Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า 2_2563

แผนการสอนวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า 2_2563

Description: แผนการสอนวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า 2_2563

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า รหัส 2104-2109 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช 2556 ภาคเรียนที ปี การศึกษา โดย นายวิทยา สุภาอนิ ทร์ ตําแหน่ง ครู แผนกวชิ าช่างไฟฟ้า วทิ ยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า รหัส 2104-2109 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2556 โดย นายวิทยา สุภาอนิ ทร์ ตาํ แหน่ง ครู แผนกวชิ าช่างไฟฟ้า วทิ ยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คำนำ ปจจุบันนี้ระบบควบคุมอัตโนมัติของเครื่องจักรหรือขบวนการผลิตตางๆ ถูกควบคุมการทำงาน ดวยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร (PLC) ซ่ึงไดมีการจัดใหเรียนรูการใชงานโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรเ บือ้ งตน (Binary logic operation : BASIC) ในรายวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา รหสั 2104-2109 ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2556 สาขาวชิ าชา งไฟฟากำลัง ผสู อนจงึ ได จัดทำแผนการจัดการเรียนรแู บบฐานสมรรถนะ การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง รายวิชาการโปรแกรม และควบคุมไฟฟาข้ึนเพ่ือเปนแนวทางในการเรียนการสอนสำหรับครูผูสอนใหเปนไปตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ซ่ึงจะทำใหนักเรียนไดรับความรู, ทักษะปฏิบัติและการ ปฏบิ ัติงานรว มกับเพ่ือนรวมงานตลอดจนการดำรงชีวติ ไดอ ยางมคี วามสุข ครบถว นตามเนอื้ หาวิชาอยา งมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด และเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆ ตอไป ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูและบูรณาการน้ี ผูสอนไดพิจารณาจากทรัพยากรและ สภาพแวดลอ มที่มีอยูภายในวิทยาลยั และหองปฏิบัตกิ ารการควบคุมแบบอัตโนมัติ ซึ้งสามารถตอบสนอง ตอผเู รียน ชุมชน สถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรมตา งๆ ทีม่ ีอยูในทองถิ่นและจังหวดั ใกลเ คยี ง หรอื ท่ีหางไกล โครงสรา งของแผนการจัดการเรียนรูและบูรณาการ จะเนนการเรียนการสอนโดยผูเรียน เปนสำคัญโดยใชวิธีการสอนแบบนักเรยี นเปนศูนยกลาง มีการใชคำถามถามนำเพ่ือใหนกั เรียนเกิดความ ตระหนักและกระตุนใหนักเรียนเห็นความสำคัญในเร่ืองที่จะตองเรียนในการเรียนแตละคร้ัง และให นักเรยี นสามารถกำหนดหัวขอการเรียนรไู ด มีความรเู พือ่ นำไปเปน แนวทางไปสูการเรยี นรูทักษะปฏบิ ัติ มี การกำหนดวิธีการวัดผลท้ังดานความรู, ทักษะ, กระบวนการ และเจตคติ และการบูรณาการไปสูการ เรยี นรใู นเรื่องอนื่ ๆ แผนการจัดการเรยี นรูและบรู ณาการ นี้สามารถปรับเปลย่ี นใหสอดคลองกบั ทรพั ยากร และสภาพแวดลอมของสถานศกึ ษาตางๆ ที่มีการเรียนการสอนรายวชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟาได แผนการจัดการเรียนรูและบูรณาการ นี้ผจู ัดทำไดจัดทำเพือ่ ใชเปนแนวทางในการเรยี นการสอน ใหนักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากำลังระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 นอกจากน้ียัง สามารถนำไปพัฒนาเพอ่ื จดั ทำแผนการจัดการเรียนรูและบูรณาการในรายวิชาอน่ื ๆ ไดอกี เชน สาขาแมค คาทรอนิกส, สาขาอิเล็กทรอนิกส หรือผูที่สนใจในระบบควบคุมอัตโนมัติโดยการประยุกตใชงาน โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรต อ ไป วทิ ยา สภุ าอนิ ทร ครู ชำนาญการ แผนกไฟฟา กำลงั วิทยาลยั เทคนิคเชยี งใหม

ข หนา ก สารบญั ข ง เรือ่ ง คำนำ 1 สารบญั ลกั ษณะรายวิชา 11 หนวยที่ 1 ประวัติและความเปนมาของ Programmable Controller 20 แผนการเรียนรูที่ 1 หนวยท่ี 2 ความรูพื้นฐานทางดานดิจติ อล 31 43 แผนการเรยี นรูท่ี 2 หนวยที่ 3 โครงสรา งสวนประกอบและการใชง านของProgrammable 58 68 Controller(PLC) 78 แผนการเรยี นรูที่ 3 90 หนวยที่ 4 คำสง่ั พ้นื ฐาน 100 แผนการเรยี นรูที่ 4 แผนการเรยี นรูท่ี 5 101 หนว ยท่ี 5 การควบคุมมอเตอร แผนการเรยี นรูท่ี 6 112 แผนการเรยี นรูที่ 7 แผนการเรียนรทู ่ี 8 123 แผนการเรยี นรูท่ี 9 แผนการเรียนรทู ่ี 10 134 หนว ยที่ 6 การใชง านรเี ลยต ั้งเวลา (Timer) 145 แผนการเรียนรูท่ี 11 หนวยท่ี 7 การใชงานตวั นบั (COUNTER) แผนการเรยี นรูท่ี 12 หนวยที่ 8 การใชง านคำสงั่ สัญญาณ PLUSE แผนการเรียนรูท่ี 13 หนวยท่ี 9 ฟงกชัน่ ระดับสูงและการประยุกตใชงาน แผนการเรียนรูที่ 14 แผนการเรยี นรูที่ 15 สารบญั (ตอ)

ค 155 165 หนวยท่ี 10 การประยุกตใชงานรว มกับระบบนิวแมติกส แผนการเรยี นรทู ี่ 16 แผนการเรยี นรูท่ี 17 - -

ง ลกั ษณะรายวิชา รายวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟา รหสั วิชา 2104-2109 สภาพรายวิชา ระบบควบคุมอตั โนมัติในงานอตุ สาหกรรมดว ยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร (Programmable controller) ระดบั นักเรียนชัน้ ปวช.3 สาขาวชิ าชางไฟฟา เวลาการศกึ ษา 1 ภาคการศกึ ษา ทฤษฎแี ละปฏิบัติ 72 ช่วั โมง ท – ป – น (1 – 3 – 2) หลักสูตรและการวเิ คราะหง านหลักสตู ร 1. ช่ือวชิ า การโปรแกรมและควบคุมไฟฟา 2104-2109 2. จดุ ประสงครายวชิ า 1. เขาใจเก่ียวกบั โครงสรา ง สวนประกอบ การปอนคำสงั่ โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 2. มีทกั ษะเก่ียวกับการใชค ำส่งั แกไข ปรบั ปรงุ โปรแกรมงานควบคุมประเภทตา งๆ 3. มีเจตคตแิ ละกจิ นิสยั ท่ีดีในการปฏิบัตงิ าน มีความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เปน ระเบยี บ สะอาดตรงตอเวลา มีความชือ่ สัตยแ ละมีดวามรับผดิ ชอบ 3. สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเก่ียวกบั โครงสรางและหลักการทำงานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2. ใชชดุ คำสง่ั ควบคุมงานไฟฟา 3. ตอ วงจรการใชงานควบคุมมอเตอร ระบบนวิ เมติกส และอุปกรณไฟฟา 4. คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกบั โครงสรา ง สวนประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร คำส่งั การ ปอนขอมลู วงจรการใชง านควบคมุ มอเตอรและอุปกรณไฟฟา ตา งๆ วงจรควบคุมระบบนิวเมตกิ ส การ แกไขและปรบั ปรงุ โปรแกรมปอนขอมูล

จ รหัส 2104-2109 ตารางวิเคราะหหลักสตู ร 2 ชนั้ ปวช.3 วิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟา หนว ยกติ . สาขาวชิ า/กลุมวิชา/ ไฟฟากำลัง พทุ ธิพิสยั พฤติกรรม ชื่อหนว ย ความ ูร ความขาใจ นำไปใช วิเคราะห สังเคราะห ประเ ิมนคา ทักษะพิ ัสย จิตพิสัย ลำ ัดบความสำ ัคญ จำนวนคาบ 1.ประวัติและความเปน มาของ Programmable 6 6 6 - - - 10 2 8 4 Controller 4 2.ความรูพน้ื ฐานทางดานดิจติ อล 5 5 6 - - - 20 2 7 4 6 6 7 - - - 20 2 6 3.โครงสรางสว นประกอบและการใชง านของ 8 Programmable Controller (PLC) 7 7 8 - - - 20 2 1 20 4 4.คำสั่งพ้ืนฐาน 4 4 5.การควบคมุ มอเตอร 8 9 10 - - - 100 2 2 8 6.การใชงานรีเลยต ้งั เวลา (Timer) 8 8 10 - - - 20 2 5 8 7.การใชงานตัวนบั (COUNTER) 8 8 10 - - - 20 2 5 68 8.การใชงานคำสง่ั สญั ญาณ PLUSE 8 8 10 - - - 20 2 5 9.ฟง กช นั่ ระดับสงู และการประยุกตใ ชงาน 8 8 10 - - - 40 2 4 10.การประยุกตใ ชงานรว มกับระบบ 8 8 10 - - - 40 2 3 นิวแมติกส 79 80 95 - - - 330 20 รวม 321 ลำดบั ความสำคญั เกณฑการประเมนิ ผลพุทธิพสิ ยั 9-10=สำคญั มากทสี่ ดุ ,7-8=สำคัญมาก,4-6=สำคัญปานกลาง,2-3=สำคัญนอย,0-1=สำคัญนอ ยมาก

ฉ หนว ยการจดั การเรียนรูภาคทฤษฎี วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา รหสั 2104-2109 จำนวน 1 ช่ัวโมงตอสปั ดาห ชั่วโมงรวม 18 ช่วั โมง หนว ยที่ ครั้งที่ จำนวน เรอื่ ง ชวั่ โมง 1 1 2 2 1 ประวัตแิ ละความเปน มาของ Programmable Controller 3 3 1 ความรูพ น้ื ฐานทางดา นดิจติ อล 1 โครงสรางสว นประกอบและการใชง านของProgrammable Controller (PLC) 44 1 คำส่ังพ้ืนฐาน 45 56 1 หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม 1 การแบง พืน้ ทห่ี นวยความจำและการกำหนดตำแหนง ในระบบโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร 57 1 รีเลยท ใ่ี ชในงานควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟา 58 59 1 การปองกนั การทำงานพรอมกัน 5 10 6 11 1 ชนิดของไดอะแกรม 7 12 8 13 1 โปรแกรมการทำงานเรียงลำดับ 9 14 9 15 1 การใชงานตวั ตัง้ เวลา 10 16 10 17 1 การใชง านตัวนับ 1-17 18 1 การใชง านคำสั่งสญั ญาณพลั ส รวม 1 การเคลือ่ นยายขอมลู 1 การเปรยี บเทียบขอ มลู 1 หลกั การทำงานของโซลนิ อยดวาลว 1 เซนเซอร (sensor) ท่ใี ชในงานอตุ สาหกรรม 1 สอบปลายภาคเรียน 18 ***********************************************

ช การจดั การเรียนรภู าคปฏิบัติ วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟา รหัส 2104-2109 จำนวน 3 ชั่วโมงตอสัปดาห ชวั่ โมงรวม 54 ช่วั โมง ใบงานท่ี ครัง้ ท่ี จำนวน เรื่อง ชั่วโมง 1 1 2 2 3 วงจรบรรจุหบี หอ 3 3 3 การสรางวงจรควบคุมหลอดไฟดว ยสวิตชก ด 3/4 3 โครงสรา งและเทคนิคการใชงานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร เบือ้ งตน 44 3 การใชงานคำส่ังพนื้ ฐานแบบ Bit Logic Operation 55 66 3 หลกั การเขียน Ladder Diagram 77 88 3 โปรแกรมควบคุมมอเตอรห มุนทางเดยี ว (Direct start) 99 10 10 3 โปรแกรมควบคุมมอเตอร 3 เฟส แบบ 2 ตำแหนง 11 11 12 12 3 โปรแกรมควบคุมวงจรกลบั ทางหมุนมอเตอร 13 13 14 14 3 โปรแกรมควบคุมปม น้ำ เตมิ ระดบั ของเหลวภายในถงั 15 15 16 16 3 โปรแกรมควบคุมการเร่ิมเดนิ มอเตอรแ บบเรยี งลำดับ 17 17 1-17 18 3 โปรแกรมควบคุมสญั ญาณไฟจราจร รวม 3 โปรแกรมควบคุมสัญญาณไฟเกมสโ ชว 3 โปรแกรมควบคมุ เครื่องบรรจุยาอตั โนมัติ 3 โปรแกรมควบคุมการเรม่ิ เดนิ มอเตอรแ บบสตาร- เดลตา 3 โปรแกรมควบคมุ จำนวนรถบริเวณลานจอดรถ 3 โปรแกรมควบคมุ ชดุ จำลองการผลิตการเจาะชน้ิ งาน 3 โปรแกรมควบคมุ ชดุ จำลองการผลติ การคัดแยกชน้ิ งาน 3 สอบปฏิบัตปิ ลายภาคเรยี น 54 ***********************************************

ซ กำหนดการสอน สอน วัน/เดือน/ป ชว่ั โมง รายการสอน หมายเหตุ ครงั้ ท่ี ที่ 1 1 ท.การควบคมุ ในระบบอุตสาหกรรม 2-4 ป.วงจรบรรจหุ บี หอ 2 1 ท.ความรพู ื้นฐานทางดานดิจิตอล 2-4 ป.การสรา งวงจรควบคมุ หลอดไฟดว ยสวิตชก ด 3/4 3 1 ท.โครงสรา งสว นประกอบและการใชง านของ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2-4 ป.โครงสรางและเทคนิคการใชงานโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรเบอ้ื งตน 4 1 ท.คำสง่ั พื้นฐาน 2-4 ป.การใชงานคำสั่งพื้นฐานแบบ Bit Logic Operation 5 1 ท.หลักการเขียนแลดเดอรไดอะแกรม 2-4 ป.หลกั การเขยี นแลดเดอรไ ดอะแกรม 6 1 ท.การแบงพ้นื ทหี่ นวยความจำและการกำหนด ตำแหนงในระบบโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2-4 ป.โปรแกรมควบคมุ มอเตอรหมุนทางเดียว 7 1 ท.รเี ลยท ่ีใชในงานควบคุมเคร่ืองกลไฟฟา 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมมอเตอร 3 เฟส แบบ 2ตำแหนง 8 1 ท.การปองกนั การทำงานพรอมกนั 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมวงจรกลับทางหมนุ มอเตอร 9 1 ท.ชนดิ ของไดอะแกรม 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมปม นำ้ เติมระดบั ของเหลว ภายในถงั

ฌ สอน วัน/เดอื น/ป ชั่วโมง รายการสอน หมายเหตุ ครง้ั ท่ี ที่ 10 1 ท.โปรแกรมการทำงานเรียงลำดับ 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมการเรม่ิ เดินมอเตอร แบบเรียงลำดบั 11 1 ท.การใชง านตัวต้งั เวลา 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมสญั ญาณไฟจราจร 12 1 ท.การใชง านตวั นบั 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมสญั ญาณไฟเกมสโชว 13 1 ท.การใชง านคำสัง่ สญั ญาณพัลส 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมเครอื่ งบรรจยุ าอัตโนมตั ิ 14 1 ท.การเคลื่อนยา ยขอมลู 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมการเรม่ิ เดินมอเตอรแ บบ สตาร-เดลตา 15 1 ท.การเปรยี บเทียบขอ มลู 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมจำนวนรถบริเวณลานจอดรถ 16 1 ท.หลกั การทำงานของโซลินอยดวาลว ป.โปรแกรมควบคมุ ชดุ จำลองการผลติ การเจาะ 2-4 ชิ้นงาน 17 1 ท.เซนเซอร (sensor) ท่ใี ชในงานอุตสาหกรรม 2-4 ป.โปรแกรมควบคุมชดุ จำลองการผลิตการคดั แยก ช้ินงาน 18 1 - 4 สอบปลายภาคเรียน

ญ คำแนะนำการใชแผนการเรยี นรู รายวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา รหสั 2104-2109 ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2556 วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื ใหค รูผูสอนใชเ ปน แนวทางในการเรยี นการสอนรายวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา รหัส 2104-2109 สาขาวิชาชา งไฟฟากำลัง หรือชางเทคนิคในสาขาอื่นๆ ท่มี ีการเรยี นการ สอนเกยี่ วกบั ระบบควบคุมอตั โนมัตดิ วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร 2. เพื่อใหครผู ูส อนสามารถพัฒนาหรือบรู ณาการแผนการเรียนรูรายวชิ าการโปรแกรมและ ควบคุมไฟฟา ไปสูรายวิชาอ่ืนๆ สภาพการเรยี นการสอน สภาพการเรยี นเปนการเรยี นรภู าคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ ในเรอ่ื งการควบคมุ มอเตอรไฟฟา , อปุ กรณไฟฟา , ระบบนวิ เมตกิ ส และระบบควบคมุ อัตโนมตั ิแบบตางๆ ในงานอุตสาหกรรม ดว ยการพมิ พ โปรแกรม PLC ลงหนวยความจำของ Programmable Controller (PLC) ยี่หอ SIEMENS รนุ S7-200 ขั้นตอนการเรยี นการสอน 1. ขัน้ นำเขา สูบทเรยี น เปนขัน้ ตอนการนำเขาสูบทเรียนภาคทฤษฎเี พอื่ เปน แนวทางนำไปสูการเรียนรใู นภาคปฏิบตั ิ โดย ยกตัวอยา งการทำงาน, การใชค ำถามถามนำ, ปญ หาตา งๆ ทเ่ี กิดขนึ้ และความเสียหายของเครือ่ งจักรหรือ ขบวนการอื่น ๆ ท่ีเกยี่ วขอ งกับการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา วิธีการแกปญหา ในหนวยการเรยี นรนู ้นั ๆ เพอื่ ใหนักเรยี นเกิดความตระหนักและกระตนุ ใหเ ห็นความสำคญั ในเร่อื งน้นั และเกิดความสนใจท่ีอยากจะ ศึกษาเรยี นรู นอกจากน้นั ยงั ไดมกี ารยกตวั อยา งผทู ่ีประสบความสำเรจ็ ในระบบควบคมุ ควบคมุ อัตโนมตั ิ เพ่ือเสริมกำลังใจใหนักเรียนเกดิ การเรียนรมู ากย่งิ ขึ้น 2. ขัน้ สอน เปน ข้ันตอนการดำเนนิ การใหเน้ือหาทางดา นความรซู งึ่ เปนการเรยี นรูใ นภาคทฤษฎีที่ไดรับการ กระตนุ ใหเกิดการเรยี นรูจากขั้นนำเขาสูบทเรยี น โดยการใชคำถาม, การอธิบาย, การบรรยาย, การตอบ คำถามและการสาธติ ซึ่งจะเปนการเรยี นการสอนทห่ี ลากหลายวธิ ี มีแบบฝกหัดและเฉลยแบบฝกหดั โดย นักเรยี นรว มกบั ผสู อนเปน ผเู ฉลย ซงึ่ เปน การประเมินผลทางดานเนอ้ื หา 3. ขัน้ สรปุ ผล ประกอบดวยขัน้ ตอน 2 ขัน้ ตอน ดังนี้

ฎ 1. เปน ขนั้ ตอนการสรปุ ผลทางดานเน้อื หา โดยนักเรียนเปน ผูส รุปหรือนกั เรียนรว มกับผูสอนสรปุ เน้ือหาท่เี ปน สาระสำคัญในเรื่องนั้นเพือ่ นำไปสกู ารเรียนรูในภาคปฏิบัตติ อไป 2. เปน ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ านตามใบงานที่กำหนด โดยนักเรยี นตอ งศกึ ษาและปฏิบัตติ าม ขั้นตอนและลำดบั การทดลองที่ไดกำหนดไวใ นใบงานอยางถกู ตองทง้ั น้ีเพ่ือการปฏบิ ัตงิ าน, การทดลองจะ ไดเปน ไปตามเวลาทีผ่ สู อนกำหนดในแตล ะใบงานและปอ งกันอนั ตรายและความเสียหายท่อี าจจะเกิดขนึ้ ขณะทำการทดลองหรือขณะนำเสนอผลงาน ลำดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ใหนกั เรยี นปฏิบตั ิการเตรียมอุปกรณท ดลองตามใบงาน การเขยี น โปรแกรม PLC การพิมพโ ปรแกรมคำสั่งและการทดลองการทำงาน ตามเง่ือนไขที่กำหนด โดยการตอ Programmable Controller (PLC) ยหี่ อ SIEMENS รนุ S7-200กบั อุปกรณท ดลองเลียนแบบการทำงาน กับอปุ กรณท ดลอง การบันทกึ ขอ มลู สรุปผล และวิจารณก ารทดลอง สำหรบั ครูผูส อนใหส งั เกตการ ปฏบิ ตั งิ าน 4. ขน้ั วัดผลประเมินผล 4.1 เปน ขั้นตอนท่คี รผู ูส อนประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของนักเรียนตามแบบประเมินผล เพือ่ ตรวจสอบขบวนการเรียนรูของนักเรยี นวาเปน ไปตามจุดประสงคที่กำหนดไวหรอื ไม ดังน้ี การประเมินผลเปนสว นหนง่ึ ของขบวนการเรยี นการสอน โดยตอ งทำควบคกู ับการเรียนการสอน เสมอ และวางเปาหมายของการประเมินผลผเู รียนไวท ่ี 4.1.1 เปนการประเมินผลเพอ่ื จดั วางตัวผเู รียนใหเหมาะสมกับความสามารถ 4.1.2 เปนการประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ การเรียนรูของผเู รียน 4.1.3 เปนการพัฒนาและปรบั ปรงุ การสอนของครผู ูส อน 4.2 การวัดผลและประเมนิ ผลตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรู 4.2.1 การวดั ผลดา นเนอ้ื หา เครื่องมือที่ใช : แบบฝก หัด, ขอ สอบเปนเคร่ืองมือหลกั และใชว ธิ กี ารสอบปากเปลา เปนเคร่อื งมือ รอง 4.2.2 การวดั ผลดานทักษะ เครอื่ งมอื ที่ใช : แบบประเมินผลสมรรถนะกระบวนการทางทักษะเปน เครื่องมอื หลักและใชการ สงั เกตเปน เคร่อื งมือรอง 4.2.3 การวัดผลงาน เครื่องมอื ที่ใช : แบบประเมินผลงาน 4.2.4 การวดั ผลดานจติ พิสัย เครอ่ื งมอื ที่ใช : แบบประเมินสมรรถนะจิตพิสยั ในการปฏิบัติงาน โดยการสังเกต

ฏ กระบวนการประเมนิ ผลแตละใบงาน 1. ผสู อนสงั เกตการปฏบิ ัติ 1. นักเรยี นปฏบิ ัตงิ านกลุม งาน ใหคำปรกึ ษาแนะนำและใชใ บประเมินผล 1.1 ใหความรว มมือในการ ประกอบดังน้ี ปฏิบัติงาน 1.1 แบบประเมนิ ผลสมรรถนะกระบวน 1.2 รว มกนั วางแผนในการ การทางทักษะ ปฏิบัตงิ าน 1.2 แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพิสัย 1.3 รว มกนั แกป ญ หา ในการปฏิบัตงิ าน 1.4 ปฏิบัตงิ านดวยความละ 2. ประเมนิ ผลงานโดย เอยี ดรอบคอบ ตรวจการทำงานของโปรแกรมตามเกณฑ สรุป 2. นักเรียนสง งานใหครผู ูสอนตรวจ และวจิ ารณผ ลการทดลอง ทีละข้ันตอน ตอบคำถามระหวางการทดลอง แบบประเมนิ ผลงาน 3. สังเกตการเก็บเคร่อื งมือ 3. นกั เรียนรว มมือกันเก็บ อปุ กรณควบคุมและทำความสะอาด อปุ กรณ เครื่องมือ การบำรุงรักษา แบบประเมนิ ผลสมรรถนะ เครอ่ื งมอื และการทำความสะอาด จติ พิสยั ในการปฏิบตั งิ าน บรเิ วณพ้นื ท่ฝี ก งาน

1 แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ จํานวนคาบรวม วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า(รหสั วิชา 2104-2109) 72 ชัวโมง มาตรฐานที 1 เข้าใจส่ วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ หน่วยที 1 ประวตั แิ ละความเป็ นมาของ จาํ นวนคาบรวม สอนครังที 1 Programmable Controller 4 ชัวโมง จาํ นวนคาบ 4 ชัวโมง ทฤษฎี เรืองที 1 การควบคมุ ในระบบอตุ สาหกรรม ปฏิบตั ิ ใบงานที 1 วงจร Packking machine

2 1. สาระสําคัญ : เวลา 4 ชัวโมง ก่อนการเรียนรู้เกียวกบั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ นกั เรียนตอ้ งศึกษาและทาํ ความเขา้ ใจ เกียวกบั การควบคมุ ในระบบงานอุตสาหกรรม เบืองตน้ ก่อน ไดแ้ ก่ ชนิดของการควบคุม ความหมายของ การควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ประวตั ิความเป็นมาของระบบ Programmable Controller (PLC) การพฒั นาระบบ Programmable Controller (PLC) ขอ้ ดีของระบบ Programmable Controller (PLC) การเปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งการใชง้ านระบบ Programmable Controller (PLC) และระบบรีเลยใ์ น การควบคุม การแบ่งขนาดของระบบ PLC และ ตวั อยา่ งของการประยุกตใ์ ชง้ าน Programmable Controller (PLC) 2. สมรรถนะประจําหน่วยที 1 2.1 แสดงความรูเ้ กียวกบั การควบคมุ ในระบบงานอุตสาหกรรม 2.2 ปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึกควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลทีต่อวงจรไวแ้ ลว้ ไดแ้ ก่วงจร Packking machine ตามหลกั การและกระบวนการ 2.3 ปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึ กควบคุมดว้ ยระบบ Programmable Controller (PLC) ที ออกแบบและเขยี นโปรแกรมแก่วงจร Packing machine ตามหลกั การและกระบวนการ 2.4 เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งการการเปรียบเทยี บความแตกต่างระหวา่ งการใช้งาน ระบบ Programmable Controller (PLC) และระบบไฟฟ้าเชิงกลในการควบคมุ ในระบบงานอุตสาหกรรม 2.5 แสดงเจคติและลกั ษณะพฤติกรรมลกั ษณะนิสยั ในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ซือสตั ย์ ใฝ่รู้ มีความคิดริเริมสร้างสรรค์ ละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั ละเวน้ จากยาเสพติดและทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ืนได้ 3. จดุ ประสงค์การเรียน 3.1 จุดประสงค์ทัวไป : ลกั ษณะทีพงึ ประสงค์เมือผ่านการเรียนรู้ของผ้เู รียน 3.1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจในเรืองการควบคุมในระบบงานอุตสาหกรรม และเขา้ ใจความ เป็น มาของ Programmable Controller(PLC) 3.1.2 มีทกั ษะปฏิบตั ิการทดสอบชุดฝึกควบคมุ ดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและชุดฝึก Programmable Controller (PLC) วงจร Packing machine 3.1.3 มีจิตพสิ ยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน อนั ไดแ้ ก่ มีความรบั ผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ ซือสตั ย์ มี คุณธรรม

3 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม : ผู้เรียนมคี วามสามารถดังต่อไปนี 3.2.1 บอกความหมายของการควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ได้ ตามหลกั การ 3.2.2 จาํ แนกชนิดของการควบคุมแบบซีเควนซ์ (Sequence Control) ได้ ตามหลกั การ 3.2.3 ทดสอบชุดฝึ กควบคมุ ดว้ ยระบบไฟฟา้ เชิงกลและชุดฝึก Programmable Controller (PLC) วงจร Packing machine ไดถ้ กู ตอ้ ง ตามหลกั การดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ 3.2.4 เปรียบเทียบการควบคุมในระบบงานอุตสาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟา้ เชิงกลและ Programmable Controller (PLC) วงจร Packing machine ไดถ้ ูกตอ้ ง ตามหลกั การ 3.2.5 แกป้ ัญหาเกิดขอ้ บกพร่องขึนระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงานตามหลกั การ 3.2.6 สรุปและวจิ ารณ์ผลการทดลอง ตามหลกั การ 3.2.7 แสดงใหเ้ ห็นถึงจิตพสิ ัยทีดใี นการปฏิบตั ิงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1ทฤษฎี เรืองการควบคุมในระบบอุตสาหกรรม ซึงประกอบไปด้วย 4.1.1 การควบคุมในระบบอุตสาหกรรม 4.1.1 แนะนาํ Programmable Controller (PLC) ซึงเป็นอปุ กรณ์ควบคมุ ทีสามารถ กาํ หนดโปรแกรมการทาํ งานไดโ้ ดยการโปรแกรมซึงจะนาํ มาทดแทนการเดินสายทีมีปัญหา 4.1.2 ขอ้ ดีของ Programmable Controller (PLC) และเปรียบเทียบขอ้ ดีของ Programmable Controller (PLC) กบั วงจรควบคุมทีใชร้ ะบบไฟฟ้าเชิงกล 4.2 ปฏิบัติ ใบงานที 1 การทดสอบวงจรควบคุมด้วยระบบไฟฟ้าเชิงกลและระบบ Programmable Controller (PLC) เป็นทดสอบการทาํ งานของวงจร Packing machine ดว้ ยอปุ กรณ์ควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและ ระบบ Programmable Controller (PLC) ซึงในวงจรควบคุมดงั กล่าวจะมีโครงสร้างของวงจรควบคมุ ประกอบดว้ ย 1. อุปกรณ์อินพุท (Limit Switch) 2. อปุ กรณ์เอาทพ์ ทุ (Solenoid value) 3. อุปกรณ์ควบคมุ (Auxiliary Relay,Timer,counter)

4 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎใี ช้การสอนแบบ MIAP 5.1 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี ใชข้ นั ตอนการสอนแบบ MIAP 5.1.1 ขันนาํ เข้าสู่บทเรียน 5.1.1.1 ครูชีแจงจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ของหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 5.1.1.2 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ส่งแบบทดสอบก่อนเรียนดงั กลา่ วคนื ครู 5.1.1.3 ครูนาํ เนือหาสาระของหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)มาสร้างใหเ้ กิดปัญหาทีน่าสนใจหรือน่าติดตาม เพือให้นกั ศึกษาเกิดความสนใจและอยากคน้ หาคาํ ตอบ ในขนั ศึกษาขอ้ มูล 5.1.2 ขันศึกษาข้อมูล 5.1.2.1 ครูอธิบายสาระการเรียนรู้ โดยใชส้ ือโสตทศั น์จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ และ นกั เรียนใชใ้ บความรู้ โดยครูใชว้ ิธีบรรยาย, ยกตวั อยา่ งปัญหา, สาธิตวธิ ีการทาํ งานของวงจรการควบคุม มอเตอร์ไฟฟ้า/อปุ กรณ์ไฟฟ้า และถาม-ตอบ เพือใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ตามสาระการเรียนรูท้ ี กาํ หนด ดงั นี 1) การควบคุมในระบบอุตสาหกรรม 2) การควบคมุ แบบซีเควนซ์ (Sequence Control) - การควบคมุ ดว้ ยแรงงานจากมนุษย์ (Manually) - การควบคมุ ดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล (Electro Mechanically) - การควบคมุ ดว้ ยตวั คอลโทรลเลอร์ (Controller) - การควบคมุ แบบศูนยก์ ลาง (Certral Control System) 3) ขอ้ เสียของการควบคมุ ในระบบงานอตุ สาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล 4) วิธีการแกป้ ัญหาของการควบคมุ ในระบบงานอตุ สาหกรรมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกล 5) ขอ้ ดีของการใช้ Programmable Controller (PLC) ในระบบงานอุตสาหกรรม 6) การเปรียบเทียบการควบคมุ ในระบบงานอตุ สาหกรรมดว้ ยอปุ กรณไ์ ฟฟ้าเชิงกลและ ระบบ Programmable Controller (PLC) 7) การจาํ แนกประเภทของ Programmable Controller (PLC) 5.1.2.2 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)

5 โดยมคี รูแนะนาํ ชีแนะเมือผเู้ รียนมีปัญหาสงสัยเกียวกบั โจทยฝ์ ึกหัดทีกาํ หนดให้ 5.1.2.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลย แบบฝึ กหดั หน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมากหรือมีคาํ ตอบหลากหลาย ครูทาํ การอธิบายเพิมเติม 5.1.2.4 ครูร่วมกบั นกั ศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเนือหาของหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 5.1.3 ขันพยายาม นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 5.1.4 ขันสําเร็จ 5.1.4.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผดิ มากหรือมีคาํ ตอบหลากหลายครู จะทาํ การอธิบายเพิมเติม 5.1.4.2 นกั เรียนทกุ คนแจง้ ผลคะแนนแบบฝึ กหดั แบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยที 1 ใหค้ รูรับทราบ เพือบนั ทึกเป็นคะแนนเกบ็ สะสมไวใ้ นบญั ชีเก็บคะแนนของนกั เรียน

6 ภาคปฏิบตั ิ : ใช้การสอนแบบ Shop lesson 5.2 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ใบงานที 1 แนะนําเกียวกบั Programmable Controller (PLC) ลาํ ดับการสอน (Step operation) 5.2.1. ขันเตรียมการสอน (Preparation step) ครูชีแจงใบงานที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) อธิบาย จุดประสงคก์ ารเรียน 5.2.2 ขันให้เนือหา (Presentation step) ครูอธิบายทฤษฎที ีเกียวขอ้ งกบั การการควบคุมในระบบงานอตุ สาหกรรมโดย ยกตวั อยา่ งของวงจร Packing machine ทีควบคุมดว้ ยระบบไฟฟ้าเชิงกลและระบบ Programmable Controller (PLC) ซึงในเนือหาจะประกอบดว้ ยการทาํ งานของวงจรกาํ ลงั และการทาํ งานของวงจรควบคุม 5.2.3. ขันพยายาม (Application step) 5.2.3.1 ครูใหน้ กั เรียนตอ่ วงจร Packing machine โดยควบคมุ ดว้ ยระบบไฟฟ้า เชิงกลและระบบ Programmable Controller (PLC) โดยวธิ ีการเสียบสายบนแผงฝึกตามวงจรทีครูกาํ หนด 5.24. ขันฝึ กหัดและทดสอบ (Testing & Exercising) 5.2.4.1 นกั เรียนทดลองการทาํ งานตามแบบประเมินผลการทดลองและเสนอผล การทดลอง 5.24.2 นกั เรียนสรุปและวิจารณ์ผลการทดลองลงในใบงาน หมายเหตุ : 1. ใช้สือแผ่นใส หรือนาํ เสนอเนือหาโดยสือ Power point ร่วมกบั Projector 2. Programmable Controller (PLC) ต้องถกู เขียนโปรแกรม Packing machine ไว้เรียบร้อย โดยครูผ้สู อน 6.งานทีมอบหมายหรือกจิ กรรม 6.1 ก่อนเรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 6.2 ขณะเรียน 6.2.1 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 6.2.2 นกั เรียนทาํ ใบงานที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 6.2.3 นกั เรียนประเมินแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทีพงึ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ ของ ตนเองและผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC)

7 6.3 หลงั เรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) 7.สือการเรียนรู้ 7.1 สือสิงพมิ พ์ 7.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) พรอ้ มเฉลย 7.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) พร้อมเฉลย 7.1.3 แบบฝึ กหัดหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) พรอ้ มเฉลย 7.1.4 ใบความรู้หน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 7.1.5 ใบงานที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 7.1.6 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานดา้ นทกั ษะกระบวนการหน่วยที1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller(PLC) 7.1.7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพึงประสงคใ์ นการเรียนรู้ของตนเอง และ ผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที 1 เรืองแนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 7.2 สือโสตทัศน์ สือนาํ เสนอการเรียนรู้เนือหาหน่วยที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ 7.3 สืออปุ กรณ์ / สือของจริง ชุดฝึกปฏิบตั วิ ิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้าใชป้ ระกอบการสอนภาคปฏิบตั ิ ซึง ประกอบดว้ ย Programmable Controller(PLC) ยหี อ้ OM-ROM รุ่น C28H, Limit Switch, Solenoid value, Auxiliary Relay, Timer และ counter 8. การประเมินผล (บอกเงือนไขการประเมินผลวา่ ใหค้ ะแนนจากกิจกรรมใดบา้ ง หรือเพิมเติมเกณฑก์ าร วดั ผลประเมินผล แบบบนั ทึกการร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน หรือชินงาน) การประเมนิ ผลเป็นส่วนหนึงของขบวนการเรียนการสอน โดยตอ้ งทาํ ควบคู่กบั การเรียน การสอนเสมอ และวางเป้าหมายของการประเมินผลผเู้ รียนไวท้ ี 1. เป็นการประเมินผลเพือจดั วางตวั ผเู้ รียนให้เหมาะสมกบั ความสามารถ

8 2. เป็นการประเมินผลเพือพฒั นาและปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียน 3. เป็นการพฒั นาและปรับปรุงการสอนของครูผูส้ อน 8.1 การประเมินผลด้านเนือหา เครืองมือทีใช้ : ใชแ้ บบฝึกหดั เป็นเครืองมือหลกั และใชก้ ารสอบปากเปลา่ เป็นเครืองมือรอง รายการประเมิน : แบบฝึ กหดั ที 1 เรือง แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 8.2 การประเมินผลด้านกระบวนการทางทักษะ เครืองมอื ทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะกระบวนการทางทกั ษะ ใชป้ ระเมินผลขณะนักศึกษา กาํ ลงั ปฏิบตั ิงานกลมุ่ โดยการปฏิบตั ิ, สอบปากเปลา่ และการสงั เกต และมีการใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ โดยมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ รายการประเมิน : ใบงานที 1 แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 8.2.1 ผูส้ อนประเมินผลดา้ นกระบวนการทางทกั ษะตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน โดยวธิ ีการสักเกตแุ ละตรวจสอบความถูกตอ้ งของวงจรตามหลกั การ 8.3 การประเมินผลงาน เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลงาน ใชป้ ระเมนิ ผลงานของนกั ศึกษาแตล่ ะกลุม่ หรือเป็นการสรุป การเรียนรู้ในเรืองนนั ๆ โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงานของนกั ศึกษาในการส่งผลงานในครังนนั ๆ รายการประเมิน : ใบงานที 1 แนะนาํ เกียวกบั Programmable Controller (PLC) 8.3.1 ผสู้ อนประเมินผลงานโดยตรวจการทาํ งานของวงจรตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน 8.4 การประเมินผลด้านจติ พสิ ัย เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพิสยั ในการปฏิบตั ิงาน ใชป้ ระเมินผลนกั ศึกษาตงั แต่ เริมตน้ การเรียนรู้จนกระทงั เสร็จสินกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ่วมการสงั เกตจากพฤติกรรมนกั ศึกษาและมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ รายการประเมิน : ใบงานที 1 แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพิสัยในการปฏิบตั ิ 9. กจิ กรรมเสนอแนะ กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนเก่ง คือใหเ้ ป็นผชู้ ่วยครู ใหค้ าํ แนะนาํ เพือนในการทาํ กิจกรรม กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนออ่ น คือให้คาํ แนะนาํ อยา่ งใกลช้ ิดและให้ศึกษาเพิมเติม

9 10. บันทกึ หลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.1 ผลการใช้แผนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.2 สือการเรียนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.3 ผลการสอนของครูผ้สู อน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.4 ผลการเรียนของนักศึกษา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

10 เอกสารอ้างองิ ชาญยทุ ธ์ นุชนงค.์ การโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า. กทม. : บริษทั พฒั นาวิชาการ(2535) จาํ กดั . 2547 บริษทั ออมร่อนตรีศกั ดิจาํ กดั . OPERATION MANUAL OMRON SYSMAC C20 C28H P/C/ 40P . กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท, ม.ป.ป. ผศ. อาํ นาจ วงคผ์ าสุข, ผศ. วิทยา ประยงคพ์ นั ธ์. การควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า วจิ ิตร บญุ ยรโรกุล. ระบบควบคุมมอเตอร์. กทม:หจก.โรงพมิ พเ์ อเชีย, 2527 ไพศาล จนั ทร์ไชย.ใบงานการควบคุมเครืองกลไฟฟ้า. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่ ม.ป.ป. สาคร แสนคาํ ดี.ใบงานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์เบืองต้น. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่ ม.ป.ป. สุพล จริน.ใบงานวชิ าระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่, ม.ป.ป. สุพรรณ กุลพานิชย.์ PROGRAMMABLE CONTROLLER เทคนคิ การใช้งานเบืองต้น. พิมพค์ รังที 2 . กทม. : โรงพิมพท์ ิพยว์ สิ ุทธิ. 2533 อุทยั สุมามาลย.์ การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า. กทม.: โรงพมิ พศ์ ูนยว์ ิชาการ.2543 HAMANN PETER,STEVE WILLING. OPERTION MANUAL OMRON . TOKYO: ม.ป.ท, 1990.

11 แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ จํานวนคาบรวม วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า(รหสั วิชา 2014-2109) 72 ชัวโมง มาตรฐานที 1 เข้าใจส่วนประกอบของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ หน่วยที 2 ความรู้พืนฐานทางด้านดิจิตอล จํานวนคาบรวม สอนครังที 2 4 ชัวโมง จาํ นวนคาบ 4 ชัวโมง ทฤษฎี เรืองที 2 ความรู้พืนฐานทางด้านดจิ ติ อล ปฏิบัติ ใบงานที 2 การสร้างวงจรควบคุมหลอดไฟด้วยสวติ ช์กด 3/4

12 1. สาระสําคญั : เวลา 4 ชัวโมง การปฏิบตั ิการบูลีนจะรับรู้สถานะของตวั แปรเพียงสองสถานะเท่านัน เช่น การควบคุม ไฟฟ้า สามารถทีจะควบคุมใหป้ ิ ด (OFF) หรือเปิ ด (ON) สญั ญาณทีมกี ารเปลียนแปลงไดเ้ พียงสองสถานะ คือ “0” หรือ “1” เรียกสญั ญาณไบนารี (Binary) และระบบปฏิบตั ิการของ PLC จะใชร้ ะบบตวั เลขฐาน 2 และสามารถประยกุ ตเ์ ป็นระบบเลขฐาน 8 และระบบเลขฐาน 16 ซึงตวั แปรสามารถกาํ หนดใหม้ ีเพียงสองค่า เท่านนั คือ “0” หรือ “1” และจะนาํ ตงั แปรมาพิจรณาในลกั ษณะทางคณิตศาสตร์พชี คณิตบูลีน (Boolean algebra) 2. สมรรถนะประจําหน่วยที 2 2.1 แสดงความรูเ้ กียวกบั หนา้ ทีและการทาํ งานของอุปกรณ์ทดลอง 2.2 ปฏิบตั ิการทดลองการทาํ งานตามหลกั การ ขนั ตอนและกระบวนการ 2.3 แสดงเจคติและลกั ษณะพฤติกรรมลกั ษณะนิสยั ในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ซือสตั ย์ ใฝ่รู้ มีความคดิ ริเริมสร้างสรรค์ ละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั ละเวน้ จากยาเสพติดและทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ืนได้ 3. จุดประสงค์การเรียน 3.1 จดุ ประสงค์ทัวไป: ลกั ษณะทีพงึ ประสงค์เมือผ่านการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.1.1 มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเรืองสญั ญาณไบนารี, สัญญาณดิจิตอล, ฟังก์ชนั ลอจิก AND, OR, NOT ร่วมกนั เขียนวงจรควบคมุ หรือโปรแกรมควบคุม 3.1.2 มีทกั ษะปฏิบตั ิการประยกุ ตใ์ ชง้ าน และการนาํ รีเลยช์ ่วย (Auxiliary relay) หรือ หน่วยความจาํ (Memory) ไปใชง้ านควบคุมวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวิตช์กด 3/4 3.1.3 มจี ิตพิสยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน อนั ไดแ้ ก่ มีความรบั ผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ ซือสัตย์ มี คุณธรรม 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม: ผ้เู รียนมีความสามารถดงั ต่อไปนี 3.2.1 เลือก ชนิดของอุปกรณ์ทีใชใ้ นงานควบคุมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3.2.2 อธิบาย การทาํ งานวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวติ ช์กด ¾ ตามหลกั การ 3.2.3 ติดตงั อปุ กรณ์บนแผงเดินสาย ตามแบบทีกาํ หนด ตามหลกั การและขนั ตอน กระบวนการดว้ ยความละเอียดรอบคอบ และคาํ นึงถึงความปลอดภยั

13 3.2.4 ตอ่ สายไฟวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวิตชก์ ด ¾ ตามหลกั การและกระบวนการและ ขนั ตอนกระบวนการดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ และคาํ นึงถึงความปลอดภยั 3.2.5 ทดลอง การทาํ งาน ตามหลกั การและกระบวนการและขนั ตอนกระบวนการดว้ ยความ ละเอยี ดรอบคอบ และคาํ นึงถึงความปลอดภยั 3.2.6 แกป้ ัญหา เมือวงจรทาํ งานไมถ่ กู ตอ้ ง ตามหลกั การ 3.2.7 สรุปและวจิ ารณ์ ผลการทดลอง ตามหลกั การ 3.2.8 ยกตวั อยา่ งการนาํ วงจรควบคมุ หลอดไฟดว้ ยสวิตชก์ ด ¾ ไปใชห้ รือประยกุ ตใ์ ชใ้ น งานควบคุมอตั โนมตั ิอืนๆ ในชีวิตประจาํ วนั และงานอาชีพ 3.2.9 แสดง ใหเ้ ห็นถึงจิตพิสยั ทีดี ในการปฏิบตั ิงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ทฤษฎี สัญญาณและระบบเลขฐาน สญั ญาณไบนารี, สญั ญาณดิจิตอล และการใชฟ้ ังกช์ นั ลอจิก AND, OR, NOT ร่วมกนั ในงานควบคุมจาํ นวนมากตอ้ งการเขียนโปรแกรมทีนาํ การปฏิบตั ิการลอจิกแบบต่างๆ มาต่อใชง้ าน ร่วมกนั และก่อนทีจะทาํ การตอ่ วงจรหรือเขียนโปรแกรมจะตอ้ งปฏิบตั ิตามขนั ตอนดงั นี 4.1.1 สร้างสมการบลู ีนซึงจะอธิบายถึงลอจิกทีใชใ้ นงานควบคมุ 4.1.2 นาํ สมการบูลีนมาพิจรณาเพือจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ในการกระทาํ ทางลอจิก เพือใชใ้ น การเขยี นโปรแกรม 4.1.3 วงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวติ ช์กด 3/4 4.1.4 อุปกรณ์ทีใชใ้ นงานควบคุมรีเลยช์ ่วย (Auxiliary relay ) หรือหน่วยความจาํ (Memory) ทาํ หนา้ ทีจาํ สถานะ “0” หรือ “1” ของอปุ กรณ์ควบคุมตา่ งๆ เอาไว้ และนาํ ผลลพั ธท์ ีไดไ้ ปควบคมุ ขบวนการอืนต่อไป 4.2 ปฏบิ ัติ วงจรควบคมุ หลอดไฟด้วยสวิตช์กด 3/4 ใบงานที 2 วงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวิตชก์ ด ¾ เป็นการประยกุ ตใ์ ชง้ านเรือง สญั ญาณและระบบเลขฐาน อนั ไดแ้ ก่ สัญญาณไบนารี, สัญญาณดิจิตอลและฟังก์ชนั ลอจิก AND, OR, NOTร่วมกนั สร้างวงจรควบคมุ หลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด ¾ ควบคุมการทาํ งานโดยการใชร้ ีเลยช์ ่วย (Auxiliary relay) และสวติ ชป์ ่ มุ กด 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎใี ช้การสอนแบบ MIAP 5.1 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี ใชข้ นั ตอนการสอนแบบ MIAP

14 5.1.1 ขันนําเข้าสู่บทเรียน 5.1.1.1 ครูชีแจงจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ของหน่วยที 2 เรือง ความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล 5.1.1.2 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ส่งแบบทดสอบก่อนเรียนดงั กลา่ วคืนครู 5.1.1.3 ครูนาํ เนือหาสาระของหน่วยที 2 เรือง ความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอลมาสร้างใหเ้ กิด ปัญหาทีน่าสนใจหรือน่าติดตาม เพือให้นกั ศกึ ษาเกิดความสนใจและอยากคน้ หาคาํ ตอบในขนั ศึกษาขอ้ มลู 5.1.2 ขันศึกษาข้อมูล 5.1.2.1 ครูอธิบายสาระการเรียนรู้ โดยใชส้ ือโสตทศั น์จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ และ นกั เรียนใชใ้ บความรู้ โดยครูใชว้ ธิ ีบรรยาย, ยกตวั อยา่ งปัญหา, สาธิตถึงความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล และ ถาม-ตอบ เพือใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ตามสาระการเรียนรู้ทีกาํ หนด ดงั นี 1). สญั ญาณไบนารีและสัญญาณดิจิตอล 2). การเปลียนเลขฐานสองและเลขฐานสิบหก 5.1.2.2 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 2 เรือง ความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอล โดยมีครูแนะนาํ ชีแนะเมือผูเ้ รียนมปี ัญหาสงสัยเกียวกบั โจทยฝ์ ึกหดั ทีกาํ หนดให้ 5.1.2.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลย แบบฝึ กหดั หน่วยที 2 เรือง ความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมากหรือมีคาํ ตอบหลากหลาย ครูทาํ การอธิบายเพิมเติม 5.1.2.4 ครูร่วมกบั นกั ศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเนือหาของหน่วยที 2 เรือง ความรู้พนื ฐาน ทางดา้ นดจิ ิตอล 5.1.3 ขันพยายาม นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 2 เรือง ความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอล 5.1.4 ขันสําเร็จ 5.1.4.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที 2 เรือง ความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผดิ มากหรือมีคาํ ตอบหลากหลายครูจะทาํ การอธิบาย เพิมเติม 5.1.4.2 นกั เรียนทุกคนแจง้ ผลคะแนนแบบฝึกหดั แบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยที 2 ใหค้ รูรบั ทราบ เพือบนั ทึกเป็นคะแนนเก็บสะสมไวใ้ นบญั ชีเก็บคะแนนของนกั เรียน

15 ภาคปฏิบัติ : ใช้การสอนแบบ Shop lesson 5.2 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิ ใบงานที 2 โครงสร้างและเทคนิคการใช้งาน Programmable Controller(PLC) เบืองต้น ลาํ ดบั การสอน (Step operation) 5.2.1. ขันเตรียมการสอน (Preparation step) 5.2.1.1 ครูชีแจงใบงานที 2 การสร้างวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด 3/4 อธิบายจุดประสงคก์ ารเรียน 5.2.2 ขันให้เนือหา (Presentation step) 5.2.2.1 อธิบายการทาํ งานวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวติ ช์กด ¾ 5.2.2.2 อธิบายแบบแสดงตาํ แหน่งติดตงั อุปกรณ์เดนิ สาย 5.2.3. ขันพยายาม (Application step) 5.2.3.1 ครูใหน้ กั เรียนการเริมปฏิบตั ิการเดินสายวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวิตช์ กด ¾ 5.2.4. ขันฝึ กหดั และทดสอบ (Testing & Exercising) 5.2.4.1 นกั เรียนทดลองการทาํ งานตามแบบประเมินผลการทดลองและเสนอผล การทดลอง 5.24.2 นกั เรียนสรุปและวจิ ารณ์ผลการทดลองลงในใบงาน หมายเหตุ : ใช้สือแผ่นใส หรือนําเสนอเนือหาโดยสือ Power point ร่วมกบั Projector 6.งานทีมอบหมายหรือกจิ กรรม 6.1 ก่อนเรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 2 เรือง ความรูพ้ ืนฐานทางดา้ นดิจิตอล 6.2 ขณะเรียน 6.2.1 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 2 เรือง ความรู้พนื ฐานทางดา้ นดจิ ติ อล

16 6.2.2 นกั เรียนทาํ ใบงานที 2 เรืองโครงสร้างและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller(PLC) เบืองตน้ 6.2.3 นกั เรียนประเมินแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทีพึงประสงคใ์ นการเรียนรู้ ของ ตนเองและผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานใบงานที 2 เรืองการสร้างวงจรควบคมุ หลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด ¾ 6.3 หลงั เรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 2 เรืองความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอล 7.สือการเรียนรู้ 7.1 สือสิงพมิ พ์ 7.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที 2 เรืองความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจติ อล พร้อมเฉลย 7.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 2 เรืองความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอล พร้อมเฉลย 7.1.3 แบบฝึ กหดั หน่วยที 2 เรืองความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล พร้อมเฉลย 7.1.4 ใบความรู้หน่วยที 2 เรืองความรู้พนื ฐานทางดา้ นดิจิตอล 7.1.5 ใบงานที 2 เรืองการสร้างวงจรควบคมุ หลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด ¾ 7.1.6 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานดา้ นทกั ษะกระบวนการหน่วยที 2 การสรา้ งวงจรควบคุม หลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด ¾ 7.1.7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพึงประสงคใ์ นการเรียนรู้ของตนเอง และ ผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที 2 ความรูพ้ นื ฐานทางดา้ นดิจติ อล 7.2 สือโสตทัศน์ สือนาํ เสนอการเรียนรู้เนือหาหน่วยที ความรูพ้ นื ฐานทางดา้ นดิจิตอล จากโปรแกรมเพาเวอร์ พอยต์ 7.3 สืออุปกรณ์ / สือของจริง ชุดฝึกปฏิบตั ิวิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้าใชป้ ระกอบการสอนภาคปฏิบตั ิ ซึง ประกอบดว้ ย อุปกรณส์ รา้ งวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวิตชก์ ด ¾ 8. การประเมินผล (บอกเงือนไขการประเมินผลวา่ ใหค้ ะแนนจากกิจกรรมใดบา้ ง หรือเพิมเตมิ เกณฑก์ าร วดั ผลประเมินผล แบบบนั ทึกการร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน หรือชินงาน) การประเมินผลเป็นส่วนหนึงของขบวนการเรียนการสอน โดยตอ้ งทาํ ควบคู่กบั การเรียน การสอนเสมอ และวางเป้าหมายของการประเมินผลผเู้ รียนไวท้ ี 1. เป็นการประเมินผลเพือจดั วางตวั ผูเ้ รียนใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถ

17 2. เป็นการประเมินผลเพือพฒั นาและปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียน 3. เป็นการพฒั นาและปรับปรุงการสอนของครูผสู้ อน 8.1 การประเมินผลด้านเนือหา เครืองมือทีใช้ : ใชแ้ บบฝึกหดั เป็นเครืองมือหลกั และใชก้ ารสอบปากเปล่าเป็นเครืองมือรอง รายการประเมิน : แบบฝึ กหัดที 2 เรืองความรู้พืนฐานทางดา้ นดิจิตอล 8.2 การประเมินผลด้านกระบวนการทางทกั ษะ เครืองมอื ทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะกระบวนการทางทกั ษะ ใชป้ ระเมินผลขณะนกั ศึกษา กาํ ลงั ปฏิบตั ิงานกลุม่ โดยการปฏิบตั ิ, สอบปากเปลา่ และการสังเกต และมีการใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ โดยมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ รายการประเมิน : ใบงานที 2 เรืองการสร้างวงจรควบคมุ หลอดไฟดว้ ยสวิตชก์ ด ¾ 8.2.1 ผสู้ อนประเมินผลดา้ นกระบวนการทางทกั ษะตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน โดยวิธีการสักเกตแุ ละตรวจสอบความถกู ตอ้ งของวงจรตามหลกั การ 8.3 การประเมินผลงาน เครืองมอื ทีใช้ : แบบประเมินผลงาน ใชป้ ระเมินผลงานของนกั ศกึ ษาแต่ละกลุม่ หรือเป็นการสรุป การเรียนรู้ในเรืองนนั ๆ โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงานของนกั ศึกษาในการส่งผลงานในครังนนั ๆ รายการประเมิน : ใบงานที 2 เรืองการสรา้ งวงจรควบคุมหลอดไฟดว้ ยสวติ ชก์ ด ¾ 8.3.1 ผูส้ อนประเมินผลงานโดยตรวจการทาํ งานของวงจรตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน 8.4 การประเมินผลด้านจิตพสิ ัย เครืองมอื ทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพิสยั ในการปฏิบตั ิงาน ใชป้ ระเมินผลนกั ศกึ ษาตงั แต่ เริมตน้ การเรียนรู้จนกระทงั เสร็จสินกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ่วมการสังเกตจากพฤติกรรมนกั ศึกษาและมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ รายการประเมิน : ใบงานที 2 แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพสิ ยั ในการปฏิบตั ิ 9. กจิ กรรมเสนอแนะ กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนเก่ง คอื ใหเ้ ป็นผชู้ ่วยครู ใหค้ าํ แนะนาํ เพือนในการทาํ กิจกรรม กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนออ่ น คือใหค้ าํ แนะนาํ อยา่ งใกลช้ ิดและให้ศึกษาเพิมเตมิ

18 10. บันทึกหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.1 ผลการใช้แผนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.2 สือการเรียนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.3 ผลการสอนของครูผ้สู อน ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

19 ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.4 ผลการเรียนของนักศึกษา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… เอกสารอ้างองิ ชาญยทุ ธ์ นุชนงค.์ การโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า. กทม. : บริษทั พฒั นาวิชาการ(2535) จาํ กดั . 2547 บริษทั ออมร่อนตรีศกั ดิจาํ กดั . OPERATION MANUAL OMRON SYSMAC C20 C28H P/C/ 40P . กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท, ม.ป.ป. ผศ. อาํ นาจ วงคผ์ าสุข, ผศ. วิทยา ประยงคพ์ นั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า วจิ ิตร บุญยรโรกลุ . ระบบควบคมุ มอเตอร์. กทม:หจก.โรงพิมพเ์ อเชีย, 2527 ไพศาล จนั ทร์ไชย.ใบงานการควบคมุ เครืองกลไฟฟ้า. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่, ม.ป.ป. สาคร แสนคาํ ดี.ใบงานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์เบืองต้น. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม่, ม.ป.ป. สุพล จริน.ใบงานวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่ ม.ป.ป. สุพรรณ กุลพานิชย.์ PROGRAMMABLE CONTROLLER เทคนิคการใช้งานเบืองต้น. พมิ พค์ รังที 2 . กทม. : โรงพิมพท์ พิ ยว์ ิสุทธิ. 2533 อุทยั สุมามาลย.์ การโปรแกรมและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า. กทม.: โรงพมิ พศ์ ูนยว์ ชิ าการ.2543 HAMANN PETER,STEVE WILLING. OPERTION MANUAL OMRON . TOKYO: ม.ป.ท, 1990.

20 แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ จํานวนคาบรวม วิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า(รหสั วชิ า 2014-2109) 72 ชัวโมง มาตรฐานที 1 เข้าใจส่ วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ หน่วยที โครงสร้างส่วนประกอบและการใช้งาน จํานวนคาบรวม สอนครังที จํานวนคาบ 4 ชัวโมง ของProgrammable Controller (PLC) 4 ชัวโมง ทฤษฎี เรืองที โครงสร้างส่วนประกอบและการใช้งานของProgrammable Controller (PLC) ปฏบิ ตั ิ ใบงานที โครงสร้างและเทคนคิ การใช้งาน Programmable Controller(PLC) เบืองต้น

21 1. สาระสําคัญ : เวลา 4 ชัวโมง ก่อนการเรียนรู้เกียวกบั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ นกั เรียนตอ้ งศึกษาและทาํ ความ เขา้ ใจในส่วนต่างๆ ของตวั คอนโทรลเลอร์เป็ นเบืองตน้ ก่อน ไดแ้ ก่ ขอ้ ดี, โครงสร้างพนื ฐานและหนา้ ทีส่วน ต่างๆ, พืนทีการใชง้ าน, คาํ สังพนื ฐานทางดา้ นปฏิบตั ิการทางลอจิก, การกาํ หนดตาํ แหน่งอนิ พุทและเอา้ ทพ์ ทุ และการเขา้ ถึงขอ้ มลู ทางดา้ นอินพทุ และเอา้ ทพ์ ทุ ซึงสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการใชง้ านโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์ควบคุมการทาํ งานในระบบอตั โนมตั ิได้ 2. สมรรถนะประจําหน่วยที 2 2.1 แสดงความรูเ้ กียวกบั หนา้ ทีและการทาํ งานของ Programmable Controller (PLC) 2.2 ปฏิบตั ิการทดลองการทาํ งานตามหลกั การ ขนั ตอนและกระบวนการ 2.3 แสดงเจคติและลกั ษณะพฤติกรรมลกั ษณะนิสยั ในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ ซือสตั ย์ ใฝ่รู้ มีความคิดริเริมสร้างสรรค์ ละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั ละเวน้ จากยาเสพติดและทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ืนได้ 3. จุดประสงค์การเรียน 3.1 จดุ ประสงค์ทัวไป: ลกั ษณะทีพงึ ประสงค์เมือผ่านการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจในเรืองโครงสร้างพืนฐานทางสถาปัตยกรรมของ Programmable Controller (PLC) 3.1.2 มีทกั ษะปฏิบตั ิการใชง้ านชุดฝึก Programmable Controller (PLC) 3.1.3 มจี ิตพิสยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน อนั ไดแ้ ก่ มีความรับผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ ซือสตั ย์ มี คณุ ธรรม 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม: ผ้เู รียนมีความสามารถดงั ต่อไปนี 3.2.1 บอกโครงสร้างพนื ฐานทางสถาปัตยกรรมของ Programmable Controller (PLC) ได้ ตามหลกั การ 3.2.2 เริมตน้ การใชง้ าน Programmable Controller (PLC) ยหี ้อ SIEMENS รุ่น S7-200ได้ ตามหลกั การ 3.2.3 พิมพโ์ ปรแกรมภาษาคาํ สังแลดเดอร์ไดอะแกรม (LADDER DIAGRAM) ตาม แบบฝึ กหัด ตามหลกั การและขนั ตอนกระบวนการดว้ ยความละเอียดรอบคอบ และคาํ นึงถึงความปลอดภยั

22 ไดถ้ กู ตอ้ งตามโครงสร้างของภาษาตามแบบฝึ กหัด ตามหลกั การและขนั ตอนกระบวนการดว้ ยความละเอียด รอบคอบ และคาํ นึงถึงความปลอดภยั 3.2.4 ทดลองโปรแกรมภาษาคาํ สังแลดเดอร์ไดอะแกรม (LADDER DIAGRAM) ตาม หลกั การและขนั ตอนระบวนการดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 3.2.5 แกป้ ัญหาเกิดขอ้ บกพร่องขึนระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงานตามหลกั การ 3.2.6 สรุปและวจิ ารณ์ผลการทดลอง ตามหลกั การ 3.2.7 แสดงใหเ้ ห็นถึงจิตพิสยั ทีดใี นการปฏิบตั ิงาน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1ทฤษฎี เรืองที โครงสร้างพืนฐานทางสถาปัตยกรรมของ Programmable Controller (PLC) ซึงประกอบไปด้วย 4.1.1 โครงสร้างพืนฐานทางสถาปัตยกรรมของ Programmable Controller (PLC) 4.1.1.1 ภาคอินพทุ (Input Section) 4.1.1.2 ตวั ประมวลผล (CPU) 4.1.1..3 หน่วยความจาํ (Memory) 4.1.1..4 ภาคเอาทพ์ ุท (Output Section) 4.1.1..5 แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) 4.1.2 องคป์ ระกอบพืนฐานการการควบคมุ ดว้ ยระบบ Programmable Controller (PLC) 4.1.2.1 อปุ กรณ์ติดต่อสือสาร (Peripheral Device) 4.1.2.2 อุปกรณ์อินพุท (Input Device) 4.1.2.3 อุปกรณ์เอาทพ์ ทุ (Output Device) 4.1.3 การทาํ งานของระบบ Programmable Controller(PLC) 4.2 ปฏบิ ตั ิ ใบงานที โครงสร้างและเทคนคิ การใช้งาน Programmable Controller (PLC) เบืองต้น เป็นการศึกษาถึงโครงสร้างและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller (PLC) เบืองตน้ ของ Programmable Controller (PLC) ยหี อ้ SIEMENS รุ่น S7-200 ซึงจะประกอบดว้ ย 1. โครงสร้างของชุดฝึ ก Programmable Controller ยหี อ้ SIEMENS รุ่น S7-200

23 2. การเริมตน้ การใชง้ าน Programmable Controller ยหี ้อ SIEMENS รุ่น S7-200 3. การทดสอบการใชง้ าน Programmable Controller ยหี อ้ SIEMENS รุ่น S7-200 ตาม ตวั อยา่ ง 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎใี ช้การสอนแบบ MIAP 5.1 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี ใชข้ นั ตอนการสอนแบบ MIAP 5.1.1 ขันนําเข้าสู่บทเรียน 5.1.1.1 ครูชีแจงจุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ องหน่วยที เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและการ ใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 5.1.1.2 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ส่งแบบทดสอบก่อนเรียนดงั กล่าวคืนครู 5.1.1.3 ครูนาํ เนือหาสาระของหน่วยที เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) มาสร้างใหเ้ กิดปัญหาทีน่าสนใจหรือนา่ ติดตาม เพอื ให้นกั ศกึ ษาเกิดความ สนใจและอยากคน้ หาคาํ ตอบในขนั ศึกษาขอ้ มูล 5.1.2 ขันศึกษาข้อมูล 5.1.2.1 ครูอธิบายสาระการเรียนรู้ โดยใชส้ ือโสตทศั น์จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ และ นกั เรียนใชใ้ บความรู้ โดยครูใชว้ ิธีบรรยาย, ยกตวั อยา่ งปัญหา, สาธิตถึงโครงสร้างและการทาํ งาน Programmable Controller (PLC) และถาม-ตอบ เพือใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ตามสาระการเรียนรู้ ทีกาํ หนด ดงั นี 1). โครงสร้างพืนฐานทางสถาปัตยกรรมของ Programmable Controller (PLC) - ภาคอนิ พุท (Input Section) - ตวั ประมวลผล (CPU) - หน่วยความจาํ (Memory) - ภาคเอาทพ์ ุท (Output Section) - แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) 2). องคป์ ระกอบพืนฐานการการควบคมุ ดว้ ยระบบ Programmable Controller (PLC) - อุปกรณ์ติดต่อสือสาร (Peripheral Device) - อุปกรณ์อินพุท (Input Device) - อปุ กรณ์เอาทพ์ ทุ (Output Device)

24 3). การทาํ งานของระบบ Programmable Controller (PLC) 5.1.2.2 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที เรือง โครงสรา้ งส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) โดยมคี รูแนะนาํ ชีแนะเมือผเู้ รียนมีปัญหาสงสยั เกียวกบั โจทยฝ์ ึกหดั ที กาํ หนดให้ 5.1.2.3 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลย แบบฝึ กหดั หน่วยที 3 เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและ การใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมากหรือมีคาํ ตอบหลากหลาย ครู ทาํ การอธิบายเพิมเตมิ 5.1.2.4 ครูร่วมกบั นกั ศึกษาสรุปความคิดรวบยอดเนือหาของหน่วยที เรือง โครงสร้าง ส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 5.1.3 ขันพยายาม นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 5.1.4 ขันสําเร็จ 5.1.4.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนหน่วยที เรือง โครงสรา้ งส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) หากขอ้ ใดผเู้ รียนตอบผิดมาก หรือมีคาํ ตอบหลากหลายครูจะทาํ การอธิบายเพิมเติม 5.1.4.2 นกั เรียนทุกคนแจง้ ผลคะแนนแบบฝึกหดั แบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยที ใหค้ รูรบั ทราบ เพือบนั ทึกเป็นคะแนนเกบ็ สะสมไวใ้ นบญั ชีเก็บคะแนนของนกั เรียน

25 ภาคปฏบิ ตั ิ : ใช้การสอนแบบ Shop lesson 5.2 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ใบงานที โครงสร้างและเทคนิคการใช้งาน Programmable Controller(PLC) เบืองต้น ลาํ ดับการสอน (Step operation) 5.2.1. ขันเตรียมการสอน (Preparation step) 5.2.1.1 ครูชีแจงใบงานที โครงสรา้ งและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller(PLC) เบืองตน้ อธิบายจุดประสงคก์ ารเรียน 5.2.2 ขันให้เนือหา (Presentation step) 5.2.2.1 ครูอธิบายถึงโครงสร้างส่วนประกอบต่างๆ ของชุดฝึก Programmable Controller ยหี ้อ SIEMENS รุ่น S7-200 5.2.2.2 ครูอธิบายถึงขนั ตอนการเริมตน้ การใชง้ านเบืองตน้ ของชุดฝึก Programmable Controller ยีหอ้ SIEMENS รุ่น S7-200 5.2.3. ขันพยายาม (Application step) 5.2.3.1 ครูใหน้ กั เรียนการเริมตน้ การใชง้ านเบืองตน้ ของชุดฝึก Programmable Controller ยหี ้อ SIEMENS รุ่น S7-200 ทีละขนั ตอนตามหลกั การ 5.2.3.2 นกั เรียนทดลองการป้อนโปรแกรมภาษาคาํ สังบลู ลีน (Mnemonic Code) ตามแบบฝึ กหดั 5.24. ขันฝึ กหัดและทดสอบ (Testing & Exercising) 5.2.4.1 นกั เรียนทดลองการทาํ งานตามแบบประเมินผลการทดลองและเสนอผล การทดลอง 5.24.2 นกั เรียนสรุปและวจิ ารณ์ผลการทดลองลงในใบงาน หมายเหตุ : ใช้สือแผ่นใส หรือนาํ เสนอเนือหาโดยสือ Power point ร่วมกบั Projector

26 6.งานทีมอบหมายหรือกจิ กรรม 6.1 ก่อนเรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 6.2 ขณะเรียน 6.2.1 นกั เรียนทาํ แบบฝึกหดั หน่วยที 3 เรือง โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 6.2.2 นกั เรียนทาํ ใบงานที 3 เรืองโครงสร้างและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller(PLC) เบืองตน้ 6.2.3 นกั เรียนประเมินแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพงึ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ ของ ตนเองและผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานใบงานที เรืองโครงสร้างและเทคนิคการใช้งาน Programmable Controller (PLC) เบืองตน้ 6.3 หลงั เรียน นกั เรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 3 เรืองโครงสรา้ งส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 7.สือการเรียนรู้ 7.1 สือสิงพมิ พ์ 7.1.1 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที เรืองโครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC)พร้อมเฉลย 7.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที 3 เรืองโครงสรา้ งส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC)พร้อมเฉลย 7.1.3 แบบฝึ กหดั หน่วยที 3 เรืองโครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) พร้อมเฉลย 7.1.4 ใบความรู้หน่วยที เรืองโครงสรา้ งส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC)

27 7.1.5 ใบงานที เรืองโครงสรา้ งและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller (PLC) เบืองตน้ 7.1.6 แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานดา้ นทกั ษะกระบวนการหน่วยที 2 โครงสร้างส่วนประกอบ และการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 7.1.7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพงึ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ของตนเอง และ ผรู้ ่วมปฏิบตั ิงานหน่วยที โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 7.2 สือโสตทัศน์ สือนาํ เสนอการเรียนรู้เนือหาหน่วยที โครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC)จากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ 7.3 สืออุปกรณ์ / สือของจริง ชุดฝึกปฏิบตั วิ ิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้าใชป้ ระกอบการสอนภาคปฏิบตั ิ ซึง ประกอบดว้ ย Programmable Controller (PLC) ยหี ้อ SIEMENS รุ่น S7-200 8. การประเมินผล (บอกเงือนไขการประเมินผลวา่ ใหค้ ะแนนจากกิจกรรมใดบา้ ง หรือเพิมเติมเกณฑก์ าร วดั ผลประเมินผล แบบบนั ทึกการร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน หรือชินงาน) การประเมินผลเป็นส่วนหนึงของขบวนการเรียนการสอน โดยตอ้ งทาํ ควบคู่กบั การเรียน การสอนเสมอ และวางเป้าหมายของการประเมินผลผเู้ รียนไวท้ ี 1. เป็นการประเมินผลเพือจดั วางตวั ผูเ้ รียนใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถ 2. เป็นการประเมินผลเพือพฒั นาและปรับปรุงการเรียนรู้ของผเู้ รียน 3. เป็นการพฒั นาและปรับปรุงการสอนของครูผสู้ อน 8.1 การประเมินผลด้านเนือหา เครืองมอื ทีใช้ : ใชแ้ บบฝึกหดั เป็นเครืองมือหลกั และใชก้ ารสอบปากเปล่าเป็นเครืองมือรอง รายการประเมิน : แบบฝึ กหดั ที เรืองโครงสร้างส่วนประกอบและการใชง้ านของ Programmable Controller (PLC) 8.2 การประเมินผลด้านกระบวนการทางทักษะ เครืองมอื ทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะกระบวนการทางทกั ษะ ใชป้ ระเมินผลขณะนกั ศึกษา กาํ ลงั ปฏิบตั ิงานกลมุ่ โดยการปฏิบตั ิ, สอบปากเปลา่ และการสังเกต และมีการใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ โดยมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ

28 รายการประเมิน : ใบงานที เรืองโครงสร้างและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller (PLC) เบืองตน้ 8.2.1 ผูส้ อนประเมินผลดา้ นกระบวนการทางทกั ษะตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน โดยวิธีการสกั เกตแุ ละตรวจสอบความถกู ตอ้ งของวงจรตามหลกั การ 8.3 การประเมินผลงาน เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลงาน ใชป้ ระเมนิ ผลงานของนกั ศึกษาแตล่ ะกลุม่ หรือเป็นการสรุป การเรียนรู้ในเรืองนนั ๆ โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนผลงานของนกั ศึกษาในการส่งผลงานในครังนนั ๆ รายการประเมิน : ใบงานที เรืองโครงสร้างและเทคนิคการใชง้ าน Programmable Controller (PLC) เบืองตน้ 8.3.1 ผสู้ อนประเมินผลงานโดยตรวจการทาํ งานของวงจรตามเกณฑ์ ทีกาํ หนดไวใ้ นใบ ปฏิบตั ิงาน 8.4 การประเมินผลด้านจิตพสิ ัย เครืองมือทีใช้ : แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพิสัยในการปฏิบตั ิงาน ใชป้ ระเมินผลนกั ศึกษาตงั แต่ เริมตน้ การเรียนรู้จนกระทงั เสร็จสินกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ่วมการสังเกตจากพฤติกรรมนกั ศึกษาและมี เกณฑก์ ารประเมินผลประกอบ รายการประเมิน : ใบงานที แบบประเมินผลสมรรถนะจิตพสิ ยั ในการปฏิบตั ิ 9. กจิ กรรมเสนอแนะ กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนเก่ง คือใหเ้ ป็นผชู้ ่วยครู ใหค้ าํ แนะนาํ เพือนในการทาํ กิจกรรม กิจกรรมเสริมสาํ หรับผเู้ รียนอ่อน คือให้คาํ แนะนาํ อยา่ งใกลช้ ิดและให้ศึกษาเพิมเติม

29 10. บันทกึ หลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.1 ผลการใช้แผนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.2 สือการเรียนการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 10.3 ผลการสอนของครูผ้สู อน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

30 10.4 ผลการเรียนของนักศึกษา ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… เอกสารอ้างองิ ชาญยทุ ธ์ นุชนงค.์ การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า. กทม. : บริษทั พฒั นาวิชาการ(2535) จาํ กดั . 2547 บริษทั ออมร่อนตรีศกั ดิจาํ กดั . OPERATION MANUAL OMRON SYSMAC C20 C28H P/C/ 40P . กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท, ม.ป.ป. ผศ. อาํ นาจ วงคผ์ าสุข, ผศ. วทิ ยา ประยงคพ์ นั ธ์. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า วิจิตร บญุ ยรโรกลุ . ระบบควบคุมมอเตอร์. กทม:หจก.โรงพมิ พเ์ อเชีย, 2527 ไพศาล จนั ทร์ไชย.ใบงานการควบคุมเครืองกลไฟฟ้า. เชียงใหม่ : วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่ ม.ป.ป. สาคร แสนคาํ ดี.ใบงานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์เบืองต้น. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชยี งใหม,่ ม.ป.ป. สุพล จริน.ใบงานวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม. เชียงใหม่ : วิทยาลยั เทคนิคเชียงใหม,่ ม.ป.ป. สุพรรณ กุลพานิชย.์ PROGRAMMABLE CONTROLLER เทคนคิ การใช้งานเบืองต้น. พิมพค์ รังที 2 . กทม. : โรงพิมพท์ ิพยว์ สิ ุทธิ. 2533 อุทยั สุมามาลย.์ การโปรแกรมและการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า. กทม.: โรงพมิ พศ์ นู ยว์ ิชาการ.2543 HAMANN PETER,STEVE WILLING. OPERTION MANUAL OMRON . TOKYO: ม.ป.ท, 1990.

31 แผนการจดั การเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ จํานวนคาบรวม วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า(รหสั วชิ า 20104-2108) 72 ชัวโมง มาตรฐานที 2 เขียนคาํ สังควบคมุ โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ หน่วยที คาํ สังพืนฐาน จาํ นวนคาบรวม สอนครังที 12 ชัวโมง จาํ นวนคาบ 4 ชัวโมง ทฤษฎี เรืองที การใช้งานคําสังพืนฐานแบบ Bit Logic Operation ปฏิบัติ ใบงานที การใช้งานคําสังพืนฐานแบบ Bit Logic Operation

32 1. สาระสําคัญ : เวลา 4 ชัวโมง ก่อนการเรียนรู้เกียวกบั การเขียนโปรแกรม PLC ตอ้ งมีการศึกษาและทาํ ความเขา้ ใจในเรืองภาษา และคาํ สงั พนื ฐานทีใชเ้ ขยี นโปรแกรม สาํ หรับผทู้ ีมีความรู้พนื ฐานเกียวกบั เรืองการติดตงั ไฟฟ้า, มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลบั , การควบคุมเครืองกลไฟฟ้าหรือการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้า, วงจรดิจิตอลหรือ Digital control ภาษาคาํ สังทีเหมาะสมและนิยมในการเขยี นโปรแกรม PLC มีอยู่ 3 ภาษาดว้ ยกนั คือ 1. ภาษาทีแสดงในรูปของกราฟฟิ ค (ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม: Ladder diagram) 2. ภาษาทีแสดงในรูปแบบของตวั อกั ษร เช่น ภาษาคาํ สงั บูลลีน (Mnemonic Code) ภาษา Statement list 3. ภาษาในรูปแบบบล๊อค เช่น ภาษา Control system flowchart (CSF) หรือ Function block diagram (FBD) นอกจาก 3 ภาษาทีกล่าวมาแลว้ ยงั มีอีกภาษาหนึงนนั คอื ภาษาระดบั สูง แต่เนืองจากภาษาดงั กล่าวมี ความเขา้ ใจยาก ในการเขยี นโปรแกรมจึงไมเ่ ป็นทีนิยมสาํ หรบั ช่างไฟฟ้าในการออกแบบโปรแกรม ควบคุม โดยใช้ PLC การจดั การเกียวกบั ขอ้ มลู ให้กบั PLC แตล่ ะแบบอาจใชค้ าํ สังเพียงภาษาเดยี วหรือหลายภาษาร่วมกนั ในการเขยี นโปรแกรมคาํ สังก็ได้ เช่นใช้ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรมหรือภาษาคาํ สังบูลลนี เพยี งภาษาเดียว หรือใชภ้ าษาแลดเดอร์ไดอะแกรมร่วมกบั คาํ สังในรูปแบบบลอ็ ค 2. สมรรถนะประจําหน่วยที 2 2.1 แสดงความรู้เกียวกบั หนา้ ทีและการทาํ งานของภาษาคาํ สังแลดเดอร์ไดอะแกรม ( Ladder diagram) 2.2 แสดงความรู้เกียวกบั หนา้ ทีและการทาํ งานของภาษาคาํ สัง Statement list (STL) 2.3 แสดงความรูเ้ กียวกบั หนา้ ทีและการทาํ งานของภาษาคาํ สัง Function Block Diagram (FBD) 2.4 ปฏิบตั ิการทดลองการทาํ งานตามหลกั การ ขนั ตอนและกระบวนการ 2.5 แสดงเจคติและลกั ษณะพฤติกรรมลกั ษณะนิสัยในการปฏิบตั ิงานดว้ ยความรบั ผิดชอบ ซือสัตย์ ใฝ่รู้ มีความคดิ ริเริมสร้างสรรค์ ละเอียดรอบคอบ ปลอดภยั ละเวน้ จากยาเสพติดและทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ืนได้

33 3. จุดประสงค์การเรียน 3.1 จุดประสงค์ทัวไป : ลกั ษณะทีพึงประสงค์เมือผ่านการเรียนรู้ของผ้เู รียน 3.1.1 มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเรืองของคาํ สงั พนื ฐานทีใชใ้ นการเขียนโปรแกรมแบบ Bit Logic Operation 3.1.2 มีทกั ษะปฏิบตั ิการใชง้ านชุดฝึก Programmable Controller (PLC) ยหี อ้ SIEMENS รุ่น S7-200 3.1.3 มจี ิตพิสยั ทีดีในการปฏิบตั งิ าน อนั ไดแ้ ก่ มีความรบั ผิดชอบ สนใจใฝ่ รู้ ซือสัตย์ มี คณุ ธรรม 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม : ผู้เรียนมีความสามารถดังต่อไปนี 3.2.1 อธิบายหนา้ ทีของคาํ สังพนื ฐานแบบ Bit Logic Operation ได้ ตามคมู่ ือ 3.2.2 เริมตน้ การใชง้ าน Programmable Controller (PLC) ยหี อ้ SIEMENS รุ่น S7-200ได้ ตามหลกั การ 3.2.3 เขียนโปรแกรม Programmable Controller (PLC) โดยภาษา (LADDER DIAGRAM) ตามแบบฝึกหดั ตามหลกั การไดถ้ กู ตอ้ งตามโครงสร้างของภาษา 3.2.4 เขียนโปรแกรม Programmable Controller (PLC) โดยภาษาคาํ สัง Statement list (STL) ไดถ้ ูกตอ้ งตามโครงสร้างของภาษา 3.2.5 เขยี นโปรแกรม Programmable Controller (PLC) โดยภาษาคาํ สัง Function Block Diagram (FBD) ไดถ้ ูกตอ้ งตามโครงสรา้ งของภาษา 3.2.6 ทดลองการทาํ งานโปรแกรม ตามหลกั การ และขนั ตอนกระบวนการดว้ ยความ ละเอยี ดรอบคอบ 3.2.7 แกป้ ัญหาทีเกิดขอ้ บกพร่องขึนระหวา่ งการปฏิบตั ิงานไดต้ ามหลกั การ 3.2.8 สรุปและวจิ ารณผ์ ลการทดลอง ตามหลกั การ . . แสดงใหเ้ ห็นถึงจิตพิสยั ทีดีในการปฏิบตั ิงาน

34 4. สาระการเรียนรู้ 4.1ทฤษฎี เรืองที คาํ สังพืนฐานซึงประกอบไปด้วย 4.1.1 ภาษาสาํ หรับการเขียนโปรแกรมคาํ สังของ Programmable Controller (PLC) 4.1.1.1 ภาษาทีแสดงในรูปของกราฟฟิค (ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม: Ladder diagram) 4.1.1.2 ภาษาทีแสดงในรูปแบบของตวั อกั ษร เช่น ภาษาคาํ สังบลู ลีน ภาษา Statement list 4.1.1..3 ภาษาในรูปแบบบล๊อค เช่น ภาษา Control system flowchart (CSF) หรือ Function block diagram (FBD) 4.1.2 นิยามเบืองตน้ สาํ หรับการเขียนโปรแกรมคาํ สัง Programmable Controller (PLC) 4.1.2.1 ฟังกช์ นั Logic พืนฐาน 4.1.2.1.1 การปฏิบตั ิการทาง Logic AND 4.1.2..2 การปฏิบตั ิการทาง Logic OR 4.1.2.1.3 การปฏิบตั ิการทาง Logic NOT 4.1.3 คาํ สังพืนฐานทีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรมคาํ สังของระบบ Programmable Controller(PLC) ในลกั ษณะแบบ Bit Logic Operation 4.2 ปฏบิ ตั ิ ใบงานที การใช้งานคาํ สังพนื ฐานแบบ Bit Logic Operation เป็นการการศกึ ษาเรืองคาํ สังพืนฐานแบบ Bit Logic Operation และประยกุ ตใ์ ชง้ านภาษาแลดเดอร์ ไดอะแกรม (Ladder diagram) ภาษาคาํ สัง Statement list (STL) และภาษาคาํ สัง Function Block Diagram (FBD) การเปลียนโปรแกรมภาษาคาํ สังจาก ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม (Ladder diagram) เป็นภาษาคาํ สัง Statement list (STL) และทดลองการทาํ งาน

35 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน ภาคทฤษฎใี ช้การสอนแบบ MIAP 5.1 กจิ กรรมการเรียนรู้ภาคทฤษฎี ใชข้ นั ตอนการสอนแบบ MIAP 5.1.1 ขันนําเข้าสู่บทเรียน 5.1.1.1 ครูชีแจงจุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ องหน่วยที เรือง คาํ สงั พนื ฐาน 5.1.1.2 นกั เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน แลว้ ส่งแบบทดสอบก่อนเรียนดงั กล่าวคนื ครู 5.1.1.3 ครูนาํ เนือหาสาระของหน่วยที 4 เรือง คาํ สังพนื ฐาน มาสร้างใหเ้ กิดปัญหาที น่าสนใจหรือน่าติดตาม เพือให้นกั ศึกษาเกิดความสนใจและอยากคน้ หาคาํ ตอบในขนั ศึกษาขอ้ มลู 5.1.2 ขันศึกษาข้อมูล 5.1.2.1 ครูอธิบายสาระการเรียนรู้ โดยใชส้ ือโสตทศั นจ์ ากโปรแกรมเพาเวอร์พอยต์ และ นกั เรียนใชใ้ บความรู้ โดยครูใชว้ ธิ ีบรรยาย, ยกตวั อยา่ งปัญหา, เกียวกบั เรือง คาํ สังพืนฐาน และถาม-ตอบ เพือใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ตามสาระการเรียนรู้ทีกาํ หนด ดงั นี 1) ภาษาสาํ หรับการเขียนโปรแกรมคาํ สังของ Programmable Controller (PLC) 1.1 ภาษาทีแสดงในรูปของกราฟฟิ ค (ภาษาแลดเดอร์ไดอะแกรม: Ladder diagram) 1.2 ภาษาทีแสดงในรูปแบบของตวั อกั ษร เช่น ภาษาคาํ สังบลู ลีน ภาษา Statement list 1.3 ภาษาในรูปแบบบล๊อค เช่น ภาษา Control system flowchart (CSF) หรือ Function block diagram (FBD) 2) นิยามเบืองตน้ สาํ หรับการเขียนโปรแกรมคาํ สัง Programmable Controller (PLC) 2.1 ฟังกช์ นั Logic พืนฐาน 2.1.1 การปฏิบตั ิการทาง Logic AND 2.1.2 การปฏิบตั ิการทาง Logic OR 2.1.3 การปฏิบตั ิการทาง Logic NOT 3) คาํ สังพืนฐานทีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรมคาํ สังของระบบ Programmable Controller(PLC) ในลกั ษณะแบบ Bit Logic Operation