Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและการชลประทานในยุค THAILAND 4.0

ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและการชลประทานในยุค THAILAND 4.0

Description: ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและการชลประทานในยุค THAILAND 4.0

Keywords: แหล่งน้ำ

Search

Read the Text Version

fjdsgdms;gas;la

RID Tip book “ขอควรระวังในการปฏิบัติงานดานการพัฒนาแหลงนำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0” กรมชลประทาน มถิ นุ ายน 2563

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department คำนำ หนงั สอื “ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทานในยคุ THAILAND 4.0” อาศยั กระบวนการถอดบทเรยี นโครงการชลประทานทผ่ี บู รหิ าร และนกั วชิ าการ และผปู ฏบิ ตั งิ านโครงการสนใจ โดยการนำ รายละเอยี ดจากการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหลกั สตู รเตรยี มความพรอ มและเพม่ิ พนู ความรขู อง นายชา ง วศิ วกรของกรม ชลประทานทป่ี ฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน โดยสำนกั บรหิ ารโครงการ เปน หนว ยงานหลกั ในการดำเนนิ การภายใตก ารกำกบั ดแู ลของรองอธบิ ดฝี า ยวชิ าการ กรมชลประทาน จากการสมั มนาฯ ดงั กลา ว ผเู ขา รว มสมั มนาตา งไดม โี อกาสแลกเปลยี่ นความรแู ละประสบการณ สำหรบั ทจี่ ะนำ ไปใชใ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งถกู ตอ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเพอื่ เตรยี มพรอ มรบั มอื กบั ทกุ สถานการณท อี่ าจเกดิ ขนึ้ จาก ผลของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของโลกไดอ ยา งรวดเรว็ ทนั ตอ สภาวการณ และตอ เนอื่ ง ในการสมั มนาฯ ได รว มกนั พจิ ารณาถอดบทเรยี นของโครงการทง้ั ทปี่ ระสบความสำเรจ็ ทม่ี ขี อ ขดั ขอ งในการดำเนนิ งาน และโครงการท่ี นำนวตั กรรมใหม ๆ มาใชใ นการปฏบิ ตั งิ านสอดคลอ งกบั Road Map “การพฒั นากรมชลประทานสอู งคก รอจั ฉรยิ ะท่ี มงุ สรา งความมนั่ คงดา นน้ำ พ.ศ.2560-2579 เพอ่ื เพม่ิ คณุ คา การบรกิ ารภายในป พ.ศ.2579” นำมาจดั ทำเปน หนงั สอื “ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทานในยคุ THAILAND 4.0” เนอื้ หาของหนงั สอื เลม น้ี มเี นอื้ หาสาระทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในสายงานดา นวชิ าการ ประกอบดว ย ดา นการพจิ ารณาวางโครงการ ดา นการสำรวจ ดา นการออกแบบ ดา นการวจิ ยั และพฒั นา ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และดา นอนื่ ๆทเี่ กย่ี วขอ ง ไดแ ก ดา นการมสี ว นรว มของประชาชน ดา นการสง นำ้ และบำรงุ รกั ษา ดา นความปลอดภยั เขอ่ื น และดา นการกอ สรา ง โดยการมงุ เนน เรอื่ งขอ สงั เกต ขอ ควร ระวงั และขอ เสนอแนะแนวทางการปอ งกนั /แกไ ขปญ หาของโครงการตา งๆ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ และสรา งความเสยี หายกบั พี่นองเกษตรกรและประชาชน ที่สำคัญเปนการถอดบทเรียนโครงการท่ีไดรับความสำเร็จจนเปนที่ยอมรับ ทั้งน้ี เพ่ือเปนการขยายผลของความสำเร็จใหเกิดความม่ันคง ย่ังยืน พรอมท้ังสงเสริมสนับสนุนการนำนวัตกรรมใหมมา ประยกุ ตใ ชใ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งสมั ฤทธผ์ิ ล สำนกั บรหิ ารโครงการ ในฐานะหนว ยงานหลกั ในการดำเนนิ การจดั ทำหนงั สอื “ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา น การพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทานในยคุ THAILAND 4.0” หวงั เปน อยา งยงิ่ วา หนงั สอื นจ้ี ะเปน ประโยชนอ ยา งยงิ่ สำหรบั ผทู ส่ี นใจทวั่ ไป โดยเฉพาะเจา หนา ทผี่ ปู ฏบิ ตั งิ านทเี่ กยี่ วขอ งจะสามารถนำความรจู ากการถอดบทเรยี นในหนงั สอื เลม นไี้ ปปรบั ใชใ หส อดคลอ งกบั สภาพพน้ื ทอ่ี ยา งเหมาะสมตอ ไป คณะผจู ดั ทำ มถิ นุ ายน 2563 ก

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" สารบญั หนา คำนำ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง จ สารบญั รปู ภาพ ฉ บทที่ 1 บทนำ 11 บทที่ 2 ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านในสายงานวชิ าการ 14 2.1 การพิจารณาวางโครงการ ................................................................................................................................ 14 2.1.1 การวางแผนพัฒนาระดับลุมนำ้ .......................................................................................................... 22 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพัฒนาแหลง นำ้ ........................................................................ 24 2.1.3 การวางโครงการประเภทบรรเทาอุทกภัย ........................................................................................ 32 2.1.4 อ่ืนๆ ที่เกี่ยวของกับดานการวางโครงการ ......................................................................................... 35 2.2 การสำรวจทางวิศวกรรมและวิทยาการธรณี .............................................................................................. 37 2.2.1 การปฏิบตั งิ านสำรวจทางวศิ วกรรมและวทิ ยาการธรณี ............................................................... 50 2.2.2 การบรหิ ารจดั การฐานขอ มลู และวเิ คราะหข อ มลู สารสนเทศสำรวจ ......................................... 57 2.2.3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสำรวจ ................................................................................................ 59 2.3 การออกแบบ ....................................................................................................................................................... 62 2.3.1 การออกแบบเขื่อน ................................................................................................................................. 70 2.3.2 การออกแบบอาคารทางระบายน้ำลน ............................................................................................... 77 2.3.3 การออกแบบอาคารทอสงนำ้ ............................................................................................................... 79 2.3.4 การออกแบบประตูระบายน้ำ .............................................................................................................. 81 2.3.5 การออกแบบอาคารหวั งานและระบบชลประทาน ......................................................................... 85 2.3.6 การออกแบบอาคารอื่นๆ ....................................................................................................................... 88 2.4 การวิจัยและพัฒนา ........................................................................................................................................... 90 ข

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department 2.4.1 การกอสรางอาคารชลประทาน ............................................................................................................ 98 2.4.2 การกอสรา งถนนและงานปรับปรุงฐานราก ...................................................................................... 100 2.4.3 งานปรับปรุงดินคุณภาพดินกระจายตัว .............................................................................................. 102 2.4.4 งานกำจัดวัชพืช ........................................................................................................................................ 104 2.4.5 งานคุณภาพน้ำ.......................................................................................................................................... 105 2.4.6 นวัตกรรมและการเผยแพร ................................................................................................................... 107 2.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ........................................................................................................... 108 2.5.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศ ................................................................................................................ 128 2.5.2 การใหบ รกิ ารโครงสรา งพนื้ ฐานระบบคอมพวิ เตอรแ ละเครอื ขา ย ................................................ 131 2.5.3 การสื่อสารโทรคมนาคม ........................................................................................................................ 132 2.5.4 อน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกับดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร .................................................... 132 2.6 สายงานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ .................................................................................................................................. 136 2.6.1 การกอสราง .............................................................................................................................................. 136 2.6.2 การบริหารจัดการน้ำและสงนำ้ บำรุงรักษา ....................................................................................... 152 2.6.3 ความปลอดภัยเขื่อน ............................................................................................................................... 161 2.6.4 การมีสวนรวมของประชาชน ................................................................................................................ 167 บทที่ 3 โครงการนวตั กรรม 179 3.1 การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ พอ่ื การจดั เกบ็ สถติ ขิ อ มลู รายวนั ดา นจดั สรรนำ้ ประเภทโครงการชลประทานอา งเกบ็ น้ำ (Water Daily Program) ........................................................ 179 3.2 ระบบฐานขอ มลู กลางดา นวศิ วกรรม ในยคุ Thailand 4.0 ....................................................................... 181 3.3 งานปรบั ปรงุ กำแพงปอ งกนั ตลงิ่ ฝง ขวาประตรู ะบายนำ้ คลองลดั โพธิ์ ตำบลทรงคนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ................................................................................................... 185 3.4 การปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ โดยวธิ ซี อยซเี มนต (Soil Cement) ................................................................ 190 3.5 เครอื่ งลำเลยี งผกั ตบชวาและวชั พชื ลอยน้ำ ................................................................................................... 194 3.6 โครงการปรบั ปรงุ ประตรู ะบายนำ้ เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการระบายนำ้ โดยใช Gate Pump ........... 198 3.7 การพฒั นาฐานขอ มลู ระดบั แปลงนา สกู ารพฒั นานวตั กรรมเพอื่ การบรหิ ารจดั การน้ำชลประทาน ..... 202 3.8 การใชส อื่ มลั ตมิ เี ดยี โครงการปรบั ปรงุ ประตรู ะบายน้ำฝายทา กระดาน จงั หวดั กำแพงเพชร ........... 208 ค

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" 3.9 โครงการตดิ ตงั้ ระบบตดิ ตามสถานการณเ พอื่ การบรหิ ารจดั การนำ้ ในพน้ื ที่ โครงการสง น้ำ และบำรงุ รกั ษาปราณบรุ ี (RIDIMIS-KRC) จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ ................................................. 211 3.10 โครงการสารสนเทศดา นการชลประทาน โดย QR Code (Irrigation Information by QR Code RIO.17 : IIQ (อ๊ิ คิว 17) ......................................................................................................... 217 3.11 โครงการบรหิ ารจดั การน้ำแบบชมุ ชนมสี ว นรว มในทงุ หนว งน้ำบางระกำ ........................................ 221 3.12 โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการกกั เกบ็ น้ำและการระบายน้ำ งานปรบั ปรงุ อาคาร Morning Glory ดว ยวธิ ตี ดั คอนกรตี ดว ยโซ (Wire Saw) เขอื่ นลำพระเพลงิ ตำบลตะขบ อำเภอปก ธงชยั จังหวัดนครราชสีมา ....................................................................................................................................... 226 บทที่ 4 บทสรปุ 233 เอกสารอา งองิ 234 ภาคผนวก 237 ภาคผนวก ก การวบิ ตั ขิ องถนนบนคนั คลองชลประทานในเขตทรี่ าบลมุ แมน ำ้ เจา พระยาตอนลา ง ........ 238 ภาคผนวก ข ตวั อยา งการเขยี นขอ กำหนดของผวู า จา งรา งขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) จา งเหมางานโครงการกอ สรา งถนนผวิ จราจรดนิ ซเี มนต ปรบั ปรงุ คณุ ภาพดว ยยางธรรมชาติ (Para Soil Cement)....................................................... 248 ภาคผนวก ค ขอ คดิ เหน็ เรอ่ื งการออกแบบปอ งกนั แผน ดนิ ไหวของกรมชลประทาน โดยรว มมอื กบั National Agriculture and Food Research Organization (NARO), Japan ................ 255 ภาคผนวก ง รายชอื่ คณะวทิ ยากรสว นกลาง วทิ ยากรโครงการนวตั กรรม และผเู ขา รว มสมั มนา ......... 259 ภาคผนวก จ ประมวลรูปการสัมมนา .................................................................................................................... 272 ง

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department สารบญั ตาราง ตารางท่ี 2.1.1 การวางแผนพัฒนาระดับลุมน้ำ .......................................................................................................... 22 ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพัฒนาแหลง นำ้ ....................................................................... 24 ตารางที่ 2.1.3 การวางโครงการประเภทบรรเทาอุทกภัย ........................................................................................ 32 ตารางที่ 2.1.4 อ่นื ๆ ท่เี ก่ียวของกับดา นการวางโครงการ ........................................................................................ 35 ตารางที่ 2.2.1 การปฏบิ ตั งิ านสำรวจทางวศิ วกรรมและวทิ ยาการธรณี ............................................................... 50 ตารางท่ี 2.2.2 การบรหิ ารจดั การฐานขอ มลู และวเิ คราะหข อ มลู สารสนเทศสำรวจ ........................................ 57 ตารางท่ี 2.2.3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสำรวจ................................................................................................. 59 ตารางที่ 2.3.1 การออกแบบเข่ือน ................................................................................................................................. 70 ตารางท่ี 2.3.2 การออกแบบอาคารทางระบายนำ้ ลน ............................................................................................... 77 ตารางท่ี 2.3.3 การออกแบบอาคารทอสงน้ำ .............................................................................................................. 79 ตารางท่ี 2.3.4 การออกแบบประตูระบายน้ำ .............................................................................................................. 81 ตารางที่ 2.3.5 การออกแบบอาคารหวั งานและระบบชลประทาน ........................................................................ 85 ตารางท่ี 2.3.6 การออกแบบอาคารอ่ืนๆ ...................................................................................................................... 88 ตารางท่ี 2.4.1 การกอสรางอาคารชลประทาน ........................................................................................................... 98 ตารางท่ี 2.4.2 การกอ สรา งถนนและงานปรับปรงุ ฐานราก ..................................................................................... 100 ตารางท่ี 2.4.3 งานปรับปรุงคุณภาพดินกระจายตัว ............................................................................................ 102 ตารางที่ 2.4.4 งานกำจัดวัชพืช ...................................................................................................................................... 104 ตารางท่ี 2.4.5 งานคุณภาพนำ้ ....................................................................................................................................... 105 ตารางที่ 2.4.6 นวัตกรรมและการเผยแพร ................................................................................................................. 107 ตารางท่ี 2.5.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศ ............................................................................................................... 128 ตารางที่ 2.5.2 การใหบ รกิ ารโครงสรา งพนื้ ฐานระบบคอมพวิ เตอรแ ละเครอื ขา ย ............................................. 131 ตารางท่ี 2.5.3 การส่ือสารโทรคมนาคม......................................................................................................................... 132 ตารางท่ี 2.5.4 อนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร .................................................. 132 ตารางที่ 2.6.1 การกอสราง ............................................................................................................................................. 137 ตารางที่ 2.6.2 การบริหารจัดการน้ำและสงน้ำบำรุงรักษา ...................................................................................... 153 ตารางท่ี 2.6.3 ความปลอดภัยเขื่อน .............................................................................................................................. 155 ตารางที่ 2.6.4 การมีสวนรวมของประชาชน .............................................................................................................. 171 จ

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" สารบญั รปู ภาพ ภาคผนวก ฉ รายชอื่ คณะผูจัดทำคมู ือ .................................................................................................................... 282 รปู ที่ 1-1 Roadmap ยทุ ธศาสตรก รมชลประทาน 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) ................................................ 13 รปู ท่ี 2-1 การเชอ่ื มโยงภาพรวมของหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ งกบั กระบวนงานดา นวางโครงการ ........................ 15 รปู ท่ี 2-2 กระบวนการจดั ทำรายงานเบอื้ งตน (Reconnaissance Report) ........................................................ 17 รปู ท่ี 2-3 กระบวนการจดั ทำรายงานวางโครงการ (Pre-Feasibility Report) .................................................... 19 รูปที่ 2-4 กระบวนการงานสำรวจวางหมุดหลักฐาน ................................................................................................ 38 รปู ที่ 2-5 กระบวนการงานสำรวจทำแผนทภี่ าคพืน้ ดนิ ............................................................................................ 40 รปู ที่ 2-6 กระบวนการสำรวจทำแผนทจี่ ากภาพถา ยและงานภมู สิ ารสนเทศ .................................................... 42 รูปที่ 2-7 กระบวนการงานสำรวจกนั เขตและประสานงานรังวดั .......................................................................... 45 รูปท่ี 2-8 กระบวนการงานสำรวจธรณีวิทยา ............................................................................................................. 46 รูปที่ 2-9 กระบวนการงานสำรวจวิศวกรรมธรณี ...................................................................................................... 47 รูปท่ี 2-10 กระบวนการงานสำรวจปฐพีกลศาสตร ................................................................................................... 49 รูปท่ี 2-11 กระบวนการออกแบบเขอื่ นดนิ ในภาพรวม ............................................................................................. 64 รูปที่ 2-12 กระบวนการออกแบบหัวงานและอาคารประกอบ ................................................................................ 66 รปู ที่ 2-13 กระบวนการออกแบบระบบชลประทานและอาคารประกอบ ............................................................ 68 รูปท่ี 2-14 กระบวนงานงบประมาณและการเบกิ จา ย............................................................................................... 91 รูปที่ 2-15 กระบวนงานโครงการวจิ ยั เพอื่ ขอรบั การสนบั สนุน ............................................................................... 93 รูปที่ 2-16 กระบวนงานโครงการวิจัยการเผยแพรผลงานวิจัยโดยการจัดนิทรรศการ ของสำนักวิจัยและพัฒนา........................................................................................................................... 94 รูปที่ 2-17 กระบวนการตรวจรับตัวอยาง .................................................................................................................... 95 รูปท่ี 2-18 กระบวนการสั่งงาน ...................................................................................................................................... 96 รูปที่ 2-19 กระบวนการจัดทำรายงานผลการทดสอบ ............................................................................................... 97 รูปที่ 2-20 กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร ................................................................................... 110 รูปท่ี 2-21 กระบวนการพัฒนาเว็บไซต ....................................................................................................................... 111 รปู ท่ี 2-22 กระบวนการตดิ ตงั้ ซอ มบำรงุ ระบบคอมพวิ เตอรแ ละเครอื ขา ย ......................................................... 113 ฉ

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department รปู ท่ี 2-23 กระบวนการใหบ ริการระบบ VDO Conference .................................................................................. 115 รปู ท่ี 2-24 กระบวนการออกแบบระบบไฟฟาส่ือสาร .............................................................................................. 116 รปู ท่ี 2-25 กระบวนการขอใชบ รกิ ารระบบจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ สก รมชลประทาน ......................................... 117 รปู ท่ี 2-26 กระบวนการเบกิ จา ยคา ใชจ า ยเกย่ี วกบั โทรศพั ทพ น้ื ฐานของทางราชการ ....................................... 118 รปู ท่ี 2-27 กระบวนการกำหนดรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะครภุ ณั ฑด า นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร ............................................................................................................................................. 119 รปู ท่ี 2-28 กระบวนการจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารดา นดจิ ทิ ลั กรมชลประทาน ........................................................... 120 รปู ท่ี 2-29 ภาพรวมของระบบเครอื ขา ยของกรมชลประทานสว นกลาง .............................................................. 122 รปู ท่ี 2-30 ภาพขยายของการเชอ่ื มโยงระบบเครอื ขา ยของกรมชลประทาน ...................................................... 123 รปู ที่ 2-31 การเชอื่ มโยงระบบเครอื ขา ย MPLS/FTTx ของกรมชลประทานสว นภมู ภิ าค วงจรท่ี 1 ............................................................................................................................................................................ 124 รปู ท่ี 2-32 การเชอ่ื มโยงระบบเครอื ขา ย MPLS/FTTx ของกรมชลประทานสว นภมู ภิ าค วงจรท่ี 2 ............................................................................................................................................................................ 125 รปู ที่ 2-33 ตวั อยา งโครงขา ยระบบวทิ ยคุ มนาคมผา นระบบเครอื ขา ย RID-VPN ............................................... 125 รปู ที่ 2-34 โครงขา ยระบบประชมุ ทางไกลผา นระบบเครอื ขา ย RID-VPN ผา น Applications ....................... 126 รปู ท่ี 2-35 โครงขา ยระบบโทรศพั ทก รมชลประทานสว นกลาง (สามเสน) ......................................................... 126 รปู ที่ 2-36 บทบาทหนา ทห่ี ลกั ของกองสง เสรมิ การมสี ว นรว มของประชาชน .................................................... 170 รปู ท่ี 3-1 ลกั ษณะการจดั เกบ็ ขอ มลู (เดมิ ) ในตารางขอ มลู บนโปรแกรม Microsoft Excel .......................... 180 รปู ที่ 3-2 เครอื่ งมอื วเิ คราะหข อ มลู น้ำเบอื้ งตน และการคำนวณดา นตา งๆ ในโปรแกรม Water Daily Program ....................................................................................................... 180 รปู ท่ี 3-3 หนา ตา งการใชง านโปรแกรมระบบฐานขอ มลู ดา นวศิ วกรรม ............................................................. 184 รปู ท่ี 3-4 ภาพถา ยบรเิ วณเขอ่ื นปอ งกนั ตลงิ่ ฝง ขวา ปตร.คลองลดั โพธิ์ (กอ นดำเนนิ การ) .............................. 186 รปู ท่ี 3-5 รูปแปลนกำแพงปองกนั ตล่ิงฝง ขวา ระบบ Platform............................................................................ 188 รปู ที่ 3-6 รปู ตดั โครงการประตรู ะบายน้ำคลองลดั โพธ์ิ ........................................................................................... 188 รปู ท่ี 3-7 การวเิ คราะหเ สถยี รภาพของตลงิ่ ฝง ขวา (Slope Stability Analysis) ............................................ 188 รปู ที่ 3-8 ภาพถา ยเขอื่ นปอ งกนั ตลงิ่ ฝง ขวา (หลงั ดำเนนิ การแลว เสรจ็ ) ............................................................ 189 รปู ที่ 3-9 การทดสอบความแนน ของฐานรากอาคารหลงั การทำซอยซเี มนต ................................................... 191 ช

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" รปู ที่ 3-10 การทำซอยซเี มนตฐ านรากสภาพพืน้ ท่ีเปน ดินทราย ............................................................................ 191 รปู ท่ี 3-11 การทำซอยซเี มนตแ ละบดอัดซอยซีเมนตก ำแพงขา ง .......................................................................... 192 รปู ที่ 3-12 สระซอยซีเมนต (Soil Cement Pool) ..................................................................................................... 192 รปู ท่ี 3-13 วสั ดอุ ปุ กรณแ ละเครอ่ื งมอื สำหรบั จดั ทำเครอื่ งลำเลยี งผกั ตบชวาและวชั พชื ลอยนำ้ .................... 197 รปู ที่ 3-14 ภาพการใชง านเครอ่ื งลำเลยี งผกั ตบชวาและวชั พชื ลอยนำ้ ................................................................ 197 รปู ท่ี 3-15 แผนทแ่ี สดงจดุ ทีต่ ง้ั และขอบเขตโครงการ .............................................................................................. 199 รปู ท่ี 3-16 ตำแหนงจุดทตี่ ง้ั และลกั ษณะโครงการ ปตร. DR-2.8 .......................................................................... 200 รปู ที่ 3-17 ปตร.DR-2.8 ขนาด 4-[]-6.00x7.00 m .................................................................................................. 200 รปู ที่ 3-18 ลกั ษณะการปรับปรุง ปตร. DR.2.8 ดวย Gate Pump ....................................................................... 201 รปู ท่ี 3-19 โครงการตวั อยา งการตดิ ตง้ั Gate Pumping Station ......................................................................... 202 รปู ท่ี 3-20 ขน้ั ตอนการจดั ทำแผนทผ่ี ใู ชน ้ำระดบั แปลงนา ....................................................................................... 203 รปู ท่ี 3-21 ตวั อยา งการกำหนดรหสั แปลงนา และหมายเลขแปลงนา ................................................................. 204 รปู ท่ี 3-22 ตวั อยา งฐานขอ มลู แปลงนา ของโครงการสง นำ้ และบำรงุ รกั ษาทา โบสถ ....................................... 204 รปู ที่ 3-23 ขนั้ ตอนการรายงานความกา วหนา การเพาะปลกู พชื ในรปู แบบของฐานขอ มลู แปลงนา .............. 205 รปู ท่ี 3-24 การแสดงขอ มลู ผลการเพาะปลกู พชื ใน GIS แปลงนาในรปู แบบ “แผนท”ี่ .................................... 205 รปู ที่ 3-25 การแสดงขอ มลู ผลการเพาะปลกู พชื ใน GIS แปลงนาในรปู แบบ “ตารางขอ มลู ” ......................... 206 รปู ที่ 3-26 แนวคดิ ในการพฒั นาฐานขอ มลู ระดบั แปลงนา สกู ารพฒั นานวตั กรรมเพอื่ การบรหิ ารจดั การ นำ้ ชลประทาน และเพื่อเกษตรกรยุค 4.0 ............................................................................................... 207 รปู ที่ 3-27 ขนั้ ตอนการแจง ขอ มลู ไปเกบ็ ไวเ ปน Big Data สำหรบั การนำขอ มลู ไปใชง านในลกั ษณะตา งๆ..... 207 รปู ท่ี 3-28 การประยกุ ตใ ชข อ มลู จากฐานขอ มลู แปลงนาเพอ่ื ลดตน ทนุ การผลติ ของเกษตรกร ......................... 208 รูปท่ี 3-29 การลงพ้ืนท่ีดูหนางานรวมกับประชาชน ................................................................................................... 210 รปู ที่ 3-30 ราษฎรเห็นดว ยกบั ลักษณะโครงการที่นำเสนอ ....................................................................................... 210 รปู ที่ 3-31 แบบจำลองสามมติ โิ ครงการปรบั ปรงุ ประตรู ะบายน้ำฝายทา กระดาน .............................................. 210 รปู ที่ 3-32 โครงการดำเนนิ การกอ สรา ง ป พ.ศ. 2557 และแลว เสรจ็ ป พ.ศ. 2560 ....................................... 211 รูปที่ 3-33 การทำงานของระบบติดตามสถานการณน้ำ (RIDIMIS) ...................................................................... 212 รูปท่ี 3-34 สรุปการติดตั้งเคร่ืองมือโครงการ RIDIMIS .......................................................................................... 213 รปู ท่ี 3-35 แผนทแ่ี สดงตำแหนง การตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื ในโครงการ RIDIMIS ......................................................... 214 ซ

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department รปู ท่ี 3-36 การใชง านระบบ RIDIMIS ผา นเว็บไซต imis.rid.go.th ...................................................................... 216 รปู ท่ี 3-37 ลกั ษณะแผน QR Code การตดิ ตง้ั ทอ่ี าคารชลประทาน ....................................................................... 218 รปู ท่ี 3-38 การใชงาน IIQ 17 .......................................................................................................................................... 219 รปู ท่ี 3-39 เปรยี บเทยี บลกั ษณะการนำเสนอขอ มลู อาคารชลประทาน .................................................................. 219 รปู ที่ 3-40 ชอ งทางการตดิ ตอ สอ่ื สารกบั โครงการชลประทาน .................................................................................. 220 รปู ที่ 3-41 แสดงการใชง านแผนทนี่ ำทาง ไปยงั โครงการจดั หานำ้ ใหร าษฎรหมทู ่ี 8 (บา นธนศู ลิ ป) ................ 220 รปู ที่ 3-42 การปรบั ปฏทิ ินการเพาะปลกู ป พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ............................................................ 222 รปู ท่ี 3-43 การบรหิ ารจดั การนำ้ ในฤดแู ลง และฤดฝู น ................................................................................................ 223 รปู ที่ 3-44 สถานการณก ารรบั นำ้ เขา ทงุ นาทเี่ กบ็ เกย่ี วแลว ฤดนู าป พ.ศ. 2562 ............................................... 224 รปู ที่ 3-45 แผนผงั การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการกกั เกบ็ น้ำและการระบายนำ้ .......................................................... 227 รปู ท่ี 3-46 แผนทแ่ี สดงลกั ษณะโครงการ ..................................................................................................................... 228 รปู ท่ี 3-47 อาคาร Morning Glory กอ นและหลงั ดำเนนิ การปรบั ปรงุ .................................................................. 229 รปู ท่ี 3-48 งานตดั คอนกรีตอาคาร Morning Glory ดวยโซ (Wire Saw)............................................................... 230 รปู ท่ี 3-49 งานตดั คอนกรตี และเคลอื่ นยา ยแทง คอนกรตี ........................................................................................... 230 รปู ที่ 3-50 งานยกระดับสันอาคาร Morning Glory ................................................................................................... 230 รปู ที่ 3-51 งานไมแบบ ....................................................................................................................................................... 231 รปู ท่ี 3-52 งานปดชอง Morning Glory เพ่ือต้ังแบบ ................................................................................................. 231 รปู ที่ 3-53 งานต้ังแบบและเหล็กเสริม ............................................................................................................................ 231 ฌ

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" บทท่ี 1 บทนำ ยุทธศาสตรกรมชลประทาน 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) จัดทำข้ึนเพื่อขับเคล่ือนตามยุทธศาสตรชาติ และสอดคลองเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยทุ ธศาสตรเ กษตรและสหกรณ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) และยทุ ธศาสตร สำคญั อนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรก รมชลประทาน 20 ป มกี รอบระยะเวลาดำเนนิ การแบง ออก เปน 4 ชว ง สอดคลอ งกบั กรอบยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป โดยในชว งระยะ 5 ปแ รก กรมชลประทานจดั ทำแผน ยทุ ธศาสตรก รมชลประทาน ระยะ 5 ป พ.ศ. 2560 - 2564 โดยตง้ั เปา หมายสกู ารเปน \"องคก รอจั ฉรยิ ะทม่ี งุ สรา ง ความมน่ั คงดา นนำ้ (Water Security) เพอ่ื เพม่ิ คณุ คา การบรกิ าร ภายในป 2579\" ดว ยการกำหนด Roadmap เปา หมายการดำเนนิ งานแตล ะชว งดงั รปู ที่ 1-1 เปน เขม็ ทศิ นำทาง เพอ่ื มงุ สคู วามสำเรจ็ ทส่ี ง ตอ ไปสกู ารพฒั นาระดบั ประเทศใหบ รรลเุ ปา หมาย \"มนั่ คง มงั่ คงั่ ยงั่ ยนื \" ในทส่ี ดุ ในปจ จบุ นั ประเทศไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงในดานตา ง ๆ มากมาย ไมว า จะเปน เศรษฐกจิ สงั คม และ การเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่งการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกท่ีสงผลตอการพัฒนาแหลงน้ำและ การชลประทาน ทำใหท วั่ โลกเกดิ วกิ ฤตการณต า ง ๆ เปน เหตใุ หป ระชากรในประเทศไดร บั ผลกระทบสญู เสยี ในชวี ติ และทรพั ยส นิ เปน อยา งมาก กรมชลประทานเปน หนว ยงานทมี่ ภี ารกจิ ดา นการพฒั นาแหลง นำ้ ของประเทศ ทจี่ ะตอ ง สรางความม่ันคงของน้ำใหกับทุกภาคสวน และมีโครงการชลประทานท่ีผานการพิจารณาวางโครงการ สำรวจ ออกแบบ กอ สรา ง และใชง านมายาวนาน ประกอบกบั มนี ายชา ง และวศิ วกรทมี่ คี วามรู ความสามารถพรอ มท่ี จะถา ยทอดความรจู ากรนุ สรู นุ อยา งมน่ั คงและเขม แขง็ เพอ่ื เปน การสรา งภมู คิ มุ กนั ทด่ี ใี หเ กดิ ขนึ้ กบั บคุ ลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ าน ของกรมชลประทานในปจ จบุ นั ใหส ามารถเพม่ิ พนู ความรจู ากประสบการณแ ละเพอ่ื เปน การเตรยี มความพรอ มทจ่ี ะรบั มอื กบั ความเสยี่ งจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของโลก รวมทงั้ จากการเปลย่ี นแปลงอน่ื ๆ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ใน ยคุ THAILAND 4.0 และสนบั สนนุ Roadmap ของกรมชลประทานตามแผนยทุ ธศาสตร 20 ป ดงั นน้ั สายงานวชิ าการไดต ระหนกั และมองเหน็ ความสำคญั เกย่ี วกบั การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ใหม ี ความเขาใจในการดำเนินงานและเตรียมความพรอมในการดำเนินงานปองกันแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมกับ ภารกจิ ดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน จงึ ไดจ ดั ทำโครงการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร หลกั สตู ร การเตรยี ม ความพรอ มและเพมิ่ พนู ความรู นายชา ง และวศิ วกร ทปี่ ฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นา แหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0 ขนึ้ เพอ่ื ใหค วามรู และสรา งความมน่ั ใจในการปฏบิ ตั งิ านอยา งถกู ตอ ง และยงั่ ยนื ตลอดไป ซ่ึงการสัมมนาหลักสูตรน้ี ไดจัดขึ้นใหสอดคลองกับ Road map \"การพัฒนากรมชลประทานสูองคกรอัจฉริยะ ทม่ี งุ สรา งความมน่ั คงดา นนำ้ พ.ศ.2560-2579 เพอื่ เพมิ่ คณุ คา การบรกิ าร ภายในป พ.ศ.2579\" มวี ตั ถปุ ระสงค การจดั สมั มนา ดงั น้ี 11

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department 1. เพื่อเปนการเสริมสรางความรูงานพัฒนาแหลงน้ำและการชลประทานของกรมชลประทานให นายชา งและวศิ วกรอยา งบรู ณาการของทกุ สายงาน 2. เพ่ือเปนการสนับสนุนใหนายชาง และวิศวกร ไดมีโอกาสเพ่ิมพูนความรูแลกเปล่ียนประสบการณ สามารถนำไปใชใ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งถกู ตอ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. เพอ่ื เปน การจดุ ประกายใหน ายชา ง และวศิ วกรนำความรู ประสบการณ เพอื่ เตรยี มพรอ มรบั มอื กบั ทกุ สถานการณท อี่ าจจะเกดิ ขน้ึ จากผลของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของโลก ไดอ ยา งรวดเรว็ ทนั ตอ สภาวการณ และตอ เนอื่ ง การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ไิ ดจ ดั ทงั้ หมดจำนวน 8 รนุ ครอบคลมุ 17 สำนกั งานชลประทาน ผเู ขา รว มสมั มนา จำนวนทงั้ หมด 376 คน ดำรงตำแหนง นายชา งและวศิ วกรทผี่ า นการปฏบิ ตั งิ านมาแลว ระยะหนง่ึ ทมี่ ปี ระสบการณ เคยประสบปญหาในพ้ืนที่นำมาแบงปนแลกเปล่ียนความรู เทคนิค วิธีการ ประสบการณ และขอควรระวัง เพอื่ หาแนวทาง วธิ กี ารแกไ ขปญ หารว มกนั แบบบรณู าการในทกุ สายงาน โดยโครงการทนี่ ำมาเปน ประเดน็ สมั มนา แลกเปลยี่ นประกอบดว ย โครงการทป่ี ระสบผลสำเรจ็ โครงการทป่ี ระสบอปุ สรรค โครงการเชงิ นวตั กรรม และ การดูงานโครงการในพื้นที่ มีวิทยากรจากสำนักในสายวิชาการรวมในการเสวนา และผูเขารวมสัมมนามาจาก สำนกั งานตา งๆ รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ง สรปุ ไดด งั นี้ ครง้ั ที่ สถานที่ ผเู ขา รว มการประชมุ , (สชป./คน) 1 สชป.1 จ.เชยี งใหม สชป.1 จำนวน 16 คน สชป.2 จำนวน 23 คน 2 สชป.7 จ.อบุ ลราชธานี สชป.7 จำนวน 27 คน สชป.8 จำนวน 25 คน 3 สชป.11 จ.นนทบรุ ี สชป.9 จำนวน 13 คน สชป.10 จำนวน 13 คน และ สชป.11 จำนวน 16 คน 4 โครงการชลประทานสกลนคร สชป.5 จำนวน 23 คน สชป.6 จำนวน 21 คน จ.สกลนคร 5 สชป.13 จ.กาญจนบรุ ี สชป.12 จำนวน 20 คน สชป.13 จำนวน 24 คน 6 สชป.3 จ.พษิ ณโุ ลก สชป.3 จำนวน 29 คน สชป.4 จำนวน 21 คน 7 สชป.14 จ.ประจวบครี ขี นั ธ สชป.14 จำนวน 68 คน 8 สชป.16 จ.สงขลา สชป.15 จำนวน 13 คน สชป.16 จำนวน 14 คน และ สชป.17 จำนวน 10 คน สำหรับคูมือ \"ขอควรระวังในการปฏิบัติงานดานการพัฒนาแหลงนำ้ และการชลประทานในยุค THAILAND 4.0\" ไดจ ดั ทำขนึ้ จากผลการจดั สมั มนาน้ี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใหน ายชา ง และวศิ วกร ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน ดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทานไดใ ชเ ปน คมู อื ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยมกี ารถอดความรแู ละประสบการณ จากโครงการท่ีประสบผลสำเร็จเพื่อเปนแบบอยางในการดำเนินงาน และโครงการที่ประสบอุปสรรคเพ่ือเปน ขอ ควรระวงั ไมใ หเ กดิ การดำเนนิ การในลกั ษณะเดมิ อกี 12

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทานูรปท่ี 1-1 Roadmap ยุทธศาสตรกรมชลประทาน 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ในยคุ THAILAND 4.0\" 13

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department บทท่ี 2 ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านในสายงานวชิ าการ 2.1 การพิจารณาวางโครงการ หนวยงานภายในกรมชลประทานที่มีภารกิจโดยตรงในการพิจารณาวางโครงการ ไดแก สำนักบริหาร โครงการ รับผิดชอบในการวางโครงการขนาดกลางและขนาดใหญ และฝายพิจารณาโครงการ สวนวิศวกรรม สำนกั งานชลประทานที่ 1-17 รบั ผดิ ชอบในการวางโครงการขนาดเลก็ และอนื่ ๆตามทก่ี รมมอบหมายโดยในสว น ของสำนกั บรหิ ารโครงการมหี นา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ตามกฎกระทรวงแบง สว นราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตร และสหกรณ พ.ศ.2557 ดงั น้ี (1) ศกึ ษา วเิ คราะห และวางแผนการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทานในระดบั ลมุ น้ำใหส อดคลอ ง กบั นโยบายและยทุ ธศาสตรข องกรม (2) ดำเนินการศึกษาเพื่อจัดทำรายงานความเหมาะสม ศึกษาผลกระทบตอส่ิงแวดลอมดานตางๆ ผลกระทบทางสขุ ภาพ และผลกระทบดา นอน่ื ๆ ทง้ั ในระดบั ลมุ น้ำ โครงการชลประทาน และโครงการอน่ื ของกรม (3) วเิ คราะห ตดิ ตาม และประเมนิ ผลดา นสง่ิ แวดลอ ม สขุ ภาพ และดา นอน่ื ๆ รวมทงั้ ผลสมั ฤทธขิ์ อง โครงการชลประทาน (4) บรหิ ารโครงการและความรว มมอื ดา นการชลประทานกบั ตา งประเทศ (5) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหนว ยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ งหรอื ทไ่ี ดร บั มอบหมาย พนั ธกจิ ของสำนกั บรหิ ารโครงการประกอบดว ย (1) ดำเนนิ การศกึ ษาเพอื่ จดั ทำรายงานเบอ้ื งตน รายงานวางโครงการ และรายงานความเหมาะสมใน โครงการพฒั นาแหลง นำ้ และบรรเทาอทุ กภยั ทว่ั ประเทศ (2) ติดตามและประเมินผลโครงการชลประทานตางๆ (3) บรหิ ารโครงการเงนิ กู เงนิ ชว ยเหลอื และความรว มมอื ใหเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องสญั ญา และ สอดคลอ งกบั ระเบยี บแบบแผนทางราชการ และดำเนนิ งานทเี่ กย่ี วกบั วเิ ทศสมั พนั ธ (4) เสรมิ สรา งการมสี ว นรว มของประชาชนในทกุ ขนั้ ตอนของการศกึ ษา การศึกษาพิจารณาวางโครงการถือเปนกระบวนงานแรกในการพัฒนาแหลงน้ำของกรมชลประทาน ซึ่งผลการศึกษาจะถูกนำไปใชในกระบวนสำรวจ ออกแบบ กอสราง สงนำ้ และบำรุงงานตอไป ดังรูปท่ี 2-1 แสดงแสดงการเช่ือมโยงภาพรวมของหนวยงานท่ีเก่ียวของกับกระบวนงานดานวางโครงการ วัตถุประสงคของ การศกึ ษาจดั ทำรายงานประเภทตา งๆ มดี งั น้ี 14

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" รปู ที่ 2-1 การเชอื่ มโยงภาพรวมของหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งกบั กระบวนงานดา นวางโครงการ 15

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department 1. รายงานการศกึ ษาพฒั นาระดบั ลมุ น้ำ มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ศกึ ษาศกั ยภาพการพฒั นาของลมุ นำ้ โดยการบรู ณาการทรพั ยากรธรรมชาตใิ นลมุ นำ้ นโยบายภาครฐั และวศิ วกรรม เพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ผลทไี่ ดจ ะเปน แนวทางในการพฒั นาพนื้ ทช่ี ลประทาน และแหลง น้ำ โดยมกี ารกำหนดพน้ื ทค่ี รา วๆทม่ี ศี กั ยภาพในการพฒั นา และรายการโครงการทมี่ ศี กั ยภาพในการพฒั นา เพอื่ นำไปศกึ ษารายละเอยี ดตอ ไป 2.รายงานการศกึ ษาการพฒั นาระดบั โครงการ สามารถแยกเปน ระดบั และประเภทการศกึ ษาไดด งั นี้ 1) รายงานเบื้องตน(Reconnaissance Report : RR) มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการตรวจสอบอยาง รวดเรว็ ถงึ ความเปน ไปไดท างวศิ วกรรมของโครงการตรวจสอบแผนทช่ี น้ั คณุ ภาพลมุ นำ้ แผนทปี่ า ไมป ระกาศพนื้ ที่ ลุมน้ำฯลฯหากโครงการมีความเปนไปได ก็จะกำหนดขอบเขตการสำรวจเพื่อเปนขอมูลใชในการศึกษาข้ันตอไป หากเปน โครงการขนาดเลก็ ทไ่ี มเ ขา ขา ยตอ งศกึ ษาสงิ่ แวดลอ ม หรอื มผี ลกระทบมากนกั อาจจะสามารถนำผลการศกึ ษา ไปสำรวจ ออกแบบและกอสรางไดเลย หากเปนโครงการขนาดใหญหรือขนาดกลางจะตองศึกษาจัดทำรายงาน วางโครงการตอ ไป โดยผงั กระบวนการจดั ทำรายงานเบอ้ื งตน แสดงดงั รปู ที่ 2-2 2) รายงานวางโครงการ(Pre-feasibility Report : PR) รายงานวางโครงการเปน การศกึ ษาโดยละเอยี ด ตอ จากรายงานเบอื้ งตน มวี ตั ถปุ ระสงค 2 ประการขน้ึ อยกู บั ขนาดของโครงการคอื กรณที เ่ี ปน โครงการขนาดกลาง รายงานฉบบั นจี้ ะใชป ระกอบการตดั สนิ ใจดำเนนิ โครงการหากโครงการมคี วามเหมาะสมกจ็ ะจดั เขา แผนเพอื่ ออกแบบ และกอ สรา งหรอื ศกึ ษาทางดา นสงิ่ แวดลอ มตอ ไปหากมคี วามจำเปน กรณที เี่ ปน โครงการขนาดใหญร ายงานฉบบั น้ี จะเปน การการตรวจสอบถงึ ความเปน ไปไดท างดา นวศิ วกรรมของโครงการโดยละเอยี ดรวมทงั้ ตรวจสอบเบอ้ื งตน ถึงความคุมทุนของโครงการหากมีความเหมาะสมก็จะศึกษาโดยละเอียดทุกดานในข้ันรายงานการศึกษาความ เหมาะสมตอ ไป โดยผงั กระบวนการจดั ทำรายงานวางโครงการ แสดงดงั รปู ท่ี 2-3 3) รายงานการศกึ ษาความเหมาะสม(Feasibility Report : FS)เปน รายงานพจิ ารณาวางโครงการโดย การศกึ ษาในขน้ั ความละเอยี ดสงู สดุ โดยพจิ ารณาในทกุ มติ ทิ เี่ กยี่ วขอ งกบั โครงการ เพอื่ เปน ขอ มลู ในการตดั สนิ ใจ ดำเนนิ โครงการ จะดำเนนิ การในโครงการขนาดใหญ หรอื ขนาดกลางทเ่ี ขา ขา ยศกึ ษาดา นสง่ิ แวดลอ มหรอื มผี ลกระทบ ในวงกวา ง ซง่ึ โดยปกตแิ ลว การศกึ ษาจดั ทำรายงานการศกึ ษาความเหมาะสม(Feasibility Report : FS) มกั จะดำเนนิ การโดยการจา งทปี่ รกึ ษาฯ 16

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" รปู ที่ 2-2 กระบวนการจดั ทำรายงานเบอ้ื งตน (Reconnaissance Report) 17

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department รปู ท่ี 2-2 กระบวนการจดั ทำรายงานเบอ้ื งตน (Reconnaissance Report) (ตอ ) 18

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" รปู ที่ 2-3 กระบวนการจดั ทำรายงานวางโครงการ (Pre-Feasibility Report) 19

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department รปู ที่ 2-3 กระบวนการจดั ทำรายงานวางโครงการ (Pre-Feasibility Report) (ตอ ) 20

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" รปู ท่ี 2-3 กระบวนการจดั ทำรายงานวางโครงการ (Pre-Feasibility Report) (ตอ ) 21

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department จากการสมั มนาฯ สามารถสรปุ เปน ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ และปจ จยั แหง ความสำเรจ็ ของงานดา นการพจิ ารณาวางโครงการ แบง ออกเปน 4 ดา น ไดแ ก การวางแผนพฒั นาระดบั ลมุ น้ำ การวาง โครงการประเภทโครงการพัฒนาแหลงนำ้ การวางโครงการประเภทการบรรเทาอุทกภัยและอื่นๆท่ีเก่ียวของกับ การวางโครงการดงั แสดงรายละเอยี ดในตารางตอ ไปน้ี ตารางที่ 2.1.1 การวางแผนพฒั นาระดบั ลมุ น้ำ ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 1. การวางแผนพัฒนาลุมนำ้ ท่ีมี 1) การวางโครงการตอ งพจิ ารณา ควรมีการศึกษาวางแผนพัฒนา การเชอ่ื มโยงทรพั ยากรธรรมชาติ ภาพรวมของลมุ นำ้ และภมู สิ งั คม แหลง น้ำเพอ่ื การชลประทานและ ทั้งลุมนำ้ (ปาไม/นำ้ /ดิน/ฯลฯ) 2) การวางแผนพัฒนาลุมน้ำใน ระบายน้ำในลุมน้ำหลัก ลุมน้ำ นนั้ บางกจิ กรรมในการพฒั นาลมุ ลกั ษณะ Top Down ตอ งระบผุ รู บั ยอย ของจังหวัด เพื่อเปนแผน น้ำไมไ ดร ะบหุ นว ยงานรบั ผดิ ชอบ ผดิ ชอบหลกั และผรู บั ผดิ ชอบรว ม งานของกรม และขอมูลให ผู ทำใหขาดความชัดเจนในการ ท่ีชัดเจน เพ่ือรวมมือกันผลักดัน อำนวยการโครงการชลประทาน ดำเนินงาน เชน การปองกัน โครงการ จงั หวดั ใชป ระสานกบั จงั หวดั อทุ กภยั พน้ื ทช่ี มุ ชน การปรบั ปรงุ ดนิ เปรยี้ ว การฟน ฟปู า ไม เปน ตน 2. 1) การวางแผนพฒั นาลมุ นำ้ บาง 1) ในการวางแผนพัฒนาลุมนำ้ 1) โครงการทมี่ ลี กั ษณะอา งฯ พวง พ้ืนท่ีไมครอบคลุมการพิจารณา ตองพิจารณาศักยภาพอางเก็บนำ้ ควรเสนอใหมีคณะกรรมการ ศักยภาพของอางเก็บน้ำที่เชื่อม เชิงความจุกักเก็บ ปริมาณน้ำทา บริหารจัดการน้ำเปนผูบริหาร โยงกนั เปน ลกั ษณะของอา งฯ พวง และความเปนไปไดในการเชื่อม จดั การนำ้ รว มกบั JMC ของแต 2) การพิจารณาวางโครงการ โยงกนั เปน ระบบอา งฯพวง ละอา งเกบ็ น้ำ ประเภทอา งฯพวง ขาดการมสี ว น 2) การวางโครงการลกั ษณะอา งฯ 2) โครงการประเภทผนั น้ำขา ม รวมและการจัดทำขอตกลงใน พวง ตองคำนวณปริมาณความ ลมุ หรอื ประเภทอา งฯพวง ควร การบรหิ ารจดั การนำ้ โดยเฉพาะ ตองการใชนำ้ ของทุกอางเก็บนำ้ มกี ารทำ MOU กบั ผทู เี่ กย่ี วขอ ง อา งเกบ็ นำ้ ทเ่ี ปน หลกั ในการใหน ำ้ ในปจ จบุ นั และอนาคตอยา งนอ ย ต้ังแตในขั้นตอนการศึกษา และอางเก็บนำ้ ที่รับน้ำจาก 20 ป เพ่ือกำหนดรูปแบบของ โครงการ อา งหลกั โครงการและปริมาณการผันน้ำ 3 ) ก า ร ศึ ก ษ า พิ จ า ร ณ า ว า ง 3) โครงการประเภทผันน้ำขาม ของอา งเกบ็ นำ้ ใหเ หมาะสม รวมทงั้ โครงการประเภทอา งฯพวงหรอื มี ลมุ นำ้ เมอื่ ผา นไประยะเวลาหนง่ึ เพ่ือใชเปนขอมูลในการทำการ การผันนำ้ ควรมีการเก็บสถิติ ประชาชนในลมุ น้ำทใี่ หน ำ้ เรมิ่ ไม มีสวนรวมกับประชาชนที่ใชน้ำ ปรมิ าณน้ำทา ทไ่ี หลเขา อา งฯ และ ตองการใหผ นั น้ำไป ของแตล ะอา งเกบ็ นำ้ ปรมิ าณนำ้ ทผ่ี นั เมอ่ื โครงการได 22

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางท่ี 2.1.1การวางแผนพฒั นาระดบั ลมุ น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 3) การวางโครงการลกั ษณะอา งฯ มีการกอสรางไปแลวระยะหน่ึง พวง ตอ งดำเนนิ การมสี ว นรว มเพอ่ื เพื่อตรวจสอบกับผลการศึกษา จดั ทำขอ ตกลงการบรหิ ารจดั การน้ำ และใชปรับปรุงประสิทธิภาพ ต้ังแตในขั้นตอนการวางโครงการ โครงการตอ ไป และตอ งทบทวนขอ ตกลงตามเวลา ทเ่ี หมาะสม เชน ทกุ ๆ 5 ป 4) โครงการประเภทผันน้ำขาม ลุมนำ้ การศึกษาตองพิจารณา ความตองการน้ำของแตละลุมน้ำ ใหครบถวน ทั้งในกรณีความตอง การใชน้ำในปจจุบันและอนาคต ปจ จยั แหง ความสำเรจ็ โครงการประเภทผนั น้ำขา มลมุ นำ้ หรอื ประเภทอา งฯพวง มกี ารจดั ทำ MOU ระหวา งประชาชนของพน้ื ท่ี ดา นใหน ้ำ และดา นพนื้ ทรี่ บั น้ำ เพอ่ื ใหเ กดิ การยอมรบั ในการบรหิ ารจดั การน้ำ 3. ขาดการทบทวนการศึกษาวาง การศึกษาแผนพัฒนาในระดับ แผนพัฒนาลุมนำ้ ในเวลาที่ ลุมน้ำ เม่ือผานไประยะเวลาหน่ึง เหมาะสม ทำใหโครงการที่วาง (5-10 ป) ตองมีการทบทวนการ แผนไวท่ีมีความเชื่อมโยงกันใน ศึกษาตามสภาพการเปล่ียนแปลง การบรหิ ารจดั การน้ำไมส ามารถ การใชที่ดิน ความตองการใชนำ้ ดำ เ นิ น ก า ร ไ ด อ ย า ง เ ต็ ม และสภาพแวดลอ มทเ่ี ปลย่ี นไป ซงึ่ ประสทิ ธภิ าพเชน อา งเกบ็ น้ำบาง อาจจะมี Project List ใหมๆ หรอื แหง ถกู ยกเลกิ การกอ สรา ง ทำให มผี ลตอ การเปลยี่ นแปลงขนาดของ อาคารระบายนำ้ ทเี่ คยวางแผนไว โครงการทเี่ คยวางแผนไว หรอื การ ไมสามารถระบายนำ้ ไดอยาง ยกเลกิ โครงการทเี่ คยวางแผนไว เพยี งพอ 23

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 1. 1) การศึกษาวางโครงการที่มี 1) การพจิ ารณาน้ำตน ทนุ ทไ่ี หลลงสอู า ง 1) ควรระบุในผลการศึกษา วางโครงการ ถงึ ปรมิ าณความ ลกั ษณะเปน เขตเงาฝน ขาดการ เกบ็ นำ้ ตอ งคดั เลอื กสถานนี ำ้ ฝน/น้ำทา ตอ งการใชน ำ้ ทนี่ ำไปใชใ นแต ละดานใหชัดเจน และใน พจิ ารณาสภาพภมู ปิ ระเทศในพน้ื ที่ ของพ้ืนท่ีรับน้ำท่ีแทจริงมาคำนวณ ภาวะวิกฤต หากตองนำนำ้ จากกิจกรรมการเกษตรไปใช ถกู ตอ ง ทำใหก ารพจิ ารณาเลอื ก (เชน อา งเกบ็ นำ้ ทม่ี พี นื้ ทร่ี บั นำ้ อยหู นา ในกจิ การอน่ื ๆ ควรมมี าตรการ เยียวยาใหแกเกษตรกรใน สถานีวัดน้ำฝนคลาดเคล่ือนได เขา จะไมเ ลอื กสถานที อี่ ยหู ลงั เขามา ลกั ษณะ Win-Win 2) การพจิ ารณาวางโครงการ และมผี ลตอ การวเิ คราะหป รมิ าณ คำนวณ) หรอื หากไมม สี ถานี ตอ งเลอื ก ชลประทานขนาดเล็กควร แสดงแผนท่ีเสี่ยงภัย Dam น้ำฝนรวมทง้ั น้ำทา ของโครงการ สถานนี ้ำทา ทมี่ ลี กั ษณะอทุ กวทิ ยาของ break ดว ย 3) ควรพิจารณาจัดตั้งงบ 2) โครงการอา งเกบ็ น้ำมปี รมิ าณ ลมุ น้ำทคี่ ลา ยคลงึ กนั มาเปน ตวั แทน ประมาณในการดำเนินการ ทำแผนทเ่ี สย่ี งภยั ไวด ว ย น้ำทา ไหลเขา อา งเฉลย่ี รายป เทา 2) การศกึ ษาวางโครงการ หากมอบหมาย 4) การศกึ ษาวางโครงการควร คำนึงถึงการระบายน้ำของ กบั ความจกุ กั เกบ็ ของอา งเกบ็ น้ำ ใหส ำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา อาคาร / อา งฯ ทอ่ี ยดู า นเหนอื น้ำทมี่ ผี ลตอ โครงการดา นทา ย และเทากับความตองการใชน้ำ วเิ คราะหส มดลุ นำ้ ตอ งกำหนดเกณฑก าร น้ำดวย ดา นตา งๆ ทำใหก ารใชน ้ำจากอา ง นบั การขาดแคลนน้ำ (Shortage)ใหผ ู เก็บนำ้ ชวงระดับนำ้ ต่ำๆจะมี วิเคราะหทราบ และแสดงผลการ ปญหาดานคุณภาพนำ้ ได วิเคราะหรายเดือนตลอดชวงเวลาท่ี 3) อางเก็บน้ำขนาดเล็ก ขนาด วเิ คราะหไ วใ นรายงาน เพอ่ื ใชป ระกอบ กลาง ทอี่ อกแบบโดยใชร อบการ การบรหิ ารจดั การอา งเกบ็ นำ้ ตอ ไป เกดิ ซำ้ ท่ี 25 - 500 ป ไมส ามารถ 3) การศกึ ษาพฤตกิ รรมน้ำหลากในขนั้ รองรับการระบายน้ำไดอยาง ตอนวางโครงการตอ งไมน อ ยกวา รอบ ปลอดภัยในปจจุบัน เน่ืองจาก การเกดิ ทกี่ ำหนดหรอื สถติ สิ งู สดุ ทเ่ี คย สภาพภมู อิ ากาศและสภาวะแวด เกิดขึ้นในพ้ืนที่ใกลเคียง หรือศึกษา ลอ มทเี่ ปลย่ี นแปลง เกยี่ วกบั ความเสยี หายทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอ 4) โครงการใหม การศกึ ษาวาง ชวี ติ และทรพั ยส นิ หากเกดิ เขอ่ื นพบิ ตั ิ โครงการไมไ ดเ ผอื่ การระบาย เพอื่ หรือในกรณีท่ีมีการระบายน้ำใน การพรอ งนำ้ ปรมิ าณมาก 4) การกำหนดขนาดโครงการประเภท อา งเกบ็ น้ำ ตอ งคำนงึ ถงึ ปรมิ าณนำ้ ทา ทไี่ หลผา น โครงการไมค วรมสี ดั สว น ของความจเุ กบ็ กกั / ปรมิ าณ Inflow นอ ยเกนิ ไป แตห ากหลกี เลยี่ งไมไ ดต อ ง มีคูมือการบริหารจัดการน้ำที่ครอบ คลมุ ทกุ สถานการณใ หผ บู รหิ ารจดั การ เข่ือนไวใชงาน 24

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางที่ 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 5) การวางโครงการประเภทอา งเกบ็ นำ้ ที่มีความจุกักเก็บน้ำนอยกวานำ้ ทา การพจิ ารณาวางโครงการทอ่ี ยู เฉล่ีย นอกจากพิจารณาความคุมคา ใกลเคียงพื้นท่ีอนุรักษ เชน ทางเศรษฐศาสตร ยังตองคำนึงถึง ปาอนุรักษโซน c หรือช้ัน ขนาด Outlet เพื่อชวยพรองน้ำใน คณุ ภาพลมุ น้ำชนั้ 1A หากไม กรณเี กดิ น้ำหลากรอบปก ารเกดิ ซ้ำสงู แนใ จตอ งทำหนงั สอื โดยแนบ และโอกาสการเกดิ Submerge flow รายละเอยี ดของโครงการ ให ของอาคารทางระบายน้ำลนทำให สว นสงิ่ แวดลอ ม สำนกั บรหิ าร ปริมาณนำ้ ไหลผานสันฝายจะลดลง โครงการทำการตรวจสอบให 6)โครงการใหม ตองศึกษาวาง แนชัด โครงการใหพิจารณาการระบายน้ำ Outlet รองรับในกรณีการพรองน้ำ (โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการพรอ ง น้ำของอา งเกบ็ นำ้ ขนาดเลก็ ) 2. การพจิ ารณาวางโครงการเฉพาะ การพจิ ารณาวางโครงการชลประทาน จดุ อาจสง ผลใหโ ครงการอน่ื ๆ ใน ขนาดเลก็ ควรพจิ ารณาผลกระทบของ พน้ื ทเี่ กดิ ปญ หา เชน ผลกระทบ โครงการทอ่ี ยใู นพนื้ ทท่ี มี่ อี ยเู ดมิ ทงั้ ทาง โครงการดานทายน้ำ ท่ีทำให ดา นเหนอื น้ำ และดา นทา ยน้ำวา จะได ระบบประปาขาดแคลนนำ้ ตน ทนุ รบั ผลกระทบหรอื ไม 3. การพิจารณาวางโครงการใน 1) การพจิ ารณาวางโครงการชลประทาน พ้ืนท่ีปาอนุรักษ พื้นท่ีปาสงวน ทใ่ี ชพ น้ื ทป่ี า อนรุ กั ษ (โซน c) ต่ำกวา พื้นท่ีอุทยาน ฯลฯตองพิจารณา 50 ไร ตอ งจดั ทำบญั ชสี งิ่ แวดลอ ม (EC) จากขอมูลที่เปนปจจุบันรวมกับ หากมากกวา 50 ไร แตไ มเ กนิ 500 ไร กฎหมายทบ่ี งั คบั ใชฉ บบั ลา สดุ ตอ งศกึ ษาผลกระทบสง่ิ แวดลอ มเบอ้ื งตน (IEE) หากมากกวา 500 ไร ตองมี การศกึ ษาประเมนิ ผลกระทบสง่ิ แวดลอ ม (EIA) ดว ย 2) การพจิ ารณาวางโครงการใกลพ น้ื ทป่ี า ชนั้ คณุ ภาพ 1A ตอ งมกี ารศกึ ษาประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอม (EIA) ควรมี คำแนะนำในการกอ สรา งใหม คี วามระมดั ระวงั ในการใชพ นื้ ทอ่ี ยา งเขม งวด 25

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางที่ 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 3) การพิจารณาความเหมาะสม เบื้องตนตองติดตอประสานงานจาก หนวยงานท่ีเกี่ยวของในพ้ืนท่ีปา เน่ืองจากขอบเขตพื้นที่ปา แนบทาย พระราชกฤษฏีกาหรือกฏกระทรวง ข อ ง แ ต ล ะ ห น ว ย ง า น จ ะ มี ค ว า ม คลาดเคลื่อนกันอยูในทางปฏิบัติ 4. 1) กระบวนการตงั้ แตม พี ระราช โครงการท่ีทิ้งระยะเวลาการศึกษาไว ดำริ การศกึ ษา EIA การสำรวจ นาน ตอ งมกี ารทบทวนความตอ งการ การออกแบบ และการกอ สรา ง ทงิ้ ของโครงการ สภาพการใชพื้นท่ีที่ ชว งเวลาไวน านเกนิ ไป จนทำให เปล่ียนแปลงไป สภาพแวดลอมและความตอง การโครงการเปลย่ี นไป 2) การศกึ ษาทบทวนโครงการบาง คร้ังใชผลการศึกษาเดิม ทำให ขาดการเปรยี บเทยี บกรณมี /ี ไมม ี โครงการ ทางเลือกรูปแบบการ พฒั นา โดยใชข อ มลู ปจ จบุ นั 5. ในการพจิ ารณาวางโครงการ ไม 1)หลีกเล่ียงการใชวัสดุถมบดอัดตัว สามารถหาแหลงวัสดุกอสรางที่ เขอื่ นทเ่ี ปน Dispersive clay ถา เลยี่ ง เหมาะสมในพื้นที่กอสรางและ ไมไดตองมีขอเสนอแนะในการปรับ พน้ื ทใี่ กลเ คยี งได จงึ ตอ งใชว สั ดุ ปรุงวัสดุถมตัวเขื่อนเปนกรณีพิเศษ ถมตัวเข่ือนท่ีเปนประเภท Dis- โดยมกี ารศกึ ษาเทคนคิ ใหมๆ ในการ persive Clay ที่พบอยูในพื้นท่ี ปรบั ปรงุ วสั ดถุ มตวั เขอื่ นรวมทงั้ วธิ กี าร โครงการนั้น ดแู ลบำรงุ รกั ษา 2) ตอ งศกึ ษาทางเลอื กในการใชว สั ดุ ถมตัวเข่ือนท่ีหลากหลายและเปรียบ เทียบความคุมทุนความยากงายใน การบำรุงรักษาและผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ทั้งขณะที่กอสรางและ หลงั กอ สรา ง 26

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางที่ 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 1) การวางโครงการควร 6. 1) อา งเกบ็ นำ้ เกดิ การรว่ั ซมึ ไม การพิจารณาวางโครงการฯ บริเวณ พิจารณาการกักเก็บนำ้ ของ แหลงน้ำที่อยูใกลเคียงกับ สามารถกักเก็บนำ้ ไดตามวัตถุ รอยเลอ่ื นใหใ ชแ ผนทเี่ สย่ี งภยั ของกรม พนื้ ทว่ี า มกี ารรวั่ ซมึ สงู หรอื ไม เ พ่ื อ เ ป น ข อ เ ส น อ แ น ะ ใ ห ประสงค ทรัพยากรธรณีมาใชประกอบในการ หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งพจิ ารณา ตอ ไป 2) การเปด หนา ดนิ เพอ่ื การปรบั พจิ ารณาดว ย 2) การเสนอปรับทัศนีย ภาพบรเิ วณหวั งาน ควรมกี าร ปรงุ ภมู ทิ ศั น อาจเปน สาเหตทุ ำให วเิ คราะหผ ลกระทบตอ เสถยี ร ภาพของเข่ือนการเสนอปรับ เกดิ การรวั่ ซมึ ของนำ้ จากอา งเกบ็ ทัศนียภาพบริเวณหัวงาน ควรมกี ารวเิ คราะหผ ลกระทบ นำ้ ได ตอ เสถยี รภาพของเขอื่ น 3) หลกี เลย่ี งการปรบั ภมู ทิ ศั น 3) ขอมูลการพิจารณาวางโครง บรเิ วณลาดไหลเ ขา เพราะอาจ สงผลกระทบตอเสถียรภาพ ประเภทอา งเกบ็ น้ำไมเ พยี งพอทำ ของลาดไหลเ ขาได 4) ในการศึกษา หากพบวา ใหบ รเิ วณ Abutment ทมี่ สี ภาพ บรเิ วณ Abutment เปน หนิ ปนู ควรมกี ารเจาะสำรวจธรณใี ห เปน หนิ ปนู เกดิ การรวั่ ซมึ ครอบคลุมกับการพิจารณา การรว่ั ซมึ ของนำ้ ออกจากอา งฯ 4) การปอ งกนั การเคลอื่ นตวั ของ และควรเสนอใหต ดิ ตง้ั เครอื่ ง มอื วดั การรว่ั ซมึ ใหค รอบคลมุ ล า ด ไ ห ล เ ข า ด ว ย วิ ธี ก า ร ทำ จดุ เสย่ี งทง้ั หมด 5) ควรหลกี เลย่ี งการปรบั ภมู ิ Shotcrete พบวา คอนกรตี เกดิ ทศั นท ตี่ อ งมกี ารเปด หนา ดนิ ท่ี จะมีผลทำใหเกิดการรั่วซึม ปญหาการแตกราวและการ ของน้ำจากอางเก็บนำ้ และ ควรพิจารณาตั้งแตขั้นตอน เคลอ่ื นตวั ของลาดไหลเ ขาเขา หา การวางโครงการ ตัวเข่ือนซ่ึงอาจสงผลกระทบกับ เสถยี รภาพของเขอ่ื น(Concrete Face Rockfill Dam :CFRD) 27

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง นำ้ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ ควรพิจารณาสาเหตุของการ 7. การพิจารณาวางโครงการ การศกึ ษาวางโครงการประเภทอาคาร ชำรุดของถุงฝายยาง เพ่ือ ประกอบการพิจารณาเลือก ประเภทอาคารทดนำ้ ทก่ี อ สรา งใน ทดน้ำในลำน้ำขนาดใหญ ตองมีการ ประเภทและรปู แบบอาคารท่ี เหมาะสม ลำนำ้ ขนาดใหญ โดยเฉพาะ พจิ ารณาเปรยี บเทยี บขอ ด-ี ขอ เสยี ของ ควรขยายผลการนำนวตั กรรม ประเภทฝายทดนำ้ ทเ่ี ปน ฝายยาง ทางเลอื กอาคารประเภทตา ง ๆ (ฝาย Gate Pump มาใชใ นพน้ื ที่ ในพนื้ ทภี่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื แขง็ ฝายพบั ได ฝายยาง ปตร. ฯลฯ) ที่มีขอจำกัด ในการกอสราง สถานีสูบนำ้ บริเวณประตู จะมีปญหาในการใชงานมาก เพอื่ ใหไ ดป ระเภทและรปู แบบอาคารที่ ระบายนำ้ แตท้ังนี้จะตอง ศึกษาความเหมาะสมในการ เชน ตะกอนหนาฝาย อายุการ เหมาะสม และตองดำเนินการดาน นำ Gate Pump มาใชง าน ใชงานของตัวยางสั้น คาใช การมีสวนรวมเพ่ือใหเกิดการยอมรับ จายในการซอมแซมสูง และ ตอ งมกี ารระบรุ ายละเอยี ดของกจิ กรรม ประสิทธิภาพลดลงหลังการ ในคาใชจายดานบำรุงรักษาไวใน ซอ มแซม ฯลฯ รายงานการศกึ ษาดว ย 8. ขอมูลทางวิศวกรรมประกอบใน การศกึ ษาวางโครงการประเภทประตู ขั้นตอนการศึกษาวางโครงการ ระบายนำ้ ในลำนำ้ ขนาดใหญ ตอง ชลประทานประเภทประตรู ะบาย พจิ ารณาขอ มลู ทเี่ กย่ี วขอ งทงั้ หมด เชน น้ำไมเ พยี งพอ อาจสง ผลใหเ กดิ ขอ มลู ดา นอทุ กวทิ ยา ดา นการสำรวจ ความเสยี หายตอ โครงการ ภมู ปิ ระเทศ การสำรวจหนา ตดั ลำนำ้ และธรณปี ฐพวี ทิ ยา เปน ตน เพอื่ กำหนด ขนาดและระดบั อาคารใหเ หมาะสมกบั สภาพพ้ืนท่ี โดยการกำหนดความ สามารถในการระบายน้ำของตวั อาคาร ตอ งไมน อ ยกวา รอบปก ารเกดิ ซำ้ ทก่ี ำหนด (Return Period) หรอื ความสามารถใน การระบายน้ำของลำน้ำ 9. การวางโครงการมีขอจำกัดดาน พนื้ ทใ่ี นการกอ สรา งสถานสี บู นำ้ เพมิ่ เตมิ บรเิ วณประตรู ะบายน้ำ 28

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง นำ้ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 10. ขน้ั ตอนการวางโครงการ ขาดการ ข้ันตอนการวางโครงการ ตองมีการ ดำเนินการดานการมีสวนรวม ดำเนินการดานการมีสวนรวมอยาง อยางรอบคอบตามภมู ิสงั คมโดย รอบคอบตามภูมิสังคมโดยเฉพาะ เฉพาะลักษณะการใชนำ้ ท่ีแตก ลกั ษณะการใชน ้ำทแี่ ตกตา งกนั เชน ตา งกนั เชน เกษตรกรรมน้ำจดื เกษตรกรรมน้ำจดื น้ำกรอ ย น้ำเคม็ เพอ่ื นำ้ กรอ ย นำ้ เคม็ กอ ใหเ กดิ ความ ไมใ หเ กดิ ความขดั แยง ระหวา งเกษตรกร ขดั แยง ระหวา งเกษตรกรดว ยกนั ดว ยกนั วางแผนการบรหิ ารจดั การนำ้ ระบบนเิ วศนว ทิ ยาและการเพาะ และการเปด-ปดอาคารประกอบเพ่ือ เล้ียงสัตวน้ำไดร บั ความเสียหาย รกั ษาระบบนเิ วศนว ทิ ยาและการเพาะ รวมถึงตล่ิงทรุด จากการเกิด เลย้ี งสตั วน ำ้ ไมใ หไ ดร บั ความเสยี หาย เปด - ปด ประตู รวมถงึ ปอ งกนั มใิ หต ลง่ิ ทรดุ 11. การวเิ คราะหด า นเศรษฐศาสตร ในการวิเคราะหดานเศรษฐศาสตร เรื่องงบประมาณการสงนำ้ และ เรอื่ งงบประมาณการสง นำ้ และบำรงุ บำรุงรักษา ไมมีการระบุราย รกั ษา ตอ งระบรุ ายละเอยี ดกจิ กรรมที่ ล ะ เ อี ย ด กิ จ ก ร ร ม ท่ี จำ เ ป น จำเปน ใหสอดคลองกับลักษณะ โครงการจึงไมสามารถดำเนิน เฉพาะของโครงการไวด ว ย (เชน เขอื่ น การใหสอดคลองกับลักษณะ ทใี่ ชว สั ดเุ ปน Dispersive clay ตอ ง เฉพาะของโครงการได ไมใ หต น ไมใ หญข นึ้ ลาดเขอื่ น การบำรงุ รกั ษาอปุ กรณต รวจวดั พฤตกิ รรมเขอื่ น เปนตน) 12. 1) การวางแนวคลอง ทม่ี ที ศิ ทาง 1) ในการศึกษาวางโครงการตอง ตัดกับการไหลของน้ำใตดินหรือ ทบทวนประวัติทิศทางการไหลของ ทางนำ้ เดิม ทำใหลาดคลอง ทางนำ้ และน้ำใตด นิ หากจำเปน ตอ ง (Side slope) ดาดคอนกรตี เกดิ วางแนวคลองตดั ทศิ ทางการไหลของ พงั ทลายเสยี หายได นำ้ ตอ งมมี าตรการทเี่ หมาะสมในการ 2) การวางโครงการประเภท ลด Pressure นำ้ กอนไหลลงคลอง ปรบั ปรงุ ขยายคลองลดั ทำใหเ กดิ เชน ทำ Gabion และ Intercept การกัดเซาะตล่ิง เนื่องจากการ Drain เปน ตน เปลี่ยนทิศทางการไหลของน้ำ 2) การวางโครงการประเภทชอ งลดั รวมทั้งมีการกอสรางในบริเวณ กระเพาะหมู ตอ งพจิ ารณา Inlet-Outlet ใกลเคียง transition ใหสอดคลองกับโคงน้ำ 29

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 3) การวางโครงการถนนบนคนั การวางโครงการทมี่ ถี นนบนคนั คลอง 1) โครงการท่ีกอสรางเสร็จ แลว บางโครงการ ไมม ผี ลการ คลองทม่ี ฐี านรากเปน ดนิ ออ น อาจ ควรมีการระบุน้ำหนักบรรทุกไวใน ศกึ ษา ควรใหม กี ารสำรวจจดั ทำโคงความจุ-ระดับ-พื้นท่ี เกดิ การทรดุ ตวั ของถนน เนอ่ื งจาก รายงานดว ยเพอื่ เปน ขอ มลู ในขนั้ ตอน อาง และใชขอมูลที่เก็บรวบ รวมไดในระหวางการบริหาร การลดระดบั น้ำในคลองเรว็ เกนิ ไป ตอ ไป จดั การมาวเิ คราะหป รมิ าณนำ้ ไมม นี ้ำนอนคลอง หรอื เปลย่ี นแปลง ตนทุน สมดุลน้ำ เพ่ือใชใน การบริหารจัดการน้ำใหมี วตั ถปุ ระสงคก ารใชง านถนน ประสทิ ธภิ าพ 2) ควรมกี ารจดั ทำฐานขอ มลู 13. 1) การบรหิ ารโครงการ (Project 1) ในการรบั มอบโครงการ คณะกรรมการ ประวัติโครงการ ต้ังแตการ วางโครงการ ออกแบบ กอ Management) ขาดการประเมนิ ควรมกี ารตรวจสอบรายการทต่ี อ งสง มอบ สรา ง และการซอ มแซม เพอื่ ใหก ารบรหิ ารจดั การเขอื่ นเกดิ โครงการทดี่ ำเนนิ การแลว วา เปน ใหค รบถว น เชน รายงานการศกึ ษา ความปลอดภัย เชน การ ทำแฟมประวัติ (หน่ึงแฟม ไปตามผลการศกึ ษาหรอื ไม เพอ่ื แบบรายละเอยี ด แบบกอ สรา ง เปน ตน หนง่ึ โครงการ) จากการบนั ทกึ ขอมูล หรือการถอดความรู ปรับปรุงโครงการหลังการกอ 2) ในการศกึ ษาวางโครงการตอ งมกี าร บุคลากร ตั้งแตขั้นตอนการ เตรียมความพรอม ขั้นตอน สรา ง/บรหิ ารจดั การไปแลว ระยะ จัดทำคูมือในการบริหารจัดการเขื่อน การกอสราง และขั้นตอน บำรุงรักษา รวมท้ังการปรับ หนึ่ง แตละตัวใหเกิดความปลอดภัย ปรงุ แกไ ขแบบในระหวา งการ ประกนั สญั ญากอ สรา ง 2) โครงการทกี่ อ สรา งเสรจ็ แลว 3) ควรมกี ารจดั ทำฐานขอ มลู ประวตั ิ บางโครงการ ไมม รี ายงานผลการ โครงการ ตงั้ แตก ารวางโครงการ ออก ศกึ ษา ทำใหข าดขอ มลู สนบั สนนุ แบบ กอ สรา ง และการซอ มแซม เพอื่ ในการบริหารจัดการนำ้ อยางมี ใหการบริหารจัดการเขื่อนเกิดความ ประสทิ ธภิ าพ ปลอดภัย เชน การทำแฟมประวัติ 3) ในการศกึ ษาวางโครงการ ใน (หนึ่งแฟมหน่ึงโครงการ) จากการ กรณีท่ีไมมีการจัดทำคูมือในการ บันทึกขอมูล หรือการถอดความรู บรหิ ารจดั การเขอ่ื น อาจทำใหข นั้ บุคลากร ตั้งแตขั้นตอนการเตรียม ตอนการสง นำ้ และบำรงุ รกั ษาไม ความพรอ ม ขน้ั ตอนการกอ สรา ง และ เปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคท ว่ี างไว ขน้ั ตอนบำรงุ รกั ษา รวมทง้ั การปรบั ปรงุ แกไขแบบในระหวางการประกัน สญั ญากอ สรา ง 30

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางท่ี 2.1.2 การวางโครงการประเภทโครงการพฒั นาแหลง น้ำ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 14. 1) โครงการประเภทเพมิ่ ความจกุ กั 1) ตอ งจดั ทำเกณฑพ จิ ารณาโครงการ ในการศึกษา Dam break ควรพจิ ารณาเสนอการตดิ ตงั้ เกบ็ นำ้ ยงั ไมม เี กณฑก ารพจิ ารณา ประเภทการเพ่ิมความจุกักเก็บ เครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน พรอ มระบบออนไลนม าทส่ี ว น ความเหมาะสมท่ีชัดเจน จึงไม เชน อายเุ ขอื่ น ความมน่ั คง สดั สว น กลางดว ย สามารถสนองนโยบายกรมได Inflow/ความจุกักเก็บ และประเภท อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ฐานราก เปน ตน 2) การศกึ ษาวางโครงการในการ 2) การศกึ ษาวางโครงการในการปรบั ปรับปรุงเพิ่มความจุกักเก็บของ ปรงุ เพม่ิ ความจเุ กบ็ กกั ของอา งเกบ็ น้ำ อา งเกบ็ น้ำใหน ำ้ หนกั ในเรอ่ื งของ ตอ งเปรยี บเทยี บขอ ด-ี ขอ เสยี ของทาง ร ะ ย ะ เ ว ล า ก อ ส ร า ง ท่ี จ ะ มี เลอื กใหร อบดา น เชน ผลกระทบใน ผลกระทบกบั การสง น้ำนอ ยไปใน การใชน ำ้ ของเกษตรกร การระเบดิ หนิ การพจิ ารณาทางเลอื ก บริเวณใกลตัวเข่ือน ระยะเวลา กอ สรา ง ผวู างโครงการตอ งวางแผน บรหิ ารจดั การนำ้ ในอา งฯ ระหวา งการ กอ สรา งอยา งรอบคอบ รวมทง้ั คน หา เทคนิควิธีการกอสรางท่ีเหมาะสม เชน เทคนิคการตัดคอนกรีตดวยโซ (Wire Saws) เปน ตน 15. 1) โครงการเดมิ อาคารเดมิ ชำรดุ 1) โครงการเดิม ตองศึกษาเพ่ิม และไมส ามารถระบายนำ้ ประสิทธิภาพการระบายน้ำในอางฯ 2) ขาดแผนการบรหิ ารจดั การนำ้ โดยเฉพาะอา งทม่ี คี วามจนุ อ ยกวา น้ำ ในสภาวะฉุกเฉิน (Emergency ทารายปมาก ๆ (โครงการเพ่ิม Action Plan: EAP) ประสทิ ธภิ าพการพรอ งน้ำของอา งเกบ็ นำ้ ขนาดเล็ก) 2) ตอ งศกึ ษาจดั ลำดบั ความเสยี่ งของ เขื่อนตาง ๆ เพ่ือปรับปรุงและจัด ทำแผน EAP 31

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางที่ 2.1.3 การวางโครงการประเภทบรรเทาอทุ กภยั ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 1. การวางโครงการบรรเทาอทุ กภยั ทม่ี ี หลักการวางโครงการตองพิจารณา 1) กรณีมีการขอใชพื้นที่ ลกั ษณะการการผนั น้ำจากทหี่ นง่ึ ไป การแกไ ขปญ หาแบบองคร วมและใหผ ู เอกชนในการระบายน้ำ ควร อกี ทหี่ นง่ึ หากพจิ ารณาไมร อบครอบ เก่ียวของไดรับประโยชนในลักษณะ กำหนดขอตกลงในลักษณะ อาจเปน การยา ยปญ หาและไมเ ปน ที่ win-win Win-Win ยอมรบั ของผมู สี ว นเกย่ี วขอ งได 2)การวางแนวคลองใน บริเวณที่เปนมีฐานรากเปน 2. 1) ปญ หาอทุ กภยั สว นหนงึ่ มกั เกดิ 1)การวางโครงการประเภทบรรเทา ดินออน ควรวิเคราะหความ คมุ ทนุ ของโครงการ กรณอี อก จากการรุกลำ้ ลำนำ้ ธรรมชาติ อทุ กภยั ตอ งพจิ ารณาความสามารถ แบบคลองโดยไมมีน้ำนอน คลองไวด ว ย เพอื่ ประกอบการ ทำใหค วามสามารถในการระบาย เดมิ ของลำน้ำเดมิ เปน ลำดบั แรก กอ น ตัดสินใจตอไป 3) การวางแนวคลองใกลเ คยี ง น้ำลดลง ทจี่ ะเสนอใหม กี ารขดุ คลองระบายนำ้ บริเวณท่ีมีสภาพการใชที่ดิน เปน สระนำ้ หรอื บอ เลย้ี งปลา 2) การวางโครงการบรรเทาอทุ กภยั ใหมเพิ่มเติม อาจมีผลทำใหเกิดแรงดันนำ้ จากสระนำ้ หรือบอเลี่ยงปลา ทตี่ อ งมคี ลองระบายนำ้ ขนาดใหญ 2) หนว ยงานฝา ยปกครองตอ งเปน หนว ย ซ่ึงสงผลใหคลองเสียหายได ควรพจิ ารณาการปรบั ปรงุ ลาด มักเกิดผลกระทบกับท่ีดินของ งานหลกั ในการบรู ณาการกบั หนว ยงานท่ี ตลง่ิ ใหเ หมาะสม 4) ควรมีการทำแบบจำลอง ราษฎรสงู เกย่ี วขอ ง เพอ่ื รกั ษาความสามารถในการ คณิตศาสตร 3 มิติของการ ระบายนำ้ จากคลองลงสทู ะเล 3) โครงการประเภทประตรู ะบายน้ำ ระบายน้ำของแมน ำ้ ธรรมชาติไมใ หม กี าร เพื่อแสดงผลกระทบตางๆ และสามารถนำไปใชสราง ปอ งกนั นำ้ เคม็ รกุ ตวั เกดิ ปญ หา รกุ ล้ำลำนำ้ หรอื แกไ ขปญ หาการรกุ ล้ำ ความเขา ใจกบั ประชาชนและ หนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง ระดับน้ำยกตัวในกรณีที่ปดบาน กอ นทจ่ี ะใชท ดี่ นิ ของประชาชนเพอื่ ขดุ สนทิ คลองระบายน้ำใหม 4) การระบายนำ้ จืดจากคลอง 3) การวางโครงการรูปแบบคลอง ระบายนำ้ ในปรมิ าณมากลงสทู ะเล ระบายนำ้ ขนาดใหญ จะตอ งพจิ ารณา อาจกระทบระบบนิเวศนชายฝง ทางเลอื กของคลองระบายนำ้ สายหลกั และการประมง และสายรอง โดยใชข อ มลู ประกอบใน 5) โครงการประเภทคลองระบายน้ำ การตดั สนิ ใจทห่ี ลากหลาย (จำนวนครวั ขดุ ใหม ทเี่ ชอื่ มตอ กบั แมน ้ำทม่ี กี าร เรอื น/ขนาดพนื้ ทท่ี ไ่ี ดร บั ผลกระทบ/รปู เดนิ เรอื และมอี ทิ ธพิ ลของนำ้ ทะเล แบบคลอง/การบกุ รกุ ทส่ี าธารณะ) หนุน อาจเปนสาเหตุทำใหเกิด 4) บริเวณพ้ืนท่ีท่ีเปนดินออน การ ความเร็วของนำ้ ตัดขวางการ กำหนดขนาดคลอง ตอ งวเิ คราะหร ปู เดนิ เรอื และสภาพน้ำเออ ปลาย แบบคลองท่ีหลากหลายเพื่อสราง คลอง ทำใหค วามสามารถในการ เสถียรภาพของคลอง และวิเคราะห ระบายนำ้ ของคลองระบายน้ำ ผลกระทบดานการใชท่ีดินและคาลง ลดลง ทนุ เชน เขตคลองทก่ี วา งมาก ความ ลกึ ของคลองจะนอ ย หรอื เขตคลอง 32

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางที่ 2.1.3 การวางโครงการประเภทบรรเทาอทุ กภยั (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ ที่แคบ ความลึกของคลองก็จะมาก 5) การวางโครงการประเภท คลองระบายนำ้ ทมี่ ผี ลกระทบ เปนตน ในวงกวา ง เชน ผลกระทบกบั 5) ตองเปรียบเทียบสภาพพื้นท่ี โครงการกรณมี ี /ไมม โี ครงการ รวม ทงั้ เสนอทางเลอื กรปู แบบการพฒั นาที่ หลากหลายและนำนวตั กรรมมาใชใ น การวางโครงการ เชน แกม ลงิ ใตถ นน 6) ในการวางโครงการตอ งพจิ ารณารปู แบบและขนาดโครงการใหค รบทงั้ 4 ดาน ไดแก ดานวิศวกรรม ดานสิ่ง แวดลอ ม ดา นเศรษฐกจิ สงั คม และ ดา นเศรษฐศาสตร 7) การวางโครงการประเภทประตู ระบายน้ำปอ งกนั น้ำเคม็ รกุ ตวั ตอ งมี การวิเคราะหและจัดทำคูมือการ บรหิ ารจดั การเปด -ปด ประตู เพอื่ ไมใ ห เกดิ ปญ หาการยกตวั ของระดบั น้ำ 8) โครงการบรรเทาอทุ กภยั ทม่ี กี ารระบาย นำ้ เพม่ิ เตมิ ลงสทู ะเลในปรมิ าณสงู ตอ ง ศกึ ษาวเิ คราะหผ ลกระทบจากการระบาย น้ำตอ ระบบนเิ วศนช ายฝง ทะเลและการ ประมงจากผเู ชยี่ วชาญเฉพาะดา น เพอ่ื วางมาตรการลดผลกระทบและเยยี วยา ในชว งทร่ี ะบายน้ำ 3. พื้นท่ีลุมตำ่ มักประสบปญหาน้ำ 1) ในการวางโครงการพน้ื ทล่ี มุ ต่ำเพอื่ หลากกอ นการเกบ็ เกย่ี ว ทำใหเ กดิ รบั น้ำหลาก ตอ งปรบั ปฏทิ นิ กจิ กรรม ความเสียหายขณะเดียวกันยัง การเกษตร (ทำนา ทำไรป ระมง ฯลฯ) ขาดรูปแบบการบูรณาการของ ใหส อดคลอ งกบั การใชร บั น้ำหลากรวม หนวยงานกระทรวงเกษตรและ ทั้งตองพิจารณาปริมาณน้ำตนทุนท่ี สหกรณ ในการแกไ ขปญ หาพนื้ ที่ ตอ งใชป รบั ปฏทิ นิ ฯ เกษตรลมุ ตำ่ 33

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางที่ 2.1.3 การวางโครงการประเภทบรรเทาอทุ กภยั (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 2) ตอ งดำเนนิ การการมสี ว นรว มทกุ ภาค 5) การวางโครงการประเภท สว นทเ่ี กยี่ วขอ ง เพอ่ื ใหก ารวางโครงการ คลองระบายน้ำทม่ี ผี ลกระทบ สามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ เชน ตอ งมี ในวงกวา ง เชน ผลกระทบกบั การวางแผนรว มกบั หนว ยงานทเ่ี กย่ี ว ขอ ง อาทิ กรมสง เสรมิ การเกษตร และ ธกส. ในการจา ยคา ชดเชย แหลง เงนิ กู เพ่ือใหเกษตรกรยังคงไดรับสิทธิ ประโยชนจ ากการปรบั ปฏทิ นิ กจิ กรรม การเกษตรในฤดฝู นและตอ งวางแผน รว มกบั กรมประมงเพอื่ กำหนดพนั ธปุ ลา ที่มีระยะเวลาการเจริญเติบโตสอด คลอ งกบั ระยะเวลาการกกั เกบ็ น้ำหลาก เปน ตน 3) ตองทำการวิเคราะหความคุมทุน ทางเศรษฐศาสตรของพ้ืนท่ีลุมตำ่ น้ำ หลากใหค รอบคลมุ ทง้ั ดา นการเกษตร ในพนื้ ทลี่ มุ ต่ำและการบรรเทาอทุ กภยั ในพน้ื ทเี่ ปา หมาย 4) ตองมีการติดตามและประเมิน ผลโครงการ ทง้ั ในพนื้ ทลี่ มุ ตำ่ น้ำหลาก และพื้นท่ีท่ีไดรับประโยชนจากการ บรรเทาอทุ กภยั ปจ จยั ความสำเรจ็ 1) การขยายผลพน้ื ทล่ี มุ ตำ่ รบั นำ้ หลาก ตอ งมคี วามรว มมอื ของทกุ ภาคสว น ทง้ั ภาครฐั เกษตรกร และ สถาบนั การเงนิ 2) เกษตรกรในพนื้ ทล่ี มุ ต่ำยอมรบั เงอ่ื นไขหลกั เกณฑข องการบรหิ ารจดั การนำ้ ทง้ั ในสว นของปรมิ าณนำ้ ตนทุนและปริมาณนำ้ หลาก 34

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางที่ 2.1.4 อน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ดา นการวางโครงการ ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ ในกรณีพ้ืนท่ีปาพรุ ควรให 1. 1) การวางโครงการในพน้ื ทป่ี า พรุ 1) การพัฒนาพื้นท่ี สปก. ตอง หนวยงานดานอนุรักษและ ฟนฟูเปนหนวยงานหลักใน ตดิ ทะเลมกั เกดิ ปญ หา 3 น้ำ (น้ำ พิจารณาความเหมาะสมของการใช การดำเนินงาน เคม็ , นำ้ เปรยี้ ว, นำ้ เสยี ) ประโยชนท ด่ี นิ เชน สภาพพนื้ ทเ่ี หมาะ 1) ในการวางแผนพัฒนา แหลงน้ำทุกระดับ (ลุมน้ำ/ 2) การพฒั นาพน้ื ที่ สปก. ขาด สมกับการพัฒนาแหลงนำ้ เพื่อการ โครงการ) ควรจัดการมีสวน การพจิ ารณาความเหมาะสมของ เพาะปลกู พชื การประมง หรอื ปศสุ ตั ว รวมในลักษณะระเบิดจาก ขางใน เชน จัดทำแผนที่ การใชป ระโยชนท ด่ี นิ เชน สภาพ 2) ในการของบประมาณกอ สรา ง หาก ทำมือ ซ่ึงจะทำใหประชาชน รูสึกเปนเจาของขอมูล และ พ้ืนท่ีไมเหมาะกับการพัฒนา พบวาลักษณะโครงการไมตรงกับ เปน การชว ยใหข อ มลู ในพน้ื ที่ แกกรมชลประทานดวย แหลงนำ้ เพื่อการเพาะปลูกพืช ผลการศึกษาวางโครงการ ตอง 2) ควรเพิ่มชองทางในการ ผลตอบแทนตำ่ แตอ าจเหมาะสม ทบทวนการศกึ ษาวางโครงการ และ ประชาสมั พนั ธโ ครงการ โดย นำระบบ QR Code มาใช กบั การประมง หรอื ปศสุ ตั ว เปล่ียนชื่อรายงานการศึกษาใหสอด 3) ชอ่ื โครงการในชว งกอ สรา งไม คลอ งกบั ลกั ษณะโครงการ สอดคลองกับช่ือรายงานการ 3) การศึกษาวางโครงการหากยัง ศกึ ษาวางโครงการ ไมทราบลักษณะโครงการที่ชัดเจน เชน ฝาย หรอื ประตรู ะบายน้ำ ใน การตง้ั ชอ่ื โครงการเพอื่ ของบประมาณ อาจใชล กั ษณะกวา งๆ เชน โครงการ ศึกษาวางโครงการอาคารบังคับ นำ้ บาน…. โครงการศึกษาพัฒนา แหลงน้ำบาน….. 2. 1) การขาดการประชาสัมพันธ 1) ตองมีการประชาสัมพันธในพื้นที่ ทกุ ขน้ั ตอน อยา งตอ เนอ่ื ง เพอื่ ใหท ราบถงึ ขน้ั ตอน 2) ราษฎรไมเขาใจรูปแบบของ การดำเนนิ งานพฒั นาโครงการ วตั ถุ อาคารชลประทานอาจทำใหเ กดิ ประสงคของแตละกิจกรรม เพ่ือให ความขดั แยง ทราบขอมูลท่ีถูกตอง รวมทั้งดำเนิน 3) การพัฒนาโครงการประสบ การมีสวนรวมของประชาชนทุกขั้น ปญ หาการคดั คา น เนอื่ งจากผไู ดร บั ตอนของการพฒั นาโครงการ ผลกระทบกังวลวากระบวนการ 2) ตอ งเสนอผเู กยี่ วขอ งใหป รบั ปรงุ การ จา ยคา ชดเชยลา ชา ไมเ ปน ธรรม จา ยคา ชดเชยใหร วดเรว็ และแยกแยะ 4) การบรู ณาการการทำงานหนว ย ผไู ดร บั ผลกระทบเพอ่ื ชดเชยอยา งเปน งานภายในกรม/ภายนอกกรมท่ี ธรรม เพื่อไมใหเปนอุปสรรคในการ เกยี่ วขอ งกบั โครงการ มนี อ ย พฒั นาโครงการ 35

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department ตารางที่ 2.1.4 อน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั ดา นการวางโครงการ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ 3) โครงการทน่ี ยั สำคญั ตอ งบรู ณาการ 3) การวางโครงการควรใชส อื่ ท่ี การทำงานโดยเฉพาะการลงพนื้ ทเ่ี พอื่ นำเสนอภาพ 3 มติ ิ ของอาคาร ใหข อ มลู กบั ประชาชนและหนว ยงาน ชลประทาน เพอ่ื สามารถสอ่ื สาร ใหร าษฎรเขา ใจองคป ระกอบ ในพื้นท่ีในการขับเคล่ือนโครงการ และการใชงานไดเปนอยาง และหากจำเปนควรตองแตงตั้ง ดรี วมทงั้ สามารถกำหนดรปู แบบ คณะทำงานขับเคล่ือนโครงการโดย โครงการรว มกนั ไดอ ยา งชดั เจน ฝายปกครอง (และมอี นคุ ณะทำงาน 4) การศกึ ษาวางโครงการ ควร ดานตางๆ เชน ชดเชยท่ีดินและ มกี ารวเิ คราะหค วามเหมาะสม ทรัพยสิน ประชาสัมพันธ วิชาการ ของการตดิ ตง้ั โรงไฟฟา พลงั น้ำ เปนตน) ไวด ว ย 3. 1) บคุ ลากรดา นวางโครงการยงั 1) เสรมิ สรา งองคค วามรบู คุ ลากรดา น ขาดองคความรูและความเขาใจ การวางโครงการในเรื่องถนนดิน เกี่ยวกับถนนดินซีเมนตผสม ซเี มนตผ สมยางพารา ยางพารา (Para Soil Cement) 2) งานถนนดนิ ซเี มนตผ สมยางพารา 2) การวางโครงการประเภท ตอ งมกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ดา นความ สถานีสูบน้ำยังมีขอจำกัดในการ คุมคาการลงทุน และดานวิศวกรรม จายคากระแสไฟฟา ไดมีการ เชน ระยะเวลาการใชง าน หรอื ความ นำพลังงานแสงอาทิตยเปน ลน่ื เปน ตน แหลงพลังงานทางเลือกในการ 3) ควรมกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ สูบนำ้ แตก็ยังเปนโครงการ พลงั งานทดแทนเพอื่ การชลประทาน นำรองที่ยังไมมีการติดตาม หากเหมาะสมจะไดข ยายความสำเรจ็ ประเมินผล ตอ ไป 4) การใชพลังงานแสงอาทิตยเปน แหลง พลงั งานทางเลอื กในการสบู น้ำ เปนโครงการนำรองที่ตองมีการวาง แผนเกบ็ รวบรวมขอ มลู เพอ่ื สงั เคราะห และประเมนิ ผลโครงการ หากเหมาะ สมจะไดข ยายผลตอ ไป 5) กรมฯ ควรจะตอ งจดั เตรยี มหนว ย งานทรี่ บั ผดิ ชอบดา นพลงั งานทดแทน 2. 36

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" ตารางท่ี 2.1.4 อนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ดา นการวางโครงการ (ตอ ) ขอ สงั เกต ขอ ควรระวงั ขอ เสนอแนะ ควรหารือกับคณะกรรมการ 4. 1) ปจจุบันมีการตั้งสำนักงาน ปจจุบันมีการตั้งสำนักงานทรัพยากร ลมุ นำ้ ประกอบการพจิ ารณา ทรพั ยากรน้ำแหงชาติ (สทนช.) น้ำแหง ชาติ (สทนช.) การดำเนนิ งาน ว า ง โ ค ร ง ก า ร เ นื่ อ ง จ า ก ขึ้น สงผลกระทบกับบทบาท พัฒนาแหลงน้ำจึงตองปรับบทบาท พรบ.ทรัพยากรน้ำใหอำนาจ หนา ทขี่ องกรมชลประทาน โดยใหค วามสำคญั กบั การพฒั นาการ หนา ทก่ี บั คณะกรรมการลมุ นำ้ 2) มี พรบ.ทรัพยากรน้ำและ ชลประทานและบรรเทาอุทกภัยเปน ในการใหความเห็นเกี่ยวกับ กฎหมายอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั งาน หลัก แตการศึกษาตองพิจารณาถึง แผนงานและโครงการในการ ชลประทานทำใหการพิจารณา ศักยภาพ/สมดุลของลุมนำ้ ประกอบ ดำเนนิ งานเกย่ี วกบั ทรพั ยากร วางโครงการตองมีการเปล่ียน ดว ย นำ้ ในเขตลุมน้ำ แปลงกระบวนงาน 2.2 การสำรวจทางวศิ วกรรมและวทิ ยาการธรณี หนว ยงานภายในกรมชลประทานทม่ี ภี ารกจิ โดยตรงในการสำรวจทางดา นวศิ วกรรมและธรณวี ทิ ยา ไดแ ก สำนักสำรวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา รับผิดชอบในการสำรวจสำหรับโครงการขนาดกลางและขนาดใหญ ฝา ยสำรวจภมู ปิ ระเทศ และฝา ยปฐพแี ละธรณวี ทิ ยา สว นวศิ วกรรมสำนกั งานชลประทานที่ 1-17 รบั ผดิ ชอบใน การสำรวจโครงการขนาดเลก็ และอนื่ ๆตามทกี่ รมมอบหมาย โดยในสว นของสำนกั สำรวจดา นวศิ วกรรมและธรณี วทิ ยามหี นา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ตามกฎกระทรวงแบง สว นราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ.2557 ดงั น้ี (1) สำรวจและจดั ทำแผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ แผนทภ่ี าพถา ย และแผนทภ่ี าพดาวเทยี ม ไดแ ก การสำรวจวาง โครงขายหมุดหลักฐาน การสำรวจระบบสงนำ้ การสำรวจจัดทำแผนที่ภาคพ้ืนดิน แผนที่ภาพถาย และแผนท่ี ภาพดาวเทยี ม (2) สำรวจกนั เขตชลประทานและประสานงานรงั วดั เพอ่ื จดั หาทดี่ นิ ออกหนงั สอื สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง และ การระวงั ชแี้ นวเขตชลประทาน (3) สำรวจธรณวี ทิ ยา ธรณฟี ส กิ ส และปฐพกี ลศาสตร เพอ่ื วเิ คราะห ประเมนิ สภาพธรณวี ทิ ยาฐานราก สำหรบั ใชเ ปน ขอ มลู ในการพจิ ารณาความเหมาะสมและออกแบบ พจิ ารณาปรบั ปรงุ ฐานรากและแกไ ขปญ หาอนั เนอื่ ง มาจากสภาพธรณวี ทิ ยา สำรวจหาแหลง และปรมิ าณสำรองวสั ดกุ อ สรา ง ศกึ ษาและประเมนิ ผลกระทบจากแผน ดนิ ไหวและรอยเลอื่ น และสำรวจ และพฒั นาแหลง นำ้ ใตด นิ เพอื่ การพฒั นาแหลง นำ้ ชลประทาน (4) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหนว ยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ งหรอื ทไ่ี ดร บั มอบหมาย พนั ธกจิ ของสำนกั สำรวจดา นวศิ วกรรมและธรณวี ทิ ยา ประกอบดว ย (1) ใหบ รกิ ารงานสำรวจทางวศิ วกรรมและวิทยาการธรณีในงานพฒั นาแหลงนำ้ และบรหิ ารจัดการนำ้ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและไดม าตรฐาน (2) เปน ศนู ยร วมและวเิ คราะหข อ มลู สารสนเทศดา นงานสำรวจทางวศิ วกรรมและวทิ ยาการธรณที ที่ นั สมยั พรอ มใหบ รกิ ารอยา งมคี ณุ ภาพ 37

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department (3) พัฒนานวัตกรรมดานงานสำรวจทางวิศวกรรมและวิทยาการธรณีอยางตอเนื่อง เกิดประโยชน อยา งเปน รปู ธรรม (4) เปนหนวยงานเครือขายดานงานสำรวจทางวิศวกรรมและวิทยาการธรณีท่ีไดรับการยอมรับ ในระดับสากล กระบวนการดำเนนิ งานของสำนกั สำรวจดา นวศิ วกรรมและธรณวี ทิ ยา ถอื เปน กระบวนงานสนบั สนนุ ใน การพฒั นาแหลง นำ้ และบรหิ ารจดั การน้ำของกรมชลประทาน โดยผลการสำรวจถกู นำไปใชป ระกอบการดำเนนิ งาน พจิ ารณาวางโครงการ ออกแบบ กอ สรา ง รวมทง้ั สง นำ้ และบำรงุ รกั ษา และการบรหิ ารจดั การน้ำตอ ไป กระบวน การของงานดา นสำรวจทางวศิ วกรรมและวทิ ยาการธรณี ดงั แสดงในรปู ที่ 2-4 - รปู ท่ี 2-10 ตอ ไปนี้ สำรวจวางหมดุ หลกั ฐานและงานสำรวจกอ สรา งอโุ มงค หมดุ หลกั ฐานแผนทรี่ ะบบ QR Code รปู ที่ 2-4 กระบวนการงานสำรวจวางหมดุ หลกั ฐาน 38

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" แผนที่แปลงกรรมสิทธิ์ที่ดินเชิงเลข แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศเชงิ เลขในงานจดั ระบบนำ้ เพอื่ เกษตรกรรมและ งานจดั รปู ทดี่ นิ รปู ท่ี 2-5 กระบวนการงานสำรวจทำแผนทภ่ี าคพน้ื ดนิ 39

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศบรเิ วณหวั งาน แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศเชงิ เลขในงานจดั ระบบนำ้ เพอื่ เกษตรกรรมและ งานจดั รปู ทด่ี นิ รปู ท่ี 2-5 กระบวนการงานสำรวจทำแผนทภ่ี าคพนื้ ดนิ (ตอ ) 40

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศวางแนวคลองสง นำ้ และคลองระบายนำ้ แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศแนวคลองสง นำ้ และคลองระบายนำ้ แนวทอ สง นำ แนวถนนคนั กนั้ นำ้ และอโุ มงค ที่ใชคลองธรรมชาติ รปู ท่ี 2-5 กระบวนการงานสำรวจทำแผนทภ่ี าคพนื้ ดนิ (ตอ ) 41

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศเชงิ เลขจากภาพถา ยทางอากาศ แผนทภี่ าพออรโ ธเชงิ เลขจากภาพถา ยทางอากาศ มาตราสว น 1 : 10,000 มาตราสว น 1 : 4,000 รปู ที่ 2-6 กระบวนการสำรวจทำแผนทจี่ ากภาพถา ยและงานภมู สิ ารสนเทศ 42

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" แผนทภ่ี าพออรโ ธจากภาพดาวเทยี ม แผนทแี่ บบผสมโดยอากาศยานไรน กั บนิ มาตราสว น 1 : 4,000 รปู ที่ 2-6 กระบวนการสำรวจทำแผนทจี่ ากภาพถา ยและงานภมู สิ ารสนเทศ (ตอ ) 43

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department แผนทกี่ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ การจดั ทำฐานขอ มลู ภมู สิ ารสนเทศ รปู ท่ี 2-6 กระบวนการสำรวจทำแผนทจี่ ากภาพถา ยและงานภมู สิ ารสนเทศ (ตอ ) 44

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง นำ้ และการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" แผนทส่ี ำรวจขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ย แผนทส่ี ำรวจปก หลกั เขตชลประทาน รปู ท่ี 2-7 กระบวนการงานสำรวจกนั เขตและประสานงานรงั วดั 45

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department สำรวจธรณวี ทิ ยาฐานรากและแหลง หนิ ธรรมชาติ รปู ที่ 2-8 กระบวนการงานสำรวจธรณวี ทิ ยา 46

RID Tip book \"ขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ตั งิ านดา นการพฒั นาแหลง น้ำและการชลประทาน ในยคุ THAILAND 4.0\" งานปรบั ปรงุ ฐานราก งานสำรวจศลิ ากลศาสตร รปู ที่ 2-9 กระบวนการงานสำรวจวศิ วกรรมธรณี 47

กรมชลประทาน Royal Irrigation Department งานสงิ่ แวดลอ มธรณวี ทิ ยาแผน ดนิ ไหว รปู ท่ี 2-9 กระบวนการงานสำรวจวศิ วกรรมธรณี (ตอ ) 48