หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพือ่ ชีวิต กระทรวงศึกษาธกิ าร ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖๙.- กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพือ่ ชวี ติ ภาษาพาที ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่อื ชีวติ ภาษาพาที ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ลขิ สทิ ธ์ขิ องส�านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชด�าเนินนอก เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศพั ทแ์ ละโทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓ ส�านกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาดา� เนนิ การจดั พมิ พ์ ISBN 978-616-317-018-7 พมิ พ์ครั้งที่สาม พ.ศ. ๒๕๕๕ จ�านวน ๖๕๐,๐๐๐ เลม่ พมิ พ์ท่ีโรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙ ถนนลาดพรา้ ว แขวงสะพานสอง เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๓๓, ๐ ๒๕๑๔ ๔๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๙๙๕๖ www.suksapan.or.th
คำ� น�ำ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ิต ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เปน็ หนังสือที่ส�านกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน จัดท�าข้ึน ส�าหรับนักเรียนใช้ฝึกทักษะและสร้างนิสัยรักการอ่าน ครูใช้ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท�าหนังสือเรียนภาษาไทย กลมุ่ หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๖ ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ ปติ นิ นั ธ์ สทุ ธสาร เปน็ ประธานกรรมการ และจดั ประชมุ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของศกึ ษานเิ ทศก์ และครูภาษาไทย จากเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาทง้ั ๔ ภมู ิภาค ในด้านการน�าไปใช้ ดงั รายนามท้ายหนังสอื นี้ หนังสอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอื่ ชวี ิต ภาษาพาที ช้นั ประถม ศกึ ษาปที ี่ ๒ มงุ่ เน้นให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรูท้ กั ษะทางภาษาจากการอา่ น เขยี น ฟัง ดู พูด เร่ืองที่น่าสนใจ ผสานความเข้าใจลักษณะของภาษาไทย ตระหนักรับรู้ในความงาม ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา กระบวนการคิดและการบรู ณาการ เพ่อื น�าไปสู่การเรียนรู้ ด้วยตนเองและกระตุน้ ความสนใจ สามารถพฒั นาทักษะทางภาษาเหมาะแกว่ ยั ชั้นปแี ละ สงู สดุ เตม็ ตามศักยภาพ เปน็ พ้นื ฐานการคดิ เช่อื มโยงในการเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรยี นรู้อนื่ ปลูกฝังวัฒนธรรมทางภาษา ความเป็นไทย ความเป็นคนดีของสังคมไทยและสังคมโลก รวมทัง้ การน�าความรู้และความคิดไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการด�าเนินชีวิตต่อไป ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานหวังว่า หนังสือเรียนเล่มน้ี จะเป็น ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการและ บรรลุตามจุดหมายของหลักสูตร หากมีข้อเสนอแนะ กรุณาแจ้งส�านักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เพอ่ื ปรับปรุงแกไ้ ขใหห้ นังสือสมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ ขอขอบคณุ คณะกรรมการ และผูม้ ีสว่ นเก่ยี วข้องในการจดั ทา� หนังสือเรยี นนี้ให้สา� เรจ็ ลุล่วงดว้ ยดไี ว้ ณ โอกาสนี้ (นายชินภัทร ภมู ริ ตั น) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓
คำ� แนะน�ำส�ำหรับครู การวางแผนจัดการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ครูจา� เป็นต้อง ๑. ศึกษาหลักสตู รและเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั หลักสูตร เพอื่ เข้าใจสาระและมาตรฐาน การเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้ช้ันปี รวมทงั้ สงิ่ อนั พึงประสงคใ์ หเ้ กิดแก่นกั เรียน ๒. ศกึ ษาหนังสอื เรยี น ภาษาพาที หนังสือเรียน วรรณคดลี �าน�า และแบบฝึกหัด ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ ทุกเล่ม ทุกบทอย่างละเอียด ซ่ึงใช้เป็นสื่อหลักใน การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยรวมทง้ั หนงั สือเรียนวรรณกรรมปฏสิ มั พันธ์แบบฝึกหดั ทักษะปฏิสัมพันธ์ หนังสือหรือสื่ออ่ืนๆ ซ่ึงใช้เสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย แล้วจัดหน่วยการเรยี นรูแ้ ละแผนการจัดการเรยี นรู้ตามความเหมาะสม ๓. ศึกษาพื้นฐานความรู้ความสามารถภาษาไทยและด้านอื่นๆ ของนักเรียน โดย การปฏบิ ัติ การทดสอบ การสัมภาษณ์ ฯลฯ และกอ่ นเร่ิมบทเรียนควรเตรยี มความพร้อม อย่างน้อย ๑-๒ สปั ดาห์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ โดยใช้หนังสือเรียน ภาษาพาที ครูจา� เป็นตอ้ ง ๑. เขา้ ใจแนวการนา� เสนอเนอื้ หาแตล่ ะบทของหนงั สอื เรยี น ภาษาพาที ซง่ึ ประกอบดว้ ย รู้จักค�า น�าเรื่อง เป็นการเสนอค�าและกลุ่มค�าท่ีมีในบทอ่าน ซึ่งบางค�าได้จัดท�า ภาพประกอบไว้ ครูควรให้เด็กได้ฝึกอ่านทุกค�าและสนทนากันถึง ความหมายของคา� เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและสามารถฟังเรือ่ งหรืออ่าน เรื่องได้ต่อไป บทอ่าน • น�าเสนอโดยผูกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันของเด็กและสาระ การเรียนรู้อื่นๆ ด�าเนินเรื่องให้น่าสนใจ ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน แฝงคา่ นิยมทีพ่ ึงประสงค์ คุณธรรมและจรยิ ธรรมด้านตา่ งๆ
• ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในบทอ่านให้เหมาะสม โดยน�าเข้าสู่บทเรียน เพอื่ กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นกอ่ น ซง่ึ อาจใชก้ จิ กรรมตามทเ่ี สนอแนะ ไวท้ ้ายบทก็ได้ เชน่ รอ้ งเพลง ฟังนิทาน ทายปัญหา พดู คยุ เก่ียวกับเร่ือง ในบทเรียน ฯลฯ ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒ ควรเน้นทักษะการฟัง การพูดเป็นเบือ้ งตน้ ต่อไปจงึ ค่อยเนน้ ทักษะการอ่าน และการเขียน ทัง้ นี้ ควรสอดแทรกการคดิ และจนิ ตนาการในทุกทักษะ การฝึกอา่ น ครูควร อ่านใหน้ กั เรียนฟังดว้ ยนา�้ เสียงทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ ใหน้ ่าสนใจ ใหน้ กั เรียน อา่ นตามหรืออา่ นเองเปน็ กลมุ่ ใหญ่ กลุม่ เลก็ หรอื เป็นรายบคุ คล จะชว่ ย ให้นักเรียนอ่านและเข้าใจบทเรียนได้โดยง่าย หากครูให้นักเรียนอ่าน บทเรียนทันทีโดยมิได้เตรียมความพร้อมก่อน จะท�าให้เกิดอุปสรรคใน การเรยี นภาษาไทย อธิบายเพ่ิม เตมิ ความรู้ เสนอเนอ้ื หาเกย่ี วกบั หลกั การใช้ภาษาไทยเพ่อื ให้นกั เรียน ฝกึ ฟงั ฝกึ อา่ น เขียนคา� และกลมุ่ ค�าไดถ้ กู ต้อง เนน้ อ่านแจกลูกและอา่ น สะกดคา� ซ่ึงได้เสนอเพียงตัวอย่าง ครูควรให้นกั เรยี นเรียนรู้อยา่ งสนกุ มี ชีวติ ชวี า มคี วามหมายและไดพ้ ัฒนาทกั ษะไปพร้อมกนั รวมทง้ั เพม่ิ เติม ตวั อยา่ งให้มากตามทเ่ี ห็นสมควร อ่านคลอ่ ง รอ้ งเลน่ จดั ไวเ้ พม่ิ เตมิ จากบทอา่ น เน้นการอ่านออกเสยี งใหเ้ ปน็ จังหวะ คลอ้ งจอง หรือรอ้ งเปน็ เพลง แสดงทา่ ทางประกอบ เพอ่ื ใหอ้ า่ นได้คลอ่ ง จดจ�าได้ เข้าใจความหมายและเช่อื มโยงการเรียนร้เู รอื่ งอน่ื ๆ กจิ กรรม ชวนทา� ชวนคดิ เสนอกิจกรรมไว้ครบทุกทักษะ ครอบคลมุ เน้ือหาทกุ ส่วน ของบทเรยี น รวมทงั้ เชอื่ มโยงบูรณาการสาระการเรยี นรอู้ ่ืนๆ ไวด้ ้วย ครู ควรพจิ ารณาให้นกั เรยี นทา� กิจกรรมตามความเหมาะสม อาจดดั แปลงได้ ตามที่เห็นสมควร ๒. จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่นี า่ สนใจหลากหลายวิธี เชน่ สอนอ่าน • เน้นการอา่ นออกเสยี ง อาจใชว้ ิธีอ่านตามครู เช่น ครอู า่ นน�า แลว้ ให้ นกั เรียนอ่านตาม อา่ นเปน็ กลมุ่ อา่ นเป็นคู่ อ่านทีละคน หรอื ฝกึ อ่าน
ตามลา� พงั สลบั ปรบั เปลย่ี นไปหลายๆ วธิ ี ทงั้ น้ี ครจู า� เปน็ ตอ้ งมสี อื่ ประกอบ เช่น ของจริง หนุ่ จ�าลอง ภาพประกอบ และบนั ทกึ ความกา้ วหนา้ การอา่ น ของนักเรียนเป็นรายบุคคลเพ่ือช่วยการเรียนรู้และซ่อมเสริมความ สามารถไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ • สอนอ่านในใจ ควรเริ่มเมื่อนักเรียนอ่านออกเสียงได้ดีพอสมควรแล้ว โดยครูพิจารณาความพร้อม เสนอแนะวิธีอ่าน และจัดกิจกรรมสนุกๆ เช่น ครูต้งั ค�าถามให้นกั เรียนหาคา� ตอบ นกั เรียนตงั้ คา� ถามเอง อ่านแลว้ เล่าเร่อื ง สรุปเรอ่ื ง สอนเขียน ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้น่าสนใจและท้าทายให้เด็กรักการเขียน โดย ครูยังไมต่ ้องกงั วลกบั การเขยี นถูกเขียนผดิ ของนักเรยี น เม่ือนักเรียน เริม่ ต้นเขยี น ใหน้ กั เรยี นฝึกเขยี นเปน็ ค�า ประโยค ข้อความ เรอ่ื งราวตาม ล�าดบั จนสามารถสร้างงานเขียนง่ายๆ ไดด้ ้วยตนเอง การให้นักเรียน เขยี นบอ่ ยๆ และคอ่ ยๆ แกค้ า� ทเ่ี ขยี นผดิ เดก็ จะสามารถเขยี นเรอ่ื งราว ไดม้ ากขึน้ เขียนคา� และเรียบเรียงประโยคได้ถกู ต้องไปเอง ประเมินผล ควรมกี ารวดั และประเมินผลเมอ่ื จบบทเรียนแต่ละบท เพ่อื นา� ไปปรับปรุง และพัฒนาทกั ษะตา่ งๆ เปน็ พ้ืนฐานการจัดการเรียนรู้บทต่อไป ๓. เข้าใจความพรอ้ มและพัฒนาการเรียนรูข้ องนกั เรยี นแต่ละคน เชน่ • จดั กิจกรรมบางกจิ กรรมในชน้ั เรยี นแตกต่างกนั ตามความสามารถและเพ่ิมเติม ตามความเหมาะสม • ศึกษาเหตุของปญั หาทีน่ ักเรียนบางคนยงั ไม่พรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรู้ หรือเรียนไดช้ ้า • ให้ความรัก ความเมตตา เสยี สละเวลา ซอ่ มเสริมนักเรยี นทเี่ รียนช้าให้พัฒนา อยา่ งเต็มความสามารถ • ไมค่ วรให้เด็กที่มีปัญหาเรยี นช้าหรือปญั หาอน่ื ๆ เกิดความรูส้ ึกว่าตนมีปมด้อย ด้วยวาจาและการกระท�า แม้โดยตงั้ ใจและไม่ตัง้ ใจ • ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษให้มีความรู้ความสามารถทางภาษาสูงขึ้น เตม็ ตามศักยภาพ
๔. ศึกษาความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับหลักการใช้ภาษา และเร่อื งอ่ืนๆ เพมิ่ เติม เพอื่ เป็นพื้นฐานท�าให้มีความม่ันใจในหลักวิชาและอาจน�ามาเพ่ิมพูนความรู้แก่นักเรียนตาม ท่ีเห็นสมควร เช่น ศึกษาหนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด บรรทัดฐานภาษาไทย ชุด แนว การอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร หนังสอื คน้ ควา้ อ้างองิ ของ ราชบัณฑิตยสถาน ค�ำแนะนำ� สำ� หรบั ผปู กครอง ผู้ปกครองมคี วามส�าคญั อย่างยง่ิ ต่อการเรียนรู้ของบุตรหลาน ซ่ึงอยู่ในวยั เร่ิมเรยี น มีผลการศึกษาชี้ชัดว่านักเรียนจะเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ถ้าผู้ปกครองร่วมดูแลเอาใจใส่ ดว้ ยความรกั และความเข้าใจ ใหน้ กั เรยี นไดอ้ า่ นเขียนเพ่มิ เตมิ ท่ีบ้านอย่างเตม็ ใจ มไิ ดบ้ ังคับ ในการสอนอ่านตามหนังสือเรียน ผู้ปกครองพึงเข้าใจว่า หนังสือเรียนเล่มน้ีได้ ออกแบบเพ่ือการฝึกทักษะท้ังฟัง ดู พูด อ่าน เขียน และคิด ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยเน้นทักษะการฟัง การพูดให้ชัดเจนเป็น เบอื้ งตน้ เนน้ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นเปน็ ลา� ดบั ถดั ไป จงึ จา� เปน็ ตอ้ งอา่ นใหเ้ ดก็ ฟงั กอ่ น แล้วให้เด็กอ่านตาม อ่านแจกลูก อ่านสะกดค�า และอ่านเองตามความเหมาะสม หาก ให้เดก็ อา่ นเองแต่แรกโดยมิไดเ้ ตรยี มความพรอ้ ม เด็กจะไม่อยากอา่ นเพราะอ่านไมไ่ ด้และ เกดิ ความเบ่อื หนา่ ย ผู้ปกครองควรสังเกตความสามารถของนักเรียน ให้ข้อมูลประสานสัมพันธ์กับครู ผู้สอน อ่านหนังสือร่วมกับบุตรหลานของตนอยู่เสมอ เป็นแบบอย่างที่ดีที่จะช่วยพัฒนา การใชภ้ าษาและนสิ ยั รกั การอ่านของนกั เรียน หมายเหตุ ครแู ละผูป้ กครองจา� เป็นต้องให้นักเรยี นศกึ ษาหนงั สือเรียน ภาษาพาที ควบคกู่ บั หนงั สือเรียน วรรณคดีลา� น�า รวมท้งั ท�าแบบฝกึ หดั ทกั ษะภาษา สา� หรับนกั เรียนที่มีความสามารถ ทางภาษาไทยเปน็ พเิ ศษ ครูควรจดั ให้ศกึ ษาหนงั สือเรียน วรรณกรรมปฏสิ ัมพนั ธ์ และ ทา� แบบฝึกหัด ทักษะปฏสิ ัมพันธ์ เพ่มิ เตมิ ตามความเหมาะสม
สารบัญ บทที่ หนา้ ๑ น้า� ใส ๑ พยัญชนะ ทบทวน ป.๑ ๑๖ สระ ทบทวน ป.๑ ๓๒ ตัวสะกด แม่ ก กา กง กน กม ๕๐ ๖๘ เกย เกอว กก กด กบ ๘๔ ผนั วรรณยกุ ต์ ่ ้ ๊ ๋ (อักษรกลาง สูง ต่า� ) ๒ ใจหาย เอียะ เอีย แมก่ ง กม กน (ตรงแม่ / ไม่ตรงแม)่ สระ ตวั สะกด ๓ ครวั ป่า ควบกล�้า ร ล เออื ะ เออื พยัญชนะ แมเ่ กย กก กบ (ตรงแม่ / ไมต่ รงแม)่ สระ ตวั สะกด ๔ กลัวท�าไม พยัญชนะ ควบกลา�้ ว สระ อือ (มตี วั สะกด / ไมม่ ตี ัวสะกด) ตวั สะกด แม่กด เกอว (ตรงแม่ / ไม่ตรงแม)่ ๕ ชวี ิตใหม่ พยัญชนะ อักษรน�า (ห นา� ) สระ อะ (มตี วั สะกด) คา� ที่ออกเสียง อะ มรี ปู ะ และไมม่ ีรูป ะ ๖ มนี �า้ ใจ พยญั ชนะ อกั ษรนา� (ห นา� อ นา� ) สระ โอะ (มีตวั สะกด) ผันวรรณยกุ ต์ ่ ้
บทท่ี หน้า ๗ นกั คดิ สมองใส ๑๐๒ ๑๑๘ สระ เอะ แอะ (มีตัวสะกด) ๑๓๖ ๘ โลกร้อน ๑๕๔ ๑๗๐ สระ อัว (มีตัวสะกด) ค�าทม่ี พี ยัญชนะ สระ และเครื่องหมายท่ไี ม่ออกเสียง ๑๘๖ ๒๐๔ ๙ รกั พ่อ รกั แม่ สระ ออ (มีตัวสะกด) ค�าทม่ี ี ฤ ฤๅ ค�าทม่ี คี วามหมายตรงกันข้าม ๑๐ เข็ดแลว้ เออ (มตี ัวสะกด) สระ ๑๑ เดก็ ดี ค�าทม่ี ี รร (ร หัน) เครื่องหมายต่างๆ ทัณฑฆาต ( ์ ) ไมย้ มก (ๆ ) อัศเจรยี ์ ( ! ) อัญประกาศ (“ ”) ๑๒ ชาตขิ องเรา สระ รปู สระ (มีตัวสะกด / ไมม่ ีตัวสะกด) ร้ไู วไ้ ด้ประโยชน์ อกั ษรสามหมู่ สระ วรรณยุกต์ และมาตราตวั สะกด
๑ นำ้ �ใส
รูจ้ ักค�า นา� เรื่อง โบ ไข่ เล้า ราด บิน ปีก ยม้ิ มอง ไหว้ รปู แคร่ ถว้ ย 2 หนา้ สอง
ตะกรา้ พบ่ึ พบ่ั สแี ดง สเี ขียว ผหู้ ญงิ หลังคา น�้าหวาน นา้� แขง็ น�า้ แข็งกด นา�้ แขง็ ไส ไม้เสยี บ ย่า� เท้า กระตกิ หนา้ สาม 3
น่งั ยองๆ เตน้ ระบ�า ผมทรงน้า� พุ ขา� อา้ ถา้ พอ วาง บา้ ง ถาม หา้ ม ฝาก จึง แนน่ กอ่ น กอ้ น รอบ ฟัก เกบ็ คง อด ใคร พร้อม พรวด ใกล้ เหลอื หวาน หยิบ โอโ้ ฮ เจ้าของ นา่ กนิ สา� หรับ ช่ืนใจ ขอโทษ ต้งั ท่า สลับ เสยี สละ รสชาติ (สะ-หลฺ ับ) (เสยี -สะ-หลฺ ะ) (รด-ชาด) 4 หนา้ ส่ี
นา้� ใส “ภูผา ภผู า อย่ไู หน” เสียงเดก็ ผ้หู ญิงเรียกหา “อยู่นี่ อยู่ทางนี้” เสียงภผู าดงั มาจากเลา้ ไก่ น้�าใสเจ้าของผมทรงน�้าพุผูกโบ สชี มพเู ดนิ ยม้ิ เขา้ มา ในมอื หวิ้ กระตกิ นา้� แขง็ มาดว้ ย ปที ่แี ลว้ นา้� ใสไปอยู่กับตายาย แตป่ ีนี้กลบั มาอยูก่ บั พ่อแม่ พ่อของนา้� ใส คือควาญมง่ิ เจ้าของ พลายทะแนะ ชา้ งทีช่ อบคนพดู เพราะนน่ั เอง “มอี ะไรหรอื นา�้ ใส” ภผู าถาม “ขอนา้� ใสเก็บไขบ่ า้ งนะ น้�าใสชอบ” น้�าใส วางกระติกน้�าแข็งบนแคร่ เปิดประตูเล้าพรวด เข้าไป ไก่ทั้งเล้ากระพือปีกพึ่บพั่บ บางตัวบิน ชนหลงั คา บางตัวส่งเสยี งร้อง หนา้ หา้ 5
“อยุ๊ ! ไกต่ กใจ ขอโทษนะจ๊ะไก่จ๋า น้�าใสขอโทษจ้ะ” นา�้ ใสนง่ั ยองๆ ยกมือ ไหว้ไปรอบเล้า ใคร เห็นคงอดขา� ไม่ได้ ภผู าสง่ ตะกรา้ ใหน้ า้� ใส ทง้ั สองคนชว่ ยกนั เกบ็ ไขอ่ ยา่ งเงยี บๆ ตา่ งรวู้ า่ ถา้ ไกต่ กใจ มนั จะไมอ่ อกไข่ ภูผาเกบ็ ไขไ่ ม่หมด เหลือไว้ใหแ้ ม่ไกฟ่ ักไข่บ้าง น�า้ ใสยนื รอจนภูผาน�าไข่ไปให้แม่ แลว้ จงึ ชู กระตกิ น้�าแขง็ ในมอื ให้ภผู าดู 6 หน้าหก
“มีของมาฝากภูผาและใบโบก ใบบวั ด้วย” พูดจบ นา�้ ใสวิ่งนา� หน้าภผู าไปหาเพือ่ นชา้ งทนั ที ใบโบก ใบบวั ชงู วง โบกหู แกว่งหาง ตอ้ นรับ เพ่ือนใหม่ เสยี งกระดึงดงั โป๊กเป๊ก กระพรวนดงั กร๋งุ กรง๋ิ น�้าใสเปิดกระติกน�้าแข็งให้ภูผาดู “โอ้โฮ! น�้าแขง็ กด” ภูผาร้องอยา่ งดีใจทเ่ี ห็นของชอบ นา้� แขง็ ไสถกู กดจนแนน่ ตามรปู ถว้ ย ๔ แทง่ มีไม้เสยี บส�าหรบั ถือ ราดน�้าหวาน สีเขยี วสแี ดงสลับสดี นู า่ กนิ “ดึงไม้ออกก่อนนะภูผา แล้วป้อนใบบัว น�า้ ใสจะป้อนใบโบกเอง” พอนา้� แขง็ เขา้ ปาก รสชาตหิ วานเยน็ ใบโบก ใบบวั ส่ายงวง โบกหู แกวง่ หาง และย่�าเท้า เหมอื นเต้นระบา� เสยี งโปก๊ เปก๊ กรุง๋ กร๋งิ ดงั เป็น จงั หวะ เฮอ้ ! ชืน่ ใจ อร่อยจัง หน้าเจ็ด 7
ภผู าและนา้� ใส หยบิ นา�้ แขง็ กดขนึ้ มาดดู บา้ ง “เฮอ้ ! ชน่ื ใจ อรอ่ ยจงั ทงั้ หวาน ทง้ั เยน็ ” ภผู าพดู “โอะ๊ ! โอ๊ะ! ใบโบก อย่าแยง่ นข่ี องน้�าใส” เสียงน�้าใสเอะอะ ภูผาหันไปดู ใบโบกใช้งวง ดึงแขนน�้าใสให้เข้าไปใกล้ พร้อมทั้งอ้าปาก รอนา้� แข็งกดอกี 8 หน้าแปด
“อยา่ ! อย่า! ใบโบก” เสียงภูผารอ้ งห้าม ต้ังท่าจะว่งิ เข้าไปช่วย แต่ไปไมไ่ ด้ เพราะถกู ใบบวั ดึงแขนไวเ้ หมือนกัน นา้� ใสและภูผา หันมามองหน้ากนั หวั เราะ ดงั ลนั่ แลว้ ทง้ั สองกเ็ สยี สละของอรอ่ ยใหเ้ พอื่ นชา้ ง ที่นา่ รักไป หนา้ เก้า 9
อธิบายเพมิ่ เติมความรู้ อ่านค�าและสังเกตพยัญชนะต้น ไกด่ ำ จำดี ปีจอ กอบัว ตวั โต ของเขา เสาผุ สขุ า หาถงุ หุงข้าว แมน่ ำ้ คำพดู รูดม่าน งานวัด นัดแนะ อ่านค�าและสังเกตสระ มานะ ปะผุ จุใจ ไปเกาะ เงาะดี สเี ทา เสาไฟ ไฝดำ คำขอ งอมือ ถือสา มาเถอะ เลอะเทอะ เฉอะแฉะ แคะหู ชูฝา ตายาย พายเรอื เส่ือสาด คาดเอว 10 หน้าสิบ
อา่ นคา� และสังเกตตัวสะกด เสียงดัง ทงั้ สอง รอ้ งหา้ ม ถามตอบ รอบดึก นึกถงึ ดงึ แขน แนน่ เหนียว เลี้ยวซา้ ย ย้ายของ มองกัน หนั ตาม สามเดอื น เพ่อื นช้าง หางแกวง่ แย่งชงิ ว่ิงแข่ง แสงแดด แปดศอก บอกกล่าว อา่ นผนั วรรณยุกต์ อกั ษรกลาง ไก ไก่ ไก้ ไก๊ ไก๋ จา จ่า จา้ จา๊ จา๋ ดา� ดา่� ดา�้ ดา�๊ ด๋า� บาง บ่าง บ้าง บ๊าง บา๋ ง แตน แต่น แตน้ แตน๊ แต๋น หน้าสบิ เอ็ด 11
อกั ษรสูง อักษรต่�า ไข ไข่ ไข้ ไค ไค่ ไค้ ผา ผา่ ผ้า มา ม่า ม้า ถา� ถ�า่ ถา�้ นา� น่า� น้า� หาง หา่ ง หา้ ง ชาง ชา่ ง ชา้ ง แขน แข่น แขน้ แคน แค่น แค้น ฝึกอ่านค�า พ่อแม่ แก้ไข ให้ช่วย ด้วยกัน วนั พระ จะ๊ จา๋ น่ารกั ฟกั ไข่ ไกต่ ืน่ ช่ืนใจ ใชด้ ี ปีกอ่ น ต้อนรบั กลับแลว้ แก้วนา�้ ย�่าเท้า เขา้ ไป ไมย่ ุ่ง กร๋งุ กริง๋ ฉิง่ ฉับ รบั น้อง รอ้ งเรยี ก เปียกโชก โปก๊ เป๊ก 12 หนา้ สิบสอง
ฝึกอา่ นประโยค แมไ่ กอ่ อกไข่ นา�้ ใสวงิ่ น�าหนา้ ภูผา ภผู าและน้�าใสหัวเราะดังลั่น น�้าใสปอ้ นนา�้ แขง็ กดใหใ้ บโบก ใบโบกชูงวง แต่ใบบวั แกวง่ หาง อ่านคล่อง ร้องเลน่ เย็นเยน็ โปก๊ เป๊ก กรุ๋งกริ๋ง กรุง๋ กริง๋ นา�้ แข็งอรอ่ ยจรงิ ขอกินอกี หนอ่ ย ลกู ช้างชอบกินนา�้ แขง็ กด ราดน�า้ แดงสีสด ชน่ื ใจไม่นอ้ ย ขออกี ขออีก ชา้ งชอบ เย็นเยน็ กรอบกรอบ อร่อย อร่อย หนา้ สิบสาม 13
กจิ กรรม ชวนท�า ชวนคิด ๑. ต่อคา� คล้องจอง และรอ้ งเลน่ นักเรียนช่วยกนั คดิ ค�าคลอ้ งจองเตมิ ในชอ่ งวา่ ง และชวนกนั รอ้ งเพลงรอ้ งเล่น แม่ไกข่ องฉนั แม่ไกข่ องฉัน แม่ไก่ของฉันชอ่ื ผึง้ หนึ่งวันออกไข่หนง่ึ ฟอง แม่ไกข่ องฉนั ชอ่ื ........ สองวนั ออกไขส่ องฟอง แม่ไกข่ องฉันชือ่ ........ สามวันออกไข่สามฟอง แมไ่ กข่ องฉนั ชอ่ื ........ สี่วนั ออกไข่ส่ีฟอง ฯลฯ ๒. ฝึกอ่าน ๒.๑ อา่ นคา� พดู คยุ หรอื เลน่ เกมทายคา� เกยี่ วกบั ความหมาย ของคา� และภาพประกอบใน รู้จักค�ำ นำ� เรอื่ ง ๒.๒ อ่านค�าคลอ้ งจองในบทร้องเล่น เกีย่ วกับทรงผม เช่น ทรงผมสมัยน้ี ช่างมีแปลกแปลก ผมรวบ ผมแสก ผมฟู ผมม้า ผมทรงน�้าพุ ผมเปป๋ ดิ หน้า ผมเปียงามตา นา่ รกั น่ามอง ๒.๓ ครูอ่านเร่ือง น�้ำใส ให้นักเรียนฟังจนจบ แล้วพูดคยุ เก่ยี วกบั เน้อื เร่ือง 14 หนา้ สบิ ส่ี
๒.๔ แบ่งกลุม่ นักเรยี นอา่ นเรอื่ ง นำ้� ใส กลุ่มละตอนจนจบ ๒.๕ ฝึกอา่ นค�า ประโยค สงั เกตพยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด และฝึกผันวรรณยุกตใ์ น อธบิ ำยเพิม่ เติมควำมรู้ ๒.๖ ฝึกอา่ นออกเสียงใน อำ่ นคลอ่ ง รอ้ งเลน่ ใหเ้ ป็นจังหวะ จนคลอ่ ง ๓. ฝกึ เขยี น ๓.๑ ฝกึ เขียนค�าใน รู้จักค�ำ นำ� เรื่อง ๓.๒ เลือกเขยี นคา� และประโยคใน อธบิ ำยเพมิ่ เติมควำมรู้ ตามความเหมาะสม ๔. วาดภาพและแสดงความคดิ เห็น แบ่งกลุ่มนักเรียน ให้แต่ละกลุ่มวาดรูปน้�าแข็งกด พร้อมกับ ระบายสีให้สวยงาม แล้วแต่ละกลุ่มช่วยกันบอกว่า น้�าแข็งกดมี รสชาติเป็นอย่างไร เปรียบเทียบได้กับอะไร เช่น เย็นเหมือน... หวานเหมือน... ๕. ตอ่ เติมภาพ ครูแจกภาพใบหน้าท่ียังไม่มีผม ให้นักเรียนออกแบบทรงผม ตามทีช่ อบ เขียนช่ือทรงผมท่วี าด หรือให้เพือ่ นบอกว่าเป็นผมทรง อะไร หนา้ สิบหา้ 15
๒ ใจหาย
ร้จู กั ค�า นา� เรื่อง เกา แฉะ บอ่ หวั ขา่ ว แอง่ ท้อง โอบ กอด ตัด ขงั เสียม 18 หนา้ สบิ แปด
ไหล่ เตม็ ตะโกน ประชุม ถลม่ ปางชา้ ง ขบวน ไถ เอา แวะ แก้ เผยี ะ หา่ ง นาน มาก ด้ิน คิด ถบี คยุ ซุย ลูก แรง เคย เลย ฝ่งั เลือก คนั หนา้ สิบเกา้ 19
พัก เกง่ เกดิ เชิญ รว่ น รวม เกรง ครับ พลิก อยาก หนง่ึ หลวง อาสา วิธี นา�้ ป่า มะรนื ท�างาน ว่าจ้าง ใจหาย เสียหาย หนา้ เสยี ไหลบ่า ข้างล่าง ก�านัน ลงมือ ตกลง จา� นวน ทางการ ตอ้ งการ พยกั หน้า บริเวณ ปลอดภัย (บอ-ริ-เวน) 20 หน้าย่สี บิ
ใจหาย เช้าวนั น้ี ลุงกา� นนั เชิญเจา้ ของชา้ ง ทง้ั หมดมาประชมุ กนั ทล่ี านวดั ภผู า นา้� ใส และเด็กๆ อกี หลายคนตามพ่อไปดว้ ย ลุงก�านันบอกว่า ฝนตกหนักท�าให้ดินบน ภูเขาถล่ม ต้นไม้ล้มเป็นจ�านวนมาก ทางการ เกรงว่า ถ้าฝนตกหนักซ้�าอีก เกิดน�้าป่าไหลบ่า ต้นไม้จะไหลตามน�้าลงมาด้วย ท�าให้หมู่บ้าน ข้างล่างเสียหาย จึงต้องการว่าจ้างช้างไปลาก ต้นไม้ที่ล้มมารวมไว้ในที่ปลอดภัย ใครจะไป ทา� งานน้ี ใหม้ าลงชอ่ื ไว้ หลังจากลงช่อื แล้ว ควาญโพพอ่ ของภผู า และควาญมิ่งพ่อของน้า� ใส ยืนคุยกนั อยคู่ รหู่ น่ึง จงึ เดนิ กลับมาหาเดก็ ทั้งสอง พอ่ เอามือโอบไหลภ่ ูผา แล้วพูดว่า หน้ายส่ี บิ เอด็ 21
“พอ่ ตอ้ งไปทา� งานไกล ไปนานมาก ไมม่ ใี คร ฝกึ ลกู ชา้ ง พอ่ เลยจะพาใบโบก ใบบวั ไปปางชา้ งหลวง ซงึ่ เปน็ โรงเรยี นฝกึ ลกู ชา้ งของจงั หวดั ใบโบก ใบบวั จะไดเ้ กง่ มากขนึ้ ภผู าจะว่ายงั ไงล่ะ” ภผู าใจหาย หนา้ เสยี ทง้ั ลกู คนลกู ชา้ งไมเ่ คย อยหู่ า่ งกนั เลย นา้� ใสยน่ื มอื มาจบั แขนภผู ามองหนา้ ใหก้ า� ลงั ใจ พ่อพูดต่ออีกว่า “ปางช้างหลวง อยู่ไม่ไกลน่ังรถไป ๒-๓ ช่วั โมงก็ถงึ แล้ว ถ้าภูผาอยากไปหาเพ่ือน เมอื่ ไร พ่อก็จะพาไป” ภูผารู้สึกดีขน้ึ “แล้วพ่อ จะพาใบโบกใบบวั ไปเมอื่ ไร ครบั ” ภูผาถาม ปาง หมายถงึ ทพี่ ักกลางป่าชั่วคราว ปางชา้ ง หมายถึง สถานท่ฝี กึ และเลี้ยงช้าง ปางช้างหลวง หมายถึง สถานท่ีขนาดใหญห่ รือโรงเรยี นฝึกชา้ งและลูกชา้ ง 22 หน้าย่ีสิบสอง
“วันมะรืนน้ี ไปพรอ้ มกับขบวนของพอ่ เดนิ ลัดป่าไปแวะสง่ ใบโบก ใบบัวทีโ่ รงเรยี นฝึกลูกชา้ ง กอ่ น แลว้ พอ่ จงึ จะไปทา� งาน” พอ่ ตอบ ภูผาและนา�้ ใสมองหน้ากนั ทา� ตาโต แล้ว พดู ออกมาพร้อมๆ กนั “ขอไปด้วยครับ” “ขอไป ด้วยค่ะ” พ่อของเด็กท้ังสองมองหน้ากันบ้าง กอ่ นจะพยักหน้าตกลง เด็กๆ ท่อี ยู่บรเิ วณน้นั เมือ่ รู้ ขา่ วว่า ใบโบก ใบบัว จะตอ้ งไป อยู่ปางช้างหลวง ตา่ งใจหาย อยากจะเล่นกับเพ่อื นช้างก่อน จากกนั จงึ ตกลงพาลกู ช้างไป เล่นฟุตบอลท่รี มิ ตลิง่ เหมือนเคย เพอ่ื นเด็ก เพ่อื นชา้ ง เตะฟตุ บอลกนั อย่าง สนุกสนานยง่ิ กว่าทกุ ครัง้ เลน่ กนั นานจนเด็กๆ หมดแรง ขอน่งั พัก หน้ายส่ี บิ สาม 23
จู่ๆ น้า� ใสกต็ ีขาตัวเองดงั เผียะ ตะโกนเสยี ง ดงั “คดิ ออกแลว้ เรามาท�าบอ่ ทรายให้เพ่ือน เราเล่นดีกว่า” แล้วน้�าใสก็อธบิ ายวิธีการท�าให้ เพ่อื นๆ ฟงั บางคนรบั อาสากลับไปเอาเสยี ม และ ถังน้า� ที่บ้าน น�้าในแมน่ า้� ไม่เต็มฝง่ั พื้นทรายมนี ้�าขังเปน็ แอง่ ๆ เดก็ ๆ เลอื กแอ่งทใ่ี หญท่ ี่สดุ ใชเ้ สียมขดุ พ้ืนทรายในแอง่ ให้รว่ นซยุ จนแอ่งน้า� กลายเป็น บอ่ ทรายแฉะๆ 24 หนา้ ยี่สบิ สี่
ใบโบก ใบบวั โบกหู แกว่งหาง ว่ิงลง บ่อทราย ใบบวั นอนตะแคง ด้นิ พลกิ ตวั ไปมา ใบโบกใชท้ ้องไถ ขาถบี ทรายขึ้นๆ ลงๆ ให้ทราย เกาชว่ ยแก้คนั เด็กๆ ช่วยกนั ตักน้�าสาดลกู ช้าง เสยี งลูกชา้ งรอ้ งเอิ๊กๆ แอ๊กๆ อยา่ งสนุกสนาน และมีความสขุ ภผู าและเพอ่ื นๆ เขา้ มากอดลกู ช้าง ภูผา ลบู หัวเพ่อื นช้างเบาๆ เพ่ือนรกั เพื่อนเล่น เรา จะไดเ้ ลน่ กันอยา่ งนอี้ ีกไหม คิดแล้วใจหาย หนา้ ยส่ี บิ ห้า 25
อธิบายเพ่ิม เติมความรู้ อา่ นสระ อ่านว่า เอยี ะ (พบที่ใช้น้อยมาก) อ่านวา่ เอีย เ_ียะ เ_ยี ะ เกียะ เ_ยี เ_ยี เผียะ เพยี ะ อ่านแจกลูก เกีย ก เปยี ผ เขีย พ เถยี เสยี ก เมีย ป ข ถ ส ม 26 หน้ายี่สบิ หก
อา่ นสะกดคา� เก๊ยี ะ สะกดวา่ อา่ นวา่ พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ก เ_ยี ะ ๊ กอ-เอยี ะ-เกยี ะ-ไมต้ รี เก๊ียะ เผยี ะ สระ สะกดวา่ อ่านวา่ พยัญชนะ เ_ยี ะ ผอ-เอยี ะ เผยี ะ ผ เปรีย๊ ะ อา่ นวา่ พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ สะกดวา่ ปร เ_ียะ ๊ ปอ-รอ-เอยี ะ-เปรยี ะ-ไมต้ รี เปรย๊ี ะ เตียง ตัวสะกด สะกดว่า อ่านว่า ตอ-เอยี -งอ เตยี ง พยัญชนะ สระ ง ต เ_ยี หน้ายีส่ ิบเจด็ 27
เสยี ม สะกดวา่ อ่านว่า พยญั ชนะ สระ ตวั สะกด สอ-เอีย-มอ เสยี ม ส เ_ยี ม เล้ยี ง พยัญชนะ สระ ตวั สะกด วรรณยุกต์ สะกดวา่ อา่ นวา่ ล เ_ีย ง ้ ลอ-เอยี -งอ-เลยี ง-ไมโ้ ท เลยี้ ง การ สะกดว่า อ่านวา่ กอ-อา-รอ กาน พยญั ชนะ สระ ตัวสะกด *ร ออกเสยี ง น ก _า ร ควาญ ตวั สะกด สะกดว่า อ่านว่า ญ คอ-วอ-อา-ยอ ควาน พยญั ชนะ สระ *ญ ออกเสียง น คว _า ตัวสะกด สะกดวา่ อ่านวา่ วอ-อา-ลอ วาน วาฬ ฬ *ฬ ออกเสียง น พยญั ชนะ สระ ว _า 28 หน้าย่สี ิบแปด
อ่านคา� และสงั เกตตวั สะกด เสียงดงั ทัง้ สอง มองทาง ปางชา้ ง คา� ท่มี ี ง เป็นตวั สะกด เปน็ ค�าแม่ กง จ้มิ ล้มิ ย้มิ แย้ม แกม้ นิม่ อ่มิ เอม คา� ทม่ี ี ม เปน็ ตัวสะกด เปน็ คา� แม่ กม ลาน คูณ หาร ควาญ วาฬ คนจน ผลบญุ หนุ หนั สญั ญาณ บ้านเรอื น เพอ่ื นเลน่ เช่นกนั บนั ดาล ค�าท่ีมี น ญ ณ ร ล ฬ เปน็ ตวั สะกด เป็นคา� แม่ กน ฝึกอา่ นประโยค เจา้ ของช้างประชมุ ทล่ี านวดั เราทา� บ่อทรายใหเ้ พื่อนเลน่ ใบโบก ใบบัว ไปโรงเรียนฝึกลกู ช้าง เดก็ ๆ และลกู ช้างเลน่ ฟุตบอลที่ริมตลิง่ ลูกช้างร้องเอ๊ิกๆ แอก๊ ๆ อยา่ งมีความสุข หน้ายี่สิบเก้า 29
อ่านคล่อง ร้องเล่น คิดถึง เพื่อนรัก ใจหาย คดิ ถึง เพื่อนรัก เคยอยู่พร้อมพรกั จะตอ้ งจากกัน เคยเลน่ เคยกิน เคยนอน แมย้ ามพักผ่อน ยังหว่ งหากนั ลาก่อน เพ่อื นเล่น เพื่อนรัก อีกไมน่ านนัก คงได้พบกนั กิจกรรม ชวนทา� ชวนคดิ ๑. หาคา� เสรมิ มาเตมิ ใจ นกั เรยี นชว่ ยกนั หาค�าขึน้ ตน้ ด้วย ใจ และลงทา้ ยด้วย ใจ แล้ว น�ามาเติมลงในกระดาษรูปหัวใจท่ีครแู จก เชน่ ã¨ËÒ ËÒÂ㨠ã¨àÊÕ àÊÂÕ ã¨ 30 หน้าสามสิบ
๒. ฝกึ อา่ น ๒.๑ อ่านค�า พูดคุย หรอื เลน่ เกมทายค�า เกี่ยวกบั ความหมาย ของค�าและภาพประกอบใน รู้จักค�ำ นำ� เรอื่ ง ๒.๒ ครูอ่านเรื่อง ใจหำย ให้นักเรียนฟังจนจบ แล้วพูดคุย ตั้งค�าถามเกี่ยวกับเน้อื เร่ือง ๒.๓ แบ่งกลุ่มนกั เรยี นอา่ นเร่อื ง ใจหำย กลุ่มละตอนจนจบเร่ือง ๒.๔ ฝกึ อา่ นแจกลกู อา่ นสะกดคา� อา่ นคา� และอา่ นประโยคใน อธิบำยเพ่มิ เติมควำมรู้ ๒.๕ ฝึกอ่านออกเสียงใน อ่ำนคล่อง ร้องเล่น ให้เป็นจังหวะ จนคลอ่ ง อาจร้องเปน็ เพลง ทา� ทา่ ประกอบตามความเหมาะสม ๓. ฝึกเขียน ๓.๑ ฝึกเขยี นค�าใน รจู้ ักค�ำ น�ำเร่อื ง ๓.๒ เลือกเขียนค�าและประโยคใน อธิบำยเพิ่ม เติมควำมรู้ ตามความเหมาะสม ๔. ทายปรศิ นา ชว่ ยกนั คดิ ปรศิ นาค�าทาย โดยมคี �าตอบเปน็ อวยั วะของชา้ ง เชน่ อะไรเอ่ย ดคู ล้ายเสา เอาไว้เดิน (ขา) ๕. แสดงบทบาทสมมตุ ิ นักเรียนแบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมุติ โดยให้นักเรียนแสดง เปน็ ภูผาและนา้� ใสจะต้องจากใบโบกและใบบวั ๖. แขง่ ขนั หาคา� แบ่งกลุ่มแข่งขันหาค�าที่มีตัวสะกด แม่กง แม่กม และแม่กน จากเรือ่ ง ใจหำย และจากบทเรียนทีเ่ รียนมาแล้ว หน้าสามสิบเอ็ด 31
๓ ครวั ปา่
รู้จกั ค�า นา� เรือ่ ง ไฟ แกะ งอ ห่อ ย่าง สูง นึ่ง ทง้ิ ผกั นก บน โยน 34 หนา้ สามสบิ ส่ี
เมฆ ลอย ปลา หมา ผีเสือ้ มะเขอื มะขาม ก่งิ ไม้ จักจน่ั กระตา่ ย กระบอก (จัก-กะ-จั่น) กระทง ใบตอง ใบตองตึง ใบตองตงึ เป็นใบของต้นตองตงึ หรือตน้ ตงึ หรือตน้ พลวง มกั ใชห้ ่อเส้นยาสบู หรือมงุ หลังคา หน้าสามสิบห้า 35
เผา ใต้ ทัว่ ราว ยิ่ง หิว มดิ บงึ ซ่งึ ลกึ หุง สกุ กบู แทบ แทน เอย พอก สัง่ นดั งง อบ เปบิ ทว่ ม พวก พชื พริก น้า� พริก เตรยี ม แปลก กล่ิน กล่มุ กวา้ ง หนา ใหม่ หมก นานา ใบไผ่ สขี าว ชาวปา่ ของใช้ ทอ้ งฟา้ ไดย้ นิ โยกเยก ขา้ วป่า ข้าวบ้าน ขา้ วหลาม หมอ้ ข้าว อาหาร ป่าโปรง่ เชา้ ตรู่ ดินเหนยี ว เหด็ หอม เดนิ ทาง เนือ้ เคม็ ชนิด เมลด็ ธรรมชาติ (มะ-เล็ด) (ทา� -มะ-ชาด) 36 หน้าสามสิบหก
ครวั ป่า กลุ่มของควาญโพและ ควาญมิ่ง ออกเดินทางไป ท�างานกันต้ังแต่เช้าตรู่ ควาญโพขี่พลายมะปนิ มภี ูผาและน�า้ ใสน่งั บนกบู ขา้ งหลัง ตามด้วยใบโบก ใบบัว พร้อมท้ังพังโคน ซ่ึงมีหน้าท่ีขนของใช้ต่างๆ ส่วนพลายทะแนะ พลายมะคา่ และพลายขอนเดนิ ตามหลัง ขบวนชา้ งยง่ิ เดนิ เขา้ ปา่ ลกึ ตน้ ไมย้ งิ่ สงู ใหญ่ มีใบแผก่ ว้าง แทบมองไมเ่ ห็นท้องฟา้ ทัว่ ทง้ั ป่า ไดย้ ินแตเ่ สียงจักจ่ัน กระดึง และกระพรวน เมอ่ื เดินผ่านป่าโปร่งก็เห็นนกนานาชนิดและผีเสื้อ สวยๆ มะปนิ เปน็ ภาษาถน่ิ เหนือ หมายถงึ มะตูม หน้าสามสิบเจ็ด 37
“โยกเยกเอย น้�าท่วมเมฆ กระต่ายลอยคอ หมาหางงอ กอดคอโยกเยก” ภผู าและนา�้ ใส รอ้ งเลน่ กันเสยี งดงั ลั่นปา่ เด็กทั้งสองมองหน้ากันแล้วร้องพร้อมกันใหม่ว่า “ช้างหางงอ กอดคอโยกเยก” ก็ช้างมันเดิน โยกเยกจรงิ นน่ี า ทง้ั สองคนรอ้ งเลน่ กนั จนหวิ จงึ หยบิ หอ่ ขา้ ว ทแ่ี ม่เตรยี มมาให้ พอเปดิ ห่อข้าวออก เพอ่ื นรัก เพอ่ื นเลน่ ทงั้ สองคนหวั เราะจนตวั งอ เพราะขา้ วใน ห่อใบตองมีเน้ือเค็มกับน�้าพริกมะขามเหมือนกัน ราวกับนดั 38 หนา้ สามสบิ แปด
บา่ ยมากแลว้ ควาญโพสง่ั หยดุ พกั ใกลบ้ งึ ใหญ่ ผู้ใหญช่ ว่ ยกนั เอาของใชล้ งจากหลงั พงั โคน เตรยี ม ที่พักและอาหารเย็น เดก็ ๆ ชว่ ยกันเกบ็ กงิ่ ไมแ้ หง้ มากองไว้ สว่ นชา้ งตวั ใหญพ่ าชา้ งตวั เลก็ ไปกนิ ใบไผ่ พอ่ ของภูผาบอกวา่ “จะหงุ ขา้ วปา่ ใหก้ นิ ” เด็กๆ งง ถามว่า “ข้าวป่ากับข้าวบ้านต่างกัน ตรงไหน” “ต่างกันสิ ตรงทข่ี า้ วปา่ ใชก้ ระบอก ไม้ไผแ่ ทนหม้อข้าว แล้วน�าไปเผาไฟเหมอื นเผา ขา้ วหลาม” พอ่ บอก หนา้ สามสิบเกา้ 39
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221