๓๙ คำอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตร์เพม่ิ เติม ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ - ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง : ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ศึกษา วิเคราะห์ ฝกึ ทักษะ กระบวนการ โดยการบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนจริง อยใู่ นรปู a เม่ือ a 0 โดยใช้สมบัติ ab = a b เมื่อ a 0 และ b 0 และ a = a bb เมื่อ a 0 และ b 0 เอกนาม การบวก การลบ การคูณ และการหารเอกนาม พหุนาม การบวกการ ลบพหุนาม การคูณ และการหารพหุนามอยา่ งง่าย การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี องโดยใช้สมบตั ิ การแจกแจง การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองที่อยใู่ นรปู ax2 + bx + c เมอ่ื a,b,c เป็นคา่ คง ตัว และ a 0 การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองทอี่ ยใู่ นรูปกำลังสองสมบูรณ์ การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รสี องทีอ่ ยูใ่ นรปู ผลต่างกำลังสอง โดยใช้ทักษะ และ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยง ความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อนื่ ๆ มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรคก์ าร มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ รวมท้ังเห็นคุณค่า และมีเจต คติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ มีวิจารณญาณ และ สามารถ นำไปใช้ในชวี ิตอย่างสรา้ งสรรค์ ผลการเรยี นรู้ 1. บวก ลบ คณู และหารจำนวนจริงท่ีอยใู่ นรูป a เม่อื a 0 และ b 0 ได้ 2. สามารถใช้สมบัติของ a = a เมอ่ื a 0 และ b 0 ได้ bb 3. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหุนามได้ 4. หาผลคณู และผลหารของพหุนามอย่างงา่ ยได้ 5. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี องได้ รวมทัง้ หมด ๕ ผลการเรียนรู้
๔๐ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ ว๒๒๒๐๑ การแสดงกลทางวิทยาศาสตร์ (Science Shows) กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี - ภาคเรยี นท่ี - เวลา ๔๐ ชั่วโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย หลกั การ เนื้อหาสาระกิจกรรม ลักษณะการแสดงที่คล้ายกับการเล่น กลแตเ่ ปน็ กลท่ีอธบิ ายไดด้ ้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยปฏิบัติการ เน้ือหาสาระท่ีจะแสดง การแสดงที่ตื่นเต้น เร้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างการ แสดง หรอื เลือกเร่อื งที่จะแสดงให้มีความสัมพนั ธก์ นั ดว้ ยอาศยั หลักการทางวิทยาศาสตรห์ รอื กระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือสร้างความตื่นเต้นเร้าใจ ทำให้ผู้ชมอยากรู้อยากเห็น เกิดความสนุกท่ีอยากจะติดตาม สร้าง จินตนาการในการชม และนำไปสู่ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ในการศึกษาค้นควา้ เพือ่ แสวงหาความรตู้ อ่ ไป ผลการเรยี นรู้ ๑. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจในเนือ้ หา สาระ กจิ กรรมท่ีจะแสดง ๒. นักเรยี นสามารถเลือกเนื้อหาสาระ กจิ กรรมท่ีจะแสดง ให้มีความสมั พันธแ์ ละอธิบายไดด้ ว้ ยหลกั การ ทางวทิ ยาศาสตร์ ๓. นักเรียนสามารถแสดง กิจกรรมทมี่ ีลกั ษณะการแสดงทีค่ ลา้ ยกับการเลน่ กลแต่เป็นกลท่อี ธบิ ายได้ดว้ ย หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ ต่อสาธารณะชนได้ ๔. นักเรยี นเกดิ ทักษะในการสร้างความตืน่ เตน้ เร้าใจ ประหลาดใจทำให้ผู้ชมอยากร้วู า่ เกิดอะไรขนึ้ สรา้ ง ให้ผู้ชมเกิดคำถามต่อไปว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะอะไรถึงเป็นเช่นนัน้ เม่อื ผู้ชมอยากร้อู ยากเหน็ ก็จะ นำไปส่กู ารศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ือแสวงหาความรตู้ ่อไปได้ รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู้
๔๑ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ว๒๒๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ - ภาคเรยี นที่ - เวลา ๔๐ ช่ัวโมง : ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา สังเกต วิเคราะห์ อธิบาย หลักการและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ รวบรวมข้อมูล ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากแหล่งความรู้ วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หาและการใช้เคร่อื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยจี ากแหล่งความรู้ และจัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด สร้างสรรค์ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารสง่ิ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถใน การตดั สนิ ใจ และมีเจตคติที่ดีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ผลการเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนสามารถศกึ ษาค้นหาข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากแหล่งความรตู้ า่ ง ๆ ๒. นกั เรียนสามารถวเิ คราะหแ์ ละสรปุ สาระสำคัญของข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก การศึกษาค้นคว้า ๓. วิเคราะห์ปญั หาพิเศษหรอื โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๔. ตดั สนิ ใจเลอื กเรื่องสำหรบั ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้เหมาะสม ๕. ทำการทดลองเบอ้ื งต้นเพื่อนสำรวจความเป็นไปไดข้ องวธิ ีการทดลองและความ พรอ้ มของวัสดุอปุ กรณ์ท่ีเกีย่ วข้องกับเรอื่ งท่ีต้องการศึกษา ๖. เขียนเคา้ โครงยอ่ ของโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ครบทกุ ขัน้ ตอนและมีความเปน็ ไปได้ ๗. ทำการทดลองตามวิธีดำเนนิ การทดลองท่ีกำหนดไวใ้ ห้เค้าโครงยอ่ ของ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๘. สามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ขณะดำเนนิ การทดลองได้เหมาะสม ๙. รวบรวมขอ้ มลู และบรรทกุ ขอ้ มูลไดค้ รบถว้ นและมีความเหมาะสม ๑๐.แปลความหมายขอ้ มูลและสรปุ ผลการทดลองไดถ้ ูกต้อง ๑๑.เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ไดส้ มบูรณ์และถูกตอ้ ง ๑๒.อธิบายโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ตนเองศึกษาทดลองได้อยา่ งถูกตอ้ งคลอ่ งแคล่ว และมคี วามมน่ั ใจ ๑๓.สามารถใช้สื่อประกอบการอธิบายได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๑๔.มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีจติ วิทยาศาสตร์และเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ รวมท้ังหมด ๑๔ ผลการเรยี นรู้
๔๒ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เตมิ ง๒๒๒๐๑ การแกะสลักของออ่ น กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี - ภาคเรยี นท่ี - เวลา ๒๐ ช่ัวโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาชนิดและคุณสมบัติของวัสดุธรรมชาติและวัสดุสังเคราะห์ประเภทเนื้ออ่อน อภิปราย ลกั ษณะสำคัญของงาน รู้จักการอนุรกั ษเ์ อกลักษณ์ไทย การออกแบบและกำหนด เครื่องมืออุปกรณ์การ แกะสลักของอ่อน ตัดสินใจแก้ปญั หาการทำงาน อย่างมีเหตุผล ความปลอดภัยในประเภทตกแต่งชิ้นงาน บริการ และแกะสลักของอ่อนสามารถประเมินราคา ค่าบริการจัดจำหน่าย และทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะ ในการแกะของอ่อนสามารถให้บริการและนำทักษะ การแกะสลกั ไปประกอบการประกอบอาชีพได้ ผลการเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์ขัน้ ตอนการทำงานตามกระบวนการทำงาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสยี สละ ๓. ตัดสินใจแกป้ ัญหาการทำงาน อย่างมเี หตุผล ๔. การศกึ ษาชนิดและคุณสมบตั ิของวสั ดุธรรมชาติ ๕. อภปิ ราย ลักษณะสำคญั ของงาน และยังรจู้ กั การอนรุ ักษเ์ อกลกั ษณไ์ ทย ๖. ร้จู ักการออกแบบงาน และกำหนดเคร่ืองมอื ในการทำงาน ๗. มคี วามรคู้ วามเข้าใจมีทกั ษะในการแกะสลักของออ่ น ๘. มคี วามรู้ความเข้าใจความเป็นมาของการแกะสลัก ๙. มเี จตคตทิ ี่ดีต่อการประกอบอาชีพ ๑๐. เห็นความสำคัญของการสร้างอาชพี รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๔๓ คำอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เตมิ ง ๒๑๒๐๓ การจัดสวนถาด กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี - ภาคเรียนที่ - เวลา ๒๐ ช่ัวโมง : ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา ความหมาย ความสำคญั ประโยชน์และประวัติความเปน็ มาของการจัดสวน รูปแบบ ของสวน เคร่ืองมอื วัสดุอุปกรณ์ องค์ประกอบในการจัดสวนถาด เช่น รากไม้ หิน ดิน พันธไุ์ ม้ ฯลฯ หลกั การนำองค์ประกอบศลิ ป์มาใชใ้ นการจัดสวนถาด หลักและวธิ ีการจัดสวนถาด รูปแบบของการจดั สวน ถาด ปฏิบัตงิ านออกแบบ และจัดสวนถาดในรปู แบบต่าง ๆ การดูแลรักษาสวนถาด การประเมนิ ราคา ค่าใช้จา่ ยในการจดั สวนถาด การจดั จำหน่าย เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะพ้ืนฐานท่ีจำเป็นในการจัดสวนถาด มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มปี ระสบการณ์ในการทำงาน เห็นคุณค่าของการจดั สวน ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนอยา่ งมีความสุข มุ่งม่ันในการ ทำงาน เหน็ แนวทางในงานอาชีพ มคี ุณธรรม และเจตคตทิ ่ดี ีต่ออาชีพ ผลการเรยี นรู้ ๑.มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ของการจดั สวนถาด ๒. อธบิ ายเกย่ี วกบั ประวัตคิ วามเป็นมาของการจัดสวนถาดได้ ๓. เปรียบเทยี บรูปแบบการจัดสวนถาดแบบไทยและญีป่ ุน่ ได้ ๔. มคี วามร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั เครอื่ งมอื และวสั ดุอปุ กรณ์ในการจัดสวนถาด ๕. มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั หลกั และวธิ กี ารจดั สวนถาด ๖. ปฏิบัตกิ ารออกแบบและจัดสวนถาดในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ ๗. มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับการดูแลรักษาสวนถาดใหอ้ ยู่ได้นานและมีคณุ ภาพ ๘. ประเมินราคาสวนถาด และจัดจำหนา่ ยได้ ๙. มคี วามมุ่งม่นั ในการทำงานทำงาน เหน็ แนวทางในงานอาชีพ มีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ อาชพี จัดสวนถาด รวมทงั้ หมด ๙ ผลการเรยี นรู้
๔๔ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ง ๒๑๒๐๔ การเพาะเหด็ ดว้ ยวสั ดุผสม กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ - ภาคเรียนที่ - เวลา ๔๐ ชั่วโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ศกึ ษาความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ คุณค่าของเห็ดในด้านโภชนาการและเศรษฐกิจ ข้อมูล การตลาดเห็ดในท้องถน่ิ ประเภทของเห็ดที่สามารถเพาะได้ดว้ ยวัสดผุ สม วงจรชวี ิต ส่วนประกอบของเห็ด การใช้วัสดุผสมในการเพาะเห็ด เช่นข้ีเล่ือย ฟางข้าว เศษฝ้าย ไส้นุ่น เปลือกถั่ว รำ ฯลฯ สถานท่ี โรงเรือน วัสดุอปุ กรณ์ในการเพาะเห็ด โรคและแมลงศัตรเู ห็ด การเลือกซอื้ เชื้อเห็ด หลักและวิธกี ารเพาะ เพาะเห็ด การปฏบิ ัตดิ แู ลรักษา การเก็บดอกเหด็ การแปรปู และการจำหนา่ ย วิเคราะหค์ วามต้องการเห็ดชนิดต่าง ๆ ของตลาด วางแผนการผลิต ปฏิบตั กิ ารเพาะเห็ดด้วยวัสดุ ผสม บรรจุและอัดวัสดุผสมลงในถุงพลาสติก นำไปน่ึงฆ่าเช้ือ และเข่ียเชื้อเห็ดใส่ถุง ดูแลรักษา และจด บันทกึ เลือกเกบ็ เห็ดอย่างถกู วธิ ี บรรจหุ บี ห่อหรือภาชนะ จัดจำหนา่ ย คำนวณค่าใชจ้ า่ ย กำหนดราคาขาย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานเพาะเห็ด มีทักษะกรพบวนการทำงาน รักการ ทำงาน มจี ติ สำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ม่ังมน่ั ในการทำงาน เหน็ แนวทาง ในงานอาชีพ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มีคณุ ธรรม และเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชพี ผลการเรียนรู้ ๑. ศึกษา สำรวจ และวเิ คราะห์ ขอ้ มูลการตลาดเห็ดในท้องถิ่น ๒. อธิบายความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ และประวตั ิความเป็นมาของการเพาะเหด็ ๓. อธบิ ายเกย่ี วกบั วงจรชีวติ และสว่ นประกอบของเห็ดได้ ๔. มคี วามร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับเห็ดเศรษฐกจิ ชนิดตา่ ง ๆ ๕. สามารถวางแผนการปฏิบัติงานเกยี่ วกบั การเพาะเห็ด หรือผลิตภัณฑ์อาหารจากเห็ด ๖. อธิบายปจั จัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการเจริญเตบิ โตของเห็ดได้ ๗. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับโรงเรือน และวสั ดุ อุปกรณ์ทจ่ี ำเป็นในโรงเรอื นเพาะเห็ด ๘. อธบิ ายเกยี่ วกบั กระบวนการผลิตเหด็ และสามารถผลิตก้อนอาหารเหด็ ได้ ๙. อธบิ ายเกย่ี วกบั ขนั้ ตอนวธิ ีการเปดิ ดอกเหด็ ได้ ๑๐. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับวิธีการปฏบิ ัติดูแลรักษา การปอ้ งกนั กำจัดศัตรู ๑๑. สามารถปรงุ และแปรรปู อาหารจากเห็ดได้ ๑๒. สามารถคำนวณค่าใช้จ่าย และจัดจำหน่ายเห็ดและผลิตภณั ฑจ์ ากเห็ดได้ ๑๓. มคี วามมุ่งมั่นในการทำงาน ใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่า อยู่อยา่ งพอเพยี ง เห็นแนวทางในงานอาชีพ มี คณุ ธรรม และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ อาชพี การเพาะเห็ด รวมทั้งหมด ๑๓ ผลการเรียนรู้
๔๕ คำอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ง ๒๒๒๐๒ พชื สมุนไพร กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ - ภาคเรยี นท่ี - เวลา ๒๐ ชั่วโมง : ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของพืชสมุนไพรในท้องถิ่น เช่น ขิง ข่า ขม้ิน ตะไคร้ ฯลฯ ลักษณะ ประเภท และสรรพคุณทางยาของพืชสมุนไพร การดูแลรักษา การจัดจำหน่าย ผลผลติ วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการของตลาด เลือกพืชสมุนไพร สำหรับปลูกและขยายพันธ์ุท่ีเหมาะสม กับท้องถ่ิน ปลูกพืชสมุนไพรในแปลงหรือในภาชนะต่าง ๆ ดูแลรกั ษาเกบ็ เกีย่ วผลิตผลจำหน่าย แปรรูป คำนวณค่าใช้จ่าย กำหนดราคาขาย จัดจำหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน จัดทำบัญชีรายรับ- รายจ่าย และประเมินผล เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการปลูกพืชสมุนไพร มีทักษะกรพบวนการทำงาน รักการ ทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม มั่งม่ันในการทำงาน เหน็ แนวทาง ในงานอาชีพ อยู่อย่างพอเพียง มีคุณธรรม และเจตคติทดี่ ีต่องานอาชีพ ผลการเรยี นรู้ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของพชื สมนุ ไพรในทอ้ งถิ่นได้ ๒. จำแนกประเภทและชนดิ ของสมุนไพรได้ ๓. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั สรรพคณุ ทางยาของสมุนไพรแตล่ ะชนดิ ๔. สามารถปลูก และขยายพนั ธ์ุสมนุ ไพร ๕. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การดแู ลรกั ษา ป้องกนั โรค และศตั รูพชื สมนุ ไพร ๖. สามารเก็บเก่ียวและแปรรูปสมุนไพร ๗. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับการตลาด และการจำหนา่ ยพชื สมนุ ไพร ๘. สามารถคำนวณคา่ ใช้จ่าย และจัดจำหนา่ ยสมุนไพรและผลิตภณั ฑจ์ ากสมุนไพร ๙. มคี วามมุ่งม่ันในการทำงาน ใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มค่า อยู่อย่างพอเพยี ง เห็นแนวทางในงานอาชพี มีคณุ ธรรม และเจตคติทด่ี ีตอ่ อาชพี การปลูกสมนุ ไพร รวมทัง้ หมด ๙ ผลการเรียนรู้
๔๖ คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เตมิ ง ๒๓๒๐๑ การขยายพนั ธ์ุพชื กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ - ภาคเรียนท่ี - เวลา ๒๐ ช่ัวโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ของการขยายพันธุ์พืช เคร่ืองมือ และวัสดุอุปกรณ์ในการ ขยายพันธ์ุพืช ประเภทของการขยายพันธุ์พืช การอนุบาลพันธุ์ไม้ การปลูกพืชในภาชนะ การจัด จำหน่าย สำรวจการผลติ และภาวการณ์ตลาด วางแผนการขยายพนั ธพ์ุ ืช เลือกเครื่องมอื และวัสดอุ ุปกรณ์ ให้เหมาะสมกับวิธขยายพันธ์ุ ฝึกทักษะการขยายพันธุ์พืชแบบไม่ใช้เพศ เช่น การปักชำ การตอน การติดตา ต่อก่ิง ดูแลรักษา คำนวณค่าใช้จ่าย กำหนดราคาขาย จัดจำหน่าย จดบันทึกการ ปฏบิ ัตงิ าน ทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย และประเมินผล เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการปลูกพืชสมุนไพร มีทักษะกรพบวนการทำงาน รักการ ทำงาน มีจติ สำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม มง่ั มั่นในการทำงาน เหน็ แนวทาง ในงานอาชีพ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มคี ุณธรรม และเจตคตทิ ่ีดตี อ่ งานอาชีพ ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคญั ของการขยายพันธพ์ุ ืช ๒. อธบิ ายปจั จยั ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการเจริญเตบิ โตของพันธุ์ไม้ ๓. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเครอื่ งมอื และวัสดุอปุ กรณ์ในการขยายพนั ธุพ์ ชื ๔. สามารถขยายพันธ์ุพืชโดยไม่ใช้เพศแบบตา่ ง ๆ ได้ ๕. สามารถปลูกพชื ในภาชนะได้ ๖. สามารถอนุบาลพนั ธ์ุไมแ้ ละปฏิบัตดิ ูแลรักษาพนั ธไุ์ ม้ ๗. มีความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การตลาดและการจำหนา่ ยพันธไ์ุ ม้ ๘. สามารถสรุปและประเมินผลการขยายพนั ธพ์ ชื ได้ ๙. มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ใชท้ รพั ยากรอย่างคุม้ คา่ อย่อู ยา่ งพอเพียง เห็นแนวทางใน งานอาชีพ มีคุณธรรม และเจตคติต่ออาชีพการขยายพนั ธ์พุ ืช รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้
๔๗ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ง ๒๓๒๐๒ การสานหมวก กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ - ภาคเรยี นท่ี - เวลา ๒๐ ช่ัวโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต รู้และเขา้ ใจประวัตคิ วามเป็นมาและพื้นฐานการสานหมวก บอกอุปกรณแ์ ละ ส่วนต่าง ๆ ศึกษา ขน้ั ตอนและวธิ ีการสานหมวกลวดลายต่าง ๆ การผลิตเพอื่ การใชแ้ ละการจำหนา่ ย มีทักษะในการเตรยี มเส้นตอก การไม้ไผ่ การยอ้ มสี การสานและการแก้ปัญหาในการสาน การ ทำงานอย่างมีข้นั ตอนและเน้นกระบวนการกลมุ่ การปรบั ปรุงงานและการตกแตง่ ช้ินงาน มีความคิดสร้างสรรค์ นำความรแู้ ละทักษะที่ได้จากการเรียนไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวันและ ประกอบอาชพี อสิ ระได้ ตระหนัก เห็นประโยชน์ คุณค่า ความสำคัญของการสานหมวก การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี และภมู ิปัญญาในท้องถน่ิ ผลการเรยี นรู้ ๑. บอกประวัติความเปน็ มาของหมวกในประเทศไทยได้ ๒. บอกประวัติความเปน็ มาของการสานหมวกในชุมชนได้ ๓. บอกช่ืออปุ กรณ์ท่ีใช้ในกระบวนการสานหมวกได้ ๔. บอกแหล่งท่ีมาของไม้ไผ่ได้ ๕. ออกแบบลวดลายการสานหมวกได้ ๖. คำนวณความยาวของเส้นตอกท่นี ำมาใช้ในการสานได้ ๗. การเลอื กขนาดและสีสันตามลวดลายหมวกได้ ๘. เลือกไม่ไผต่ ามท่ีต้องการได้ ๙. อธิบายหลักการเลือกไผ่ได้ ๑๐. ปฏิบตั ิการทำเสน้ ตอกได้ ๑๑. อธบิ ายหลกั การและวิธกี ารสานได้ ๑๒. ปฏิบัตกิ ารทำเส้นตอกให้นิม่ ได้ ๑๓. อธบิ ายหลักการและวธิ ีการสานได้ ๑๔. ปฏิบัติการสานได้ ๑๕. อธบิ ายหลักการและขั้นตอนการสานสลบั สีได้ ๑๖. ตกแตง่ ผลงานให้เรียบรอ้ ยสมบูรณไ์ ด้ ๑๗. คิดคำนวณต้นทุนการผลิต กำหนดราคาขาย และทำบัญชีรายรบั รายจ่ายไดถ้ ูกตอ้ ง ๑๘. นำเสนอผลงานหมวกโดยการจดั นิทรรศการและจำหน่ายหมวกได้ รวมท้ังหมด ๑๘ ผลการเรียนรู้
๔๘ คำอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เตมิ ว๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์เพื่อการสืบค้น กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง : ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ การเปิดปิดเคร่ือง การใช้แป้นพิมพ์ การจัดทำสำเนา แผ่นบันทึก การ ขอดูสาระบบแฟ้มข้อมูล การป้อนข้อมูล การแก้ไขข้อมูล คำส่ังต่างๆ ในการพิมพ์แฟ้ม ข้อมูลเอกสาร การจัดเกบ็ แฟ้มข้อมูลเอกสารและการเรียกแฟ้มขอ้ มูลมาแก้ไข การกำหนดรปู แบบเอกสาร การค้นหาและ เปลี่ยนแปลงข้อความ คำส่ังพิเศษในการส่ังพิมพ์ การประยุกต์ในงานพิมพ์เอกสารต่างๆ ศึกษา ข้อมูล สารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล การใช้ อินเทอร์เน็ตในการเรียกดูข้อมูล ค้นหาข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในท้องถิ่ น ใช้โปรแกรมประมวลคำ ป้อนข้อมูล แกไ้ ขข้อมูล ใช้คำสั่งในการพิมพ์แฟ้มข้อมลู เอกสาร จดั เก็บ แฟ้มข้อมูลเอกสารและเรียกแฟ้มข้อมูลมาแก้ไข กำหนดรูปแบบเอกสาร พิมพ์เอกสาร การใช้งาน อินเทอร์เน็ตในการเรียกดูข้อมูล การค้นหาข้อมูล การทำชิ้นงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ และมีทกั ษะในการจัดทำเอกสารด้วยโปรแกรมประมวลคำ สาม รถประยุกต์การจดั ทำเอกสารในรูปแบบตา่ งๆได้ เขา้ ใจและเห็นคุณค่าของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้ โปรแกรมประยุกต์ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เนต็ ในการรวบรวม ประมวลผลและนำเสนอข้อมูล ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี อย่างมจี ติ สำนึกและรบั ผดิ ชอบ ผลการเรยี นรู้ ๑. เพ่ือใหน้ ักเรียนใชง้ านเครือ่ งคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ประกอบได้อย่างถกู ตอ้ ง ๒. นักเรยี นสามารถใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการเรยี กดขู อ้ มูล คน้ หาข้อมูล การรวบรวมขอ้ มลู จาก แหล่งขอ้ มลู ได้ ๓. นักเรยี นสามารถจดั ทำกำหนดรูปแบบ สำเนา บันทึกแฟ้มข้อมลู เรยี กแฟ้มข้อมูลมาแกไ้ ข และสงั่ พิมพ์ได้ ๔. นักเรียนสามารถประยกุ ตก์ ารจดั ทำเอกสารในรปู แบบตา่ งได้ ๕. นกั เรยี นเข้าใจและเห็นคุณคา่ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. นักเรยี นสามารถใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เน็ต ในการรวบรวม ประมวลผลและนำเสนอข้อมูล ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยี อย่างมีจติ สำนกึ และรบั ผดิ ชอบ รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้
๔๙ คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เตมิ ง๒๑๒๐๒ คอมพวิ เตอร์กราฟิก (Graphic designs) กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง : ภาคเรยี น จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษา ความหมาย หลักการ วิธกี าร ของคอมพิวเตอรก์ ราฟิก การออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวร์ ด้านกราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานคอมพิวเตอร์กราฟิก การใช้งานซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้ เคร่ืองมือและอุปกรณต์ ่าง ๆ รวมถึงคำสั่งท่ีสำคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิก ได้อย่างชำนาญ การนำภาพจากแหล่งภาพต่างๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิด รเิ ร่ิม ทัง้ ยงั ศกึ ษาหลักการออกแบบเทคนิคการใชโ้ ปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเวบ็ ไซต์ ต่างๆ เพ่ือนำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งาน ปฏิบัติการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยโปรแกรม กราฟิก เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิกออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานด้านกราฟิก เผยแพร่สู่สาธารณะชนได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม มีความรับผิดชอบ มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการทำงาน ผลการเรยี นรู้ ๑. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นทราบถงึ ความหมายของคอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ๒. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้มคี วามรู้ใน หลักการ วธิ กี ารออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวรด์ า้ นกราฟิก ๓. เพื่อให้นกั เรียนสามารถใช้เคร่ืองมือและอุปกรณต์ ่างๆ รวมถึงคำสั่งทส่ี ำคญั ในการออกแบบ คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ในโปรแกรมกราฟกิ ได้ ๔. นักเรียนสามารถนำภาพจากแหล่งต่างๆ มาสรา้ งสรรค์งานกราฟิกใหม้ จี ินตนาการตามความคิด รเิ ริม่ ๕. นักเรียนสามารถศึกษาและนำหลักการออกแบบเทคนคิ การใช้โปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์ กราฟกิ จากเวบ็ ไซต์ต่างๆมาประยกุ ตใ์ นการสรา้ งสรรค์ผลงาน ๖. เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถใช้ซอฟแวรค์ อมพิวเตอรอ์ อกแบบและสร้างสรรค์ผลงานด้านกราฟิก เผยแพร่สาธารณะชนได้อยา่ งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม มีความรับผดิ ชอบ มคี วามสามารถในการใช้ เทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีเจตคติทดี่ ตี อ่ การทำงาน รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้
๕๐ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ ง๒๓๒๐๔ การเขียนเว็บไซต์ Web site กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง : ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาโครงสรา้ งข้อมูล บิต ไบต์ เวิร์ด การแทนรหัส การส่ือระบบสือ่ สาร โมเด็ม มาตรฐานของการส่ือสาร ข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายแบบต่างๆ มาตรฐานของการเช่ือมโยง เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เครือข่าย อนิ ทราเน็ต เครอื ข่ายคอมพิวเตอรใ์ นงานด้านต่างๆ เช่น การสง่ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ การโอนยา้ ยแฟ้มขอ้ มูล การใช้ ทรัพยากรร่วมกัน การส่งข่าวสารและหาความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติการใช้ ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กับงานด้านต่าง ๆ ได้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถแสวงหา ข้อมูลข่าวสารหาความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสามารถออกแบบขั้นพื้นฐานและการจัดทำเว็บเพจด้วยภาษา HTML ซึ่งเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล การประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ออกสู่ สาธารณชน การจัดทำเว็บไซตข์ องหนว่ ยงานข้นึ สู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถจัดทำแหล่งเรียนรเู้ ผยแพร่ การปฏบิ ัติ วิธกี าร จดั ทำโครงสรา้ ง เน้ือหา ของเอกสาร การตกแต่งเว็บเพจด้วยรปู ภาพ การควบคมุ เว็บเพจให้ดู สวยงาม การเชอื่ มโยงเนื้อหาในเว็บเพจ การสรา้ งเทคนิคเพื่อให้เวบ็ เพจมีความน่าสนใจ การแกไ้ ขปรับปรุงไฟล์เพือ่ นำเสนอ ขอ้ มูล และการอัพโหลดขอ้ มูลขนึ้ สเู่ คร่ืองบรกิ ารในเครือขา่ ย ในการศึกษาและการทำงานจะต้องได้รบั การฝกึ ฝนตามกระบวนการเรยี นรูข้ องกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี การศึกษา เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนทำงานบนพ้นื ฐานของความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ วธิ ีการและขน้ั ตอนกากร ทำงานทีร่ ับผิดชอบ การจดั การและการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนการปลูกฝังนสิ ยั รกั การทำงานและปฏิบตั ไิ ด้ด้วยตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. นักเรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจ โครงสรา้ งข้อมลู บติ ไบต์ เวิร์ด การแทนรหสั การส่อื สาร โมเดม็ มาตรฐานของการ เช่ือมโยง เครอื ข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต เครอื ขา่ ยอินทราเน็ต เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ในงานดา้ นต่างๆ ๒. นกั เรยี นสามารถส่งไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ การโอนยา้ ยแฟ้มขอ้ มลู การใชท้ รพั ยากรร่วมกัน การสง่ ขา่ วสารผา่ น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ ๓. นักเรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจและสามารถแสวงหาข้อมลู ข่าวสารความรู้ผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้ ๔. นกั เรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจ วิธกี าร จดั ทำโครงสร้าง เนอ้ื หา ของเอกสาร การตกแตง่ เวบ็ เพจให้มคี วามสวยงาม และนา่ สนใจ ๕. นกั เรยี นสามารถออกแบบขน้ั พื้นฐานและการจัดทำเวบ็ ไซต์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๖. นักเรยี นมีผลงานการออกแบบและสร้างสรรคเ์ วบ็ ไซต์ เผยแพร่สาธารณะชนไดอ้ ยา่ งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม มี ความรบั ผิดชอบ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การทำงาน รวมทงั้ หมด ๖ ผลการเรยี นรู้
๕๑ คำอธิบายรายเพิม่ เตมิ วิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ชั้นประถมศกึ ษาท่ี ๑ รหัสวชิ า อ ๑๑๒๐๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ใช้ตวั อักษร เสยี งตวั อักษร สระ การสะกดคำ ให้ข้อมูลเก่ยี วกบั ตนเอง ประโยคบอกความตอ้ งการ เกี่ยวกับตนเอง ประโยค ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง คำสั่งท่ีใช้ในห้องเรียน ข้อความท่ีใช้ในการพูดให้ข้อมูล เกย่ี วกบั ตนเอง และเรือ่ งใกล้ตวั คำ ทมี่ ีความหมายสัมพันธ์กับส่ิงต่างๆใกล้ตัว อาหาร เครื่องด่ืม วัฒนธรรม เจ้าของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนำตนเอง การใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่านใน สถานการณท์ ี่เกดิ ข้นึ ในหอ้ งเรียน โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคมมีวิถีของระบอบ ประชาธิปไตย ซ่ือสตั ย์ ใฝเ่ รยี นรู้ แสดงออกถึงความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และ นำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจำวนั ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏิบัตติ ามคำสงั่ คำขอร้องท่ีฟัง ๒. อ่านออกเสยี งตวั อกั ษร คำ กล่มุ คำ ประโยคง่ายๆ และ บทพูดเข้าจังหวะง่ายๆ ถกู ต้องตาม หลักการอ่าน ๓.บอกความหมายของคำและกลมุ่ คำท่ีฟงั ตรงตามความหมายตอบคำถามจากการฟงั หรอื อ่าน ประโยคง่ายๆ
๕๒ คำอธิบายรายเพิ่มเตมิ วิชาภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ชนั้ ประถมศึกษาที่ ๒ รหสั วชิ า อ ๑๒๒๐๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ใชค้ ำสง่ั ทใี่ ช้ในหอ้ งเรียน ตวั อักษร เสยี งตัวอกั ษร สระ การสะกดคำ การอ่านออกเสยี ง คำ กลมุ่ คำ บทอ่าน บทสนทนา ประโยค ใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับตนเองคำ ประโยคบทอา่ น บทสนทนา ประโยค ให้ ขอ้ มลู เก่ยี วกับตนเอง ขอ้ ความทใ่ี ช้ในการพูดให้ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง และเรอ่ื งใกลต้ วั คำ ที่มคี วามหมาย สัมพนั ธ์กบั สงิ่ ต่างๆใกลต้ ัว อาหาร เคร่ืองดืม่ วฒั นธรรมเจ้าของภาษาแสดงกิริยา การขอบคณุ ขอโทษ การ พูดแนะนำตนเอง กจิ กรรมทางภาษา การรอ้ งเพลง การใชภ้ าษาในการฟงั พดู อ่านในสถานการณ์ ท่ี เกดิ ข้นึ ในหอ้ งเรียน โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมลู และมีทักษะทางสงั คม มวี ถิ ีของระบอบ ประชาธิปไตย ซอ่ื สัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถงึ ความเป็นไทย เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวติ ประจาวนั ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคำสงั่ คำขอร้องทีฟ่ งั ๒. อ่านออกเสยี งตัวอกั ษร คำ กลุม่ คำ ประโยคง่ายๆ และ บทพดู เข้าจงั หวะง่ายๆ ถกู ตอ้ งตาม หลักการอ่าน ๓. บอกความหมายของคำและกลมุ่ คำทฟ่ี งั ตรงตามความหมายตอบคำถามจากการฟงั หรอื อ่าน ประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ ๔. พดู โตต้ อบดว้ ยคำสนั้ ๆง่ายๆในการส่อื สารระหว่างบคุ คลตามแบบท่ฟี งั ใชค้ ำส่ังและ คำขอรอ้ ง ง่ายๆ บอกความตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง พูดขอและใหข้ ้อมูลเกยี่ วกับตนเองและเพ่อื น บอกความรสู้ ึกของ ตนเองเก่ยี วกับส่งิ ตา่ งๆ ใกล้ตวั หรอื กิจกรรมต่างๆ ตามแบบทฟี่ ัง ๕. พดู ให้ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเองและเรอ่ื งใกลต้ วั จดั หมวดหมู่คำตามประเภทของบคุ คล สตั ว์ และ สิง่ ของตามทฟ่ี ังหรอื อ่าน ๖. พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชอ่ื และคำศัพท์ งา่ ยๆ เกย่ี วกบั เทศกาล/วนั สำคัญ/งานฉลอง และชวี ิตความเปน็ อยขู่ องเจ้าของภาษา เขา้ ร่วมกจิ กรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกบั วยั
๕๓ คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ ช้นั ประถมศกึ ษาที่ ๓ รหสั วิชา อ ๑๓๒๐๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง ใชค้ ำสง่ั ทใ่ี ช้ในหอ้ งเรียน ตวั อักษร เสียงตัวอกั ษร สระ การสะกดคา การอ่านออกเสยี ง คำ กล่มุ คำ บทอ่าน พดู เขา้ จงั หวะ บทสนทนา ประโยค ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง เลอื กระบุภาพตรงความหมาย บทสนทนา ใหข้ ้อมลู เก่ียวกับตนเอง ประโยคบอกความต้องการเกีย่ วกบั ตนเอง คำสงั่ ท่ีใช้ในห้องเรยี น ขอ้ ความทีใ่ ชใ้ นการพูดให้ขอ้ มลู ความรสู้ กึ เกี่ยวกบั ตนเอง และเรื่องใกลต้ วั วัฒนธรรมเจ้าของภาษาแสดง กิริยา การขอบคณุ ขอโทษ การพดู แนะนำตนเอง การใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึน้ ใน หอ้ งเรียน โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูลและมีทักษะทางสงั คม มีวถิ ีของระบอบ ประชาธปิ ไตย ซอ่ื สัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถึงความเปน็ ไทย เพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่อื สารส่งิ ท่ีเรียนรู้ และ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ใน ชวี ิตประจำวัน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคำส่ัง คำขอรอ้ งที่ฟัง ๒. บอกความหมายของคำและกล่มุ คำทีฟ่ ังตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟงั หรืออ่าน ประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ ๓. พูดโต้ตอบดว้ ยคำสน้ั ๆ งา่ ยๆ ในการสอ่ื สารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟ่ี ัง ใช้คำส่ังและคำขอรอ้ ง ง่ายๆ ๔. บอกความตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง พดู ขอและให้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ตนเองและเพ่ือน บอกความรู้สึก ของตนเองเกี่ยวกบั สิ่งต่างๆ ใกลต้ ัวหรอื กจิ กรรมต่างๆ ตามแบบทีฟ่ งั ๕. พดู ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเรื่องใกล้ตวั จดั หมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สัตว์ และ สงิ่ ของตามทฟ่ี ังหรืออ่าน ๖. พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ๗. บอกชือ่ และคำศพั ทง์ ่ายๆ เก่ียวกบั เทศกาล/วนั สำคญั /งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของ เจา้ ของภาษา เข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทเี่ หมาะกับวัย ๘. บอกความแตกต่างของเสยี งตัวอักษร คำ กลุม่ คำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย ๙. ฟงั /พูดในสถานการณง์ ่ายๆ ที่เกิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี น
๕๔ คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติมภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชนั้ ประถมศกึ ษาท่ี ๔ รหัสวชิ า อ ๑๓๒๐๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั คำแนะนำ คำขอรอ้ งที่ใชใ้ นห้องเรยี น พูดเขา้ จงั หวะ บทสนทนา ประโยค ให้ ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง เลือกระบุภาพ หรอื สญั ลกั ษณ์ตรงความหมาย ตอบคำถามจากการฟังและอา่ น บท สนทนา พูด เขียนใหข้ อ้ มูลโต้ตอบเกี่ยวกบั ตนเอง ส่อื สารระหว่างบคุ คล ประโยคบอกความตอ้ งการเกยี่ วกับ ตนเอง คำส่งั ที่ใช้ในหอ้ งเรยี น ขอ้ ความท่ีใช้ในการพดู เขียน แสดงความตอ้ งการของตนเอง ใหข้ อ้ มูล ความร้สู ึกเกีย่ วกบั ตนเอง และเรอ่ื งใกลต้ ัว วัฒนธรรมเจา้ ของภาษาแสดงกริ ยิ า การขอบคุณ ขอโทษ การพดู แนะนำตนเอง คำศัพทเ์ ก่ียวกับเทศกาลเจ้าของภาษา กจิ กรรมทางภาษา การรอ้ งเพลง ศกึ ษา การใช้ภาษา ในการฟงั พดู ทำทา่ ประกอบอย่างสุภาพ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางภาษา อา่ น พดู ในสถานการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้น ใน หอ้ งเรยี น โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม มีวถิ ีของระบอบ ประชาธิปไตย ซอ่ื สตั ย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถึงความเปน็ ไทย เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิง่ ท่เี รยี นรู้ และ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ใน ชีวิตประจำวนั ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏบิ ัติตามคำส่งั คำขอร้องทีฟ่ ัง ๒. อา่ นออกเสยี งตวั อกั ษร คำ กลุม่ คำ ประโยคง่ายๆ และ บทพดู เข้าจงั หวะง่ายๆ ถกู ตอ้ งตาม หลกั การอ่าน ๓. บอกความหมายของคำและกลุม่ คำท่ฟี งั ตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟงั หรืออ่าน ประโยคบทสนทนาง่ายๆ ๔. พดู โตต้ อบดว้ ยคำสนั้ ๆ งา่ ยๆ ในการสอื่ สารระหวา่ งบุคคลตามแบบทีฟ่ ัง ใช้คำสัง่ และคำขอร้อง งา่ ยๆบอกความตอ้ งการงา่ ยๆ ของตนเอง ๕. พูดขอและให้ข้อมูลเกย่ี วกบั ตนเองและเพอื่ น บอกความรสู้ ึกของตนเองเกี่ยวกบั สง่ิ ต่างๆ ใกลต้ วั หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบทีฟ่ งั ๖. พูดให้ข้อมูลเก่ียวกบั ตนเองและเร่ืองใกลต้ ัว จัดหมวดหม่คู ำตามประเภทของบคุ คล สัตว์ และ สิง่ ของตามทฟี่ งั หรอื อ่าน ๗. พดู และทำท่าประกอบ ตามมารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา บอกชือ่ และคำศพั ท์ ง่ายๆ เก่ยี วกับเทศกาล/วนั สำคัญ/งานฉลอง และชีวติ ความเป็นอยขู่ องเจ้าของภาษา เข้ารว่ ม กิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมทเ่ี หมาะกบั วยั ๘. บอกความแตกต่างของเสยี งตัวอักษร คำ กลมุ่ คำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย ๙. ฟัง/พูดในสถานการณ์งา่ ยๆ ที่เกดิ ข้ึนในหอ้ งเรียน
๕๕ คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ชน้ั ประถมศกึ ษาท่ี ๕ รหัสวชิ า อ ๑๕๒๐๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ปฏบิ ตั ติ ามคำสง่ั คำแนะนา คำขอรอ้ ง คำแนะนำงา่ ยๆ ทใ่ี ช้ในหอ้ งเรียน การสะกดคำ การอ่าน ออกเสียง บทสนทนา ประโยค ให้ขอ้ มูลเก่ียวกับตนเองคำ เลือกระบุภาพ หรือสญั ลกั ษณ์ตรงความหมาย ของประโยค ตอบคำถามจากการฟังและอา่ น บทสนทนา นทิ านง่ายๆ ประโยค พูด เขียนให้ข้อมูลโต้ตอบ เกยี่ วกับตนเอง แสดงความรูส้ กึ สอื่ สารระหวา่ งบุคคล ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยา ประโยคบอกความ ตอ้ งการเกย่ี วกบั ตนเองคำ คำสง่ั ที่ใช้ในหอ้ งเรยี น ขอ้ ความท่ีใช้ในการพดู เขียน แสดงความตอ้ งการของ ตนเอง ให้ข้อมลู ความร้สู กึ เกย่ี วกับตนเอง และเรอ่ื งใกลต้ ัว บอกความเหมือน ความแตกตา่ ง ระหวา่ งการ ออกเสียงประโยคชนดิ ตา่ งๆ แสดงความคดิ เหน็ งา่ ยๆโดยใช้คำศัพท์เหมาะสมกับวยั การใช้ภาษาในการฟงั พดู ทำทา่ ประกอบอย่างสภุ าพ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา อา่ น พดู ในสถานการณ์ทีเ่ กิดข้ึนในห้องเรียน โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูลและมีทักษะทางสังคม มีวถิ ีของระบอบ ประชาธปิ ไตย ซือ่ สัตย์ ใฝเ่ รียนรู้ แสดงออกถึงความเป็นไทย เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ทเี่ รียนรู้ และ นำความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ น ชีวิตประจำวนั ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ คำขอรอ้ งทฟี่ งั ๒. อ่านออกเสยี งตวั อักษร คำ กลมุ่ คำ ประโยคงา่ ยๆ และ บทพดู เข้าจังหวะง่ายๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น ๓. บอกความหมายของคำและกลุ่มคำทฟี่ ังตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟงั หรืออา่ น ประโยคบทสนทนาหรอื นทิ านง่ายๆ ๔. พดู โตต้ อบด้วยคำสน้ั ๆ งา่ ยๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ฟี งั ใช้คำสง่ั และคำขอรอ้ ง งา่ ยๆ บอกความตอ้ งการของตนเอง ๕ พูดใหข้ อ้ มูลเกีย่ วกบั ตนเองและเรอ่ื งใกล้ตวั จัดหมวดหมู่คำตามประเภทของบุคคล สัตว์ และ ส่ิงของตามท่ฟี ังหรืออ่าน ๖. พดู และแสดงท่าประกอบ ตามมารยาทสงั คม/วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ๗. บอกช่ือและคำศัพท์งา่ ยๆ เกีย่ วกับเทศกาล/วนั สำคญั /งานฉลอง และชีวติ ความเป็นอยู่ของ เจ้าของ ภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะกบั วยั ๘. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ และประโยคงา่ ยๆ ของภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย ๙. ฟัง/พูดในสถานการณง์ ่ายๆ ท่ีเกิดขึน้ ในห้องเรียน ๑๐. ใช้ภาษาองั กฤษเพอื่ รวบรวมคำศพั ท์ที่เกีย่ วข้องใกลต้ ัว
๕๖ คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เตมิ ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สาร กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ชัน้ ประถมศกึ ษาที่ ๖ รหสั วชิ า อ ๑๖๒๐๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ปฏิบัตติ ามคำสั่ง คำแนะนำ คำขอรอ้ งงา่ ยๆ ที่ใช้ในห้องเรยี น การสะกดคำ การอ่าน ออกเสียง คำ กลมุ่ คำ บทอ่าน บทกลอนส้ันๆ บทสนทนา ประโยคถกู ตอ้ งตามหลักการอา่ น ให้ข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง คำ เลือกระบุภาพ หรือสญั ลกั ษณ์ หรอื เครอื่ งหมายตรงความหมายของประโยค ขอ้ ความสน้ั ๆ ตอบคำถาม จากการฟังและอา่ น บทสนทนา พูด เขียนใหข้ อ้ มูลโต้ตอบเก่ียวกับตนเอง แสดงความร้สู ึก สื่อสารระหวา่ ง บคุ คล เขยี นภาพ แผนผัง และแผนภมู ิ ตารางแสดงขอ้ มลู ต่างๆ ใช้ถอ้ ยคำ น้ำเสยี ง และกิรยิ า ประโยคบอก ความตอ้ งการเกี่ยวกบั ตนเองคำ คำสัง่ ทใี่ ชใ้ นหอ้ งเรียน ขอ้ ความท่ีใชใ้ นการพูด เขยี น แสดงความตอ้ งการ ของตนเอง ใหข้ อ้ มลู ความรู้สึกเก่ียวกบั ตนเอง และเร่ืองใกล้ตวั ใช้คำส่ัง คำขอรอ้ ง และให้คำแนะนำ บอก ความเหมือน ความแตกตา่ ง ระหว่างการออกเสียงประโยคชนดิ ต่างๆ กจิ กรรม ทางภาษา การรอ้ งเพลง การเล่านทิ านประกอบทา่ ทาง พดู วาดภาพแสดงความสมั พันธข์ องส่งิ ต่างๆ แสดงความคิดเห็นง่ายๆโดยใช้ คำศัพท์เหมาะสมกับวัย การใชภ้ าษาในการฟัง พูดทำท่าประกอบ และนำเสนอด้วยการพูด เขยี นอย่าง สุภาพ เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา อ่าน พูด ในสถานการณท์ ี่เกดิ ข้ึนในห้องเรยี น และสถานศกึ ษา โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบคน้ ข้อมูลและมที ักษะทางสงั คม มีวถิ ีของระบอบ ประชาธปิ ไตย ซื่อสตั ย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถึงความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชวี ิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคำส่งั คำขอร้องทฟี่ งั ๒. อา่ นออกเสียงตวั อักษร คำ กลุม่ คำ ประโยคง่ายๆ และ บทพดู เขา้ จงั หวะง่ายๆ ถกู ต้องตามหลกั การอ่าน ๓. บอกความหมายของคำและกลมุ่ คำทฟี่ งั ตรงตามความหมาย ตอบคาถามจากการฟงั หรอื อา่ นประโยค บทสนทนาหรอื นทิ านงา่ ยๆ ๔. พูดโตต้ อบดว้ ยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการส่อื สารระหวา่ งบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้คำสั่งและ คำขอร้องง่ายๆ บอกความตอ้ งการงา่ ยๆ ของตนเอง ๖. พดู ให้ข้อมูลเกย่ี วกับตนเองและเรอื่ งใกลต้ ัว จดั หมวดหมคู่ ำตามประเภทของบคุ คล สตั ว์ และ ส่ิงของ ตามที่ฟงั หรืออ่าน ๗. พดู และทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ๘. บอกชื่อและคำศพั ทง์ า่ ยๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคญั /งานฉลอง และชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องเจา้ ของ ภาษา เข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมทเ่ี หมาะกับวัย ๙. บอกความแตกต่างของเสียงตวั อักษร คำ กล่มุ คำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาองั กฤษและ ภาษาไทย ๑๐. ฟงั /พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ทีเ่ กดิ ข้ึนในห้องเรยี น รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวขอ้ งใกล้ตวั
๕๗ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เติม อ๒๑๒๐๑ Young Guide ๑ กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง : ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศกึ ษา อธบิ าย และฝึกปฏิบัติ ตามขั้นตอนและทักษะย่อยของกระบวนการฟัง กระบวนการพูด ใช้ภาษาส่อื สาร รับและสง่ สารในรูปแบบการสนทนาในสถานการณ์ทห่ี ลากหลาย โดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร สร้างสรรค์และดำเนินการสนทนากับ ชาวต่างชาติได้อย่างต่อเนอ่ื ง เหมาะสมตามกาลเทศะและมารยาทสงั คม ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการฟงั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มที กั ษะใน การฟัง โดยสามารถตีความ วเิ คราะหเ์ รอื่ งทีฟ่ ัง น้ำเสยี ง กริยาท่าทางและสรุปความ ถ่าย โอนเป็นภาษาพูดและเขียนได้ ๒. ปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนของกระบวนการพดู ได้อยา่ งถูกต้อง โดยสามารถพูด นำเสนอในที่ชุมชน ในหวั ขอ้ ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ๓. สร้างสรรคภ์ าษาในการสนทนา แลกเปลยี่ นข้อมลู และสร้างความสมั พันธ์ ระหวา่ งบุคคล โดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสรา้ งภาษาให้เหมาะสมกบั สถานการณ์และ มารยาทสงั คม ๔. ใช้ภาษาองั กฤษในการส่ือสารไดท้ กุ สถานการณ์ ๕. มคี วามเชื่อมน่ั ในการใช้ภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติ รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้
๕๘ คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม อ๒๑๒๐๒ Young Guide ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง: ภาคเรียน จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกสนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว และเหตุการณ์ ประเดน็ ท่ีอย่ใู นความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเน่ืองเหมาะสม เลือกและใช้ คำขอร้อง คำช้ีแจง คำอธบิ าย และให้คำแนะนำ พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้คำแนะนำ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นของตนเองเกย่ี วกับเร่ืองต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตุการณ์ อยา่ งมเี หตุผล ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ัติตามคำส่งั คำขอร้อง คำแนะนำ คำชแี้ จงง่ายๆ สือ่ ทไี่ มเ่ ป็นความเรียง ปา้ ย สัญลกั ษณ์ และทีเ่ ปน็ ความเรียงประเภทสง่ิ พิมพ์ ๒. เข้าใจมารยาทสงั คมแลละวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ๓. สรา้ งสรรค์ภาษาในการสนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลและสรา้ งความสมั พันธ์ ระหวา่ งบุคคล โดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ มารยาทสังคม ๔. ใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้ทกุ สถานการณ์ ๕. มคี วามเชอื่ มนั่ ในการใชภ้ าษาอังกฤษกบั ชาวต่างชาติ รวมทง้ั หมด ๕ ผลการเรยี นรู้
๕๙ คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เติม อ๒๓๒๐๑ เกมและกิจกรรมการอ่านภาษาองั กฤษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง : ภาคเรยี น จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ พัฒนาทักษะการฟังและการพูด โดยฝึกปฏิบัติตามข้ันตอนและทักษะย่อยของกระบวนการฟัง กระบวนการพูด ใช้ภาษาสื่อสาร รบั และสง่ สารในรปู แบบการสนทนาในสถานการณท์ ี่หลากหลาย โดยใช้ คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการส่ือสาร สร้างสรรค์และดำเนินการ สนทนากับชาวตา่ งชาติได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง เหมาะสมตามกาลเทศะและมารยาทสังคม ผลการเรียนรู้ ๑. นักเรียนเรยี นรคู้ ำศัพท์ภาษาองั กฤษจากการเล่นเกม ได้แลกเปลยี่ นคำศัพท์ ใหม่ๆจาก เพอ่ื น สมาชกิ ภายในกลุ่ม และนำคำศัพท์ในกลุ่มไปแลกเปลีย่ นกับเพื่อนๆกลุม่ อ่ืน ๒. นักเรียนสามารถจดจำคำศพั ทไ์ ด้ดีข้ึนเม่ือใชร้ ูปภาพในการประกอบ ๓. สรา้ งสรรคภ์ าษาในการสนทนา แลกเปล่ยี นขอ้ มูลและสรา้ งความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งบคุ คล โดยใช้คำศัพท์ สำนวน โครงสรา้ งภาษาใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์และ มารยาทสังคม ๔. ใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสารประสานงาน เปน็ วลี คำส่งั ง่ายๆ ได้ ๕. เปน็ การเลน่ ที่ได้รบั ทงั้ ความรู้ควบคู่ไปดว้ ย ทำใหผ้ ้เู รียนไดร้ ับความสนุกสนานและมเี จตคติ ในการเรียนภาษาอังกฤษดีข้นึ รวมทงั้ หมด ๕ ผลการเรียนรู้
๖๐ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๑. ระดับประถมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ส๑๑๒๐๑ หน้าทีพ่ ลเมือง เวลา ๔๐ ชั่วโมง ปฏิบตั ิตนเป็นผู้มมี ารยาทไทย ในเรือ่ งการแสดงความเคารพ การรับประทานอาหาร การทักทายดว้ ย วาจาและยิม้ แสดงออกถงึ ความกตญั ญกู ตเวทตี ่อพ่อแม่และญาติผู้ใหญ่ เห็นความสำคัญของภาษาไทย ปฏบิ ตั ิตนเป็นผูม้ วี นิ ัย ในตนเอง ในเร่อื งความซื่อสัตย์สจุ ริต ขยันหมนั่ เพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติ หน้าท่ี และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง เข้ารว่ มกจิ กรรมเก่ยี วกบั ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ปฏิบัตติ นตามพระบรมราโชวาท ใน เร่ืองการออมและการประหยดั หลกั การทรงงาน ในเร่ืองการประหยดั ความเรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ ความซือ่ สตั ยส์ ุจริตและจรงิ ใจตอ่ กนั และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ ีวินยั ในตนเอง ในเรื่องความซือ่ สตั ย์สจุ รติ ขยนั หม่นั เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตง้ั ใจปฏิบัตหิ น้าที่ และยอมรับผลทเ่ี กิดจาก การกระทำของตนเอง ปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลง กตกิ า และหน้าทท่ี ี่ตอ้ งปฏิบัติในหอ้ งเรียน ในเรอ่ื งการรกั ษาความสะอาด การรกั ษา ของใชร้ ่วมกนั และการสง่ งาน ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหน้าท่ใี นฐานะสมาชกิ ที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน ในเรือ่ งการเชือ่ ฟังคำส่ังสอนของพ่อแม่ ญาติผูใ้ หญ่และครู ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มวี นิ ัยในตนเอง ในเรอ่ื งความ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหม่ันเพยี ร อดทน ใฝห่ าความรู้ ต้ังใจปฏบิ ัติหนา้ ท่ี และยอมรบั ผลท่ีเกดิ จากการกระทำ ของตนเอง ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น ในเร่อื งเชอ้ื ชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความ พิการ ความสามารถ ถ่ินกำเนิด ฯลฯ ยกตัวอยา่ งความขดั แย้งในหอ้ งเรยี น ในกรณีความคดิ เห็นไม่ตรงกัน การละเมดิ สทิ ธิของผ้อู ื่น และเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหาโดยสนั ติวธิ ี ปฏิบตั ิตนเป็นผู้มวี นิ ยั ในตนเอง ในเร่อื งความ ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ อดทน และยอมรบั ผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ กระบวนการแกป้ ัญหา เพ่ือให้ผู้เรียนมีลกั ษณะทด่ี ขี องคนไทย ภาคภูมิใจและรักษาไว้ซงึ่ ความเป็นไทย แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา เทิดทนู สถาบันพระมหากษตั ริย์ ดำเนินชีวติ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย อย่รู ่วมกบั ผูอ้ ่นื อยา่ งสนั ติ สามารถจัดการความขัดแยง้ ด้วยสันตวิ ธิ ี และมวี ินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้มมี ารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความกตญั ญกู ตเวทตี ่อบคุ คลในครอบครัว ๓. เห็นความสำคญั ของภาษาไทย ๔. เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกบั ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๕. ปฏบิ ตั ติ นตามพระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนตามขอ้ ตกลง กติกา และหนา้ ที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ใิ นห้องเรียน ๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าทีใ่ นฐานะสมาชิกท่ดี ีของครอบครวั และหอ้ งเรยี น ๘. ยอมรับความเหมอื นและความแตกต่างของตนเองและผู้อน่ื ๙. ยกตัวอยา่ งความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธกี ารแกป้ ัญหาโดยสันตวิ ิธี ๑๐. ปฏิบัตติ นเป็นผู้มวี นิ ยั ในตนเอง รวมท้งั หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู้
๖๑ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ส๑๒๒๐๑ หน้าที่พลเมือง เวลา ๔๐ ชวั่ โมง ปฏิบัติตนเป็นผูม้ มี ารยาทไทย ในเรอ่ื งการพดู ด้วยถอ้ ยคำไพเราะและการมกี ริ ิยาสุภาพอ่อนนอ้ ม แสดงออกถงึ ความกตญั ญูกตเวทีต่อบุคคลในโรงเรียน เห็นประโยชนข์ องการแตง่ กายดว้ ยผา้ ไทย ปฏิบัตติ น เป็นผ้มู ีวนิ ัย ในตนเอง ในเรอื่ งความซอื่ สัตยส์ ุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหนา้ ท่ี และยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง เขา้ รว่ มกจิ กรรมเก่ียวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ปฏิบัตติ นตามพระบรมราโชวาท ในเรื่อง ความขยันและความอดทน หลกั การทรงงาน ในเรอื่ งการพงึ่ ตนเองและรู้ รัก สามคั คี และหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผูม้ ีวนิ ยั ในตนเอง ในเร่อื งความซ่อื สตั ย์สจุ รติ ขยนั หมน่ั เพยี ร อดทน ใฝห่ า ความรู้ ต้งั ใจปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ และยอมรบั ผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง ปฏิบัตติ นตามกฎ ระเบยี บ และหนา้ ท่ีทตี่ ้องปฏิบัติในโรงเรยี น ในเร่อื งการแตง่ กาย การเข้าแถว การดูแล พนื้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหน้าทใ่ี นฐานะสมาชิกทด่ี ีของห้องเรียนและโรงเรียน ในเรอ่ื ง การเปน็ ผนู้ ำและการเป็นสมาชกิ ท่ดี ี หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบ ปฏิบัติตนเปน็ ผมู้ ีวินัยในตนเอง ในเร่ือง ความซื่อสตั ยส์ ุจริต ขยันหม่นั เพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ ตัง้ ใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรบั ผลท่ีเกิดจากการ กระทำของตนเอง ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา่ งของตนเองและผูอ้ ืน่ ในเรื่องเชอ้ื ชาติ ภาษา เพศ สขุ ภาพ ความพกิ าร ความสามารถ ถนิ่ กำเนดิ ฯลฯ ยกตวั อยา่ งความขัดแยง้ ในโรงเรียน ในกรณหี น้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ และ การใช้ของสว่ นรวม และเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันตวิ ิธี ปฏิบัติตนเปน็ ผู้มวี นิ ยั ในตนเอง ในเร่ืองความ ซอ่ื สัตย์สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการกลมุ่ กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ กระบวนการแก้ปัญหา เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภมู ใิ จและรักษาไวซ้ ่งึ ความเปน็ ไทย แสดงออกถึงความรกั ชาติ ยดึ ม่ันในศาสนา เทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ดำเนินชวี ิตตามวิถปี ระชาธิปไตย อย่รู ่วมกับผ้อู น่ื อย่างสนั ติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสนั ตวิ ิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ัติตนเป็นผูม้ มี ารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความกตญั ญูกตเวทีตอ่ บคุ คลในโรงเรียน ๓. เห็นประโยชนข์ องการแตง่ กายด้วยผ้าไทย ๔. เขา้ ร่วมกิจกรรมเก่ียวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๕. ปฏิบัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖. ปฏบิ ัตติ นตามกฎ ระเบยี บ และหนา้ ที่ทตี่ อ้ งปฏิบตั ิในโรงเรยี น ๗. ปฏิบตั ิตนตามบทบาทหนา้ ทใ่ี นฐานะสมาชิกท่ีดีของห้องเรียนและโรงเรียน ๘. ยอมรับความเหมอื นและความแตกต่างของตนเองและผอู้ ่ืน ๙. ยกตัวอยา่ งความขดั แยง้ ในโรงเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผมู้ ีวินยั ในตนเอง รวมทัง้ หมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๖๒ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ส๑๓๒๐๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง เวลา ๔๐ ช่วั โมง ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มีมารยาทไทย ในเรอ่ื งการตอ้ นรบั ผมู้ าเยอื น และการปฏิบัติตนตามกาลเทศะ แสดงออก ถงึ ความกตัญญกู ตเวทตี อ่ บุคคลในชมุ ชน เห็นคุณค่าของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในเร่ืองต่าง ๆ ปฏิบัติตนเป็นผู้มี วนิ ัย ในตนเอง ในเรอ่ื งความซือ่ สัตยส์ จุ รติ ขยนั หม่ันเพยี ร อดทน และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทำของ ตนเอง เข้ารว่ มกิจกรรมเกีย่ วกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษตั ริย์ ปฏบิ ตั ติ นตามพระบรมราโชวาท ในเร่ือง ความซอ่ื สตั ยแ์ ละความเสียสละ หลักการทรงงาน ในเร่ืองการมีสว่ นร่วมและความเพยี ร และหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้มวี ินัยในตนเอง ในเรอื่ งความซอื่ สัตยส์ จุ รติ ขยนั หมั่นเพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ ต้งั ใจปฏิบตั ิหนา้ ท่ี และยอมรับผลท่เี กิดจากการกระทำของตนเอง ปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าทที่ ีต่ ้องปฏบิ ตั ใิ นห้องเรยี นและโรงเรียน ในเร่อื งการ ใช้และการดแู ลรกั ษาสิง่ ของ เครือ่ งใชแ้ ละสถานท่ีของสว่ นรวม ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะสมาชิก ท่ดี ี ของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ในเรอ่ื งการใชส้ ิทธิและหน้าที่ และการใชเ้ สรีภาพอย่างรับผิดชอบ มีส่วนรว่ ม ในกจิ กรรม ต่าง ๆ ของหอ้ งเรียนและโรงเรียน ปฏบิ ตั ติ นเป็นผูม้ ีวนิ ัยในตนเอง ในเร่ืองความซอ่ื สัตย์สุจรติ ขยนั หม่นั เพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ ตง้ั ใจปฏิบัติหน้าท่ี และยอมรับผลทเี่ กดิ จากการกระทำของตนเอง ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างบุคคล ในเรื่องเชอื้ ชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ ความสามารถ ถิ่นกำเนิด สถานะของบุคคล ฯลฯ อยรู่ ว่ มกับผ้อู ื่นอย่างสันติและพ่งึ พาซ่งึ กนั และกัน ดว้ ยการ ไม่รังแก ไม่ทำรา้ ย ไมล่ ้อเลียน ชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน และแบง่ ปนั ยกตวั อย่างความขดั แย้งในชมุ ชน ใน กรณกี ารใช้ สาธารณสมบตั แิ ละการรกั ษาสิ่งแวดล้อม และเสนอวิธีการปญั หาโดยสนั ตวิ ิธี ปฏิบตั ิตนเป็นผมู้ ี วินัยในตนเอง ในเร่อื งความซอ่ื สัตย์สจุ รติ อดทน และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ กระบวนการแก้ปญั หา เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมใิ จและรกั ษาไว้ซ่ึงความเป็นไทย แสดงออกถึงความรกั ชาติ ยึดมั่นในศาสนา เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ดำเนนิ ชวี ิตตามวิถปี ระชาธปิ ไตย อย่รู ว่ มกับผู้อื่นอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแยง้ ด้วยสนั ตวิ ธิ ี และมวี นิ ยั ในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. ปฏบิ ัติตนเป็นผ้มู ีมารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความกตัญญกู ตเวทีต่อบุคคลในชุมชน ๓. เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ๔. เข้ารว่ มกจิ กรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ปฏบิ ัติตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบตั ติ นตามขอ้ ตกลง กติกา กฎ ระเบยี บ และหนา้ ท่ีทต่ี อ้ งปฏิบัตใิ นห้องเรยี นและโรงเรยี น ๗. ปฏิบตั ิตนตามบทบาทหน้าทีแ่ ละมีส่วนร่วมในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของห้องเรยี นและโรงเรยี น ๘. ยอมรบั และอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ อย่างสนั ติ ๙. ยกตวั อยา่ งความขัดแย้งในชุมชนและเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหาโดยสนั ตวิ ิธี ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผมู้ วี นิ ยั ในตนเอง รวมทง้ั หมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๖๓ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ ส๑๔๒๐๑ หน้าทพี่ ลเมือง เวลา ๔๐ ช่วั โมง เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัติตนเป็นผมู้ มี ารยาทไทยในพิธีการต่าง ๆ ในเร่ืองการกลา่ วคำตอ้ นรบั การแนะนำ ตวั เองและแนะนำสถานท่ี แสดงออกถงึ ความกตญั ญกู ตเวทีตอ่ ผู้ทำประโยชนใ์ นสงั คม มสี ่วนร่วมใน ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยในท้องถิน่ ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ ีวนิ ัยในตนเอง ในเรือ่ งความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ อดทน และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง เหน็ ความสำคญั และแสดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั ริย์ ใน เรอ่ื งการใชส้ ินค้าไทย ดูแลรักษาโบราณสถาน โบราณวตั ถุและสาธารณสมบตั ิ ปฏบิ ัติตนเปน็ ศาสนกิ ชนท่ดี ี ปฏบิ ตั ติ นตามพระราชจรยิ วตั รและพระจริยวตั ร ปฏบิ ัตติ นตามพระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีวินยั และการ ขม่ ใจ หลกั การทรงงาน ในเรือ่ งประโยชนส์ ว่ นรวมและพออย่พู อกิน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มวี ินัยในตนเอง ในเรอื่ งความซื่อสัตย์สจุ ริต ขยนั หมนั่ เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ต้งั ใจปฏิบตั ิ หนา้ ท่ี และยอมรับผล ทเี่ กิดจากการกระทำของตนเอง มีส่วนรว่ มในการสร้างและปฏบิ ัติตามข้อตกลง กตกิ าของหอ้ งเรยี น ในเร่อื งการรักษาความสะอาด การรักษา ของใชร้ ่วมกันและการส่งงาน โดยใช้กระบวนการมีส่วนรว่ มในการสรา้ งข้อตกลง กตกิ าดว้ ยหลกั เหตุผลและ ยึดถือประโยชน์สว่ นรวม ปฏบิ ัตติ นตามบทบาทหน้าที่ของการเปน็ สมาชิกที่ดีของครอบครวั และหอ้ งเรียน ในเรอ่ื งการเป็นผนู้ ำ และการเป็นสมาชกิ ที่ดี การมีเหตผุ ล ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผอู้ นื่ และการปฏบิ ัติ ตามเสยี งขา้ งมากและยอมรับ เสยี งขา้ งน้อย มสี ว่ นรว่ มและรับผดิ ชอบในการตดั สินใจในกิจกรรมของ ครอบครัวและห้องเรยี น ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้มวี นิ ยั ในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ขยนั หม่นั เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตงั้ ใจปฏิบตั หิ นา้ ที่ และยอมรบั ผลทเ่ี กดิ จากการกระทำของตนเอง ยอมรับความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ในเร่ืองเชอ้ื ชาติ ภาษา เพศ สุขภาพ ความพิการ ความสามารถ ถนิ่ กำเนิด สถานะของบคุ คล ฯลฯ อยู่รว่ มกับผู้อ่ืนอยา่ งสันติและพงึ่ พาซง่ึ กันและกัน ในเรือ่ ง การไมร่ ังแก ไม่ทำรา้ ย ไมล่ อ้ เลยี น ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกนั และแบง่ ปนั วเิ คราะหป์ ัญหาความขัดแย้งใน ทอ้ งถิน่ ในกรณีการใช้สาธารณสมบัตแิ ละการรักษาสงิ่ แวดล้อม และเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี ปฏบิ ตั ติ น เปน็ ผู้มีวนิ ัยในตนเอง ในเรอ่ื งความซ่อื สัตย์สจุ ริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของ ตนเอง โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการกลมุ่ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และ กระบวนการแกป้ ัญหาเพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีลักษณะท่ดี ีของคนไทย ภาคภูมใิ จและรกั ษาไว้ซ่ึงความเป็นไทย แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา เทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ดำเนนิ ชีวติ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย อยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื อย่างสนั ติ สามารถจัดการความขัดแยง้ ดว้ ยสนั ตวิ ิธี และมีวนิ ยั ในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ัตติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาทไทย ๒. แสดงออกถงึ ความกตญั ญูกตเวทีต่อผทู้ ำประโยชน์ในสังคม ๓. มีส่วนรว่ มในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ๔. เหน็ ความสำคัญและแสดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยดึ ม่นั ในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั ริย์ ๕. ปฏบิ ัติตนตามพระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖. มสี ่วนรว่ มในการสร้างและปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กติกาของหอ้ งเรียน ๗. ปฏบิ ตั ิตนตามบทบาทหนา้ ที่ มสี ว่ นรว่ มและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครวั และ หอ้ งเรียน
๖๔ ๘. ยอมรบั และอยู่รว่ มกับผู้อนื่ อย่างสันติ และพ่ึงพาซ่ึงกนั และกัน ๙. วเิ คราะหป์ ญั หาความขดั แย้งในท้องถ่นิ และเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันตวิ ธิ ี ๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้มวี ินัยในตนเอง รวมท้งั หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู้
๖๕ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ส๑๕๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง เวลา ๔๐ ชัว่ โมง เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้มมี ารยาทไทยในการสนทนา การปฏิบตั ิตนตามกาลเทศะ และการ ต้อนรับผูม้ าเยือนรู้คณุ ค่า ใช้อยา่ งประหยัด คมุ้ คา่ และบำรงุ รักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี ส่วนรว่ มในศิลปวฒั นธรรมไทยปฏบิ ตั ิตนเป็นผ้มู วี ินัยในตนเอง ในเรอ่ื งความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ตง้ั ใจปฏิบตั ิหนา้ ท่ี และยอมรับผลทเ่ี กดิ จากการกระทำ ของตนเอง เหน็ คุณค่าและแสดงออกถงึ ความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ดว้ ยการ ใช้สินค้าไทย ดแู ลรกั ษาโบราณสถาน โบราณวตั ถุและสาธารณสมบัติ ปฏิบัติตนเป็นศาสนกิ ชนท่ีดี ปฏิบัติ ตนตาม พระราชจรยิ วัตรและพระจรยิ วตั ร ปฏบิ ัติตนตามพระบรมราโชวาท ในเรือ่ งความเออื้ เฟ้ือเผื่อแผ่ และความสามัคคี หลกั การทรงงาน ในเร่ืองการทำตามลำดบั ขั้นและทำงานอยา่ งมคี วามสขุ และหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปฏิบัติตนเปน็ ผู้มีวินัยในตนเอง ในเรอื่ งความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ ขยนั หม่ันเพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตง้ั ใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรบั ผลท่ีเกิดจากการกระทำของตนเอง มสี ่วนรว่ มในการสร้างและปฏบิ ัติตนตามกฎ ระเบียบของโรงเรยี น ในการรักษาความสะอาด การรักษา ของ ใช้ร่วมกันและการดแู ลพ้ืนทที่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย โดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วมในการสรา้ งกฎ ระเบียบ ด้วย หลกั เหตุผลและยึดถอื ประโยชน์ส่วนรวม ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าท่ีของการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของห้องเรยี น และโรงเรยี น ในเร่อื งการยดึ ถอื หลกั ความจริง ความดงี าม ความถูกต้องและหลกั เหตุผล การยึดถอื ประโยชน์ ของสว่ นรวมเปน็ สำคญั การยดึ หลักความเสมอภาคและความยุติธรรม มสี ่วนร่วมและรบั ผดิ ชอบ ในการตดั สนิ ใจ ในกิจกรรมของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้มู ีวนิ ยั ในตนเอง ในเรอื่ งความซอ่ื สตั ย์ สุจริต ขยนั หมนั่ เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตัง้ ใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรบั ผลทีเ่ กดิ จากการกระทำของ ตนเองยอมรับ ความหลากหลายทางสังคมวฒั นธรรมในท้องถ่นิ ในเร่อื งวิถีชีวติ วฒั นธรรม ศาสนาและสงิ่ แวดลอ้ ม อยู่ ร่วมกบั ผู้อน่ื อยา่ งสันตแิ ละพง่ึ พากนั ดว้ ยการเคารพซ่งึ กนั และกัน ไม่แสดงกริ ยิ า วาจาดหู มิน่ ผอู้ ื่น ช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกนั และแบ่งปนั วิเคราะห์ปญั หาความขัดแย้งในภูมภิ าคของตนเอง ในเรื่องการจดั การทรพั ยากร และ การขดั แย้งทางความคิด และเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาโดยสนั ติวิธี ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผมู้ วี นิ ยั ในตนเอง ในเร่ือง ความซื่อสตั ยส์ ุจริต ความอดทน และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการ คิด กระบวนการกลุม่ กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหา เพือ่ ให้ผ้เู รยี นมลี ักษณะทดี่ ขี องคนไทย ภาคภมู ิใจและรักษาไว้ซึ่งความเปน็ ไทย แสดงออกถึงความรัก ชาติ ยึดมั่นในศาสนา เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ดำเนนิ ชวี ิตตามวถิ ีประชาธิปไตย อยรู่ ่วมกับผู้อ่ืน อยา่ งสันติ สามารถจดั การความขัดแยง้ ดว้ ยสันติวิธี และมวี นิ ัยในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. เห็นคุณค่าและปฏบิ ัตติ นเป็นผูม้ ีมารยาทไทย ๒. รูค้ ุณค่าและบำรุงรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ๓. มสี ว่ นร่วมในศิลปวฒั นธรรมไทย ๔. เหน็ คณุ ค่าและแสดงออกถึงความรกั ชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๕. ปฏิบตั ิตนตามพระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖. มีสว่ นรว่ มในการสรา้ งและปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบของโรงเรยี น ๗. ปฏบิ ัติตนตามบทบาทหน้าท่ี มีส่วนรว่ มและรับผิดชอบในการตัดสนิ ใจในกจิ กรรมของห้องเรยี นและ โรงเรียน
๖๖ ๘. ยอมรบั ความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในทอ้ งถน่ิ และอย่รู ่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งสันติ และพึ่งพาซึ่งกนั และกัน ๙. วเิ คราะหป์ ญั หาความขัดแย้งในภูมิภาคของตนเองและเสนอแนวทางการแก้ปญั หาโดยสนั ตวิ ธิ ี ๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ีวนิ ัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๖๗ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ส๑๖๒๐๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง เวลา ๔๐ ช่วั โมง ปฏิบตั ิตนและชกั ชวนผอู้ น่ื ให้มมี ารยาทไทย ในเรอ่ื งการแสดงความเคารพ การสนทนา การปฏิบัตติ น ตามกาลเทศะ และการต้อนรับผมู้ าเยอื น มสี ว่ นรว่ มและชกั ชวนผอู้ ่นื ใหอ้ นรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ ม มีส่วนร่วมใน ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาไทย ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้มู ี วนิ ยั ในตนเอง ในเรอ่ื งความซื่อสัตย์สจุ ริต ต้งั ใจปฏิบตั ิหน้าท่ี และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง เหน็ คุณค่าและแนะนำผอู้ ่ืนให้แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยดึ ม่นั ในศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ ด้วยการใช้สนิ ค้าไทย ดูแลรกั ษาโบราณสถาน โบราณวัตถุและสาธารณสมบตั ิ ปฏิบัตติ น เปน็ ศาสนกิ ชนทดี่ ี ปฏิบตั ิตนตามพระราชจรยิ วัตรและพระจรยิ วตั ร ปฏบิ ตั ติ นตามพระบรมราโชวาท ใน เรือ่ งความใฝ่รู้ ความกตัญญู หลักการทรงงาน ในเร่ืององค์รวมและทำใหง้ า่ ย และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ วี ินัยในตนเอง ในเรื่อง ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ ขยันหม่นั เพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ ตัง้ ใจปฏิบตั หิ น้าท่ี และยอมรับผลท่เี กดิ จากการกระทำของตนเอง ปฏิบตั ิตนและแนะนำผู้อืน่ ใหป้ ฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ในการ ใช้และดแู ลรักษาสิ่งของ เครอ่ื งใช้ วสั ดุอุปกรณ์ และสถานทีข่ องส่วนรวม เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตาม บทบาทหน้าทขี่ องการเปน็ สมาชกิ ท่ดี ีของห้องเรียนและโรงเรยี น ดว้ ยการเป็นผู้นำและการเปน็ สมาชิกทด่ี ี การยดึ ถือประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคญั การใช้สิทธิและหนา้ ท่ี การใชเ้ สรภี าพอยา่ งรับผิดชอบ มสี ว่ น รว่ มและรบั ผิดชอบในการตัดสินใจในกจิ กรรมของหอ้ งเรียนและโรงเรยี น ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ใน เร่อื งความซ่ือสตั ย์สจุ รติ ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตัง้ ใจปฏบิ ัตหิ น้าท่ี และยอมรับผลท่เี กิดจาก การกระทำของตนเอง ยอมรบั ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในประเทศไทย ในเรอ่ื งวิถีชวี ติ วัฒนธรรม ศาสนาและ สิ่งแวดล้อม อยรู่ ว่ มกับผอู้ ่นื อยา่ งสนั ตแิ ละพึ่งพากัน ในเรือ่ งการเคารพซ่งึ กนั และกนั ไม่แสดงกริ ยิ า วาจาดู หม่ินผอู้ ื่น ช่วยเหลอื ซึง่ กันและกัน และแบง่ ปนั วิเคราะหป์ ญั หาความขดั แยง้ ในประเทศไทย ในเรื่องการการ ละเมิดสิทธิ การรักษาส่ิงแวดล้อม และเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันตวิ ิธี ปฏบิ ัติตนเป็นผมู้ ีวนิ ัยใน ตนเอง ในเร่ือง ความซอ่ื สัตย์สจุ รติ อดทน และยอมรับผลท่ีเกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้ กระบวนการคดิ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ และกระบวนการ แก้ปัญหา เพ่ือให้ผ้เู รยี นมลี กั ษณะที่ดขี องคนไทย ภาคภูมิใจและรกั ษาไว้ซงึ่ ความเป็นไทย แสดงออกถึงความรัก ชาติ ยึดม่นั ในศาสนา เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ดำเนินชีวติ ตามวิถีประชาธิปไตย อยรู่ ่วมกบั ผู้อ่นื อย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแยง้ ด้วยสันติวิธี และมวี ินยั ในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัตติ นและชักชวนผูอ้ ่นื ให้มีมารยาทไทย ๒. มสี ว่ นรว่ มและชกั ชวนผู้อน่ื ให้อนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ๓. มสี ว่ นรว่ มในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาไทย ๔. เหน็ คณุ ค่าและแนะนำผูอ้ ่ืนใหแ้ สดงออกถึงความรกั ชาติ ยดึ ม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ๕. ปฏิบตั ติ นตามพระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖. ปฏบิ ัตติ นและแนะนำผอู้ ื่นให้ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กตกิ า กฎ ระเบยี บของหอ้ งเรียนและโรงเรียน
๖๘ ๗. เห็นคณุ คา่ และปฏบิ ัติตนตามบทบาทหน้าท่ี มีสว่ นรว่ มและรับผิดชอบในการตัดสนิ ใจในกจิ กรรม ของหอ้ งเรยี นและ โรงเรยี น ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสงั คมวัฒนธรรมในประเทศไทย และอยรู่ ่วมกับผ้อู ื่นอยา่ งสนั ติ และพ่งึ พา ซึง่ กันและกนั ๙. วเิ คราะหป์ ญั หาความขัดแยง้ ในประเทศไทยและเสนอแนวทางการแก้ปญั หาโดยสนั ติวิธี ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผูม้ ีวนิ ัยในตนเอง รวมท้งั หมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๖๙ ๒. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ส๒๑๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมอื ง ภาคเรียนที่ ๑ ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๑๒๒๒ หนา้ ท่ีพลเมือง ภาคเรียนท่ี ๒ ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หน่วยกิต มีส่วนร่วมอนรุ ักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแตง่ กาย การมีสมั มาคารวะ แสดงออกถงึ ความเอ้ือเฟือ้ เผื่อแผแ่ ละเสยี สละต่อสงั คม เห็นคุณคา่ และอนุรกั ษ์ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย ปฏบิ ัตติ นเป็นผู้มีวนิ ัยในตนเอง ในเรอ่ื งความซอ่ื สัตยส์ ุจริต ขยันหมน่ั เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏบิ ัติหน้าที่ และยอมรับผลทเี่ กิดจากการกระทำของตนเอง ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ประยุกต์ และเผยแพรพ่ ระบรมราโชวาท ในเร่อื งมีเหตผุ ล รอบคอบ หลักการทรงงาน ในเรือ่ งการใช้ธรรมชาติชว่ ย ธรรมชาติ การปลูกป่าในใจคน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ใน เรอ่ื งความซือ่ สตั ย์สุจรติ ขยันหม่ันเพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ และต้ังใจปฏบิ ัติหน้าที่ ปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย ในการมสี ่วนร่วมในกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสังคม การตดั สินใจ โดยใช้เหตผุ ล มสี ว่ นรว่ มและรบั ผิดชอบในการตดั สินใจในกิจกรรมของหอ้ งเรียนและโรงเรยี น ตรวจสอบ ขอ้ มลู เพ่อื ใช้ประกอบการตัดสนิ ใจในกิจกรรมตา่ ง ๆ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผ้มู วี ินยั ในตนเอง ในเร่ืองความซ่ือสตั ย์ สุจริต อดทน ขยันหมัน่ เพียร ใฝ่หาความรู้ ต้ังใจปฏบิ ตั ิหน้าท่ี และยอมรบั ผลทเี่ กิดจากการกระทำของ ตนเอง ยอมรับความหลากหลายทางสงั คมวัฒนธรรมในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ในเร่อื งวิถีชวี ติ วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดลอ้ ม อยรู่ ่วมกันอยา่ งสันติและพ่ึงพาซง่ึ กนั และกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรม ด้วยการ เคารพซึง่ กันและกนั ไมแ่ สดงกริ ยิ าและวาจาดหู ม่นิ ผูอ้ น่ื ชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกนั แบง่ ปนั มสี ว่ นร่วมในการ แก้ปญั หาความขัดแย้ง โดยสนั ตวิ ิธี ในเรือ่ งการทะเลาะวิวาท ความคดิ เห็นไมต่ รงกัน ดว้ ยการเจรจาไกล่ เกลยี่ การเจรจาต่อรอง การระงับ ความขดั แยง้ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มวี นิ ัยในตนเอง ในเรอื่ งความซ่อื สัตย์สจุ รติ อดทน ใฝ่หาความรู้ ตงั้ ใจปฏิบัตหิ นา้ ที่ ยอมรบั ผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตนเองโดยใช้กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ กระบวนการแกป้ ญั หา กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสร้างคา่ นิยม และกระบวนการสร้างเจต คติ เพื่อให้ผูเ้ รียนมีลกั ษณะท่ีดขี องคนไทย ภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยดึ มั่น ใน ศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ เปน็ พลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ มสี ่วนรว่ มทางการเมอื งการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอยา่ งสนั ติ จัดการความขัดแยง้ ด้วย สันติวธิ ี และมวี ินัยในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. มีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกถงึ ความเอื้อเฟอื้ เผ่ือแผ่ และเสียสละต่อสังคม ๓. เหน็ คุณค่าและอนรุ กั ษข์ นบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภมู ปิ ญั ญาไทย ๔. เป็นแบบอยา่ งของความรักชาติ ยดึ มั่นในศาสนา และเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖. ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตย ๗. มสี ่วนรว่ มและรับผดิ ชอบในการตดั สินใจ ตรวจสอบข้อมลู เพ่อื ใช้ประกอบการตดั สินใจในกจิ กรรมต่าง ๆ
๗๐ ๘. ยอมรบั ความหลากหลายทางสังคมวฒั นธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ และอยู่รว่ มกัน อยา่ ง สนั ติ และพึ่งพาซง่ึ กันและกนั ๙. มีสว่ นร่วมในการแก้ปญั หาความขัดแย้งโดยสนั ติวิธี ๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ ีวนิ ยั ในตนเอง รวมทงั้ หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู้
๗๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ส๒๒๒๐๑ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ภาคเรียนที่ ๑ ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๒๒๒๒ หน้าที่พลเมอื ง ภาคเรยี นท่ี ๒ ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หน่วยกิต มีส่วนร่วมและแนะนำผอู้ น่ื ใหอ้ นรุ ักษม์ ารยาทไทย ในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมสี ัมมาคารวะ แสดงออกและแนะนำผูอ้ ่ืนให้มคี วามเอ้ือเฟ้อื เผอื่ แผ่และเสยี สละต่อสังคม เหน็ คุณค่า อนุรักษ์ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย ปฏิบัตติ นเป็นผ้มู วี นิ ยั ใน ตนเอง ในเร่ืองความซื่อสตั ย์สจุ ริต ขยนั หมั่นเพยี ร อดทน ตัง้ ใจปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการ กระทำของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและแนะนำผู้อ่นื ใหม้ ีการปฏิบตั ติ นทีแ่ สดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยึดมัน่ ในศาสนา และเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ประยุกต์ และเผยแพรพ่ ระบรมราโชวาท ในเร่ืองการมสี ติ ความขยัน อดทน หลักการทรงงาน ในเร่อื งภูมสิ งั คม ขาดทุนคือกำไร และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปฏิบัติ ตนเป็นผมู้ ีวินัย ในตนเอง ในเร่อื งความซอื่ สตั ย์สจุ ริต ขยันหม่นั เพยี ร อดทน ใฝห่ าความรู้ และตัง้ ใจปฏิบัติ หนา้ ท่ีปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย ในเรอ่ื งการติดตามข่าวสารบา้ นเมือง ความกล้าหาญ ทางจรยิ ธรรม การเป็นผนู้ ำและการเป็นสมาชิกท่ีดี มีสว่ นร่วมและรับผดิ ชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของ ห้องเรยี นและโรงเรียน ตรวจสอบขอ้ มูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสนิ ใจในกจิ กรรมตา่ ง ๆ และรทู้ นั ขา่ วสาร ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรอื่ งความซือ่ สัตยส์ ุจรติ อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ใฝห่ าความรู้ และ ยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง เหน็ คุณค่าของการอยรู่ ่วมกันในภูมภิ าคเอเชียอยา่ งสนั ติ และพึ่งพาอาศยั ซ่ึงกนั และกันโดยคำนงึ ถึง ความหลากหลายทางสงั คม วฒั นธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ในเรอื่ งวถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม ศาสนา ส่งิ แวดล้อม การ อยูร่ ่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพึ่งพาซงึ่ กันและกนั ในเร่อื งการเคารพซ่ึงกนั และกนั ไม่แสดงกริ ยิ า และวาจาดหู มิน่ ผู้อืน่ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั แบง่ ปัน มีสว่ นร่วมและเสนอแนวทางการแก้ปญั หาความ ขดั แยง้ โดยสนั ติวิธีเกี่ยวกบั การละเมดิ สทิ ธิ การใช้ของสว่ นรวม ด้วยการเจรจาไกล่เกลย่ี การเจรจาต่อรอง การระงับ ความขดั แยง้ ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผ้มู วี นิ ยั ในตนเอง ในเรือ่ งความซอ่ื สตั ย์สจุ ริต อดทน ใฝห่ าความรู้ ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรบั ผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกล่มุ กระบวนการคดิ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการสรา้ งค่านยิ ม และกระบวนการสร้างเจตคติ เพ่ือให้ผูเ้ รียนมีลักษณะทด่ี ีของคนไทย ภาคภมู ิใจในความเป็นไทย แสดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยึดมน่ั ใน ศาสนา และเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ เป็นพลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ประมขุ มีส่วนรว่ มทางการเมืองการปกครอง อยรู่ ่วมกับผู้อืน่ อย่างสนั ติ จดั การความขดั แย้งดว้ ย สันตวิ ิธี และมวี นิ ัยในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. มีส่วนรว่ มและแนะนำผู้อ่ืนให้อนุรักษม์ ารยาทไทย ๒. แสดงออกและแนะนำผ้อู น่ื ให้มคี วามเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ และเสียสละตอ่ สงั คม ๓. เหน็ คุณค่า อนรุ กั ษ์ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาไทย ๔. เป็นแบบอยา่ งและแนะนำผู้อ่นื ใหม้ คี วามรกั ชาติ ยดึ มน่ั ในศาสนา และเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยกุ ตแ์ ละเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย
๗๒ ๗. มสี ่วนรว่ มและรับผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจในกจิ กรรม ต่าง ๆ และรู้ทันขา่ วสาร ๘. เห็นคุณค่าของการอย่รู ่วมกนั ในภูมภิ าคเอเชยี อยา่ งสันติ และพึ่งพาซ่ึงกันและกนั ๙. มีสว่ นรว่ มและเสนอแนวทางการแก้ปญั หาความขดั แยง้ โดยสันตวิ ธิ ี ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผ้มู วี ินยั ในตนเอง รวมทงั้ หมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
๗๓ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ส๒๓๒๐๑ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ภาคเรียนท่ี ๑ ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกติ ส๒๓๒๒๒ หน้าท่ีพลเมือง ภาคเรยี นที่ ๒ ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต มีส่วนร่วม แนะนำผอู้ นื่ ใหอ้ นรุ กั ษ์ และยกยอ่ งผู้มมี ารยาทไทย ในเร่อื งการแสดงความเคารพ การ สนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออก แนะนำผอู้ ื่นและมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมเก่ยี วกับความ เอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละต่อสงั คม เห็นคุณค่า อนรุ ักษ์ สบื สาน และประยุกตข์ นบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และ ภมู ปิ ัญญาไทย ปฏิบตั ติ นเป็นผู้มวี นิ ัยในตนเอง ในเรอื่ งความซื่อสัตย์สจุ ริต ขยนั หมน่ั เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตงั้ ใจปฏบิ ตั ิหน้าท่ี และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่าง และมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรกั ชาติ ยดึ มัน่ ในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรอ่ื งการเสยี สละ ความ ซื่อสตั ย์ หลกั การทรงงาน ในเร่ืองศึกษาข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ แกป้ ัญหาทจ่ี ดุ เล็ก ปฏบิ ัติตนเปน็ ผมู้ ีวินัยใน ตนเอง ในเร่อื งความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต ขยนั หมัน่ เพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ และตัง้ ใจปฏบิ ัตหิ น้าที่ ปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ในเรือ่ งการใช้สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ การใชเ้ สรภี าพอยา่ งรบั ผิดชอบ การมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเลือกตั้ง มสี ว่ นร่วมและรับผิดชอบในการตดั สินใจต่อกจิ กรรมของหอ้ งเรียน และโรงเรยี น ตรวจสอบขอ้ มูล ตรวจสอบการทำหนา้ ท่ขี องบคุ คลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ปฏิบัตติ น เป็นผู้มวี นิ ัย ในตนเอง ในเรือ่ งความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ขยันหมน่ั เพยี ร ใฝ่หาความรู้ ตัง้ ใจปฏบิ ัติหนา้ ทีแ่ ละ ยอมรับผลที่เกดิ จาก การกระทำของตนเอง เหน็ คุณค่าของการอยู่รว่ มกันในภมู ภิ าคเอเชยี อยา่ งสนั ติและพ่งึ พาซึง่ กนั และกนั ท่ามกลาง ความ หลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ในเร่อื งวิถีชวี ติ วฒั นธรรม ศาสนา สิ่งแวดลอ้ ม การอยู่รว่ มกนั ในสงั คมพหุวัฒนธรรมและพง่ึ พาซงึ่ กันและกัน ในเร่ืองการเคารพซ่ึงกันและกัน ไม่แสดงกริ ยิ า และวาจาดูหมน่ิ ผอู้ ืน่ ชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกนั แบง่ ปัน มีสว่ นร่วมและเสนอแนวทางการปอ้ งกันปญั หาความ ขดั แยง้ ในเรอ่ื งทัศนคติ ความคิด ความเชอ่ื ชสู้ าว ปฏิบัติตนเปน็ ผ้มู ีวินัยในตนเอง ในเรอ่ื งความซอ่ื สัตย์ สุจรติ อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบตั หิ นา้ ที่ และยอมรบั ผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกล่มุ กระบวนการคดิ กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์ กระบวนการ แกป้ ญั หา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านยิ ม และ กระบวนการสร้างเจตคติ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมลี กั ษณะที่ดขี องคนไทย ภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยดึ ม่นั ใน ศาสนา และเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์ เปน็ พลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมุข มสี ว่ นร่วมทางการเมอื งการปกครอง อยรู่ ่วมกับผอู้ ื่นอยา่ งสนั ติ จดั การความขัดแยง้ ดว้ ย สนั ตวิ ธิ ี และมีวินยั ในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มสี ว่ นร่วม แนะนำผู้อืน่ ให้อนรุ กั ษ์ และยกยอ่ งผู้มีมารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนำผู้อน่ื และมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมเกี่ยวกบั ความเออ้ื เฟือ้ เผื่อแผ่ และเสยี สละ ๓. เหน็ คุณค่า อนรุ ักษ์ สืบสาน และประยกุ ตข์ นบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปัญญาไทย ๔. เปน็ แบบอย่างและมีสว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมท่ีแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมัน่ ในศาสนา และ เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพรพ่ ระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๗๔ ๗. มสี ว่ นรว่ มและรับผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ ตรวจสอบขอ้ มูล ตรวจสอบการทำหนา้ ทข่ี องบคุ คล เพ่ือใช้ ประกอบการตัดสินใจ ๘. เหน็ คุณค่าของการอยรู่ ว่ มกันในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกอย่างสนั ติ และพงึ่ พาซงึ่ กันและกนั ๙. มสี ว่ นร่วมและเสนอแนวทางการป้องกนั ปญั หาความขดั แย้ง ๑๐. ปฏิบตั ติ นเป็นผ้มู วี นิ ยั ในตนเอง รวมท้งั หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู้
๑๙๑ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น เป็นกจิ กรรมท่ีมุง่ ให้ผเู้ รียนพัฒนาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอยา่ งรอบ ด้าน เพ่ือความเป็นมนษุ ยท์ ีส่ มบูรณ์ท้งั รา่ งกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสังคม เสรมิ สร้างให้เป็นผู้มี ศลี ธรรม จริยธรรม ระเบยี บวนิ ัย ปลูกฝังและสรา้ งจิตสำนึกของการทำประโยชนเ์ พื่อสงั คม สามารถจัดการ ตนเองได้ และอย่รู ว่ มกับผูอ้ ่ืนอย่างมคี วามสขุ โรงเรียนบ้านโนนสว่าง ได้จดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนโดยแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่สี ง่ เสรมิ และพฒั นานกั เรียนให้ นักเรยี นทกุ คนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ชว่ั โมงต่อปกี ารศกึ ษา(ระดบั ประถมศึกษา) ๒๐ ชัว่ โมงต่อ ภาคเรียน (ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) กิจกรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาความสามารถของผู้เรียนใหเ้ หมาะสมตามความ แตกต่างระหว่างบุคคล ชว่ ยผูเ้ รยี นให้ค้นพบและพฒั นาศกั ยภาพของตน พรอ้ มท้ังเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิต วุฒิ ภาวะทางอารมณ์ และการมสี มั พนั ธภาพที่ดีต่อบุคคลและสังคมทั่วไป กิจกรรมแนะแนวจำแนกเปน็ ๓ กลุ่ม ดังน้ี ๑.๑ การแนะแนวการศกึ ษา มุ่งให้ผู้เรยี นพฒั นาการเรียนไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ร้จู กั แสวงหา ความรู้ และวางแผนการเรียนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สามารถปรบั ตัวด้านการเรยี น และมวี นิ ัยใฝ่รู้ใฝ่ เรยี น ๑.๒ การแนะแนวอาชพี ช่วยให้ผเู้ รยี นรู้จกั ตนเอง และโลกของงานอยา่ งหลากหลาย มี เจตคติและนิสัยท่ีดีในการทำงาน มีโอกาสไดร้ ับประสบการณแ์ ละฝกึ งานตามความถนดั ความสนใจ ๑.๓ แนะแนวเพ่อื พฒั นาบุคลิกภาพ ช่วยใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจตนเอง รกั และเห็นคุณค่าใน ตนเองและผอู้ ื่น มอี ารมณ์มั่นคง มีมนษุ ย์สัมพนั ธ์ท่ีดี เข้าใจสิง่ แวดลอ้ ม และสามารถปรบั ตวั ให้ดำรงชีวติ อยู่ ในสงั คมอยา่ งเปน็ สขุ แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว ๑. จดั กิจกรรมชว่ั โมงแนะแนว ๑ ชั่วโมง : ๑ สปั ดาห์ ในภาคเรียนที่ ๑ และ ๒ ๒. จดั บริการแนะแนวและใหค้ ำปรกึ ษา ๓. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ศักยภาพนกั เรยี น เตรยี มความพรอ้ มนักเรยี นมงุ่ สู่ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และคณุ ธรรม พัฒนานกั เรียนเตม็ ตามศกั ยภาพ ๔. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนไดเ้ ลอื กตามความสนใจและความถนดั ให้ผูเ้ รียนได้คน้ หาข้อมูลข่าวสารท่ี ทันสมัยจากแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ ๕. จัดบรกิ ารตดิ ตามผล เพื่อเสนอเปน็ สถติ แิ ละเปน็ ข้อมลู ช่วยผูเ้ รียนในการตัดสนิ ใจ ๖. วดั และประเมินผล และสรุปรายงาน
๑๙๒ ๒. กิจกรรมนักเรยี น เปน็ กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ และพฒั นานกั เรียนให้ผู้เรยี นเปน็ ผู้ปฏิบตั ดิ ว้ ย ตนเองครบวงจร ต้ังแตก่ ารศึกษา ตลอดจนการประเมินและปรับปรุงการปฏบิ ตั โิ ดยเนน้ การรว่ มประเมนิ และปรับปรุงการปฏบิ ตั งิ านโดยเนน้ การรว่ มทำงานเป็นกล่มุ หรือ ชมุ นุมต่างๆ แบ่งเป็น ๒ ชนดิ คือ • กจิ กรรมตามความถนดั และความเข้าใจของผเู้ รยี น เชน่ ชุมนุมวทิ ยาศาสตร์ ชุมนมุ ดนตรี ชุมนุมกฬี า เป็นตน้ • กจิ กรรมลกู เสอื - ยุวกาชาด เป็นกิจกรรมท่มี ุ่งฝึกอบรมบ่มนสิ ยั ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี ตามจารีตประเพณีของชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม รจู้ ักชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู กัน ยอมรับผ้อู ่ืน มีความอดทน ทำงานรว่ มกันเป็นทีม และภมู ใิ จในความเป็นไทยอนั มีชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ กจิ กรรมนักเรียนประกอบด้วย ๒.๑ กจิ กรรมลูกเสือ - ยวุ กาชาด นกั เรยี นทกุ คนตอ้ งเข้ารว่ มกจิ กรรมลกู เสอื –ยวุ กาชาด ๔๐ ช่วั โมงต่อปีการศกึ ษา (ระดับประถมศกึ ษา) ๒๐ ช่วั โมงต่อภาคเรียน (ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ) แนวการจดั กจิ กรรมลูกเสอื กำหนดคำอธิบายรายวิชาในกิจกรรม คือ เปิดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการลูกเสือ และจัดกจิ กรรมโดยใชก้ ารศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการจัดกจิ กรรมตามมาตรฐาน เน้นระบบหมู่ สรุปผล การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ปิดประชุมกอง ตามหลกั สตู ร ลกู เสอื กำหนดเน้ือหาการจดั กิจกรรม ดงั นี้ ๑. คำปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสอื ทุกคนให้คำม่ันสัญญาว่าจะปฏบิ ัติตามกฎของ ลกู เสือ กฎของลูกเสือมีไว้ปฏิบัติ ไม่ได้ “ห้าม” หรือ “บังคับให้” ทำ แต่ถ้าทำจะทำให้เกิดผลดีแก่ตัวเอง เป็นคนดี ได้รับการยกย่องวา่ เป็นผู้มเี กียรตเิ ชอื่ ถือได้ ๒. เรียนรู้จากการกระทำ เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล สำเร็จหรือไม่สำเร็จอยู่ท่ีการกระทำของ ตนเอง สามารถแก้ปญั หาต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองและทา้ ทายความสามารถของตนเอง ๓. ระบบหมู่ เป็นรากฐานที่แท้จริงของการลูกเสือ เป็นพื้นฐานการอยู่ร่วมกันการยอมรับซ่ึงกัน และกนั การแบง่ หน้าที่รับผิดชอบ การชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกันเปน็ การเรยี นร้กู ารใชป้ ระชาธิปไตยเบ้อื งต้น ๔. การใชส้ ัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกการเปน็ หนึ่งเดียวในการเป็นสมาชิกลกู เสอื ด้วยการใช้สัญลกั ษณ์ ร่วมกัน เคร่ืองแบบ เคร่อื งหมาย การทำความเคารพ รหัสคำปฏิญาณ กฎ คติพจน์ คำขวญั ธง ชว่ ยให้ นกั เรียนตระหนักและภาคภูมใิ จในการเป็นสมาชกิ ขององค์การลกู เสือแหง่ โลก ๕. การศกึ ษาแบบธรรมชาติ คือ การทำกิจกรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา ตั้งค่ายพกั แรมในสุด สปั ดาห์ หรือตามวาระการอยคู่ ่ายพกั แรมตามกฎระเบยี บ ๖. ความกา้ วหนา้ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม สร้างใหเ้ กิดความกระตือรือรน้ อยากจะทำ และการจัด กิจกรรมให้สมั พนั ธแ์ ละหลากหลายในการพฒั นาตนเอง เกม การเล่นที่สนุกสนาน และการแข่งขนั
๑๙๓ ๗. การสนับสนนุ จากผู้ใหญ่ เพื่อให้นักเรียนเกิดความมนั่ ใจในการตัดสินใจกระทำสงิ่ ใดสิ่งหน่ึงลง ไปโดยมีผใู้ หญ่ช้ีนำเพ่ือจะไดพ้ ัฒนาอยา่ งถกู ตอ้ งและดีทส่ี ดุ จึงจะเป็นการรว่ มมือกันทั้งสองฝา่ ย แนวการจดั กิจกรรมยุวกาชาด การจัดกจิ กรรมยุวกาชาดประกอบด้วยกิจกรรมหลัก และกิจกรรมพิเศษ ดงั นี้ ๑. กิจกรรมหลกั เป็นกิจกรรมพ้ืนฐานท่ีสำคัญทสี่ มาชิกทกุ คนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรม ประกอบด้วยกิจกรรม ๔ กลุม่ คือ ๑.๑ กลมุ่ กจิ กรรมการกาชาด และยวุ กาชาด เพ่อื สง่ เสริมให้สมาชกิ ยวุ กาชาดมคี วามรู้ ความ เขา้ ใจในหลักการ และอดุ มการณข์ องกาชาด มีศรทั ธาในการเข้ารว่ มกจิ กรรมด้วยความเสยี สละ เป็นคนดี มคี ุณธรรม ช่วยสร้างสรรค์สังคม เปน็ ผนู้ ำในการเผยแพรก่ จิ กรรมกาชาด และยวุ กาชาด กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ ส่งเสริมศักยภาพ คุณค่าของความเป็นมนษุ ย์ บทบาทชาย หญิง มีทักษะชีวติ ในการจดั การปญั หารอบดา้ นและพร้อมทีจ่ ะปรับตัวในเรื่องต่าง ๆ ในอนาคต ๑.๒ กลุ่มกิจกรรมสุขภาพ เป็นกจิ กรรมฝกึ ฝนทักษะการปอ้ งกนั ชวี ติ และสุขภาพ การ เสริมสรา้ งสมรรถภาพ มีความรูแ้ ละทักษะในการรักษาอนามยั ของตนเอง และส่งเสรมิ อนามัยของผู้อนื่ การปฐมพยาบาล และเคหะพยาบาล การเตรยี มตัว ปอ้ งกนั อุบัติเหตุและภยนั ตรายต่าง ๆ ในการถกู ล่วง ละเมดิ ชีวิตครอบครัว อทิ ธพิ ลจากสอื่ และส่งิ แวดล้อมอืน่ ๆ ๑.๓ กลมุ่ กิจกรรมสมั พนั ธภาพและความเขา้ ใจอันดี เป็นการจดั กจิ กรรมให้สมาชิกไดร้ ้จู กั ตนเอง มรี ะเบียบวนิ ัย บุคลิกภาพท่ีดี รจู้ ักปรบั ตัวเข้ากับผู้อืน่ และสงั คมไดด้ ี มีความสามัคคี มีสัมพันธภาพ และความเขา้ ใจอนั ดีกบั บุคคลท่ัวไป การยอมรบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลทีม่ ีพืน้ ฐานการดำรงชีวิตและ วฒั นธรรมทแี่ ตกต่างกัน สามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๑.๔ กลุ่มกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบตั ติ นของสมาชกิ ยวุ กาชาดเพอื่ สนองตอ่ อุดมการณ์ และวัตถุประสงคข์ องยุวกาชาดมคี วามภาคภมู ใิ จในวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และมรดกของชาติ และพร้อมท่ีจะอนรุ ักษส์ ภาพแวดล้อมและธรรมชาติ เป็นผู้มีความเสียสละ และบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่สว่ นรวม ๒. กจิ กรรมพเิ ศษ เป็นกิจกรรมทเ่ี สรมิ กิจกรรมหลัก เพือ่ สร้างทักษะ ความสามารถ ความถนดั หรือความสนใจของนกั เรยี นโดยเฉพาะ ซงึ่ นักเรยี นสามารถเลอื กเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้ และเม่ือผา่ นเกณฑ์จะ ใหเ้ ครอ่ื งหมาย นักเรียนมีสทิ ธิประดับเครอ่ื งหมายกิจกรรมพิเศษนนั้ ๆ โดยโรงเรียนจดั ให้มจี ำนวน ๒๐ กิจกรรม ๒.๒ กจิ กรรมชมุ นมุ นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมชมุ นมุ ๔๐ ชั่วโมงตอ่ ปี การศกึ ษา (ระดับประถมศกึ ษา) ๒๐ ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น (ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น) แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม โรงเรียนได้ดำเนนิ การ ดงั นี้
๑๙๔ ๑. สถานศึกษาจดั ตั้งชมุ นุม หรอื ชมรม ซ่งึ สำรวจตามความสนใจของนักเรยี นทีจ่ ะเลอื กเขา้ รว่ ม กจิ กรรม / ชมรม ๒. ครู และนักเรียนรว่ มกันดำเนนิ กจิ กรรม โดยครูเป็นทีป่ รกึ ษา และมีการร่างระเบียบของ ชุมนุม /ชมรมท่ีสมาชิกต้องรว่ มกนั ปฏิบัติ ๓. ครทู ี่ปรึกษากจิ กรรมประเมินตามหลกั เกณฑก์ ารประเมินผล ระดับประถมศกึ ษามชี ุมนุม ดังนี้ • คลินกิ ภาษาไทย • ชมุ นุมส่งเสรมิ นักอ่าน • ชุมนุมวทิ ยาศาสตร์ • ชุมนุมคณติ ศาสตร์ • ชุมนมุ ภาษาองั กฤษ • ชุมนุมสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม • ชมุ นุมประดิษฐด์ อกไม้ • ชมุ นมุ เกษตรกรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ เปน็ กจิ กรรมทีเ่ สริมวชิ าการ และเสริมดา้ นกีฬา มชี ุมนมุ ดงั นี้ กจิ กรรมทเี่ สริมวชิ าการ • ชมุ นมุ ดนตรีไทย • ชมุ นุมดนตรสี ากล • ชมุ นุมศิลปะการแสดง • ชมุ นมุ ศิลปะพืน้ บา้ น • ชุมนมุ อนุรกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม • ชมุ นุมถา่ ยภาพ • ชมุ นมุ อนุรักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมไทย • นกั คณติ ศาสตรน์ ้อย • นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย • ชุมนมุ ห้องสมุด กิจกรรมทเ่ี สรมิ ดา้ นกฬี า • ชมุ นมุ กรีฑา • ชุมนุมบาสเกตบอล
๑๙๕ • ชมุ นมุ เทเบลิ เทนนสิ • ชมุ นุมฟุตบอล • ชมุ นุมกระบกี่ ระบอง • ชุมนุมฟุตซอล • ชุมนุมตะกร้อ • ชุมนมุ เปตอง • ชมุ นุมวอลเลย์บอล ๓. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมและพัฒนา นกั เรยี นใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ด้านวิชาการในรายวชิ าต่าง ๆ ท้งั ในห้องเรียน และเสรมิ บทเรียน เพือ่ ให้เกดิ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ในชวี ิตประจำวนั ประกอบดว้ ย แนวการจดั กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เน้นให้นกั เรยี นร่วมกันสำรวจและวิเคราะหส์ ภาพปญั หารว่ มกนั และออกแบบรว่ มกัน วาง แผนการจดั กิจกรรม ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามแผน ร่วมกนั สรุป และประเมินผลการจัดกจิ กรรม รว่ มกนั รายงานผล และเผยแพร่ผลการจดั กจิ กรรม ซ่ึงดำเนนิ กจิ กรรมดงั น้ี ๑. จัดกจิ กรรมบรู ณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ในกิจกรรม ลกู เสือ และยุวกาชาด ๒. จดั กจิ กรรมรว่ มกบั องคก์ รอื่น หมายถงึ กจิ กรรมที่นกั เรยี นอาสาสมัครเข้ารว่ มกจิ กรรมกับ หน่วยงานหรือองค์กรอืน่ ๆ ในลกั ษณะเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ทัง้ ภายในหน่วยงานและนอก หนว่ ยงาน แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น นกั เรยี นจะต้องได้รบั การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และผ่านเกณฑ์ ดังนี้ ๑. กำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ไว้ ๒ ระดบั คอื ผ่าน และไมผ่ ่าน ๒. กำหนดประเด็นการประเมินสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของกจิ กรรมและ กำหนด เกณฑ์การผ่านการประเมิน ดงั นี้ ๒.๑ เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการประเมินรายกิจกรรม ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติ กิจกรรม และมผี ลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด ไม่ผ่าน หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมไมค่ รบตามเกณฑไ์ มผ่ ่านการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม หรอื มีผลงาน/ชนิ้ งาน/คุณลกั ษณะไม่เปน็ ไปตามเกณฑท์ กี่ ำหนด ๒.๒ เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นรายปี / รายภาค ผ่านหมายถงึ ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ ระดบั “ ผ่าน ” ในกจิ กรรมสำคัญ
๑๙๖ ท้งั ๓ กจิ กรรม คอื กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรยี นมีผลการประเมินระดับ “ไมผ่ า่ น” ในกิจกรรมสำคัญ กจิ กรรมใดกิจกรรมหนง่ึ จาก ๓ กจิ กรรม คอื กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน และกิจกรรมเพ่ือ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๒.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนเพื่อจบการศกึ ษา ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดบั “ผ่าน” ทุกช้นั ปใี นระดบั การศกึ ษาน้นั ไม่ผา่ น หมายถึง ผูเ้ รยี นมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผา่ น” บางช้ันปีใน ระดบั การศึกษาน้ัน แนวทางการแกไ้ ขนักเรยี นกรณไี ม่ผา่ นเกณฑ์ กรณีทนี่ ักเรยี นไมผ่ ่านกจิ กรรมใหค้ รหู รือผู้รบั ผิดชอบกจิ กรรมนัน้ ทจ่ี ะตอ้ งซ่อมเสริมโดยให้นักเรียน ดำเนินกิจกรรมจนครบตามเวลาทีข่ าด หรือปฏิบตั ิกิจกรรมให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมน้นั แล้ว จึงประเมินให้ผา่ นกจิ กรรมเพ่ือบนั ทึกในระเบียบแสดงผลการเรียน ยกเวน้ เหตุสดุ วิสยั ใหร้ ายงานผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษาทราบเพอ่ื ดำเนินการชว่ ยเหลือนักเรยี นอย่างเหมาะสมเป็นรายกรณไี ป
๑๙๗ ระเบยี บโรงเรยี นบา้ นโนนสวา่ ง วา่ ด้วยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๖๕ ---------------------------------------- โดยท่โี รงเรียนบ้านโนนสวา่ ง ได้ประกาศใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสัง่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ สพฐ.๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวนั ที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ จึงเปน็ การสมควรท่จี ะกำหนดระเบียบโรงเรยี นบ้านโนนสว่างว่าดว้ ยการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เพอื่ ให้สามารถ ดำเนนิ การได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและสอดคล้องกบั คำสั่งดังกล่าว ฉ ะ น้ั น อ า ศั ย อ ำ น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๓ ๙ แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร กระทรวงศึกษาธิการ.ศ.๒๕๔๖และกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการ ของสถานศกึ ษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานจึงวางระเบยี บไว้ดงั น้ี ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบยี บโรงเรยี นบ้านโนนสว่างว่าด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒” ข้อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบยี บขอ้ บังคบั หรอื คำสงั่ อ่ืนใดในสว่ นที่กำหนดไว้ในระเบยี บน้หี รอื ซงึ่ ขัดหรอื แยง้ กบั ระเบยี บนี้ ใหใ้ ช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๔ ระเบียบน้ใี หใ้ ช้ควบคกู่ ับหลักสูตรโรงเรียนบ้านโนนสวา่ งตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอ้ ๕ ให้ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษารกั ษาการให้เป็นไปตามระเบยี บนี้
๑๙๘ ตอนท่ี ๑ ระเบยี บสถานศกึ ษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ หมวด ๑ หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรียน ขอ้ ๖ การประเมนิ ผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตามหลักการในตอ่ ไปนี้ ๖.๑ สถานศกึ ษาเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบประเมนิ ผลการเรยี นของผเู้ รียนโดยความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวิชาการสถานศึกษา ๖.๒ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นต้องสอดคล้อง และครอบคลุมสาระและมาตรฐานการ เรียนร้/ู ตัวชีว้ ัดท่ีกำหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศกึ ษาและจดั ให้มีการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ลอดจนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๖.๓ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้มจี ดุ มงุ่ หมายเพ่ือพัฒนาผ้เู รียนและตดั สินผลการเรยี น ๖.๔ การวัดและประเมนิ ผลเป็นสว่ นหนงึ่ ของกระบวนการจัดการเรยี นการสอนตอ้ งดำเนินการ ด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับสง่ิ ท่ีต้องการวัด ธรรมชาตขิ องวิชา และระดับการศกึ ษาโดยต้ังอย่บู น พนื้ ฐานของความเทย่ี งตรง ยุติธรรมและเชอ่ื ถือได้ ๖.๕ใหม้ กี ารประเมินคณุ ภาพผ้เู รียนในระดับชาติ ในแตล่ ะระดบั การศึกษา ๖.๖ เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นได้ ๖.๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศกึ ษาและรูปแบบการศกึ ษาตา่ ง ๆ ๖.๘ สถานศกึ ษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศกึ ษาเพ่อื เป็นหลักฐานการประเมนิ ผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศกึ ษาและรับรองผลการเรยี นของผเู้ รียน
๑๙๙ หมวด ๒ วธิ ีการวดั และประเมินผลการเรียน ขอ้ ๗ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปน็ กระบวนการทใี่ หผ้ สู้ อนใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นเพื่อให้ได้ ขอ้ มูลสารสนเทศ ทแี่ สดงพฒั นาการความก้าวหนา้ และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ใหเ้ ป็นการ ประเมินเพอื่ ปรับปรุงการเรียนมากกวา่ การตดั สินผลการเรยี น ประกอบด้วย ๗.๑ วัดและประเมินผลตามเป้าหมาย/จดุ เนน้ คุณภาพผ้เู รียน ตามกรอบหลักสูตรโรงเรียนบ้านโนนสว่าง ไดก้ ำหนดไว้ ซ่ึงแนวทาง การประเมินคุณภาพผู้เรียนจะมีลกั ษณะเปน็ ภาพรวม เพอื่ เป็นแนวทางในการ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล กำหนดแนวทางการดำเนินการดงั น้ี - กำหนดเสน้ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามเปา้ หมาย/จุดเนน้ - สถานศกึ ษา เน้นการจดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด เพ่อื ให้ผู้เรยี นเกิดคณุ ลักษณะตามเป้าหมาย/จดุ เน้น ตามเส้นพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และมคี วามรู้ความเข้าใจ ในสาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่นตามแนวทางการประเมินผลการเรียนร้สู าระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ ท่ีกำหนด - โรงเรียนบ้านโนนสว่าง นิเทศ ติดตาม กำกับให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั ให้ผูเ้ รียนมีคณุ ลักษณะและมคี วามรู้ ความเขา้ ใจตามท่ีกำหนด โดยกำหนด แนวทางการ นิเทศ ตดิ ตาม กำกบั และประเมนิ ผล อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้งั - เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการ นิเทศ ตดิ ตาม กำกบั และประเมินผล ได้แก่ - แบบทดสอบ/แบบประเมนิ ผเู้ รียนมลี กั ษณะเปน็ อัตนยั - แบบสอบถาม (ครู นกั เรียน ผู้ปกครอง) - แบบบันทึกพฤติกรรมของผู้เรยี น - อืน่ ๆ - เสน้ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนตามเป้าหมาย/จดุ เนน้ ของโรงเรียนบ้านโนนสว่าง กำหนดไว้ ดังน้ี เส้นพัฒนาตามเป้าหมาย/จดุ เนน้ คุณภาพผเู้ รยี น ขอ้ ที่ ๑ อ่านเขยี น ใชภ้ าษาสื่อสารได้ บอกขอ้ มลู เรอื่ งราว เหตกุ ารณ์ทเี่ กย่ี วข้องจากการอา่ น เขยี น และใช้ภาษาสื่อสารได้เข้าใจ ป.๑-๓ ชัดเจน สนกุ กบั การอ่าน แสดงความคิดเห็นวพิ ากษ์วจิ ารณ์เร่อื งราว เหตุการณ์ ที่เกยี่ วข้องจากการอ่าน และใช้ภาษา ป.๔-๖ ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ สนุกกบั การอ่าน ป.4-6
๒๐๐ ม.๑-๓ แสดงความคิดเหน็ วพิ ากษว์ จิ ารณ์เรื่องราว เหตกุ ารณ์ ท่เี กย่ี วข้องจากการอ่าน และใช้ ภาษาได้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ สนกุ กับการอ่านม๑-๓ ข้อที่ ๒ มีทกั ษะกระบวนการคดิ ป.๑-๓ สงั เกต บอกรายละเอยี ด จำแนก จัดกลมุ่ ขอ้ มูล เรือ่ งราว บุคคลเหตกุ ารณ์ สถานการณ์ ป.๔-๖ เชท่ือี่เกมี่ยโยวขง้อเงปไดรยีอ้ บยา่เทงถียูกบตอ้ วงิพากษว์ ิจารณ์ สรุปความคิดรวบยอด เกยี่ วกบั ข้อมูล เรอ่ื งราว เหตุการณ์ สถานการณต์ า่ งๆ หรอื ที่เก่ียวข้องได้อย่างถูกตอ้ ง เชอื่ มโยง เปรียบเทยี บ วพิ ากษว์ ิจารณ์ สรุปความคิดรวบยอด เกย่ี วกบั ขอ้ มูล เรื่องราว ม.๑-๓ เหตุการณ์ สถานการณต์ ่างๆ หรอื ที่เก่ียวข้องไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ข้อที่ ๓ มีทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี ป.๑-๓ ค้นหาและนำเสนอข้อมูลดว้ ยคอมพวิ เตอรใ์ นลกั ษณะต่างๆ ได้ ใช้คอมพิวเตอร์สร้างงานกราฟิก งานเอกสาร และนำเสนอข้อมูลอยา่ งคล่องแคล่ว ป.๔-๖ สร้างงานกราฟกิ งานเอกสาร และนำเสนอข้อมูลอยา่ งคลอ่ งแคล่ว ม.๑-๓ ใช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งงานกราฟกิ งานเอกสาร และนำเสนอข้อมูลอย่างคลอ่ งแคล่ว ขอ้ ท่ี ๔ มคี วามกตญั ญกู ตเวที ป.๑-๓ แสดงความเคารพ รกั เชือ่ ฟัง ปฏิบัติตามข้อตกลงของครอบครวั โรงเรียนและชุมชน อย่างเหมาะสม ป.๔-๖ บอกเล่าถึงพระคุณของพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และผูม้ ีพระคุณ ให้ความร่วมมอื และ แสดงออกซงึ่ การตอบแทนคุณอยา่ งเหมาะสม ม.๑-๓ บอกเล่าถึงพระคณุ ของพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครู และผู้มีพระคณุ ให้ความร่วมมอื และ แสดงออกซึ่งการตอบแทนคณุ อย่างเหมาะสม
๒๐๑ ขอ้ ที่ ๕ รกั ภูมใิ จและอนรุ ักษ์วัฒนธรรมท้องถิน่ เข้าร่วมกิจกรรมดา้ นศิลปวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถ่ินเป็นประจำ ป.๑-๓ ป.๔-๖ เขา้ รว่ มกจิ กรรมด้านศิลปวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถ่ินเป็นประจำ ใชภ้ าษาถ่นิ ติดตอ่ ส่อื สาร กับผู้อน่ื ในสงั คมอย่างเหมาะสม ม.๑-๓ เข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถิ่นเป็นประจำ ใช้ภาษาถนิ่ ติดตอ่ สอ่ื สาร กับผอู้ ่ืนในสังคมอย่างเหมาะสม หมายเหตุ เสน้ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนในแตล่ ะข้ันกำหนดไว้เปน็ ฐานขน้ั ตำ่ และเป็นพื้นฐานในการนำไปสู่การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีสูงขึ้นไปในแต่ละระดับ ซึ่งจะเป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามเป้าหมายที่ กำหนดตามระดับความรู้ความสามารถ และเส้นพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นในบางข้ันอาจมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันใน หลายระดบั ได้
๒๐๒ สดั สว่ นคะแนน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ อัตราสว่ นคะแนน ๑. ภาษาไทย ระหว่างเรียน ปลายป/ี ภาค ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๗๐ ๓๐ ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. ประวตั ศิ าสตร์ ๗๐ ๓๐ ๖. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๗. ศลิ ปะ ๗๐ ๓๐ ๘. การงานอาชพี ๙. ภาษาต่างประเทศ ๗๐ ๓๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ระดับประถมศึกษา ว ๑๔๒๓๑ คอมพวิ เตอร์๑ ๗๐ ๓๐ ว ๑๕๒๓๒ คอมพิวเตอร์๒ ว ๑๖๒๓๓ คอมพวิ เตอร์๓ ๗๐ ๓๐ ส๑๑๒๐๑หน้าทพ่ี ลเมอื ง ส๑๒๒๐๑หน้าที่พลเมือง ๗๐ ๓๐ ส๑๓๒๐๑หน้าท่พี ลเมือง ส๑๔๒๐๑หนา้ ที่พลเมอื ง ๗๐ ๓๐ ส๑๕๒๐๑หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ส๑๖๒๐๑หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๗๐ ๓๐ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ระดับมัธยมศกึ ษา ว ๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์เพื่อการสบื ค้น ๗๐ ๓๐ ง ๒๑๒๐๒ Graphic designs ๗๐ ๓๐ ง ๒๑๒๐๓ การจัดสวนถาด ๗๐ ๓๐ ง ๒๑๒๐๔ การเพาะเหด็ ดว้ ยวสั ดผุ สม ๗๐ ๓๐ อ ๒๑๒๐๑Young Guide ๑ ๗๐ ๓๐ อ ๒๑๒๐๒ Young Guide ๒ ๗๐ ๓๐ ง๒๒๒๐๑ การแกะสลกั ของอ่อน ๗๐ ๓๐ ง๒๒๒๐๒ พชื สมุนไพร ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐
๒๐๓ สัดสว่ นคะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ อตั ราส่วนคะแนน ว๒๒๒๐๑ Science shows ระหว่างเรยี น ปลายป/ี ภาค ว๒๒๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ ท๒๒๒๐๑ ภมู ปิ ัญญาทางภาษา ๗๐ ๓๐ ท๒๒๒๐๒ การประพันธ์ ค๒๓๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ ๑ ๗๐ ๓๐ ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ ๒ ง๒๓๒๐๑ การขยายพันธ์ุพืช ๗๐ ๓๐ ง๒๓๒๐๒ การสานหมวก อ๒๓๒๐๑ เกมและกจิ กรรมการอ่าน ๗๐ ๓๐ ภาษาองั กฤษ ว๒๓๒๐๑ การเขียน web site ๗๐ ๓๐ ส๒๑๒๐๑หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ส๒๑๒๐๒หนา้ ที่พลเมอื ง ๗๐ ๓๐ ส๒๑๒๐๓หน้าทพี่ ลเมอื ง ส๒๑๒๐๔หน้าที่พลเมือง ๗๐ ๓๐ ส๒๑๒๐๕หน้าที่พลเมอื ง ส๒๑๒๐๖หน้าทพ่ี ลเมือง ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐ ๗๐ ๓๐
๒๐๔ รปู แบบและวิธีการประเมินแต่ละองค์ประกอบมดี งั นี้ ๑. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รปู แบบ วิธกี ารประเมนิ ระดับประถมศึกษา - การสังเกตพัฒนาการของผู้เรยี น - ระบบตัวเลข ๘ ระดบั ไดแ้ ก่ - การสังเกตความประพฤติผ้เู รียน ระดับ ๔ ,๓.๕ , ๓, ๒.๕, ๒, ๑.๕, ๑ - การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น และ ๐ - การร่วมกจิ กรรม - การทดสอบ ระดับมัธยมศกึ ษา - การประเมินสภาพจรงิ - การประเมนิ การปฏิบัตงิ าน - ระบบตวั เลข ๘ ระดับ ได้แก่ - การประเมินจากโครงงาน ระดับ ๔ ,๓.๕ , ๓, ๒.๕, ๒, ๑.๕, ๑ - การประเมินจากแฟม้ สะสมงาน และ ๐ ๒. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รปู แบบ วธิ กี ารประเมิน มี ๔ ระดับ คือ ๑. ประเมินในชัว่ โมงเรยี น/หน่วยการเรยี นรู้ ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ๒. ประเมินจากกิจกรรมเสริมสร้างคุณลักษณะหรือกิจกรรม พัฒนาผู้เรยี น ๓. เมื่อส้ินปี ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระเป็นผู้ประเมิน แล้ว สง่ ผลการประเมินให้คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะสรุป โดยใชค้ ่า ฐานนิยม ๓ อา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น รูปแบบ วธิ ีการประเมนิ มี ๔ ระดบั คือ ๑. ประเมนิ ในชวั่ โมงเรียน/หน่วยการเรยี นรู้ ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น ๒. ประเมินจากกจิ กรรมเสริมสร้างคุณลักษณะหรือกิจกรรม พัฒนาผเู้ รียน ๓. เม่ือสิ้นปี ครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระเป็นผู้ประเมิน แล้ว ส่งผลการประเมินให้คณะกรรมการประเมินอ่าน คิด วิเคราะห์และเขยี น สรปุ โดยใชค้ ่า ฐานนิยม ๔. กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน รปู แบบ วิธกี ารประเมนิ มี ๒ ระดับ คือ ผ่าน ไมผ่ ่าน - ครูผู้สอนในแตล่ ะกิจกรรมเป็นผู้ประเมนิ โดยมีเกณฑ์คือ ๑. เวลาที่เข้าร่วมกจิ กรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406