Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

Published by danangelo1992, 2022-08-17 03:15:36

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง

Search

Read the Text Version

๒๐๕ ๒. การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ๓. ผลงาน/ชนิ้ งาน เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี น การตัดสนิ ผลการเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ๑. ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด ๒. ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมนิ ทุกตัวช้ีวัดและผ่านการประเมนิ รอ้ ยละ ๗๕ ของตวั ช้ีวดั ๓. ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั ผลการเรยี นทกุ รายวชิ าและมผี ลการเรยี นทกุ รายวชิ าในระดบั ไม่ตำ่ กวา่ ๑ ๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ไม่ต่ำกว่าระดับ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ๕. ผู้เรียนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นและมีผลการประเมนิ ผา่ น ทกุ กจิ กรรม ระดับมธั ยมศึกษา ๑. ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชาผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของ เวลาเรยี นทงั้ หมดในรายวชิ าน้ันๆ ๒. ผ้เู รยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตัวช้ีวดั และผ่านการประเมินร้อยละ ๗๕ ของตัวชี้วัด ๓. ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั ผลการเรยี นทกุ รายวชิ าและมผี ลการเรียนทุกรายวชิ าในระดบั ไม่ต่ำกวา่ ๑ ๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ไม่ต่ำกว่าระดับ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ๕. ผู้เรียนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมผี ลการประเมิน ผา่ น ทกุ กิจกรรม ๗.๒ การวดั และประเมินผลระดับการศึกษาชั้นเรยี นเปน็ การวดั ความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ ๗.๓ การประเมนิ ผลระดับสถานศกึ ษาเพอ่ื ตรวจสอบความกา้ วหน้าการเรียนรู้ เป็นรายปี สำหรับ สถานศึกษานำข้อมูลที่ได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับปรงุ และการพฒั นาการเรียน การสอนและคุณภาพของ ผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ รวมท้ังพจิ ารณาตัดสินการเลอ่ื นระดบั การศกึ ษา ๗.๔ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั ชาติ เปน็ การประเมินด้วยแบบประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนทเ่ี ป็นมาตรฐานระดับชาติ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาและคุณภาพการศกึ ษาของ ชาติ สำหรับนำผลการประเมนิ ไปวางแผนดำเนนิ การปรบั ปรงุ แก้ไขการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการ ผเู้ รียนให้ไดม้ าตรฐาน

๒๐๖ ๗.๕ การประเมนิ เพือ่ ตัดสนิ ผลการเรยี น เปน็ การประเมนิ เพือ่ สรุปความสำเรจ็ ในการเรียนรูข้ องผู้เรยี นใน การจบหลักสตู รการศึกษาในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น หรอื ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ซึง่ จะทำใหผ้ ้เู รียน ไดร้ บั การรับรองความร้แู ละวุฒิการศกึ ษาจากสถานศึกษา ข้อ ๘ แนวดำเนินการประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษา เพือ่ ให้การวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มกี ารดำเนินการตามหลักการกระจายอำนาจ มกี ารประเมินผเู้ รยี นตาม หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น มกี ารตรวจสอบและกำกับติดตามประเมนิ คุณภาพการประเมินผลการ เรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จงึ กำหนดแนวดำเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรียนของ สถานศกึ ษาไว้ ดังนี้ ๘.๑ สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กำหนดรปู แบบ ระบบและระเบียบการวดั และประเมนิ ผลของ สถานศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ แนวปฏิบัตใิ นการประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา ๘.๒ สถานศกึ ษาโดยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการของสถานศกึ ษา วเิ คราะหต์ วั ช้วี ดั สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละมาตรฐานการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน เพอ่ื ใช้เป็นเป้าหมายในการวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ายปี ๘.๓ คณะอนกุ รรมการระดับกลุ่มสาระ หรอื กลมุ่ วชิ าให้ความเห็นชอบของรปู แบบ วิธีการเคร่ืองมือ สำหรบั การประเมิน และผลการตดั สินการประเมนิ ผลการเรียนรายวิชาของผ้สู อน ๘.๔ ผสู้ อนจัดการเรยี นการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผ้เู รยี น และประเมนิ สรุปผลสัมฤทธิ์ของ ผู้เรยี นด้วยวธิ กี ารหลากหลายตามสภาพจริง โดยนำผลการเรียนรู้ระหวา่ งเรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๗๐ ไปใช้ เป็นข้อมลู รวมกับการประเมนิ ปลายปี ๘.๕ หัวหนา้ สถานศกึ ษาอนมุ ตั ผิ ลการเรยี นปลายปี และการผ่านระดบั การศกึ ษา 8.6 สถานศกึ ษาจัดทำรายงานผลการดำเนินการประเมินผลการเรียนประจำปโี ดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ข้อ ๙ ให้มกี ารประเมนิ ผลการเรียนในด้านตา่ งๆ ประกอบดว้ ย ๙.๑ การประเมนิ ผลการเรียนสาระการเรียนรูร้ ายวชิ าทัง้ ในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตนตน้ ตาม ผลการเรียนรูร้ ายปีของรายวิชาซ่งึ กำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร การประเมินสาระการเรยี นรูร้ ายวิชา ใหต้ ดั สนิ ผล การประเมนิ เปน็ ระดบั ผลการเรยี น ๘ ระดบั ดังน้ี

๒๐๗ “ ๔ ” หมายถึง ผลการเรยี น ดีเยี่ยม ไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐-๑๐๐ “ ๓.๕ ” หมายถงึ ผลการเรยี น ดีมาก ได้คะแนนรอ้ ยละ ๗๕-๗๙ “ ๓ ” หมายถึง ผลการเรยี น ดี ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ “ ๒.๕ ” หมายถงึ ผลการเรยี น คอ่ นขา้ งดี ไดค้ ะแนนร้อยละ ๖๕-๖๙ “ ๒ ” หมายถึง ผลการเรียน ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ “ ๑.๕ ” หมายถงึ ผลการเรียน พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ “ ๑ ” หมายถงึ ผลการเรยี น ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ต่ำ ได้คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ “ ๐ ” หมายถงึ ผลการเรยี น ต่ำกวา่ เกณฑข์ นั้ ตำ่ ได้คะแนนรอ้ ยละ ๐-๔๙ ๙.๒ การประเมินการรว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เปน็ การประเมนิ ความสามารถและพัฒนาการของ ผเู้ รยี น ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์ของแตล่ ะกิจกรรม และตัดสินผลการ ประเมินเป็น ๒ ระดบั ดงั นี้ ผ หมายถึง ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน มีเวลาร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของ เวลาท้ังหมดท่จี ดั กจิ กรรมทง้ั ปแี ละผา่ นจดุ ประสงค์สำคัญของกจิ กรรมตามท่ีกำหนด มผ หมายถงึ ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน มเี วลารว่ มกิจกรรมไมถ่ ึงรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาท้ังหมดท่ี จดั กิจกรรมท้ังปี และ/หรือไมผ่ า่ นจดุ ประสงคส์ ำคัญของกจิ กรรมตามทีก่ ำหนด ๙.๓ การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เป็นการประเมนิ พฒั นาทางดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น ตามคุณลกั ษณะที่สถานศึกษากำหนด การประเมิน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์จะประเมนิ เปน็ รายคุณลกั ษณะรายปี และตดั สินผลการประเมนิ เปน็ ๔ ระดบั ดังนี้ ระดับ ๓ (ดีเย่ยี ม) หมายถึง ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตัวบ่งช้ผี ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ของจำนวนตัวบง่ ช้คี ณุ ลักษณะน้ันๆ แสดงว่าผเู้ รยี นมีคุณลักษณะ น้นั ๆ จนสามารถเป็นแบบอย่างแก่ผ้อู ่ืนได้ ระดบั ๒ (ดี) หมายถงึ ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมตามตวั บ่งช้ีผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ ๖๕ – ๗๙ ขน้ึ ไป ของจำนวนตัวบ่งชคี้ ณุ ลักษณะนั้นๆ แสดงวา่ ผู้เรียนมคี ุณลักษณะนั้นๆ ด้วยการปฏิบัติดว้ ยความเต็มใจ ระดบั ๑ (ผ่าน ) หมายถงึ ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมตามตวั บ่งช้ผี ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๕๐ – ๖๔ ข้ึนไป ของจำนวนตวั บ่งชคี้ ุณลกั ษณะนนั้ ๆ ได้ปฏิบตั ิตน ดว้ ยความพยายามปฏบิ ัติตนตามคำแนะนำ ระดับ ๐ (ไมผ่ ่าน) หมายถงึ ผเู้ รียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชีผ้ ่านเกณฑ์รอ้ ยละต่ำกว่า ๕๐

๒๐๘ ของจำนวนตวั บง่ ช้ีในคุณลกั ษณะน้นั แสดงว่าผเู้ รียนมี คณุ ลักษณะนั้นๆ ตอ้ งมผี ้อู น่ื คอยกระตนุ้ เตอื น เม่ือจบระดับการศึกษาจะพิจารณาจากผลการประเมิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” โดยการประเมิน “ผ่าน” ต้องมีผลการประเมนิ อย่ใู นระดับ “ผา่ น” ขึ้นไป ๙.๔ การประเมินความสามารถอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น เปน็ การประเมนิ ทักษะการคดิ และ การถา่ ยทอดความคิดด้วยทักษะการอ่าน การคิด วเิ คราะห์ ตามเง่ือนไข และวิธกี ารทีส่ ถานศึกษากำหนด และตดั สนิ ผลการประเมนิ เปน็ ๔ ระดับ ดังน้ี ระดับ ๓ หมายถึง ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น เมื่อเทียบกับ เกณฑ์ ที่สถานทศ่ี กึ ษากำหนดไว้อยู่ในระดับ ดเี ยี่ยม ระดบั ๒ หมายถงึ ความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขยี น เมอื่ เทียบกบั เกณฑ์ ท่ีสถานศึกษากำหนดไวอ้ ยู่ในระดับ ดี ระดับ ๑ หมายถงึ ความสามารถในการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี น เม่อื เทยี บกับ เกณฑ์ ที่สถานที่ศึกษากำหนดไวอ้ ยใู่ นระดับ ผ่าน ระดบั ๐ หมายถงึ ความสามารถในการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน เมอ่ื เทียบกับ เกณฑ์ ท่ีสถานที่ศึกษากำหนดไวอ้ ย่ใู นระดับ ไม่ผ่าน เมอื่ จบระดบั การศึกษาพจิ ารณาจากผลการประเมิน “ผา่ น” และ “ไมผ่ ่าน” โดยการประเมิน “ผา่ น” น้ัน ตอ้ งมีผลการประเมินอยู่ในระดบั “ผา่ น” ข้ึนไป ๙.๕ การตัดสนิ ผลการเรยี นผ่านระดบั การศกึ ษา เปน็ การนำผลการประเมินในดา้ นต่าง ๆ มาประมวล สรุปเพือ่ ตดั สินให้ผ้เู รยี นผ่านระดบั การศึกษาต่างๆ ตามเกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรียนแตล่ ะระดบั การศึกษา การแก้ไขผลการเรียนท่มี เี ง่อื นไข ใช้ตวั อักษรท่รี ะบเุ งอ่ื นไขแสดงผลการเรยี น ประกอบด้วย ๑. ตวั อกั ษรแสดงผลการเรียนแต่ละรายวิชาใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี “มส” หมายถึง ไม่มีสิทธิเข้ารับการประเมินผลปลายปี โดยผู้เรียนที่มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในแต่ละรายวชิ า และไม่ได้รับการผอ่ นผันใหเ้ ข้ารบั การวดั ผลปลายปี/ปลายภาคเรยี น “ร” หมายถงึ รอการตัดสินและยังตัดสินไม่ได้ โดยผู้เรียนไม่มีข้อมูลประเมินผลการเรยี นรายวิชา นนั้ ครบถ้วน เช่น ไมไ่ ด้วัดผลกลางภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน/ปลายปี ไมไ่ ดส้ ่งงานทีม่ อบหมายใหท้ ำ ซง่ึ งานน้ัน เป็นส่วนหนึง่ ของการตัดสนิ ผลการเรียนหรือมเี หตสุ ดุ วิสยั ท่ีทำให้ประเมินผลการเรยี นไม่ได้ การเปล่ียนผลการเรยี น

๒๐๙ ๑. การเปลีย่ นผลการเรยี น “๐” สถานศึกษาจัดให้มกี ารสอนซอ่ มเสริมในตวั ช้ีวัดทผี่ เู้ รยี นสอบไม่ผ่านกอ่ น แลว้ จึงสอบแก้ตวั ให้ และใหส้ อบแกต้ ัวไดไ้ ม่เกนิ ๒ ครงั้ ท้ังนี้ต้องดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศึกษาน้นั ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้น้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาทจี่ ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น ถ้าสอบแก้ตัว ๒ ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “๐” อีก ให้สถานศึกษาแต่งต้ัง คณะกรรมการดำเนนิ การเกีย่ วกับการแก้ผลการเรียนของผู้เรยี นโดยปฏิบัตดิ ังน้ี (๑) ใหเ้ รียนซ้ำรายวิชาถา้ เป็นรายวิชาพน้ื ฐาน (๒) ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ถา้ เป็นรายวิชาเพ่ิมเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของสถานศึกษา ในกรณีที่เปล่ียนรายวชิ าเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าให้เรียนแทน รายวชิ าใด ๒. การเปล่ยี นผลการเรียน “ร” ๑. มผี ลการประเมินไม่ครบ เช่น ไม่ไดว้ ัดผลกลางภาคเรยี น/ปลายภาคเรยี น ๒. ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทำ ซ่ึงงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียน ท่ีทำให้ตัดสิน ผลการเรียนไม่ได้ ท้งั น้จี ะตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากหวั หน้าสถานศึกษาก่อนให้ผลการเรียน “ร” ๓. มเี หตสุ ดุ วิสัย ทำให้ประเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้ เชน่ เจ็บป่วย เมื่อผเู้ รยี นไดเ้ ขา้ สอบหรอื สง่ ผลงานที่ตดิ ค้างอยูเ่ สรจ็ เรยี บรอ้ ย หรอื แกป้ ัญหาเสร็จสิน้ แล้วใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ตง้ั แต่ ๐-๔) ๔. ถ้าสถานศึกษาพจิ ารณาแล้วเห็นว่าไม่ใช่เหตุสดุ วิสัย เมอื่ ผู้เรยี นได้เขา้ สอบ หรอื สง่ ผลงาน ที่ตดิ คา้ งอยูเ่ สรจ็ เรียบร้อยหรอื แกป้ ัญหาเสรจ็ สน้ิ แลว้ ให้ได้ระดับผลการเรยี นไม่เกนิ “๑” การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้ดำเนินการแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จส้ินภายในปีการศึกษาน้ัน ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “ร” ตามระยะเวลาท่ีกำหนดไวน้ ใ้ี ห้เรียนซำ้ รายวชิ า ยกเวน้ มเี หตสุ ดุ วิสัย ให้อยู่ใน ดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น แต่เมอ่ื พน้ กำหนดนแ้ี ล้วให้ ปฏบิ ตั ิดงั นี้ (๑) ให้เรยี นซำ้ รายวชิ า ถา้ เป็นรายวิชาพ้นื ฐาน (๒) ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวชิ าเรียนใหม่ ถา้ เป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจ ของสถานศกึ ษา ในกรณีท่ีเปลี่ยนรายวิชาเรยี นใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าให้เรียน แทนรายวิชาใด ๓. การเปลยี่ นผลการเรียน “มส” การเปลยี่ นผลการเรยี น “มส” มี ๒ กรณี ดังนี้ ๑. กรณีผเู้ รียนได้ผลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียนไมน่ ้อย กว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนเพ่มิ เตมิ โดยใชช้ ว่ั โมงสอนซ่อมเสรมิ หรือเวลา

๒๑๐ ว่าง หรือวันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทำจนมีเวลาเรยี นครบตามท่ีกำหนดไวส้ ำหรับรายวิชาน้ันแลว้ จึงสอบ ให้เป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียน ไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีน้ีให้ กระทำให้เสร็จส้ินในปีการศกึ ษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาท่ีกำหนดไว้นี้ใหเ้ รียน ซ้ำ ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น แต่เมื่อพ้นกำหนดน้ีแลว้ ให้ปฏิบตั ิดังน้ี ๑.๑ ให้เรียนซ้ำรายวิชา ถา้ เปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑.๒ ใหเ้ รยี นซำ้ หรือเปลี่ยนรายวชิ าเรียนใหม่ ถา้ เปน็ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจ ของสถานศกึ ษา ๒. กรณผี ้เู รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” และมเี วลาเรียนนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของเวลา เรียนท้ังหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ำในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม หรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ได้ สำหรับรายวิชาเพม่ิ เตมิ เท่านน้ั ในกรณีท่ีเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าให้เรียนแทน รายวิชาใด การเปลย่ี นผลการเรียนสำหรับระดับมัธยมศึกษา หากมีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ในภาคเรียนที่ ๒ ให้ดำเนินการให้เสรจ็ ส้ินก่อนเปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป โดยสถานศึกษาอาจจัดให้ผู้เรียน แกไ้ ขผลการเรียนในภาคเรยี นฤดรู ้อนได้ ๔. การเปล่ียนผลการเรยี น “มผ” หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วม กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๓ กิจกรรม คอื ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ หรือนักศึกษาวิชาทหาร โดยผู้เรียนเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ๑ กิจกรรม และเลือกเข้าร่วม กิจกรรมชุมนมุ หรอื ชมรม อีก ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ในกรณีที่ผเู้ รียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผ้เู รียนทำกิจกรรมจน ครบตามเวลาที่กำหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ตอ้ งปรับปรุง แก้ไข แล้วจึงเปลี่ยนผลการ เรยี น จาก “มผ” เปน็ “ผ” ทั้งนี้ดำเนนิ การให้เสรจ็ สิ้นภายในปีการศกึ ษานั้น ยกเวน้ มเี หตุสดุ วิสัย ให้อยใู่ นดลุ ย พินิจของสถานศกึ ษา การเรียนซำ้ ช้นั สถานศึกษาจะจดั ให้ผู้เรียนเรียนซ้ำใน ๒ กรณี ดังน้ี

๒๑๑ กรณีที่ ๑ เรยี นซ้ำรายวิชาเม่ือผ้เู รยี นซ่อมเสรมิ และสอบแก้ตวั ๒ ครัง้ แลว้ ไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา โดยจัดให้เรียนซ้ำในช่วงใดช่วงหน่ึงที่ สถานศึกษาเห็นวา่ เหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยดุ ชว่ั โมงว่างหลงั เลกิ เรียน ภาคฤดูรอ้ น เป็นตน้ กรณที ่ี ๒ เรยี นซ้ำชน้ั มี ๒ ลักษณะ คอื - ผู้เรียนมีระดับผลการเรยี นเฉล่ียในปกี ารศกึ ษาน้ันตำ่ กวา่ ๑.๐๐ และมีแนวโน้มวา่ จะ เปน็ ปัญหาตอ่ การเรยี นในระดับชนั้ ทสี่ งู ขนึ้ - ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐ , ร , มส เกินคร่ึงหน่ึงของรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนในปี การศกึ ษานั้น ทั้งน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณ ะหนึ่ง หรือท้ัง ๒ ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งต้ัง คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิม และให้ใช้ผล การเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้ำช้ัน ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการแก้ไขผลการ เรยี น การสอนซอ่ มเสริม การสอนซ่อมเสริม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเป็นการให้โอกาสแก่ ผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัดที่กำหนดไว้ การ สอนซอ่ มเสรมิ เปน็ การสอนกรณพี ิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรยี นรู้ปกติเพอื่ แกไ้ ข ขอ้ บกพร่องท่พี บในผเู้ รียน โดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และคำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ของผู้เรยี น การสอนซอ่ มเสริมสามารถดำเนนิ การไดใ้ นกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพ้ืนฐานไม่เพียงพอท่ีจะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ควรจัดการ สอนซอ่ มเสริม ปรับความร/ู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน ๒. การประเมินระหว่างเรียนผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรอื เจต คติ / คุณลักษณะ ที่กำหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด ๓. ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ำกวา่ เกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนไดร้ ะดับผลการ เรียน “๐” ตอ้ งจัดการซอ่ มสอนเสริมกอ่ นจะใหผ้ เู้ รียนสอบแกต้ ัว ๔. ผ้เู รียนมีผลการเรยี นไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูรอ้ น ทัง้ น้ีให้อยู่ในดลุ ย พินิจของสถานศกึ ษา ข้อ ๑๐ เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการเรยี นจบหลกั สูตรสถานศกึ ษา เพือ่ ให้ผเู้ รยี นหลักสูตรการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐานท่ีผ่านการศึกษาแต่ละระดบั การศกึ ษา และจบหลกั สตู รสถานศกึ ษาครบถ้วนตามโครงสร้างของ หลกั สตู รของสถานศึกษา และมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร

๒๑๒ ระดบั ประถมศกึ ษา ๑. ผู้เรียนเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและรายวชิ า/กิจกรรมเพิ่มเติมโดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐานตามโครงสร้าง เวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกำหนดและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษา กำหนด ๒. ผูเ้ รยี นมเี วลาเรียนรายวิชาพน้ื ฐานและรายวชิ าเพิ่มเตมิ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๓. ผเู้ รยี นมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานในระดับ ไม่ตำกว่า ๑ ๔. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี นไม่ตำ่ กว่าระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ๕. ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไ์ ม่ตำ่ กว่าระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ๖. ผู้เรยี นตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่าน ทกุ กิจกรรม ระดับมัธยมศกึ ษา ๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพมิ่ เติมโดยเป็นรายวชิ าพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกติ และเป็นรายวิชา เพ่ิมเตมิ ตามท่ีสถานศึกษากำหนด ๒. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกิต และรายวิชาเพม่ิ เติมไม่น้อยกว่า ๑๑ หนว่ ยกติ ๓. ผู้เรียนมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียนไมต่ ่ำกว่าระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ๔. ผเู้ รียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ไม่ตำ่ กว่าระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ๕. ผ้เู รียนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมผี ลการประเมิน ผ่าน ทุกกจิ กรรม

๒๑๓ หมวด ๓ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี น ข้อ ๑๑ การตดั สนิ ผลการเรียนให้ถอื ปฏิบัติดังน้ี ระดับประถมศกึ ษา ๑. ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒. พจิ ารณาตดั สนิ ว่า ผู้เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ รายวชิ าตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้งั ๘ กลุ่ม และได้รบั ผลการเรียน ๑ ถึง ๔ ๓. ไดร้ ับการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เปน็ รายปี และนำไปตัดสนิ การ ผา่ นระดับการศกึ ษา โดยผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ให้ได้ระดับผลการประเมิน “ผา่ น” ถา้ ไม่ผา่ นเกณฑก์ าร ประเมนิ ใหไ้ ดผ้ ลการประเมิน “ไมผ่ า่ น” ๔. ไดร้ ับการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้เู รยี นเปน็ รายรายปี และนำไปตดั สิน การผ่านระดับการศกึ ษา โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดใหไ้ ด้ผลการประเมนิ เป็น ดีเยย่ี ม ดี และ ผา่ น ถ้าไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินให้ไดผ้ ลการประเมนิ เปน็ “ไม่ผา่ น” ๕.ไดร้ ับการตดั สินการเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนเป็นรายปีและรายระดบั การศกึ ษา โดย ถ้าผา่ นเกณฑ์การประเมินให้ไดผ้ ลประเมินเปน็ “ผ่าน” และถ้าไม่ผา่ นเกณฑ์ให้ผลการประเมนิ ได้ “ไม่ผา่ น” ระดับมธั ยมศึกษา ๑. ผู้เรยี นต้องมเี วลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด ๒. พจิ ารณาตดั สนิ วา่ ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินรายวชิ าตามกลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู งั้ ๘ กลุ่ม และได้รับผลการเรียน ๑ ถึง ๔ ๓. ได้รบั การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เปน็ รายปี และนำไปตดั สนิ การ ผา่ นระดบั การศกึ ษา โดยผ่านเกณฑ์การประเมินใหไ้ ด้ระดับผลการประเมนิ “ผ่าน” ถ้าไมผ่ ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ให้ได้ผลการประเมิน “ไม่ผา่ น” ๔. ได้รบั การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นรายรายปี และนำไปตดั สนิ การผา่ นระดบั การศึกษา โดยถา้ ผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดใหไ้ ด้ผลการประเมนิ เป็น ดีเยย่ี ม ดี และ ผา่ น ถา้ ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ให้ได้ผลการประเมินเป็น “ไม่ผา่ น” ๕.ไดร้ บั การตดั สินการเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นเป็นรายปีและรายระดับการศึกษา โดย ถ้าผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ใหไ้ ด้ผลประเมนิ เปน็ “ผ่าน” และถ้าไม่ ๖. วดั ผลกลางปหี รอื ปลายปีเฉพาะผ้ทู ี่มเี วลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ อ้ ยกว่า รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในรายวชิ านน้ั ๗. ผ้เู รียนทีม่ ีเวลาเรยี นไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในรายวชิ า และไม่มีเหตุสุดวิสัยให้ ได้รับการผ่อนผันจากหวั หนา้ สถานศึกษาใหพ้ ิจารณาตดั สนิ ผลการเลื่อนชั้นหรือการเรียนซ้ำช้นั ๘. ผเู้ รยี นท่ีมีผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรยี น “๐”

๒๑๔ ๙. ผเู้ รยี นท่ที ุจรติ ในการสอบหรอื ทจุ ริตในงานทมี่ อบหมายให้ทำหรือไมส่ ่งงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายในรายวิชาใด คร้ังใด ก็ตาม ให้ไดค้ ะแนน “๐” ในคร้งั นน้ั ๑๐. ผเู้ รยี นทไ่ี มไ่ ด้เขา้ รบั การวดั ผลปลายปหี รือปลายปี หรือมีเหตสุ ุดวสิ ยั ที่มี หลกั ฐาน ชัดเจนทำให้ประเมินผลการเรียนไมไ่ ด้ ใหร้ ายงานต่อหัวหนา้ สถานศกึ ษา และใหไ้ ด้ผลการเรยี น “ร” ข้อ ๑๒ การเปล่ยี นระดับผลการเรยี นให้ถอื ปฏิบัตดิ ังนี้ ๑๒.๑ การเปลยี่ นระดบั ผลการเรียนจาก “๐” ใหค้ รผู สู้ อนดำเนนิ การพัฒนาผ้เู รียน โดยซ่อม เสรมิ ปรบั ปรุง แกไ้ ข ผเู้ รียนในผลการเรยี นรูท้ ไี่ มผ่ ่านเกณฑ์ขนั้ ต่ำ แลว้ ประเมนิ ด้วยวธิ ีการท่ีมี ประสิทธิภาพ จนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินและให้ระดับผลการเรียนใหม่ ให้ได้ ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” โดยดำเนินการพัฒนาผู้เรียน ๒ ครั้ง ให้เสร็จส้ินในภาคเรียน ตอ่ ไป ๑๒.๒ การเปลี่ยนผลการเรยี นตามข้อ ๑๑ ขอ้ ๑๐ ใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรียน เป็น ๑ ๑๒.๓ การเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” ให้สถานศึกษาดำเนินการซ่อมเสริม ปรับปรุง แกไ้ ข ผเู้ รียนในสว่ นท่ีไมผ่ า่ นการประเมนิ ตามระยะเวลาทส่ี ถานศึกษากำหนด ๑๒.๔ การเปล่ยี นผลการเรียนจาก “มส” ตามขอ้ ๑๑.๗ ใหส้ ถานศกึ ษาดำเนินการซอ่ มเสริม ปรับปรุง แก้ไข ผู้เรียนตามระยะเวลาท่ีสถานศึกษากำหนด ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” และหากผู้เรียนมเี วลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ในรายวิชาใดให้เรียนซำ้ ในรายวชิ านัน้ ๑๒.๕ การเปลี่ยนผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับ “ไมผ่ า่ น” ให้ คณะกรรมการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคด์ ำเนนิ การจดั กิจกรรมซ่อมเสรมิ ปรับปรุงแก้ไข หรอื ตาม วธิ ีการที่คณะกรรมการกำหนด เพื่อใหผ้ ู้เรยี นผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด ขอ้ ๑๓ การตัดสนิ ให้ผู้เรยี นผ่านระดับการศกึ ษา ให้เป็นไปตาม ข้อ ๑๐.๑ หรอื ๑๐.๒ ถา้ ผู้เรยี นไมผ่ ่านระดับการศกึ ษาให้ดำเนนิ การซ่อมเสริม แลว้ ทำการประเมนิ จนผเู้ รียนสามารถผา่ น เกณฑ์การประเมนิ ทส่ี ถานศึกษากำหนด

๒๑๕ หมวด ๔ การเทียบโอนผลการเรียน ขอ้ ๑๔ การเทยี บโอนผลการเรยี น หมายถงึ การนำผลการเรียนซ่ึงเปน็ ความรูท้ ักษะ และ ประสบการณ์ของผเู้ รียนท่เี กดิ จากการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และ ผลการศกึ ษา จากตา่ งสถานศึกษามาประเมนิ เปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลักสูตรใดหลกั สตู รหนึ่งที่ กำลังศึกษา โดยคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และวิชาการของสถานศกึ ษากำหนดจำนวน รายวิชาที่ สถานศึกษาจำกดั ให้ผูเ้ รียนสามารถขอเทยี บโอนได้ในการศึกษาตาม หลักสตู รของสถานศึกษาแต่ละระดับ การศึกษา ท้งั นผ้ี ้เู รียนจะต้องเหลือรายวิชาทจ่ี ะต้องศึกษาในสถานศกึ ษา อีกอย่างนอ้ ย ๑ ภาคเรียน ขอ้ ๑๕ สถานศึกษาแต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินการเทยี บโอนผลการเรยี นของสถานศึกษาให้ปฏิบัติ หน้าท่ีกำหนดสาระ จดั สรา้ งเครื่องมือ สำหรบั การเทียบโอนผลการเรยี น และดำเนนิ การเทียบโอนผลการ เรยี น โดยคณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ทำการเทยี บโอนผลการเรียนให้ ผู้เรยี นดงั น้ี (๑) ให้ดำเนนิ การให้เสร็จภายในภาคเรียนแรกท่ผี ู้เรยี นเข้าศึกษาในสถานศกึ ษายกเวน้ กรณีมี เหตจุ ำเป็น (2) ใหเ้ ทยี บโอนผลการเรยี นเป็นรายวิชา (๓) ผู้เรยี นย่ืนคำร้องเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรขอเทียบความรูต้ ามรายวิชาในหลักสตู รของ สถานศกึ ษา ตามจำนวนวิชาทีส่ ถานศึกษากำหนดไวใ้ นระเบียบการเทียบโอนผลการเรยี นของสถานศกึ ษา ให้ ผ้เู รยี นยื่นคำร้อง พรอ้ มเอกสารหลกั สตู รทนี่ ำมาขอเทยี บ และเอกสารการศึกษาท่ไี ดร้ บั (๔) คณะกรรมการดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน จัดใหม้ ีการประเมินความรู้ ความสามารถ และประสบการณข์ องผู้เรียนใหม่ ตามผลการเรยี นรขู้ องรายวิชาท่ผี ู้เรียนขอเทียบ (๕) คณะกรรมการดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา อนุมัตผิ ลการเทยี บโอนผลการเรียน ขอ้ ๑๖ เอกสารหลกั การเทียบโอน ๑๖.๑ การเตรยี มเอกสารให้นักเรียนกรณียา้ ยสถานศึกษา - ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) - สมดุ รายงานประจำตัวนักเรยี น - แบบบันทึกการพัฒนาคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - ใบรบั รองผลการเรยี น และ เวลาเรยี น ๑๖.๒ การตรวจสอบคุณสมบตั ิผเู้ รียนกรณรี บั ยา้ ย สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่างๆ เชน่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรปู แบบการศกึ ษา การย้ายหลักสูตร การละทงิ้ การศกึ ษา

๒๑๖ และขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยัง สามารถเทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรูอ้ ื่นๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบนั ทาง ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชพี การศึกษาโดยครอบครัว การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกหรือต้นภาคเรียนแรกท่ี สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นนักเรียน ทั้งน้ีนักเรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเน่ือง ในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา จำนวนหน่วยกติ ท่จี ะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดำเนนิ การได้ดังน้ี ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซ่ึงจะให้ข้อมูลที่แสดงความรู้ ความสามารถของนักเรยี นใน ด้านต่างๆ ๒. พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิจริง การทดสอบ การสมั ภาษณ์ เป็นตน้ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏบิ ตั ิจริง ๔. ในกรณีมีเหตผุ ลจำเป็นระหว่างเรียน นักเรียนสามารถแจ้งความจำนงขอไปศึกษาบางรายวิชา ในสถานศึกษา/สถานประกอบการอ่ืน แล้วนำมาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลกั สูตรและวชิ าการของสถานศึกษา ๕. การเทียบโอนผลการเรียนให้ดำเนินการในรปู ของคณะกรรมการการเทียบโอน จำนวนไมน่ ้อย กวา่ ๓ คน แตไ่ มค่ วรเกนิ ๕ คน ๖. การเทียบโอนใหด้ ำเนนิ การดังน้ี ๖.๑ กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นำรายวิชาหรือหน่วยกิตที่มี ตัวช้ีวัด/มาตรฐานการเรียนรู/้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั /จุดประสงค/์ เนื้อหา ที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ มาเทยี บโอนผลการเรียน และพจิ ารณาให้ระดับผลการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรท่ีรบั เทียบโอน ๖.๒ กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสาร หลกั ฐาน (ถา้ มี) โดยให้มกี ารประเมินด้วยเครือ่ งมือที่หลากหลาย และให้ระดบั ผลใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรที่ รับเทียบโอน ๖.๓ กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปล่ียนต่างประเทศ ให้ดำเนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสำหรับนักเรียนท่ีเข้าร่วม โครงการแลกเปลยี่ น ท้ังน้ี วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการและแนว ปฏบิ ตั ิที่เกีย่ วขอ้ ง

๒๑๗ หมวด ๕ หน้าท่ีของสถานท่ศี ึกษา ขอ้ ๑๗ โรงเรยี นบา้ นโนนสวา่ งจัดให้มเี อกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ดงั นี้ ๑๗.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) เป็นเอกสารบนั ทกึ ผลการเรยี นของผูเ้ รยี นตาม สาระการเรียนรกู้ ลุ่มวชิ าและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทไี่ ดเ้ รียนในแต่ละระดบั การศกึ ษาของหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพอื่ ใหเ้ ปน็ หลกั ฐานผู้เรียนจบการศึกษาแต่ละระดบั หรือเมื่อผเู้ รียนออกจากสถานศึกษา เพอื่ ใช้ในการ สมคั รเขา้ ศกึ ษาต่อ สมัครทำงานหรอื ดำเนนิ การในเรื่องอื่นทเี่ กยี่ วข้อง ๑๗.๒ หลกั ฐานแสดงวุฒิการศกึ ษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ.๒) เปน็ เอกสารท่ี สถานศกึ ษาออกใหก้ บั ผู้สำเรจ็ การศึกษาและรบั รองวฒุ กิ ารศึกษาของผูเ้ รียน ให้ผเู้ รียนนำไปใช้เป็นหลกั ฐาน แสดงระดบั วุฒกิ ารศึกษาของตน ๑๗.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เป็นแบบรายงานรายช่ือและข้อมูลของ ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ ยืนยันและรับรองความสำเร็จและวุฒิการศึกษาของผู้สำเร็จการศึกษาแต่ละคน ต่อเขตพื้นที่การศึกษาและ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร- ๑๗.๔ แบบบันทึกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นแบบบันทึกที่แสดงถึง ความกา้ วหน้าในการพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรียนเป็นรายบคุ คล ๑๗.๕ สมดุ บันทกึ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน เป็นเอกสารสำหรบั ผสู้ อนใช้บนั ทึกเวลา เรียน ข้อมลู ผลการวดั และประเมินผลการเรียน ขอ้ มลู การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รียนแตล่ ะ คนที่เรยี นในหอ้ งเรียนกลุม่ เดยี วกัน เพอื่ ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน ปรบั ปรงุ แก้ไข ส่งเสรมิ และตัดสินผลการเรียนของผ้เู รยี น รวมท้งั ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั ตรวจสอบ ยืนยนั สภาพ การเรียน การมีส่วนรว่ มในกิจกรรมตา่ ง ๆ และผลสมั ฤทธิ์ของผเู้ รียนแต่ละคน ๑๗.๖ สมุดรายงานประจำตัวนกั เรยี น เป็นเอกสารสำหรบั บันทกึ ข้อมูลเก่ียวกบั ผลการ เรียน พฒั นาการในดา้ นตา่ งๆ และขอ้ มลู อนื่ ๆ ของผู้เรียนๆ เปน็ รายบุคคลอยา่ งต่อเนอื่ ง ตลอดชว่ งระยะเวลา การศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ระเบยี นสะสมใหข้ ้อมูลทีเ่ ปน็ ประโยชนใ์ นการแนะ แนวทางการศึกษาและการประกอบอาชพี ของผูเ้ รียน การพัฒนาปรับปรงุ บุคลิกภาพ การปรบั ตวั ของผู้เรยี น และผลการเรยี นตลอดจนรายงานกระบวนการพฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รยี นระหวา่ งสถานศกึ ษากับบ้าน และใช้ เป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบคุณสมบัติของผเู้ รียนตามความเหมาะสม ๑๗.๗ ใบรบั รองผลการศึกษา เปน็ เอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผูเ้ รยี นเป็นการเฉพาะกจิ เพื่อรบั รองสถานภาพทางการศกึ ษาของผ้เู รียนเป็นการช่วั คราว ท้ังกรณผี ู้เรียนยังไม่สำเร็จ การศกึ ษาและ สำเรจ็ การศึกษาแล้ว

๒๑๘ หมวด ๖ บทเฉพาะกาล ข้อ ๑๘ ในกรณนี ักเรียนท่เี รียนตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ ซึง่ ควรจะจบ หลกั สูตรในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ หรอื กอ่ นปีการศกึ ษา ๒๕๕๓ แตไ่ ม่สามารถจบหลักสตู รได้ตามกำหนด ให้ ใชร้ ะเบียบฉบับนี้ ข้อ ๑๙ กรณมี ีการเปลีย่ นแปลงแก้ไข ใหเ้ สนอคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานอนุมตั ิและให้ ความเห็นชอบก่อนนำไปใช้การกำหนดการปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษาและระเบียบวา่ ด้วยการวัดและ ประเมนิ ผลนี้ ควรดำเนนิ การปรบั ปรุงทุก ๓ ปกี ารศกึ ษา โดยคำนงึ ถงึ ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน หรอื ประเทศชาติภายใต้ศักยภาพของสถานศึกษา ข้อ ๒๐ ให้คณะกรรมการการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ ประเมินเชงิ วจิ ัยการใช้หลักสูตร สถานศึกษาและความสมบูรณข์ องระเบียบน้ปี ระจำปีการศกึ ษา และรายงานผลการประเมนิ เพือ่ เป็นขอ้ มลู ให้ ผูเ้ กยี่ วข้องรับทราบและดำเนินการในสว่ นทีต่ ้องแก้ไขปรับปรุงต่อไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ (ลงช่ือ) ศกั ดา ศกั ดิ์ศรี (นายศกั ดา ศักดิ์ศรี) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นโนนสวา่ ง

๒๑๙ ตอนที่ ๒ คำอธบิ ายระเบียบสถานศึกษาวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นโนนสวา่ ง พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น เปน็ การประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน การ ฟัง การดแู ละการรับรู้ จากหนังสอื เอกสารและส่ือตา่ งๆ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง แล้วนำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่ นำไปส่กู ารแสดงความคิดเห็น การสงั เคราะห์สรา้ งสรรคใ์ นเรื่องตา่ งๆ และถ่ายทอดความคิดน้ันดว้ ยการเขยี น ซ่งึ สะท้อนถงึ สตปิ ัญญา ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แกป้ ญั หาและสรา้ งสรรค์ จินตนาการอย่างเหมาะสมและมคี ุณคา่ แก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์ และทักษะใน การเขยี นที่มีสำนวนภาษาถกู ตอ้ ง มเี หตผุ ลและลำดับขัน้ ตอนในการนำเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ ผู้อา่ น ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ตามระดับความ สามารถในแต่ละระดบั ชนั้ การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น สรปุ ผลเปน็ รายปเี พื่อวนิ จิ ฉัย และใช้เปน็ ข้อมูลเพ่ือประเมินการเลื่อนชนั้ เรยี นและการจบการศกึ ษาระดับ ประถมศึกษา การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ เป็นเงอ่ื นไขสำคัญทส่ี ถานศึกษากำหนดให้ ผู้เรยี นทุกคนตอ้ งได้รบั การประเมนิ ใหผ้ ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด จึงจะไดร้ บั การตดั สินการศึกษาแต่ ละช่วงชนั้ ท้งั นีเ้ พราะการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนได้รับการฝกึ ฝนใหม้ ีความสามารถ พืน้ ฐานของการเรียนร้ใู นทุก ๆ ดา้ นอยา่ งจรงิ จัง อันเป็นส่งิ สำคัญอยา่ งหนงึ่ ในการพัฒนาและยกระดับ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในสว่ นของประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ตามหลักสตู ร สถานศึกษาโรงเรียนบา้ นโนนสว่าง พุทธศักราช ๒๕๕๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ไดก้ ำหนดขนั้ ตอนในดำเนินการประเมนิ ดังน้ี ข้นั ตอนการพฒั นาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนของโรงเรียนบ้านโนนสว่าง ประชมุ ชี้แจงแนวการส่งเสริม/พัฒนา กำหนดเกณฑ์ คณะกรรมการพฒั นาและประเมนิ การประเมนิ และแนวทางการวดั ผลประเมินผล การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ดำเนนิ การสง่ เสริม/พัฒนา ควบคกู่ บั การจดั กิจกรรม ครผู สู้ อน การเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ ครูผสู้ อน ครทู ปี่ รกึ ษา/ครปู ระจำชั้น วัดผล ประเมินผล บันทกึ ผล (สรุปผล) หรือผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

๒๒๐ ประมวลผล สรุปผล คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ การ อา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ไมผ่ า่ น ผา่ น ซ่อมเสริม - ครูประจำชัน้ ดเี ยี่ยม - ครทู ่ีปรึกษา ดี - นายทะเบียน ผ่าน บันทึกผล ๑. ขั้นตอนในดำเนนิ การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ๑.๑ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง รว่ มกนั กำหนดเกณฑ์มาตรฐานการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น แนวทาง การดำเนินการและวธิ ีการประเมิน ตลอดจนเกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ และแนวทางการซ่อมเสริมปรบั ปรงุ ผู้เรยี น ดงั นี้ คือ ระดับประถมศกึ ษา ใช้วิธกี ารบรู ณาการความสามารถ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน เข้ากบั หน่วยการเรียนรู้ ในรายวิชา ทม่ี ีสดั ส่วนเพียงพอสามารถเป็นตวั แทนได้ เมอื่ นำหนว่ ยการเรียนรไู้ ปจัด กิจกรรมการเรียนรู้ แตล่ ะรายวิชาแลว้ มีผลการประเมินของผเู้ รยี นเป็นผลงานในหน่วยการเรียนรูใ้ หน้ ำผลการ ประเมินน้ันนบั เข้าเปน็ ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ระดับมัธยมศึกษา ใชว้ ิธกี ารบูรณาการความสามารถ การอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น เขา้ กับหน่วยการเรยี นรู้ ในรายวชิ า ทีม่ ีสดั สว่ นเพียงพอสามารถเป็นตัวแทนได้ เมือ่ นำหน่วยการเรยี นร้ไู ป จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แต่ละรายวชิ าแลว้ มผี ลการประเมนิ ของผู้เรียนเป็นผลงานในหน่วยการเรยี นรู้ให้นำผล การประเมนิ นัน้ นบั เขา้ เป็นผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน ๒. ขอบเขตการประเมนิ และตวั ช้วี ัดทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ นคดิ วิเคราะห์และเขียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ การอ่านจากส่อื ส่ิงพมิ พแ์ ละหรือส่ือประเภทต่างๆ ทใ่ี ห้ความเพลิดเพลิน ความรู้ ประสบการณแ์ ละมี ประเด็นให้คิดและเขียนบรรยายถ่ายทอดประเด็นท่ีคิดด้วยภาษาท่ีถูกต้อง เหมาะสม เช่น อ่านนิยาย เรื่อง สน้ั นิทาน นิยายปรัมปรา ตวั ช้ีวัดความสามารถในการอา่ นคิดวิเคราะห์และเขียน 1. สามารถอ่านและหาประสบการณจ์ ากสอ่ื ท่ีหลากหลาย

๒๒๑ 2. สามารถจับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจรงิ ความคดิ เห็นเรื่องทอ่ี ่าน 3. สามารถเปรียบเทียบแง่มุมต่าง ๆ เช่น ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม 4. สามารแสดงความคิดเหน็ ต่อเรือ่ งทอ่ี า่ น โดยมีเหตุผลประกอบ 5. สามารถถ่ายทอดความคดิ เห็น ความรสู้ ึกจากเร่ืองที่อ่านโดยการเขียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖ การอ่านจากส่ือสง่ิ พิมพแ์ ละหรือส่ือประเภทตา่ งๆ ที่ให้ข้อมลู สารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ทีเ่ อื้อ ให้ผู้อ่านนำไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดโดยการเขียนเป็นความ เรียงเชิงสร้างสรรค์ด้วยถอยคำภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจน เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสื อเรียน บทความ สุนทรพจน์ คำแนะนำ คำเตอื น ตวั ชว้ี ัดความสามารถในการอา่ นคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น 1. สามารถอา่ นเพอ่ื หาข้อมูลสารสนเทศเสริมประสบการณจ์ ากส่ือประเภทตา่ ง ๆ 2. สามารถจับประเดน็ สำคัญ เปรียบเทียบ เช่ือมโยงความเปน็ เหตุเป็นผลจากเรื่องทอี่ า่ น 3. สามารถเชอื่ มโยงความสมั พนั ธ์ของเรอื่ งราว เหตุการณข์ องเรื่องทอ่ี า่ น 4. สามารถแสดงความคิดเหน็ ต่อเร่อื งทีอ่ ่าน โดยมเี หตผุ ลสนับสนุน 5. สามารถถ่ายทอดความเขา้ ใจ ความคดิ เหน็ คณุ คา่ จากเรอื่ งท่อี ่าน โดยการเขียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ การอา่ นจากส่อื สิง่ พิมพ์และสื่ออีเล็กทรอนิกสท์ ใี่ ห้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรูเ้ กี่ยวกับสังคมและ ส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อให้ผู้อ่านนำไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าที่ได้ นำไปประยุกต์ใช้ด้วย วิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสม เช่น อ่าน หนงั สือพมิ พ์ วารสาร หนงั สือเรียน บทความ สุนทรพจน์ คำแนะนำ คำเตือน แผนภมู ิ ตาราง แผนท่ี ตัวชี้วัดความสามารถในการอา่ นคิดวเิ คราะห์และเขยี น ๑. สามารถคดั สรรสือ่ ทต่ี ้องการอา่ นเพือ่ หาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถ สรา้ งความเขา้ ใจและประยุกต์ใชค้ วามรจู้ ากการอา่ น ๒. สามารถจับประเด็นสำคญั และประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง ๓. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลำดับความและความ เป็นไปไดข้ องเรือ่ งทีอ่ ่าน ๔. สามารถสรปุ คุณค่า แนวคิด แงค่ ดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ น ๕. สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความแสดงความคดิ เห็น โตแ้ ยง้ สนบั สนุน โนม้ น้าวโดย การเขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ผงั ความคดิ เป็นตน้ ๑.๒ สร้างเกณฑก์ ารคุณภาพการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน พรอ้ มทัง้ ตัวชีว้ ดั ความสามารถ ดังนี้ ๓. เกณฑ์คุณภาพผลงานการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นส่ือความระดบั ประถมศึกษา

๒๒๒ ประเดน็ ๓ ระดบั คะแนน ๑ การประเมิน - เรียงลำดบั เรอื่ งราวได้ ๒ - เรียงลำดับเร่อื งราวได้ การนำเสนอเน้ือหา แตม่ ีการวกวนบา้ ง เหมาะสม ไมว่ กวน - เรียงลำดบั เรื่องราวได้ - แสดงความคิดเห็น การใช้ภาษา - แสดงความคิดเหน็ เหมาะสม ไมว่ กวน ประกอบ ประกอบไดอ้ ยา่ งมี - แสดงความคดิ เห็น - ข้อมูลสนบั สนนุ หรอื เหตผุ ลและสร้างสรรค์ ประกอบไดอ้ ย่างมี ประเด็นยงั ไม่ชดั เจน - นำเสนอประเด็นสำคญั เหตุผล ที่ทำใหเ้ หน็ ความชัดเจน - นำเสนอขอ้ มูลชดั เจน - เขยี นสะกดคำถกู ตอ้ งตาม ของเรอื่ ง แต่บางประเด็นไมช่ ัดเจน อกั ขรวิธี - ประเมนิ สงิ่ ท่ีเป็นประโยชน์ - เลือกใชค้ ำตรงความหมาย ในการดำเนินชีวิตได้ - เขียนสะกดคำถกู ต้องตาม ถกู ตอ้ ง อกั ขรวิธี - เขยี นสะกดคำถูกตอ้ งตาม - เลือกใชค้ ำตรงความหมาย อกั ขรวธิ ี - ใชภ้ าษาเหมาะสมกับระดับ - เลือกใช้คำตรงความหมาย ภาษา - ใชภ้ าษาเหมาะสมกบั ระดับ ภาษา - ใชภ้ าษาส่อื สารตรง จดุ ประสงค์

๒๒๓ เกณฑ์ประเมนิ โครงงานตามความสนใจ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นโนนสว่าง เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คณุ ภาพของเกณฑ์ ๓ ๒๑ ๑. ชอื่ เร่อื ง สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ และมี สอดคล้องกับสถานการณ์ แตไ่ ม่มี ไมส่ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และไม่มี ความชัดเจน ความชัดเจน ความชัดเจน ๒. ที่มาและ ระบุปัญหาและความสำคญั ของ ระบุปญั หาและความสำคญั ของ ระบปุ ญั หาและความสำคญั ของปัญหา ความสำคญั ปัญหาได้สอดคล้องชดั เจน ปญั หาไดส้ อดคล้องแตไ่ มช่ ัดเจน ไมส่ อดคลอ้ งและชดั เจน ๓. กำหนดนิยามเชิง กำหนดความหมายและขอบเขต กำหนดความหมายและขอบเขต กำหนดความหมายและขอบเขตของคำ ปฏิบตั ิการ ของคำนิยามไดช้ ดั เจนสามารถ ของคำนิยามไดช้ ัดเจน แต่ไม่ นยิ ามไม่ชัดเจน ไม่สามารถสังเกตไดแ้ ละ สังเกตและวดั ได้ สามารถสงั เกตและวัดได้ วัดได้ ๔. จุดมุ่งหมาย ระบสุ ิง่ ที่ตอ้ งการศกึ ษาสอดคล้อง ระบุสง่ิ ทตี่ ้องการศึกษาสอดคลอ้ ง ระบสุ ่งิ ทตี่ อ้ งการศึกษาไมส่ อดคลอ้ งกบั กบั ช่ือเร่ืองและชัดเจน กับชื่อเรือ่ งแต่ไม่ชดั เจน ชือ่ เรือ่ งและไม่ชดั เจน ๕. สมมติฐานใน เขยี นข้อความบอกความสัมพันธ์ เขยี นข้อความบอกความสัมพนั ธ์ เขยี นข้อความทีไ่ มแ่ สดงความสมั พนั ธ์ การศกึ ษา ระหว่างตัวแปรต้นและตวั แปร ระหวา่ งตัวแปรต้นและตวั แปรตาม ระหวา่ งตัวแปรตน้ และตัวแปรตาม ตามไดถ้ ูกตอ้ ง เปน็ เหตเุ ป็นผล ได้แต่ไม่ เป็นเหตเุ ปน็ ผล ๖. ตวั แปรทศ่ี ึกษา กำหนดตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม กำหนดตัวแปรไดถ้ กู ต้อง ๒ ใน ๓ กำหนดตัวแปรไดไ้ ม่ถูกตอ้ ง และตัวแปรควบคมุ ได้ถูกต้อง ๗. เคร่ืองมอื / อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ/อปุ กรณท์ ่ีใชเ้ หมาะสม เครือ่ งมือ/อปุ กรณท์ ี่ใช้เหมาะสม เครอ่ื งมือ/อุปกรณท์ ี่ใช้ไมเ่ หมาะสมและ ที่ใช้ และสอดคลอ้ งกับวธิ กี ารศึกษา และสอดคล้องกับวธิ กี ารศึกษาบาง ไม่สอดคล้องกับวิธกี ารศกึ ษา ทกุ ข้ันตอน ขั้นตอน ๘. วธิ กี ารศกึ ษา กำหนดวิธีการศึกษาเปน็ ไป กำหนดวธิ กี ารศกึ ษาเปน็ ไป กำหนดวิธกี ารศกึ ษาไมถ่ กู ตอ้ ง ๙. ผลการศกึ ษา ตามลำดบั ขน้ั ตอนไดอ้ ยา่ ง ตามลำดับขัน้ ตอนไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง แสดงผลการศกึ ษาไมถ่ ูกตอ้ ง ๑๐. สรุปผลการศึกษา ต่อเนอ่ื งและถูกตอ้ งทุกตอน และถูกตอ้ งเพยี งบางตอน แสดงผลการศึกษาไดอ้ ยา่ ง แสดงผลการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง นำเสนอขอ้ มลู ไดอ้ ย่าง แตน่ ำเสนอขอ้ มลู ไม่เหมาะสม เหมาะสม สรปุ ผลให้เหน็ ถึงความสัมพันธ์ สรปุ ผลใหเ้ หน็ ถงึ ความสัมพนั ธ์ของ ไม่สามารถแสดงความสัมพนั ธ์ของข้อมูล ของข้อมลู กบั ตวั แปรทศี่ ึกษาได้ ข้อมลู กับตวั แปรที่ศกึ ษาไดเ้ พียง ที่ได้กบั ตัวแปรท่ีศึกษา อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม บางตวั แปร ๑๑. ความประณตี ผลงานมีความประณีต สะอาด ผลงานมคี วามประณีต สะอาด ผลงานมีความประณีต สะอาด สะอาด เรียบรอ้ ย เรียบรอ้ ยอยใู่ นขัน้ ควรปรบั ปรุง เรยี บรอ้ ยอยู่ในข้นั ดมี าก เรียบรอ้ ยอยู่ในขั้นพอใช้ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพผลงาน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๒๓ - ๓๓ ดเี ยยี่ ม ๑๒ - ๒๒ ดี ๐ - ๑๑ ตอ้ งปรบั ปรุง

๒๒๔ ๑.๓ ประกาศแนวทางในการประเมินใหก้ ับผูเ้ รียน ผู้ท่ีเกยี่ วข้องไดร้ บั ทราบ และชแ้ี จงให้เกิดความเข้าใจ ๑.๔ คณะกรรมการท่ไี ด้รับการแต่งตัง้ จากสถานศึกษาให้ทำหน้าที่ในการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และ เขียนส่ือความ เปน็ ผจู้ ัดทำเคร่ืองมือประเมิน สรุปรวบรวมขอ้ มูล และตดั สนิ ผลการประเมิน ๑.๕ คณะกรรมการดำเนนิ การประเมิน และนำเสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และ วชิ าการของสถานศกึ ษาเพอ่ื ให้ความเห็นชอบ และนำเสนอผูบ้ ริหารอนมุ ัตผิ ล ๒. การประเมินความสามารถการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นปลายปี/ปลายภาค เปน็ การประเมิน ความสามารถการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน เมอ่ื สน้ิ ปกี ารศึกษา เพ่อื สรุปความสามารถของผูเ้ รียนในแต่ ละปกี ารศึกษา โดยให้ดำเนนิ การ ดังนี้ ๒.๑ ผู้มีหนา้ ที่ประเมนิ ทำการตรวจสอบหรอื ประเมินผู้เรยี นในความรับผดิ ชอบตามวิธีการและเคร่ืองมอื ที่ กำหนด เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมูลความสามารถของผู้เรยี นดา้ นการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนอยา่ งเหมาะสม ครบถว้ นตามศกั ยภาพท่ีแทจ้ รงิ ของผเู้ รียน รายงานคณะกรรมการดำเนนิ การประเมนิ อา่ น คดิ วิเคราะห์ และ เขียน ผู้มีหนา้ ทป่ี ระเมนิ สรปุ ผลการประเมินเมอื่ ส้นิ ปกี ารศกึ ษา เพื่อแจ้งให้ผูเ้ รียนไดท้ ราบสถานภาพของตน และทำการปรบั ปรงุ แกไ้ ขตนเองได้ ๒.๒ คณะกรรมการดำเนินการประเมนิ อา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น สรปุ ผลการประเมินเมอื่ ส้ินสุดภาคเรียน ในระดับประถมศกึ ษา ๒.๓ ตัดสนิ ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ๒.๔ แจง้ ผลการประเมนิ ให้ผเู้ รียนและผ้ปู กครองทราบ ๒.๕ ดำเนนิ การซอ่ มเสริม ปรับปรงุ แก้ไข ผเู้ รียนในสว่ นทไี่ มผ่ ่านการประเมนิ ๓. การประเมนิ ตดั สินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น เพ่ือเลอื่ นชน้ั เรียน การประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ของผเู้ รยี นเมื่อจบการศกึ ษาแต่ละชว่ งชน้ั เพอื่ พจิ ารณาตัดสนิ ผ้เู รียนผา่ นช่วงชัน้ ตามเกณฑท์ ี่หลกั สูตรกำหนด การประเมินผู้เรียนเพ่อื ตัดสินการเล่ือนชน้ั ใหใ้ ช้ผลการประเมินปลายปชี ้ันเป็นการประเมินเพ่ือตัดสนิ เลื่อนช้ัน โดยดำเนินการดงั นี้ ๓.๑ ผมู้ ีหน้าท่ีประเมนิ ทำการตรวจสอบหรือประเมินผู้เรียนในความรับผิดชอบตามวิธกี ารและเครื่องมือท่ี กำหนดใหไ้ ด้ข้อมลู ความสามารถของผเู้ รยี นดา้ นการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนสอ่ื ความอยา่ งถูกต้อง ครบถว้ นตามศักยภาพของผู้เรยี น รายงานคณะกรรมการดำเนนิ การประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๓.๒ คณะกรรมการดำเนินการประเมนิ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน พิจารณาตดั สินการผ่านมาตรฐานตาม เกณฑ์ที่สถานศกึ ษากำหนด ๓.๓ ดำเนนิ การซอ่ มเสริม ปรับปรงุ แกไ้ ข ผ้เู รียนในสว่ นท่ีไมผ่ ่านการประเมนิ แล้วประเมินใหม่ ๓.๔ จัดสง่ ผลการประเมินเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ เพ่อื นำเสนอใหผ้ ู้บริหารสถานศกึ ษาอนุมัตผิ ลการตัดสนิ การเล่อื นช้นั ตอ่ ไป

๒๒๕ แบบประเมิน การอา่ น คิด วเิ คราะห์ เขยี น โรงเรียนบ้านโนนสว่าง ประถมศกึ ษาปีท่ี ......... / ........ ภาคเรียนที่ ................... ปกี ารศกึ ษา ................... เลขท่ี ชื่อ - สกุล การอา่ น คิด วเิ คราะหแ์ ละเขียน จากสาระการเรียนรู้ สรปุ การ หมายเหตุ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ประเมนิ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐

๒๒๖ การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านโนนสว่าง พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ .................................................................. การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลกั ษณะที่ต้องการให้เกดิ ข้ึนกับผเู้ รียนอนั เป็นคณุ ลกั ษณะที่ สังคมตอ้ งการ ในด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม จติ สำนึก สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่นื ในสังคมได้อยา่ งมี ความสุข ทงั้ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ตามทหี่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานกำหนดซึง่ มีอยู่ ๘ คุณลกั ษณะ ไดแ้ ก่ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซือ่ สัตย์สุจรติ มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งม่ันใน การทำงาน รักความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลผุ ลได้น้นั ตอ้ งอาศยั การบรหิ ารจัดการ และการมสี ว่ นร่วมจากทุกฝ่าย ได้แก่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ครูท่ี ปรึกษา ครูผู้สอน ผ้ปู กครองและชุมชนท่ตี ้องมงุ่ ขดั เกลา บม่ เพาะ ปลกู ฝงั คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ให้ เกิดขน้ึ แก่ผเู้ รียน ในการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สามารถกระทำได้โดย นำพฤติกรรมบง่ ชี้หรือพฤติกรรมที่ แสดงออกของคณุ ลกั ษณะแตล่ ะดา้ น ทีว่ เิ คราะห์ไว้ บรู ณาการในการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นกลุ่มสาระการ เรียนร้ตู ่าง ๆ ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและโครงการพิเศษตา่ ง ๆ ท่ีสถานศกึ ษาจัดทำขน้ึ เชน่ โครงการวันพอ่ วนั แม่แหง่ ชาติ โครงการลดภาวะโลกรอ้ น วนั รักษ์สงิ่ แวดล้อม แห่เทยี น พรรษา ตามรอยคนดี หรือกิจกรรม ทอ่ี งคก์ รในท้องถนิ่ จดั ข้ึน เปน็ ต้น สำหรบั การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์น้นั โรงเรียนบ้านโนนสวา่ ง จัดให้มกี ารประเมินเปน็ ระยะ ๆ โดยประเมินผลเป็นรายปีในระดับประถมศึกษา เพอื่ ให้มีการสั่งสมและการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง โดยเฉพาะการนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันและประเมินผลสรปุ เมื่อจบปีสุดท้ายของแต่ละระดับการศกึ ษา คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นโนนสวา่ ง ในการกำหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโนนสว่าง ใชค้ ุณลกั ษณะที่ สงั คมต้องการ ในดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม จติ สำนึก สามารถอย่รู ่วมกับผอู้ ่ืนในสงั คมได้อยา่ งมี ความสุข ทั้งในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ตามทห่ี ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกำหนดซงึ่ มอี ยู่ ๘ คณุ ลกั ษณะ เป็นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังมรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ

๒๒๗ ๓. มวี นิ ัย ขอ้ ท่ี ๑ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ นิยาม รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ หมายถงึ คุณลกั ษณะทแี่ สดงออกถงึ การเปน็ พลเมอื งดีของชาติ ธำรงไว้ ซงึ่ ความเปน็ ชาติไทย ศรัทธา ยึดมน่ั ในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ผทู้ ร่ี กั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ คือ ผู้ท่มี ีลกั ษณะซ่งึ แสดงออกถงึ การเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มคี วามสามัคคปี รองดอง ภมู ใิ จ เชิดชูความเป็นชาติไทย ปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนาทีต่ นนบั ถือ และแสดง ความจงรักภักดตี อ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ตวั ชี้วัด ๑.๑ เป็นพลเมอื งดขี องชาติ ๑.๒ ธำรงไวซ้ ่งึ ความเปน็ ชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดม่นั และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ข้อที่ ๒ ซ่ือสัตยส์ ุจริต นยิ าม ซื่อสัตย์สจุ รติ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ การยึดมัน่ ในความถูกตอ้ ง ประพฤติตรงตาม ความเปน็ จรงิ ต่อตนเองและผอู้ น่ื ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ ผทู้ ี่มคี วามซอ่ื สัตยส์ ุจรติ คอื ผู้ท่ปี ระพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ท้งั ทางกาย วาจา ใจ และยึดหลัก ความจรงิ ความถูกตอ้ งในการดำเนนิ ชีวติ มคี วามละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำผดิ ตวั ชีว้ ัด ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเปน็ จริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อผู้อืน่ ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ ขอ้ ที่ ๓ มีวินัย นยิ าม มวี ินัย หมายถงึ คุณลักษณะทแี่ สดงออกถงึ การยดึ มัน่ ในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบยี บข้อบังคับ ของครอบครวั โรงเรียนและสงั คม ผ้ทู ี่มวี นิ ยั คอื ผ้ทู ่ปี ฏิบัติตนตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บงั คับของครอบครวั โรงเรียน และ สงั คม เปน็ ปกตวิ ิสัย ไมล่ ะเมิดสทิ ธิของผู้อืน่ ตัวช้วี ัด ๓.๑ ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บขอ้ บังคบั ของครอบครวั โรงเรียน และสงั คม

๒๒๘ ข้อที่ ๔ ใฝเ่ รียนรู้ นิยาม ใฝเ่ รียนรู้ หมายถึง คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี น แสวงหา ความรู้จากแหลง่ เรียนร้ทู ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ผทู้ ใี่ ฝ่เรยี นรู้ คอื ผทู้ ม่ี ีลกั ษณะซง่ึ แสดงออกถงึ ความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วม กจิ กรรม แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วยการเลือกใช้สอ่ื อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ถา่ ยทอดเผยแพร่ และ นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ตัวชี้วัด ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรม ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ด้วยการเลอื กใช้ สอ่ื อยา่ งเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรสู้ ามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ขอ้ ท่ี ๕ อยอู่ ย่างพอเพียง นยิ าม อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ การดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม มีภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ที่ดี และปรบั ตวั เพ่ืออยูใ่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ผทู้ ่อี ย่อู ย่างพอเพยี ง คือ ผ้ทู ่ีดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งประมาณตน มีเหตผุ ล รอบคอบ ระมดั ระวงั อยูร่ ่วมกบั ผูอ้ นื่ ด้วยความรบั ผดิ ชอบ ไม่เบียดเบยี นผู้อืน่ เห็นคุณคา่ ของทรพั ยากรตา่ ง ๆ มีการวางแผนป้องกนั ความเส่ยี งและพร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง ตัวชีว้ ัด ๕.๑ ดำเนนิ ชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภมู คิ ุม้ กันในตวั ทีด่ ี ปรับตวั เพือ่ อย่ใู นสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ขอ้ ที่ ๖ มุ่งมน่ั ในการทำงาน นิยาม มุ่งมัน่ ในการทำงานหมายถงึ คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตัง้ ใจและรับผิดชอบในการทำหน้าทีก่ าร งาน ด้วยความเพยี รพยายาม อดทน เพื่อใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ผทู้ ่ีมุ่งม่นั ในการทำงาน คอื ผู้ท่มี ลี กั ษณะซ่งึ แสดงออกถึงความต้ังใจปฏิบัตหิ น้าที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ดว้ ยความเพียรพยายาม ท่มุ เทกำลงั กาย กำลังใจ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่ กำหนดและมีความภาคภูมิใจในผลงาน ตัวช้วี ัด ๖.๑ ตัง้ ใจและรับผิดชอบในหนา้ ท่ีการงาน ๖.๒ ทำงานดว้ ยความเพียรพยายาม และอดทนเพ่ือใหง้ านสำเร็จตามเปา้ หมาย ขอ้ ท่ี ๗ รกั ความเป็นไทย นยิ าม รักความเปน็ ไทย หมายถงึ คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงความภาคภมู ิใจ เห็นคุณคา่

๒๒๙ รว่ มอนุรักษ์ สืบทอดภูมปิ ญั ญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมใชภ้ าษาไทย ในการ สอื่ สารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม ผทู้ ่ีรกั ความเปน็ ไทย คือ ผ้ทู ่มี ีความภาคภูมใิ จ เห็นคุณคา่ ชนื่ ชม มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ สบื ทอด เผยแพร่ภูมิปญั ญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย มคี วามกตัญญู กตเวที ใช้ ภาษาไทยในการสอื่ สารอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ตัวช้วี ัด ๗.๑ ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความ กตญั ญูกตเวที ๗.๒ เหน็ คุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ๗.๓ อนุรกั ษ์ และสืบทอดภมู ปิ ญั ญาไทย ข้อท่ี ๘ มีจิตสาธารณะ นิยาม มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการมีส่วนรว่ มในกิจกรรมหรือสถานการณท์ ี่ กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์แกผ่ อู้ ืน่ ชุมชน และสงั คมด้วยความเตม็ ใจกระตือรอื ร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน ผู้ทมี่ ีจิตสาธารณะ คือ ผู้ทม่ี ีลกั ษณะเป็นผู้ใหแ้ ละชว่ ยเหลือผู้อ่นื แบง่ ปัน เสยี สละความสุขสว่ นตน เพื่อทำประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม เข้าใจเหน็ ใจผู้ทม่ี คี วามเดอื ดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมดว้ ย แรงกายสติปัญญาลงมือปฏบิ ัติเพอื่ แก้ปญั หาหรอื รว่ มสร้างสรรคส์ ่งิ ท่ีดงี ามให้เกดิ ในชุมชนโดยไม่หวงั ส่ิงตอบ แทน ตวั ช้ีวัด ๘.๑ ชว่ ยเหลือผูอ้ นื่ ด้วยความเตม็ ใจโดยไม่หวังผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม การพัฒนาและประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรียนบ้านโนนสว่าง ไดไ้ ด้ดำเนินการพัฒนา และประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคเ์ ป็นข้นั ตอนท่ี ชัดเจน สามารถตรวจสอบกลับการดำเนนิ งานได้ ซง่ึ ขั้นตอนการดำเนนิ การวัดและประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ที่โรงเรียนบา้ นโนนสว่าง มีข้นั ตอน ๑) แตง่ ต้ังคณะกรรมการการพฒั นา และประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของ สถานศกึ ษา เพือ่ ๑.๑ กำหนดแนวทางในการพฒั นาและแนวทางการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ และแนวทาง การปรับปรงุ แกไ้ ขปรับพฤตกิ รรม ๑.๒ พิจารณาตัดสนิ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคร์ ายปี (ระดบั ประถม ศกึ ษา) รายภาค (ระดบั มัธยม ศึกษา) จนจบการศึกษา ๑.๓ จดั ระบบการปรบั ปรุงแก้ไขปรบั พฤตกิ รรมด้วยวธิ กี ารอนั เหมาะสม และสง่ ต่อขอ้ มูลเพ่ือการ พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง ๒) พจิ ารณานยิ ามหรอื ความหมายของคุณลักษณะแตล่ ะตัว พรอ้ มท้งั กำหนดพฤตกิ รรมบ่งช้ีหรือ พฤติกรรมท่แี สดงออกของคุณลักษณะแต่ละตวั

๒๓๐ ๓) กำหนดเกณฑ์และแนวทางการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ให้สอดคล้องกับบริบทและ จดุ เนน้ ของสถานศึกษา กำหนดระดับคุณภาพ หรือเกณฑ์ในการประเมนิ ตามทีห่ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานกำหนดไว้ ๓ ระดบั คือ ดเี ย่ียม ดี และ ผ่าน กำหนดประเด็นการประเมนิ ให้สอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ัด คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๔) ใช้วิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยค่าฐานนยิ ม (Mode) แล้วตดั สินผลตามเกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้ นำผลการ ตดั สินให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พจิ ารณาเพอ่ื ดำเนินการสง่ เสรมิ พัฒนา ตอ่ ไป ๕) ให้ครูผสู้ อนแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรแู้ ละผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมายรบั ผิดชอบการพฒั นาและประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รูปแบบการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์โรงเรียนบา้ นโนนสว่าง การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นโนนสว่าง พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ เปน็ การประเมินคุณลกั ษณะที่สงั คมตอ้ งการ ในด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม จิตสำนกึ สามารถ อยรู่ ่วมกับผ้อู ืน่ ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ ท้ังในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ตามที่หลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานกำหนดซ่งึ กำหนดใหด้ ำเนนิ การดงั ต่อไปน้ี ๑.คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา กำหนดแนวทาง การพัฒนา แนวทางการประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน และแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ขซอ่ มเสริมผ้เู รียน ๒.กำหนดคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศึกษาคณะกรรมการพฒั นาและประเมิน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ กำหนดคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษา โดยคุณลกั ษณะอัน พึงประสงค์ ท่กี ำหนดข้นึ หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านโนนสว่าง เปน็ คณุ ลกั ษณะ ตามทห่ี ลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐานกำหนดซ่งึ มอี ยู่ ๘ คุณลกั ษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ย์สจุ รติ มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่ อยา่ งพอเพียง มุง่ มน่ั ในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ ตามเกณฑ์คุณภาพผเู้ รียนในมาตรฐาน สถานศึกษา ๓. การพฒั นาคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ในการพฒั นาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ อง สถานศึกษา กำหนดการพัฒนาไว้ ๒ ลักษณะ คือ ก. การพฒั นาคณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ์ นหอ้ งเรยี น กำหนดใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของผู้สอนแต่ ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรดู้ ำเนินการพฒั นา ประเมนิ ผล และแกไ้ ขปรับปรุงผเู้ รียนในระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคน์ อกห้องเรยี น กำหนดให้เป็นหนา้ ท่ีของบุคลากร ของสถานศึกษา และผู้ที่เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายร่วมกนั พฒั นา ประเมินผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขผู้เรียนอย่างต่อเนอ่ื ง ท้งั ในขณะทร่ี ่วมกจิ กรรม ดำเนินชีวติ ประจำวนั ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ๔. กำหนดวิธกี ารประเมนิ และเครอ่ื งมือการประเมนิ ของสถานศกึ ษา ใหเ้ หมาะสมกับธรรมชาติ และวุฒิภาวะของผูเ้ รยี นโดยแบ่งเครอื่ งมอื ทใี ชใ้ นการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ออกเปน็ ๒ ฉบบั คือ

๒๓๑ ๔.๑ แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคร์ ะดบั ประถมศึกษา ๕. การประเมินผู้เรียน ดำเนนิ การประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เมอ่ื สน้ิ ปีใหผ้ ู้สอนและผทู้ ่ี เกีย่ วขอ้ งกบั ประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ส่งผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ของผ้เู รียนทุก คนทรี่ ับผิดชอบ ใหค้ ณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา ๖. การประมวลผลการประเมินรายปใี ห้คณะกรรมการพฒั นาและประเมินคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคข์ องสถานศึกษา ครปู ระจำชัน้ และครวู ัดผล ดำเนินการประมวลผลตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด โดยใช้ฐานนิยม และพิจารณาตดั สนิ ผลการประเมินคุณลกั ษณะแต่ละประการตามเกณฑท์ ่ีกำหนด ดังน้ี ความหมายของผลการประเมินคณุ ภาพคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดีเยย่ี ม หมายถงึ ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั จิ นเปน็ นิสยั และ นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันเพื่อประโยชนส์ ขุ ของตนเอง และสังคม ดี หมายถึง ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพ่อื ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรบั ของสงั คม ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑแ์ ละเง่ือนไขท่ี สถานศึกษากำหนด ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผู้เรยี นรบั รู้แตไ่ มป่ ฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี สถานศึกษากำหนด ๗. การแจ้และการซอ่ มเสริม คณะกรรมการพฒั นาและประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ อง สถานศกึ ษาแจ้งผลการตัดสินผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี นใหค้ รปู ระจำชน้ั ของผู้เรยี น นำไปกรอกในเอกสารแบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และแจง้ ใหผ้ ูเ้ รียนและผูป้ กครอง ทราบ พร้อมกับดำเนินการปรับปรุงแก้ไขผูเ้ รียนท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามแนวทางทสี่ ถานศึกษาได้ กำหนดไว้ ๘. การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เล่ือนชั้นเรียน และจบการศกึ ษาระดบั ประถม ศกึ ษาตาม หลักสตู ร การพจิ ารณาสรปุ ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อตดั สนิ ให้ผู้เรยี นเลือ่ นช้ันเรียน และจบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา ให้คณะกรรมการพฒั นาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา สรุปผลการประเมนิ เป็นรายปี และนำเสนอผ้บู ริหารสถานศึกษาเพอ่ื อนุมัติ ในกรณที ่ีผู้เรยี น ไม่ผา่ นการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประการใดประการหนึง่ จะตอ้ งเข้ารบั การอบรม และ ปฏิบัติกจิ กรรมคุณความดีชดเชย ตามทใี่ ห้คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ อง สถานศึกษามอบหมายจนครบถว้ นก่อนจึงจะได้รับการอนมุ ัติใหเ้ ลื่อนช้นั เรยี นหรือจบการศึกษา

๒๓๒ แผนผังแสดงข้นั ตอนการดำเนินการวัดและประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประชุมชีแ้ จงแนวทาง คณะกรรมการพัฒนาและ การประเมนิ การเก็บรวบรวม ประเมินคุณลกั ษณะ การรายงานความกา้ วหนา้ การรายงานและสรปุ ผล อันพึงประสงค์ พัฒนาผู้เรยี น ไมผ่ ่านเกณฑ์ พัฒนา บันทกึ วิเคราะห์ แปลผล ครผู ู้สอน / ครูทป่ี รึกษา ประเมินผลและส่งผลการ ครูประจำชน้ั ประเมนิ ใหผ้ ูเ้ กี่ยวขอ้ ง หรือผ้ทู ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย - รบั ผลการประเมนิ ทะเบยี น - วัดผล - ประมวลผล และผู้รับผดิ ชอบ - สรุปผล - บันทกึ ขอ้ มูลใน ปพ.๑ รายงานผลประเมนิ ตอ่ ครูทป่ี รึกษา/ครูประจำชั้น ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง นำข้อมลู ท่ีได้มาวางแผน คณะกรรมการ การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสว่าง พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชีว้ ดั ท่ี ๑.๑ เปน็ พลเมืองดีของชาติ ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้ วิธีการประเมนิ

๒๓๓ ๑.๑ เป็นพลเมอื งดี ๑.๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาติไทย และ - สงั เกตพฤตกิ รรม ของชาตไิ ทย อธิบายความหมายของเพลงชาติไทยไดถ้ ูกตอ้ ง ๑.๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามสิทธิ หนา้ ท่พี ลเมอื งดีของชาติ ๑.๑.๓ มคี วามสามัคคี ปรองดอง เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ตัวช้วี ดั ที่ ๑.๑ เป็นพลเมอื งดขี องชาติ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม (๓) (๐) ยืนตรงเมือ่ ไดย้ ิน ยืนตรงเม่ือไดย้ นิ เพลงชาตไิ ทย รอ้ ง เพลงชาตไิ ทยรอ้ ง ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ ไมป่ ฏิบตั ิ ยนื ตรงเมอื่ ไดย้ นิ เพลงชาตไิ ทยและ เพลงชาตไิ ทยและ ธงชาติ รอ้ งเพลงชาติ ตาม เพลงชาติ รอ้ งเพลง อธบิ ายความ อธบิ ายความ หมายของ เพลง หมายของเพลง ไทยอธบิ ายความหมาย วฒั นธรรม ชาติและอธิบาย ของ ความ หมายของ ชาติไทยได้ ชาติไทยได้ ของเพลงชาติได้ ประเทศ เพลงชาติไทยได้ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไทย ถูกตอ้ ง ๑.๑.๒ ปฏิบตั ติ นตาม เพลงชาติไดถ้ ูกต้อง เพลงชาตไิ ด้ เพลงชาติได้ สทิ ธิ หน้าท่ี พลเมอื งดี ของชาติ ปฏิบตั ติ นตามสทิ ธิ ถกู ตอ้ ง ปฏบิ ัตติ น ถกู ตอ้ ง ปฏบิ ัตติ น ๑.๑.๓ มคี วามสามัคคี และหน้าที่ของ นกั ตามสิทธแิ ละ ตามสทิ ธิและ ปรองดอง เรียน และให้ความ หน้าทขี่ อง หน้าทข่ี อง นัก รว่ มมอื ร่วมใจ ใน นกั เรียน และให้ เรยี นและใหค้ วาม การทำกจิ กรรมกบั ความรว่ มมอื รว่ ม รว่ มมอื ร่วมใจ ใน สมาชิกในช้นั เรยี น ใจ ในการทำ การทำกิจกรรม กิจกรรมกบั กับสมาชกิ ใน สมาชิกในโรงเรยี น โรงเรียนและ ชุมชน ตวั ชว้ี ัดที่ ๑.๒ ธำรงไว้ซึง่ ความเปน็ ชาตไิ ทย ตัวชี้วัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี วิธีการประเมิน - สังเกตพฤตกิ รรม ๑.๒ ธำรงไวซ้ ึง่ ความเป็น ๑.๒.๑ เข้าร่วม สง่ เสริม สนับสนุนกจิ กรรมท่ี ชาตไิ ทย สร้างความสามคั คี ปรองดองที่เป็น ประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชุมชนและสงั คม

๒๓๔ ๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอ้ ง ยกยอ่ งความเปน็ ชาติ ไทย เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ตวั ชีว้ ดั ที่ ๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งความเปน็ ชาติไทย พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓) ๑.๒.๑ เขา้ ร่วม ไม่เขา้ รว่ ม เขา้ ร่วมกจิ กรรมที่ เขา้ รว่ มกิจกรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่งเสรมิ สนับสนุน กจิ กรรม สรา้ งความสามัคคี และมีส่วนร่วมใน และมสี ่วนร่วมใน กจิ กรรมท่สี ร้าง ปรองดอง การจัดกจิ กรรมท่ี การจัดกิจกรรมท่ี ความสามัคคี และเป็นประโยชน์ สรา้ งความสามัคคี สร้างความสามัคคี ปรองดอง ท่ีเป็น ต่อโรงเรยี นและ ปรองดอง ปรองดอง ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน และเป็นประโยชน์ และเป็นประโยชน์ โรงเรยี น ชมุ ชน ตอ่ โรงเรยี นและ ตอ่ โรงเรียน ชมุ ชน และสังคม ชุมชน และสังคม ชื่นชม ๑.๒.๒ หวงแหน ในความเปน็ ชาติ ปกปอ้ ง ยกยอ่ ง ไทย ความเป็นชาติไทย ตวั ชี้วัดท่ี ๑.๓ ศรัทธา ยดึ มั่นและปฏิบตั ิตนตามหลกั ของศาสนา ตวั ช้ีวัด พฤติกรรมบง่ ช้ี วธิ ีการประเมนิ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและ ๑.๓.๑ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื - สังเกตพฤตกิ รรม ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ๑.๓.๒ ปฏิบัตติ นตามหลักของศาสนาท่ตี น ของศาสนา นับถอื ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่างทดี่ ีของศาสนกิ ชน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑.๓ ศรทั ธา ยึดมั่นและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของศาสนา พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓) ๑.๓.๑ เขา้ ร่วม ไมเ่ ขา้ ร่วม เขา้ ร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เขา้ รว่ มกิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม ทางศาสนาที่ตน ทางศาสนาท่ีตน ทางศาสนาทตี่ น ศาสนาท่ีตน นบั ถอื และปฏบิ ัติ นบั ถือและปฏิบัติ นบั ถอื ปฏิบัตติ น นบั ถอื ตนตามหลกั ของ ตนตามหลกั ของ ตามหลักของ ๑.๓.๒ ปฏิบัติตน ศาสนาตามโอกาส ศาสนาอย่าง ศาสนาอย่าง ตามหลกั ของ สมำ่ เสมอ สม่ำเสมอ และ

๒๓๕ ศาสนาที่ตนนับถือ เป็นแบบอยา่ งที่ดี ๑.๓.๓ เป็น ของศาสนิกชน แบบอยา่ งที่ดี ของศาสนกิ ชน ตัวช้วี ัดที่ ๑.๔ เคารพเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ตวั ช้ีวัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี วธิ ีการประเมิน - สังเกตพฤตกิ รรม ๑.๔ เคารพเทดิ ทนู สถาบัน ๑.๔.๑ เขา้ ร่วมและมีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรม พระมหากษตั รยิ ์ ที่เกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ๑.๔.๒ แสดงความสำนกึ ในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษตั รยิ ์ ๑.๔.๓ แสดงออกซง่ึ ความจงรกั ภักดีตอ่ สถาบัน พระมหากษตั ริย์ เกณฑ์การให้คะแนน ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๑. ๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ พฤติกรรมบง่ ช้ี ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดเี ย่ียม (๓) ๑.๔.๑ เข้าร่วม ไมเ่ ขา้ รว่ ม เข้ารว่ มกิจกรรมที่ เขา้ รว่ มกจิ กรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรม และมสี ว่ นร่วมใน กิจกรรม เกยี่ วกบั สถาบัน และมีสว่ นร่วมใน และมสี ่วนร่วมใน การจัดกจิ กรรมที่ พระมหากษัตริย์ การจดั กิจกรรมท่ี การจัดกิจกรรมท่ี เก่ยี วกบั สถาบัน ตามที่โรงเรียน เกย่ี วกบั สถาบัน เกี่ยวกับสถาบนั พระหากษัตรยิ ์ และชมุ ชน พระมหากษัตรยิ ์ พระมหากษัตริย์ ๑.๔.๒ แสดงความ จดั ขนึ้ ตามทีโ่ รงเรียน ตามที่โรงเรียน สำนกึ ในพระมหา และชมุ ชนจัดข้ึน และชุมชนจัดขึน้ กรุณาธคิ ุณพระ ช่นื ชมในพระราช ของ พระมหา กรณียกิจ กษตั รยิ ์ พระปรีชาสามารถ ๑.๔.๓ แสดงออก ของ พระมหากษัตรยิ ์ ซง่ึ ความจงรัก และพระราชวงศ์ ภกั ดีต่อสถาบัน

๒๓๖ พระมหากษตั รยิ ์ ๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ตัวชี้วัดท่ี ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ต่อตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจ ตวั ชว้ี ัด พฤติกรรมบง่ ชี้ วธิ กี ารประเมิน - สังเกตพฤตกิ รรม ๒.๑ ประพฤติตรงตาม ๒.๑.๑ ใหข้ ้อมูลทถี่ ูกต้องและเปน็ จริง ปราศจาก ความเป็นจริงต่อ ความลำเอยี ง ตนเองทั้งทางกาย ๒.๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นโดยคำนึงถงึ ความถกู ต้อง วาจา ใจ ละอายและเกรงกลวั ต่อการกระทำผดิ ๒.๑.๓ ปฏบิ ัตติ ามคำมั่นสญั ญา เกณฑ์การใหค้ ะแนน ตวั ชวี้ ัดท่ี ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบง่ ชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม (๓) ๒.๑.๑ ให้ขอ้ มลู ที่ ไม่ให้ความรว่ มมอื ใหข้ ้อมูลที่ถกู ตอ้ ง ใหข้ อ้ มูลท่ีถกู ตอ้ ง ให้ข้อมูลทถ่ี ูกตอ้ ง ถูกตอ้ งและเปน็ ในกิจกรรมทุก และเป็นจริง และเปน็ จรงิ และเป็นจรงิ ด้าน ปฏบิ ัตใิ นสงิ่ ท่ี ปฏบิ ตั ใิ นสิง่ ที่ ปฏิบตั ิในสง่ิ ท่ี จรงิ ปราศจาก ถกู ต้อง ทำตาม ถกู ต้อง ทำตาม ถกู ตอ้ ง ทำตาม สญั ญาท่ีตนใหไ้ ว้ สญั ญาทต่ี นให้ไว้ สัญญาทตี่ นใหไ้ ว้ ความลำเอียง กบั เพือ่ น พ่อแม่ กับเพอื่ น พ่อแม่ กับเพือ่ น พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง หรือผู้ปกครอง หรือผปู้ กครอง ๒.๑.๒ ปฏิบัตติ น และครู และครู ละอาย และครู ละอาย และเกรงกลัว และเกรงกลวั โดยคำนึงถึงความ ทจ่ี ะทำความผดิ ที่จะทำความผดิ พฤติกรรมบ่งชี้ เป็น แบบอยา่ งทีด่ ีด้าน ถกู ต้อง ละอาย ความซอ่ื สัตย์ และเกรงกลวั ตอ่ การกระทำผิด ๒.๑.๓ ปฏิบตั ิตาม คำมนั่ สญั ญา ตวั ชว้ี ัดที่ ๒.๒ ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ต่อผูอ้ ่ืนทั้งทางกาย วาจา ใจ ตัวชว้ี ัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน

๒๓๗ ๒.๒ ประพฤตติ รงตาม ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่งของหรอื ผลงานของผอู้ นื่ - สังเกตพฤตกิ รรม ความเปน็ จริงตอ่ มาเป็นของตนเอง ผูอ้ ื่นทง้ั ทางกาย ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนต่อผ้อู น่ื ด้วยความซอ่ื ตรง วาจา ใจ ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางทไ่ี มถ่ ูกต้อง เกณฑก์ ารให้คะแนน ตัวช้วี ัดที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ต่อผู้อนื่ ทงั้ กาย วาจา ใจ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม (๓) ๒.๒.๑ ไม่ถอื เอา นำเอาส่งิ ของของ ไมน่ ำส่ิงของ และ ไม่นำสิ่งของ และ ไม่นำสงิ่ ของ และ ส่ิงของหรือผลงาน เพ่อื น ผลงานของผู้อน่ื มา ผลงานของผูอ้ ่ืนมา ผลงานของผูอ้ ื่นมา ของผอู้ ่นื มาเป็น เปน็ ของตนเอง เป็นของตนเอง เป็นของตนเอง ของ ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผอู้ ื่น ปฏิบตั ติ นตอ่ ผู้อ่ืน ปฏบิ ตั ติ นต่อผอู้ นื่ ตนเอง ดว้ ยความซ่อื ตรง ด้วยความซือ่ ตรง ดว้ ยความซอื่ ตรง ๒.๒.๒ ปฏบิ ัติตน ไม่หาประโยชน์ ไมห่ าประโยชน์ ตอ่ ผ้อู นื่ ดว้ ยความ ในทางทไี่ มถ่ ูกตอ้ ง ในทางทไี่ ม่ถูกตอ้ ง ซื่อตรง๒.๒.๓ ไม่ และเป็นแบบอยา่ ง หาประโยชน์ ท่ีดีแก่ ในทางทไี่ ม่ เพ่อื นด้านความ ถูกต้อง ซ่อื สตั ย์ ๓. มวี ินัย ตัวช้ีวดั ท่ี ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคม ตวั ชี้วัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี วธิ ีการประเมิน ๓.๑ ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง ๓.๑.๑ ทำ (ปฏิบัติตน) ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ - สังเกตพฤตกิ รรม กฎเกณฑ์ ระเบียบ ระเบียบข้อบังคบั ของครอบครวั โรงเรยี น ขอ้ บงั คับของ และสงั คม ไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผ้อู ่นื ครอบครวั โรงเรยี น ๓.๑.๒ ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ และสงั คม ใน ชวี ิตประจำวัน และรับผิดชอบในการ ทำงาน เกณฑก์ ารให้คะแนน ตวั ชวี้ ัดที่ ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บังคบั ของครอบครวั โรงเรยี นและสังคม พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยย่ี ม (๓) ๓.๑.๑ ทำ (ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัตติ าม ปฏบิ ตั ิตาม ปฏบิ ตั ติ าม ปฏิบัตติ าม ตน) ตามขอ้ ตกลง ข้อตกลง ขอ้ ตกลง ขอ้ ตกลง ขอ้ ตกลง

๒๓๘ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบยี บ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของ ของครอบครวั ของครอบครวั ของครอบครวั ครอบครัวโรงเรียน และโรงเรียน และโรงเรยี น โรงเรยี น และสงั คม ไม่ ตรงต่อเวลาในการ ตรงต่อเวลาในการ และสังคม ไม่ ละเมดิ ปฏิบัติกิจกรรม ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ละเมิดสิทธิของ สิทธิของผอู้ ื่น ต่าง ๆ ใน ตา่ ง ๆ ใน ผู้อื่น ตรงต่อเวลา ๓.๑.๒ ตรงต่อ ชีวิตประจำวนั ชีวิตประจำวนั ในการปฏิบตั ิ เวลาในการปฏิบัติ และรบั ผิดชอบใน กจิ กรรมต่าง ๆ ใน กิจกรรมต่าง ๆ ใน การทำงาน ชวี ติ ประจำวัน ชวี ติ ประจำวนั และ และรับผิดชอบใน รับผิดชอบในการ การทำงาน ทำงาน ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ตวั ชี้วดั ท่ี ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกิจกรรม ตวั ชีว้ ัด พฤตกิ รรมบง่ ชี้ วธิ ีการประเมนิ ๔.๑ ตัง้ ใจ เพยี รพยายาม ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน - สังเกตพฤติกรรม ในการเรยี นและเข้า ๔.๑.๒ เอาใจใสแ่ ละมีความเพียรพยายามใน ร่วมกจิ กรรม การเรยี นรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรูต้ ่าง ๆ เกณฑก์ ารให้คะแนน ตวั ชีว้ ัดท่ี ๔.๑ ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรม พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยย่ี ม (๓) ๔.๑.๑ ตง้ั ใจเรียน ไมเ่ ข้าเรียน ไม่ เข้าเรียนตรงเวลา ๔.๑.๒ เอาใจใส่ สนใจกจิ กรรม เข้าเรยี นตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ตัง้ ใจเรียน เอาใจ และมีความเพยี ร ใสแ่ ละมีความ พยายามในการ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจ ตั้งใจเรียน เอาใจ พยายามในการ เรยี นรู้ เรียนรู้ มสี ่วนร่วม ๔.๑.๓ สนใจเข้า ใสใ่ นการเรียน มี ใสแ่ ละมีความ ในการเรียนรู้และ ร่วมกจิ กรรมการ เขา้ รว่ มกจิ กรรม ส่วนรว่ มในการ เพียรพยายามใน เรียนรู้และเขา้ รว่ ม การเรียนรู้ มีส่วน กิจกรรมการ รว่ มในการเรียนรู้ เรยี นรู้ และเข้าร่วม

๒๓๙ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ตา่ ง ๆ เปน็ กิจกรรมการ การเรียนรตู้ ่างๆ บางครงั้ เรียนรู้ ท้ังภายในและ ต่าง ๆ บ่อยครั้ง ภายนอกโรงเรียน เป็นประจำ ตัวชีว้ ัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นดว้ ยการเลอื กใช้ สอ่ื อยา่ งเหมาะสม สรปุ เปน็ องค์ความรู้สามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี วิธีการประเมิน -สงั เกตพฤติกรรม ๔.๒ แสวงหาความรู้จาก ๔.๒.๑ ศกึ ษาคน้ คว้าหาความรจู้ ากหนังสือ แหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ท้งั เอกสาร สิ่งพิมพ์ สอื่ เทคโนโลยตี ่าง ภายในและภายนอก ๆ โรงเรยี นด้วยการเลือกใชส้ อื่ แหลง่ เรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอก อยา่ งเหมาะสม สรปุ โรงเรยี น และเลือกใชส้ ื่อได้อย่าง เป็นองค์ความรสู้ ามารถ เหมาะสม นำไปใชใ้ น ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะหข์ อ้ มูล จากสงิ่ ท่ี ชีวติ ประจำวันได้ เรียนรู้ สรปุ เป็นองค์ความรู้ ๔.๒.๓ แลกเปลีย่ นความรู้ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั

๒๔๐ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ตัวชวี้ ัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นดว้ ยการเลอื กใช้ สอื่ อย่างเหมาะสม สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้สามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ พฤติกรรมบง่ ชี้ ไมผ่ า่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๒.๑ ศกึ ษา ไมศ่ กึ ษา คน้ ควา้ ศกึ ษาคน้ ควา้ ศึกษาคน้ ควา้ หา ศกึ ษาคน้ ควา้ หา คน้ ควา้ หา ศึกษาข้อมลู ความรูจ้ าก ความรจู้ ากหนงั สือ ความรจู้ ากหนงั สือ ความรจู้ าก หนงั สอื เอกสาร เอกสาร สงิ่ พมิ พ์ เอกสาร สงิ่ พมิ พ์ หนังสือ เอกสาร สง่ิ พมิ พ์ สือ่ สอื่ เทคโนโลยี สอื่ เทคโนโลยี สิ่งพมิ พ์ สื่อ เทคโนโลยี และสารสนเทศ และสารสนเทศ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรยี นรทู้ ั้ง แหลง่ เรียนร้ทู ั้ง แหล่งเรยี นรทู้ ้งั แหลง่ เรียนรทู้ ้ัง ภายในและ ภายในและ ภายในและ ภายในและ ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรยี น ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรยี น เลือกใช้สอ่ื ได้ และเลือกใชส้ ่อื ได้ และเลอื กใช้สอ่ื ได้ และเลือกใช้ส่อื ได้ อยา่ งเหมาะสม อยา่ งเหมาะสม มี อย่างเหมาะสม มี อยา่ งเหมาะสม และมกี ารบนั ทึก การบันทกึ ความรู้ การบนั ทึกความรู้ ความรู้ วเิ คราะหข์ ้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมลู ๔.๒.๓ บันทกึ สรปุ เปน็ องค์ สรุปเป็นองค์ ความรวู้ ิเคราะห์ ความรู้ และ ความรู้ และ ขอ้ มูลจากส่ิงท่ี แลกเปลีย่ นเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เรียนรู้ สรปุ เปน็ กับผ้อู ืน่ ได้ ดว้ ยวธิ กี ารท่ี องค์ความรู้ หลากหลาย ๔.๒.๔แลกเปล่ียน และนำไปใชใ้ น ความรู้ด้วยวิธกี าร ชวี ติ ประจำวนั ได้ ต่าง ๆ และ นำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ตัวชี้วัดท่ี ๕.๑ ดำเนนิ ชีวติ อย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้ วธิ กี ารประเมนิ ๕.๑ ดำเนนิ ชีวติ อยา่ ง ๕.๑.๑ ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เช่น เงนิ สงิ่ ของ - สงั เกตพฤตกิ รรม พอประมาณ เครอื่ งใช้ เวลา ฯลฯ อยา่ งประหยดั

๒๔๑ มีเหตผุ ล รอบคอบ คมุ้ ค่า มคี ุณธรรม และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนกลางอย่างประหยัด คมุ้ ค่าและเกบ็ รักษาอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตนและตัดสินใจดว้ ยความ รอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรยี บผอู้ ืน่ และไมท่ ำให้ผอู้ น่ื เดอื ดรอ้ น พรอ้ มใหอ้ ภยั เม่อื ผูอ้ ื่น กระทำ ผดิ พลาด เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชีว้ ัดท่ี ๕.๑ ดำเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม (๓) ๕.๑.๑ ใชท้ รพั ยส์ ินของ ไม่เห็นคุณค่า ใช้ทรพั ย์สิน ใชท้ รพั ยส์ ิน ใชท้ รพั ย์สนิ ของ ตนเอง เชน่ เงิน ของเงินทมี่ ีอยู่ ของตนเองและ ของตนเองและ ตนเองและ สิ่งของ เคร่อื งใช้ เวลา ใช้จา่ ย ทรพั ยากรของ ทรัพยากรของ ทรพั ยากรของ ฯลฯ อย่างประหยดั ฟุ่มเฟอื ย ส่วนรวมอย่าง สว่ นรวมอยา่ ง ส่วนรวมอย่าง คมุ้ ค่าและเกบ็ รักษา ประหยดั คมุ้ คา่ ประหยัด ค้มุ คา่ ประหยัด คุ้มค่า เก็บ ดแู ลอย่างดี เกบ็ รักษาดูแล เกบ็ รกั ษาดูแล รกั ษาดูแลอยา่ งดี ๕.๑.๒ ใช้ทรพั ยากรของ อยา่ งดี อยา่ งดี รอบคอบ มีเหตุผล สว่ นกลางอยา่ ง รอบคอบ มี รอบคอบ มี ไมเ่ อาเปรยี บผูอ้ ื่น ประหยดั คุ้มค่าและเก็บ เหตุผล เหตผุ ล ไม่เอา ไม่ทำใหผ้ ู้อื่น รกั ษาอย่างดี เปรยี บผู้อน่ื เดือดร้อนและให้ ๕.๑.๓ ปฏบิ ตั ติ นและ และไม่ทำให้ อภัย ตัดสินใจดว้ ย ความ ผ้อู ืน่ เดอื ดรอ้ น เมือ่ ผอู้ ืน่ ทำผิดพลาด รอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไมเ่ อาเปรยี บ ผูอ้ ่ืนและไม่ทำให้ ผูอ้ ื่น เดือดรอ้ น พร้อมให้ อภยั เมอ่ื ผู้อน่ื กระทำ ผดิ พลาด

๒๔๒ ตวั ช้ีวัดที่ ๕.๒ มีภูมิคุม้ กันในตัวท่ีดี ปรับตัวเพือ่ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ตวั ชี้วัด พฤตกิ รรมบง่ ชี้ วิธีการประเมนิ - สงั เกตพฤตกิ รรม ๕.๒ มีภมู คิ มุ้ กนั ในตัวท่ี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้ ดี ปรับตวั เพอ่ื อยู่ ชีวิตประจำวันบนพ้นื ฐานของขอ้ มลู ใน ความรู้ ข่าวสาร สังคมไดอ้ ยา่ งมี ๕.๒.๒ รเู้ ท่าทนั การเปล่ียนแปลงของสงั คมและ ความสุข สภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรับตวั เพอื่ อยูร่ ว่ มกับผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสขุ เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชว้ี ัดท่ี ๕.๒ มภี มู ิค้มุ กันในตัวท่ดี ี ปรับตวั เพอ่ื อยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ พฤติกรรม ไมผ่ า่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยี่ยม (๓) บง่ ช้ี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น ไมใ่ ชข้ ้อมลู ใช้ขอ้ มูล ความรู้ ใชข้ อ้ มูลความรู้ ใช้ข้อมูล ความ รู้ การทำงานและการใช้ ในการ ขา่ วสาร ในการ ข่าวสารในการ ขา่ วสารในการ ชีวติ ประจำวันบนพ้นื ฐาน วางแผนใน วางแผนการ วางแผนการ วางแผน การเรียน ของขอ้ มูล ความรู้ การเรียน เรียนการทำงาน เรยี นการทำงาน การทำงานและใชใ้ น ข่าวสาร และใชใ้ น และใช้ ชวี ิตประจำ วนั ๕.๒.๒ รูเ้ ท่าทันการ ชวี ิตประจำวัน ชีวติ ประจำวนั ยอมรบั การ เปล่ยี นแปลงของสงั คม รบั รู้การ ยอมรับการ เปลี่ยนแปลง และสภาพแวดล้อม เปลี่ยนแปลง เปลีย่ น แปลง ของครอบครัว ยอมรับปรบั ตวั ร่วมกบั ของครอบครัว ของครอบครัว ชุมชนสังคม ผูอ้ ืน่ ได้ อยา่ งมคี วามสุข ชมุ ชนและ ชุมชนสังคมและ สภาพแวดล้อมและ สภาพแวดลอ้ ม สภาพ แวดลอ้ ม ปรบั ตัวอยู่ร่วมกบั ผอู้ ื่นได้อย่างมี ความสขุ ๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ตวั ช้ีวัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรบั ผิดชอบในหนา้ ทีก่ ารงาน ตวั ช้ีวัด พฤติกรรมบง่ ช้ี วธิ ีการประเมิน

๒๔๓ ๖.๑ ต้ังใจและรบั ผิดชอบ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ทไ่ี ด้รับ - สังเกตพฤตกิ รรม ในหน้าทีก่ ารงาน มอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผดิ ชอบในการทำงานให้ สำเร็จ ๖.๑.๓ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการทำงานดว้ ย ตนเอง เกณฑ์การให้คะแนน ตวั ชีว้ ัดท่ี ๖.๑ ต้ังใจและรับผิดชอบในหน้าท่กี ารงาน พฤติกรรม ไม่ผา่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยีย่ ม (๓) บง่ ช้ี ๖.๑.๑ เอาใจใสต่ ่อการ ไมต่ ้ังใจและไม่ ตง้ั ใจและ ตั้งใจและ ตง้ั ใจและ ปฏบิ ัติหน้าท่ีทไ่ี ด้รบั รบั ผดิ ชอบ รบั ผดิ ชอบใน รบั ผิดชอบใน รบั ผิดชอบใน มอบหมาย การปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ัติ ๖.๑.๒ ตง้ั ใจและ การปฏบิ ัติ หนา้ ทที่ ไ่ี ด้รบั หน้าท่ที ีไ่ ดร้ ับ รับผดิ ชอบในการทำงาน หนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ ับ มอบหมายให้ มอบหมายให้ ให้สำเร็จ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ สำเร็จ มกี าร ๖.๑.๓ ปรบั ปรุงและ สำเรจ็ มกี าร ปรับปรุง ปรบั ปรุง พฒั นาการทำงานด้วย ปรับปรุงการ และพฒั นาการ และพฒั นาการ ตนเอง ทำงานใหด้ ขี ้นึ ทำงานให้ดขี นึ้ ทำงานให้ดขี ึ้น ดว้ ยตนเอง ตัวชี้วัดท่ี ๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพอ่ื ให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ตวั ชี้วัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี วิธกี ารประเมิน ๖.๒ ทำงานดว้ ยความ ๖.๒.๑ ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อตอ่ ปัญหา - สังเกตพฤตกิ รรม เพียรพยายาม และ และอปุ สรรคในการทำงาน อดทนเพือ่ ใหง้ าน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปญั หาและอปุ สรรคในการ สำเรจ็ ตาม ทำงาน เป้าหมาย ๖.๒.๓ ช่ืนชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ตวั ชี้วัดที่ ๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย

๒๔๔ พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๖.๒.๑ เอาใจใส่ตอ่ การ ไม่เอาใจใสใ่ น ทำงานดว้ ย ทำงานด้วย ทำงานด้วย ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีที่ได้รบั ส่ิงที่มอบหมาย ความขยัน ความขยัน ความขยัน มอบหมาย ให้ อดทน และ อดทน และ อดทน และ ๖.๒.๒ ต้ังใจและ พยายามใหง้ าน พยายามใหง้ าน พยายามให้งาน รับผดิ ชอบในการทำงาน สำเรจ็ ตาม สำเรจ็ ตาม สำเร็จตาม ให้สำเร็จ เปา้ หมาย และ เปา้ หมาย ไม่ เปา้ หมายใน ๖.๒.๓ ปรับปรงุ และ ชนื่ ชมผลงาน ย่อทอ้ ตอ่ ปัญหา เวลาที่กำหนด พัฒนาการทำงานด้วย ด้วยความภา ในการทำงาน ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ ตนเอง ภูมใิ จ และชน่ื ชม ปญั หาแก้ปัญหา ผลงานดว้ ย อุปสรรคในการ ความภาคภูมิใจ ทำงาน และชน่ื ชมผลงานดว้ ย ความภาคภมู ิใจ ๗. รักความเป็นไทย ตวั ชี้วัดที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมคี วามกตัญญู กตเวที ตัวชีว้ ัด พฤตกิ รรมบง่ ชี้ วิธกี ารประเมิน ๗.๑ ภาคภูมิใจใน ๗.๑.๑ แต่งกายและมมี ารยาท - สงั เกตพฤติกรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี งดงามแบบไทย มีสัมมา ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทยและ คารวะ กตญั ญกู ตเวทตี อ่ ผู้ มีความกตญั ญกู ตเวที มีพระคุณ ๗.๑.๒ ร่วมมือกิจกรรมท่ี เก่ียวข้องกบั ประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย ๗.๑.๓ ชกั ชวน แนะนำให้ผอู้ ่ืน ปฏิบัตติ ามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย เกณฑก์ ารให้คะแนน ตัวช้ีวัดท่ี ๗.๑ ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทยและมคี วามกตญั ญกู ตเวที พฤติกรรมบง่ ช้ี ไม่ผา่ น (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ย่ยี ม (๓) ๗.๑.๑ แต่งกายและมี ไมป่ ฎิบตั ิ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้

๒๔๕ มารยาทงดงามแบบไทย มมี ารยาทแบบ มีมารยาทแบบ มมี ารยาทแบบ มสี มั มาคารวะ กตญั ญู กตเวที ไทยมสี มั มา ไทยมสี ัมมา ไทยมีสมั มา ตอ่ ผู้มีพระคุณ คารวะกตัญญู คารวะกตัญญู คารวะกตัญญู ๗.๑.๒ รว่ มมอื กิจกรรมท่ี กตเวทีตอ่ ผู้มี กตเวทตี อ่ ผู้มี กตเวทตี ่อผู้มี เกย่ี วขอ้ งกบั ประเพณี ศิลปะ พระคุณ และ พระคุณ และ พระคุณ และ และวฒั นธรรม ไทย แต่งกายแบบ แตง่ กายแบบ แตง่ กายแบบ ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนำให้ ไทย เขา้ รว่ ม ไทย ดว้ ยความ ไทย ด้วยความ ผ้อู ื่นปฏบิ ตั ิ ตาม หรือมีสว่ นร่วม ภาคภมู ิใจเขา้ ภาคภมู ใิ จเข้า ขนบธรรมเนยี มประเพณี ในกิจกรรมท่ี รว่ มหรอื มีส่วน รว่ มหรอื มสี ว่ น ศิลปะและวัฒนธรรมไทย เกย่ี วขอ้ งกบั รว่ มในกจิ กรรม ร่วมในการจดั กจิ กรรมท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั ประเพณีศิลปะ พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผา่ น (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยีย่ ม (๓) ประเพณีศิลปะ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั และวฒั นธรรม และวัฒนธรรม ประเพณีศิลปะ ไทย ชกั ชวน ไทย และวฒั นธรรม แนะนำเพอื่ น ไทย และคนอนื่ ปฏบิ ตั ิตาม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปะ และวัฒนธรรม ไทย ตวั ชี้วัดท่ี ๗.๒ เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตวั ชี้วัด พฤติกรรมบ่งช้ี วธิ ีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม ๗.๒ เหน็ คุณค่าและใช้ ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการส่อื สาร ภาษาไทยในการ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม สื่อสารไดอ้ ย่าง ถกู ต้อง

๒๔๖ เกณฑก์ ารให้คะแนน ตัวชวี้ ัดที่ ๗.๒ เห็นคณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทย ไมใ่ ชภ้ าษาไทย ใช้ภาษาไทย เลข ใชภ้ าษาไทย เลข ใชภ้ าษาไทย เลข และเลขไทยในการ ใช้ภาษาไทยไม่ ไทยในการสอ่ื สาร ไทยในการส่อื สาร ไทยในการสอื่ สาร ส่อื สารได้อยา่ ง ถกู ตอ้ ง ได้ ได้ ได้ ถกู ตอ้ งเหมาะสม ถกู ต้อง ถกู ต้อง ถูกต้อง ๗.๒.๒ ชักชวน เหมาะสม และ เหมาะสม และ เหมาะสม และ แนะนำให้ผู้อน่ื ใช้ แนะนำ ชักชวน แนะนำ ชักชวน แนะนำ ใหผ้ อู้ ื่นเห็น ภาษาไทยท่ี ใหผ้ ู้อน่ื ใช้ ให้ผอู้ ่ืนใช้ คุณค่าของการใช้ ถกู ตอ้ ง ภาษาไทยที่ ภาษาไทยที่ ภาษาไทยที่ถกู ต้อง ถกู ต้อง ถูกต้องเปน็ ประจำเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ด้านการใช้ ภาษาไทย ตวั ชี้วัดที่ ๗.๓ อนรุ กั ษ์ สบื ทอด ภูมปิ ัญญาไทย ตัวชีว้ ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้ วิธกี ารประเมนิ ๗.๓ อนุรักษ์ สืบทอด ๗.๓.๑ นำภมู ปิ ญั ญาไทยมาใชใ้ ห้เหมาะสมในวิถี - สงั เกตพฤติกรรม ภมู ิปัญญาไทย ชวี ิต ๗.๓.๒ รว่ มกิจกรรมท่ีเกย่ี วข้องกบั ภูมิปัญญา ไทย ๗.๓.๓ แนะนำ มสี ่วนร่วมในการสบื ทอดภูมิ ปัญญาไทย เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัดท่ี ๗.๓ อนรุ กั ษ์ สืบทอด ภูมปิ ญั ญาไทย พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเย่ยี ม (๓) ๗.๓.๑ นำภมู ิปญั ญาไทย ไม่ทำอะไรในสิ่ง สบื ค้นภูมิ สืบค้นภมู ิ สบื คน้ ภูมิ มาใช้ให้เหมาะสมในวิถี ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ปัญญาไทยท่ใี ช้ ปญั ญาไทยทใ่ี ช้ ปัญญาไทย ชีวิต ต่อสงั คมและ ในท้องถน่ิ เขา้ ในทอ้ งถิ่น เข้า เข้ารว่ มและ ๗.๓.๒ ร่วมกิจกรรมที่ ประเทศชาติ ร่วมและชักชวน รว่ มและชกั ชวน ชักชวนคนใน

๒๔๗ เกีย่ วขอ้ งกบั ภูมิปญั ญา คนในครอบครวั คนในครอบครัว ครอบครวั ไทย หรอื เพื่อนเข้า หรือเพือ่ นเขา้ เพื่อนหรอื ผูอ้ น่ื ๗.๓.๓ แนะนำ มีสว่ นร่วม ร่วมกิจกรรมท่ี ร่วมกจิ กรรมท่ี เขา้ ร่วมกจิ กรรม ในการสืบทอดภมู ปิ ัญญา เกี่ยวขอ้ งกับภมู ิ เกย่ี วขอ้ งกบั ภูมิ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ไทย ปัญญาไทยและ ปญั ญาไทยใช้ ภูมปิ ัญญาไทย ใช้ภมู ิปญั ญา และแนะนำให้ และแนะนำให้ ไทยใน เพอื่ นใชภ้ มู ิ เพอื่ นใช้ภูมิ ชวี ติ ประจำวัน ปัญญาไทยใน ปญั ญาไทยใน ชีวติ ประจำวัน ชีวติ ประจำวนั และมสี ่วนรว่ ม ในการสืบทอด ภูมิปัญญาไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ตัวช้ีวัดที่ ๘.๑ ช่วยเหลือผ้อู ื่นดว้ ยความเต็มใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ตวั ชีว้ ัด พฤติกรรมบง่ ชี้ วธิ ีการประเมิน ๘.๑ ชว่ ยเหลือผอู้ ่ืนด้วย ๘.๑.๑ ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูทำงานดว้ ย - สงั เกตพฤติกรรม ความเต็มใจโดย ความเต็มใจ ไม่หวงั ผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทำงานให้ผอู้ นื่ ดว้ ยกำลังกาย กำลงั ใจ และกำลังสตปิ ญั ญา โดยไม่ หวงั ส่ิงตอบแทน ๘.๑.๓ แบง่ ปนั สงิ่ ของ ทรัพย์สินและอืน่ ๆ และชว่ ยแกป้ ญั หาหรอื สรา้ งความสขุ ให้กับผ้อู ื่น เกณฑ์การให้คะแนน ตัวช้วี ัดท่ี ๘.๑ ชว่ ยเหลือผู้อืน่ ดว้ ยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (๐) ผา่ น (๑) ดี (๒) ดีเยยี่ ม (๓) ชว่ ยพ่อแม่ ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ไมช่ ่วยพอ่ แม่ ช่วยพ่อแม่ ชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน ผปู้ กครอง ครู ผู้ปกครอง ผู้ปกครอง อาสา ทำงาน ชว่ ยคดิ ทำงานดว้ ย และครทู ำงาน และครทู ำงาน ความเตม็ ใจ อาสา อาสา ๘.๑.๒ อาสา ทำงาน และ ทำงาน ชว่ ยคดิ

๒๔๘ ทำงานให้ แบ่งปันสงิ่ ของให้ ช่วยทำและ ช่วยทำและ ผอู้ นื่ ด้วยกำลัง ผู้อ่นื ด้วยความเตม็ แบ่งปันส่ิงของให้ แบง่ ปันสงิ่ ของ กาย กำลังใจ และ ใจ ผอู้ ่นื ดว้ ยความเต็ม และช่วยแก้ปญั หา กำลังสตปิ ัญญา ใจ ให้ผู้อนื่ ดว้ ยความ โดยไมห่ วังส่งิ ตอบ เตม็ ใจ แทน ๘.๑.๓ แบ่งปัน สง่ิ ของ ทรัพยส์ ิน และ อื่น ๆ และ ช่วยแกป้ ญั หาหรอื สรา้ งความสขุ ใหก้ ับผู้อืน่ ตวั ชีว้ ัดที่ ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม ตัวชีว้ ัด พฤติกรรมบง่ ชี้ วิธีการประเมนิ ๘.๒ เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่ ๘.๒.๑ ดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัติและ - สงั เกตพฤติกรรม เป็นประโยชน์ตอ่ สงิ่ แวดล้อมดว้ ยความเตม็ ใจ โรงเรยี น ชมุ ชน ๘.๒.๒ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อ และสังคม โรงเรยี น ชมุ ชนและสงั คม ๘.๒.๓ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่ือแกป้ ัญหาหรอื ร่วม สรา้ งสงิ่ ท่ีดีงามของส่วนรวมตาม สถานการณ์ท่ีเกิดขนึ้ ดว้ ยความ กระตือรือรน้ เกณฑก์ ารให้คะแนน ตัวชีว้ ัดที่ ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชมุ ชน และสงั คม พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดเี ยยี่ ม (๓) ๘.๒.๑ ดูแลรักษา ไม่ดแู ล ไม่ ดแู ล รักษาทรัพย์ ดแู ล รักษาทรัพย์ ดแู ล รักษาทรัพย์ สาธารณสมบตั ิ ปฏิบตั ติ ามส่ิงท่ีดี สมบัตสิ ่งิ แวดลอ้ ม สมบตั สิ ่งิ แวดล้อม สมบัตสิ ่ิงแวดล้อม และส่ิงแวดล้อม งามของสงั คม ของห้องเรียน ของห้องเรยี น ของห้องเรียน ด้วยความเต็มใจ โรงเรยี น และเข้า โรงเรยี น ชมุ ชน โรงเรียน ชุมชน ๘.๒.๒ เขา้ ร่วม ร่วมกิจกรรมเพื่อ และเขา้ ร่วม และเขา้ รว่ ม กิจกรรมท่ีเป็น สงั คมและ กจิ กรรมเพ่อื สงั คม กจิ กรรมเพ่อื สงั คม ประโยชน์ สาธารณประโยชน์ และ และ

๒๔๙ ตอ่ โรงเรยี น ของโรงเรียนดว้ ย สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ ชุมชนและสงั คม ความเตม็ ใจ ของโรงเรยี นด้วย ของโรงเรียนและ ๘.๒.๓ เข้าร่วม ความเตม็ ใจ ชุมชนด้วยความ กจิ กรรมเพือ่ เต็มใจ แก้ปญั หาหรอื รว่ มสรา้ งส่ิงทดี่ ี งามของสว่ นรวม ตามสถานการณ์ท่ี เกดิ ขึน้ ดว้ ยความ กระตอื รอื ร้น

๒๕๐ แบบสรุปการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรยี นบ้านโนนสวา่ ง สพป.อบ.๓ ชั้น ..............................................รายวชิ า................................... ปีการศกึ ษา ..................... คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรยี น ท่ี ชื่อ - สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ สรปุ การประเมิน หมายเหตุ

๒๕๑ แบบบนั ทกึ การพัฒนาลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดบั ประถมศึกษา ปีการศกึ ษา....................................ถึง ปกี ารศกึ ษา.................................. ชื่อนักเรียน......................................................ชั้น............................โรงเรียน...................................... คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั ความกา้ วหน้าการพฒั นาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สรปุ ระดับคณุ ภาพ คุณภาพ ๓ ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดี ๒ ( ) ผา่ น ( ) ไม่ผ่าน ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๑ ( ) ดเี ยีย่ ม ๐ ( ) ดี ( ) ผา่ น ๓ ( ) ไมผ่ า่ น ๒ ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดี ๒. ซ่ือสตั ย์ สุจรติ ๑ ( ) ผ่าน ( ) ไม่ผา่ น ๐ ( ) ดเี ยี่ยม ๓ ( ) ดี ( ) ผา่ น ๒ ( ) ไม่ผ่าน ๓. มวี ินัย ๑ ( ) ดเี ยยี่ ม ( ) ดี ๐ ( ) ผ่าน ( ) ไมผ่ า่ น ๓ ( ) ดเี ยี่ยม ๒ ( ) ดี ( ) ผา่ น ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๑ ( ) ไม่ผ่าน ๐ ( ) ดีเยย่ี ม ( ) ดี ๓ ( ) ผา่ น ( ) ไม่ผา่ น ๒ ( ) ดเี ยย่ี ม ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ๑ ( ) ดี ( ) ผ่าน ๐ ( ) ไม่ผ่าน ๓ ๑๒๑๒๑๒๑๒๑๒๑๒ ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ๒ เยยี่ ม เยี่ยม เย่ียม เย่ียม เยยี่ ม เยี่ยม ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ๖. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน ๑ ( ) ผา่ น ( ) ผ่าน ( ) ผา่ น ( ) ผา่ น ( ) ผา่ น ( ) ผา่ น ( ) ไมผ่ ่าน ( ) ไมผ่ า่ น ( ) ไม่ผา่ น ( ) ไม่ผ่าน ( ) ไม่ผ่าน ( ) ไมผ่ า่ น ๐ ๑๒๓๔๕๖ ๓ สรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๒ ๗. รักความเป็นไทย ๑ ๐ ๓ ๒ ๘. มีจิตสาธารณะ ๑ ๐ ภาคเรียนท่ี สรุปผลการประเมนิ รายปี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ( ) ดีเยย่ี ม ( ) ดี ( ) ผ่าน ( ) ไมผ่ ่าน (ลงชอื่ )...........................................................กรรมการประเมนิ (.............................................................)

๒๕๒ แบบบันทกึ การพฒั นาลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ปีการศึกษา....................................ถงึ ปีการศกึ ษา.................................. ช่ือนกั เรยี น......................................................ช้ัน............................โรงเรียน...................................... คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั ความก้าวหนา้ การพฒั นาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สรปุ ระดบั คุณภาพ คณุ ภาพ ( ) ดีเยย่ี ม ( ) ดี ๓ ( ) ผา่ น ( ) ไมผ่ า่ น ๒ ( ) ดเี ยี่ยม ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๑ ( ) ดี ( ) ผ่าน ๐ ( ) ไม่ผ่าน ๓ ( ) ดีเย่ียม ( ) ดี ๒ ( ) ผา่ น ( ) ไม่ผา่ น ๒. ซื่อสัตย์ สุจรติ ๑ ( ) ดีเย่ียม ๐ ( ) ดี ( ) ผ่าน ๓ ( ) ไม่ผา่ น ๒ ( ) ดเี ยย่ี ม ( ) ดี ๓. มวี นิ ัย ๑ ( ) ผา่ น ( ) ไม่ผา่ น ๐ ( ) ดเี ยีย่ ม ๓ ( ) ดี ( ) ผา่ น ๒ ( ) ไมผ่ า่ น ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๑ ( ) ดเี ยยี่ ม ( ) ดี ๐ ( ) ผ่าน ( ) ไม่ผา่ น ๓ ( ) ดเี ย่ยี ม ๒ ( ) ดี ( ) ผา่ น ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ๑ ( ) ไม่ผ่าน ๐ ๓ ๒ ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๑ ๐ ๓ ๒ ๗. รักความเป็นไทย ๑ ๐ ๓ ๒ ๘. มจี ติ สาธารณะ ๑ ๐ ภาคเรยี นที่ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ( ) ดีเยยี่ ม ( ) ดี ( ) ดีเยย่ี ม ( ) ดี ( ) ดีเยี่ยม ( ) ดี สรุปผลการประเมนิ รายปี ( ) ผา่ น ( ) ไมผ่ ่าน ( ) ผ่าน ( ) ไม่ผา่ น ( ) ผ่าน ( ) ไม่ผ่าน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ สรปุ ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ( ) ดีเยย่ี ม ( ) ดี ( ) ผา่ น ( ) ไมผ่ า่ น (ลงช่ือ)...........................................................กรรมการ (.............................................................)

คำสงั่ โรงเรียนบา้ นโนนสวา่ ง ที่ ๑๖/๒๕๖๕ เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการบรหิ ารหลักสูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ----------------------------------------------------- ตามคำส่ังกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เร่ืองให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้มีคำส่ังท่ี ๓๐/ ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ แล ะสาระภูมศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตั้งแตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ คำส่ังที่ ๙๒๒/๒๕๖๑ เรอ่ื งการปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาศัยอำนาจตามมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการคณะกรรมการ บรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อให้การจัดทำหลักสูตรโรงเรียนบ้านโนนสว่าง พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นไปอย่างมีระสิทธิภาพ โรงเรียนบ้านโนนสว่าง จึงแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ประกอบด้วย ๑.๑ นางระพพี รรณ ชมพูประเภท ครชู ำนาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ ๑.๒ นางสาวกิง่ แก้ว นนทส์ ิริ ครอู ตั ราจ้าง กรรมการ ๑.๓ นางสาวณฐั มนต์ พากเพยี ร ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานกุ าร ๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ประกอบด้วย ๒.๑ นายวริ ตั น์ ทองมูล ครู ประธานกรรมการ ๒.๒ นางสาวนิลบุ ล นนทส์ ริ ิ ครูอตั ราจ้าง กรรมการและเลขานุการ ๓. กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓.๑ นางปิยวรรณ ปลัง่ กลาง ครชู ำนาญการ ประธานกรรมการ ๓.๒ นางสาวสุวจั นี ธรรมราช ครูชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขานกุ าร ๔. กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๔.๑ ส.อ.วิษณุ รัตนติสรอ้ ย ครู ประธานกรรมการ ๔.๒ นางปนดั ดา ศรีเลิศ ครูพนกั งานราชการ กรรมการและเลขานกุ าร

๕. กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๕.๑ นายอทิ ธิพล ไชยโกฏิ ครูชำนาญการ ประธานกรรมการ ๕.๒ นายพงศกร นาราช ครู กรรมการและเลขานกุ าร ๖. กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ๖.๑ วา่ ทรี่ ้อยตรหี ญงิ นวรตั น์ ปรศิ วงศ์ ครู ประธานกรรมการ ๖.๒ นางรตั นา พลู มาศ ครชู ำนาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานุการ ๘. กรรมการกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ๘.๑ นางนิตยิ า สนิ เทา ครชู ำนาญการพเิ ศษ ประธานกรรมการ ๘.๒ นายอทิ ธิพล ไชยโกฏิ ครูชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ ๘. กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ๘.๑ นายแดนอังเจลโล่ บุญหลง ครู ประธานกรรมการ ๘.๒ นางสาวขวัญตา คณะพัตร์ ครูอตั ราจา้ ง กรรมการและเลขานกุ าร ๙. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๙.๑ นายอิทธพิ ล ไชยโกฏิ ครูชำนาญการ ประธานกรรมการ ๙.๒ ส.อ.วษิ ณุ รัตนตสิ รอ้ ย ครู กรรมการและเลขานุการ ใหม้ หี นา้ ที่ จัดทำหลกั สตู รและพฒั นาหลักสตู รให้ดำเนนิ การตามมาตรฐานกำหนด ให้ คณะอนุกรรมการท่ไี ดร้ ับการแตง่ ต้ังตามคำส่งั น้ี ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ท่ีได้รับมอบหมาย ให้ดำเนินการไปดว้ ย ความเรียบรอ้ ยและเอาใจใส่ อย่าใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ทางราชการได้ ทง้ั นีต้ ั้งแตว่ ันที่ ๔ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เปน็ ต้นไป ส่งั ณ วนั ท่ี ๔ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (ลงชื่อ) () ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านโนนสวา่ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook