Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม..สร้างสรรค์คณิตศาสตร์ สวก.

นวัตกรรม..สร้างสรรค์คณิตศาสตร์ สวก.

Published by sono_ploynapat, 2022-08-10 07:24:03

Description: นวัตกรรม..สร้างสรรค์คณิตศาสตร์ สวก.

Search

Read the Text Version

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ ระดบั ชนั้ ๒๕๕๙ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ประเทศ โรงเรยี น ๒๕๖๐ ประเทศ โรงเรียน มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒๙.๓๑ ๕๔.๔๐ ๓๐.๐๔ ๕๔.๔๖ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๒๔.๘๘ ๔๔.๕๕ ประเทศ โรงเรยี น ๓๐.๗๒ ๕๙.๖๖ ๒๖.๓๐ ๕๒.๒๙ ๒๔.๕๓ ๕๐.๙๓ การเผยแพรน วัตกรรม จากการท่โี รงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบรุ ี ได้บรหิ ารงานด้วยรูปแบบ “BENJAMA 3P Model” และแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิด้านวิชาการ “POLITE Model” อันส่งผลให้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ประสบผลส�าเร็จด้านการจัดการเรียนการสอน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกว่าระดับประเทศ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในรายวิชาคณิตศาสตร์ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษากา� หนด ดงั นน้ั ทางโรงเรยี นจงึ ไดน้ า� รปู แบบการบรหิ ารดงั กลา่ ว มาใช้กับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เป็นครูพี่เล้ียง คอยแนะน�า ซ่ึงส่งผลให้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ ทุกวิชาที่จัดสอบ และมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นทส่ี งู กว่าคา่ เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษาก�าหนด ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ นวตั กรรมดานการพัฒนาการเรยี นการสอน : STEAM (Student Teacher Community) ความเปนมาและความสา� คญั จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษาพ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ ของนกั เรียนโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ราชบรุ ี ซง่ึ นกั เรยี น ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ มีคะแนนเฉล่ียเพียงร้อยละ ๕๐ และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มคี ะแนนเฉลยี่ ต่า� กว่าร้อยละ ๕๐ รายละเอยี ดดังต่อไปนี้ 194

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ ระดับช้นั ปการศึกษา ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ มัธยมศึกษาปีที ่ ๓ ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ โรงเรียน มัธยมศึกษาปีท ่ี ๖ ๒๙.๖๕ ๔๘.๒๐ ๓๒.๔๐ ๕๑.๖๕ ๒๑.๗๔ ๔๒.๗๐ ๒๖.๕๙ ๔๔.๒๔ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม สร้างความเช่ือม่ันและตระหนักถึง ความสา� คญั ของการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น ตลอดจน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง โรงเรียนได้ออกแบบหลักสูตร ส�าหรับผู้เรียนที่มีความสามารถพเิ ศษดา้ นคณติ ศาสตร ์ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รยี นกลมุ่ น้ี และฝก ผเู้ รยี นมีจิตอาสาในการช่วยเหลือเพื่อน ๆ พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ อกี ทง้ั ยงั เปน็ การยกระดบั ผลสมั ฤทธก์ิ ารทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ของผู้เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ คณะครูและผู้เรียนที่มี ความสามารถทางด้านคณิตศาสตรจ์ งึ ไดร้ ว่ มมอื กันในการจัดกิจกรรม “STEAM” ขนึ้ 195

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ Student TEAcher CoMminity กิจกรรมเสริมทัพลับปญั ญา กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ฯ กิจกรรม Math Ben Camp กจิ กรรมสอบแข่งขนั BenBomb กิจกรรมพฒั นาศกั ยภาพโดย การมีส่วนร่วมของโรงเรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน วัตถปุ ระสงค ๑. เพื่อยกระดับคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ใหส้ งู ขน้ึ ๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียน เบญจมราชทู ิศ ราชบรุ ี ๓. เพอื่ พฒั นาศักยภาพผู้เรียนห้องเรยี นพิเศษคณิตศาสตร์ ๔. เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นหอ้ งเรยี นพเิ ศษคณติ ศาสตร ์ สามารถทา� งาน รว่ มกันเปน็ ทีม การดา� เนินงาน นวตั กรรมของกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ ราชบรุ ี เพอื่ ยกระดบั คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ตลอดจนพฒั นาศักยภาพผูเ้ รยี นห้องเรียนพเิ ศษคณติ ศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ ราชบุรี ใหพ้ ร้อมสูก่ ารแขง่ ขันในระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ระดับภมู ิภาค ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ ประกอบดว้ ย ๕ กิจกรรม ดังน้ี 196

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ ๑. กิจกรรมเสรมิ ทพั ลบั ปญั ญา ๒. กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ๓. กจิ กรรมพฒั นาอจั ฉริยภาพทางคณติ ศาสตร์ Math Ben Camp ๔. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้เรียนห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ โดยการมสี ่วนรว่ มของโรงเรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน ๕. กจิ กรรมสอบแขง่ ขันความสามารถทางคณิตศาสตร ์ BenBomb ผลส�าเร็จของการดา� เนินงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี ไดด้ า� เนนิ งานทง้ั ๕ กจิ กรรม ตามนวตั กรรม STEAM โดยกจิ กรรมเสรมิ ทพั ลบั ปญั ญา และกจิ กรรม ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ส่งผลให้ได้รับผลส�าเร็จในการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) มผี ลการทดสอบปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ และจา� นวนผู้เรียน ทไี่ ด้คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ดังน้ี 197

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ ไดด้ า� เนนิ กจิ กรรมพฒั นาอจั ฉรยิ ภาพ ทางคณิตศาสตร ์ Math Ben Camp และกจิ กรรมพัฒนาศักยภาพนักเรยี นหอ้ งเรียนพิเศษ คณิตศาสตร์ โดยการมีส่วนร่วมของโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยทั้งสองกิจกรรม มุ่งเน้นในการพัฒนานักเรียนห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ทั้งระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ในระดบั ตา่ ง ๆ เพ่ือให้นักเรียนมีความคุ้นเคยในการท�าแบบทดสอบท่ีหลากหลายและค่อนข้างยาก ส่งผล ให้ได้รับผลส�าเร็จทางการสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าค่ายอบรมโอลิมปกวิชาการ (สอวน.) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ มีผลดังนี้ แผนภูมิแท่งแสดงจำนวนนกั เรียนท่ผี ่ำนกำรคัดเลอื กโอลิมปิกวชิ ำกำร (สอวน).) ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๙ จานวน (คน) ๔๐ ๓๔ ๓๕ ๓๐ ๒๓ ๒๑ คณติ ฯ ๒๕ ๑๓ ๑๔ ฟสิ ิกส์ ๒๐ ๑๑ เคมี ๑๕ ๙ ๔๑๓ ชวี วทิ ยา ๑๐ คอมพวิ เตอร์ ๕ ๔๐๐๐๓ ๐ ค่าย ๑ คา่ ย ๒ ตัวแทนศนู ย์ฯ จานวน (คแนผ) นภูมแิ ทง่ แสดงจำนวนนกั เปรยีกี นำรทศีผ่ ึก่ำษนำกำ๒ร๕ค๖ัดเ๐ลอื กโอลมิ ปกิ วชิ ำกำร (สอวน.)) ๖๐ ๕๕ ๕๐ ๔๐ คณติ ฯ ฟิสกิ ส์ ๓๐ ๒๔ ๒๐ ๑๑ ๑๔ ๑๗ ๒๐ เคมี ชวี วิทยา ๑๐ ๓๔๓๔ ๕๑๑๐๒ คอมพวิ เตอร์ ๐ คา่ ย ๑ คา่ ย ๒ ตวั แทนศนู ย์ฯ แผนภมู ิแท่งแสดงจำนวนนกั เรยี นที่ผำ่ นกำรคดั เลือกโอลมิ ปกิ วิชำกำร (สอวน).) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ จานวน (คน) ๖๐ ๕๒ ๕๐ ๔๐ คณิตฯ ฟิสกิ ส์ ๓๐ เคมี ๒๐ ๑๔ ๑๒ ๓๑๒๒๐ ชีววทิ ยา ๑๐ ๘๙๗ ๔๕๓๕ คอมพวิ เตอร์ ๐ ค่าย ๑ คา่ ย ๒ ตัวแทนศูนย์ฯ 198

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ ไดด้ า� เนนิ กจิ กรรมสอบแขง่ ขนั ความ สามารถทางคณิตศาสตร์ BenBomb โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ ได้พัฒนาศักยภาพทางด้านกิจกรรม สามารถท�างานร่วมเป็นเป็นทีม คิดอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนการจัดสรรหน้าท่ีต่าง ๆ รวมทั้งวางแผนค่าใช้จ่ายในการด�าเนินกิจกรรม ซ่ึงผลส�าเร็จของกิจกรรมนี้คือ นักเรียนสามารถสร้างเว็บเพจในการประชาสัมพันธ์และ รบั สมคั รนกั เรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม นกั เรยี นและคณะครรู ว่ มกนั ออกขอ้ สอบและจดั ทา� หนงั สอื รวมข้อสอบพร้อมเฉลยเพ่ือเผยแพร่ให้แก่ผู้เข้าร่วมและผู้สนใจ นักเรียนสามารถด�าเนิน กิจกรรมสอบแข่งขันได้ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่วางไว้และสามารถแก้ไขปัญหาได ้ การเผยแพรน วตั กรรม ๑. การศึกษาดูงานของโรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จังหวัด กาญจนบรุ ี ๒. การศึกษาดูงานของโรงเรียนพบพระวิทยาคม จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ์ ๓. การศกึ ษาดูงานของโรงเรยี นชลราษฎรอา� รงุ จงั หวัดชลบุรี ๔. การศึกษาดูงานของโรงเรียนโยธนิ บูรณะ กรงุ เทพมหานคร แผนภมู ิแทง เปรียบเทยี บผลตางระหวา งคะแนนเฉล่ีย O-NET วชิ าคณิตศาสตร ระดับโรงเรียนและระดบั ประเทศ ตัง้ แตป ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ 199

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ โรงเรียนวดั รำชบพธิ G2CR (Group Connection Classroom Research) สา� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑ เกริน่ นาํ โรงเรยี นวดั ราชบพธิ เปน็ โรงเรยี นชายลว้ น ประกอบด้วย ฝายบริหารครู สมาคมผู้ปกครอง และครูโรงเรียนวัดราชบพิธ ราชบพิธสมาคม และวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม การบริหาร จั ด ก า ร อ ง ค ์ ก ร จ ะ จั ด ท� า โ ค ร ง ส ร ้ า ง ก า ร บ ริ ห า ร ใ ห ้ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ก า ร ว า ง แ ผ น ภาระงานและผู้รับผิดชอบ มีการจัดท�าแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจ�าปี คา� สงั่ มอบหมายตามภารกจิ มกี ารรายงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และดา� เนนิ การตามแผน หรือนโนบายท่ีวางไว้ โดยเน้นให้ทุกฝายมีส่วนร่วมในการด�าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน โดยมีวิสัยทัศน โรงเรียนวัดราชบพิธ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ บนพื้นฐาน ของความเป็นไทยสู่สากล อัตลักษณ ของผเู้ รยี น สภุ าพบรุ ษุ วถิ พี ทุ ธ เอกลกั ษณ ของสถานศึกษา เรียนดี กิจกรรมเด่น เน้นคุณธรรม ในระยะเวลาที่ผ่านมา โรงเรียนวัดราชบพิธประสบความส�าเร็จในการ ดา� เนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ มากขน้ึ ทงั้ ในดา้ นวชิ าการ กจิ กรรม และชมุ ชน โดยเฉพาะในกลมุ่ สาระ 200

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ ซง่ึ ปจั จยั หลกั ในการสง่ เสรมิ จดั กจิ กรรมดงั กลา่ ว คอื ระบบการบรหิ าร ที่ขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรมลงสู่กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้นวัตกรรมด้านการบริหาร TS2D Management Model Wat Rajabopit School และนวัตกรรมด้านการพัฒนา การเรยี นการสอน โดยใชว้ จิ ยั ในชนั้ เรยี นกลมุ่ เชอื่ มโยง เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพและผลสมั ฤทธน์ิ กั เรยี น กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร ์ (G2CR : Group Connection Classroom Research) สรา งสรรคนวตั กรรม นวตั กรรมดา นการบรหิ าร : TS2D Management Model Wat Rajabopit School ความเปนมาและความสา� คัญ ระบบการบรหิ ารทผี่ า่ นมาของโรงเรยี นวดั ราชบพธิ คอื ระบบวงจรเดมมงิ่ PDCA (Deming Cycle) ซงึ่ เนน้ การวางแผน ปฏบิ ตั ติ รวจสอบ (ประเมนิ ผล) และการปรบั ปรงุ แก้ไข จึงเป็นข้อดีในการท�าให้ผู้บริหารใหม่สามารถมารับช่วงต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถปรับปรุงระบบการบริหารจนกลายเป็นนวัตกรรมการบริหารแบบใหม่ โดยปจั จบุ นั ผอู้ า� นวยการโรงเรยี นวดั ราชบพธิ ดร.ศรายทุ ธ รตั นปญั ญา ไดป้ รบั ปรงุ และพฒั นา ระบบการบรหิ ารเป็นนวตั กรรม TS2D Management Model Wat Rajabopit School วัตถปุ ระสงค ๑. เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และมาตรฐานสากล รกั และเหน็ คณุ คา่ ของวฒั นธรรมไทย ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. คร ู ผบู้ รหิ าร คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผปู้ กครอง ปฏบิ ตั งิ าน ตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล มีการบริหารจัดการ อยา่ งมคี ุณภาพ บรรลเุ ปา้ หมายตามวิสัยทัศน ์ ปรชั ญา นโยบาย และจดุ เน้นของสถานศกึ ษา ๓. โรงเรยี นมีหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้ กจิ กรรมทีพ่ ัฒนาผเู้ รียน อยา่ งรอบด้าน เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ ๔. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม และการบริการท่ีส่งเสริม และพัฒนา ผูเ้ รียนเตม็ ตามศักยภาพ 201

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ การด�าเนินงาน นวัตกรรมในการบริหาร TS2D ถูกน�ามาใช้ในการบริหารโรงเรียน ทัง้ ๔ ฝา ย รวมไปถึงการบริหารงานภายในกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ดว้ ยเชน่ กัน 202

ผล �สาเ ็รจของการ �ดาเ ินนงาน ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ 203

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ สรปุ แผนงานของกลุมสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร โรงเรียนวดั ราชบพธิ พันธกจิ ข้อที่ ๑ ๒ ๓ ๔ กลยทุ ธโ์ รงเรยี นขอ้ ท่ี ต้นกล้าำนักบัญชี นิเทศการจัดการศึกษา ๑ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ๒ การจดั การเรยี นการสอน การวิจยั เพ่อื การเรยี น พฒั นาศกั ยภาพครกู ลมุ่ สาระ คณติ ศาสตร์ที่ การสอนคณติ ศาสตร์ การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ เนน้ ผเู้ รียนเปน็ ส�าคญั การสร้างส่ือนวัตกรรมและส่อื เทคโนโลยี การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ๓ การแข่งขันทักษะคณติ ศาสตรภ์ ายในโรงเรยี น ประเมนิ ทักษะความสามารถด้านการคดิ ค�านวณ พัฒนาส่อื นวตั กรรม เทคโนโลย ี ของนกั เรยี นโรงเรยี นวดั ราชบพิธ และแหล่งเรียนร้คู ณิตศาสตร์ จดั ซอื้ จัดจ้างวัสดุครภุ ณั ฑ์ ๔ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ๖ โดยการด�าเนินการจะเน้นไปที่การตอบสนองพันธกิจข้อท่ี ๑ - ๒ ซึ่งเก่ียวกับการพัฒนาครูและผู้เรียน และกลยุทธ์ข้อท่ี ๑ - ๓ เป็นการพัฒนาคุณภาพ ทางวชิ าการและการศึกษา และเป้าหมายรว่ มของกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร ์ นวตั กรรมดา นการพฒั นาการเรยี นการสอน : G2CR Group Connection Classroom Research ความเปนมาและความส�าคัญ จากรายงานการปฏิบัติงาน (SAR) เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐ พบว่า ทุกระดับชั้นมีผู้เรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตรต์ �่ากว่ามาตรฐานจา� นวนมาก และในหอ้ งเรยี นครไู ด้พบปัญหา ท่ีแตกต่างกนั ของผเู้ รยี นในแต่ละห้อง ครปู ระจ�าวิชาจึงไดใ้ ช้ช่วั โมง PLC ในการแลกเปลีย่ น ข้อมูลและหารือถึงปัญหาที่เกิดข้ึนกับตัวผู้เรียน เพ่ือหาวิธีในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยจากการตกผลึกกันของครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้จึงได้เป้าหมาย ร่วมกันว่า ต้องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ต่�ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์ผ่านทางการแข่งขันต่าง ๆ โดยวธิ ที ค่ี รทู กุ ทา่ นเลอื กอยา่ งเปน็ เอกฉนั ท ์ คอื การแกป้ ญั หาผา่ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั เพอื่ ยกระดบั 204

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รยี นทไี่ ดต้ �่ากว่ามาตรฐาน และพฒั นาผู้เรียนทม่ี คี วามเป็นเลิศ ทางดา้ นคณติ ศาสตร ์ เนอ่ื งจากความแตกตา่ งกนั ของบรบิ ทผเู้ รยี นในหอ้ ง เนอื้ หาของบทเรยี น และนอกจากนย้ี งั เปน็ การเปด โอกาสใหค้ รทู สี่ อนในแตล่ ะวชิ าไดม้ อี สิ ระในการแสดงศกั ยภาพ ในการแก้ปัญหาผ่านทางการเลือกเทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับบทเรียน และบริบท ของผู้เรียนในห้อง ท�าให้เกิดนวัตกรรมการวิจัยท่ีหลากหลายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น วัตถปุ ระสงค เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของตน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร ์ รวมไปถงึ พัฒนาผเู้ รยี นทม่ี คี วามเป็นเลศิ ทางด้านคณติ ศาสตร์ การด�าเนนิ งาน เกรด ๐๑ ระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ๓.๕ ๔ ระดบั ๑๐ ๘๐ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๒๑ ๖๗ ๔๐ ๗๑ ๓๕ ๓๙ ๒๙ ๒๘ ๒๕ ๒๖ ม.๑ ๑๑ ๗๗ ๓๘ ๔๑ ๔๕ ๓๑ ๑๘ ๒๖ ม.๒ ๔๙ ๔๓ ๗๐ ๔๒ ๒๙ ๓๓ ๑๑ ๑๙ ม.๓ ๘ ๗๒ ๔๒ ๒๖ ๑๗ ๑๒ ๑๒ ๒๒ ม.๔ ๔ ๕๙ ๓๕ ๓๕ ๒๔ ๑๘ ๑๒ ๔๕ ม.๕ ๑๒๑ ๔๐๐ ๓๖ ๒๘ ๒๐ ๒๒ ๙๙ ๒๐๕ ม.๖ ๒๕๕ ๒๐๙ ๑๖๒ ๑๔๓ กลมุ่ เก่ง รวม กลมุ่ อ่อน กลมุ่ ปานกลาง ตารางแสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ประจา� ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๐ จากการวิเคราะห์สารสนเทศเกี่ยวกับผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน พบว่า สามารถ แบ่งผู้เรียนได้เป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน โดยเป้าหมาย ของนวัตกรรมในการวิจัยสูงสุด คือ พัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของตน และสอดคล้องกับ เนื้อหาในการเรียน โดยกระบวนการวิจัยจะเริ่มจากการออกแบบการเรียนรู้ และเขียน แผนการจดั การเรยี นร ู้ และมกี ารตรวจสอบแผนการจดั การเรยี นรสู้ ง่ โดยใหห้ วั หนา้ กลมุ่ สาระ การเรยี นรเู้ ปน็ ผตู้ รวจสอบ เมอ่ื ผา่ นกระบวนการตรวจสอบแลว้ จงึ สง่ กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ ตามปฏิทนิ เพ่อื ยนื ยันผลตอ่ ไป 205

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ เมอ่ื เรม่ิ กระบวนการเรยี นการสอนจะมโี ครงการนเิ ทศ (นเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร) เพื่อจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ และสะท้อนวิธีการสอนว่า มีข้อเด่นข้อด้อยอย่างไร เพอ่ื นา� ไปปรบั ปรงุ แผนการสอน และจดั คณุ ภาพการเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ การวัด และการประเมินผลเป็นหน่ึงในกระบวนการท่ีท�าให้วิจัยน่าเชื่อถือ มีกระบวนการ ออกแบบข้อสอบโดยเร่ิมจากครูผู้สอนออกข้อสอบตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด จากน้ัน ใหค้ รผู สู้ อนระดบั เดยี วกนั ชว่ ยตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เนอ้ื หา (IOC) ตอ่ จากนน้ั จงึ ใชแ้ บบ ทดสอบในการสอบกลางภาค และปลายภาค หลงั จากนน้ั จะตรวจขอ้ สอบ และวเิ คราะหข์ อ้ สอบ โดยเคร่ืองตรวจข้อสอบอัตโนมัติ โดยวิเคราะห์ข้อสอบจากค่าความยากง่าย (P) และคา่ อา� นาจจา� แนก (r) ขอ้ สอบทเ่ี ปน็ ขอ้ สอบทด่ี ี จะถกู เกบ็ ไวเ้ ปน็ คลงั ขอ้ สอบ เพอื่ เกบ็ ไวใ้ ช้ ทา� แบบทดสอบในอนาคต หรอื ใชเ้ ปน็ แบบทดสอบสา� หรบั ซอ่ มเสรมิ นกั เรยี นในปกี ารศกึ ษาหนา้ หรือท�าเป็นข้อสอบคู่ขนานเป็นแบบฝกหัดก่อนทดสอบ หรือเป็นแบบฝกหัดในเอกสาร ประกอบการสอน ส่วนข้อสอบที่ยากเกินไป อาจใช้ฝกฝนนักเรียนที่มีความเป็นเลิศ ทางคณติ ศาสตร์ในการแขง่ ขันต่าง ๆ หรอื เอามาวิเคราะห์ ใหเ้ งอื่ นไขเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ลดระดับ ความยาก โดยกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ โรงเรยี นวดั ราชบพธิ ไดม้ โี มเดลในการพฒั นา ผู้เรยี นโดยใชว้ ิจัยในช้นั เรียนพฒั นานกั เรียน ดงั แผนภาพในหน้า ๒๐๗ 206

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ 207 G2CR : Group Connection Classroom Research

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ กระบวนการวิจัยจะใช้ข้อมูลจากบันทึกหลังสอนในแผนการจัดการเรียนรู้ ทคี่ รผู สู้ อนวางไว ้ โดยกลมุ่ บรหิ ารจะตดิ ตามผลผา่ นทางปฏทิ นิ การสง่ แผนการสอนเพอื่ ตรวจสอบ ตดิ ตาม และพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนตอ่ ไป จากกระบวนการวิจัยท่ีหลากหลายของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ์ ท�าให้พัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของตน ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของผู้เรียน โรงเรยี นวดั ราชบพธิ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เพมิ่ สงู ขน้ึ ๓ ปตี ดิ ตอ่ กนั ผลส�าเรจ็ ของการด�าเนินงาน จากกราฟ จะเหน็ ไดว้ า่ จา� นวนนกั เรยี นกลมุ่ เกง่ และกลมุ่ ปานกลางเพม่ิ มากขนึ้ และจา� นวนนกั เรียนกล่มุ ออ่ นมีจา� นวนลดลง 208

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ นอกจากน ี้คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนโรงเรียนวัดราชบพิธ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และชั้น มธั ยมศึกษาปีที ่ ๖ มคี ่าสงู ขน้ึ ตลอด ๓ ปตี ดิ ตอ่ กัน ดังนี้ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ท�าการวิจัย ในชั้นเรียน ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ซ่ึงสามารถ ใช้สแกน QR CODE นี้ เพ่ือดูบทคัดย่องานวิจัย ในชั้นเรียน ของครูกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ 209

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ โรงเรยี นรอ ยเอ็ดวทิ ยำลัย รอบรคู ณติ ศำสตร ดวยวิธีกำรท่หี ลำกหลำย รวมพฒั นำดว ย PLC สกู ำรเรียนรูที่มีคุณภำพ ส�านกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษารอ้ ยเอ็ด เกริ่นนํา โรงเรียนร้อยเอด็ วิทยาลัย เปดสอนระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ - ๖ ปรชั ญาของโรงเรยี น “นตถฺ ิ ปญั ญา สมาอาภา” (แสงสวา่ งเสมอดว้ ยปญั ญาไมม่ )ี ค�าขวญั ของโรงเรียน “เรยี นด ี กีฬาเกง่ เครง่ วินยั ใฝค ณุ ธรรม” วิสัยทัศน (Vision) โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย เป็นโรงเรียนคุณภาพช้ันน�า ของประเทศ เพ่ือก้าวสู่ประชาคมอาเซียน (Asean Community) และมาตรฐานสากล (World - Class Standard) วิสัยทัศน กลุมสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และคดิ แกป้ ญั หาเปน็ นา� ไปใชใ้ นชวี ติ ประจา� วนั ได ้ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมอันพงึ ประสงค ์ อยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ สรา งสรรคนวตั กรรม นวัตกรรมดา นการบรหิ าร : การบรหิ ารจดั การรอบดา น โดยยึดคานิยม ๑๐ ประการ ดําเนนิ งาน ดวยวงจรคุณภาพ PDCA หลายวงรอบ ภายใตการบรหิ ารทเี่ ขมแขง็ โปรง ใส รว มมือกบั ภายใน และภายนอกโรงเรยี น 210

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ ความเปนมาและความส�าคัญ โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ด�าเนินงานโดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลงาน และความเจรญิ กา้ วหนา้ ดา้ นตา่ ง ๆ ใหท้ นั ตอ่ สถานการณ ์ ความกา้ วหนา้ รวมทง้ั การปรบั เปลย่ี น ตามแผนพัฒนาประเทศ นโยบายของส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างต่อเน่ือง เช่น การปรับโครงสร้างองค์กร การปรบั ระบบการบรหิ ารจดั การโดยอาศยั หลกั ธรรมาภบิ าลเพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นร ู้ การมีส่วนร่วมของบุคลากร รวมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรปฏิบัติอยู่ในหลัก คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม อกี ทงั้ ยงั เปด โอกาสใหบ้ คุ ลากรไดพ้ ฒั นาความร ู้ คณุ ภาพ และศกั ยภาพ ในการท�างาน ท้ังในด้านการจัดการเรียนการสอน การให้บริการทางวิชาการ การวิจัย และการศึกษาต่อ โดยก�าหนดทิศทางการด�าเนินงานของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ของ สพฐ. และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ พันธกิจ และแผนปฏิบัติราชการ ประจ�าปีของโรงเรียน ภายใต้แนวคิดของการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ากัดให้มีประสิทธิภาพ และมคี วามคุ้มค่าสูงสุด โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารจดั การเพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ ภาพทยี่ งั่ ยนื โดยตงั้ อยบู่ นพน้ื ฐาน ของขอ้ มูลและความตอ้ งการของผู้เรยี นเป็นหลัก รบั ฟงั เสยี งและการประเมินความพงึ พอใจ ของผู้เรียน ยึดค่านิยม ๑๐ ประการ ในการบริหารโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย ได้แก่ ๑. Fact ข้อเท็จจริง ๒. Foreseeing มองการณ์ไกล ๓. Forward ก้าวไปข้างหน้า ๔. Firm มุ่งม่ันอย่างต่อเน่ือง ๕. Fast รวดเร็ว ๖. Function มอบหมาย ๗. First สร้างความเป็นเลศิ ๘. Family ความเป็นครอบครวั เดยี วกัน ๙. Fineness ความสงบสุข และ ๑๐. For our students ยดึ ผูเ้ รยี นเป็นส�าคญั ผู้บริหารโรงเรียนได้จัดประชุมเพ่ือก�าหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียนร่วมกัน จากน้ันได้มีการถ่ายทอดผลการประชุม ไปยังบุคลากรและก�าหนดเป็นค่านิยมหลัก พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน โดยมีแนวทางการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ ด้วยการน�าเอามาตรฐานการศึกษาชาติ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนนโยบายของโรงเรียนมาใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการขับเคลื่อนให้โรงเรียนเกิดการพัฒนาเชื่อมโยงไปพร้อมกันทั้ง ๓ ด้าน คือ ด้านผู้เรียน ด้านกระบวนการ และด้านปัจจัย ภายใต้กรอบแนวคิดการบริหารจัดการ “พัฒนาโรงเรียนให้เป็นระบบ มีความชัดเจน เกิดความต่อเนื่อง ท�าให้เกิดคุณภาพ ข้ึนทั่วท้งั โรงเรียน” 211

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ ทกุ โครงการมดี า� เนนิ งานดว้ ยวงจรคณุ ภาพ PDCA หลายวงรอบ ภายใต้ การบริหารที่เข้มแข็ง โปร่งใส ครูทุกคนมีส่วนร่วม งานมีคุณภาพ ร่วมมือกับภายนอก และภายในโรงเรยี น มกี ารวัดและประเมินผลการด�าเนนิ งานดงั นี้ ทศิ ทางการศึกษาโรงเรียนร้อยเอ็ดวทิ ยาลัย วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้ าประสงค์ งานประจาตาม งานประจาตาม โครงสร้ างการบริหาร โครงสร้ างการบริหาร กลมุ่ บริหาร การวดั ผล การแลกเปล่ียนเรียนรู้วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ การวดั ผล แผนงาน กลมุ่ งาน มาตรฐาน ผลการดาเนินการในอนาคต ตวั ชวี ้ ดั ระดบั โครงการ บคุ คล การปรับปรุงอยา่ งตอ่ เน่ือง กิจกรรม การปฏบิ ตั งิ าน และนวตั กรรม แผนงาน การวดั ผล การวดั ผล มาตรฐาน ตวั ชวี ้ ดั ระดบั การปฏบิ ตั งิ าน โครงการ การวดั ผล การวดั ผล มาตรฐาน ตวั ชวี ้ ดั ระดบั การปฏิบตั งิ าน กิจกรรม RW-Model Software RW-Model การจดั การระบบสารสนเทศ Hardware การจดั การความรู้ Data Information มคี ณุ ลกั ษณะทด่ี ี พร้อมใช้งาน แม้ในภาวะท่ีฉกุ เฉิน วตั ถปุ ระสงค ดานคุณภาพผูเรียน ผู้เรียนมีความรู้สูงกว่ามาตรฐานระดับชาติ สามารถแข่งขันได้ในระดับอาเซียนและก้าวสู่มาตรฐานสากล มีคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มจี ิตวญิ ญาณ ของความเปน็ ชาวอาเซยี น (ASEAN People) และคณุ ลกั ษณะของความเปน็ พลโลก (World Citizen) มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี มีสนุ ทรยี ภาพทางด้านศลิ ปะ ดนตรี กฬี า สามารถ ปรับตวั และดา� รงชีวติ อยูใ่ นสงั คมไทย ประชาคมอาเซียน และสังคมโลก ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ดา นกระบวนการสง เสรมิ การเรยี นการสอนและกระบวนการบรหิ ารจดั การมกี ารพฒั นาหลกั สตู ร และการเรียนการสอนและการบริหารจัดการเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ดานปจจัย 212

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ สนบั สนนุ มจี า� นวนครเู พยี งพอ สอนตรงตามสาขาวชิ า ครมู คี วามรคู้ วามสามารถ มจี รรยาบรรณ วิชาชีพเหมาะสมกับการเป็นครูยุคใหม่ มีงบประมาณเพียงพอส�าหรับการพัฒนาคุณภาพ เพ่ือสร้างความเป็นเลิศและเป็นโรงเรียนคุณภาพช้ันน�าของประเทศ สามารถแข่งขันได้ ในประชาคมอาเซียนและยกระดับสู่มาตรฐานสากล มีสื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี สารสนเทศ (ICT) และแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานท่ี และสิ่งอ�านวยความสะดวกเพียงพอ มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมท่ีร่มรื่น สดชื่น สวยงาม มีเครือข่ายความร่วมมือท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพื่อระดมสรรพก�าลัง จากองคก์ รตา่ ง ๆ ทกุ ภาคสว่ นเพื่อรว่ มกันส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา การด�าเนนิ งาน ผู้บริหารได้ด�าเนินการหลากหลายวิธีในการสร้างความยั่งยืน ให้กับโรงเรียน เร่ิมด้วยการก�าหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของบุคลากร และก�าหนดแผน กลยุทธ์ท่ีชัดเจน โดยใช้การประชุมตกลงร่วมกันเพื่อก�าหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ และวัตถุประสงค์ มอบหมายงานแก่บุคลากรเป็นลายลักษณ์อักษรและโดยวาจา กระจายอา� นาจการตดั สนิ ใจอยภู่ ายในขอบเขตทไ่ี ดต้ กลงไวเ้ พอ่ื ความคลอ่ งตวั ในการปฏบิ ตั งิ าน มอบหมายให้รองผู้อ�านวยการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้ากลุ่มงาน เปน็ ผตู้ ดิ ตามงาน และประเมนิ ผลงานเปน็ ระยะ ๆ นา� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน โดยมีผู้รับผิดชอบในการพัฒนาโปรแกรมท้ังระบบ Software Hardware และระบบการ จัดเก็บข้อมูล และฐานข้อมูล การมีระบบรักษาความปลอดภัยภายในโรงเรียน เช่น มกี ารจดั ครเู วรประจา� วนั ในวนั ทา� การและวนั หยดุ มยี ามรกั ษาความปลอดภยั ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ตดิ ตงั้ กลอ้ งทวี วี งจรปด ครอบคลมุ ทว่ั พนื้ ทใี่ นโรงเรยี น มกี ารประกนั อบุ ตั เิ หตใุ หบ้ คุ ลากรทกุ คน การวางแผนจดั วางตวั บคุ คล และใหโ้ อกาสบคุ ลากรไดพ้ ฒั นาความเชย่ี วชาญในงานทร่ี บั ผดิ ชอบ เพื่อสามารถเล่ือนระดับขึ้นมาเป็นหัวหน้างานในอนาคต โดยส่งเสริม สนับสนุน และใหค้ า� ปรกึ ษาแนะนา� บคุ ลากรไดเ้ ตรยี มพรอ้ มในการพฒั นาศกั ยภาพ เชน่ การสง่ บคุ ลากร เข้าร่วมประชุม อบรมการพัฒนางานด้านบรหิ าร ผลสา� เรจ็ ของการด�าเนินงาน โรงเรียนรับฟังเสียงทั้งจากผู้เรียนปัจจุบันและผู้เรียนในอนาคต ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และชุมชน รวมท้ังการวิเคราะห์ถึงแนวโน้มในการจัดการศึกษา นา� มาพจิ ารณาพฒั นาหลกั สตู รทเ่ี ปด สอนอยแู่ ลว้ และเปด หลกั สตู รใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งหลากหลาย ทั้งในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 213

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ ผเู้ รยี นมผี ลการทดสอบเฉลย่ี ระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ ี ๖ สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ผ้เู รียนเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในสถานศึกษา ต่าง ๆ และมกี ารประกอบอาชพี ทมี่ นั่ คง กจิ กรรม/โครงการ เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ และ สรา้ งความพึงพอใจแก่ครูและผูเ้ รียน ผเู้ รยี น คร ู และบคุ ลากร ทไี่ ดร้ บั การพฒั นาความร ู้ ความสามารถ และ ทักษะ เพอื่ น�าไปใช้พัฒนาการเรยี นการสอน เป็นกรรมการ เปน็ วทิ ยากร และไดร้ บั รางวลั จากหนว่ ยงานต่าง ๆ โรงเรยี นมคี ุณภาพ ได้รบั การยอมรบั ใหเ้ ป็นผู้นา� ในการเรยี นการสอน การบริหาร การด�าเนินงาน และได้รับรางวัลจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็นความภาคภูมิใจ ของบุคลากรทกุ คน การเผยแพรน วตั กรรม ประชุม อบรม ชี้แจง และร่วมกันอภิปรายประเด็นความคิดเห็น เพื่อผลการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ เผยแพร่ในรูปเอกสาร รายงานการประชุม ประกาศ คา� สง่ั ระเบยี บ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ และหนงั สอื แจง้ เวยี นตา่ ง ๆ ตลอดจนมกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารอนื่ ๆ ในรปู หนงั สอื เวยี นเอกสารการนเิ ทศภายใน สอื่ สง่ิ พมิ พ ์ เวบ็ ไซต ์ www.rw.ac.th การส่ง SMS การสื่อสารทาง Line และการประชาสัมพันธ์ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง คล่ืนความถ่ี ๙๔ MHz. เพื่อให้บุคลากรได้รับรู้และติดตามความเคลื่อนไหวของโรงเรียน และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องอย่างสม่�าเสมอ สร้างบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการจัดการความรจู้ ากสถานการณ์จรงิ (Knowledge Management in Real Time) เพอ่ื มงุ่ เนน้ การทา� งานเปน็ ทมี การมสี ว่ นรว่ ม และการสรา้ งโอกาสใหบ้ คุ ลากรไดเ้ รยี นรขู้ อ้ มลู ข่าวสาร ความเคล่อื นไหวทางดา้ นการศกึ ษา และการพฒั นาวิชาชีพ เพอื่ ให้บุคลากรทุกคน มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน เกิดจิตส�านึกของภาวะผู้น�า ตลอดจนเกิดความภาคภูมิใจ ในการท�างานโดยยดึ ถือคา่ นิยมหลกั (Core Values) ในการทา� งานของโรงเรียน การรวมกิจกรรมทีส่ �าคญั ของครู ครดู ีเดน ไดร้ บั รางวัล การอบรมบคุ ลากร 214

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ นวัตกรรมดานการพัฒนาการเรียนการสอน : รอบรูคณิตศาสตร ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย รว มพัฒนาดว ย PLC สกู ารเรียนรูท ีม่ คี ุณภาพ ความเปน มาและความสา� คญั กระบวนการจัดการและพัฒนาการศึกษาโดยมีผู้รับผิดชอบท่ีชัดเจน และจัดการเรียนการสอนม่งุ สโู่ รงเรียนคุณภาพ ก้าวสูป่ ระชาคมอาเซยี นและมาตรฐานสากล ภายใตก้ ารบรหิ ารทเี่ ขม้ แขง็ โปรง่ ใส ครทู กุ คนมสี ว่ นรว่ ม และมกี ารดา� เนนิ การตามวงจรคณุ ภาพ PDCA ดงั แผนภาพ โดยแบ่งการดา� เนินงาน ใน ๓ ดา้ น การประเมิน ก�าหนดทิศทาง วิสยั ทศั น คานิยม พนั ธกิจ เปา ประสงค การบริหารกลมุ สาระฯ แผนงาน โครงการ กจิ กรรม แผนปฏบิ ตั ริ าชการ มอบหมายบคุ ลากร การนิเทศ ก�ากับ ตดิ ตาม การถายทอด การน�าไปปฏบิ ัติ กระตุ้นเรงรัด ๑. ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น จดั การเรยี นการสอนดว้ ยกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย มีการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน ท�า PLC อยา่ งสม่�าเสมอ ๒. กระบวนดา้ นคณุ ภาพผเู้ รยี น จดั การเรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการ ท่หี ลากหลาย มกี าร PLC พฒั นากระบวนการสอน การด�าเนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง ๓. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมผู้เรยี น 215

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ วตั ถปุ ระสงค ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงข้ึน ท้ังผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการทดสอบระดบั ชาต ิ ผลการสอบแขง่ ทกั ษะทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น เพอ่ื พฒั นา คุณภาพการศึกษา มีกระบวนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดี ตอ่ การเรยี นคณิตศาสตร ์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องโรงเรยี น ได้แก่ ๑. รกั ชาติ ศาสน ์ กษตั รยิ ์ ๒. ซื่อสตั ย์สจุ รติ ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเรยี นร้ ู ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มุ่งมนั่ ในการทา� งาน ๗. รักความเป็นไทย และ ๘. มจี ติ สาธารณะการด�าเนินงาน การด�าเนินงาน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ มกี ารบรหิ ารจดั การ โดยยดึ คา่ นยิ มหลกั ๑๐ ประการ มีการบริหารท่ีเข้มแข็ง โปร่งใส ครูทุกคนมีส่วนร่วม และมีการด�าเนินการ ตามวงจรคุณภาพ PDCA ในทุกโครงการ/กิจกรรม และด�าเนินโครงการ/กิจกรรมในด้าน ตา่ ง ๆ ดังน้ี ๑. จดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ เชน่ โครงการจัดซอ้ื วัสดุ/อปุ กรณ์/ครภุ ัณฑ์ ๒. การพัฒนาส่งเสริมความรู้ เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และคุณภาพผู้เรียน เช่น โครงการปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์สสู่ ากล ๓. การอบรมการพัฒนาหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน ๔. ส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จัดสอนเสริม เตรยี มความพรอ้ มผเู้ รยี น และสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ รว่ มการทดสอบ/แขง่ ขนั ทางคณติ ศาสตร ์ เช่น โครงการสอบแข่งขัน ทักษะทางคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โครงการจดั แขง่ ขนั ทกั ษะทางคณติ ศาสตรใ์ นโรงเรยี น โครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถ ทางคณติ ศาสตร์ เข้าประกวดแข่งขนั กบั หนว่ ยงานภายนอก ๕. การประชาสมั พนั ธ ์ สอ่ื สาร เพอ่ื เผยแพรผ่ ลงานและขอ้ มลู ขา่ วสาร แกส่ าธารณะ เชน่ โครงการพฒั นาขอ้ มลู สารสนเทศ และนา� เสนอผลงานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ และน�าเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนาข้อมูล เวบ็ ไซตก์ ลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 216

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ ผลส�าเร็จของการด�าเนนิ งาน ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่ก�าหนด มีผลงาน เป็นทีป่ ระจกั ษ ์ ทง้ั รางวัลระดับท้องถ่นิ และระดับประเทศ รวมท้ังผลสอบ O-NET เต็ม ๑๐๐ ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้นทุกปี ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เปน็ กรรมการ เปน็ วทิ ยากร และไดร้ บั รางวลั ตา่ ง ๆ มากมาย กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ เป็นที่ยอมรับ มีบุคลากรมาศึกษาดูงานจากท้ังในและต่างจังหวัด ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์ สอวน. ระดับประเทศ และไดร้ บั รางวัลกล่มุ สาระคณิตศาสตร์ดเี ด่น การเผยแพรนวัตกรรม มีการเผยแพร่นวัตกรรมหลายช่องทาง ดังน้ี การเผยแพร่ผลงาน ทางเว็บไซต ์ www.rw.ac.th Line สอื่ ICT ต่าง ๆ การจดั นทิ รรศการแสดงผลงานท้ังภายใน และภายนอกโรงเรยี น วารสาร แผน่ พบั ประชาสมั พนั ธ ์ การจดั รายการทางวทิ ยกุ ระจายเสยี ง การประชาสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั ผปู้ กครอง ประชาชนทว่ั ไปและการศกึ ษาดงู านจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ การอบรมกลุมสาระการเรียนรู้ PLC ครกู ลุมสาระการเรียนรู้ ภาพกจิ กรรมการศึกษาดูงาน คณิตศาสตร คณิตศาสตร ของโรงเรยี นกาญจนาภิเษก ฯ ภาพแสดงความยนิ ดรี างวลั ครูดเี ดน การอบรมเชิงครูกลมุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร 217

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ โรงเรยี นเชียงค�ำวิทยำคม SPACE MODEL : ระบบนเิ ทศภำยในกลมุ สำระกำรเรยี นรคู ณติ ศำสตร โดยใชกำรบรหิ ำรจัดกำรระบบคุณภำพ SPACE Model สา� นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาพะเยา เกริน่ นํา โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม เปน็ โรงเรียนขนาดใหญพ่ เิ ศษ ในโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากล ท�าการสอนแบบสหศึกษา ตั้งแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ ี ๖ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ มคี รสู งั กัดกล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร ์ จ�านวน ๒๑ คน ผู้เรียนมีหลายเช้ือสายเผ่าพันธุ์ ร้อยละ ๔๐ เป็นชุมชนคนเมือง ร้อยละ ๔๔ เป็นชุมชนไทลื้อ ร้อยละ ๙ เป็นชุมชนคนไทยอีสาน และร้อยละ ๗ เป็นชุมชนไทยภูเขา ผปู้ กครองสว่ นใหญจ่ บการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ประกอบอาชพี เกษตรกรรม และรบั จา้ ง โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม มุ่งพัฒนาการศึกษาด้วย วิสัยทัศน (Vision) “เปน็ สถานศกึ ษาชนั้ นา� ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล บนพน้ื ฐานของความเปน็ ไทย” มพี นั ธกจิ (Mission) ในการสง่ เสรมิ และพฒั นาความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี น บคุ ลากร นกั เรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และภาคีเครอื ขา่ ย เพอ่ื สร้างอตั ลักษณของโรงเรียน “ใฝเ รยี นรู้ เชิดชูคณุ ธรรม” 218

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม ก�าหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2ระยะ ๔ ปี (ระหวา่ งกปำห ี ๒นด๕แ๖ผน๑พ ัฒ-น ๒าค๕ณุ ๖ภา๔พ)ก าดรศงั ึกแษผานระภยาะพ๔ ปี (ระหวา่ งปี ๒๕๖๑–๒๕๖๔) ดงั แผนภาพ พนั ธกจิ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ (เป้าประสงค)์ ๑ ส่งเสรมิ และพฒั นา ๑. ส่งเสริมมแแลละะพพฒั ัฒนนาาน ักผเู้ รียยนนใใหหม้ ้มคี ีคววาามมรู้รู้ ผนเู้ักรเียรนียน ค๑๑คว.ว.า เาพมสมรอื่่งรู้สเู้ ทสทง่ กัรเักสษิมษระแิมะแลแ ละและพละคัฒพะุณคฒั นธณุ นาร รธาผมรผนเู้จรรเู้ักรมรยี เยิยีจนรธนรียใริยหนใรหธใม้มหร้มี รต้มี มาี ม ทกั ษะแ แลละะคคุณณุ ธรธรมรจมรจยิ รธยิ รธรรมรมตา ตมาเกมณเกฑณ์ ฑ์ เตกาณมฑเกโ์ รณงเฑรียโ์ รนงมเราียตนรฐมาานตสราฐกาลนสากล โโรรงงเเรรยียี นนมมาาตตรรฐฐาานนสสาากกลล ๒. ส่งเสรมิ และพัฒนา บคุ ลากร ๒. เพ่อื ส่งเสริมและพัฒนาบคุ ลากรให้มี ๒. สง่ เสริมและพัฒนาบุคลากรใหม้ ี ศักยภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี ศกั ยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี ๓. ส่งเสริมและพฒั นา สถานศกึ ษา ๓. เพอื่ สง่ เสรมิ และพฒั นาการบรหิ าร ๓. ส่งเสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารจดั จัดการศกึ ษาดว้ ยระบบคณุ ภาพ การศึกษาดว้ ยระบบคุณภาพ ๔. กำกบั ติดตาม ดูแล และประสานความ ๔. เพื่อปรับปรุงสภาพบรรยากาศและ ๔. ปรบั ปรงุ สภาพบรรยากาศและ ร่วมมอื กบั ผู้ปกครอง ส่งิ แวดล้อมในโรงเรียนให้เหมาะสำหรบั การ สิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียนให้เหมาะสำหรบั ของนักเรยี น จัดการเรยี นการสอน จากการสนบั สนนุ จาก การจดั การเรียนการสอน จากการ ๕. สง่ เสริมและสนบั สนุน ภาครัฐและชมุ ชน สนบั สนนุ จากภาครฐั และชมุ ชน ชมุ ชน ๕. เพื่อกำกับ ติดตาม ดแู ล และประสาน ๕. ก�าำกบับ ตตดิ ิตดาตมามดแู ลดูและ ปแรละะสปานรคะวสาามน ความรว่ มมือกบั ผ้ปู กครองใขนอกงนารักดเรูแียลนใน คร่ววมามมอื รก่วับมผมูป้ ือกกคัรบอผงู้ปขอกงคนรักอเรงียในนใกนากรารดูแล ชก่วายรดเหูแลอืช่วนยักเเหรลยี ือนนกั เรียน ชดว่แู ยลเชห่วลยอืเหผลู้เรือียนนกั เรียน ๖. เพอื่ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ชมุ ชนในการ ๖. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนชุมชนในการรบั รับและใหบ้ รกิ ารจากโรงเรียน และใหบ้ ริการจากโรงเรยี น คณุ ธรรมภจรายิยใธตรค้รกมวาาตมรารมจ่วเมดักมณกือฑาอย์โรร่าศงงเกเึรปยี ษน็ นรามปู ขาธตอรรรงฐมาโรนดงสา้ เานรกนยีลกั นเรดไยี า้ ดนนย้สบง่ดคุึ เสลตราามิกมรแทลแาะนงพกัฒวารนนศาโึกใยหษบม้าีคแาลวยาะมขครรอูู้ ทสงัก่งสเษสา� ะรนแิมลกัแะลงะาพนัฒคนณา ะกรรมการ กาใหร้มศศี ึกั ยษภาพขตัน้ ามพมื้นาตฐราฐานนเวปิชา็นชหพี ลมกีักา รกโดำกยบั เนฉิเพทศาะติดนตโายมบปราะยเมปนิ ฏผลิรกูปารกบาริหราศรแึกลษะกาา รเจพัดกอ่ื าใรศหึกเ้ ษดาก็ และเยาวชน มีคอกยิจวก่าางรเมรหมมสพาาฒัะมสนมาาชครดัุณถเจภแนาพลแกะลาะทรเศปักึกิดษษโอาะดกา้ใานสนใคหกณผ้ าติู้เกรศยี่คาวสิดขต้อรวง์ ิเจมคดัีสทว่รนำาเรอะ่วกมหสา์ โรดทยหักจลัดักษทฐะาำนแกผรานอ่ รปงใฏรชอิบย้ภัติกขาา้อษรมปูลารส ะาจทรำสป้ังนีภเโทคาศรษงสการารปุไทยและภาษา ตา่รางยปงารนะแเลทะศนำ ผตลลจอากดกาจรนรามยงีคานุณไปธใรช้ใรนมก าแรวลางะแคผนรพ ู ฒัคนอื า ใหหบ้ัวรใรจลสเุ ปา� า้ คปรญั ะสขงคอ์ งการจดั การเรียนการสอน กรอบแนวคดิ ในการดา� เนนิ งานของโรงเรยี นเชยี งคา� วทิ ยาคมสมู่ าตรฐานสากล ใช้การบริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model โดยเน้นให้มีการวางแผนพัฒนางาน พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน เปน็ สา� คญั เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี น เปน็ คนด ี คนเกง่ และมคี วามสขุ มกี ารนเิ ทศ กา� กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล อยา่ งตอ่ เนอื่ งภายใตค้ วามรว่ มมอื อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 219

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ ดา้ นผเู้ รยี น สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามร ู้ ทกั ษะ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตามเกณฑโ์ รงเรยี นมาตรฐานสากล ดา้ นบุคลากรทางการศกึ ษาและคร ู ส่งเสริมและพฒั นา ให้มีศักยภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ มีการก�ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริหาร และการจัดการศึกษา อย่างเหมาะสมชัดเจน และเปดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วม โดยจัดท�าแผนปฏิบัติการประจ�าปี โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดา้ นคณติ ศาสตร ์ จดั ทา� เอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอย ขอ้ มลู สารสนเทศ สรปุ รายงาน และนา� ผล จากการรายงานไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาใหบ้ รรลุเป้าประสงค์ สรางสรรคนวตั กรรม นวตั กรรมดา นการบริหาร : การบริหารจัดการระบบคณุ ภาพ SPACE Model จากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีมีความมุ่งมั่นต่อการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา โดยการยกระดบั โรงเรยี นชน้ั นา� ทมี่ คี วามพรอ้ มสโู่ รงเรยี นมาตรฐาน สากล ตามเจตนารมณ์ของโครงการที่มีความมุ่งหวังและความคาดหมายหลัก คือ ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ อันหมายถึง เป็นคนดี เป็นคนเก่ง เป็นคนที่ สามารถดา� รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ คา่ และมคี วามสขุ บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทย ภายใตบ้ รบิ ท สงั คมโลกใหม ่ รวมทงั้ เพมิ่ ศกั ยภาพและความสามารถในระดบั สงู ดา้ นวทิ ยาศาสตร ์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร เพื่อการพ่ึงตนเองและเพ่ือสมรรถนะในการแข่งขัน และโรงเรียนยกระดับ คณุ ภาพสงู ขนึ้ สมู่ าตรฐานสากล ผา่ นการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ แหง่ สา� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (OBECQA) และตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ แห่งชาติ (TQA) เป็นโรงเรียนยุคใหม่ที่จัดการศึกษาแบบองค์รวม และบูรณาการเชื่อมโยง กับเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรมศาสนา และการเมือง เพือ่ พัฒนาประเทศอยา่ งยั่งยืน โดยมี ภาคีเครือข่ายการจัดการเรียนรู้และร่วมพัฒนากับสถานศึกษาระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค ระดบั ชาต ิ และนานาชาต ิ รวมทง้ั เครอื ขา่ ยสนบั สนนุ จากสถาบนั อดุ มศกึ ษาและองคก์ รอน่ื ๆ ที่เก่ียวข้อง ตลอดจนเป็นศูนย์ เครือข่ายพัฒนาความรู้ให้กับประชาชนในชุมชนและบุคคล ทวั่ ไป 220

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม ออกแบบการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ด้วยกระบวนการการบริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ให้ผ่านการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพแหง่ สา� นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน(OBECQA) ก�าหนดกระบวนการ ๕ ขัน้ ตอน ดังแผนภาพ กระบวนการบรหิ ารเชงิ ระบบ SPACE Model ขัน้ ที่ ๑ : S (Situation Analysis) การวิเคราะห ขัน้ ท่ี ๒ : P (Plan) การวางแผน ขน้ั ท่ี ๓ : A (Action) การปฏบิ ตั ติ ามแผน ขน้ั ที่ ๔ : C (Check) การตรวจสอบและประเมินผล ขนั้ ท่ี ๕ : E (Evolution) การพฒั นาและทบทวน การนา� องคก รโดยผนู้ �าระดบั สงู (Senior Leadership) ผู้น�าองค์กรด�าเนินการก�าหนดนโยบายและส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียน มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอ่ื มงุ่ สวู่ สิ ยั ทศั น ์ “เปน็ สถานศกึ ษาชน้ั นา� ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย” ซึ่งได้ก�าหนดกรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาไว ้ ๔ แนวทาง คือ พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น พฒั นาคุณภาพครูยคุ ใหม่ พัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรยู้ คุ ใหม ่ และพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การใหม ่ โดยใชก้ ารบรหิ ารจดั การ ระบบคุณภาพ SPACE Model มาก�าหนดโครงสร้างการน�าองค์กรและกระบวนการ น�าองค์กร เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนองค์กรอย่างเป็นระบบ ซึ่งน�าไปสู่ การบรรลเุ ป้าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพตามแผนภาพท่ ี ๑ 221

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ แผนภาพที่ ๑ กระบวนการน�าองคกร ผลส�าเร็จของการด�าเนินงาน จากแผนภาพท ่ี๑ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาไดด้ า� เนนิ การโดยเรม่ิ จากการวเิ คราะห์ สถานภาพโรงเรียนเพื่อน�าข้อมูลมาใช้ในการก�าหนดทิศทาง กลยุทธ์ ร่วมกันกับผู้มีส่วน เก่ียวข้อง ร่วมกันจัดท�าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับ สถานภาพ บรบิ ท ทิศทาง และกลยุทธข์ องโรงเรยี น ก�าหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานภายใน โรงเรยี นทงั้ งานหลกั และงานสนบั สนนุ ถา่ ยทอดและนา� แผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ มกี ารกา� กบั ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามแผนอย่างต่อเน่ืองสม�่าเสมอ ท�าให้ผลการด�าเนินงานประสบ ความส�าเร็จเป็นไปตามเป้าหมายท่ีก�าหนดไว้ โดยได้น�าผลการประเมินไปใช้เป็นแนวทาง ในการปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการดา� เนนิ งานในปตี อ่ ๆ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มคี วามสา� เรจ็ ของการดา� เนนิ งานผา่ นการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพแหง่ สา� นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (OBECQA) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ 222

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ การเผยแพรนวตั กรรม ๑. ส่งนวัตกรรมการบริหารจัดการระบบ คุณภาพ SPACE Model เข้ารับการประเมิน การรับรองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (OBECQA) ๒. เผยแพร่กับโรงเรียนมาตรฐานสากล ในสงั กดั สา� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๖ เพ่ือเป็นแนวทางในการส่งโรงเรียนเข้ารับการประเมิน เพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (OBECQA) นวัตกรรมดานการพัฒนาการเรียนการสอน : ระบบนิเทศภายในกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรโดยใชก ารบริหารจัดการระบบคณุ ภาพ SPACE Model การปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) ตามขอ้ เสนอ ของส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งพัฒนาครู อาจารย์ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ให้สามารถจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญได้อย่างมี คณุ ภาพ ใหม้ รี ะบบและมาตรการจงู ใจใหค้ ร ู คณาจารย ์ ผบู้ รหิ าร และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง และการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาต ิ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่มิ เติมฉบับท ี่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕) ก�าหนดให้โรงเรียนประสานความร่วมมือส่งเสริมสนับสนุนครูผู้สอน จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม แหลง่ เรียนร้ ู สือ่ การเรียนการสอน ท่ีเอ้อื อ�านวยให้ผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ ศูนยก์ ลาง ของการเรยี นร้อู ย่างแทจ้ ริง การพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และเจตคติท่ีดี สอดคล้องกับการจัดการศึกษาและการพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางท่ีพึงประสงค์นั้น ถอื เปน็ เรอ่ื งทม่ี คี วามสา� คญั อยา่ งยงิ่ แตห่ ากจะรอคอยใหห้ นว่ ยงานระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา หรือหน่วยงานภายนอกจัดการพัฒนาครูและบุคลากร ก็ไม่แน่ว่าการจัดการพัฒนาน้ัน ๆ จะสอดคล้องตรงตามความต้องการของบุคลากรภายในโรงเรียนหรือไม่ กระบวนการ 223

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ นเิ ทศภายใน จงึ เปน ทางเลอื กทดี่ ที ส่ี ดุ ในการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรของหนว ยงาน โดยเฉพาะ ส�าหรับครูและบุคลากรสายงานการสอน ดว้ ยการพง่ึ พาตนเอง กลมุ่ เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ระบบบรหิ ารภายในองคก์ ร และการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละประสบการณ์ การนเิ ทศภายในของโรงเรยี นเปน็ กระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ของบคุ ลากรทกุ ฝา ย ในโรงเรยี น อันส่งผลในการทีจ่ ะพฒั นาบคุ ลากรทกุ คนใหส้ ามารถท�างานเกยี่ วกับการพฒั นา ผเู้ รยี นไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ การนิเทศภายในมิใชก่ ารตรวจสอบ จบั ผดิ แต่เป็นการชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ เตมิ สว่ นทขี่ าดใหก้ นั และกนั การนเิ ทศภายในโรงเรยี นจงึ ควรจดั ใหม้ ขี น้ึ อยา่ งมรี ะบบ มีการวางแผนรายละเอียดร่วมกัน แต่ละข้ันตอนบอกระยะเวลาในการนิเทศ แนวปฏิบัติ ผลที่คาดว่าจะได้รับ และขณะด�าเนินการ ควรมีการบันทึกผล เพ่ือปรับปรุงเป็นระยะ การนิเทศภายในที่ประสบผลส�าเร็จจะท�าให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการสอน ของครู และบุคลากรทุกฝายจะร่วมมือกันในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ช่ืนชมกับความส�าเร็จของตนเองส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน หัวใจของ การนิเทศภายในนั้น คือ การเรียนรู้ของครูเพ่ือการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ท่ีทันสมัย ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ ์ จนเขา้ ใจวธิ กี ารตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน และมองภาพอนาคตไดอ้ ยา่ งตลอดแนว วิธีการที่ท�าให้ครูสามารถพัฒนาตนเองได้มีหลายวิธี การแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเพื่อน ครู และบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน มีโอกาสได้รับความรู้ ถ่ายทอดความรู ้ แลกเปลยี่ นความร ู้ และรว่ มคดิ วเิ คราะหป์ ญั หาเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นร ู้ ทง้ั ปญั หาของตนเอง เพ่อื นครู และผู้ปกครอง เพอ่ื หาแนวทางแกป้ ญั หาร่วมกนั 224

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ สรุปได้ว่า การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการส�าคัญท่ีจะช่วยให้ครูผู้สอน หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปล่ียนแนวคิดและวิธีการในการจัด กระบวนการเรยี นร้ ู เพือ่ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ กิดการเรยี นรอู้ ย่างแท้จรงิ สามารถทจี่ ะทา� ใหผ้ ู้เรียนได้ พัฒนาเต็มตามศักยภาพ วตั ถุประสงค กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม ได้ออกแบบ ระบบนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การบริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model เพอื่ วางแผนการนเิ ทศภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อให้การจัดการกระบวนการเรียนรู้ของครูมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล เพ่ือน�าผลการนิเทศและประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ท่ีจะส่งผลต่อการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพ ซึ่งจะสามารถพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ท�าให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่ีสูงขึ้น มีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามเป้าหมาย ท่ีโรงเรยี นก�าหนดไว้ การประเมนิ ผลการนเิ ทศภายในของระบบนเิ ทศภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ โดยใช้การบริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ให้สูงกว่า ค่าเป้าหมายของโรงเรียน คือ ผู้เรียนมีผลการเรียน ระดับ ๒ ขึ้นไปร้อยละ ๗๐ และพัฒนาผลการสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ให้สูงกวา่ คา่ เฉลยี่ ของประเทศ 225

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ การดา� เนนิ งาน การด�าเนินงานการนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ดา� เนนิ การตามระบบนเิ ทศภายในกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรโ์ ดยใชก้ ารบรหิ ารจดั การ ระบบคุณภาพ SPACE Model ซ่ึงออกแบบขึ้นเพื่อใช้เป็นกระบวนการในการขับเคลื่อน การนิเทศการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี ผลส�าเร็จของการด�าเนินงาน ๑. ผลการนิเทศภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การ บริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม ประจ�าปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีผลการประเมินเฉล่ีย ๔.๓๖ แปรผลการประเมิน ระดับมากทสี่ ุด 226

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ ๒. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม ประจ�าปีการศึกษา ๒๕๖๑ ผู้เรียนมีผลการเรียน ระดับ ๔ ร้อยละ ๒๘.๗๖ ระดับ ๓.๕ ร้อยละ ๑๕.๒๘ ระดับ ๓ ร้อยละ ๑๗.๙๓ และผู้เรียน มีผลการเรียน ๒ ขึ้นไป คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๖.๕๗ ๓. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) วชิ าคณิตศาสตร ์ ของผูเ้ รียนโรงเรียนเชยี งคา� วิทยาคม ประจ�าปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศ ต่อเนื่องทุกปี ทั้งระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ การเผยแพรนวตั กรรม ๑. เผยแพร่ผลงานในเว็บไซต์ของโรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม www.chiangkham.ac.th ๒. เผยแพร่เอกสารไปยังโรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศกึ ษาพะเยา จากการน�าองค์กรของผู้บริหารด้วยนวัตกรรมการบริหารจัดการระบบ คุณภาพ SPACE Model อย่างเป็นระบบ และน�าระบบมาใช้ในการบริหารงาน ในทุกฝายงาน ส่งผลให้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ประสบผลส�าเร็จในการพัฒนา ระบบนิเทศภายในกลุ่มสาระฯ โดยใช้การบริหารจัดการระบบคุณภาพ SPACE Model อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ น�าไปสู่การสร้างนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน ของครผู สู้ อนคณติ ศาสตร ์ ซงึ่ ไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ปน็ ครคู ณุ ภาพ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพ ผูเ้ รียน 227



ภำคผนวก

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ แบบประเมนิ สถานศกึ ษาที่สงเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาประสบผลส�าเรจ็ กลุมสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร ประจ�าป พ.ศ. ๒๕๖๒ ---------------------------------- ชอื่ สถานศึกษา................................................................................................................................. สา� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา.............................................................................................................. คณุ สมบตั ขิ องสถานศกึ ษาท่สี ง ผลงาน.............................................................................................. รายการประเมิน ผลการประเมนิ ๑) สังกดั  สังกดั สา� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา  สงั กัดสา� นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา  สังกดั ส�านกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ประเภทของสถานศึกษา  ผ่าน  ไมผ่ า่ น  โรงเรยี นประถมศึกษา (ป.๑ - ป.๖)  โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา (ป.๑ - ม.๓/ป.๑ - ม.๖)  โรงเรยี นมธั ยมศึกษา (ม.๑ - ม.๓/ม.๑ - ม.๖/ม.๔ - ม.๖)  โรงเรยี นมธั ยมศึกษา (ป.๑ - ม.๓/ป.๑ - ม.๖) ๒) ไมเ่ คยไดร้ ับรางวลั ระดับยอดเย่ียมหรอื ได้รับรางวลั ระดับยอดเยย่ี ม  ผา่ น ในโครงการนี้มากอ่ น ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ ปี  ไมผ่ ่าน ๓) คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ NT และ/หรือ O-NET  NT ป.๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน  O-NET ป.๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน  ผา่ น  O-NET ม.๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน  ไมผ่ า่ น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน  O-NET ม.๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ...............คะแนน 230

รายการประเมิน ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ ผลการประเมนิ ความคิดเหน็ เพิ่มเติม สรปุ ผลการประเมินตามคุณสมบัตขิ องสถานศกึ ษา  ผ่าน  ไมผ่ ่าน 231

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ รายการประเมิน คะแนน คะแนน เตม็ ทีไ่ ด้ ดา้ นท่ี ๑ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๔๐ ๑. การก�าหนดวิสยั ทศั น พนั ธกิจ และเปาหมาย ๔ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (ระยะ ๓ - ๕ ปี) ๒๐ ๑) มคี วามหมาย เช่อื มโยง นา� ไปสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ดา้ นคณติ ศาสตร์ ๒) มีความสอดคล้องสมั พันธก์ ันอย่างชดั เจน และนา� ไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ดจ้ ริง อยา่ งสมเหตุสมผล ๒. การวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ๒.๑ การวางแผนและด�าเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพของนกั เรียน รอบดา้ น และดา� เนนิ การอยา่ งเป็นรปู ธรรม ๑) มีแผนปฏิบัติการประจ�าป ี โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ด้านคณิตศาสตร์ครอบคลมุ ตอบสนอง เหมาะสม สอดคล้องกบั นกั เรยี น ๒) มีขอ้ มลู สารสนเทศเก่ียวกบั คร ู นกั เรียน ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ครอบคลมุ สามารถนา� ไปใชว้ างแผนในการพัฒนานกั เรียนไดจ้ ริง ๓) มีสาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ น�าไปสอดแทรกในหลกั สตู ร แผนการจดั การเรยี นรู้ ทใ่ี ชพ้ ฒั นาคณุ ภาพดา้ นคณิตศาสตรไ์ ดส้ อดคล้อง และครอบคลมุ ๔) มผี ลการด�าเนินงานในรอบปีท่ผี า่ นมา และนา� ไปใชว้ างแผนพฒั นา ไดอ้ ย่างครอบคลมุ ต่อเนือ่ ง ทวั่ ถึง สอดคล้องตามความต้องการ ของท้องถิ่น มผี ู้รับผิดชอบชดั เจน ร่วมกันวางแผนการทา� งานพัฒนา คุณภาพคณิตศาสตร์ 232

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ รายการประเมิน คะแนน คะแนน เตม็ ทีไ่ ด้ ๒.๒ การวางแผนและดา� เนนิ งานพฒั นาบุคลากรทางการศกึ ษาและครู ๑) มแี ผนปฏบิ ตั ิการประจา� ป ี โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพการศึกษา ด้านคณิตศาสตรท์ ีค่ รอบคลุม เหมาะสม สอดคล้องกับบริบท สภาพปัจจุบนั ปญั หาความตอ้ งการในการน�าไปพฒั นาคณติ ศาสตร์ อยา่ งครอบคลุมรอบดา้ น ๒) มขี อ้ มลู สารสนเทศเกยี่ วกบั คร ู นกั เรยี น ครอบคลมุ ครบถว้ น เหมาะสม สอดคล้องกับบรบิ ทสภาพปัจจุบนั ปัญหาความต้องการสามารถ น�าไปวางแผนพฒั นาคร ู ใหต้ รงตามบรบิ ทกับปัญหาความตอ้ งการ ๓) มีขอ้ มลู สารสนเทศเกยี่ วกบั การด�าเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมใน รอบปที ผี่ ่านมา เกย่ี วกับคณิตศาสตรท์ ่ีสามารถใช้แก้ปญั หาครอบคลุม นักเรยี นทกุ กลมุ่ ๔) มีการพฒั นาครคู ณิตศาสตร์ให้ครอบคลุม ครบถ้วน ท่วั ถงึ และตอ่ เน่ือง ๕) มกี ิจกรรมการส่งเสรมิ สนบั สนุนการพฒั นาครไู ดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้ นา� กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพดา้ นคณิตศาสตร ์ และเผยแพรผ่ ลงาน อย่างแพรห่ ลายต่อเนอ่ื ง ๖) มีผ้รู ับผดิ ชอบอย่างชัดเจน รว่ มกนั วางแผนการท�างานพฒั นาคณุ ภาพ ด้านคณติ ศาสตร์ ๒.๓ การวางแผนบรหิ ารและการจดั การขอ้ มลู สารสนเทศทเี่ ก่ยี วข้องกับ คณติ ศาสตรอ์ ย่างเปน็ ระบบ ๑) มผี ู้รับผิดชอบชัดเจน ครอบคลุม เหมาะสม สอดคลอ้ ง และ มคี วามสามารถ ๒) มีการจดั ทา� เครื่องมือเก็บรวบรวมขอ้ มูลที่มีประสทิ ธิภาพ เก็บขอ้ มูล ได้ครบถ้วน ครอบคลมุ สามารถนา� ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ คณิตศาสตรไ์ ด้จริง ๓) มีการจดั เกบ็ ขอ้ มลู เปน็ ระบบ ตอ่ เนือ่ ง ทนั สมยั น�ามาใชไ้ ดส้ ะดวก ในรูปแบบท่หี ลากหลาย ทงั้ ในแฟม้ เอกสาร/โปรแกรม ๔) มกี ารบริการสารสนเทศแก่บคุ ลากรในการนา� ไปใชว้ างแผนพัฒนา คุณภาพคณติ ศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และมรี ่องรอยการให้ บรกิ ารท่ชี ดั เจน เปน็ ระบบ ๕) มีการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธข์ ้อมูลสารสนเทศแก่ผ้สู นใจด้วยวธิ ีการ ทห่ี ลากหลาย สะดวกรวดเรว็ กระตนุ้ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรมแี รงบนั ดาลใจ ในการนา� ไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพคณติ ศาสตร์ได้ 233

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ รายการประเมิน คะแนน คะแนน เตม็ ท่ีได้ ๒.๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อือ้ ต่อ การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ๑) มแี หลง่ เรยี นรทู้ ่เี กยี่ วกบั การพฒั นาคณุ ภาพคณิตศาสตร์อย่าง หลากหลาย ครอบคลุมทัง้ ภายใน ภายนอกโรงเรยี น จดั สภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่เี อ้อื ตอ่ การเรียนร้คู ณติ ศาสตร ์ มีความปลอดภยั เพียงพอ พรอ้ มใช ้ ๒) มีโครงการกิจกรรม แผนการใช ้ ตารางการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ชดั เจน ตอบสนองการพัฒนาคุณภาพคณติ ศาสตร์ครอบคลุม เหมาะสม สอดคล้องกบั นกั เรียนอยา่ งต่อเนือ่ งท่วั ถึง ๓) มีทา� เนยี บ/ทะเบยี น/รายการบัญชเี กี่ยวกับแหลง่ เรียนรู ้ ภูมปิ ัญญา ที่ชดั เจน อา� นวยความสะดวก กระตุ้นใหค้ รแู ละบุคลากร มีแรงบันดาลใจ สามารถน�าไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพคณติ ศาสตร์ ไดจ้ รงิ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ๔) มีกจิ กรรม สือ่ สิง่ อา� นวยความสะดวกในการทา� กิจกรรมในแหลง่ เรียนร ู้ ทีน่ า่ สนใจ ใชไ้ ดจ้ รงิ มปี ระสิทธิภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของนกั เรียน เพยี งพอ พรอ้ มใช้ ๕) มชี ้ินงาน หลักฐาน ผลการใช้แหลง่ เรยี นรู้ ที่สามารถประเมนิ คณุ ภาพ นักเรยี นคณิตศาสตร์ไดจ้ ริง และมีรายงานผลการใช้ ๓. การมีสวนรว มของเครอื ขา ย หนวยงานหรือองคก รอื่น ๆ และผทู้ ม่ี สี ว น ๖ เกี่ยวข้อง ๑) มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนนุ ดา้ นทรพั ยากรอยา่ งหลากหลาย ครอบคลุม เปน็ ระบบ สามารถใช้พฒั นาคุณภาพคณิตศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งครอบคลมุ ทั่งถงึ เพียงพอ ๒) มีโครงการ/กิจกรรม การมสี ว่ นร่วมของผ้เู กี่ยวขอ้ งกับคณติ ศาสตร ์ หลากหลาย ครอบคลมุ ตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรยี นอย่างต่อเน่ือง ทั่วถงึ ๓) มผี ลงาน ชิ้นงาน จากการท�ากิจกรรมคณติ ศาสตร์ จากการมีสว่ นรว่ ม ของผเู้ กีย่ วขอ้ งที่สามารถประเมินคณุ ภาพนักเรยี นคณติ ศาสตร์ ไดอ้ ย่างครอบคลุมนา� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ๔) มกี ารประชุมชี้แจง สรา้ งความเข้าใจแกผ่ ูเ้ ก่ียวข้อง ทา� ให้ผู้เก่ยี วขอ้ ง มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เหน็ คุณค่า มีความเต็มใจในการรว่ มงาน 234

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ รายการประเมนิ คะแนน คะแนน เต็ม ทไี่ ด้ ๕) มีการจัดตงั้ กลุม่ ชุมนมุ ชมรม มลู นิธิ และสร้างเครอื ข่ายการพัฒนา คุณภาพคณิตศาสตรท์ ส่ี ามารถท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเน่อื ง ยัง่ ยนื ๖) มกี ารเผยแพร ่ ประชาสมั พันธ ์ สร้างความเขา้ ใจ ยกย่องชมเชย สรา้ งขวัญ ก�าลงั ใจแกท่ ีมงาน ผ้เู ก่ยี วขอ้ ง ใหม้ ีความพรอ้ มในการพัฒนางานอยา่ ง ต่อเนอ่ื ง สม�่าเสมอ ตลอดจนการให้บริการแก่หนว่ ยงาน/องคก์ รภายนอก ๔. การกา� กับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษา ๑๐ ๑) มีโครงการ การด�าเนนิ งานโครงการ ค�าสง่ั ท่ีชดั เจน โดยมกี จิ กรรม ท่ีหลากหลาย เหมาะสม สอดคล้อง นา� ไปวางแผนพฒั นาไดจ้ ริง สอดคลอ้ ง ตามความตอ้ งการ ๒) มแี ผนการนิเทศ ขอ้ มูลการกา� กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลการนิเทศ ทค่ี รบถ้วนเปน็ ระบบสอดคล้องกบั ปญั หาความตอ้ งการ ๓) มีเคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพเหมาะสม สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและปัญหาของแตล่ ะคน ๔) มปี ฏิทิน/ก�าหนดการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลท่ีชดั เจน ใช้ไดจ้ รงิ ๕) มีบันทกึ การนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลทคี่ รบถ้วน ครอบคลมุ สามารถ ใช้พฒั นาคณุ ภาพคณติ ศาสตรไ์ ด้ ๖) มีรายงานสรุปการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลที่ครบถว้ น เป็นระบบ สามารถใช้พัฒนาคุณภาพคณติ ศาสตรไ์ ด้ ๗) มรี ายงานการนา� ผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการวางแผนเพอื่ พฒั นาการจดั การเรยี น การสอนคณติ ศาสตร์ ๘) มีผลท่ไี ด้จากการนเิ ทศทห่ี ลากหลาย สามารถน�าไปใชป้ ระเมนิ และ พฒั นาการจัดการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 235

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³ÔµÈÒʵÏ รายการประเมนิ คะแนน คะแนน เต็ม ที่ได้ ด้านที่ ๒ นวตั กรรม ๔๐ ๑. นวัตกรรมดา้ นการบรหิ ารทีป่ ระสบผลส�าเรจ็ และสง ผลตอ การพัฒนาคุณภาพ ๒๐ กลุม สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร (ของ ผอ./รอง ผอ.) ๑.๑ ความเปนมาและความส�าคัญ ระบสุ ภาพปญั หาความตอ้ งการหรอื เหตผุ ลความจา� เป็นของสิ่งทจ่ี ะพฒั นา ได้ชัดเจน มีการจัดลา� ดับความส�าคัญของปญั หา และมหี ลักฐานอ้างอิง ทันสมยั เช่ือถอื ได้ ๑.๒ องคประกอบด้านกระบวนการพฒั นานวตั กรรม ๑.๒.๑ การก�าหนดวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมาย กา� หนดวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการดา� เนินงานได้ชัดเจน เป็นรปู ธรรมทัง้ เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หา และความตอ้ งการของสถานศกึ ษาและชมุ ชน และสง่ ผลในภาพกวา้ ง มคี วามเปน็ ไปไดท้ ุกวตั ถปุ ระสงค์ ๑.๒.๒ การใชห้ ลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีในการพัฒนานวัตกรรม มีการสังเคราะห ์ และน�าหลักการ แนวคิด ทฤษฎที ่ีหลากหลาย ทนั สมยั มาประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาหรือ ความตอ้ งการพฒั นา ๑.๒.๓ กระบวนการพัฒนานวตั กรรม ดา� เนินการพัฒนานวตั กรรมตามแนวคิดและทฤษฎีการพฒั นา นวัตกรรมท่อี อกแบบไว้ครบทุกข้ันตอน และมกี ารปรับปรงุ พัฒนา อย่างตอ่ เน่ือง ๑.๒.๔ ความสา� เรจ็ ของการพฒั นานวตั กรรม การพฒั นานวัตกรรมได้ดา� เนินการเสรจ็ ส้นิ ครบถ้วน ตามกระบวนการ มีการเผยแพรแ่ ละสรา้ งเครอื ข่ายอยา่ งต่อเนอื่ ง ๑.๓ องคประกอบคุณคา ของนวตั กรรม ๑.๓.๑ การแกป้ ัญหาหรอื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น แกป้ ัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมาย ภายในเวลาตามที่กา� หนด เกดิ ประโยชน์อยา่ งกว้างขวาง ประหยดั และคมุ้ ค่า 236

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ รายการประเมิน คะแนน คะแนน เต็ม ท่ไี ด้ ๑.๓.๒ การส่งเสริมให้เกดิ กระบวนการแสวงหาความรู้ นวตั กรรม/กระบวนการพฒั นานวตั กรรมสง่ เสรมิ กระตนุ้ ใหผ้ พู้ ฒั นา และผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง ศกึ ษา ค้นควา้ และแสวงหาความรู้เพิม่ เติม จนสามารถสรา้ งนวัตกรรมใหม ่ และสามารถพฒั นาผูเ้ รยี น ให้มีกระบวนการคดิ ได้อย่างกวา้ งขวาง ๑.๓.๓ ประโยชน์และการนา� ไปใช้ กระบวนการพฒั นาผลงาน นวัตกรรมกอ่ ให้เกดิ ประสบการณ์ การเรยี นรรู้ ่วมกันทั้งโรงเรยี น มขี นั้ ตอนชดั เจน นา� ไปใชไ้ ดง้ า่ ย และสะดวก ๒. นวตั กรรมดา้ นการพฒั นาการเรยี นการสอนท่ปี ระสบผลสา� เร็จและสง ผลตอ ๒๐ การพฒั นาคณุ ภาพ กลมุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร (ของครผู สู้ อน) ๒.๑ ความเปน มาและความส�าคัญ ระบุสภาพปญั หาความตอ้ งการหรอื เหตผุ ลความจา� เป็นของสง่ิ ทีจ่ ะพัฒนา ได้ชดั เจน มกี ารจดั ล�าดับความสา� คญั ของปัญหา และมีหลกั ฐานอ้างองิ ทันสมยั เชอ่ื ถอื ได้ ๒.๒ องคป ระกอบดา้ นกระบวนการพัฒนานวัตกรรม ๑.๒.๑ การกา� หนดวตั ถุประสงค์และเป้าหมาย กา� หนดวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการด�าเนินงานไดช้ ดั เจน เป็นรูปธรรมทงั้ เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ สอดคล้องกบั สภาพปญั หา และความตอ้ งการของสถานศกึ ษาและชมุ ชน และสง่ ผลในภาพกวา้ ง มคี วามเปน็ ไปได้ทกุ วตั ถปุ ระสงค์ ๑.๒.๒ การใช้หลักการ แนวคิด ทฤษฎีในการพฒั นานวตั กรรม มีการสงั เคราะห์ และน�าหลกั การ แนวคิด ทฤษฎีท่หี ลากหลาย ทนั สมัยมาประยุกต์ใชไ้ ด้สอดคล้องกบั สภาพปญั หาหรอื ความต้องการพัฒนา ๑.๒.๓ กระบวนการพัฒนานวตั กรรม ดา� เนินการพฒั นานวตั กรรมตามแนวคดิ และทฤษฎีการพฒั นา นวตั กรรมทอี่ อกแบบไวค้ รบทกุ ขนั้ ตอน และมีการปรับปรงุ พัฒนา อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 237

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³ÔµÈÒʵÏ รายการประเมนิ คะแนน คะแนน เตม็ ท่ีได้ ๒.๒.๔ ความส�าเรจ็ ของการพฒั นานวัตกรรม การพฒั นานวตั กรรมไดด้ า� เนินการเสรจ็ สนิ้ ครบถ้วน ตามกระบวนการ มีการเผยแพร่และสรา้ งเครอื ข่ายอย่างตอ่ เน่ือง ๒.๓ องคป ระกอบคุณคา ของนวัตกรรม ๒.๓.๑ การแกป้ ญั หาหรอื พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น แกป้ ญั หาหรือพัฒนาผเู้ รียนไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย ภายในเวลาตามท่ีก�าหนด เกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งกว้างขวาง ประหยัด และค้มุ คา่ ๒.๓.๒ การส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ กระบวนการแสวงหาความรู้ นวตั กรรม/กระบวนการพฒั นานวตั กรรมสง่ เสรมิ กระตนุ้ ใหผ้ พู้ ฒั นา และผู้ทเ่ี กี่ยวข้อง ศึกษา ค้นคว้าและแสวงหาความรู้เพม่ิ เติม จนสามารถสรา้ งนวตั กรรมใหม ่ และสามารถพัฒนาผู้เรียน ใหม้ ีกระบวนการคดิ ไดอ้ ย่างกว้างขวาง ๒.๓.๓ ประโยชน์และการนา� ไปใช้ กระบวนการพฒั นาผลงาน นวัตกรรมก่อใหเ้ กิดประสบการณ์ การเรียนรรู้ ว่ มกันท้ังโรงเรียน มีขั้นตอนชัดเจน น�าไปใชไ้ ดง้ ่าย และสะดวก 238

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ รายการประเมิน คะแนน คะแนน เตม็ ท่ไี ด้ ดา้ นที่ ๓ ผลสา� เรจ็ ๑. ผลคะแนน NT และ/หรือ O-NET นา� คะแนนดา้ นล่างมากรอก ดังน้ ี (คะแนนท่ไี ด ้ (a) ÷ คะแนนเต็ม (b)) x ๑๕ ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT ป.๓) เปรยี บเทียบกับคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละระดับประเทศ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ รวม ๓ ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา ๑๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET ป.๖) เปรียบเทียบกบั คะแนนเฉล่ียร้อยละระดบั ประเทศ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ รวม ๓ ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ๑๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET ม.๓) เปรียบเทยี บกบั คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละระดบั ประเทศ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ รวม ๓ ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา ๑๕ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET ม.๖) เปรียบเทยี บกบั คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละระดบั ประเทศ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ รวม ๓ ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๑๕ เกณฑก์ ารให้คะแนน ในแตล่ ะปกี ารศึกษา สูงกวา่ ระดับประเทศ ๐.๑๐ - ๑.๙๙ = ๑ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ ๒.๐๐ - ๒.๙๙ = ๒ สูงกว่าระดบั ประเทศ ๓.๐๐ - ๓.๙๙ = ๓ สงู กว่าระดับประเทศ ๔.๐๐ - ๔.๙๙ = ๔ สงู กวา่ ระดบั ประเทศ ตัง้ แต่ ๕.๐๐ ข้ึนไป = ๕ รวมคะแนนเตม็ ทุกระดบั ที่มกี ารประเมิน = b รวมคะแนนทไี่ ดท้ ุกระดับที่มกี ารประเมนิ = a แล้วน�ามาเทียบคะแนนเป็นรอ้ ยละ ๑๕ ดงั น ี้ (คะแนนทีไ่ ด้ (a) ÷ คะแนนเตม็ (b)) x ๑๕ 239

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÌҧÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ รายการประเมนิ คะแนน คะแนน เตม็ ท่ีได้ ๒. ผลส�าเร็จของสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาดา้ นการสอน ๓ (เฉพาะ คณติ ศาสตร รางวัล ๒.๑ รางวัลการประกวด/แขง่ ขันที่เกย่ี วข้องกับการจดั การเรยี นการสอน ๒ สูงสดุ ) คณิตศาสตร์ ๒.๒ สถานศึกษาที่มีผลงานเป็นทีย่ อมรับทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นการสอน ๑ คณิตศาสตร์ ๒ ๓. ผลส�าเรจ็ ด้านความสามารถของนักเรยี นท่เี กีย่ วขอ้ งกับกลมุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร ๒ ๑.๕ ระดบั นานาชาติ ๑ ระดบั ชาต ิ ๑.๕ ระดับเขต/กลมุ่ จังหวดั /จังหวัด ๔๐ กลุ่มโรงเรยี น/โรงเรยี น ๔๐ ดา้ นที่ ๑ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒๐ ด้านท่ี ๒ นวตั กรรม ๑๐๐ ดา้ นที่ ๓ ผลสา� เรจ็ คะแนนรวม ความคดิ เห็นเพ่มิ เติม ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................ .................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ผปู้ ระเมิน................................................... วนั ที.่ ............/................../................ 240

¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䏤³µÔ ÈÒʵÏ คณะผจู ดั ท�ำ ทีป่ รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ๑. นายอ�านาจ วิชยานวุ ตั ิ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ๒. นายสนิท แยม้ เกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๓. นางวัฒนาพร ระงบั ทุกข ์ ผู้อา� นวยการสา� นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ๔. นางสาวรตั นา แสงบัวเผอื่ น ผทู รงคณุ วุฒิ ข้าราชการบ�านาญ ๑. นายทรงวทิ ย์ สุวรรณธาดา ข้าราชการบ�านาญ ๒. นายสมชาย เอ่ียวสกลุ ข้าราชการบ�านาญ ๓. นางสาวลดั ดาวัลย์ ด่านศริ วิ ิโรจน์ ข้าราชการบ�านาญ ๔. นางจรรี ตั น ์ ปานพรหมมินทร์ ขา้ ราชการบา� นาญ ๕. นางสายสวาท รตั นกรรด ิ ข้าราชการบ�านาญ ๖. นางสาวพนิดา พสิ ิฐอมรชัย ขา้ ราชการบา� นาญ ๗. นางยุพด ี มงคลจนิ ดาวงศ์ ศึกษานเิ ทศก ์ ๘. นายภาณวุ ชั ร ปรุ ณะศริ ิ สา� นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาบรุ รี มั ย์ ผูรบั ผิดชอบโครงการ กลมุ พฒั นากระบวนการเรียนรู สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ๑. นางผาณิต ทวศี กั ดิ์ รองผูอ้ า� นวยการส�านกั วชิ าการ และมาตรฐานการศกึ ษา ๒. นางเกศกญั ญา อนกุ ลู นักวิชาการศกึ ษา ๓. นางสาวภัทรา ด่านววิ ัฒน ์ นักวิชาการศกึ ษา ๔. นางสาวอธิฐาน คงช่วยสถิตย ์ นักวิชาการศึกษา ๕. นายอภศิ ักด์ิ สิทธิเวช นกั วิชาการศึกษา ๖. นางสาวอจั ฉราพร เทยี งภกั ด์ ิ นักวิชาการศึกษา ๗. นางสาววศนิ ี เขียวเขิน นกั วชิ าการศึกษา ๘. นางสาวปรมาพร เรอื งเจริญ พนกั งานธุรการ 241

¹Çѵ¡ÃÃÁ...ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ³µÔ ÈÒʵÏ โรงเรยี นตนแบบ โรงเรยี นอนบุ าลพบิ ลู เวศม ์ ส�านักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนอนบุ าลล�าปาง ส�านกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา (เขลางคร์ ัตน์อนสุ รณ)์ ล�าปาง เขต ๑ โรงเรยี นอนบุ าลสกลนคร สา� นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สกลนคร เขต ๑ โรงเรียนวิเชียรชม ส�านกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา สงขลา เขต ๑ โรงเรียนวัดเขาปา้ เจ้ ส�านักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา พัทลุง เขต ๑ โรงเรยี นวัดเมธังกราวาส สา� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา (เทศรัฐราษฎร์นกุ ลู ) แพร่ เขต ๑ โรงเรียนอนุบาลดา่ นชา้ ง สา� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา สพุ รรณบุรี เขต ๓ โรงเรียนวดั พลับพลาชัย ส�านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร โรงเรียนอนุบาลวัดอตู่ ะเภา สา� นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา ชลบุร ี เขต ๑ โรงเรยี นอนบุ าลนนทบรุ ี สา� นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา นนทบุร ี เขต ๑ โรงเรยี นบ้านหนองสะไนราษฎร์รงั สฤษฏ ์ สา� นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สกลนคร เขต ๑ โรงเรยี นสรุ วทิ ยาคาร สา� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ โรงเรียนสตรีวดั อปั สรสวรรค์ ส�านักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑ โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ สา� นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา สมทุ รปราการ โรงเรยี นอุทยั วิทยาคม ส�านกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา อทุ ัยธานี ชัยนาท โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลยั นนทบรุ ี สา� นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษานนทบรุ ี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รงั สิต ส�านกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาปทุมธานี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุร ี ส�านกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาราชบรุ ี โรงเรยี นวัดราชบพธิ สา� นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑ โรงเรียนรอ้ ยเอ็ดวิทยาลยั ส�านักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาร้อยเอ็ด โรงเรียนเชียงค�าวิทยาคม สา� นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาพะเยา 242


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook