Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายละเอียดตัวชี้วัด กสธ.ปี 2564

รายละเอียดตัวชี้วัด กสธ.ปี 2564

Published by Charoenpit Pree, 2021-04-09 08:35:47

Description: รายละเอียดตัวชี้วัด กสธ.ปี 2564

Search

Read the Text Version

รายละเอยี ดตวั ช้ีวดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงบประมาณ 2564 กองยทุ ธศาสตรและแผนงาน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

คํานาํ กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวง สาธารณสุข ตามกรอบความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป แผนแมบทภายใตแผนยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล การปฏิรูปดานสาธารณสุข ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 12 และแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (ดานสาธารณสุข โดยแผนปฏิบัติราชการฉบับน้ีประกอบดวย 4 เร่ือง คือ 1) ดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค แ ละคุมครอง ผูบริโภคเปนเลิศ (Promotion Prevention and Protection: PP&P Excellence) 2) ดานบริการ เปนเลิศ (Service Excellence) 3) ดานบุคลากรเปนเลิศ (People Excellence) และ 4) ดานบริหารเปนเลิศ ดวยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพื่อถายทอดและสรางความเขาใจรวมกัน ในการดําเนินงาน ดานสาธารณสุขใหแกทุกหนว ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ในการนี้ เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายของกระทรวงสาธารณสุข “ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่ มีความสุข และระบบสุขภาพย่ังยืน” หนวยงานตาง ๆ จึงไดรวมกันจัดทําแผน และรายละเอียดตัวช้ีวัดกระทรวง สาธารณสุข ภายใตกรอบ 15 แผนงาน 42 โครงการ และ 75 ตัวชี้วัด เพ่ือการกํากับติดตามผลการดําเนินงาน และหนวยงานท่ีเก่ียวของใชเปนแนวทางในการดําเนินงานพรอมทั้งจัดเก็บขอมูลตามตัวช้ีวัดดังกลาวใหเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน และขอขอบคุณกรม กอง และหนวยงานท่ีเกี่ยวของทุกหนวย ท่ีใหความรวมมือในการจัดทําคูมือ เลมนเ้ี พอ่ื ใชประโยชนร ว มกันตอไป กระทรวงสาธารณสขุ พฤศจิกายน 2563

สารบญั ตวั ช้ีวดั ตัวชวี้ ดั ที่ รายการตัวชวี้ ัด หนา้ 1 อตั ราสว่ นการตายมารดาไทยต่อการเกดิ มีชีพแสนคน 6 2 เดก็ ไทยมกี ารเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย 9 3 เดก็ ไทยมีระดับสตปิ ญั ญาเฉล่ียไม่ต่ำกว่า 100 16 4 รอ้ ยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดสี มส่วน 21 5 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 28 6 รอ้ ยละของผู้สงู อายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงไดร้ ับการดแู ลตาม Care Plan 30 7 ผสู้ ูงอายุมีพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีพงึ ประสงค์ ไดร้ บั การดแู ลทั้งในสถานบริการและในชุมชน 35 8 ร้อยละของโรงพยาบาล ขนาด M2 ขน้ึ ไป ที่มีการจัดต้ังคลินกิ ผู้สูงอายุ 45 9 จำนวนครอบครวั มีความรอบรูส้ ขุ ภาพ 51 10 ร้อยละของอำเภอผา่ นเกณฑ์การประเมินการพฒั นาคุณภาพชวี ิตทีม่ ีคุณภาพ 59 11 ระดบั ความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนว่ ยงานระดบั จงั หวัด 66 12 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสัยปว่ ยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหติ สูง 77 13 จำนวนจังหวดั ทีม่ กี ารขับเคลื่อนมาตรการลดโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ 82 และสิง่ แวดลอ้ มตามกฎหมายและปัญหาสำคัญในพื้นท่ี 14 ร้อยละชุมชนผ่านเกณฑก์ ารดำเนินงาน “ชมุ ชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” 85 15 ทกุ จงั หวัดสามารถควบคุมสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 88 ให้สงบได้ ภายใน 21 – 28 วัน 16 ร้อยละของผลิตภัณฑส์ ุขภาพกล่มุ เสยี่ งท่ีได้รบั การตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ท่ี 92 กำหนด 17 จังหวดั มีการขบั เคล่อื นการดำเนนิ งานอาหารปลอดภัยทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 95 18 รอ้ ยละของโรงพยาบาลทพี่ ัฒนาอนามัยส่ิงแวดลอ้ มไดต้ ามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital 99 19 ร้อยละของจงั หวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสีย่ งดา้ นส่ิงแวดลอ้ มทส่ี ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพ 105 ผา่ นเกณฑ์ระดับดีมาก 20 จำนวนการจดั ตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหนว่ ยบริการปฐมภูมิตาม 112 พระราชบัญญัตริ ะบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. 2562 21 จำนวนประชาชนท่มี ีรายช่อื อยูใ่ นหนว่ ยบริการปฐมภูมแิ ละเครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิทีม่ ี 115 แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรอื แพทย์ท่ีผ่านการอบรมและคณะผู้ใหบ้ ริการสขุ ภาพปฐมภมู ิ 22 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ย กลมุ่ เปา้ หมายทไ่ี ดร้ บั การดแู ลจาก อสม. หมอประจำบ้านมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี 118 23 รอ้ ยละตำบลเป้าหมายผา่ นเกณฑ์ตำบลจดั การคุณภาพชวี ติ 124 24 อตั ราตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง และระยะเวลาที่ไดร้ ับการรักษาท่ีเหมาะสม 126 25 อัตราความสำเร็จการรกั ษาผู้ป่วยวณั โรคปอดรายใหม่ 134 26 ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 146 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

ตวั ช้ีวดั ท่ี รายการตวั ชีว้ ัด หน้า 27 อัตราปว่ ยตายของผ้ปู ่วยโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของทั้งประเทศ 159 28 ทกุ โรงพยาบาลระดบั A และ S ให้บริการตามแนวปฏิบัตกิ ารแพทย์วถิ ีใหม่ในสาขาที่เลอื ก 161 ครบถ้วนตาม Key Step Assessment 29 ทกุ โรงพยาบาลระดับ A และ S มีการจัดทำแผนและซ้อมแผน BCP for EID 165 30 รอ้ ยละของโรงพยาบาลทใี่ ชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล (RDU) 169 31 รอ้ ยละของโรงพยาบาลท่ีมีระบบจัดการการด้ือยาตา้ นจลุ ชีพอย่างบรู ณาการ (AMR) 175 32 รอ้ ยละการส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยนอกเขตสขุ ภาพลดลง 178 33 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกวา่ หรอื เทา่ กบั 28 วัน 180 34 ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจดั การอาการต่าง ๆ ดว้ ย Opioid ในผ้ปู ว่ ย 182 ประคบั ประคองอย่างมีคณุ ภาพ 35 ร้อยละของผู้ปว่ ยนอกทัง้ หมดทไ่ี ดร้ ับบริการ ตรวจ วนิ จิ ฉัย รกั ษาโรค และฟืน้ ฟสู ภาพ 187 ด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 36 รอยละของผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการสุขภาพจิต 192 37 อตั ราการฆา่ ตวั ตายสำเรจ็ 195 38 อัตราตายผูป้ ่วยตดิ เช้อื ในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 199 39 รอ้ ยละของโรงพยาบาลท่มี ีทมี Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแต่ 207 ระดบั M1 ขึน้ ไป ทีม่ ีแพทย์ออร์โธปดิ ิกสเ์ พิม่ ข้ึน ให้ได้อย่างน้อย 1 ทมี ต่อ 1 เขตสุขภาพ 40 อัตราตายของผปู้ ่วยโรคกลา้ มเนอ้ื หวั ใจตายเฉยี บพลันชนดิ STEMI และการให้การรักษา 211 ตามมาตรฐานตามเวลาที่กำหนด 41 รอ้ ยละผู้ปว่ ยมะเรง็ 5 อนั ดับแรกไดร้ ับการรกั ษาภายในระยะเวลาท่ีกำหนด 214 42 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ท่ีมอี ตั ราการลดลงของ eGFR<5 ml/min/1.73m2/yr 218 43 ร้อยละผู้ปว่ ยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน 221 44 อตั ราสว่ นของจำนวนผู้ยนิ ยอมบริจาคอวยั วะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจำนวนผปู้ ่วย 223 เสียชีวติ ในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S) 45 รอ้ ยละของผูป้ ่วยยาเสพติดท่เี ข้าส่กู ระบวนการบำบดั รักษา ไดร้ บั การดูแลอย่างมีคุณภาพ 226 อยา่ งต่อเน่อื งจนถึงการตดิ ตาม (Retention Rate) 46 รอ้ ยละของโรงพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวัดท่ีให้การบริบาลฟ้ืนสภาพระยะกลางแบบ 230 ผปู้ ่วยใน (Intermediate bed/ ward) 47 รอ้ ยละของผู้ป่วยทเ่ี ขา้ รับการผา่ ตัดแบบ One Day Surgery 241 48 รอ้ ยละของการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดนวิ่ ในถุงน้ำดหี รอื ถุงน้ำดีอักเสบผ่าน 252 การผ่าตัดแผลเลก็ (Minimally Invasive Surgery : MIS) 49 ร้อยละของหน่วยบริการสาธารณสขุ ท่ีมกี ารจัดบรกิ ารคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ บบบูรณาการ 255 50 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวกิ ฤตฉุกเฉิน 264 51 รอ้ ยละของประชากรเข้าถงึ บรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉิน 268 52 ร้อยละของโรงพยาบาลศูนยผ์ ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ 270

ตวั ชี้วัดท่ี รายการตัวช้ีวดั หนา้ 53 ร้อยละของหน่วยบริการกลมุ่ เปา้ หมายมีมาตรฐานการบริการสุขภาพนกั ท่องเทยี่ วในพ้นื ที่ 273 เกาะตามที่กำหนด 54 อตั ราการเพม่ิ ขน้ึ ของจำนวนสถานประกอบการดา้ นการท่องเทยี่ วเชิงสุขภาพท่ีได้รบั 276 มาตรฐานการท่องเทีย่ ว 55 ร้อยละเมืองสมุนไพรผา่ นเกณฑ์การประเมิน 279 56 รอ้ ยละท่เี พมิ่ ขึน้ ของสถานทกี่ ักกันตัวตามทรี่ ัฐกำหนด (AHQ/WQ) ได้มาตรฐานตาม 284 เกณฑ์การรับชาวตา่ งชาติ 57 ระดับความสำเร็จของเขตสขุ ภาพท่มี ีการบรหิ ารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน 289 ไดต้ ามเกณฑ์ 58 ร้อยละของเขตสขุ ภาพทมี่ ีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธภิ าพ 294 59 ร้อยละของบุคลากรท่ีมคี วามพรอ้ มรองรับการเข้าสู่ตำแหน่งท่สี ูงขน้ึ ไดร้ ับการพฒั นา 298 60 องค์กรแหง่ ความสุขทีม่ ีคุณภาพและเปน็ ตน้ แบบ 302 61 ร้อยละของหน่วยงานในสงั กดั สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ITA 305 62 รอ้ ยละของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 310 63 ร้อยละของสว่ นราชการและหน่วยงานสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ 314 การตรวจสอบภายใน การควบคมุ ภายในและการบริหารความเสีย่ ง 64 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกดั สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ท่ี 320 ดำเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการภาครฐั ผา่ นเกณฑ์ทกี่ ำหนด 65 รอ้ ยละของโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผา่ นการรบั รอง HA ขัน้ 3 326 66 ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว 333 67 รอ้ ยละของจังหวดั ทผ่ี า่ นเกณฑ์คณุ ภาพข้อมลู 337 68 ร้อยละของหน่วยบริการท่เี ป็น Smart Hospital 354 69 ร้อยละของโรงพยาบาลทมี่ ีระบบบริการรับยาท่รี ้านยา มีการดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด 359 ความแตกตา่ งอัตราการใช้สิทธิ(compliance rate) เมื่อไปใช้บริการผปู้ ่วยใน (IP) ของผู้มี 361 70 สทิ ธใิ น 3 ระบบ ระดบั ความสำเรจ็ ของการจัดทำสิทธิประโยชนก์ ลางการดูแลปฐมภมู ิ ของระบบ 363 71 หลักประกนั สขุ ภาพ 3 ระบบ ร้อยละของหน่วยบรกิ ารทีป่ ระสบภาวะวกิ ฤตทางการเงนิ 367 72 จำนวนนวตั กรรมหรือเทคโนโลยสี ขุ ภาพทคี่ ิดคน้ ใหมห่ รือที่พัฒนาตอ่ ยอด 373 73 รอ้ ยละของเขตสุขภาพทมี่ นี วัตกรรมการจดั การบรกิ ารสขุ ภาพ 378 74 ระดบั ความสำเร็จในการพัฒนากฎหมายและมีการบังคบั ใช้ 382 75

หมวด 1. ดา นสงเสรมิ สุขภาพ ปองกันโรค และคุม ครองผบู รโิ ภคเปน เลศิ (PP&P Excellence) แผนที่ 1. การพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนไทยทกุ กลมุ วยั (ดานสุขภาพ) โครงการท่ี 1. โครงการพัฒนาและสรางเสริมศกั ยภาพคนไทยทกุ กลมุ วยั ระดับการแสดงผล จังหวดั /เขต/ประเทศ ชื่อตัวช้ีวดั 1. อตั ราสวนการตายมารดาไทยตอการเกิดมีชีพแสนคน คํานยิ าม การตายมารดา หมายถึง การตายของมารดาไทยตั้งแตขณะต้ังครรภ คลอด และหลังคลอด ภายใน 42 วัน ไมวาอายุครรภจะเปนเทาใดหรือการตั้งครรภท่ีตําแหนงใด จากสาเหตุ เกณฑเ ปา หมาย : ที่เก่ียวของหรือกอใหเกิดความรุนแรงข้ึน จากการต้ังครรภ และคลอดหรือการดูแลรักษา ปงบประมาณ 60 ขณะตั้งครรภร วมถงึ การฆา ตวั ตาย แตไ มใ ชจากอุบัตเิ หตุ ตอการเกิดมชี ีพแสนคน ไมเกนิ 20 ตอ การ เกิดมชี พี แสนคน ปง บประมาณ 61 ปง บประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ 64 ไมเ กิน 20 ตอ การ ไมเ กิน 17 ตอ การ ไมเ กิน 17 ตอ การ ไมเ กิน 17 ตอการ วตั ถปุ ระสงค เกิดมชี ีพแสนคน เกดิ มชี พี แสนคน เกิดมชี พี แสนคน เกิดมีชีพแสนคน ประชากรกลุมเปาหมาย 1. พฒั นาระบบบริการของสถานบรกิ ารสาธารณสุขทุกระดบั ใหไ ดม าตรฐานอนามยั แมและ วิธกี ารจดั เก็บขอมลู เด็กคุณภาพ 2. เฝาระวงั หญิงชว งตั้งครรภ คลอด และหลงั คลอดเพอ่ื ลดการตายของมารดาจากการ ต้งั ครรภแ ละการคลอดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 3. จัดระบบการสง ตอหญงิ ตงั้ ครรภภาวะฉุกเฉินอยางมปี ระสิทธิภาพ หญงิ ตง้ั ครรภ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วัน เมื่อเกดิ มารดาตาย ใหดําเนินการ ดังตอ ไปนี้ 1. โรงพยาบาลท่ีมีมารดาตาย - แจง ขอ มูลมารดาตายเบ้อื งตนแกผ ูอาํ นวยการโรงพยาบาล, นายแพทยสาธารณสขุ จังหวัด และประธานคณะกรรมการอนามัยแมและเดก็ ระดับจงั หวดั ภายใน 24 ชัว่ โมง - ดาํ เนินการตามกระบวนการบรหิ ารจดั การความเส่ียง (Risk Management) และแกปญหาเบ้ืองตน 2. สํานกั งานสาธารณสุขจังหวัด - แจงขอ มูลมารดาตายเบือ้ งตนแกศ นู ยเ ฝา ระวงั มารดาตาย ภายใน 24 ชว่ั โมง 3. คณะกรรมการอนามัยแมและเดก็ ระดับจงั หวัด - เก็บรวบรวมขอมูลมารดาตายท้ังหมด เพ่อื ใชท บทวนและวเิ คราะหสาเหตุการตายมารดา 4. ศูนยเฝาระวงั มารดาตาย - ประสานกับคณะกรรมการอนามัยแมแ ละเด็กระดบั จงั หวัดเพ่ือรวบรวมขอ มูลมารดาตาย - สงรายงานการตายมารดาเบื้องตน ผา น http://savemom.anamai.moph.go.th ใหแกกรมอนามัย ภายใน 24 ชั่วโมง - ประสานกบั คณะกรรมการอนามยั แมและเด็กระดบั จงั หวัดเพอื่ รวบรวมขอมูล มารดาตาย - จัดประชุมทบทวนและวเิ คราะหส าเหตุการตายมารดา - สง แบบฟอรม รายงานการตายมารดา (CE-62) ผาน http://savemom.anamai.moph.go.th แกกรมอนามยั ภายใน 30 วนั รายละเอยี ดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งที่ 1 หน้า :: 6

แหลง ขอมูล 5. สาํ นักสงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย รายการขอมูล 1 - วเิ คราะหขอมูลมารดาตายในภาพรวม และรายงานแกค ณะอนกุ รรมการขับเคล่อื น งานมารดาและทารกปรกิ าํ เนิด ทุก 3 เดือน รายการขอ มูล 2 - จดั ทํารายงานประจาํ ป และขอเสนอแนะเชงิ นโยบายเสนอตอผบู รหิ ารระดบั สูง สตู รคาํ นวณตวั ชว้ี ัด ระยะเวลาประเมินผล หนวยบริการสาธารณสขุ ทุกระดบั สํานักงานทะเบียนราษฎร เกณฑก ารประเมิน : ตวั ตง้ั A = จาํ นวนมารดาตายระหวา งตง้ั ครรภ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วัน ป 2560: ทุกสาเหตุ ยกเวนอุบตั ิเหตุ ในชวงเวลาที่กาํ หนด ตวั หาร B = จํานวนการเกดิ มีชีพท้งั หมดในชวงเวลาเดยี วกัน รอบ 3 เดือน (A/B) x 100,000 - ทกุ 3 เดือน ป 2561: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน รอบ 3 เดือน - - ไมเ กนิ 20 ตอ - การเกิดมีชีพแสนคน ป 2562: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น รอบ 3 เดือน - - ไมเ กิน 20 ตอ - การเกิดมชี พี แสนคน ป 2564: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน รอบ 3 เดือน - - ไมเ กิน 17 ตอ - การเกิดมีชพี แสนคน วธิ ีการประเมินผล : รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น เอกสารสนับสนุน : - - ไมเ กนิ 17 ตอ การเกิดมชี พี แสนคน เปรยี บเทียบผลการดาํ เนินงานกับคา เปาหมาย - แบบฟอรมรายงานการตายมารดา (CE-62) http://savemom.anamai.moph.go.th - มาตรฐานบริการอนามยั แมและเดก็ คณุ ภาพ (Safe Motherhood and Baby Friendly hospital) รายละเอียดตวั ชวี้ ัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครง้ั ท่ี 1 หน้า :: 7

รายละเอียดขอมูลพนื้ ฐาน Baseline หนวยวัด ผลการดาํ เนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ. data ผใู หขอ มลู ทางวิชาการ / 2561 2562 2563 ผูประสานงานตัวช้ีวัด อตั ราสวนการ อตั ราสวนการตาย 19.9 20.3 23.1 หนว ยงานประมวลผลและ ตายมารดา ตอการเกดิ มชี ีพ จดั ทาํ ขอมลู (ระดบั สวนกลาง) แสนราย ผรู บั ผดิ ชอบการรายงานผล การดําเนินงาน 1. แพทยห ญงิ พมิ ลพรรณ ตา งวิวฒั น ตาํ แหนง รองผูอ าํ นวยการสาํ นักสงเสรมิ สุขภาพ โทรศัพททีท่ าํ งาน : 0 2590 4435 โทรศัพทมือถือ : 08 1292 3849 โทรสาร : 0 2590 4427 E-mail : [email protected] สถานท่ที ํางาน สํานกั สงเสริมสุขภาพ กรมอนามยั 2. นางนงลักษณ รงุ ทรัพยสิน ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการพิเศษ โทรศัพททีท่ าํ งาน : 0 2590 4425 โทรศพั ทมือถือ : 08 4681 9667 โทรสาร : 0 2590 4427 E-mail : [email protected] สถานท่ีทํางาน สาํ นักสงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั ชือ่ – สกุล นางวรรณชนก ลิ้มจาํ รญู ตาํ แหนง นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ โทรศพั ทที่ทํางาน : 0 2590 4438 โทรศพั ทมอื ถอื : 06 2596 2294 โทรสาร : 0 2590 4427 E-mail : [email protected] สถานทท่ี าํ งาน สาํ นกั สงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย ช่อื – สกุล นางวรรณชนก ล้มิ จาํ รูญ ตาํ แหนง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร โทรศัพททที่ าํ งาน : 0 2590 4438 โทรศพั ทมอื ถือ : 06 2596 2294 โทรสาร : 0 2590 4427 E-mail : [email protected] สถานทีท่ าํ งาน สาํ นกั สงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย รายละเอยี ดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้ังที่ 1 หนา้ :: 8

หมวด 1.ดา นสงเสรมิ สุขภาพ ปอ งกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปน เลิศ (PP&P Excellence) แผนที่ 1. การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนไทยทกุ กลุมวยั (ดานสขุ ภาพ) โครงการที่ 1. โครงการพฒั นาและสรางศกั ยภาพคนไทยทุกกลุมวยั ระดับการแสดงผล จงั หวดั /เขต/ประเทศ ชอื่ ตวั ชวี้ ัด 2. เด็กไทยมีการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการสมวัย ตัวชี้วัดยอ ย 2.1 2.1 รอ ยละของเดก็ อายุ 0-5 ป สูงดีสมสวนและสว นสูงเฉลย่ี ท่อี ายุ 5 ป คาํ นิยาม 2.2 รอยละของเด็กปฐมวัยมพี ฒั นาการสมวยั รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป สูงดสี มสว นและสว นสงู เฉล่ยี ท่ีอายุ 5 ป - เด็กอายุ 0 - 5 ป หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ป 11 เดอื น 29 วนั - สูงดี หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือสวนสูงอยูในระดับสูงตามเกณฑข้ึนไป (สูงตามเกณฑ คอนขางสูง หรือสูง) เม่ือเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตความยาว/สวนสูงตามเกณฑอายุ กรมอนามัย ชุดใหม ป พ.ศ. 2558 (ขององคการอนามัยโลก) โดยมีคามากกวาหรือ เทา กับ -1.5 SD ของความยาว/สวนสูงตามเกณฑอายุ - สมสวน หมายถงึ เด็กทมี่ ีน้ําหนกั อยใู นระดบั สมสว น เมื่อเทียบกับกราฟการ เจริญเติบโตนาํ้ หนักตามเกณฑความยาว/สว นสูง กรมอนามัย ชดุ ใหม ป พ.ศ. 2558 (ขององคการอนามยั โลก) โดยมคี าอยู ในชว ง +1.5 SD ถงึ -1.5 SD ของน้ําหนักตาม เกณฑความยาว/สว นสงู - สงู ดสี มสวน หมายถึง เด็กทมี่ ีความยาวหรอื สวนสูงอยูในระดบั สงู ตามเกณฑขน้ึ ไปและมี นา้ํ หนกั อยใู นระดบั สมสวน (ในคนเดยี วกัน) - สวนสงู เฉล่ียที่อายุ 5 ป หมายถงึ คาเฉลยี่ ของสวนสงู ในเด็กชาย และเด็กหญิงที่อายุ 5 ปเ ต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน - 1,000 วนั แรกของชีวิต หมายถึง ตั้งแตเริม่ ปฏิสนธใิ นครรภม ารดา จนถึงอายุ 2 ป - มหศั จรรย 1,000 วนั แรกของชีวิต หมายถงึ การสงเสริมโภชนาการ (อาหารหญงิ ต้งั ครรภ อาหารหญงิ ใหน มบุตร นมแม และอาหารเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ป รวมท้ัง การเสริมสารอาหารทสี่ ําคญั ในรปู ของยา ไดแ ก ธาตเุ หลก็ ไอโอดนี และกรดโฟลกิ สําหรบั หญงิ ตงั้ ครรภและหญิง หลังคลอดทใี่ ห นมแม ๖ เดอื น ยาน้ําเสรมิ ธาตเุ หลก็ สาํ หรบั เดก็ อายุ ๖ เดือน ถึง ๕ ป) รวมกับการบูรณาการงานสขุ ภาพอ่ืน ๆ เชน สุขภาพชองปาก กิจกรรมทางกาย การนอน สขุ าภิบาลอาหารและนํา้ - ตาํ บลมหศั จรรย 1,000 วันแรกของชีวิต หมายถึง ตาํ บลท่ีมปี ระเดน็ การขบั เคลือ่ น การดาํ เนนิ งานมหศั จรรย 1,000 วันแรกของชวี ิต 4 ประเด็น ดังนี้ 1) ชมุ ชน ทอ งถิ่น ภาคีเครอื ขาย รว มลงทุนและเปนเจาของในการดแู ลหญงิ ตัง้ ครรภ หญงิ ใหน มบุตร และเด็กอายุ 0-2 ป โดยมสี วนรว มในการสงเสรมิ โภชนาการ พัฒนาการ สขุ ภาพชองปาก กิจกรรมทางกาน และการนอน 2) ดําเนินงานผานกลไกที่มีอยใู นพืน้ ท่แี ละครบถวนทุกกจิ กรรมสําคญั 3) ดแู ลการใหบริการคณุ ภาพมาตรฐานในงาน ANC และ WCC 4) ครอบคลุมกลุมเปา หมายทุกคนในตาํ บล - ตําบลมหัศจรรย 1,000 วนั แรกของชีวิต หมายถึง ตําบลที่ผานเกณฑประเมินตําบล มหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต ของกรมอนามัย รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หน้า :: 9

เกณฑเปา หมาย : รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป สงู ดสี มสว นและสวนสูงเฉลีย่ ทีอ่ ายุ 5 ป ตวั ช้วี ดั ปง บประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ ปง บประมาณ 64 65 1. รอ ยละเด็กสงู ดสี มสว น 57.0 60.0 62.0 64.0 2. สวนสงู เฉล่ียท่อี ายุ 5 ป - เด็กชาย (เซนตเิ มตร) - - - 113.0 - เดก็ หญงิ (เซนตเิ มตร) 112.0 วตั ถุประสงค 1. เพ่อื สงเสรมิ โภชนาการสตรีและเด็กอายุ 0-5 ป 2. เพื่อสงเสรมิ และเฝาระวังภาวะการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ อายุ 0-5 ป 3. เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการใหบรกิ ารและการเฝา ระวงั ทางโภชนาการใน ANC, WCC, ศูนย พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรยี นระดบั อนุบาล ประชากรกลุมเปาหมาย หญิงตงั้ ครรภ หญงิ ใหนมบุตร พอแม/ผเู ลี้ยงดูเดก็ เด็กแรกเกดิ จนถงึ อายุ 5 ป 11 เดอื น 29 วัน วธิ ีการจดั เกบ็ ขอมลู โรงพยาบาลสงเสริสุขภาพตําบล และ PCU ของโรงพยาบาล นําขอมูลนํ้าหนัก ความยาว/ สว นสงู ของเด็กทเี่ ปน ปจจบุ ัน จากหมูบ าน ศูนยพฒั นาเด็กเล็ก โรงเรียนระดบั อนบุ าล และ สถานบริการสาธารณสุข (คลินิกสุขภาพเด็กดี) ซึ่งไมรวมการมารับบริการในกรณีเจ็บปวย บันทึกในโปรแกรมหลกั ของสถานบรกิ าร เชน JHCIS, HOSxP PCU เปนตน และสงออก ขอ มูลตามโครงสรางระบบฐานขอมูล 43 แฟม โดยบนั ทึกขอมูลนํ้าหนัก ความยาว/สวนสูง ดว ยทศนยิ ม 1 ตาํ แหนง เชน นาํ้ หนกั 20.1 กโิ ลกรมั ความยาว/สว นสูง 90.5 เซนติเมตร แหลง ขอมูล 1) สถานบริการสาธารณสุขทุกแหง (คลนิ ิกสุขภาพเด็กดี) 2) หมูบา น 3) ศูนยพฒั นาเดก็ เล็ก 4) โรงเรียนระดับอนุบาล รายการขอมูล 1 A1 = จํานวนเด็กอายุ 0-5 ปส งู ดสี มสว น รายการขอมูล 2 A2 = ผลรวมของสวนสูงของประชากรชายอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วันที่ไดรับการ วัดสว นสูง รายการขอมูล 3 A3 = ผลรวมของสวนสูงของประชากรหญิงอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ท่ีไดรับ การวดั สว นสูง รายการขอ มูล 4 B1 = จาํ นวนเด็กอายุ 0-5 ป ท้งั หมด รายการขอมูล 5 B2 = จํานวนเดก็ อายุ 0-5 ปทชี่ ั่งนาํ้ หนักและวดั สวนสูงท้ังหมด รายการขอ มูล 6 B3 = จํานวนประชากรชายอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ท่ีไดรับการวัดสวนสูง ทง้ั หมด รายการขอมูล 7 B4 = จํานวนประชากรหญิงอายุ 5 ปเต็ม ถึง 5 ป 11 เดือน 29 วัน ที่ไดรับการวัดสวนสูง ท้งั หมด สูตรคํานวณตัวชีว้ ัด 1) ความครอบคลุมเด็กที่ไดรับการชัง่ นํา้ หนกั และวดั ความยาว/สวนสูง = (B2/ B1) × 100 ระยะเวลาประเมินผล 2) รอยละเด็กอายุ 0-5 ปสงู ดีสมสว น = (A1 / B2) × 100 3) สว นสูงเฉลีย่ ชายทีอ่ ายุ 5 ป = (A2 / B3) 4) สวนสงู เฉล่ยี หญิงทอี่ ายุ 5 ป = (A3 / B4) ปละ 4 ครง้ั คือ ไตรมาสที่ 1, 2, 3, 4 รายละเอยี ดตวั ชีว้ ัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครง้ั ท่ี 1 หนา้ :: 10

เกณฑก ารประเมิน : (ระบุ small success : ผลลัพธใ นแตล ะรอบ) ป 2562: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 51 53 55 57 ป 2563: รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน 60 57 58 59 ป 2564: รอบ 12 เดือน 62 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน 60 61 61.5 รอบ 12 เดือน ป 2565: 64 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน 62 63 63.5 วธิ กี ารประเมนิ ผล : 1. ใชขอมูลจากระบบ Health Data Center (HDC SERVICE) กระทรวงสาธารณสุข เอกสารสนบั สนุน : ประมวลผลปล ะ 4 ครง้ั คือ ไตรมาสท่ี 1, 2, 3, 4 2. เปรียบเทียบผลการดําเนินงานจากระบบฐานขอมูล HDC กระทรวงสาธารณสุขกับคา เปาหมาย ของตวั ชีว้ ัด 3. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคลอง เพ่ือเด็ก 0-5 ป สูงดีสมสวน พัฒนาการสมวัย ฟนไมผุผานกจิ กรรม กนิ กอด เลน เลา นอน เฝา ดูฟน 4. มีรายงานผลการขบั เคลื่อนงานมหัศจรรย 1,000 วนั แรกของชีวิต เพ่ือเด็ก 0-5 ป สงู ดีสม สวน พฒั นาการสมวยั ฟน ไมผ ุ พรอมขอเสนอแนะระดับจังหวดั สง ใหกับเขตสุขภาพและศนู ย อนามยั 1. หนังสือแนวทางการขบั เคลอื่ นงานมหศั จรรย 1,000 วันแรกของชวี ิต 2. หนงั สือแนวทางการดําเนนิ งานสงเสริมสุขภาพดานโภชนาการในคลินกิ ฝากครรภ 3. หนงั สอื แนวทางการดําเนนิ งานสง เสรมิ สุขภาพดานโภชนาการในคลินกิ สุขภาพเดก็ ดี 4. หนังสือแนวทางการดําเนินงานตําบลสงเสริมเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน ฟนไมผุ พฒั นาการสมวัย 5. แนวทางการดําเนินงานจัดบริการสงเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยดาน โภชนาการและสุขภาพชองปากในเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : PCC) 6. ชดุ กิจกรรมพน้ื ฐานดา นโภชนาการสตรแี ละเดก็ ปฐมวัย 7. info graphic โภชนาการสตรีและเดก็ ปฐมวัย 8 เร่ือง 8. Motion graphic โภชนาการสตรีและเดก็ ปฐมวัย 8 เรือ่ ง 9. VTR มหัศจรรย 1,000 วันแรกของชีวิต 10. ชดุ ความรกู ิน กอด เลน เลา นอน เฝาดูฟน 11. สอ่ื โภชนาการ สาํ หรบั หญิงตัง้ ครรภ หญิงใหนมบุตร และเด็กอายุ 0-5 ป ดว ยเทคโนโลยี เสมือนจริง(Augmented Reality : AR) รายละเอยี ดตัวชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งที่ 1 หนา้ :: 11

รายละเอียดขอมลู พื้นฐาน ตัวชวี้ ัด Baseline หนว ยวัด ผลการดําเนินงานในรอบปง บประมาณ พ.ศ. เด็กอายุ 0-5 ป data* รอยละ 2560 2561 2562 2563 สงู ดสี มสว น 46.3 49.5 50.7 58.6 63.7 สว นสูงเฉลีย่ ท่อี ายุ 5 ป 110.0 109.4 108.8 109.1 ชาย = 109.3 เซนติเมตร 109.4 108.7 108.2 108.5 หญิง= 108.6 เซนติเมตร *ขอมลู รายงานจาก HDC ไตรมาสที่ 1 เดือนตลุ าคม – ธันวาคม 2558 ผใู หขอ มลู ทางวิชาการ / 1. นางสาววารีทิพย พึ่งพนั ธ นักโภชนาการชํานาญการพเิ ศษ ผูประสานงานตัวช้ีวดั โทรศพั ทท่ีทํางาน : 0-2590-4327 โทรศัพทม ือถือ : - โทรสาร : 025904339 E-mail : [email protected] 2. นางสาววราภรณ จิตอารี นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบตั ิการ โทรศพั ทท ที่ าํ งาน : 02-5904327 โทรศัพทมอื ถือ : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] หนวยงานประมวลผลและ สาํ นักโภชนาการ กรมอนามัย จัดทําขอ มูล ผรู บั ผดิ ชอบ 1. นางสาววารที ิพย พ่งึ พนั ธ นกั โภชนาการชํานาญการพเิ ศษ การรายงานผล โทรศัพทท่ที ํางาน : 0-2590-4327 โทรศพั ทม ือถือ : - การดาํ เนนิ งาน โทรสาร : 025904339 E-mail : [email protected] ตวั ช้วี ัดยอ ยที่ 2.2 2. นางสาววราภรณ จิตอารี นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ คาํ นิยาม โทรศัพทท่ีทาํ งาน : 02-5904327 โทรศพั ทมือถอื : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] รอ ยละของเด็กปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวยั - เด็กปฐมวัย หมายถงึ เด็กแรกเกดิ จนถงึ อายุ 5 ป 11 เดือน 29 วนั - พัฒนาการสมวัย หมายถึง เด็กทุกคนไดรับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชคูมือเฝาระวัง และสงเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แลวผลการตรวจคัดกรอง ผานครบ 5 ดาน ใน การตรวจคัดกรองพัฒนาการคร้ังแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยลา ชาและไดรับการ ตดิ ตามใหไดรับการกระตุนพัฒนาการ และประเมินซํ้าแลวผลการประเมนิ ผานครบ 5 ดา น ภายใน 30 วัน (1B260) คาํ นยิ ามเพิม่ เติม • การคดั กรองพฒั นาการ หมายถงึ ความครอบคลุมของการคัดกรองเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ณ ชว งเวลาทมี่ กี ารคดั กรองโดยเปน เด็กในพนื้ ท่ี (Type1: มชี ือ่ อยใู น ทะเบียนบา น ตัวอยูจ รงิ และ Type3 : ทอี่ าศัยอยูในเขต แตทะเบียนบา นอยูน อกเขต) • พัฒนาการสงสยั ลาชา หมายถึง เด็กที่ไดร ับตรวจคัดกรองพัฒนาการโดยใชคูมือเฝา ระวงั และสงเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (DSPM) และ ผลการตรวจคดั กรองพัฒนาการ ตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผานไมครบ 5 ดาน ทง้ั เด็กทต่ี อ ง แนะนาํ ใหพอ แม ผูป กครอง สงเสรมิ พัฒนาการตามวยั ภายใน 30 วนั (1B261) รวมกบั รายละเอียดตัวชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้งั ที่ 1 หน้า :: 12

เด็กทส่ี งสัยลา ชา สง ตอทันที (1B262 : เด็กที่พฒั นาการลาชา /ความผดิ ปกติอยา ง ชัดเจน) • พฒั นาการสงสัยลาชาไดร ับการติดตาม หมายถึง เดก็ ที่ไดรบั การตรวจคดั กรอง พฒั นาการตามอายุของเด็กในการประเมนิ พัฒนาการครัง้ แรกผานไมครบ 5 ดา น เฉพาะกลมุ ทแ่ี นะนาํ ใหพ อแม ผูปกครอง สงเสรมิ พัฒนาการตามวยั ภายใน 30 วัน (1B261) แลว ตดิ ตามกลับมาประเมินคัดกรองพฒั นาการคร้ังท่ี 2 • เดก็ พัฒนาการลาชา หมายถงึ เดก็ ท่ไี ดร บั ตรวจคดั กรองพัฒนาการโดยใชค มู ือเฝา ระวัง และสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั (DSPM) แลวผลการตรวจคัดกรอง ไมผ า นครบ 5 ดา น ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการคร้งั แรกและคร้งั ที่ 2 (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242) เกณฑเ ปาหมาย : รอยละของเด็กปฐมวัยมีพฒั นาการสมวัย ปงบประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปง บประมาณ 64 ปง บประมาณ 65 ปงบประมาณ 66 รอ ยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 หมายเหตุ * ตวั ชี้วดั Process ไมไดใชประเมนิ ผลลพั ธ ใน ป 2564 แตม ผี ลตอเปาหมายนํามาแสดงเพอื่ ใหเห็นถงึ กระบวนการทํางาน ประกอบดวย 4 ตัวชีว้ ัดดังนี้ ตวั ชี้วัด Process* ปง บประมาณ ปง บประมาณ ปงบประมาณ ปงบประมาณ ปง บประมาณ 61 62 63 64 65 รอ ยละของเด็กอายุ 0-5 ป รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 รอ ยละ 90 ไดรบั การคดั กรองพัฒนาการ เดก็ อายุ 0-5 ป ทีไ่ ดร ับการ รอยละ 20 รอ ยละ 20 รอยละ 20 รอ ยละ 20 รอยละ 20 คดั กรองพัฒนาการ พบสงสยั ลา ชา เดก็ อายุ 0-5 ป ท่มี ี รอ ยละ 90 รอยละ 90 รอ ยละ 90 รอยละ 90 รอยละ 90 พัฒนาการสงสัยลา ชา ไดร ับ การติดตาม เด็กพัฒนาการลาชาไดร บั รอยละ 60 รอยละ 60 รอ ยละ 60 รอ ยละ 60 รอยละ 60 การกระตุนพัฒนาการดว ย TEDA4I วตั ถุประสงค 1. สงเสริมใหเด็กเจริญเตบิ โต พฒั นาการสมวยั พรอมเรียนรู ตามชวงวัย 2. พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานอนามัยแมแ ละเดก็ คุณภาพของหนว ยบริการทุกระดับ 3. สงเสรมิ ใหประชาชนมคี วามตระหนักรู เรื่องการเลยี้ งดเู ดก็ อยางมีคุณภาพ ประชากรกลุมเปา หมาย เด็กไทยอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทุกคนที่อยูอาศยั ในพ้ืนทีร่ ับผิดชอบ (Type1 มี ชือ่ อยใู นทะเบียนบาน ตัวอยจู รงิ และType3 ทอ่ี าศยั อยใู นเขต แตท ะเบยี นบานอยนู อกเขต) วิธกี ารจดั เกบ็ ขอ มลู 1. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ นําขอมูลการการประเมินพัฒนาการเด็ก บันทึกใน โปรแกรมหลกั ของสถานบริการฯ เชน JHCIS HosXP PCU เปน ตน และสงออก ขอ มูลตามโครงสรางมาตรฐาน 43 แฟม 2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรวจสอบความถกู ตองของขอมลู ในระบบ Health รายละเอียดตัวชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครงั้ ที่ 1 หน้า :: 13

Data Center (HDC SERVICE) กระทรวงสาธารณสขุ วเิ คราะหแ ละจัดทาํ สรปุ รายงานและประเมนิ ผลตามเกณฑเปาหมายในแตละรอบของพน้ื ท่ี แหลงขอมลู สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทกุ แหง /สาํ นกั งานสาธารณสุขจงั หวดั รายการขอมูล 1 A = จํานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ที่ไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการโดย ใชคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) แลวผลการตรวจคัดกรอง รายการขอมูล 2 ผานครบ 5 ดา น ในการตรวจคัดกรองพฒั นาการครัง้ แรก a = จํานวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ท่ีไดรับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ รายการขอมูล 3 พบพัฒนาการสงสัยลาชาและไดรับการติดตามกระตุนพัฒนาการ และประเมินซํ้าแลว สตู รคาํ นวณตัวชี้วดั ผลการประเมนิ ผานครบ 5 ดานภายใน 30 วนั (1B260) B = จาํ นวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ทง้ั หมด ในชวงเวลาทกี่ ําหนด ระยะเวลาประเมนิ ผล =(������������������������+������������������������)+(������������������������������������+������������������������������������)+(������������������������������������+������������������������������������)+(������������������������������������+������������������������������������)+(������������������������������������+������������������������������������) เกณฑก ารประเมนิ : × ������������������������������������ ป 2562: ������������ รอบ 3 เดือน รายงานขอ มลู ทุกเดือน รอยละ 85 ป 2563: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น รอบ 3 เดือน รอ ยละ 85 รอยละ 85 รอ ยละ 85 รอยละ 85 ป 2564: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน รอบ 3 เดือน รอ ยละ 85 รอ ยละ 85 รอ ยละ 85 รอยละ 85 ป 2565: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น รอบ 3 เดือน รอยละ 85 รอ ยละ 85 รอ ยละ 85 รอ ยละ 85 ป 2566: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น รอบ 3 เดือน รอยละ 85 รอ ยละ 85 รอยละ 85 รอ ยละ 85 วิธกี ารประเมนิ ผล : รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน รอยละ 85 รอยละ 85 รอยละ 85 1. ใชข อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสขุ ประมวลผล ทกุ วนั 2. นําผลการดาํ เนนิ งานในแตละเดอื นรวมกนั เพ่ือรายงานผล 3. การดึงขอมูล ใหร อขอ มูลพัฒนาการเดก็ สงสัยลาชา หลงั การติดตาม 45 วนั รายละเอียดตัวชีว้ ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 14

เอกสารสนบั สนนุ : 1. สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพแมแ ละเดก็ 2. คูมอื นกั สงเสริมพัฒนาการเดก็ หลกั สตู รเรงรัด ประจาํ โรงพยาบาล 3. คมู ือ DSPM (ปรับปรุง เปนไฟลอเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละ QR Code เช่ือมคลิปวีดโี อ) 4. คมู ือมสิ นมแม 5. คูมือเฝา ระวังการควบคุมการสง เสริมการตลาด อาหารสําหรบั ทารกและเด็กเล็ก คูม ือคลนิ ิกเดก็ ดีคณุ ภาพ 6. คูมือผูอํานวยการเลน (Play worker) เด็กไทยเลนเปลย่ี นโลก รายละเอียดขอมลู พ้ืนฐาน Baseline หนว ยวัด ผลการดาํ เนนิ งานในรอบปง บประมาณ พ.ศ. data รอยละ 2561 2562 2563 ผใู หขอ มลู ทางวิชาการ / 80.7 87.1 90.4 ผูป ระสานงานตัวช้ีวดั รอยละของ หนวยงานประมวลผลและ เด็กปฐมวยั จัดทาํ ขอมลู มีพัฒนาการ (ระดบั สวนกลาง) ผรู บั ผดิ ชอบการรายงานผล สมวยั การดาํ เนนิ งาน หมายเหตุ : ขอมูล HDC ป 61-62 คัดกรองในเดก็ 4 ชว งอายุ 9,18, 30 และ 42 เดือน รวมกระตนุ ตดิ ตาม ขอมลู ป 2563 (เดอื น ต.ค.62 - ก.ค.63) ดึงขอมลู ณ 20 ก.ย. 2563 1. นายแพทยธีรชยั บญุ ยะลีพรรณ รองผอู ํานวยการสถาบนั พัฒนาอนามยั เด็กแหงชาติ โทรศัพทท่ที าํ งาน : 02 5883088 ตอ 3131 โทรศัพทมือถือ : 089 144 4208 E-mail : [email protected] 2. นางประภาพร จังพาณชิ ย นกั วิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการพิเศษ โทรศพั ทท ีท่ าํ งาน : 02 5904425 โทรศัพทมือถือ : 087 077 1130 E-mail : [email protected] 1. สํานกั สง เสริมสุขภาพ กรมอนามยั 2. สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแหงชาติ กรมอนามัย 3. สาํ นักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข 1. นายสุทิน ปณุ ฑริกภกั ดิ์ นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ โทรศัพทที่ทาํ งาน : 02 588 3088 ตอ 3111 E-mail : [email protected] 2. นางสาวพรชเนตต บญุ คง นกั วิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการ โทรศัพทที่ทาํ งาน : 02 588 3088 ตอ 4100 โทรศัพทมือถือ : 086 359 6215 E-mail : [email protected] 3. นางสาวพิชชานนั ท ทองหลอ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ โทรศพั ทท่ที ํางาน : 02 588 3088 ตอ 3112 โทรศัพทม ือถือ : 090 918 9835 E-mail : [email protected] รายละเอยี ดตัวช้ีวัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครัง้ ที่ 1 หน้า :: 15

หมวด 1. ดานสง เสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคมุ ครองผบู ริโภคเปน เลศิ (PP&P Excellence) แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนไทยทุกกลุมวัย (ดานสุขภาพ) โครงการที่ 1. โครงการพฒั นาและสรางศกั ยภาพคนไทยทุกกลุมวัย ระดับการแสดงผล ประเทศ ชอื่ ตัวชว้ี ดั 3. เด็กไทยมีระดบั สตปิ ญ ญาเฉล่ยี ไมต ่ํากวา 100 3.1 เด็กไทยมรี ะดับสติปญญาเฉลย่ี ไมตาํ่ กวา 100 3.2 รอยละของเด็กปฐมวยั ท่ีไดร ับการคัดกรองแลวพบวา มพี ัฒนาการลา ชาไดรบั การกระตุนพฒั นาการดวย TEDA4I หรอื เครือ่ งมือมาตรฐานอืน่ เด็กไทย หมายถึง เด็กนักเรียนไทยท่ีกําลังศึกษาอยูระดับประถมศึกษา ปท่ี 1 ใน โรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) สํานักงาน คณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษาเอกชน สาํ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สาธติ และ ราชภัฏ) กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน (เทศบาล) กองบัญชาการตํารวจตระเวน ชายแดน สํานักการศึกษาเมืองพัทยา และสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้ง 77 จังหวัด ทวั่ ประเทศ ความฉลาดทางสติปญ ญา หมายถึง ความสามารถของสมอง ในการคิด การใชเ หตผุ ล การคํานวณ การเช่ือมโยง เปนศักยภาพทางสมองท่ีติดตัวมาแตกําเนิด สามารถวัดออกมา เปนคาสัดสวนตัวเลขท่ีแนนอนได โดยเครื่องมือวัดสวนใหญจะวัดทักษะและกระบวนการ ของสมอง เชน ความคิด ความจาํ การจัดการขอ มูลของสมอง เปน ตน ความฉลาดทางสติปญญาไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน หมายถึง คาที่แสดง ความสามารถของสมองในภาพรวมซ่ึงเกิดจากการใชเครื่องมือวัดความสามารถทาง สติปญญาใหไดใกลเคียงศักยภาพจริงมากที่สุด โดยมีคากลางที่เปนมาตรฐานสากล ยุคปจ จุบนั ทคี่ า = 100 เด็กปฐมวัยที่ไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา หมายถึง เด็กปฐมวัย อายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน ท่ีประเมินดวยคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM) คร้ังท่ี 1 แลวพบวาตองสงตอ และเด็กอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือนท่ีสงสัยลาชาแลวไดรับการ กระตุนพัฒนาการ และติดตามมาประเมินซํ้าดวยคูมือเฝาระวังและสงเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย: DSPM ครงั้ ที่ 2 แลว ยงั พบวามพี ัฒนาการลา ชา อยา งนอย 1 ดานขน้ึ ไป ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น หมายถึง การท่ีเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา ไดรับการตรวจวินิจฉัย เพ่ิมเติมและ/ หรือประเมินพัฒนาการ พรอมท้ังกระตุนพัฒนาการดวยคูมือประเมินเพื่อ ชวยเหลือเด็กปฐมวัยท่ีมีปญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention: TEDA4I) หรือเคร่ืองมือมาตรฐานอ่ืนๆ เชน คูมือสงเสรมิ พัฒนาการเด็ก วัยแรกเกิด-5 ป สําหรับบุคลากรสาธารณสุข (Developmental Skill Inventory : DSI ), คูมือประเมินและแกไขพัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ป, โปรแกรมการฝก/กระตุนพัฒนาการตาม วชิ าชพี (นักกจิ กรรมบําบดั นกั กายภาพบาํ บัด นกั เวชศาสตรส่อื ความหมาย) เปนตน เกณฑเปา หมาย : เดก็ ไทยมีระดับสติปญ ญาเฉล่ยี ไมต ํ่ากวา 100 ปงบประมาณ 60 ปง บประมาณ 61 ปงบประมาณ 62 ปงบประมาณ 63 ปงบประมาณ 64 วดั ผลป 64 วดั ผลป 64 วดั ผลป 64 วัดผลป 64 ระดับสติปญ ญา เฉลีย่ ไมต ํ่ากวา 100 รายละเอียดตัวชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้งั ที่ 1 หนา้ :: 16

เกณฑเ ปาหมายยอ ย : รอยละของเด็กปฐมวยั ท่ไี ดรับการคัดกรองแลวพบวามพี ฒั นาการลาชา ไดรับการกระตุน พฒั นาการดว ย TEDA4I หรอื เครือ่ งมือมาตรฐานอ่ืน ปงบประมาณ 60 ปง บประมาณ 61 ปงบประมาณ 62 ปง บประมาณ 63 ปง บประมาณ 64 รอ ยละ 50 รอ ยละ 55 รอ ยละ 60 รอ ยละ 60 รอ ยละ 70 . 1. ทราบถึงสถานการณค วามฉลาดทางสตปิ ญญาของเด็กไทย วัตถปุ ระสงค 2. เปน แนวทางในการวางแผนพฒั นาความฉลาดทางสติปญญาเดก็ ไทย ประชากรกลุมเปา หมาย 3. เพอื่ ขยายความครอบคลุมใหเดก็ ปฐมวยั ที่มีพฒั นาการลาชา ไดรบั การกระตุนพัฒนาการ ดว ย TEDA4I หรอื เคร่ืองมือมาตรฐานอ่ืน ทาํ ใหเ ด็กมีพฒั นาการกาวหนา/กลบั มาสมวัย วธิ ีการจัดเก็บขอ มูล สง ผลตอ ระดบั สติปญญา แหลง ขอมูล 4. เพอ่ื พัฒนาระบบการดแู ลเด็กพฒั นาการลา ชา และระบบการติดตามดูแลตอเน่ืองรวมกบั หนวยงานทีเ่ กี่ยวของในเขตสขุ ภาพ สง ผลใหผ ูป กครอง/ผูปฏิบตั ิงานมีความเขาใจ และเห็น ความสาํ คัญในการกระตนุ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั เปาหมาย : เด็กนักเรียนไทยที่กําลังศึกษาอยูระดับประถมศึกษา ปที่ 1 ในโรงเรียนสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) สํานักงานคณะกรรมการสงเสริม การศึกษาเอกชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สาธิตและราชภัฏ) กรมสงเสริม การปกครองสวนทองถิ่น (เทศบาล) กองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน สํานักการศึกษา เมอื งพัทยา และสงั กดั กรุงเทพมหานคร ทง้ั 77 จงั หวดั ท่วั ประเทศ เปา หมายยอย : เดก็ ปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน ท่ีประเมินดว ยคูม ือเฝา ระวังและ สงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM) คร้ังที่ 1 แลวพบวาตองสงตอ และเด็กอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือนท่ี สงสยั ลา ชา แลว ไดร ับการกระตนุ พัฒนาการ และติดตามมาประเมนิ ซํา้ ดว ยคูมือเฝาระวังและ สง เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย: DSPM คร้ังที่ 2 แลวยังพบวามีพฒั นาการลา ชาอยางนอย 1 ดา นข้ึนไป เปาหมาย : จากการสํารวจระดบั สตปิ ญญาเด็กชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 1 ทว่ั ประเทศ เปาหมายยอย : ใชขอมูลจากแฟม SPECIALPP ประมวลผลในระบบคลังขอมูลดาน การแพทยและสุขภาพ (Health Data Center: HDC) ต้งั แตวนั ที่ 1 ต.ค. 63 – 30 ก.ย. 64 ทั้งตัวต้ังและตัวหารยกเวน กทม.ใชขอมูลที่สถาบันราชานุกูล และสถาบันสุขภาพจิตเด็ก และวยั รุน ราชนครินทร รวบรวมจากการดําเนินงานของเครือขายในเขตสุขภาพที่รบั ผิดชอบ เปาหมาย : ขอ มูลจากการรายงานผลการสาํ รวจระดับสตปิ ญ ญาเดก็ นักเรยี นไทย ป 2564 เปาหมายยอย : ขอมูลในเขตสุขภาพท่ี 1-12 ดึงขอมูลจากระบบคลังขอมูลดานการแพทยและสุขภาพ (Health Data Center: HDC) ท้งั หมด โดย ขอมูลเด็กปฐมวัย (อายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน) ที่ไดรับการคัดกรองแลวพบวามี พัฒนาการลาชาแลวไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอ่ืน แลวไดรับการตดิ ตามมาประเมินพฒั นาการซ้าํ อกี คร้ังดว ย DSPM ทงั้ หมด ใชขอมูลจากแฟม SPECIALPP ขอมูลเด็กปฐมวัย (อายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน) ท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามี พัฒนาการลาชาแลวไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอ่ืน จนมีพัฒนาการสมวยั ใชข อ มลู จากแฟม SPECIALPP รายละเอยี ดตวั ชี้วดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 1 หน้า :: 17

ขอ มูลในเขตสุขภาพท่ี 13 ใชขอ มูลท่ีสถาบันราชานุกูล และสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุน ราชนครินทร รวบรวมจากการดาํ เนินงานของเครอื ขา ยในเขตสุขภาพท่รี ับผิดชอบ โดย ขอมูลเด็กปฐมวัย (ทุกชวงอายุ) ท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลาชา ทั้งหมด และขอมูลเด็กปฐมวัย (ทุกชวงอายุ) ท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการ ลาชาแลวไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I หรือเคร่ืองมือมาตรฐานอื่น ใชขอมูลท่ี สถาบนั ราชานกุ ลู และสถาบันสขุ ภาพจิตเด็กและวยั รุนราชนครินทร รวบรวม รายการขอมูล 1 A = ผลรวมของคะแนน IQ ของเด็กนักเรียนไทยกลุม ตัวอยาง รายการขอ มูล 2 B = จาํ นวนเด็กนักเรียนไทยที่เปน กลมุ ตัวอยา งในปท ่สี ํารวจ รายการขอมูล 3 C = จาํ นวนเด็กปฐมวัยทไี่ ดรับการคดั กรองแลวพบวา มีพฒั นาการลา ชา แลว ไดร บั การ กระตนุ พัฒนาการดว ย TEDA4I หรอื เคร่อื งมอื มาตรฐานอน่ื รายการขอมูล 4 D = จาํ นวนเดก็ ปฐมวัยท่ไี ดรับการคัดกรองแลว พบวามีพฒั นาการลาชา ท้งั หมด สตู รคํานวณตวั ช้วี ัด ตามเกณฑเ ปา หมาย = (A/B) ตามเกณฑเปาหมายยอ ย = (C/D) x 100 ระยะเวลาประเมินผล เปาหมาย : ทกุ 5 ป เปาหมายยอ ย : ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 และไตรมาส 4 เกณฑก ารประเมนิ : 1. เด็กไทยมรี ะดบั สติปญญาเฉลี่ยไมต่ํากวา 100 : 1.1 รอยละของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการคดั กรองแลวพบวามพี ัฒนาการลาชาไดรบั การกระตุน พัฒนาการดวย TEDA4I หรอื เคร่ืองมือมาตรฐานอื่น ป 2560 : 1.1 รอยละของเด็กปฐมวัยทไ่ี ดรบั การคดั กรองแลวพบวามพี ัฒนาการลาชาไดรับการกระตุนพฒั นาการดวย TEDA4I หรือเคร่ืองมอื มาตรฐานอื่น รอบ 3 เดอื น รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดอื น รอบ 12 เดอื น -- - รอ ยละ 50 ป 2561 : 1.1 รอ ยละของเด็กปฐมวยั ท่ไี ดรับการคัดกรองแลวพบวามพี ฒั นาการลาชา ไดรับการกระตุนพัฒนาการดว ย TEDA4I หรอื เครอื่ งมอื มาตรฐานอื่น รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน -- - รอยละ 55 ป 2562 : 1.1 รอยละของเด็กปฐมวยั ท่ีไดรบั การคดั กรองแลวพบวามีพฒั นาการลาชาไดรบั การกระตุนพฒั นาการดวย TEDA4I หรือเครอื่ งมอื มาตรฐานอนื่ รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดอื น รอบ 12 เดือน -- - รอยละ 60 ป 2563 : 1.1 รอยละของเด็กปฐมวยั ท่ไี ดร บั การคัดกรองแลวพบวามีพัฒนาการลา ชา ไดรับการกระตุนพัฒนาการดวย TEDA4I หรือเคร่อื งมือมาตรฐานอน่ื รอบ 3 เดอื น รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดอื น รอบ 12 เดอื น -- - รอยละ 60 ป 2564 : 1. เดก็ ไทยมรี ะดบั สตปิ ญญาเฉล่ยี ไมตํ่ากวา 100 1.1 รอยละของเด็กปฐมวยั ทไ่ี ดรบั การคัดกรองแลว พบวามีพฒั นาการลา ชา ไดรับการกระตุน พัฒนาการดว ย TEDA4I หรอื เครอ่ื งมอื มาตรฐานอน่ื รอบ 3 เดอื น รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน -- - ระดับสตปิ ญ ญาเฉล่ียไมต ่ํากวา 100 รอ ยละ 30 รอ ยละ 45 รอยละ 60 รอยละ 70 รายละเอยี ดตัวชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หน้า :: 18

วธิ ีการประเมนิ ผล : วิเคราะหขอมูลจากการรายงานผลการสํารวจระดับสติปญญาเด็กนักเรียนไทย และจากการ เอกสารสนับสนนุ : รายงานผลในแฟม SPECIALPP ประมวลผลใน HDC สถาบันราชานุกูล และสถาบัน รายละเอยี ดขอ มูลพ้ืนฐาน สุขภาพจิตเด็กและวัยรุนราชนครินทร รวบรวมจากการดําเนินงานของเครือขายในเขต สุขภาพท่ีรับผดิ ชอบ - บทความฟนฟวู ิชาการ: การสํารวจระดับสติปญญาเด็กไทยในสองทศวรรษที่ผานมา. วารสารสขุ ภาพจติ แหงประเทศไทย ปท ่ี 20 ฉบบั ที่ 2 ป 2555 - รายงานการสาํ รวจระดบั สติปญญา และความฉลาดทางอารมณ ป 2554 และ 2559. กรมสขุ ภาพจติ Baseline data หนว ยวดั ผลการดาํ เนนิ งานในรอบปง บประมาณ พ.ศ. 2561 2562 2563 คาเฉลีย่ ของระดบั - - - - สติปญ ญาเดก็ ไทย รอ ยละของเดก็ รอยละ 37.79 53.08 66.87* ปฐมวัย (อายุ 9, 18, (เขต 1-12 (เขต 1-12 (เขต 1-12 30, 42 เดือน) ท่ี ขอมูลจากHDC ขอ มลู จากHDC ขอมลู จากHDC ไดร บั การคัดกรอง ณ 14 ก.ย.61) ณ 30 ก.ย.62) ณ 31 ส.ค.63) แลวพบวามี พัฒนาการลาชาแลว ไดร บั การกระตนุ พัฒนาการ *หมายเหตุ ป63 : อายุ 9,18,30,42,60 เดอื น รอยละของเดก็ รอยละ 58.15 38.25 51.98 ปฐมวยั (ทุกชวงอายุ) (ขอมลู ณ (ขอ มลู ณ (ขอ มลู ณ ทีไ่ ดร ับการคัดกรอง แลวพบวา มี 31 ส.ค.61) 30 ส.ค.62) 31 ส.ค.63) พัฒนาการลา ชา แลว ไดร บั การกระตนุ พฒั นาการ . ผใู หขอ มลู ทางวิชาการ / 1. ผูอํานวยการสถาบันราชานุกูล ผูประสานงานตัวชี้วัด โทรศัพททที่ ํางาน : 02-2488900 ตอ 70902, 70305 หนว ยงานประมวลผลและ โทรสาร : 02-2488903 จัดทําขอ มลู 2. แพทยห ญิงจันทรอ าภา สขุ ทัพภ (ระดับสวนกลาง) โทรศพั ทท่ที าํ งาน: 02-2488900 ตอ70390 โทรศพั ทมอื ถอื : 086-7889981 โทรสาร : 02-6402034 E-mail : [email protected] สถาบันราชานกุ ูล กรมสขุ ภาพจติ รายละเอยี ดตวั ช้ีวดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 19

ผรู ับผิดชอบการรายงานผล 1.แพทยห ญิงจนั ทรอ าภา สุขทัพภ นายแพทยชํานาญการ การดําเนนิ งาน โทรศพั ทท ่ที ํางาน : 02-2488900 ตอ 70390 โทรศัพทม ือถือ : 086-7889981 โทรสาร : 02-6402034 E-mail :[email protected] กลมุ งานยุทธศาสตรและแผนงานโครงการ สถาบันราชานกุ ลู กรมสุขภาพจติ รายละเอียดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หนา้ :: 20

หมวด 1. ดา นสง เสริมสุขภาพ ปองกนั โรค และคมุ ครองผูบรโิ ภคเปนเลิศ (PP&P Excellence) แผนท่ี 1. การพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนไทยทกุ กลมุ วยั (ดานสุขภาพ) โครงการที่ 1. โครงการพฒั นาและสรางศกั ยภาพคนไทยทุกกลุม วัย ระดับการแสดงผล จงั หวดั ช่อื ตวั ช้ีวดั 4. รอ ยละของเด็กอายุ 6-14 ป สงู ดีสมสวน คาํ นยิ าม เด็ก หมายถึง เด็กท่ีมีอายุตั้งแต 6 ป จนถึง 14 ป (โดยเร่ิมนับต้ังแตอายุ 6 ปเต็ม – 14 ป เกณฑเปาหมาย : 11 เดือน 29 วัน) โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด หมายถึง โรงเรียนระดับประถมศึกษาหรือโรงเรียน ระดับประถมศกึ ษาขยายโอกาส และมัธยมศึกษา (มัธยมศกึ ษาตอนตน ม.1-ม.3) สูงดีสมสวน หมายถึง เด็กท่ีมีสวนสูงอยูในระดับสูงตามเกณฑข้ึนไป และมีน้ําหนักอยูใน ระดับสมสว น (ในคนเดียวกัน) สูงดี หมายถงึ เดก็ ท่มี สี วนสูงอยใู นระดับสงู ตามเกณฑข้นึ ไป เม่อื เทียบกับกราฟการ เจรญิ เติบโต กรมอนามัย ชดุ ใหม ปพ.ศ. 2563 โดยมคี า มากกวา หรือเทา กบั -1.5 S.D. ของสวนสูง ตามเกณฑอ ายุ สมสวน หมายถงึ เดก็ ทม่ี ีนํ้าหนักอยใู นระดับสมสว น เม่อื เทียบกราฟการเจริญเติบโต กรม อนามัย ชุดใหม ปพ.ศ. 2563 โดยมีคาระหวาง +1.5 S.D. ถึง-1.5 S.D. ของน้ําหนักตาม เกณฑส ว นสงู ) ภาวะผอม หมายถึง น้ําหนักของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑสวนสูงเดียวกัน โดยมีคาต่ํากวา –2 S.D. แสดงวาเด็กมีน้ําหนักนอ ยกวาเดก็ ทม่ี สี ว นสูงเดียวกนั ภาวะเริม่ อวนและอว น หมายถึง น้าํ หนักตามเกณฑส วนสูง > + 2 S.D. ขึ้นไป ภาวะเต้ีย หมายถึง สวนสูงของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑอายุเดียวกัน โดยมีคาตํ่ากวา – 2 S.D. สว นสงู เฉลย่ี หมายถึง คาเฉลี่ยของสวนสูงในเด็กชายและเดก็ หญงิ อายุ 12 ป (เดก็ อายุ 12 ปเ ตม็ ถงึ 12 ป 11 เดือน 29 วัน) ชื่อตวั ช้ีวดั ป 2563 ปง บประมาณ 64 ปงบประมาณ 65 1.รอยละเด็กอายุ 6-14 ป 66 66 68 สงู ดสี มสวน - - 2.สวนสูงเฉลย่ี ท่ีอายุ 12 ป 154 -เด็กชาย (เซนตเิ มตร) 155 -เดก็ หญงิ (เซนตเิ มตร) วตั ถุประสงค 1. เพ่อื สงเสริมและเฝาระวังภาวะการเจรญิ เติบโตของเดก็ อายุ 6-14 ป 2. เพือ่ เสรมิ สรางภาคีเครือขายระดบั พ้นื ท่ี ในการสง เสริมและจัดการปญ หาสุขภาพ ประชากรกลุมเปา หมาย วธิ กี ารจดั เก็บขอมลู เด็กวัยเรยี น เดก็ อายุ 6-14 ป ในโรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษาตอนตน ม.1-ม.3 ทกุ สงั กัด ระบบฐานขอมูล 43 แฟม กองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : พนื้ ท่ีบนั ทึกขอมลู น้ําหนักและสวนสงู ดว ยทศนยิ ม 1 ตาํ แหนง เชน นํ้าหนัก 40.8 กิโลกรมั สวนสงู 150.3 เซนตเิ มตร รายละเอียดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครง้ั ที่ 1 หน้า :: 21

แหลง ขอมูล ระบบรายงาน HDC กองยุทธศาสตรและแผนงาน และสํานักงานสาธารณสขุ จงั หวัด รายการขอ มูล 1 ขอ มลู จากแฟม Nutrition (ไมรวมเดก็ ปวยทมี่ ารบั บริการ) รายการขอมูล 2 A1 = จํานวนเดก็ อายุ 6-14 ป สงู ดีสมสว น รายการขอมูล 3 A2 = จํานวนเด็กอายุ 6-14 ป ท่มี ีภาวะผอม รายการขอ มูล 4 A3 = จํานวนเดก็ อายุ 6-14 ป ที่มีภาวะเริ่มอว นและอว น รายการขอมูล 5 A4 = จํานวนเด็กอายุ 6-14 ป ที่มีภาวะเต้ีย รายการขอมูล 6 A5 = ผลรวมของสวนสูงของเดก็ ชายอายุ 12 ป ทไี่ ดรับการวดั สว นสงู รายการขอมูล 9 A6 = ผลรวมของสว นสงู ของเด็กหญงิ อายุ 12 ป ท่ไี ดรับการวัดสวนสงู รายการขอ มูล 10 B1 = จาํ นวนเดก็ อายุ 6-14 ปท่ชี ง่ั นาํ้ หนกั และวดั สวนสงู ท้งั หมด รายการขอ มูล 11 B2 = จาํ นวนเด็กอายุ 6-14 ป ทุกคนในเขตรบั ผดิ ชอบ รายการขอมูล 12 B3 = จํานวนเด็กชายอายุ 12 ปท ไี่ ดร ับการวัดสวนสงู ท้ังหมด สตู รคํานวณตวั ชว้ี ดั B4 = จาํ นวนเดก็ หญิงอายุ 12 ปทไ่ี ดรบั การวัดสวนสูงทัง้ หมด สํารวจเพื่อเปนขอมูลพ้ืนฐาน (Baseline data) ที่แสดงให 1.รอยละเด็กอายุ 6-14 ป สูงดีสมสวน = (A1/B1) x 100 เห็นแนวโนมภาวะ 2.รอ ยละเดก็ อายุ 6-14 ป มีภาวะผอม = (A2/B1) x 100 ทุพโภชนาการโดยภาพรวม 3.รอ ยละเดก็ อายุ 6-14 ป มภี าวะเรมิ่ อว นและอว น = (A3/B1) x 100 4.รอ ยละเดก็ อายุ 6-14 ป มีภาวะเตยี้ = (A4/B1) x 100 ระยะเวลารายงาน 5.ความครอบคลุม = (B1/B2) x 100 6.สวนสูงเฉลยี่ ชายที่อายุ 12 ป = (A5 / B3) 7.สว นสูงเฉลย่ี หญิงทอี่ ายุ 12 ป = (A6 / B4) วิเคราะหและสรปุ ผล ปละ 2 คร้งั โดยจดั เก็บขอมูล 2 ภาคเรียน คือ : ภาคเรยี นที่ 2 (ปก ารศึกษา 2563) พนื้ ท่ีชง่ั น้าํ หนัก วัดสวนสงู และลงขอ มูล เดอื น ธ.ค., ม.ค., ก.พ. สว นกลางจะตดั ขอ มูลรายงาน ณ วนั ท่ี 15 ม.ี ค. ภาคเรียนท่ี 1 (ปก ารศึกษา 2564) พนื้ ท่ชี ั่งนา้ํ หนัก วัดสวนสงู และลงขอมลู เดือน พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. สว นกลางจะตัดขอ มูลรายงาน ณ วนั ท่ี 15 ส.ค. รายละเอียดตวั ชวี้ ัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งท่ี 1 หน้า :: 22

เกณฑการประเมนิ : (ระบุ small success : ผลลัพธในแตละรอบ) ป 2563: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน - 66 - 66 ป 2564: รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน 66 - 66 - ป 2565: รอบ 12 เดือน 68 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน - 68 - การกระจายคาเปา หมายรายเขตสุขภาพ รอยละเดก็ อายุ 6-14 ป สูงดีสมสวน เขตสุขภาพ คาเปาหมายป 2564 เขต 1 เชยี งใหม 63 เขต 2 พิษณโุ ลก 65 เขต 3 นครสวรรค 62 เขต 4 สระบรุ ี 66 เขต 5 ราชบรุ ี 64 เขต 6 ชลบรุ ี 67 เขต 7 ขอนแกน 72 เขต 8 อดุ รธานี 66 เขต 9 นครราชสีมา 68 เขต 10 อบุ ลราชธานี 69 เขต 11 นครศรีธรรมราช 67 เขต 12 ยะลา 64 รอ ยละของเด็กอายุ 6-14 ป มภี าวะเร่มิ อว นและอวน ไมเ กนิ รอยละ 10 รอ ยละของเดก็ อายุ 6-14 ป มีภาวะผอม ไมเกนิ รอยละ 5 รอยละของเด็กอายุ 6-14 ป มีภาวะเตี้ย ไมเกนิ รอยละ 5 วิธีการประเมนิ ผล : 1. จงั หวัดมีการดําเนินงานดงั นี้ 1.1 จัดตง้ั คณะทาํ งานระดับจงั หวดั โดยมี PM ระดบั จังหวัดและระดับอําเภอ ขับเคล่ือน งานสงเสริมและจัดการปญ หาสุขภาพเด็กวัยเรยี นในพ้นื ที่ 1.2 จัดทําแผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรมเพ่ือขับเคล่ือนการดําเนินงานสงเสริม และจัดการปญหาสุขภาพเด็กวัยเรียน เนนการสงเสริมใหเด็กวัยเรียนสูงดีสมสวน การปองกันและแกไขปญหาภาวะทุพโภชนาการ (อวน ผอม เต้ีย) โดยติดตาม ควบคุม กํากับและประเมินผลเปนรายเดือน รวมท้ังสงเสริมใหมีพฤติกรรมสุขภาพ ทพ่ี ึงประสงคในภาพรวม - เนนเด็กที่มีภาวะเริ่มอวนและอวน ไดรับการคัดกรองความเสี่ยงและจัดการแกไข ปญหาทกุ คน รายละเอยี ดตวั ชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครั้งที่ 1 หน้า :: 23

เอกสารสนับสนนุ : - ผลักดันและพัฒนาใหมีโรงเรียนตนแบบดานโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และทันตสขุ ภาพ ฯลฯ ภายใตค วามรอบรดู า นสุขภาพ - พัฒนาศักยภาพภาคีเครือขายระดับพ้ืนที่เพื่อสงเสริมและจัดการปญหาสุขภาพ เด็กวัยเรียน เนนการจัดการปญหาภาวะทุพโภชนาการ (อวน ผอม เตี้ย) ตาม AAIM เด็กอายุ 6-14 ป สงู ดีสมสวน (รายละเอียดแนบทา ย) - จัดกิจกรรมรณรงค สงเสริมความรอบรูสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อนําไปสู พฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงคดานโภชนาการ กิจกรรมทางกาย ทันตสุขภาพ และสุขอนามยั เชน สง เสริมการบริโภคไข ด่มื นมจืด ในวันไขโลก วันเด็กแหงชาติ และวันดม่ื นมโลก กระโดดโลดเตน เลน สนกุ สายตา สขุ ภาพชอ งปาก ฯลฯ 1.3 ติดตาม ควบคุม กํากับใหหนวยงานในพื้นที่รับผิดชอบรายงานขอมูลสถานการณ ภาวะโภชนาการในระบบรายงาน HDC ใหเปนไปตามระยะเวลาที่กําหนด ใน Template ปละ 2 ครั้ง พรอมท้ังตรวจสอบคุณภาพของขอมูลและใหมีความ ครอบคลมุ เพ่ิมข้ึน ดังนี้ ภาคเรยี นท่ี 2 (ปก ารศึกษา 2563) พื้นทีช่ ่งั นาํ้ หนัก วัดสว นสูง และลงขอ มูล เดอื น ธ.ค., ม.ค., ก.พ. สว นกลางจะตัดขอมลู รายงาน ณ วนั ที่ 15 ม.ี ค. ภาคเรยี นที่ 1 (ปก ารศึกษา 2564) พ้นื ทชี่ ั่งนาํ้ หนัก วดั สวนสงู และลงขอ มลู เดือน พ.ค. มิ.ย. ก.ค. สว นกลางจะตัดขอมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ส.ค. 1.4 รวบรวม สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานของจังหวดั สง ศูนยอนามยั เขต ตามระยะเวลาท่กี าํ หนด 2. ศนู ยอนามัยมีการดาํ เนนิ งานดงั น้ี 2.1 ตรวจสอบคุณภาพของขอมลู ความครอบคลุมภาวะโภชนาการและเทียบเคยี ง กบั คา เปา หมายในระบบรายงาน HDC 2.2 รายงานผลการดาํ เนนิ งานสงสว นกลาง รายไตรมาส 1. ชุดความรูเพื่อการดูแลสขุ ภาพเด็กวยั เรียนแบบองคร วม (NuPETHS) E-book : http://nutrition.anamai.moph.go.th/download/NuPETHS/index.html PDF :http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/NuPETHS3.pdf 2. สื่อ NuPETHS Animation 3. คูมือการเสรมิ สรางเด็กวัยเรยี นสงู ดสี มสว นตามแนวคิด Active learning 4. แผน พับโภชนาการดี สูงดีสมสวน 5. แผนพับสงเสรมิ โภชนาการเด็กวัยเรียนวยั รนุ สูงดีสมสวน ไมอว น ผอม เตีย้ 6. แนวทางการคดั กรอง สง ตอ เดก็ อว นกลุมเสีย่ งในสถานศึกษา สถานบรกิ ารสาธารณสุข และคลินกิ DPAC 7. คูมือนักจดั การน้ําหนกั เด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) 8. แนวทางการควบคุมปองกนั ภาวะอวนในเด็กนักเรียน 9. หนังสืออยากผอม...มาลองทําดู “ดูแลหนุ สวยดว ยตวั เอง”สาํ หรับเด็กวัยเรียนและวัยใส 10. หนงั สือผักผลไมสีรุง 11. หนังสอื เมนูไขสาํ หรบั อาหารกลางวนั นกั เรยี น 12. หนังสือสารพดั เมนูไขสาํ หรับเดก็ วัยเรยี น รายละเอียดตวั ชวี้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้ังท่ี 1 หน้า :: 24

13. แนวทางการสง เสรมิ กิจกรรมทางกายเด็กวัยเรยี นและวยั รุน 14. คมู ือ สมัครขอรบั รางวัลองคกรที่มวี ิธีปฏิบตั เิ ปนเลศิ และองคกรรอบรสู ขุ ภาพดานการ สง เสรมิ กิจกรรมทางกายเพ่อื เด็กไทยสงู สมสวน แข็งแรง IQ EQ ดี 15. ส่อื โปสเตอร แผนพบั วดี ีโอ การสง เสรมิ กิจกรรมทางกาย : www.chopachipa.org http://dopah.anamai.moph.go.th/?page_id=78 รายละเอียดขอ มลู พื้นฐาน Baseline data หนวยวดั ผลการดําเนนิ งานในรอบปงบประมาณ พ.ศ. ผใู หขอมลู ทางวิชาการ / 2561 2562 2563 ผูประสานงานตวั ช้ีวัด เด็กอายุ 6-14 ป รอ ยละ 65.5 61.5 65.7 หนว ยงานประมวลผลและ สูงดีสมสว น จัดทําขอ มลู เดก็ อายุ 6-14 ป รอยละ 4.7 5.1 4 (ระดบั สวนกลาง) ผอม ผรู ับผดิ ชอบการรายงานผล เดก็ อายุ 6-14 ป รอยละ 11.8 13.6 12.5 การดาํ เนินงาน เรม่ิ อวนและอวน เด็กอายุ 6-14 ป รอ ยละ 5.7 8.9 6 เตย้ี สวนสงู เฉลยี่ อายุ - ชาย = 147.7 ชาย = 148.7 12 ป* วดั ผลท่ีป เซนตเิ มตร หญิง =148.9 หญิง =149.8 2565 หมายเหตุ : ขอมูลระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข 1. นางสาวทิพรดี คงสุวรรณ ตําแหนง : นักโภชนาการปฏิบัตกิ าร โทรศพั ทท ่ีทํางาน : 02-5904334 โทรศัพทมอื ถือ : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] 2. นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห ตําแหนง : นกั โภชนาการปฏิบตั ิการ โทรศพั ทท ีท่ าํ งาน : 02-5904334 โทรศัพทมอื ถือ : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] สถานท่ีทาํ งาน กลุมสง เสรมิ โภชนาการเด็กวยั เรียน สาํ นกั โภชนาการ กรมอนามัย 3. ดร.นภสั บงกช ศุภะพชิ น ตาํ แหนง : นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชํานาญการพเิ ศษ โทรศพั ทท ที่ าํ งาน : 02-5904590 โทรศพั ทม ือถือ : - โทรสาร : 02-5904584 E-mail : [email protected] 4. นางสาวศริ นิ ญา วลั ภา ตําแหนง : นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ โทรศัพทท ่ที าํ งาน : 02-5904590 โทรศพั ทมือถือ : - โทรสาร : 02-5904584 E-mail : [email protected] สถานทท่ี าํ งาน กลุม พัฒนาเทคโนโลยีกจิ กรรมทางกายวัยเรียนและวัยรนุ กองกจิ กรรมทางกายเพ่ือสุขภาพ กรมอนามัย ศนู ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 1. นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห ตาํ แหนง : นักโภชนาการปฏบิ ัติการ โทรศัพทท่ีทาํ งาน : 02-5904334 โทรศัพทมือถือ : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] รายละเอียดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครง้ั ที่ 1 หนา้ :: 25

2. นางสาวนฤมล ธนเจริญวชั ร ตาํ แหนง : นกั โภชนาการปฏิบัตกิ าร โทรศพั ทที่ทํางาน : 02-5904329 โทรศัพทมือถอื : - โทรสาร : 02-5904339 E-mail : [email protected] สถานที่ทาํ งาน กลุมสง เสรมิ โภชนาการเดก็ วัยเรยี น สํานกั โภชนาการ กรมอนามัย 3. นางสาวศิรินญา วลั ภา ตาํ แหนง : นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร โทรศัพทท ท่ี ํางาน : 02-5904590 โทรศัพทมือถือ : - โทรสาร : 02-5904584 E-mail : [email protected] สถานที่ทาํ งาน กลมุ พัฒนาเทคโนโลยกี จิ กรรมทางกายวยั เรยี นและวัยรนุ กองกิจกรรมทางกายเพอ่ื สุขภาพ กรมอนามัย รายละเอียดตวั ชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ที่ 1 หนา้ :: 26



รายละเอยี ดตวั ชี้วดั กระทรวงสาธารณสุข ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครั้งท่ี 1 หนา้ :: 27

หมวด 1. ดา นสง เสริมสุขภาพ ปอ งกันโรค และคมุ ครองผบู รโิ ภคเปน เลิศ (PP&P Excellence) แผนท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย (ดา นสขุ ภาพ) โครงการที่ 1. โครงการพัฒนาและสรา งศกั ยภาพคนไทยทุกกลมุ วยั ระดบั การแสดงผล จังหวดั /เขต/ประเทศ ชอ่ื ตัวชวี้ ัด 5. อตั ราการคลอดมีชพี ในหญงิ อายุ 15-19 ป คาํ นิยาม จํานวนการคลอดบุตรมีชีวิตของผูหญิงอายุ 15-19 ป ตอจํานวนประชากรหญิง อายุ 15-19 ป 1,000 คน เกณฑเ ปาหมาย : (อัตราตอพัน) ปงบประมาณ 60 ปงบประมาณ 61 ปง บประมาณ 62 ปง บประมาณ 63 ปง บประมาณ 64 ไมเกิน 42 ไมเ กนิ 40 ไมเกิน 38 ไมเ กิน 34 ไมเ กิน 27 วัตถปุ ระสงค เพือ่ ติดตามผลการดําเนนิ งานปองกนั และแกไขปญหาการต้ังครรภใ นวัยรุนตามยทุ ธศาสตร การปอ งกันและแกไขปญหาการตัง้ ครรภในวยั รุน ประชากรกลุมเปา หมาย ผหู ญิงอายุ 15 – 19 ป ทีม่ ีการคลอดบุตรมชี ีพในระหวางปที่ทาํ การเก็บขอมลู วิธกี ารจดั เกบ็ ขอมลู เก็บรวบรวมขอ มูลจากระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข แหลงขอมลู 1 ฐานขอมลู การเกดิ มีชีพจากทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย แหลง ขอมูล 2 ฐานขอมูล HDC ขอ มลู ตัวช้วี ัดการเฝา ระวงั อัตราการคลอดมชี ีพในหญิงอายุ 15-19 ป ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ รายการขอ มูล 1 a = จาํ นวนการคลอดมชี ีพโดยหญิงอายุ 15 – 19 ป (จากแฟม Labor) ดขู อมูลจากจาํ นวนเด็กเกิดมชี ีพ (LBORN) รายการขอมูล 2 b = จํานวนหญงิ อายุ 15 – 19 ป ทั้งหมด ในเขตรบั ผดิ ชอบ (ประชากรจากการสาํ รวจ Type Area=1,3) สตู รคาํ นวณตัวช้วี ัด 1 อตั ราการคลอดมีชพี ในหญิงอายุ 15-19 ป จากระบบ HDC = (a/b) X 1,000 รายการขอมูล 3 A : คา adjusted = อัตราคลอดมชี ีพในหญิงอายุ 15-19 ป จากฐานทะเบยี นราษฎร ปที่ผาน (adjusted) มา/อัตราคลอดมีชีพในหญงิ อายุ 15-19 ป จากฐานขอมลู HDC ปทีผ่ านมา B : อตั ราการคลอดในหญงิ อายุ 15-19 ปจากระบบ HDC (ทําเปนอตั ราคงท่ขี องทง้ั ป) ไตรมาสท่ี 1 = อัตราคลอด HDC ณ สน้ิ สุดไตรมาสท่ี 1 ป 2562 X 4 ไตรมาสที่ 2 = อัตราคลอด HDC ณ สนิ้ สุดไตรมาสที่ 2 ป 2562 X 4/2 ไตรมาสท่ี 3 = อตั ราคลอด HDC ณ สน้ิ สุดไตรมาสท่ี 3 ป 2562 X 4/3 ไตรมาสท่ี 4 = อตั ราคลอด HDC ณ ส้นิ สดุ ไตรมาสท่ี 4 สตู รคาํ นวณตวั ช้วี ดั 2 AXB ระยะเวลาประเมินผล 1 ตลุ าคม 2563 – 30 กันยายน 2564 เกณฑการประเมิน : ป 2560: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ไมเ กิน 42 ไมเ กนิ 42 ไมเกนิ 42 ไมเกนิ 42 ป 2561: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ไมเ กิน 40 ไมเ กนิ 40 ไมเกนิ 40 ไมเกนิ 40 รายละเอยี ดตวั ช้วี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ที่ 1 หน้า :: 28

ป 2562: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน ไมเกิน 38 ไมเกนิ 38 ไมเ กนิ 38 ไมเกนิ 38 รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ป 2563: ไมเ กิน 34 ไมเกิน 34 ไมเกนิ 34 รอบ 3 เดือน ไมเกิน 34 รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ไมเ กิน 27 ไมเ กนิ 27 ไมเกนิ 27 ป 2564: ใชข อมลู จากขอมลู ในระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข ประมวลผล รอบ 3 เดือน ทุก 3 เดอื น ไมเกนิ 27 ฐานขอ มลู ในระบบ Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสขุ Baseline data หนวยวดั ผลการดําเนินงานในรอบปงบประมาณ พ.ศ. วิธีการประเมินผล : 2561 2562 2563 เอกสารสนับสนุน : อัตราการคลอดมีชพี อตั ราตอ 35.0 31.3 28.23* รายละเอียดขอมลู พนื้ ฐาน ในหญิงอายุ 15-19 ป ประชากรหญงิ (อตั ราการคลอดจาก อายุ 15-19 ป ผูใหข อมลู ทางวิชาการ / ฐานทะเบียนราษฎร) 1,000 คน ผปู ระสานงานตัวชี้วัด * ขอมลู จากระบบ HDC : อัตราคลอด 15-19 ป (adjusted) ไตรมาส 3 ณ 16 ก.ย. 63 หนวยงานประมวลผลและ 1. นางปย ะรัตน เอีย่ มคง นกั วชิ าการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ จดั ทาํ ขอมลู โทรศพั ทท ่ีทํางาน : 02-5904168 โทรศัพทมือถือ : 089-7627339 (ระดบั สวนกลาง) โทรสาร : 02-5904163 E-mail : [email protected] ผรู ับผิดชอบการรายงานผล 2. นางสาวพิมลพร ธชิ ากรณ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ การดาํ เนนิ งาน โทรศัพทท ่ีทํางาน : 02-5904167 โทรศพั ทม ือถือ :063-6698855 โทรสาร : 02-5904163 E-mail : [email protected] สาํ นักอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามยั 1. นางสาวพิมลพร ธิชากรณ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศพั ทท่ที ํางาน : 02-5904167 โทรศพั ทม ือถือ :063-6698855 โทรสาร : 02-5904163 E-mail : [email protected] 2. นางสาวอารีรตั น จนั ทรล าํ ภู นักวิชาการคอมพิวเตอรป ฏิบัตกิ าร โทรศัพทท ่ีทํางาน 02-590 4167 โทรสาร 02-5904163 Email : [email protected] สาํ นกั อนามัยการเจรญิ พนั ธุ กรมอนามัย 1. นางสาวพมิ ลพร ธิชากรณ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร โทรศพั ทท ่ีทํางาน : 02-5904167 โทรศพั ทมือถือ :063-6698855 โทรสาร : 02-5904163 E-mail : [email protected] 2. นางสาวอารีรัตน จันทรล าํ ภู นกั วิชาการคอมพวิ เตอรปฏิบตั ิการ โทรศัพททท่ี าํ งาน 02-590 4167 โทรสาร 02-5904163 Email : [email protected] สาํ นักอนามัยการเจริญพันธุ กรมอนามัย รายละเอียดตวั ชีว้ ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 29

หมวด 1. ดานสงเสรมิ สุขภาพ ปอ งกนั โรค และคมุ ครองผบู ริโภคเปนเลศิ (PP&P Excellence) แผนท่ี 1. การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนไทยทกุ กลมุ วัย (ดานสขุ ภาพ) โครงการที่ 1. โครงการพฒั นาและสรางศกั ยภาพคนไทยทุกกลมุ วัย ระดับการแสดงผล จังหวัด/เขต/ประเทศ ชือ่ ตวั ชว้ี ัด 6. รอ ยละของผสู ูงอายทุ ี่มภี าวะพ่ึงพิงไดร บั การดูแลตาม Care Plan คํานิยาม 1.ระบบการสงเสริมสุขภาพดูแลผูสูงอายุ หมายถึง การดําเนินงานสงเสริม พัฒนา สนับสนุนฟนฟูและสรางความเขมแข็งใหกับภาคีเครือขายและชุมชนใหมีสวนรวม ในการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผูสูงอายุใหมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายยุ ืนยาว 2.แผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) หมายถึง แบบการวางแผนการดูแลชวยเหลือ ผูสูงอายุ /ผูมีภาวะพงึ่ พิงจาก Care Manager ทีมผูเชี่ยวชาญ ครอบครัวและผทู ี่เกี่ยวของ ในพื้นที่โดยผูสูงอายุ /ผูมีภาวะพึ่งพิงสามารถรับรูถึงความชวยเหลือทีมผูใหการชวยเหลือ ท่ีเกย่ี วขอ ง 3.การประเมนิ คดั กรองปญ หาสุขภาพขั้นพืน้ ฐานตามชดุ สิทธิประโยชน หมายถึง - การประเมินผสู ูงอายแุ ละผมู ีภาวะพงึ่ ตามกลุมศักยภาพตามความสามารถในการ ประกอบกจิ วตั รประจําวัน (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ทกุ รายรอบ 9 เดือน และ 12 เดอื น - ประเมนิ สขุ ภาพและคัดครองกลุมอาการผูส ูงอายุ 9 ขอ (โดยคณะกรรมการพฒั นา เครอ่ื งมอื คดั กรองและประเมนิ สุขภาพผูส งู อายุ กระทรวงสาธารณสขุ ) สมดุ บันทึกสุขภาพ ผูส้ งู อายุ NEW.pdf เกณฑเ ปาหมาย : ปงบประมาณ 61 ปง บประมาณ 62 ปง บประมาณ 63 ปง บประมาณ 64 ปง บประมาณ 60 60 70 80 85 50 1. เพ่ือวางแผนระบบการดูแลสงเสริมสุขภาพและฟนฟูผูสูงอายุ /ผูมีภาวะพึ่งพิงใหไดรับ วัตถปุ ระสงค การวางแผนการดูแลครบทุกมิติและรอบดานเปนรายบคุ คลรว มกับภาคีเครือขา ยในระดับ ชุมชนท่เี กี่ยวขอ ง ประชากรกลุมเปา หมาย วิธกี ารจัดเก็บขอมลู 2. เพ่ือติดตาม/ประเมินระบบการดูแลสงเสริมสุขภาพและฟนฟูผูสูงอายุ /ผูมีภาวะพึ่งพิง ที่สงผลใหเกิดการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตท่ีดีสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยาง มีความสุข 1. ผสู ูงอายทุ มี่ ีภาวะพ่งึ พิงและมี ADL < 11 ทกุ สทิ ธกิ์ ารรกั ษา 2. ผทู มี่ ีภาวะพ่งึ พงิ และมี ADL < 11 ทุกสิทธก์ิ ารรกั ษา 1. คัดกรองและประเมิน กลมุ ผูส งู อายแุ ละผูทีม่ ภี าวะพึ่งพิง : ตามความสามารถในการ ดําเนนิ ชวี ติ ประจาํ วัน (ADL) ประเมนิ ตามรอบ 9 และ 12 เดือน 2. จัดทํา Care Plan ผูสูงอายุและผูมีภาวะพึ่งพิง รายบุคคลต้ังแตปงบประมาณ 2564 โดยจัดทําเฉพาะกลุมผูสูงอายุและผูม ีภาวะพึ่งพงิ ทม่ี ี ADL < 11 ) : รายละเอยี ดตัวชี้วดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครง้ั ที่ 1 หนา้ :: 30

แหลง ขอมูล - หนว ยบรกิ ารมกี ารจดั ทาํ Care Plan รายบคุ คลผา นระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) รายการขอมูล 1 - มี Caregiver อาสาสมัครบริบาลทองถนิ่ อผส.หรือ อสม. เขา เยย่ี มและใหการดแู ล ชว ยเหลอื ผสู งู อายแุ ละผูมีภาวะพง่ึ พิง ตาม Care Plan รายการขอ มูล 2 - พ้ืนหนวยบริการมีการบันทึกขอมูลรายงานผลการดูแลผูสูงอายุและผูมีภาวะพึ่งพิง ลงใน Care Plan ผานระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) สูตรคาํ นวณตัวชว้ี ัด ขอมูลจากการดําเนนิ การจดั ทาํ Care Plan ประมวลผลและรายงานเขาสูร ะบบ - โปรแกรม Long Term Care รายงานประจาํ เดือน กรมอนามัย ระยะเวลาประเมินผล - โปรแกรม Long Term Care สํานักงานหลกั ประกันสขุ ภาพแหงชาติ - โปรแกรม DOH Dashboard กรมอนามัย และฐานขอมูลท่เี ก่ยี วของ เกณฑการประเมนิ : - DOH Dashboard กรมอนามัย และฐานขอมลู ท่เี กี่ยวขอ ง ป 2560: - Health KPI กระทรวงสาธารณสุข A = จํานวนผสู ูงอายุและผูทม่ี ีภาวะพงึ่ พิงที่ไดร บั การดูแลตาม Care Plan รอบ 3 เดือน หมายเหตุ : - - ต้งั แตปงบประมาณ 2564 เปน ตนไป นบั ผูทีม่ ีภาวะพึ่งพงิ ทุกคน B = จํานวนผสู งู อายุและผูทีม่ ีภาวะพึง่ พิงทงั้ หมดในประเทศไทยทเ่ี ขา รว มโครงการ LTC ป 2561: หมายเหตุ : รอบ 3 เดือน - ตงั้ แตป งบประมาณ 2564 เปนตนไป นบั ผทู ่มี ภี าวะพงึ่ พงิ ทุกคน - สตู รการคํานวณ : A x 100 ป 2562: B รอบ 3 เดือน รอบท่ี 1 : 6 เดือนแรก ( ตลุ าคม 2563 – มนี าคม 2564 ) - รอบที่ 2 : 6 เดือนหลงั ( เมษายน – กนั ยายน 2564 ) ป 2563: รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น รอบ 3 เดือน 45 - 50 - รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน 55 - 60 รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น 65 - 70 รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดอื น 75 - 80 รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หนา้ :: 31

ป 2564: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9เดือน รอบ 12เดือน - 83 - 85 ทกุ จังหวัดมีการประเมิน ทุกจงั หวดั มกี ารประเมิน ทกุ จงั หวดั มีการประเมิน ทุกจังหวัดมีการประเมิน - ประเมนิ สขุ ภาพและ - ประเมินสุขภาพและ - ประเมนิ สุขภาพและ - ประเมนิ สขุ ภาพและ คัดครองกลุมอาการ คดั ครองกลมุ อาการ คดั ครองกลมุ อาการ คดั ครองกลมุ อาการ ผสู ูงอายุ 9 ขอ (โดย ผสู ูงอายุ 9 ขอ (โดย ผูสงู อายุ 9 ขอ (โดย ผสู ูงอายุ 9 ขอ (โดย คณะกรรมการพฒั นา คณะกรรมการพัฒนา คณะกรรมการพัฒนา คณะกรรมการพฒั นา เคร่ืองมือคดั กรองและ เคร่ืองมือคดั กรองและ เคร่อื งมือคดั กรองและ เครือ่ งมือคัดกรองและ ประเมนิ สขุ ภาพผสู ูงอายุ ประเมนิ สุขภาพ ประเมนิ สุขภาพผูสงู อายุ ประเมินสขุ ภาพ และผทู ่ีมภี าวะพ่ึงพิง ผูสงู อายแุ ละผทู ี่มภี าวะ และผูท่มี ีภาวะพ่ึงพิง ผสู งู อายุและผูที่มภี าวะ กระทรวงสาธารณสุข ) พึ่งพิงกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ) พ่ึงพิงกระทรวง - มีแผนการขบั เคลื่อน สาธารณสุข ) - มีผลการประเมินคดั กรอง สาธารณสขุ ) และมแี นวทางการ - มผี ลการประเมิน ADL และปญ หาสขุ ภาพ - มีผลการประเมินคดั คดั กรองและประเมนิ คดั กรอง ADL ผสู ูงอายุทแ่ี ละผทู ่ีมีภาวะ กรอง ADL และปญหา สุขภาพผูสูงอายุและผูที่มี และปญ หาสุขภาพ พึง่ พิงดวย และมีการ สุขภาพผูสูงอายุทแี่ ละผู ภาวะพ่งึ พงิ ดว ย ADL ผสู งู อายุทแ่ี ละผูท่ีมภี าวะ จัดทําแผนการดูแล ทีม่ ีภาวะพ่ึงพิงดว ย - มีการประชมุ ช้ีแจง พ่ึงพงิ ดว ย และมี รายบคุ คล(Care Plan) และมีการจดั ทํา การประสานหนวยงาน การจดั ทาํ แผนการดูแล ผา นเกณฑ รอยละ 83 แผนการดูแลรายบคุ คล ทีเ่ ก่ยี วของ รายบุคคล (Care Plan) (Care Plan) ผาน ผานเกณฑ รอ ยละ 80 เกณฑ รอยละ 85 วิธกี ารประเมนิ ผล : 1. พนื้ ที่ประเมนิ คัดกรอง ADL และปญ หาสุขภาพผูสูงอายุทแ่ี ละผทู ม่ี ภี าวะพงึ่ พิงดว ย และมกี ารจดั ทําแผนการดูแลรายบคุ คล (Care Plan) 2. พ้ืนทีจ่ ดั ทําแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) เอกสารสนับสนุน : 3. แผนการดแู ลรายบุคคล (Care Plan) ในระบบโปรแกรม Long Term Care ไดร ับ การเสนออนุคณะกรรมการ Long Term Careเพื่ออนุมัติ Care Plan ในการไดร บั การจดั สรรงบประมาณในการดูแลผูสูงอายทุ แ่ี ละผทู ่ีมภี าวะพงึ่ พงิ รายบุคคล 4. ศนู ยอ นามยั เขตสมุ ประเมินและรายงานตามองคป ระกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) ประจาํ เดือน 5. กรมอนามัยวเิ คราะหประเมนิ ผล Care Plan ในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) และจัดทาํ รายงานใน DOH Dashboard กรมอนามัย และHealth KPI กระทรวงสาธารณสขุ - คูมือแนวทางการจัดทํา Care Plan Online กรมอนามัย - โปรแกรมการบันทึกขอมลู Long Term Care (3C) กรมอนามัย / สาํ นักงานหลกั ประกันสุขภาพแหงชาติ - คูมือแนวทางการฝก อบรมหลกั สูตร Care Manager/Caregiver กรมอนามัย - คมู อื แนวทางการฝกอบรมหลักสตู รฟนฟู Care Manager/Caregiver กรมอนามยั - คูม ือแนวทางการฝกอบรมอาสาสมคั รบรบิ าลทองถนิ่ ตามหลักสตู รนกั บรบิ าลทองถน่ิ (Care Community) รายละเอียดตวั ช้วี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครัง้ ท่ี 1 หน้า :: 32

- คมู อื แนวทางการดําเนนิ งานการดูแลผสู ูงอายุและผูปวยระยะกลางในชุมชน (Intermediate Care in Community) - สมุดบันทกึ สุขภาพผูสูงอายุเพ่ือการสงเสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั - กลยทุ ธการดาํ เนนิ งานตาํ บลดแู ลสขุ ภาพผูสงู อายุระยะยาว - แนวทางการดูแลสขุ ภาพผูสงู อายุระยาว - คูม ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การระบบบริการดูแลระยะยาวสําหรับผูสงู อายทุ ม่ี ภี าวะ พงึ่ พงิ ในระบบหลกั ประกันสุขภาพแหงชาติ - คูมอื การใชการโปรแกรม Long Term Care (3C) รายละเอยี ดขอ มลู พ้นื ฐาน Baseline data หนวยวัด ผลการดําเนนิ งานในรอบปง บประมาณ พ.ศ. 2561 2562 2563 ผูใหขอ มลู ทางวิชาการ / 1.4 รอ ยละของ รอยละ 88.90 92.42 89.56 ผปู ระสานงานตัวช้ีวัด ผสู งู อายุท่ีมภี าวะ หนว ยงานประมวลผลและ พ่ึงพิงไดร บั การ จัดทาํ ขอ มลู ดแู ลตาม Care (ระดบั สวนกลาง) Plan หมายเหตุ : ขอ มลู รอยละผลงาน จะสงู /ต่าํ มีความแตกตางกนั เนอ่ื งจากขนึ้ กบั เง่ือนไข ของการเกบ็ ขอ มูล Care Plan - ในป2561 ตัวต้ังคือ Care Plan ผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงสิทธิ UC ที่ผานการอนุมัติ จากอนุกรรมการ LTC แลวจึงเก็บมาเปนตัวต้ัง แลว หารดวย ผูสูงอายุท่ีเขารวม โครงการ LTC - ในป2562 เร่ิมทํา Care Plan online ผูสูงอายุท่ีมภี าวะพึ่งพิงสิทธิ์ UC ซ่ึงทําในระบบ โปรแกรม Long Term Care เปนตัวต้ังท้ังหมดแลว หารดวยผูสูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง เขา รวมโครงการ LTC และข้นึ ทะเบียนในระบบโปรแกรม Long Term Care - ในป2563 ทํา Care Plan online ผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทุกสิทธ์ิ ซ่ึงทําในระบบ โปรแกรม Long Term Care เปนและตรวจสอบสิทธิจ์ ากระบบโปรแกรม Long Term Care สปสช. ทั้งหมดแลว หารดว ยผูสงู อายทุ เี่ ขารว มโครงการ LTC - ในป2564 ทํา Care Plan online ผูสูงอายุและผูมีภาวะพึ่งพิงทุกกลุมวัยทุกสิทธ์ิ ซ่ึงทําในระบบ โปรแกรม Long Term Care และตรวจสอบสิทธ์ิจากระบบโปรแกรม Long Term Care สปสช. ทั้งหมดแลว หารดวยผูสูงอายุและผูมีภาวะพ่ึงพิงทุกกลุม วัยทกุ สทิ ธิ์ ที่เขารว มโครงการ LTC ท้ังหมด ชือ่ – สกุล : นายแพทยกติ ติ ลาภสมบตั ิศิริ ตาํ แหนง : ผอู าํ นวยการสาํ นกั อนามัยผสู ูงอายุ โทรศพั ททท่ี าํ งาน : 02 5904503 โทรศพั ทมือถือ : - โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานท่ีทาํ งาน : สํานักอนามัยผูส งู อายุ กรมอนามัย ชือ่ – สกุล : นางรชั นี บญุ เรอื งศรี ตําแหนง : นักสงั คมสงเคราะหช าํ นาญการพิเศษ โทรศพั ทท่ีทํางาน : 02 5904508 โทรศัพทมอื ถือ : โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานทที่ าํ งาน : สํานักอนามัยผสู งู อายุ กรมอนามยั รายละเอียดตวั ชวี้ ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้ังที่ 1 หนา้ :: 33

ผรู ับผดิ ชอบการรายงานผล ชอื่ – สกุล : กลมุ บริหารยทุ ธศาสตร การดําเนินงาน โทรศพั ทที่ทาํ งาน : 02 590 4499 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานทท่ี ํางาน : สํานักอนามัยผสู งู อายุ กรมอนามัย รายละเอยี ดตวั ชวี้ ัดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งท่ี 1 หน้า :: 34

หมวด 1. ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคมุ้ ครองผู้บริโภคเป็นเลศิ (PP&P Excellence) แผนที่ 1. การพฒั นาคุณภาพชวี ติ คนไทยทุกกลมุ่ วยั (ดา้ นสขุ ภาพ) โครงการท่ี 1. โครงการพฒั นาและสร้างศกั ยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย ระดับการแสดงผล จังหวดั /เขต/ประเทศ ช่อื ตัวชีว้ ัด 7. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ได้รับการดูแลทั้งในสถานบริการและใน ตวั ชีว้ ัดยอ่ ยที่ 7.1 ชมุ ชน คำนยิ าม 7.1 รอ้ ยละของประชากรสูงอายุที่มพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีพึงประสงค์ เกณฑเ์ ป้าหมาย : 7.2 รอ้ ยละของตำบลท่ีมีระบบการสง่ เสริมสุขภาพดูแลผ้สู งู อายรุ ะยะยาว ปีงบประมาณ 60 (Long Term Care ) ในชมุ ชนผา่ นเกณฑ์ 40 รอ้ ยละของประชากรสูงอายทุ ่ีมีพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ ผ้สู งู อายุ หมายถึง ประชาชนที่มอี ายตุ ัง้ แต่ 60 ปีขน้ึ ไป ทง้ั เพศชายและเพศหญงิ พฤติกรรมสขุ ภาพท่ีพึงประสงค์ หมายถึง การกระทำหรือพฤติกรรมของบุคคลที่ปฏิบัติแล้ว ส่งผลดตี ่อสุขภาพของบคุ คลนั้น ๆ เอง (ร่างกาย จิตใจ และสังคม) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สงู อายุ ประกอบด้วย ด้านการบริโภคอาหาร ด้าน การออกกำลังกาย ด้านการจดั การความเครียด ดา้ นการจัดการอนามัยส่ิงแวดล้อม และด้าน การดูแลตนเองในภาวะเจบ็ ป่วย 1. มีกิจกรรมทางกายที่ระดับปานกลาง (เดิน /ปั่นจักรยาน/ทำงานบ้าน/ ทำไร่/ทำสวน/ ทำนา/ออกกำลงั กาย) สะสม 150 นาที/สปั ดาห์ 2. กนิ ผกั และผลไมไ้ ดว้ ันละ 5 กำมอื เป็นประจำ (6-7 วนั ตอ่ สปั ดาห)์ 3. ดมื่ น้ำเปล่าอย่างน้อยวนั ละ 8 แก้ว 4. ไม่สบู บุหร่ี /ไมส่ ูบยาเสน้ 5. ไม่ด่มื เครอ่ื งด่ืมทีม่ ีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ (เช่น สรุ า เบียร์ ยาดองเหลา้ ) 6. มีการดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วย (เมื่อไม่เจ็บป่วยมีการดูแลตนเอง, เมื่อมีโรคประจำตัว มกี ารรกั ษาและรบั ประทานยาต่อเน่ือง) 7. มีการนอนหลับอย่างเพยี งพอ อยา่ งน้อยวนั ละ 7 – 8 8. ด้านทันตกรรม/การดูแลสุขภาพช่องปาก หมายเหตุ: 1. ผ่านการประเมนิ ทงั้ 8 ดา้ น ถอื วา่ ผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมสขุ ภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 2. กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวของร่างกายเกิดจากการทำงานของกล้ามเน้ือ และทำให้ร่างกายมีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นจากขณะพัก ประกอบด้วย การทำกิจกรรม ในชีวิต ประจำวัน เช่น การทำงานบ้าน การทำงานอาชีพที่ต้องใช้แรงกาย การเดินทาง ด้วยจักรยานหรือเดินทางเดินขึ้นบันได และกิจกรรมยามว่าง เช่น ออกกำลังกาย เล่นกีฬา วิ่ง ปั่นจักรยาน และการท่องเที่ยว (ที่มา : แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573) 3. กินผักและผลไมไ้ ดว้ นั ละ 5 กำมอื เปน็ ประจำ (6-7 วนั ตอ่ สปั ดาห)์ 4.อ้างอิงดัชนีที่ 8 ตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ฉบับปรับปรงุ ครัง้ ท่ี 2 พ.ศ.2561 ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปงี บประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 40 50 60 50 รายละเอียดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 35

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพจากทีมสหสาขาวิชาชีพของหน่วยบริการ ด้านสุขภาพท่ีเกี่ยวข้อง ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย วิธีการจัดเก็บขอ้ มลู 2. เพื่อให้บริการดูแลด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอตามปัญหา สุขภาพ และชุดสิทธิประโยชน์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และท้องถ่ิน แหล่งข้อมูล ให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีเข้าถึงบริการ อย่างถ้วนหน้า และเท่าเทยี ม เปน็ การสร้างสงั คมแห่งความเอ้ืออาทร และสมานฉันท์ รายการขอ้ มูล 1 รายการขอ้ มูล 2 3. สามารถลดภาระงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพภาครัฐอย่างยั่งยืน ลดความแออัด สูตรคำนวณตัวช้ีวดั ในสถานพยาบาลเพมิ่ ทักษะในการจัดการดแู ลสขุ ภาพตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนมสี ่วนรว่ ม ระยะเวลาประเมนิ ผล 4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ /โรงเรียน เกณฑ์การประเมิน : ผู้สูงอายุและชมุ ชน ปี 2560: ประชาชนที่มีอายตุ ้ังแต่ 60 ปขี ้นึ ไป ทมี่ ี ADL ≥ 12 คะแนน รอ้ ยละ 5 ของประชากรสงู อายุ รอบ 3 เดือน - ทั้งหมดของพ้นื ท่ี ปี 2561: 1. สมุ่ สำรวจผ้สู งู อายใุ นพืน้ ท่เี ขตสขุ ภาพตามระเบยี บวิธีวจิ ยั รอบ 3 เดือน - 2. แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน /รายงานตามระบบโปรแกรมรายงาน 3. ระบบคลังขอ้ มูล Application Health For You (H4U) 4. ขอ้ มลู ในระบบคลังข้อมลู ดา้ นการแพทย์และสขุ ภาพ (Health Data Center : HDC) 1. ระบบคลังข้อมลู Application Health For You (H4U) สมุดสขุ ภาพประชาชน 2. สำนักอนามัยผู้สูงอายุ และ Cluster กลุ่มผู้สูงอายุ ,สำนักอนามัย (กรณีพื้นที่ กทม.) และกองส่งเสริมและพัฒนาสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต 3. ศูนยอ์ นามยั ที่ 1 - 12 และศูนย์สุขภาพจติ ท่ี 1 - 13 4. ระบบการให้บรกิ ารสมดุ สุขภาพประชาชน Health For you (H4U) 5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, โรงพยาบาลชุมชน, องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ , และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง A = จำนวนผสู้ ูงอายุท่ไี ดร้ ับการประเมินมีพฤติกรรมสุขภาพที่พงึ ประสงค์ B = จำนวนผูส้ งู อายุทงั้ หมดที่ไดร้ ับการประเมิน สตู รการคำนวณ ร้อยละของผู้สงู อายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ = A x 100 B พฤศจิกายน 2563 – กรกฎาคม 2564 รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน - - 40 รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น - - 40 รายละเอียดตวั ช้ีวัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หนา้ :: 36

ปี 2562: รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน - 50 -- รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ปี 2563: - 60 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 1. มกี ารดำเนินการแลว้ 1. สรุปผลการ -- เสร็จรอ้ ยละ 100 ดำเนนิ งานและ ปี 2564: 2. ผลการดำเนินงาน วเิ คราะห์ผลการ ดำเนนิ งานท่ีผา่ น รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน ผูส้ งู อายมุ พี ฤติกรรม จดั ทำเปน็ ข้อเสนอ สขุ ภาพทพี่ งึ ประสงค์ เชงิ นโยบาย 1. มีการช้แี จงแนวทางการ 1. มกี ารดำเนนิ การแล้ว รอ้ ยละ 50 2. วางแผนดำเนนิ งาน 3. มีการกำกบั ติดตาม ปีงบประมาณ ดำเนินการส่วนกลาง เสร็จรอ้ ยละ 50 เย่ียมเสริมพลัง 2565 4. มีการประเมินผลการ สว่ นภูมภิ าคและพ้ืนท่ี 2. ผลการดำเนนิ งาน ดำเนินงาน 2. มีการอบรมเชิง ผูส้ ูงอายมุ ีพฤติกรรม ปฏิบัติการเรอื่ งการใช้ สุขภาพทพ่ี งึ ประสงค์ งาน Application ร้อยละ 40 Health For You 3. มกี ารกำกับ ตดิ ตาม (H4U) หรอื สมุดสุขภาพ และ เย่ียมเสริมพลัง ประชาชน ในการตอบ 4. มีการประเมินผลการ แบบสำรวจพฤติกรรม ดำเนินงาน สุขภาพที่พึงประสงค์ และการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลการดำเนินงาน ระดบั พนื้ ท่ี วิธกี ารประเมินผล : คำนวณข้อมูลจากแบบรายงาน Application Health For You (H4U) หรือสมุดสุขภาพ เอกสารสนับสนนุ : ประชาชน 1. สมุดบนั ทึกสขุ ภาพผู้สงู อายุเพ่ือการสง่ เสริมสุขภาพ กรมอนามยั 2. คู่มอื แนวทางการสง่ เสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Health Promotion & Prevention Individual Wellness Plan) สำหรับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขและผู้สูงอายุ 3. คมู่ ือแนวทางการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปี ยงั แจ๋ว 4. คมู่ ือการดำเนินงานพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีพงึ ประสงค์ 4. เกณฑช์ มรมผูส้ ูงอายคุ ุณภาพดา้ นสขุ ภาพ 5. Application สมดุ สุขภาพประชาชน (Health for You: H4U) รายละเอยี ดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครง้ั ที่ 1 หนา้ :: 37

รายละเอียดข้อมลู พื้นฐาน Baseline หน่วยวดั ผลการดำเนินงานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. ผูใ้ ห้ขอ้ มลู ทางวิชาการ / data 2561 2562 2563 ผู้ประสานงานตัวช้ีวดั พฤติกรรม ร้อยละ 54.4 52 37.8 หนว่ ยงานประมวลผลและ จดั ทำข้อมลู สุขภาพท่ีพงึ (จากการ (จากการ (จากการสำรวจของ (ระดบั ส่วนกลาง) ประสงค์ของ สำรวจของ สำรวจของ กรมอนามยั ผา่ น ผรู้ บั ผดิ ชอบการรายงานผล การดำเนนิ งาน ผสู้ งู อายุ กรมอนามยั ) กรมอนามัย) Application Health For You (H4U)) 1. นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการสำนกั อนามยั ผสู้ ูงอายุ โทรศพั ทท์ ที่ ำงาน : 02 5904503 โทรศัพท์มือถือ : 081 682 9668 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานที่ทำงาน : สำนักอนามัยผ้สู ูงอายุ กรมอนามยั 2. นางวิมล บ้านพวน ตำแหน่ง : รองผอู้ านวยการสานักอนามัยผู้สูงอายุ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 4793 โทรศัพทม์ ือถือ : 097 241 9729 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานที่ทำงาน : สำนกั อนามัยผูส้ งู อายุ กรมอนามัย 1. นางสาวจฑุ าภัค เจนจิตร ตำแหน่ง : พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ โทรศพั ทท์ ี่ทำงาน : 02 590 4504 โทรศพั ทม์ ือถือ : 091 768 6265 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] 2. นางสาวศตพร เทยาณรงค์ ตำแหนง่ : นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร โทรศพั ท์ทท่ี ำงาน : 02 590 4504 โทรศพั ทม์ ือถือ : 094 967 6888 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานที่ทำงาน : กลุ่มพัฒนาระบบสขุ ภาวะและเครือขา่ ย สำนกั อนามยั ผสู้ ูงอายุ 3. กลุ่มบรหิ ารยทุ ธศาสตร์ โทรศัพท์ทที่ ำงาน : 02 590 4499 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานทที่ ำงาน : สำนกั อนามัยผ้สู ูงอายุ กรมอนามยั 1. นางสาวจุฑาภัค เจนจิตร ตำแหนง่ : พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทรศัพท์ทท่ี ำงาน : 02 590 4504 โทรศัพท์มือถอื : 091 768 6265 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] 2. นางสาวศตพร เทยาณรงค์ ตำแหนง่ : นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ โทรศพั ท์ทีท่ ำงาน : 02 590 4504 โทรศพั ท์มอื ถอื : 094 967 6888 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานทท่ี ำงาน : กลุ่มพฒั นาระบบสขุ ภาวะและเครือขา่ ย สำนกั อนามยั ผสู้ งู อายุ 3. กล่มุ บริหารยทุ ธศาสตร์ โทรศพั ทท์ ที่ ำงาน : 02 590 4499 โทรสาร : 02 590 4501 E-mail : [email protected] สถานท่ีทำงาน : สำนักอนามัยผสู้ ูงอายุ กรมอนามัย รายละเอยี ดตวั ช้ีวัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งที่ 1 หนา้ :: 38

ตัวชีว้ ดั ย่อยท่ี 7.2 รอ้ ยละของตำบลที่มีระบบการสง่ เสรมิ สขุ ภาพดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาว (Long Term คำนิยาม Care ) ในชุมชนผา่ นเกณฑ์ ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ หมายถึง การดำเนินงานส่งเสริม พัฒนา สนับสนุน ฟื้นฟูและสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคีเครือข่ายและชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลและ ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีสขุ ภาพและคุณภาพชีวติ ท่ดี ี มีอายยุ นื ยาว องค์ประกอบของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ หมายถึง การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และชุมชน ในการ ดำเนินงานดา้ นการสง่ เสริม พัฒนา สนบั สนุนฟื้นฟู และสร้างความเข้มแข็งให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพ ดี มีอายุยืนยาว ด้วยองคป์ ระกอบที่สำคัญ ดังน้ี 1. ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชนได้รับการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพขั้นพื้นฐานตามชุดสิทธิ ประโยชน์ - ประเมินผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบ กิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) ทุกราย รอบ 9 เดือน และ รอบ 12 เดอื น - ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ข้อ (โดยคณะกรรมการพัฒนา เคร่ืองมือคดั กรอง และประเมนิ สุขภาพผู้สงู อายุ กระทรวงสาธารณสุข) สมดุ บนั ทกึ สุขภาพ ผูส้ ูงอายุ NEW.pdf 2. ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านการประเมินคัดกรองและมีปัญหาด้านสุขภาพ ได้รับการ ดูแลและวางแผนการส่งเสริมดูแลสุขภาพรายบคุ คล (Care Plan) 3. มีระบบเฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในเชิงป้องกันการดูแล ผ้สู งู อายแุ ละผู้มีภาวะพ่ึงพิงในระดบั ตำบล ไดแ้ ก่ - การดแู ลสง่ เสริมดา้ นทนั ตสุขภาพในผ้สู ูงอายุ - มีมาตรการส่งเสริมสุขภาพเชิงป้องกันตามสถานการณ์การระบาดและควบคุมโรค ในกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ และผู้มภี าวะพงึ่ พิงในระดับตำบล - การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม เชน่ ท่ีอยอู่ าศัย ระบบสาธารณปู โภค การจัดการขยะติด เชอ้ื ทเ่ี อือ้ ต่อการดำรงชีวิตของกล่มุ ผูส้ ูงอายุ และผู้มีภาวะพ่ึงพงิ ในระดับตำบล เปน็ ต้น 4. มี Care Manager /ทีมสหวิชาชีพ /หมอครอบครัว /Caregiver อาสาสมัครบริบาล ท้องถนิ่ อาสาสมัครดูแลผ้สู ูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ่ ้าน และแกนนำผู้สูงอายุ ในการดแู ลเยย่ี มผู้สงู อายุ และผูม้ ีภาวะพ่งึ พิงในชุมชน 5. มีการประเมินผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการ ประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activities of Daily Living: ADL) รอบ 9 เดือน และ รอบ 12 เดอื น โดยมผี ลการประเมินการเปลี่ยนกลมุ่ ของผู้สงู อายแุ ละผู้มภี าวะพึ่งพิงจาก - กลุ่มติดเตยี งมาติดบ้าน - กลุ่มตดิ บา้ นมาติดสังคม 6. มีระบบการบนั ทึกการรายงานข้อมลู ผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) - รายงานการขึน้ ทะเบียน CM /CG /CP รายละเอียดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 39

เกณฑเ์ ป้าหมาย : - การรายงานผลการประเมนิ ตำบลตามเกณฑ์ 6 องค์ประกอบ ทงั้ พน้ื ทใ่ี หม่ /พ้ืนที่ ปีงบประมาณ 60 ทผ่ี า่ นการประเมนิ มาแลว้ 3 ปขี ้ึนไป เพ่ือใหก้ ารประเมินและรบั รองซำ้ 50 (RE–Accreditation) วัตถุประสงค์ ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปงี บประมาณ 64 60 70 80 95 ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย วธิ ีการจดั เก็บขอ้ มูล 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูด้านสุขภาพ จากทีมสหสาขาวิชาชีพ ของหนว่ ยบริการด้านสขุ ภาพทีเ่ กีย่ วข้อง 2. เพ่ือใหภ้ าคเี ครือข่ายมีการสนับสนุนและขับเคลื่อนการจดั บริการการดูแลด้านสาธารณสุข จากหน่วยบริการเชื่อมโยงถึงที่บา้ นอย่างต่อเนื่องและสมำ่ เสมอตามปัญหาสขุ ภาพ และตาม ชุดสิทธปิ ระโยชน์ โดยการมีส่วนรว่ มของครอบครัว ชุมชน และทอ้ งถิ่น ให้ผ้สู งู อายุมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรีเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม เป็นการสร้าง สังคมแหง่ ความเอือ้ อาทรและสมานฉันท์ 3. สามารถลดภาระงบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพภาครัฐอย่างยั่งยืน ลดความแออัด ในหน่วยบริการ เพิ่มทักษะในการจัดการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน โดยการมี สว่ นรว่ มของทกุ ภาคีเครอื ขา่ ยในระดับชุมชน 4. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน ขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูและป้องกันในผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงทุกคนตั้งแต่ระดับชุมชน ตำบล โดยภาคี เครอื ข่ายในระดบั พน้ื ที่ทกุ ภาคส่วน ผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด อำเภอ ตำบล ทั่ว ประเทศ ขอ้ มูลการคดั กรอง : - มกี ารประเมนิ ความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวนั (ADL) - ประเมินสุขภาพและคัดครองกลุ่มอาการผู้สูงอายุ 9 ข้อ (โดยคณะกรรมการพัฒนา เครอื่ งมอื คัดกรองและประเมนิ สขุ ภาพผ้สู ูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข) - กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง : ได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนิ น ชีวิตประจำวัน (ADL) ประเมินตามรอบ 9 เดือน และรอบ 12 เดือน เพื่อดู การเปล่ยี นแปลงและคณุ ภาพของ Care Plan ขอ้ มูลมีบริการส่งเสรมิ ป้องกันดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายใุ นระดบั ตำบล : - การดแู ลสง่ เสรมิ ดา้ นทันตสุขภาพในผสู้ งู อายุ - มีระบบการส่งเสริมสุขภาพเชิงป้องกันตามสถานการณ์การระบาด และควบคุมโรคใน กลุ่มผูส้ งู อายุและผู้มีภาวะพ่งึ พงิ ในระดับตำบล - การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ที่อยู่อาศัย ระบบสาธารณูปโภค ที่เอื้อต่อการ ดำรงชวี ิตของกลุม่ ผสู้ ูงอายุ และผ้มู ีภาวะพึ่งพิงในระดบั ตำบล เปน็ ตน้ ข้อมูลการจัดทำ Care Plan ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิงรายบุคคล ตั้งแต่ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยจัดทำเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิง ที่มี ADL < 11 ) : - หน่วยบริการมีการจัดทำ Care Plan รายบุคคลผ่านระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) รายละเอยี ดตัวชี้วดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขคร้งั ที่ 1 หน้า :: 40

แหลง่ ข้อมูล - มี Caregiver อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เข้าเยี่ยมและให้การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุและผู้มีภาวะ รายการขอ้ มูล 1 พง่ึ พิงตาม Care Plan รายการขอ้ มูล 2 - พื้นท่ีหน่วยบริการมีการบันทึกข้อมูลรายงานผลการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง (ประเมนิ ต่อเน่ือง ลงใน Care Plan ผา่ นระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) จากปี 2563 แหล่งฐานข้อมลู ทีส่ ามารถสืบค้น /อ้างอิง : ตามองค์ประกอบใหม่ ปี 2564) - ระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) รายงานประจำเดอื นกรมอนามยั รายการข้อมูล 3 (ประเมนิ เพอ่ื การรบั รองซ้ำ - ระบบโปรแกรม Long Term Care สำนกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ (RE– Accreditation) กรณี ผ่านการประเมินมาแล้วเกนิ - ระบบโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสขุ 3 ปี) รายการขอ้ มูลที่ 4 - ระบบโปรแกรม Health KPI กระทรวงสาธารณสขุ สตู รการคำนวณตวั ชวี้ ัด - DOH Dashboard กรมอนามยั ระยะเวลาการประเมินผล หมายเหตุ : ทุกระบบมาจากแหล่งข้อมูลเดียวกันคือระบบโปรแกรม Long Term Care เกณฑก์ ารประเมนิ : ปี 2560: (3C) รอบ 3 เดือน A = จำนวนตำบลที่ผ่านการประเมินระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว - (Long Term Care) ในชมุ ชน (6 องค์ประกอบ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564) ปี 2561: A1 = จำนวนตำบลใหม่ท่ีผ่านเกณฑ์การประเมิน 6 องค์ประกอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 A2 = จำนวนตำบลที่ผ่านการประเมินมาแล้วอย่างน้อย 3 ปี และขอรับการประเมินรับรอง ซ้ำ (RE–Accreditation) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามเกณฑ์การประเมิน 6 องคป์ ระกอบ B = จำนวนตำบลทัง้ หมด สตู รการคำนวณ A x 100 B หมายเหตุ A = จำนวนผลรวมของตำบลใหม่ทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมิน 6 องคป์ ระกอบของ ปีงบประมาณ 2564 กับ จำนวนตำบลทผ่ี า่ นการประเมนิ มาแล้วอยา่ งน้อย3ปี และขอรบั การ ประเมนิ รับรองซำ้ ( RE – Accreditation) ปงี บประมาณ 2564 ตามเกณฑก์ ารประเมนิ 6 องคป์ ระกอบ รอบที่ 1 : 6 เดอื นแรก (เดือนตลุ าคม 2563 – เดือนมนี าคม 2564) รอบที่ 2 : 6 เดอื นหลัง (เดอื นเมษายน – เดอื นกนั ยายน 2564) รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 30 - 50 รายละเอียดตวั ชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครง้ั ที่ 1 หนา้ :: 41

รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น - 50 - 60 ปี 2562: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น 60 - 70 รอบ 3 เดือน - รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 70 - 80 ปี 2563: รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน รอบ 3 เดือน - มผี ลการประเมิน - - มีผลการประเมนิ - มผี ลการประเมนิ คัด คดั กรองADLและ ปี 2564: คัดกรอง ADLและปญั หา กรอง ADL และปัญหา ปัญหาสุขภาพ ผสู้ ูงอายทุ ่ีจำเป็นใน รอบ 3 เดือน สขุ ภาพผู้สูงอายทุ ่จี ำเป็น สุขภาพผสู้ งู อายุที่ การวางแผนการดูแล - ทุกจังหวัดมีแผนการ ส่งเสริมสุขภาพ ขับเคลื่อนและมีแนว ในการวางแผนการดแู ล จำเปน็ ในการวาง ผ้สู ูงอายุ ทางการคัดกรองและ ประเมนิ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ สง่ เสริมสขุ ภาพผ้สู ูงอายุ แผนการดแู ลสง่ เสรมิ ด้วย ADL สุขภาพผู้สงู อายุ - ประเมนิ สขุ ภาพและ - มีผลการประเมินสุขภาพ - มผี ลการประเมนิ สขุ ภาพ - มีผลการประเมิน คดั ครองกลมุ่ อาการ และคดั ครองกลุ่มอาการ และคดั ครองกลุ่มอาการ สขุ ภาพและคัดครอง ผู้สงู อายุ 9 ขอ้ ผสู้ งู อายุ 9 ข้อ ผสู้ ูงอายุ 9 ขอ้ กลมุ่ อาการผสู้ งู อายุ (โดยคณะกรรมการ (โดยคณะกรรมการ (โดยคณะกรรมการ 9 ขอ้ (โดย พฒั นาเครอื่ งมอื คัดกรอง พฒั นาเคร่ืองมือคัดกรอง พัฒนาเครื่องมอื คัดกรอง คณะกรรมการ และประเมินสขุ ภาพ และประเมนิ สุขภาพ และประเมนิ สุขภาพ พฒั นาเครื่องมือคดั ผสู้ งู อายุกระทรวง ผสู้ ูงอายกุ ระทรวง ผสู้ งู อายกุ ระทรวง กรองและประเมิน สาธารณสขุ ) สาธารณสุข) สาธารณสขุ ) สุขภาพผู้สูงอายุ กระทรวง - มกี ารประชุมชแ้ี จง - มีผลการประเมินตำบล - มผี ลการประเมินตำบล สาธารณสขุ ) การประสานหน่วยงาน ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 90 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 93 - มจี ำนวนตำบล ทีเ่ ก่ยี วข้อง ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 95 - ทุกจงั หวดั มกี ารจัดทำ แผนการดูแลผู้สงู อายุ รายบคุ คล - มีแผนการขบั เคลื่อน การดำเนนิ งานตำบล คุณภาพในทุกพ้ืนที่ รายละเอียดตวั ชี้วดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครงั้ ท่ี 1 หนา้ :: 42

วิธีการประเมินผล : 1. พน้ื ท่ปี ระเมินตนเองตามองคป์ ระกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) เอกสารสนบั สนุน : 2. จงั หวดั ประเมินพื้นทต่ี ามองค์ประกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) และ รายละเอียดขอ้ มลู พนื้ ฐาน รายงานประจำเดือน ผู้ใหข้ ้อมูลทางวิชาการ /ผู้ประสานงานตัวชี้วดั 3. ศนู ยอ์ นามัยเขตสุ่มประเมินและรายงานตามองคป์ ระกอบในระบบโปรแกรม Long Term Care (3C) และรายงานประจำเดอื น - คู่มือแนวทางการจดั ทำ Care Plan Online กรมอนามยั - โปรแกรมการบันทึกข้อมูล Long Term Care (3C) กรมอนามัย /สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ - คู่มือการใช้โปรแกรม Long Term Care (3C) - คมู่ อื แนวทางการฝกึ อบรมหลักสูตร Care Manager /Caregiver กรมอนามัย - คมู่ อื แนวทางการฝกึ อบรมหลักสูตรฟื้นฟู Care Manager /Caregiver กรมอนามัย - คู่มือแนวทางการฝึกอบรมอาสาสมัครบริบาลท้องถิ่นตามหลักสูตรนักบริบาลท้องถิ่น (Care Community) - คู่มือแนวทางการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยระยะกลางในชุมชน (Intermediate Care in Community) - สมดุ บันทกึ สุขภาพผสู้ งู อายุเพอ่ื การส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามยั - กลยุทธก์ ารดำเนินงานตำบลดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายรุ ะยะยาว - แนวทางการดูแลสขุ ภาพผู้สูงอายุระยาว - คู่มือสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผสู้ ูงอายทุ ม่ี ภี าวะพง่ึ พิงในระบบหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ - คู่มอื การใชก้ ารโปรแกรม Long Term Care (3C) Baseline data หน่วย ผลการดำเนินงานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. วดั 2561 2562 2563 ตำบลที่มีระบบ รอ้ ยละ 71.59 83.9 92.78 การส่งเสริม (ทกุ ตำบลทวั่ (ทกุ ตำบลทั่ว (ทุกตำบลทัว่ สขุ ภาพดูแล ประเทศ) ประเทศ) ประเทศ) ผู้สูงอายุระยะ ยาว (Long Term Care : LTC) ในชมุ ชน ผ่านเกณฑ์ ชอื่ – สกุล : นายแพทย์กิตติ ลาภสมบตั ศิ ิริ ตำแหนง่ : ผอู้ ำนวยการสำนักอนามยั ผูส้ ูงอายุ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4503 โทรศัพท์มือถือ : 081 682 9668 โทรสาร : 0 2590 4501 E-mail : [email protected] สถานทีท่ ำงาน : สำนกั อนามัยผสู้ ูงอายุ กรมอนามัย หนว่ ยงานประมวลผลและ ชื่อ – สกุล : นางรัชนี บุญเรอื งศรี ตำแหน่ง : นักสงั คมสงเคราะหช์ ำนาญการพเิ ศษ จัดทำขอ้ มลู (ระดบั ส่วนกลาง) โทรศพั ท์ท่ที ำงาน : 0 2590 4508 โทรศัพท์มอื ถอื : 099 616 5396 โทรสาร : 0 2590 4501 E-mail : [email protected] สถานทีท่ ำงาน : สำนักอนามัยผสู้ งู อายุ กรมอนามัย รายละเอียดตวั ช้วี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครัง้ ท่ี 1 หน้า :: 43

ผรู้ บั ผดิ ชอบการรายงานผล ชอื่ – สกลุ : กลมุ่ บริหารยทุ ธศาสตร์ การดำเนนิ งาน โทรศพั ท์ทที่ ำงาน : 0 2590 4499 โทรสาร : 0 2590 4501 E-mail : [email protected] สถานท่ที ำงาน : สำนกั อนามัยผสู้ ูงอายุ กรมอนามยั รายละเอียดตัวชวี้ ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งท่ี 1 หน้า :: 44

หมวด 1. ดานสงเสรมิ สขุ ภาพ ปองกนั โรค และคุม ครองผบู รโิ ภคเปนเลศิ (PP&P Excellence) แผนงานท่ี 1. การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนไทยทุกกลุมวัย (ดานสขุ ภาพ) โครงการท่ี 1. พฒั นาและสรางศักยภาพคนไทยทุกกลุมวัย ระดับการแสดงผล จงั หวดั เขตสุขภาพ และประเทศ ชื่อตวั ช้ีวัด 8. รอยละของโรงพยาบาล ขนาด M2 ขน้ึ ไป ท่ีมกี ารจัดตั้งคลินกิ ผสู ูงอายุ 8.1 รอยละของ รพ. ขนาด M2 ข้นึ ไปทีม่ ีการจดั ต้ังคลินิกผูสงู อายรุ ะดบั คุณภาพ 8.2 รอ ยละของ รพ. ขนาด M2 ข้ีนไปทม่ี ีการจัดต้งั คลินิกผสู ูงอายรุ ะดับพนื้ ฐานข้ึนไป คาํ นิยาม คลินิกผสู ูงอายรุ ะดบั พ้นื ฐาน หมายถงึ มกี ารจัดระบบบริการสขุ ภาพแบบผูปวยนอก ที่ครอบคลมุ ประเด็นดงั ตอไปนท้ี ุกหวั ขอ • มรี ะบบการคดั กรอง หรือ รับสง ตอจากระบบการคดั กรองสุขภาพผูส งู อายรุ ะดับชุมชน (community screening) • มกี ารประเมนิ วินิจฉยั กลมุ อาการหรอื ปญ หาสุขภาพสําคัญของสงู อายุ อยา งนอย 2 จาก 9 เร่อื ง • มรี ะบบการดแู ลรกั ษา กลมุ อาการหรอื ปญ หาสุขภาพสําคัญของสูงอายุ อยา งนอย 2 จาก 9 เรอื่ ง • กลมุ อาการหรือปญหาสขุ ภาพสาํ คญั ของสูงอายคุ ือ 1. ดานความคิดความจาํ 2. ดา นการเคล่อื นไหวรางกาย 3. ดานการขาดสารอาหาร 4. ดา นการมองเห็น 5. ดานการไดย ิน 6.ดานภาวะซมึ เศรา 7. ดา นการกลัน้ ปสสาวะ 8. ดานการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจาํ วัน (ADL) และ 9. ชองปาก • มีคมู ือการดูแลรกั ษากลุมอาการสงู อายุ และ ปญหาสุขภาพสําคญั ของสูงอายุ ไวใหพรอมใชอ างอิงในแผนกผปู วยนอก • มีผรู บั ผิดชอบในการประสานงานสง ตอผปู ว ยและติดตามใหผปู วยสูงอายุ ไดรับการรักษากลมุ อาการสูงอายุอยา งเหมาะสม คลินิกผูสงู อายุระดับคณุ ภาพ หมายถงึ มีการจดั บรกิ ารคลินกิ ผูสูงอายุขึน้ เปน การเฉพาะ โดยผา นเกณฑการประเมนิ คลนิ ิกผสู ูงอายุคุณภาพ ของกรมการแพทย ในระดบั 20 คะแนนข้นึ ไป เกณฑเปา หมาย : ปง บประมาณ 64 ปง บประมาณ 65 ปง บประมาณ 66 ระดบั คุณภาพ ≥ 30% ระดบั คุณภาพ ≥ 40% ระดบั คุณภาพ ≥ 50% ระดบั พื้นฐานขึ้นไป 100% ระดับพืน้ ฐานขน้ึ ไป 100% ระดับพ้นื ฐานขนึ้ ไป 100% วตั ถุประสงค 1. เพ่อื ใหผูสงู อายุไดร ับการดูแลรักษากลุมอาการสูงอายุ (geriatric syndromes) และปญ หาสขุ ภาพท่ีสาํ คัญอยางเหมาะสม หลังจากท่ีไดรับการคัดกรองสขุ ภาพ 2. สงเสรมิ หรือ คงสมรรถภาพทางรางกาย สมอง สุขภาพจติ และสังคมของผูสงู อายุ ปองกนั หรือลดการเกิดภาวะพึง่ พิงในผูส งู อายุ ประชากรกลุมเปา หมาย ผูสูงอายุ 60 ปบ ริบรู ณ ขนึ้ ไป วิธกี ารจัดเกบ็ ขอ มลู 1. คณะประเมินคลินิกผสู ูงอายุ รายงานผลการประเมินผา น website สถาบนั เวชศาสตรฯ ผูสงู อายุ กรมการแพทย 2. สถาบันเวชศาสตรฯผูสูงอายุ กรมการแพทย รวบรวม ประเมนิ ผล และออกเปนรายงาน ประจาํ ป และสงคนื ขอมลู ใหกับโรงพยาบาลเปาหมาย จงั หวัด และ เขตสขุ ภาพ แหลง ขอมลู Website สถาบันเวชศาสตรฯ ผสู ูงอายุ กรมการแพทย รายละเอียดตัวช้ีวัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งท่ี 1 หนา้ :: 45

รายการขอมูล 1 A = จาํ นวนโรงพยาบาลขนาด M2 ข้นึ ไปที่มบี ริการคลินกิ ผสู งู อายรุ ะดับ รายการขอมูล 2 B = จาํ นวนโรงพยาบาลขนาด M2 ขน้ึ ไปท่ีมบี ริการคลินกิ ผสู ูงอายุระดบั คุณภาพ รายการขอมูล 3 C = จาํ นวนโรงพยาบาลขนาด M2 ข้ึนไปท้ังหมด สูตรคํานวณตัวชี้วดั รอยละของ รพ. ขนาด M2 ข้ึนไปทมี่ ีการจัดต้งั คลินกิ ผสู งู อายรุ ะดับคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ (B/C) × 100 สตู รคาํ นวณตัวชวี้ ดั รอยละของ รพ. ขนาด M2 ข้ีนไปท่ีมีการจัดตง้ั คลินกิ ผสู งู อายรุ ะดบั พน้ื ฐานขึ้นไป ระดบั พนื้ ฐาน (A+B)/C × 100 ระยะเวลาประเมินผล 1. โรงพยาบาลเปาหมายประเมินตนเอง ไตรมาสท่ี 2 ของปงบประมาณ 2. คณะประเมนิ ทําการประเมิน ไตรมาสที่ 3 – 4 ของปงบประมาณ เกณฑการประเมนิ ป 2564: รอบ 12 เดอื น ตัวชี้วัด รอบ 3 เดอื น รอบ 6 เดอื น รอบ 9 เดือน ระดับคุณภาพ - ระดับคุณภาพ ≥ 25% - ระดบั คุณภาพ ≥ 30% ระดับพื้นฐาน - ระดับพ้นื ฐานขึ้นไป ≥75% - ระดับพนื้ ฐานขน้ึ ไป 100% ป 2565: ตัวช้ีวดั รอบ 3 เดอื น รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น ระดบั คุณภาพ * ระดับคุณภาพ ≥ 35% * ระดบั คุณภาพ ≥ 40% ระดับพน้ื ฐาน - ระดับพ้นื ฐานขน้ึ ไป 100% - ระดับพน้ื ฐานขึน้ ไป 100% ป 2566: ตวั ช้วี ัด รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดอื น ระดบั คุณภาพ - ระดบั คุณภาพ ≥ 45% - ระดับคุณภาพ ≥ 50% ระดบั พน้ื ฐาน - ระดบั พ้ืนฐานขึ้นไป 100% - ระดบั พน้ื ฐานข้นึ ไป 100% Small Success ป 2564 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดอื น • การจัดทําคมู ือการ • โรงพยาบาลเปา หมาย • คณะประเมินทําการ • สถาบันเวชศาสตรฯ ประเมินคลนิ ิกผูส งู อายุ ทาํ การประเมินตนเอง ประเมินโรงพยาบาล ผสู ูงอายุ กรมการแพทย กรมการแพทย โดยผานเวบ็ ไซดคลินิก เปาหมาย โดยผานเว็บ รวบรวม ประเมนิ ผล ผสู ูงอายุ ของสถาบัน ไซดคลินิกผูสูงอายุ ของ และออกเปนรายงาน • การจดั ทําระบบรายงาน เวชศาสตรฯผสู งู อายุ สถาบันเวชศาสตรฯ ประจาํ ป และสงคนื ผลการประเมินผาน ผูส งู อายุ ขอ มูลใหกับโรงพยาบาล website เปาหมาย จังหวัด และ เขตสุขภาพ • อบรมแนวทางการ • สรุปผลการดําเนินงาน ดาํ เนินงานและการ และวางแผนการ ประเมินคลนิ ิกผูสูงอายุ ดําเนนิ งานสาํ หรับ ปงบฯ 2564 • จัดกิจกรรมสรุปผลการ ดําเนินงาน วธิ ีการประเมินผล : 1. ทาํ การประเมนิ ตามคมู อื การประเมินคลินกิ ผสู งู อายุ กรมการแพทย 2. ทาํ การประเมินโดยคณะประเมินจากอกี จังหวัดหนึ่งในเขตบริการสขุ ภาพเดียวกัน รายละเอยี ดตวั ชว้ี ัดกระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แก้ไขครัง้ ท่ี 1 หน้า :: 46

3. เปา หมายรอ ยละของโรงพยาบาล ขนาด M2 ข้นึ ไปท่ีมีการจดั ตัง้ คลนิ ิกผูสูงอายุ เปน เปา หมายท่เี นน เปา ระดับเขต เอกสารสนับสนุน : 1. คมู อื การประเมินคลินกิ ผสู ูงอายุ กรมการแพทย รายละเอียดขอ มลู 2. แนวทางการดูแลรกั ษากลุมอาการสงู อายุ (Geriatric Syndromes) พ้ืนฐาน : 3. คูมือการจัดบรกิ ารสขุ ภาพผสู งู อายใุ นสถานบริการสุขภาพ ผใู หข อมูลทางวิชาการ / 4. คมู อื แนวทางการดําเนินงานคลินกิ ผูสูงอายุคณุ ภาพและประเดน็ สาํ คญั ผูประสานงานตัวช้ีวัด ดา นเวชศาสตรผ สู ูงอายใุ นแผนกผูปวยนอก 5. หนังสอื /คูม ือ/เอกสารบรรยายฯลฯ อ่นื ๆ สามารถขอรับการสนับสนุนไดท่ีสถาบันเวช หนวยงานประมวลผล ศาสตรสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพอ่ื ผูสูงอายุ หรือสามารถดาวนโ หลดจาก website และจดั ทาํ ขอมูล http://agingthai.dms.moph.go.th (ระดับสวนกลาง) ผรู ับผดิ ชอบการรายงาน Baseline data หนวยวัด ผลการดาํ เนนิ งานในปง บประมาณ พ.ศ. ผลการดําเนนิ งาน 2561 2562 2563 - รอยละ - - - หมายเหตุ – เปน ตัวชว้ี ดั ใหม ป 2564 1. นพ.สกานต บนุ นาค นายแพทยเ ช่ยี วชาญ โทรศัพททที่ ํางาน : 0 2590 6211 ตอ 819 โทรศัพทมือถือ : 08 0453 1110 โทรสาร : 0 2591 8277 E–mail : [email protected] สถาบนั เวชศาสตรส มเด็จพระสงั ฆราชญาณสงั วรเพ่ือผูสูงอายุ กรมการแพทย 2. นางนติ กิ ลุ ทองนวม นักวชิ าการสาธารณสขุ ชาํ นาญการพเิ ศษ โทรศัพทท ท่ี ํางาน 0 2590 6211 ตอ 823 เบอรมือถอื 08 4653 3443 E-mail: [email protected] สถาบันเวชศาสตรสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพ่ือผสู งู อายุ กรมการแพทย 3. นางสาวปนิตา มงุ กลาง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ เบอรโ ทรศพั ท. 0 2590 6211 ตอ 818 เบอรมือถือ 09 3321 5288 E-mail: [email protected] สถาบันเวชศาสตรสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพ่ือผูส งู อายุ กรมการแพทย 4. นางสาวคนุ ัญญา แกวภาพ ผชู ว ยนักวิจัย เบอรโทรศพั ท. 0 2590 6211 ตอ 816 เบอรมอื ถอื 09 0956 5597 E-mail: [email protected] สถาบนั เวชศาสตรส มเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผสู งู อายุ กรมการแพทย สถาบันเวชศาสตรสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพ่ือผสู งู อายุ โทรศัพททท่ี ํางาน : 0 2590 6211 - 13 1. นายพนิ ิจ เอบิ อ่มิ นกั วเิ คราะหนโยบายและ โทรศัพททีท่ ํางาน : 0 2590 6211 โทรศัพทมือถือ : 08 4681 1567 โทรสาร : 0 2591 8277 E–mail : [email protected] สถาบันเวชศาสตรสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสงั วรเพื่อผูสูงอายุ กรมการแพทย 2. นายปวิช อภปิ าลกุล นกั วิเคราะหน โยบายและแผนปฏิบัติการ โทรศัพทท่ที ํางาน : 0 2590 6350 โทรศพั ทมือถอื : 09 8546 3564 โทรสาร : 0 2591 8279 E-mail: [email protected] กองยุทธศาสตรและแผนงาน กรมการแพทย รายละเอยี ดตวั ชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครง้ั ที่ 1 หนา้ :: 47

ตารางประกอบคาํ นยิ าม ตารางที่ 1 SIRS (systemic inflammatory response syndrome) Temperature >38°C or <36°C Heart rate >90 beats/min Respiratory rate >20 /min หรือ PaCO2<32 mm Hg WBC >12,000 /mm3, <4000 /mm3, หรอื มี band form >10 % ตารางท่ี 2 tissue hypoperfusionหรอื organ dysfunction มภี าวะ hypotension คา blood lactate level >2 mmol/L (18 mg/dL) Urine output <0.5 mL/kg/hrเปน ระยะเวลามากกวา 2 ชม.แมว าจะไดสารนํา้ อยางเพียงพอ Acute lung injury ท่มี ี Pao2/Fio2<250 โดยไมมีภาวะ pneumonia เปนสาเหตุ Acute lung injury ทม่ี ี Pao2/Fio2<200 โดยมีภาวะ pneumonia เปนสาเหตุ Creatinine>2.0 mg/dL(176.8μmol/L) Bilirubin >2 mg/dL(34.2μmol/L) Platelet count <100,000μL Coagulopathy (international normalized ratio >1.5 หรือ aPTT> 60 วินาที ) ตารางท่ี 3 qSOFA (quick SOFA)score ในการประเมนิ ไดแ ก 1. Alteration in mental status (อาจใช Glasgow Coma Scale score นอยกวา 15 กไ็ ด) 2. Systolic blood pressure ≤100 mm Hg 3. Respiratory rate ≥22/min รายละเอียดตัวชีว้ ดั กระทรวงสาธารณสุข ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขคร้งั ท่ี 1 หนา้ :: 48

ตารางที่ 4 SOS score (search out severity) การแบง ระดับการดูแลผปู วยภายในโรงพยาบาล ระดบั 0 (Level 0) Patients whose needs can be met through normal ward care in an acute hospital ระดบั 1 (Level 1) Patients at risk of their condition deteriorating, or those recently relocated from higher levels of care, whose needs can be met on an acute ward with additional advice and support from the critical care team ระดับ 2 (Level 2) Patients requiring more detailed observation or intervention including support for a single failing organ system or post-operative care and those ‘stepping down’ from higher levels of care ระดบั 3 (Level 3) Patients requiring advanced respiratory support alone or basic respiratory support together with support of at least two organ systems. This level includes all complex patients requiring support for multi-organ failure ตารางที่ 5 Modified Early Warning Score (MEWS) for Clinical Deterioration Criteria Point Value Systolic BP (mmHg) +3 ≤70 +2 71-80 +1 81-100 0 101-199 +2 ≥200 Criteria Point Value Heart rate (beats per minute) รายละเอียดตัวชว้ี ดั กระทรวงสาธารณสขุ ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แกไ้ ขครั้งท่ี 1 หนา้ :: 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook