั นาจบั สลากหัวข้อ การพูดในทชี่ ุมชน กลมุ่ ละ ๑ หัวข้อ โดยเขียนสคริปตต์ าม หัวขอ้ ท่ีไดร้ ับ เสรจ็ แล้วนาเสนอ กลุ่มละประมาณ ๓ นาที - เกริ่นนาเทคนิคการพูดฉับพลนั ๑.๓๐ ชม. และใหผ้ ู้เขา้ รับการพัฒนาจับสลาก หัวขอ้ การพดู ฉับพลัน คนละ ๑ หัวข้อ เสร็จแลว้ นาเสนอคนละ ประมาณ ๓ นาที - วทิ ยากรพเ่ี ลี้ยง สรปุ การทา กิจกรรม คร้ังน้ี ว่าเปน็ อยา่ งไร ต้องแกไ้ ขแบบไหน และเสนอแนะ แนวทางทถ่ี ูกต้องเหมาะสม

คมู่ อื หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา ๒๗ หัวข้อพูดในท่ชี ุมชนให้ประทับใจ ๑๐ หัวข้อ ๑. กล่าวแสดงความยนิ ดีท่ีคุณครูไดร้ ับรางวลั ครุ สุ ดุดี ๒. กล่าวเปดิ การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ๓. กล่าวใหโ้ อวาทแก่คณะครูและนักเรยี นที่ไปศกึ ษาดงู านต่างประเทศ ๔. กล่าวเปิดการเขา้ คา่ ยคณุ ธรรมนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ๕. กลา่ วเปดิ การอบรมครูของศนู ย์ ERIC ๖. กล่าวแสดงความยนิ ดใี นโอกาสท่คี รูได้รบั พระราชทานปริญญาบัตรระดบั มหาบัณฑติ หน้าเสาธง ๗. กลา่ วแสดงความยินดกี บั นักเรียนท่ไี ด้รับเหรยี ญรางวลั ๘. กล่าวปดิ งานกีฬาสขี องโรงเรยี น ๙. กลา่ วเปิดปฐมนเิ ทศนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ และปีที่ ๔ ๑๐. กลา่ วเปดิ งานปจั ฉิมนเิ ทศนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ หรือมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หรือมธั ยมศึกษา ปที ่ี ๖ ประเด็นกำรพูดแบบฉับพลนั ๑. กล่าวอาลาเพ่ือเดนิ ทางไปรับตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี น ณ โรงเรียนแหง่ ใหม่ ๒. กลา่ วแสดงความรู้สกึ เม่ือเดินทางมารับตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี น ๓. กลา่ วเปดิ การแข่งขนั กีฬาภายใน ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๔. กล่าวอวยพรวนั เกดิ ให้กบั ข้าราชการครใู นโรงเรยี น ๕. กลา่ วแสดงความยนิ ดใี นโอกาสทขี่ ้าราชการครใู นโรงเรียน ได้รับวทิ ยะฐานะสงู ขนึ้ ๖. กล่าวในโอกาสที่เป็นประธานงานมงคลสมรส ๗. กล่าวในโอกาสทีเ่ ปน็ ประธานงานขน้ึ บา้ นใหมข่ องครูในโรงเรียน ๘. กลา่ วในโอกาสเลีย้ งสง่ ขา้ ราชการครูที่ไดย้ า้ ยโรงเรียน ๙. กล่าวในโอกาสเลย้ี งอาลาข้าราชการครทู ่เี กษียณอายุราชการ ๑๐. กล่าวตอ้ นรับคณะทีม่ าศึกษาดงู านการจัดการศึกษาในโรงเรยี น ๑๑. กล่าวเปิดการประชมุ ผูป้ กครองนกั เรียน ๑๒. การอบรมนักเรียนหน้าเสาธง ๑๓. ปจั ฉมิ นเิ ทศนกั เรียนทีจ่ ะจบการศกึ ษา ๑๔. กล่าวขอบคุณแขกในงานมงคลสมรส ในฐานะเจ้าภาพทั้ง ๒ ฝา่ ย ๑๕. กลา่ วให้โอวาทนกั เรยี นท่ีเป็นตวั แทนเข้าร่วมแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาการระดับภาค ๑๖. แจ้งนโยบายการบรหิ ารโรงเรียนดา้ นวชิ าการต่อท่ีประชุมผปู้ กครองนักเรียน ๑๗. แจง้ นโยบายการบริหารโรงเรยี นด้านบคุ ลากรต่อคณะครใู นโรงเรยี น ๑๘. แจ้งนโยบายการบริหารโรงเรยี นด้านงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา ๑๙. แจง้ นโยบายการบรหิ ารโรงเรยี นด้านการบรหิ ารทัว่ ไปตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา ๒๐. รายงานผลการปฏิบตั งิ านตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาในรอบปี ๒๑. กลา่ วเปดิ งานชุมนุมรอบกองไฟของกองลกู เสือของโรงเรียน ๒๒. กลา่ วปดิ งานชมุ นมุ รอบกองไฟกองลกู เสอื ของโรงเรียน

ค่มู ือหลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๒๘ ๒๓. กล่าวปิดงานกฬี าภายในของโรงเรยี น ๒๔. กล่าวถึงการบรหิ ารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาต่อคณะกรรมการประเมิน ๒๕. ชแ้ี จงแนวทางนโยบายการพฒั นาโรงเรียนสมู่ าตรฐานสากลต่อคณะครู ๒๖. สรุปแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดของโรงเรยี นต่อคณะกรรมการประเมิน ๒๗. กลา่ วขอบคุณที่ใหค้ วามอนุเคราะหศ์ ึกษาดงู าน ๒๘. กล่าวขอบคุณผู้มีอปุ การคณุ ของโรงเรยี น ๒๙. กลา่ วตอ้ นรับคณะกรรมการประเมินภายนอก (สมศ.) ๓๐. กล่าวต้อนรบั คณะกรรมการประเมินโรงเรียนรางวลั พระราชทาน ๓๑. กล่าวเปิดงานวนั เดก็ แหง่ ชาติ ๓๒. กลา่ วเปดิ งานการจดั กจิ กรรมสง่ ท้ายปีเกา่ ตอ้ นรับปีใหม่ ๓๓. กลา่ วต้อนรบั ครทู ี่ยา้ ยมาใหม่ ๓๔. ประชาสัมพันธ์นกั เรยี นใหเ้ ชิญชวนผูป้ กครองไปใช้สิทธิเ์ ลือกตัง้ ๓๕. ให้ข้อคดิ แกค่ ณะครูก่อนท่จี ะศึกษาดูงาน ๓๖. กล่าวใหข้ วัญกาลังใจแก่นกั เรยี น และครูทกี่ ลับจากการแขง่ ขนั ทกั ษะทางวิชาการ ๓๗. กลา่ วตอ้ นรบั คณะกรรมการกลุ่ม/สหวทิ ยาเขต ท่ีจะมาประชุมทโ่ี รงเรยี นของเรา ๓๘. กลา่ วใหโ้ อวาทในการปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ ๓๙. กล่าวขอบคณุ ครูท่ีมาอวยพรวนั เกิดผอู้ านวยการโรงเรียน ๔๐. กล่าวในโอกาสทเี่ ป็นประธานในงานอุปสมบท ๔๑. กลา่ วต้อนรบั ผวู้ ่าราชการจงั หวดั และผู้ตรวจราชการท่ีมาใชส้ ถานท่ขี องโรงเรยี น ๔๒. กลา่ วต้อนรบั คณะครูทีม่ าศึกษาดงู านทโี่ รงเรียน ๔๓. กลา่ วต้อนรับคณะศกึ ษาดูงานจากต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๔๔. กลา่ วเปดิ กจิ กรรมงานวันครสิ ตม์ าสของโรงเรียน (ภาษาองั กฤษ) ๔๕. กล่าวเปิดกจิ กรรมงานวันสนุ ทรภ่ขู องโรงเรียน ๔๖. กลา่ วเปดิ กิจกรรมงานวันภาษาไทยของโรงเรียน ๔๗. กลา่ วใหโ้ อวาทในวนั ไหวค้ รู ๔๘. กล่าวเปิดงานวนั คืนส่เู หย้าประจาปขี องโรงเรยี น ๔๙. กลา่ วเปดิ งานวนั สถาปนาโรงเรยี น ๕๐. กลา่ วเปดิ กจิ กรรมวันแม่/วนั พ่อแหง่ ชาติ

คู่มอื หลักสูตรการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษา ๒๙ หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ่ี ๑ คณุ ลกั ษณะของผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำท่ีพงึ ประสงค์ รำยวิชำที่ ๑.๒.๒ กำรพัฒนำทักษะกำรพูด อย่ำงมีประสิทธิภำพ จำนวน ๓ ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใบงำนที่ ๒ ชื่อ – นำมสกุล..................................................................................เลขที่.........กลมุ่ ท.ี่ ....... หน่วยพัฒนำ............................................................................เวลำ............น. กำรจดั ทำสคริปต์กำรพูด (กำหนดหัวข้อกำรพูดในชมุ ชน) หัวข้อเร่อื งท่ีพดู ……………………………………………………………………………………………….. (เกร่นิ นำ) .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... (เนื้อเรอื่ ง) .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... (สรปุ ) .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ค่มู ือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๓๐ รำยวิชำท่ี ๑.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทเี่ หมาะสมกบั ผ้อู านวยการสถานศึกษาและการพฒั นา ทักษะการพูดและการฟงั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑.๒.๓ การพัฒนาทกั ษะการฟัง อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ จานวน ๑ ชวั่ โมง ลาดบั ผรู้ ับผิดชอบ เสยี งบรรยาย/กิจกรรม เวลา ส่อื /อปุ กรณ์ ๑ วิทยากรพเี่ ล้ียง วิทยากรพ่ีเล้ยี งดาเนินการให้ผู้ ๑ ชวั่ โมง บทความ เข้ารบั การพัฒนาทากจิ กรรม ใบงานที่ ๓ ตามทีก่ าหนด ดังน้ี ๑. วิทยากรพเ่ี ล้ยี ง อา่ นบทความ ตามทกี่ าหนดให้ผู้เขา้ รับการ พฒั นาฟงั ผู้เข้ารับการพัฒนา สรปุ องคค์ วามรลู้ งในใบงาน ๒. วิทยากรพเ่ี ลยี้ งส่มุ ตัวแทนผู้ เขา้ รับการพัฒนา เพ่ือนาเสนอ ผลงานอยา่ งน้อยกลมุ่ ละ ๓ คน ๓. วิทยากรพ่ีเลยี้ ง สรปุ การทา กจิ กรรม ครั้งนี้ วา่ เป็นอย่างไร ต้องแก้ไขแบบไหน และ เสนอแนะแนวทางท่ีถูกต้อง เหมาะสม หมำยเหตุ : เวลาในการดาเนินกิจกรรมแต่ละกจิ กรรมสามารถปรับได้ตามความเหมาะสม

คู่มอื หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๓๑ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๑ คุณลกั ษณะของผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำทพ่ี ึงประสงค์ รำยวิชำท่ี ๑.๒.๓ กำรพฒั นำทักษะกำรฟัง อยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ จำนวน ๑ ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใบงำนท่ี ๓ ช่ือ – นำมสกลุ ..................................................................................เลขที่.........กลมุ่ ท่ี........ หนว่ ยพัฒนำ............................................................................เวลำ............น. กำรสรุปประเดน็ จำกกำรฟงั (ชอ่ื เร่ือง)……………………………………………………………………………………………….. ๑. สรปุ ใจควำมสำคัญ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. ประโยชน์ / ข้อคดิ ท่ไี ดร้ ับจำกบทควำม .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

คมู่ อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา ๓๒ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๒ ภำวะผนู้ ำทำงวชิ ำกำร ระยะเวลำ ๒๑ ช่ัวโมง คำอธบิ ำยหนว่ ยกำรเรียนรู้ ภาวะผู้นาทางวชิ าการมุ่งพัฒนาเพือ่ ใหม้ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับ นโยบาย ภารกิจ จุดเน้น การบริหาร จัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการนิเทศภายในส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนา คุณภาพการศึกษา ตลอดจนกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ ฝึกปฏิบัติ ประเมิน วิเคราะห์และวางแผน เกี่ยวกับ การบริหารการเปล่ียนแปลง ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ มียุทธศาสตร์การบริหารสู่ความสาเร็จ เป็นผู้นาทางวิชาการ เพื่อส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีภาวะผู้นาทางวชิ าการ สอดคลอ้ งกับปรชั ญาการศึกษาของชาติ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีภาวะผู้นาทางวิชาการและสามารถบริหารการเปล่ียนแปลงได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถจัดทาหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลาง และตามความต้องการของสถานศึกษา มีการนาหลักสูตรไปใช้ และประเมินผลการใช้หลักสูตรได้ อย่างเป็นระบบ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถเป็นผู้นาการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและวัดผล ประเมินผลตามหลักสตู รการสอนได้ ๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถดาเนินการนิเทศภายในได้อย่างหลากหลายสอดคล้องกับบริบท ของ สถานศกึ ษา ๕. เพ่ือให้ผ้เู ข้ารับการพัฒนาสามารถจัดทานวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วจิ ัยในชน้ั เรยี นและนาผล การวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาได้ ๖. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการพัฒนามีทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) ๗. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารบั การพัฒนามีทักษะความรูภ้ าษาอังกฤษ (English Literacy) ควำมคิดรวบยอด ภาวะผู้นาทางวิชาการเป็นทักษะสาคัญสาหรับรองผู้อานวยการสถานศึกษา ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และตอ่ การพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของชาติ โดยเฉพาะในยุคของการเปลี่ยนแปลง ท่ตี อ้ งนาทกั ษะความ เข้าใจและการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy) ทักษะความรู้ภาษาองั กฤษ (English Literacy) มา ปรับปรุงพัฒนาหลกั สูตร นวัตกรรม ส่ือการเรียนการสอน และการนิเทศตดิ ตามรูปแบบใหมๆ่

คู่มือหลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๓๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ ภำวะผู้นำทำงวชิ ำกำร (๒๑ ช่ัวโมง) รายวิชาที่ ๒.๑ ภาวะผูน้ าการเปล่ียนแปลงสคู่ วามสาเร็จ เวลา ๖ ชวั่ โมง รายวชิ าที่ ๒.๒ - ผู้นาในการบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร เวลา ๙ ชว่ั โมง - ผ้นู าการเปล่ียนแปลงกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญและ การวดั และประเมนิ ผลตามหลักสตู ร - ผูน้ าการนิเทศภายในพัฒนานวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและงานวิจยั มาใชพ้ ฒั นาคุณภาพการศึกษา รายวิชาท่ี ๒.๓ การพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) เวลา ๓ ชว่ั โมง และการบริหารจดั การสถานศึกษาโดยใชด้ ิจทิ ัลและเทคโนโลยี รายวชิ าที่ ๒.๔ การพฒั นาทักษะความร้ภู าษาอังกฤษ (English Literacy) เวลา ๓ ชั่วโมง

ค่มู อื หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๓๔ รำยวชิ ำท่ี ๒.๑ ภำวะผนู้ ำกำรเปลี่ยนแปลงสคู่ วำมสำเร็จ เวลำ ๖ ช่ัวโมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพฒั นามคี วามรู้ความเขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความสาคญั ของภาวะผูน้ าการ เปลย่ี นแปลงทีจ่ ะนาพาสถานศึกษาไปสู่ความสาเร็จได้ ๒. เพ่ือใหผ้ ้เู ข้ารับการพฒั นามคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความสาคัญและบทบาทของผู้บรหิ ารในการเป็นผนู้ า การเปลี่ยนแปลงทางวชิ าการรวมทง้ั แนวทางในการบริหารวชิ าการให้เกิดคุณภาพ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถกาหนดวิสัยทัศน์ของการเปล่ียนแปลง และแนวทางการนา วสิ ัยทัศนส์ กู่ ารปฏิบตั ใิ หเ้ กิดผลสาเร็จในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาได้ เนอื้ หา ๑. ภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลงและผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางวชิ าการ ความหมายและความสาคัญของภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลง คุณลักษณะของผู้นาการเปล่ียนแปลง ผู้นาการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ และแนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงทาง วชิ าการ ๒. วิสยั ทัศนข์ องผนู้ าการเปลยี่ นแปลงสู่ความสาเรจ็ การกาหนดวิสัยทัศนข์ องการเปลีย่ นแปลง ลักษณะของวิสัยทัศน์ กระบวนการสร้างวิสัยทัศน์ และ การนาวิสัยทัศน์สูก่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลสาเรจ้ การวดั และประเมินผล ๑. การตรวจผลงานจากใบกจิ กรรม ๒. การสงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มและกระบวนการกลุ่ม วิทยากร คัดเลอื กวิทยากรท่ีมีบคุ ลกิ ภาพทเ่ี หมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ เทคนิควิธีการ ถ่ายทอดทด่ี ี เข้าใจง่าย และประสบการณ์เป็นทย่ี อมรบั ในทางวิชาการ ทางการบริหารการศึกษา สามารถสรา้ ง บรรยากาศท่ีดใี นการพัฒนาและจดั กจิ กรรมการพัฒนา โดยทาใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การพัฒนามภี าวะผ้นู าการเปล่ยี นแปลง ส่คู วามสาเรจ็ และสามารถบูรณาการกจิ กรรมการเรียนรู้ร่วมกับรายวชิ าอ่ืน ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งได้ และวิทยากรท่ีมี ความสามารถในการพดู /บรรยายท่ีสามารถปลุกเรา้ กระตุ้นความคดิ จนนาไปสสู่ านกึ ทีด่ ี และสามารถให้ผ้เู ข้ารบั การพฒั นารว่ มถกแถลง แสดงความคิดเหน็ ในวงเสวนา เพ่ือเห็นภาพของการเปน็ ภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงทาง วชิ าการ อีกท้ังสามารถสร้างแรงบันดาลใจใหผ้ ู้เข้ารับการพัฒนามจี ิตมงุ่ มั่น ต้ังใจจริง และแรงบันดาลใจในการ ประพฤติปฏิบตั ิตน เปน็ บคุ คลที่นา่ เคารพ/ศรัทธา มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มภี าวะผูน้ า มวี สิ ัยทศั นข์ องการ เปลยี่ นแปลง และมีความสามารถในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพ ดว้ ยการมีส่วนรว่ มของครู ผปู้ กครอง ชุมชน และเครอื ข่ายหนว่ ยงาน องค์กรทีเ่ กยี่ วข้อง

ค่มู อื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๓๕ ชอ่ื กจิ กรรมที่ ๑ ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงและผูน้ าการเปล่ียนแปลงทางวิชาการ จานวน ๓ ชวั่ โมง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนามีความร้คู วามเข้าใจ และตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของภาวะผู้นาการ เปลยี่ นแปลงท่จี ะนาพาสถานศกึ ษาไปสู่ความสาเร็จได้ ๒. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนามีความเข้าใจเกย่ี วกับความสาคญั และบทบาทของผู้บริหารในการเปน็ ผนู้ า การเปล่ยี นแปลงทางวิชาการรวมท้งั แนวทางในการบรหิ ารวิชาการใหเ้ กดิ คุณภาพ เนือ้ หา ๑. ภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลงและผูน้ าการเปล่ียนแปลงทางวิชาการ ความหมายและความสาคัญของภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง คุณลักษณะของผู้นาการเปล่ียนแปลง ผู้นา การเปล่ียนแปลงทางวิชาการ และแนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงทาง วชิ าการ กระบวนการจดั กจิ กรรม ๑. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงและผู้นาการเปล่ียนแปลง ทางวิชาการ และทาใบงานที่ ๑ เรื่อง “Change” (งานเดี่ยว) และมีการสุ่มผู้เข้ารับการอบรม นาเสนอ (๑ ช่ัวโมง ๓๐ นาท)ี ๒. วิทยากรอธิบายการทาใบงานที่ ๒ เรื่อง ผนู้ าเปลีย่ นโรงเรียนเปลี่ยน ๓. ผูเ้ ข้ารบั การพัฒนาแต่ละกลมุ่ ระดมความคดิ เห็นและบันทึกกิจกรรมตามใบงานที่ ๒ เร่ือง ”ผนู้ าการเปลีย่ นแปลงสู่การพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา” (งานกลุ่ม) (๑ ชัว่ โมง ๓๐ นาที) สื่อและอปุ กรณ์ Power point ใบความรู้ เร่ือง ภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลง ใบความรู้ เรือ่ ง ผนู้ าการเปล่ยี นแปลงทางวชิ าการ เว็บไซต์ กระดาษบรูฟพร้อมขาต้ัง ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง “Change” ใบงานที่ ๒ เรอื่ ง ”ผู้นาการเปลย่ี นแปลงสกู่ ารพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา” การวัดผลประเมินผล สงั เกตพฤตกิ รรมการฟงั บรรยาย/การมีสว่ นร่วมกิจกรรม การตรวจให้คะแนนใบงานที่ ๑ และ ๒ โดยวทิ ยากรพเ่ี ลี้ยง การนาเสนอผลงาน

คมู่ ือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๓๖ รายวิชาท่ี ๒.๑ ภาวะผ้นู าการเปลย่ี นแปลงส่คู วามสาเร็จ ใบงานท่ี ๑ ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงและผูน้ าการเปล่ียนแปลงทางวิชาการ ใบงานท่ี ๑ เรื่อง “Change” (งานเดี่ยว) คาชแ้ี จง ผู้เข้ารับการพัฒนาดูคลิปวิดีโอเก่ียวกับภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงตามที่วิทยากรนาเสนอ แล้ว เขียนสรปุ สิ่งทไี่ ด้รบั จากคลิปวดิ โี อ (๑๐ นาท)ี ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................

คมู่ อื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ๓๗ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ ภาวะผูน้ าทางวิชาการ รายวิชาท่ี ๒.๑ ภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสูค่ วามสาเรจ็ ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง “ผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่การพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา” (งานกลุ่ม) คาชีแ้ จง ๑. ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นาแบง่ กล่มุ ย่อย ๕ กลุม่ กลมุ่ ละประมาณ ๔-๕ คน ๒. ผู้เข้ารับการพัฒนาระดมความคิดเห็นเพื่อวางแผนการบริหารการเปล่ียนแปลงทางวิชาการใน ประเดน็ ตา่ ง ๆ เพอ่ื พฒั นาการบรหิ ารวิชาการให้เกดิ คณุ ภาพ ๓. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลการระดมความคิดเห็นในท่ีประชมุ กลุ่มย่อย กลมุ่ ละ ๑๐ นาที ๔. วทิ ยากรพ่เี ลย้ี งให้ข้อเสนอแนะ (เวลา ๑ ชัว่ โมง ๓๐ นาท)ี

คูม่ ือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๓๘ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการ รายวิชาที่ ๒.๑ ภาวะผ้นู าการเปลยี่ นแปลงสูค่ วามสาเร็จ ใบบันทกึ กจิ กรรมท่ี ๒ เรื่อง ผูน้ าการเปลยี่ นแปลงทางวชิ าการ โรงเรียนแห่งหนึ่ง เป็นโรงเรียนประถมศึกษา/มัธยมศึกษาขนาดเล็ก มีข้าราชการครูและบุคลากร จานวน ๘ คน นักเรยี นจานวน ๙๐ คน เมื่อทา่ นไดเ้ ข้ารับดารงตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานในโรงเรียนดังกล่าว พบว่า โรงเรยี นมสี ภาพปัญหา ดงั น้ี ๑. นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยูใ่ นระดับต่า ๒. นกั เรียนขาดเรียนบอ่ ย มีพฤติกรรมเสย่ี งตดิ มส. และเรยี นไม่จบหลกั สูตรจานวนมาก ๓. ครูไม่ใช้สื่อ และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบกับโรงเรียนมีส่ืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีไม่เพยี งพอ ๔. นกั เรยี นมภี าระงาน/การบ้านปริมาณมาก และการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ม่หลากหลาย ๕. ครูมีภาระงานเอกสารมากและจัดเตรียมเอกสารท่ีมีความซ้าซ้อน ไม่มีข้อมูลสารสนเทศท่ีสามารถ นาผลของการจัดการศึกษามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาได้ ระบการ ประกันคุณภาพ ภายในไมม่ ีคุณภาพ ๖. นกั เรยี นไมส่ นใจเรยี น ไมม่ จี ดุ ม่งุ หมายในการเรียน และขาดเป้าหมายในชวี ิต ท่านจะนาการเปลี่ยนแปลงให้โรงเรียนดังกล่าวน้ี สามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่นิยอมรับ ของผปู้ กครอง ชุมชน และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องอยา่ งไร โดยดาเนนิ ตามประเด็น คาถามต่อไปนี้ - เลือกสภาพปัญหาท่ีต้องการเปลยี่ นแปลง - ทาไมตอ้ งเปลี่ยนแปลง - วธิ กี ารทีเ่ ป็นนวัตกรรมที่ใชเ้ พือ่ นาไปสกู่ ารเปล่ยี นแปลง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

คูม่ อื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ๓๙ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการ รายวชิ าท่ี ๒.๑ ภาวะผนู้ าการเปลีย่ นแปลงส่คู วามสาเร็จ ใบความรู้ เรือ่ ง ผู้นาการเปลีย่ นแปลงทางวชิ าการ ความหมายของผูน้ าและภาวะผู้นา ผ้นู า หมายถงึ บุคคลทม่ี ีความรู้ความสามารถ ใชป้ ัญญาช้ีนาและเป็นต้นแบบทด่ี ีแกผ่ ู้อื่นหรือสงั คม ผนู้ า คือ “บุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถในการใชป้ ญั ญาช้ีนา เพอื่ ปฏบิ ตั ิงานใหเ้ กดิ ประโยชน์ บรรลุ ตามเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ ตอ่ องค์กรและต่อตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรอื นวตั กรรมใหเ้ กิดการ เปลีย่ นแปลงไปสใู่ นทิศทางท่ีพึงประสงค์” ผนู้ า ไดม้ าโดยศักยภาพ ความสามารถเฉพาะตัว ไมจ่ าเป็นตอ้ งอาศยั ตาแหน่ง กฎระเบยี บ อาศัย ความคิดสรา้ งสรรคเ์ ปน็ แบบอย่างใหผ้ ้อู นื่ ได้ หรอื กล่าวไดว้ า่ “ผนู้ าไม่จาเปน็ ต้องเป็นผู้บริหาร” ภาวะผูน้ า หมายถงึ สภาพหรือลักษณะท่ีแสดงออกของผ้นู า ซึ่งเปน็ ผลรวมของบุคลิกภาพ เช่น ลกั ษณะ ทางกาย ทางอารรมณ์ ทางสงั คมและมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ เป็นต้น เสริมศกั ดิ์ วิศาลาภรณ์ (๒๕๔๔ : ๑๐) กล่าวว่า ภาวะผนู้ าเปน็ การใช้อทิ ธพิ ลของบุคคลหรือของตาแหน่ง ให้ผอู้ ื่นยินยอมปฏบิ ตั ิตามเพ่ือท่จี ะนาไปสู่การบรรลุเปา้ หมายของกลุ่มที่ได้กาหนดไว้ หรือสรุปได้ว่าภาวะผูน้ า คือ รูปแบบของอิทธิพลระหว่างบคุ คล ความหมายของภาวะผู้นาทางวิชาการของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง คุณลักษณะหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกของผู้บริหารสถานศึกษาในการ รว่ มมือกับคณะครูและผทู้ ่ีเก่ยี วข้องในการจัดการเรยี นการสอนสง่ ผลให้ผู้เรียนบรรลุผลสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ ทฤษฎีภาวะผนู้ าทางวชิ าการ (Instructional Leadership) องคป์ ระกอบของผู้นาทางวิชาการ ๑. คุณลกั ษณะ เป็นผมู้ คี วามรู้ ความสามารถ มีทกั ษะการพดู มีบคุ ลกิ ลกั ษณะท่ดี ี ๒. พฤติกรรม มีลักษณะเด่นชัดทางพฤติกรรม เชน่ พดู ดี, มีมนษุ ยสัมพันธด์ ี เป็นตน้ ๓. สถานการณ์ ทาให้เกิดภาวะผู้นาได้ เช่น เรื่องปัญหาพลังงาน, ปัญหาสงคราม, จะส่งผลผลก่อให้เกิด การเปลย่ี นแปลง ๔. ความสอดคล้องระหวา่ งพฤตกิ รรมผู้นากบั สถานการณ์ ๕. ประสทิ ธผิ ล ความพึงพอใจ ผลการจูงใจ และผลผลติ ท่ีเกดิ ขนึ้ ในกล่มุ หรือในองค์กร แนวทางการพฒั นาผู้นาทางวชิ าการ ๑. พฒั นาคุณสมบัติ/คุณลกั ษณะส่วนตน ๑.๑ มวี ิสยั ทศั น์กว้างไกล มองอนาคต ก้าวหน้า ทันสมยั มีทัศนะคตเิ ชิงบวก เปดิ ใจกว้าง ๑.๒ มอี ุปนิสัยพืน้ ฐานทางบวก ขยนั ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน รบั ผดิ ชอบ กลา้ ตัดสินใจ มี เหตผุ ล มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มนี นุษยส์ มั พันธ์ ทางานเป็นทีมได้ ๑.๓ เปน็ บุคคลเรยี นรู้ สนใจใฝศ่ ึกษา ค้นควา้ วจิ ัย ทบทวนไตร่ตรองพิจารณา ๑.๔ สรา้ งผลงาน สานสมั พนั ธ์ คดิ สร้างสรรค์ สร้างจินตนาการ หาทางพฒั นาตน พัฒนางาน

คมู่ อื หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๔๐ ๒. ภาระงาน (การนาความรู้ไปปฏบิ ตั )ิ ๒.๑ งานประจา เขา้ ใจเป้าหมาย พนั ธกิจ นโยบายขององค์กร ภารกจิ ของตน และมงุ่ มัน่ ใหบ้ รรลุตาม เป้าหมายในทุกระดับท่ีรับผิดชอบ มีความพึงพอใจในงาน มีความจดจ่อให้สาเร็จ เพียรพยายามพิจารณา ไตร่ตรองผลงาน เพ่ือพัฒนาให้ดีข้ึน เช่น การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัด กจิ กรรมพัฒนานกั เรยี น งานธุรการอื่นๆ ๒.๒ งานสร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษา ในขอบเขตงานท่ีตนรับผิดชอบ และมีความสามารถและ ถนัด เช่น ด้านหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ การใช้ส่ือการสอน การวัดและการ ประเมิน การพัฒนานกั เรยี น การวิจัยในชัน้ เรียน/สถาบัน ๒.๓ แสดงผลงานให้ปรากฏ เผยแพรด่ ้วยวธิ กี ารตา่ งๆ เช่น ผา่ นสื่อ ผา่ นกิจกรรมแสดงผลงาน ผา่ น การเปน็ วทิ ยากร ผา่ นทางกิจกรรมเพ่ือนชว่ ยเพ่ือน ขน้ั ตอนการพฒั นาภาวะผู้นาทางวชิ าการ ๑. ศึกษาสารวจตนเอง เพื่อให้เข้าใจตนเองอย่างลึกซ้ึง ใช้วิธีการสารวจ วิเคราะห์ตนเอง และการรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้ใกล้ชิดท่ีหวังดี สรุปให้เห็น จุดแข็ง จุดอ่อนท่ีควรพัฒนา ภายใต้นบริบทของการจัดการศึกษา และอุดมคติ อุดมการณ์ของตน ๒. เลือกคุณสมบัติ พฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง เพียงพฤติกรรมเดียวในการพัฒนาแต่ละครั้ง ควรเลือก จากพฤติกรรม/คุณลักษณะท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และเห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมก่อนเพื่อกาลังใจในการ พัฒนาในเวลาต่อไป ๓. กาหนดวตั ถุประสงค์ ตอบคาถามให้ไดว้ ่า พฤติกรรม/คุณลักษณะท่ีตนต้องการเปลี่ยนแปลงน้ันจะทา ให้ชีวิตมีจุดด้อยอย่างไร และถ้าพัฒนาแล้วจะส่งผลดีอย่างไร ต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของเรา แล้วนามาเขียน เปน็ วัตถปุ ระสงคใ์ นการเปลี่ยนแปลง จะไดย้ ึดเป็นเป้าหมายในการพัฒนาตน และใช้เป็นพลังภายใน ทีจ่ ะผลกั ดัน ให้บรรลุเปา้ หมายไดต้ อ่ ไป ๔.หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม/คุณลักษณะเหล่าน้ัน ด้วยการค้นคว้าตารา ปรึกษาผู้รู้ เลือกใช้ เทคนิควิธี ทีเหมาะสมกับตัวเรา ท้ังความเข้มแข็งของจิตใจ บริบทแวดล้อม และจัดทาแผนปฏิบัติการที่สามารถ ดาเนนิ การได้อยา่ งต่อเน่ือง ใหร้ ะบุวันเวลาทจ่ี ะปฏบิ ัติ ช่วงเวลาท่ีจะใช้ท้ังหมด วิธกี ารทีก่ าหนดขัน้ ตอนไว้ชัดเจน กาหนดผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั กาหนดการสังเกตผลทเี่ กิดขน้ึ เพอื่ ใชใ้ นการประเมนิ เป็นระยะ ๕.ปฏิบัตกิ ารตามแผนทก่ี าหนดไวบ้ นั ทกึ ผลที่เกิดขึ้นทุกครงั้ ทีป่ ฏิบัติ หากพบผลการเปลยี่ นแปลงในทางท่ี ดี ยอ่ มเปน็ กาลังใจใหท้ าอย่างตอ่ เน่ืองต่อไป หากมผี ลไม่พงึ ประสงคเ์ กิดข้นึ ใหป้ รับแผนท่ีช่วยให้บรรลผุ ลไดด้ ีขนึ้ ๖.เมื่อประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หาทางเผยแพรน่ วตั กรรมท่ีค้นพบได้ดว้ ยตนเองเพ่ือเป็นตัวอยา่ ง แก่ผู้สนใจต่อไป ในส่วนตัวก็ควรเลือกพัฒนาตนในด้านอ่ืนๆ ด้วย หลักการกระบวนการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพราะงานพฒั นาไม่มีวันจบ

คู่มอื หลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๔๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการ รายวชิ าที่ ๒.๑ ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงส่คู วามสาเรจ็ ใบความรู้ เรอ่ื ง ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลง ภาวะผนู้ าการเปล่ยี นแปลง (Transformational Leadership) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง เปน็ กระบวนการทมี่ อี ิทธิพลต่อการเปล่ยี นแปลงเจตคติ และสมมตุ ฐิ านของ สมาชิกในองคก์ ร สรา้ งความผูกพนั ในการเปลยี่ นแปลง วัตถปุ ระสงค์ และกลยุทธ์ทสี่ าคัญ ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงเก่ยี วข้องกับอิทธิพลของผนู้ าท่ีมีต่อผตู้ าม แต่อทิ ธพิ ลนนั้ เป็นการใหอ้ านาจแก่ ผ้ตู ามให้กลับกลายมาเป็นผ้นู า และผู้ท่ีเปลี่ยนแปลงหน่วยงานในกระบวนการของการเปลย่ี นแปลงองค์กร ดังนั้น ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงจึงได้รับการมองว่าเป็นกระบวนการท่ีเป็นองค์รวม และเก่ียวข้องกับการดาเนินการ ของผนู้ าในระดบั ตา่ งๆ ในหน่วยงานย่อยขององค์กร จากการวิจัยพฤติกรรมภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงพบว่า “ผู้นาจะมีการถ่ายโอนหน้าท่ี,ความรับผดิ ชอบ และอานาจท่ีสาคัญ และขจัดข้อจากัดการทางานท่ีไม่จาเป็นออกไป ผู้นามีการดูแลสอนทักษะให้แก่ผู้ตามท่ีมี ความจาเป็นต้องแก้ปัญหา ต้องการการริเริ่ม การกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่สาคัญ การกระตุ้นการ แข่งขันความคิด การตระหนักในข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง การส่งเสริมความร่วมมือ และการทางานเป็นทีม รวมท้ัง ส่งเสริมการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์ในการบริหารความขัดแย้งต่างๆ ผู้นาจะทาการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร และระบบการบรหิ าร เพ่อื เน้นและสรา้ งคา่ นิยมและวัตถุประสงคห์ ลกั ขององค์กร ภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลง (Transformational Leadership) จึงประกอบไปด้วย ๑. การมีอิทธิพลอยา่ งมีอดุ มการณ์ (Idealized Influence) หรอื การมีคุณลักษณะพเิ ศษ (Charisma) ท่ีมีอุดมการณ์ มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบรหิ ารอารมณแ์ ละมจี ริยธรรม ๒. การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation) เป็นการจูงใจให้เกิดแรงบันดาลใจในการ ทางาน โดยการสร้างแรงจูงใจภายใน การสร้างเจตคติและการคิดในแง่บวกและกระตุ้นจิตวิญญาณของทีม (Team Spirit) ใหม้ ีชีวิตชีวา ๓. การกระต้นุ ทางปญั ญา (Intellectual Stimulation) เป็นการกระตนุ้ ความพยายามของผ้ตู าม เพ่อื ให้ เกิดสิ่งใหม่และสร้างสรรค์ เพื่อการตระหนักรู้ในเรื่องปัญหา กระตุ้นให้มีการตั้งข้อสมมุติฐาน เปล่ียนกรอบการ มองปญั หา และมีการแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบ ๔. การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration) เป็นการปฏิบัติต่อบุคคลใน ฐานะที่เป็นปัจเจกชน การเอาใจใส่ดูแลคานึงถึง ความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการ ติดต่อส่ือสาร และปฏิสัมพันธ์ที่ดี มีการแนะนาและการมอบหมายงาน มีการพัฒนาหรือสนับสนุนในการทางาน เพื่อใหบ้ ุคคลสามารถบรรลเุ ปา้ หมายของส่วนตนและสว่ นรวม คุณลักษณะของผู้นาการเปลีย่ นแปลง โดยทัว่ ๆ ไป ผนู้ าการเปล่ยี นแปลงทมี่ ีคุณลักษณะของผนู้ าการเปล่ียนแปลงจะเป็นดังน้ี ๑. เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง (Change Agent) จะเปล่ียนแปลงองค์กรท่ีตนเองรับผิดชอบ ไปสู่ เป้าหมายที่ดีกว่า คล้ายกับผู้ฝึกสอน หรือ โค๊ช นักกีฬาท่ีต้องรับผิดชอบทีมท่ีไม่เคยชนะเลย ต้องมีการ เปลย่ี นแปลงเปา้ หมาย เพื่อความเปน็ ผู้ชนะและต้องสรา้ งแรงบันดาลใจใหล้ ูกทมี เล่นให้ไดด้ ีทสี่ ุดเพื่อชัยชนะ ๒. เปน็ คนกล้าและเปิดเผย เป็นคนทีก่ ล้าเสยี่ งแตม่ คี วามสขุ ุม และมีจุดยืนของตวั เอง กลา้ เผชญิ กบั ความ จริง กล้าเปดิ เผยความจริง

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๔๒ ๓. เช่ือมั่นในผู้อื่น ผู้นาการเปลี่ยนแปลงจึงไม่ใช่เผด็จการ แต่มีอานาจและสนใจคนอ่ืนๆ มีการทางาน โดยมอบอานาจใหผ้ ูอ้ ื่นนา โดยเช่ือม่ันวา่ ผู้อ่ืนมีความสามารถ ๔. ใช้คุณค่าเป็นแรงผลกั ดัน ผู้นาการเปลีย่ นแปลงจะชี้นาให้ผ้ตู ามตระหนกั ถงึ คุณค่าของเป้าหมาย และ สรา้ งแรงผลกั ดันในการปฏิบัตงิ าน เพ่ือบรรลุเป้าหมายทม่ี คี ณุ คา่ ๕. เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้นาการเปลี่ยนแปลงจะนึกถึงสิ่งท่ีตัวเองเคยทาผิดพลาด ในฐานะที่เป็น บทเรียนและพยายามเรียนรสู้ ิง่ ใหม่ๆ เพ่อื พัฒนาตวั เองตลอดเวลา ๖. มีความสามารถที่จะเผชิญกับความสลับซับซ้อน ความคลุมเครือ และความไม่แน่นอน ตลอดจนมี ความสามารถในการเผชญิ ปญั หาที่เปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ ๗. เป็นผ้มู องการณ์ไกล โดยมีความสามารถในการคาดการณ์ไปข้างหน้าทั้งในด้านโอกาสและอุปสรรคท่ี เกิดข้นึ สามารถท่ีจะทาให้เกดิ ความหวังและความฝนั ของทมี งานกลายเป็นจรงิ ขั้นตอนในการบรหิ ารความเปล่ยี นแปลง Jim Stewart ได้ลาดับข้ันตอนในการบริหารความเปล่ียนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ในหนังสือ Managing Change Though Training And Development (๑๙๙๖) ดังน้ี ๑. ตรวจวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงที่กาลังเกิดข้ึนหรือมีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต (Change Diagnosis) โดยใหพ้ จิ ารณาว่า ๑.๑ มีความเปลี่ยนแปลงใดท่ีน่าจะนามาวิเคราะห์เพ่ือเตรียมการรองรับ (Changes To Be Considered) หากการเปล่ียนแปลงน้ันไม่มีผลอันมีนัยสาคัญต่อกระบวนการทางาน พฤติกรรมการปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณ์การทางาน หรืองบประมาณ ให้ถือเป็นความเปลี่ยนแปลงโดยปกติท่ีเกิดข้ึนได้อย่าง สม่าเสมอ แต่ถ้าความเปลี่ยนแปลงนั้น มีผล ไม่ว่าทางบวกหรือทางลบต่อส่วนหนึ่งส่วนใด ก็จาเป็นจะต้องนามา พจิ ารณารว่ มกัน ๑.๒ ใครจะได้รับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงน้ันบ้าง (Who will be affected from the change) ไม่ว่าจะเป็นตัวบุคคล กลุ่มคน หรือทุกคน ก็ให้ถือว่าเป็นความเปล่ียนแปลงท่ีต้องนามาบริหารจัดการ ให้สามารถสร้างประสิทธิภาพสูงสุดให้เกิดแก่การปฏิบัติของทุกๆคนได้ เน่ืองจากแต่ละคนที่เป็นสมาชิกของ ทีมงานและองค์กร ตา่ งกม็ ีสถานภาพเป็นส่วนหน่ึงของสิ่งแวดลอ้ มของผู้อื่นทง้ั สนิ้ ๒. ระบุการต่อต้านความเปล่ียนแปลง (Identifying Resistance) เนื่องจากความเปล่ียนแปลงย่อมมี ผลกระทบต่อส่งิ ทเ่ี คยเห็น เคยเปน็ เคยมี (Status Quo) ของสังคมการทางานและความเคยชนิ ในการปฏิบัติงาน ฉะน้ันการเปล่ียนแปลงดังกล่าวอาจมีผลต่อความเช่ือม่ันเดิมๆทีเ่ คยมีอยู่และเป็นอยู่ของสังคมการทางาน และย่ิง ถ้าเป็นความเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและทิศทางในการบริหารจัดการด้วยแล้ว การต่อต้านก็มีแนวโน้มสูงมาก ผู้นาหรอื นกั บรหิ ารจึงจาเป็นตอ้ งระบใุ ห้ได้วา่ ๒.๑ ใครและกลุ่มใดบ้างที่ต่อต้านหรือจะต่อต้าน หรือมีแนวโน้มว่าจะต่อต้านความเปล่ียนแปลงที่ จาเป็นจะต้องนาเข้ามา เพราะตัวบุคคลและกลุ่มคนที่แตกต่างกันจะมีพฤติกรรมการต่อต้านท่ีแตกต่างกัน หาก วิเคราะหไ์ มท่ ่วั ถึงและจดั การปรบั แตง่ การต่อต้านต่อความเปลีย่ นแปลงไม่ได้ ก็จะส่งผลให้เกิดการต่อตา้ นในระยะ ยาวจนเกดิ ผลเสยี ต่อประสิทธิภาพในการบริหารจดั การในระยะยาวได้ ๒.๒ ความรุนแรงของการต่อต้าน (Degree of resistance) มีมากน้อยเพียงใด ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงกับความคิดเห็น ความเช่ือ และผลประโยชน์ ของคนหรือกลุ่มคนท่ีได้รับผลกระทบจากความ เปลย่ี นแปลง เช่น ถ้ามีผลกระทบต่อความรู้สึกนึกคิด ความคิดเหน็ หรือแนวคิด ทฤษฎีท่ียึดถอื ปฏิบตั ิอยู่ ก็จะเกิด การต่อตา้ นเฉพาะในตอนแรกๆ เมือ่ เกิดความเคยชินใหม่ๆ การตอ่ ต้านก็จะลดลง แต่ถา้ มีผลกระทบต่อความเช่ือ

คู่มือหลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๔๓ ค่านิยม และปรัชญาการทางานหรือการดารงชีวิตของบุคคล ก็จะเกิดการต่อต้านท่ีรุนแรงข้ึน จนอาจถึงขั้นเกิด การรวมตัวกันต่อต้านความเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างจริงจังก็อาจเป็นได้ ย่ิงถ้ามีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของกลุ่ม บุคคลด้วยแล้ว ก็ย่ิงจะเกิดการต่อต้านอย่างรุนแรงท่ีสุดและยืดเยื้อจนยากที่จะแก้ไขได้ การวิเคราะห์ ทั้งในด้าน ลักษณะของความเปลี่ยนแปลงและการต่อตา้ นความเปล่ียนแปลง จึงต้องมกี ารดาเนินการอย่างจรงิ จัง และถีถ่ ว้ น เพ่ือให้สามารถวางแผนกลยุทธ์และบริหารความเปล่ียนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากเกิดการต่อต้าน จนเกดิ ความเสยี หายข้นึ แล้ว จะบรหิ ารไดย้ าก หรอื อาจจะต้องยกเลิกการเปลย่ี นแปลงน้ันไปเลยก็มี ๓. กาหนดและวางแผนมอบหมายความรับผิดชอบ (Allocating Responsibility) ในฐานะนักบริหาร จาเป็นอยา่ งย่ิงทีจ่ ะต้องมที ีมงานท่ีมีความเขา้ ใจในความจาเปน็ ท่จี ะต้องเปลย่ี นแปลง ซงึ่ หมายถึง ผบู้ ริหารจะต้อง ศึกษาความเปลี่ยนแปลงอย่างถ่องแท้ ว่าเหตุใดจาเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลง อะไรจะเกิดขึ้น ถ้าองค์การไม่ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงน้ัน และโอกาสที่จะไม่รับความเปล่ียนแปลงน้ันมีมากน้อยเพียงใด ตลอดจนมองเห็นไป ในอนาคตด้วยวสิ ัยทัศน์วา่ เม่ือมกี ารเปลี่ยนแปลงแล้ว มีอะไรเป็นข้อดแี ละมีอะไรเปน็ ข้อเสยี บ้าง เมื่อไดท้ าความ เขา้ ใจกันในทมี ของผบู้ รหิ ารแลว้ ซักซ้อมรายละเอียดท่ีมองเห็นดว้ ยกันแลว้ ตลอดจนยอมรับวา่ ตอ้ งบรหิ ารให้เกิด ความเปล่ยี นแปลง ดังกลา่ วแล้ว จงึ รว่ มกนั ตกลงแบ่งความรับผิดชอบกนั ให้ได้ว่า ๓.๑ ใครจะต้องทาหน้าท่ีเป็นผู้นาในด้านใด เพื่อให้ท้ังทีมมีเอกภาพ เช่น ทีมงานประชาสัมพันธ์ ทีมงานตอบข้อโต้แย้งและตอบคาถาม ทีมงานพัฒนาและฝึกอบรมทีมงานแก้ปัญหาข้อจากัดต่างๆ ทีมงาน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและทีมงานประสานความร่วมมือ เป็นต้น โดยผู้บริหารท่ีเป็นหัวหน้าทีมแต่ละทีมมีหน้าที่ และความรับผิดชอบโดยตรงในการสร้างความเข้าใจเบื้องต้นที่ถูกต้องด้านข้อมูลของความเปล่ียนแปลงให้แก่ ทีมงานของตัวเองกอ่ น เพอ่ื ให้แต่ละทีมสามารถขบั เคลื่อนภารกจิ ที่ไดร้ บั มอบหมายต่อไปได้ ๓.๒ จัดให้มีระบบการสื่อสารที่รวดเร็วและชัดเจนเพ่ือป้องกันการเข้าใจคลาดเคลื่อนและข่าวลอื ซ่ึง จะทาให้เกิดการต่อตา้ นมากขึ้น โดยเฉพาะทีมงานของผู้บริหารระดับสูงดว้ ยกนั จะต้องทาใหเ้ กิดการสื่อสารสร้าง ความเข้าใจซงึ่ กนั และกันได้อยา่ งคล่องตวั และทนั เวลา ๔. พัฒนายุทธศาสตร์และนาแผนยุทธศาสตร์การบริหารความเปล่ียนแปลงสู่การปฏิบัติ (Developing and Implementing Strategies) โดยทีมงานผบู้ รหิ ารซึ่งทาหน้าทเี่ ปน็ ผูน้ าของทมี งานแต่ละทีม ตอ้ งรว่ มประชมุ และกาหนดยุทธศาสตร์หรือแนวทางร่วมกันเพื่อจะได้เข้าใจและดาเนินไปด้วยกันได้ว่าทีมงานได้ใช้แนวทางและ ยทุ ธศาสตร์ในการดาเนินงานเพ่อื จะไดร้ ว่ มกันดาเนนิ งานให้สอดคล้องรองรบั ซงึ่ กนั และกัน ทั้งในดา้ น ๔.๑ เป้าหมาย (Target) ท่ีคาดว่าจะไปให้ถึงโดยใช้กลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ของแต่ละทีม ซ่ึงจะต้อง สอดคลอ้ งรองรับซงึ่ กันและกัน ๔.๒ ระยะเวลา (Time) ท่ีแต่ละกลยทุ ธเ์ ร่มิ นาสกู่ ารปฏิบตั ิและการสน้ิ สดุ ๔.๓ วิธีการวัดผล (Assessing Method) เพื่อจะให้สามารถทราบได้ว่า บรรลุเป้าหมายโดยสมบูรณ์ แลว้ ทั้งนีแ้ ต่ละกลยทุ ธ์หรอื ยุทธศาสตร์ที่ใช้ ควรมีดัชนชี ้ีวดั ความสาเร็จ (KPI) ท่ีชัดเจนรวมอยดู่ ว้ ย ๕. การติดตามความก้าวหน้า (Progress Monitoring) โดยอาศัยแผนยุทธศาสตร์ทไ่ี ด้กาหนดไวแ้ ลว้ เพอ่ื ๕.๑ ปรับปรุงแก้ไขยุทธศาสตร์ที่ยังไม่สามารถสร้าง ประสิทธิภาพได้เท่าท่ีควร ให้มีความเหมาะสม และทันต่อ ความเปล่ยี นแปลงของปญั หาใหไ้ ดม้ ากขน้ึ ๕.๒ เพมิ่ เตมิ ยทุ ธศาสตร์ใหมๆ่ ใหส้ ามารถเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ท่มี ีอยแู่ ลว้ เขา้ ด้วยกันใหเ้ กดิ ความ กระชบั และมี ประสทิ ธิภาพมากขนึ้

คูม่ ือหลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา ๔๔ ๕.๓ ยกย่องชมเชยและปูนบาเหนจ็ รางวัลให้แก่ทีมงานแต่ละทีม ท่ีได้ร่วมมือกันในการบริหาร ความ เปลย่ี นแปลงได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ๕.๔ เพื่อร่วมกันภาคภูมิใจในความสาเร็จท่ีได้รับและกระตุ้นให้ เกิดการยอมรับความเปลี่ยนแปลง ใหม่ๆ ท่จี ะเกิดมขี ึน้ อีกในอนาคต ๕.๕ ประสานความคดิ และประสานพลงั (Synergy) ในการทางานเป็นทมี ทัง้ ทีมงานยอ่ ยและทีมงาน ใหญโ่ ดยสว่ นรวม เพอ่ื ให้มีความพร้อมที่จะปฏบิ ตั ิภารกจิ ทย่ี ากและซบั ซ้อนกว่าเดมิ ไดม้ ากข้ึนในอนาคต

คู่มอื หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา ๔๕ ชือ่ กิจกรรมที่ ๒ วสิ ัยทศั น์ของผู้นาการเปลยี่ นแปลงส่คู วามสาเรจ็ จานวน ๓ ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถกาหนดวสิ ยั ทัศนข์ องการเปลย่ี นแปลง และแนวทางการนาวสิ ยั ทัศน์สู่ การปฏิบัตใิ ห้เกดิ ผลสาเร็จในการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาได้ เนือ้ หา ๑. การกาหนดวิสัยทัศน์ทีส่ อดคล้องกับสภาพปัจจุบัน ปญั หา นโยบาย และความต้องการ ๒. กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความสาเร็จเป็นที่เช่ือถือและ ยอมรบั ของชุมชน กระบวนการจัดกจิ กรรม ๑. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกาหนดวิสัยทัศน์ของผู้นาการเปล่ียนแปลง และ แนวทางการขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติจนเกิดความสาเร็จ ความรู้เก่ียวกับนโยบายที่สาคัญของ กระทรวง สพฐ. และผู้บรหิ ารระดับสงู (๖๐ นาที) ๒. ผู้เขา้ รบั การพฒั นาแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคิดเหน็ และบันทึกกจิ กรรม ใบงานที่ ๓ เรื่อง วิสัยทศั น์ของ ผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่ความสาเรจ็ พรอ้ มนาเสนอผลงาน (๑๒๐ นาท)ี สือ่ และอุปกรณ์ Power point วดิ ที ัศน์นโยบายของผ้บู รหิ ารระดับสงู วิดที ศั น์นาเสนอวสิ ยั ทัศน์ของผู้บริหารโรงเรียนทป่ี ระสบความสาเร็จ ใบความรู้ เร่อื ง การเขียนวิสัยทศั น์ของการเปลี่ยนแปลง เว็บไซต์ http://www.innoobec.com/?p=๑๗๒๙๒๔ https://www.moe.go.th/backend/wpcontent/uploads/๒๐๒๐/๑๑/จดุ เนน้ ๒๕๖๔เพ่ิมเติม.pdf https://moe๓๖๐.blog/๒๐๒๐/๐๑/๐๒/ กระดาษบรูฟพร้อมขาตั้ง ชิน้ งาน/ภาระงาน ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง วสิ ัยทศั นข์ องผู้นาการเปลีย่ นแปลงสคู่ วามสาเรจ็ การวดั ผลประเมินผล สังเกตพฤตกิ รรมการฟงั บรรยาย/การมสี ว่ นรว่ มกิจกรรม การตรวจช้ินงาน การนาเสนอผลงาน

คูม่ ือหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ๔๖ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการ รายวิชาท่ี ๒.๑ ภาวะผนู้ าการเปล่ียนแปลงสู่ความสาเรจ็ คาช้แี จง ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง วิสัยทศั น์ของผนู้ าการเปลีย่ นแปลงสู่ความสาเร็จ ๑. ผู้เขา้ รับการพัฒนารายบุคคลเขยี นวสิ ัยทัศน์ของโรงเรียนตามสถาการณแ์ ละบรบิ ทที่กาหนดตใน ความเหน็ ของตนเอง (๑๕ นาที) ๒. ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นาแบง่ กลุม่ ย่อย ๕ กลุ่ม กล่มุ ละ ๔-๕ คน ๓. ระดมความคดิ เหน็ และหลอมหลวมวสิ ยั ทัศน์ของสมาชิกภายในกลุ่ม (๑๕ นาท)ี ๔. ระดมความคิดเห็นการนาวิสัยทัศน์ไปขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้ เกิดผลสาเร็จเป็นที่ยอมรับ เช่ือถือ และศรัทธาของผู้ปกครองชุมชน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยสอดคล้องกับนโยบาย“โรงเรียนดีประจาตาบล” หรือ “โรงเรียนดี ๔ มุมเมือง” (๔๐ นาที) ๕. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลจากการระดมความคิดเห็นในที่ประชุมกลุ่มย่อย กลมุ่ ละ ๑๐ นาที และ วิทยากรใหข้ ้อเสนอแนะ (๕๐ นาท)ี