ค่มู อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เครื่องหมายลูกเสอื หลวง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำ� นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 1
ค่มู ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ปีท่ีพิมพ ์ พ.ศ. 2562 จำ�นวนพมิ พ์ 200 เล่ม จดั ท�ำ โดย ส�ำ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร พมิ พท์ ่ี โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั 79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พมิ พผ์ ้โู ฆษณา
คำนิ ยม นับว่าเป็นโอกาสและประโยชน์ที่สาคัญ อีกเร่ืองหน่ึงที่สานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการ นักเรียน ซึ่งเป็นหน่วยงานหน่ึงในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ผลิตตารา ในลักษณะคู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษาชุดน้ีข้ึน ซ่ึงมีเนอื้ หาท่ีสอดคลอ้ ง กับปัญหาตามวัยและพัฒนาการของผู้เรียน และมีการบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอน เข้ากับวิธีการ ลูกเสอื ครู อาจารย์ ผู้กากับลูกเสือ และบุคลากรทางการลูกเสอื จะได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ประเทศไทยกาลังกา้ วสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ดังนัน้ ความถกู ต้องและชัดเจนในเรื่องการจัด กจิ กรรมลูกเสอื จึงเป็นตาราและคู่มือทางการวิชาการ สาหรับกิจกรรมลูกเสือเพื่อจะใชเ้ ป็นเครื่องมอื ในการ พัฒนาเยาวชนใหเ้ ป็นพลเมอื งดี มีความรอบรู้ สามารถช่วยตนเองได้ อันจะเป็นแรงผลักดันให้การศึกษาของ ประเทศไทยมคี วามเจรญิ เท่าเทียมกับประเทศสมาชิกอาเซยี น และอารยประเทศอน่ื ๆ ท่ัวโลก ขอขอบคุณ และให้กาลงั ใจตอ่ ผู้ทรงคุณวุฒิทางการลกู เสือ และผ้มู ีสว่ นรว่ มในการจัดทาคมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษาเล่มนี้ทุกท่าน ที่ได้เสียสละ กาลังความคิด จนทาให้เสร็จส้ินโดยสมบูรณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อกจิ การลกู เสืออย่างมาก ทั้งในปจั จุบนั และอนาคต (นายการณุ สกุลประดษิ ฐ)์ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นายการุณ สกุลประดษิ ฐ์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
คำนิ ยม คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับ ครูผู้สอน ลูกเสือ เนตรนารี ท่ีจะใช้สาหรับวางแผนการสอน การวัดและการประเมินผู้เรียน จัดทาข้นึ โดยมี เป้าหมายสาคัญ คือ เสนอแนวทางท่ีเหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ สาหรับ ครูผู้สอนนาไปใช้เป็นหลักการในการจัดการเรียนการสอน โดยสามารถพัฒนาและปรับปรุงให้ดีข้ึนตาม ความรู้ ความสามารถของครผู ู้สอน ตามบรบิ ทแตล่ ะภูมภิ าค หลักสาคัญของเอกสารชุดนี้ นอกเหนือจากเสนอแนวทางด้านเนื้อหาสาระสาคัญ วิธีสอน ท่ีเหมาะสม การวัดและประเมินผล ตัวอย่างแบบทดสอบ วิธีทดสอบ แล้วยังสามารถต่อยอดทางความคิด ของครูผู้สอนได้ เน่ืองจากเป้าหมายท่ีต้องการคือ การนาเอากระบวนการลูกเสือมาจัดการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ในการทากิจกรรมอย่างครบวงจร เพื่อให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ตามกระบวนการของลกู เสือ จงึ เชอื่ ได้ว่า หากผู้เรยี นเข้าใจและปฏิบตั ิได้แล้ว จะเป็นคนดีในสังคมตอ่ ไป ขอขอบคุณ ผู้ร่วมดาเนินการในการจัดทาคู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิต ในสถานศึกษาทุกภาคส่วน ท่ีเล็งเห็นประโยชน์ในการทาเอกสารชุดนี้จนสาเร็จเรียบร้อย สามารถเผยแพร่ได้ ซ่งึ นา่ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ เด็กและเยาวชนในทส่ี ดุ (นายประเสรฐิ บุญเรอื ง) รองนปาลยดัเปลกรขรระะาอเธทสงกิรรปวาิฐลงรบศดัสึกญุกำ� ษนรเระากั อืทธงงิกราาวนรงลศกู กึ เสษอืาแธหกิ าง่ รชาติ เลขาธกิ ารสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติ
ค�ำ น�ำ ส�ำนักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจการนักเรียน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการร่วมกับ สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พฒั นาโครงการส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา มวี ตั ถุประสงค์เพ่อื เสรมิ สร้าง ทกั ษะชวี ติ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนในสถานศกึ ษาดว้ ยกระบวนการลูกเสอื โดยใหเ้ ดก็ และเยาวชนลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ย ตนเอง ในการทำ� กจิ กรรมอยา่ งครบวงจร ตงั้ แตก่ ารศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ตั ติ ามแผน ประเมนิ และปรบั ปรงุ การจดั กจิ กรรม รวมถงึ การทำ� งานเป็นระบบหมตู่ ามกระบวนการลกู เสอื ซง่ึ กจิ กรรมดงั กลา่ วเป็นการพฒั นาความ เป็นมนุษยแ์ บบองคร์ วม ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ทำ� ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมรี ะเบยี บวนิ ยั มจี ติ สำ� นกึ ในการทำ� ความดเี พอ่ื ทำ� ประโยชน์ใหก้ บั ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ ตอ่ ไป เร่ิมจากการศึกษาความเป็นไปได้ ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องทงั้ ในและต่างประเทศ จดั ประชุมผู้เช่ยี วชาญทงั้ ด้านลูกเสอื ด้านทกั ษะชวี ติ รวมทงั้ ด้านการพฒั นาเด็กและเยาวชน เพ่อื ก�ำหนด กรอบโครงสรา้ งหลกั สตู รลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ปัญหาตามวยั และพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ของลกู เสอื แต่ละประเภท คู่มือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต ฉบับทดลอง สมาคมวางแผนครอบครัว แหง่ ประเทศไทยฯ ไดเ้ รม่ิ ใชใ้ นปี พ.ศ. 2553 มโี รงเรยี นจากทกุ ภมู ภิ าคของประเทศเขา้ รว่ มโครงการ จำ� นวน 26 โรงเรยี น โดยไดด้ ำ� เนินการควบคไู่ ปกบั การวจิ ยั และประเมนิ ผลการใชค้ มู่ อื และทำ� การปรบั ปรงุ คมู่ อื ครงั้ แรกเมอ่ื เมษายน พ.ศ. 2554 โดยไดเ้ พมิ่ เตมิ เพลง เกม นิทาน เรอ่ื งสนั้ และเน้ือหาใหค้ รบถว้ นยง่ิ ขน้ึ การปรบั ปรุงครงั้ ท่สี อง มถิ ุนายน พ.ศ. 2559 เกิดข้นึ ตามขอ้ เสนอแนะจากการประชุมปฏบิ ตั ิการ “การขบั เคล่ือนกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนด้วยกระบวนการลูกเสือ” ซ่ึงจัดโดยส�ำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วย การปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ และเพ่ิมจ�ำนวนแผนการจัดกิจกรรมให้ครบ 40 ชัว่ โมง เพอ่ื ครอบคลมุ สาระทจ่ี ำ� เป็นอยา่ งครบถว้ น เป็นการเตรยี มการขยายผลในโรงเรยี นสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) ทวั่ ประเทศ และได้แบ่งคู่มือออกเป็น 11 เล่ม ส�ำหรบั ลูกเสือแต่ละชนั้ ปี เพ่อื ความสะดวกของผสู้ อน รวมทงั้ ทางสำ� นักการลูกเสอื ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี นไดด้ ำ� เนินการวจิ ยั และ ประเมนิ ผลการใชค้ มู่ อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ จำ� นวน 53 โรงเรยี น คขู่ นานกบั สมาคมวางแผน ครอบครวั แหง่ ประเทศไทยฯ ดว้ ย ส�ำนักการลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น และสมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทยฯ ขอขอบพระคุณหน่วยงานและบุคลากรทุกท่านท่มี สี ่วนร่วมในโครงการให้ส�ำเร็จลุล่วง ณ โอกาสน้ี ตงั้ แต่ การริเริ่มโครงการการจัดท�ำหลักสูตรและคู่มือ การทดลองวิจัยและประเมินผลการใช้คู่มือ รวมทัง้ การปรบั ปรุงคู่มอื ทงั้ 2 ครงั้ หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าคู่มอื ชุดน้ีจะช่วยส่งเสรมิ ให้กจิ การลูกเสอื ของประเทศไทย ซ่ึงด�ำเนินมาครบวาระ 108 ปี ในปี พ.ศ. 2562 น้ี ได้เป็นเคร่อื งมอื ส�ำคญั และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการพฒั นาเดก็ และเยาวชนของชาตติ อ่ ไป สำ� นักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน สำ� นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
สารบญั หนา้ คานยิ ม คานา คาชแี้ จงการใชค้ ู่มอื 1 แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญเ่ชคนั้ รมอื่ งัธหยมมาศยกึลษกู เาสปอื ที หี่ ล3วง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3 4 หนว่ ยที่ 1 ปฐมนเิ ทศ แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ 7 หน่วยที่ 2 ส่ิงแวดล้อม 10 แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 2 เรารกั ษ์โลก แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 3 สวนสวยดว้ ยวสั ดเุ หลอื ใช้ 22 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 4 โลกสวยด้วยมอื เรา 27 แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 5 รวมพลงั รกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 35 หนว่ ยที่ 3 อดุ มคติ แผนการจัดกจิ กรรมที่ 6 คณุ ธรรมในชีวิต 43 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 7 ยกยอ่ งคนดี 52 แผนการจัดกจิ กรรมที่ 8 แก้ปัญหาสังคมด้วยกฎลูกเสอื 54 หน่วยที่ 4 กจิ กรรมท่ีสนใจเป็นพิเศษ แผนการจดั กจิ กรรมที่ 9 กจิ กรรมน่ี...เราจอง 64 หนว่ ยท่ี 5 การสํารวจ แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 10 แผนทชี่ มุ ชน 70 หน่วยที่ 6 พัฒนาชมุ ชน 86 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11 ความต้องการของชมุ ชน แผนการจัดกจิ กรรมที่ 12 โครงการพัฒนาชุมชน 91 แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 13 การรายงานโครงการ 96 หน่วยท่ี 7 ทกั ษะชวี ิต แผนการจดั กจิ กรรมที่ 14 สารปนเปอ้ื นในอาหาร 101 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 15 คดิ เชิงบวก 107 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 16 การแสดงความชื่นชมและใหก้ ําลงั ใจ 110 แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 17 คนดีรอบตัวฉัน 114 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 18 เปาฺ หมายในชีวิต 117 6 คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
สารบัญ(ต่อ) หน้า หน่วยท่ี 7 ทกั ษะชีวติ (ต่อ) 122 แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 19 สภุ าพบรุ ุษและสภุ าพสตรใี นดวงใจ 126 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 20 เป็นลูกเสือทง้ั ตวั และหัวใจ 129 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 21 รู้เทา่ ทนั สอื่ โฆษณา 133 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 22 ลวนลามทางเพศ 135 แผนการจัดกจิ กรรมที่ 23 การช่วยเหลือผูอ้ นื่ 138 หน่วยท่ี 8 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 141 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 24 การประหยัด 150 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 25 การจดั การกับเวลา 153 แผนการจดั กจิ กรรมที่ 26 วัยรุ่นไทยหวั ใจเกาหลี แผนการจัดกจิ กรรมที่ 27 ชุมชนเราน้ดี จี งั 162 หน่วยที่ 9 การฝึกเป็นผู้นาํ 171 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 28 ผู้นาํ ทดี่ ี 184 หน่วยท่ี 10 ประเมนิ ผล แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 29 การประเมินผล 187 198 หน่วยท่ี 11 พธิ กี าร 201 แผนการจัดกจิ กรรมที่ 30 การประดับเครอื่ งหมายลกู เสอื หลวงและ 221 เคร่อื งหมายวิชาพิเศษ ภาคผนวก ภาคผนวก ก แนวคดิ เรอ่ื งทกั ษะชีวิต ภาคผนวก ข กิจกรรมลูกเสือเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิต ภาคผนวก ค แนวปฏิบตั กิ ารสอบวิชาพเิ ศษ บรรณานุกรม ค่มู ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 7
คาชแี้ จงการใชค้ ูม่ อื คู่มือส่งเสริมและพพัฒัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเสือือททักักษษะชะชีวีิตวิตในในสถสาถนาศนึกศษึกาษชาุดชนุดี้ นจ้ี ัดจทัดําทข�ำ้ึนขส้ึนําสห�ำรหับรผับู้ ผกกู้ํากำ� กับบัลลูกกูเสเสืออืใชใช้เปเ้ ปน็ ็นแแนนววททาางงใในนกกาารรจจดั ดั กกจิ จิ กกรรรรมมลลกู กู เเสสอื อื มมจี จีาํ �ำนนววนน111เลเม่ ล่มแยแกยตกาตมาชมัน้ ชปนั้ ี ปสีาํ หสำ�รหับรลบัูกลเสกู อื เส4อื 4ปรปะรเภะเทภทคือคอืลกู ลเกูสเอื สสอื ําสรำ� อรงองลูกลเกู สเือสสอื าสมาัญมญั ลูกลเกู สเอืสสอื าสมาัญมญัรุ่นรนุ่ใหใหญญ่ แ่ ลแะลละูกลกูเสเสืออวื ิสวสาิ มามัญญั หลักสตู รลกู เสือเสริมสร้างทักษะชีวิต มีเนื้อหาท่ีสอดคล้องกับปัญหาตามวัยและพัฒนาการ ด้านต่าง ๆ ของลูกเสือแต่ละประเภท นอกจากนี้ยังมีเน้ือหาครบถ้วน เป็นไปตามข้อบังคับคณะ ลูกเสอื แห่งชาติ วา่ ด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพเิ ศษลกู เสอื สาํ รอง ลูกเสือสามัญ ลกู เสือสามัญ รุ่นใหญ่ และลูกเสือวิสามญั อีกด้วย แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตในคู่มือชุดนี้ ได้ออกแบบโดยบูรณาการ กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิตเข้ากับวิธีการลูกเสือ คือการใช้ระบบหมู่หรือกลุ่มย่อย โดยให้เด็กเป็น ศนู ยก์ ลาง และมีผใู้ หญท่ าํ หน้าที่ช่วยเหลอื และส่งเสริมใหเ้ กิดกระบวนการเรยี นรู้ในกลุ่ม แนะนํา ส่ังสอน และฝึกอบรมให้สามารถพึง่ ตนเองได้ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณและกฎของ ลูกเสอื เสรมิ สรา้ งคุณคา่ ในตนเอง รวมทงั้ ใช้ระบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ทางลูกเสือและเคร่ืองหมาย วิชาพิเศษ เป็นแรงกระตนุ้ ไปส่เู ปาฺ หมายในการพัฒนาตนเอง การเรียงลําดับแผนการจดั กิจกรรม จดั เรยี งลําดบั เน้อื หาสาระตามหลักสูตรในข้อบังคับคณะ ลูกเสอื แหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการปกครองหลักสตู รและวชิ าพเิ ศษลูกเสือสํารอง ลกู เสือสามัญ ลกู เสือสามัญ รุน่ ใหญ่ และลูกเสือวสิ ามญั การนําไปใช้ข้ึนกบั ดุลยพินิจของสถานศึกษาในการเลือกว่าแผนการจัด กิจกรรมใดควรใชเ้ ม่อื ใด องค์ประกอบในการประชุมกอง เน้นการใช้ชีวิตกลางแจ้ง นอกห้องเรียน ใกล้ชิดธรรมชาติ เรียนรจู้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง เกม และการบริการผู้อ่ืน ซึ่งถือเป็นหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ ทกุ ประเภท โดยกจิ กรรมทใี่ ช้ แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื การแสดงออก การสาํ รวจและการรายงาน การวิเคราะห์และการประเมิน เกมและการแข่งขัน การบําเพ็ญประโยชน์ มีการออกแบบกิจกรรม เพอ่ื ให้ลกู เสือได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แลกเปล่ียนความคิดความเช่ือ สร้างองคค์ วามรแู้ ละสรปุ ความคิดรวบยอด รวมท้ังเปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ประยุกต์ใช้ส่ิงที่ได้เรียนรู้ ในชีวติ จริงอีกด้วย เน้อื หาสาระในแผนการจดั กจิ กรรมประกอบดว้ ย 1. กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ (ไม่รวมกิจกรรมทดสอบเพ่ือรับ เครอ่ื งหมายหรอื สญั ลักษณ์ทางลกู เสอื และเครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ) 2. กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติที่ช่วยเสริมสร้างทักษะชีวิตด้านคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรบั ผิดชอบตอ่ ส่วนรวม 3. กจิ กรรมเสริมสร้างทกั ษะชวี ิต เพ่อื สรา้ งภูมิค้มุ กนั ทางสังคมต่อเหตกุ ารณแ์ ละสภาพปัญหา ของเดก็ แต่ละวยั 8 ค่มู อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ เครื่องหมายลูกเสอื หลวง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 1
คู่มือแต่ละเลม่ ไดจ้ ดั ทําตารางหนว่ ยกิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรม 40 ช่ัวโมง เพ่ือใหเ้ หน็ ภาพรวมของการจัดกจิ กรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชวี ิตของลูกเสือในแตล่ ะระดับชั้น และมหี มายเหตุ บอกไวใ้ นตารางชอ่ งขวาสดุ ว่าเปน็ แผนการจดั กิจกรรมเสริมสร้างทกั ษะชีวติ แผนการจดั กิจกรรมประกอบด้วย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา สอื่ การเรยี นรู้ กิจกรรม การ ประเมินผล องค์ประกอบทักษะชีวิตสําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด กิจกรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู้ เรื่องทเ่ี ปน็ ประโยชน์) จุดประสงค์การเรียนรู้ ผู้สอนควรทําความเข้าใจให้ชัดเจนว่าเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ด้านความรู้ เจตคติ หรือ ทักษะ เพอ่ื จัดกจิ กรรมไดต้ รงตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้แต่ละด้าน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ด้านความรู้ มีจุดเน้นที่การตั้งประเด็นให้วิเคราะห์ สังเคราะห์เน้ือหา ความรู้ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และสามารถนําไปใชไ้ ด้ในชวี ติ จริง จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ดู า้ นเจตคติ มจี ดุ เน้นท่อี ารมณ์ความรู้สึก และการต้ังประเด็นให้ผู้เรียน ไดแ้ ลกเปล่ียนและตรวจสอบความคิดความเชือ่ ของตนเองกบั สมาชิกกล่มุ คนอน่ื ๆ จุดประสงค์การเรียนรู้ด้านทกั ษะ เนน้ ท่ีการทําความเข้าใจในขั้นตอนการลงมอื ทําทักษะ และ ได้ทดลองและฝึกฝนจนชํานาญ บางแผนการจัดกิจกรรมมีจุดประสงค์การเรียนรู้ซ้อนกันมากกว่า 1 ด้าน ให้เน้นด้านท่ีเป็น จดุ ประสงค์หลักของแผนการจัดกิจกรรม เนอ้ื หา เป็นผลการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นหลังการสอน ผู้สอนควรตรวจสอบว่าผู้เรียนได้เนื้อหาครบถ้วน หรือไม่ ส่อื การเรียนรู้ เปน็ สอ่ื อุปกรณ์ ทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรม เชน่ แผนภูมเิ พลง เกม ใบงาน ใบความรู้ และเรื่องที่ เปน็ ประโยชน์ ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ในภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรมลูกเสือยังคงแบบแผนของลูกเสือไว้ คือ การเปิดประชุมกอง/ปิดประชุมกอง และ เพลง เกม นิทาน เรือ่ งท่เี ป็นประโยชน์ ซงึ่ ใสไ่ ว้ในทกุ แผนการจดั กจิ กรรม โดยผู้กํากับลูกเสือสามารถ ปรบั เปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสม ผ้สู อนควรจดั กจิ กรรมตามท่ีไดอ้ อกแบบไว้เรยี งตามลําดับขั้นตอน การจดั กจิ กรรม นอกจากนกี้ ่อนการจัดกิจกรรมควรศึกษาแผนการจัดกิจกรรมให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทุกขน้ั ตอน ศึกษาใบความรู้สําหรับผสู้ อน และใบงานสําหรบั ผู้เรยี น เพ่อื ท่ผี สู้ อนจะไดจ้ ัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนใหไ้ ด้เน้ือหาตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้มากทส่ี ุด ท้ังน้ีผูก้ าํ กับควรทาํ ความเขา้ ใจแนวคิดเร่อื งทกั ษะชีวิต และกิจกรรมลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ ให้ถอ่ งแทด้ ว้ ย โดยศกึ ษาไดจ้ ากภาคผนวก ก และภาคผนวก ข คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 9 คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ เคร่ืองหมายลูกเสอื หลวง 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
การประเมนิ ผล สามารถประเมินได้ทั้งระหว่างการจัดกิจกรรม และหลังการสอนจบแล้ว ตามแนวทางท่ีได้ให้ไว้ ในแต่ละแผนการจัดกิจกรรม องค์ประกอบทักษะชีวติ สาคญั ท่ีเกดิ จากกิจกรรม ทักษะชีวิตเกิดขึ้นได้หลายองค์ประกอบในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ในท่ีนี้ได้ระบุเพียง องค์ประกอบทกั ษะชวี ติ สําคญั ที่เกดิ ขน้ึ เทา่ นั้น ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรม เป็นสอื่ อปุ กรณ์ ตามรายการที่ระบุไว้ในสื่อการเรียนรู้ เช่น เพลง เกม บัตรคํา ใบงาน ใบความรู้ และเร•อ่ื งสทสำ� มีเ่นปากั น็คกปมารวระาลโงกูยแเชสผนอืน์ ฯคยลรวุ ฯอกบาหชคาารกดัวมแีขลห้อะง่ เกปสจิ รนกะอาเทแรนนศกัะไทเเพรยยี ือ่ นฯการปรับปรงุ คมู่ ือชดุ นี้ กรุณาตดิ ตอ่ ที่ สเำ�ลนขกัทง่ี า8นวปภิ ลาดั วกดรีระงั ทสรติ วง4ศ4กึ ษแาขธวกิ งาลราดกยระาทวรวเงขศตกึ จษตาจุ ธกั กิ รากรรุงเทพฯ 10900 ถโนทนรศราพั ชทด์ ำ� เ0น-2ิน9น4อ1ก-2เ3ข2ต0ดสุ ตติ อ่ ก1ร5งุ 1เทพโทฯร1ส0า3ร000-2561-5130 โทรศพั ท์ 02-628-6365 โทรสาร 02-628-6402 10 คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ เครื่องหมายลกู เสือหลวง ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 3
แผนการจัดกิจกรรม ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 4 คมู่ ือสง่คเ่มู สอื รสิมง่ แเสลระิมพแัฒลนะพากัฒิจนการกริจมกลรกูรมเสลือกู ทเสักือษทะักชษวี ะิตชใีวนิตสใถนาสนถศานึกศษึกาษลาูกปเสระอื เสภาทมลัญูกเรสุ่นือใสหาญมัญ่ รชุ่น้นั ใมหญธั ย่ เมคศร่อืกึ งษหามปาีทยี่ ล3กู เสอื ห1ลว1ง ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ เคร่ืองหมายลกู เสือหลวง แผนการจดั กิจกรรมลชกู นั้ เสมือธั สยามมศญั ึกษรนุ่าปใีหทญี่ 3่ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ช่ือหนว่ ยกิจกรรมตามขอ้ บงั คับ แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื จานวน หมายเหตุ คณะลกู เสอื แห่งชาติ เร่ือง ชั่วโมง 1. ปฐมนเิ ทศ 1. การปฐมนเิ ทศ 1 2. ส่ิงแวดล้อม 2. เรารักษ์โลก 1 3. สวนสวยดว้ ยวสั ดุเหลอื ใช้ 2 ทกั ษะชีวติ 4. โลกสวยด้วยมอื เรา 1 5. รวมพลงั รักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม 1 3. อดุ มคติ 6. คณุ ธรรมในชวี ิต 1 7. ยกย่องคนดี 1 ทกั ษะชวี ิต 8. แก้ปญั หาสงั คมด้วยกฎลกู เสอื 1 4. กิจกรรมท่สี นใจเป็นพิเศษ 9. กจิ กรรมนี.่ ....เราจอง 2 5. การสารวจ 10. แผนท่ีชุมชน 3 6. พฒั นาชมุ ชน 11. ความต้องการของชมุ ชน 1 12. โครงการพัฒนาชมุ ชน 1 13. การรายงานโครงการ 1 7. ทกั ษะชีวิต 14. สารปนเป้อื นในอาหาร 1 ทกั ษะชวี ิต 15. คิดเชงิ บวก 1 ทกั ษะชีวิต 16. การแสดงความชนื่ ชมและ 1 ทกั ษะชวี ติ ให้กาํ ลงั ใจ 17. คนดีรอบตัวฉนั 2 ทกั ษะชีวติ 18. เปาฺ หมายในชีวิต 2 ทักษะชวี ติ 19. สภุ าพบุรษุ และสภุ าพสตรใี นดวงใจ 2 ทักษะชีวิต 20. เปน็ ลกู เสือทง้ั ตวั และหัวใจ 1 ทักษะชีวิต 21. รเู้ ทา่ ทันสื่อโฆษณา 2 ทักษะชวี ิต 22. ลวนลามทางเพศ 1 ทักษะชวี ติ 23. การชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื 1 ทกั ษะชีวติ คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ เคร่ืองหมายลูกเสอื หลวง 5 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 12 ค่มู อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ช่อื หนว่ ยกจิ กรรมตามข้อบังคบั แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือ จานวน หมายเหตุ คณะลกู เสอื แห่งชาติ เรอื่ ง ชัว่ โมง 8. เศรษฐกิจพอเพียง 24. การประหยดั 1 ทักษะชวี ติ 25. การจัดการกบั เวลา 2 ทักษะชวี ติ 26.วัยรนุ่ ไทยหัวใจเกาหลี 1 ทกั ษะชวี ิต ง 27. ชุมชนเราน้ดี จี ัง 2 9. การฝกึ เป็นผู้นา 28. ผ้นู าํ ท่ดี ี 1 10. ประเมนิ ผล 29. การประเมนิ ผล 1 11. พธิ กี าร 30. ประดับเคร่อื งหมายลกู เสือหลวง 1 และเครื่องหมายวชิ าพิเศษ รวม 11 หนว่ ยกิจกรรม รวม 30 แผนการจัดกิจกรรม 40 คู่ม6ือสง่ เสรมิ คชแ่มู้นั ลือมะสธัพง่ยัฒเมสนศรึกามิ กษแิจลากปะพรที รี่ัฒม3นลากู กเิจสกือรทรักมษลูกะชเสวี อื ิตทใกันษสะถชาีวนิตศในึกษสถาาลนกูศเกึ สษอื าสปามระัญเภรทนุ่ ลใหกู ญเส่อื สชาัน้ มมัญัธรยนุ่ มใหศญึกษ่ เคาปรอื่ที ง่ี ห3มายลกู 1เส3ือหลวง
แผนการจดั กิจกรรมลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ เคร่อื งหมายลูกเสอื หลวง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยท่ี 1 ปฐมนเิ ทศ การปฐมนเิ ทศ เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 1 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ลกู เสอื สามารถบอกเกณฑ์การไดร้ บั เครือ่ งหมายลกู เสอื หลวงได้ 2. เนือ้ หา หลกั สตู รเครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง 3. สื่อการเรยี นรู้ 3.1แผนภูมเิ พลง 3.2 ข้อบังคบั คณะลูกเสอื แห่งชาติ วา่ ด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสือสามัญ รุ่นใหญ(่ ฉบับท่ี 14) พ.ศ. 2528 และคมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่เสรมิ สรา้ ง ทกั ษะชวี ติ 3.3 ทะเบียนลูกเสอื สามญั รุ่นใหญ่ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 4. กจิ กรรม 4.1 ผกู้ าํ กับลูกเสือและลกู เสอื พร้อมกันทบ่ี ริเวณทเี่ หมาะสม เช่น สนามโรงเรียน หรอื ห้องประชมุ เป็นตน้ 4.2 ผกู้ ํากบั ลูกเสอื สนทนากับลูกเสือเกีย่ วกบั การเขา้ รว่ มกจิ กรรมในหลักสตู รลกู เสอื ชนั้ พเิ ศษ 4.3 ผ้กู ํากบั ลูกเสือนําเสนอเกณฑก์ ารได้รับ เครือ่ งหมายลูกเสือหลวงให้กับลูกเสือ พร้อม ทงั้ ให้ลูกเสอื ตรวจสอบวชิ าท่ีลกู เสอื สอบในระดบั ลกู เสอื ชัน้ พิเศษ 4.4 ผกู้ าํ กับลกู เสอื สมุ่ ลกู เสอื 3-5 คนนาํ เสนอเกณฑ์การได้รับ เครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง หลงั จากทฟ่ี ังผู้กาํ กับลกู เสอื นําเสนอ 4.5 ผกู้ าํ กับลูกเสอื และลกู เสือร่วมกนั สรุปรายละเอียดของเกณฑ์ทีถ่ กู ต้อง ลกู เสอื บันทึกไว้เปน็ ข้อมลู 4.6 ผูก้ าํ กบั ลูกเสอื นดั หมายคร้งั ตอ่ ไป 5. การประเมนิ ผล สังเกตการมีส่วนรว่ มในการทาํ กจิ กรรม การแสดงออก การแสดงความคิดเห็น และประเมนิ ความถูกตอ้ งของการแต่งเครื่องแบบและการปฏบิ ตั ิกิจกรรม คูม่ 1ือ4สง่ เสริมแคลมู่ ะือพสฒั ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลัฒกู นเสาอื กทจิ ักกษระรชมีวลิตูกใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษวี าติ ปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษือาสาลมูกัญเสรนุ่อื ใสหาญมัญ่ เครรนุ่ ือ่ ใงหหญม่ายชลั้นูกมเสัธอื ยหมลศวกึงษาปที ี่ 37 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 1 เพลง วนั นีย้ นิ ดี วันนี้ยินดี ที่เราไดม้ าพบกนั (ซ้ํา) ยินดี ยนิ ดี ยนิ ดี มาเถิดมา เรามาร่วมสนกุ ปลดเปล้อื งความทุกข์ ใหม้ ันสน้ิ ไป มาเถดิ มา เรามารว่ มจติ ชว่ ยกนั คดิ ทําใหก้ ารลกู เสือเจริญ ใบความรู้ เครอ่ื งหมายลูกเสอื หลวง ลกั ษณะเครอื่ งหมาย เปน็ รูปสเี่ หลยี่ มจตั รุ สั ขนาดดา้ นละ ๓ ซม. ตามแบบ พนื้ สีกากี ขอบสขี าวมีรปู พระมหามงกฎุ สีทองอยตู่ รงกลาง และมีตราคณะลูกเสอื แหง่ ชาตสิ ขี าวอยู่เบื้องลา่ ง พระมหามงกฎุ เครื่องหมายน้ีตดิ ท่ีกึ่งกลางกระเปาเส้ือข้างขวาแทนเครอื่ งหมายลกู เสอื ชั้นพิเศษ เครื่องหมายลูกเสือหลวง หลักสูตร ผ้ทู ีเ่ ขา้ เกณฑ์ได้รบั เครอื่ งหมายลกู เสือหลวง จะต้องมีคณุ สมบัติดงั น้ี 1. ได้รบั เคร่ืองหมายลกู เสอื ชน้ั พเิ ศษ 2. สอบได้วิชาพ้ืนฐานในระดบั ลกู เสอื ช้นั พิเศษ ๓ วิชา ซ่งึ ไม่อยู่ในวิชาพนื้ ฐาน ๕ วชิ าท่ีสอบได้ เม่ือขอรบั เคร่อื งหมาย ลกู เสอื ชนั้ พิเศษ 3. สอบไดว้ ชิ าบริการและวชิ าพื้นฐานอีก ๓ วิชา ในระดบั ลกู เสอื หลวง 4. ผ่านการฝึกอบรมวชิ าการเป็นผูน้ ําตามหลกั สูตรที่กําหนดไว้ 5. คณะกรรมการดาํ เนนิ งานของกองและผกู้ ํากบั เห็นวา่ เป็นผู้ทป่ี ฏิบัตติ นเปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ีตามวิธี 8 คูม่ อื สง่คเ่มู สอื รสมิ ง่ แเสลระมิพแฒั ลนะพากฒั ิจนการกรจิ มกลรกูรมเสลอื กู ทเสักือษทะักชษวี ะิตชใวี นติ สใถนาสนถศานึกศษกึ าษลากู ปเสระือเสภาทมลัญูกเรสุ่นือใสหาญมญั่ รชุ่นน้ั ใมหญธั ย่ เมคศร่อืกึ งษหามปาที ย่ี ล3กู เสือห1ลว5ง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
การของลูกเสอื และสมควรไดร้ ับ เคร่ืองหมายลูกเสอื หลวง 6. เลขาธกิ ารคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ หรือผอู้ าํ นวยการลูกเสอื จังหวดั แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้แตง่ ตง้ั บคุ คลทม่ี คี ุณวุฒเิ หมาะสมทําการสมั ภาษณ์ เม่อื เห็นว่าเปน็ ผเู้ หมาะสมแล้วให้ รายงานตอ่ ไปตามลาํ ดับ จนถึงคณะกรรมการบรหิ าร ลูกเสอื แหง่ ชาตพิ ิจารณาอนุมัติ และ ให้ประธานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ป็นผลู้ งนามในประกาศนยี บตั รแสดงวา่ เป็นผู้ ได้รับ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ค1ู่ม6อื ส่งเสรมิคแมู่ ลอื ะสพ่งัฒเสนราิมกแจิ ลกะรพรมัฒลนกู าเสกือจิ ทกกัรรษมะชลวีูกิตเสในอื สทถกั าษนะศชกึ วี ษิตาในปสระถเาภนทศลกึกู ษเสาอื สลาูกมเสญั ือรสนุ่ าใมหัญญร่ เนุ่คใรหื่อญงห่ มาชยั้นลมกู ธั เสยอื มหศลกึ วษงาปที ่ี 3 9 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ เครือ่ งหมายลูกเสือหลวง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยท่ี 2 สิ่งแวดลอ้ ม เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 2 เรารกั ษ์โลก 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ ลูกเสอื สามารถอธบิ ายปัญหาส่งิ แวดล้อมและวิธีอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมในท้องถ่นิ ของตนได้ 2. เนือ้ หา สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทกุ สิง่ ทุกอยา่ งทอ่ี ยรู่ อบตัวมนุษย์ท้งั ทีม่ ชี ีวิตและไมม่ ชี วี ิต รวมทัง้ ท่ีเป็น รปู ธรรม (สามารถจบั ต้องและมองเหน็ ได)้ และนามธรรม (ตัวอยา่ งเช่นวฒั นธรรม แบบแผน ประเพณี ความเช่ือ) มีอิทธิพลเก่ียวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเก้ือหนุนซ่ึงกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัย หน่ึงจะมีส่วนเสริมสร้างหรือทําลายอกี ส่วนหน่ึง อย่างหลกี เล่ียงมิได้ 3. สอ่ื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง, เกม 3.2 ใบงาน 3.3 ใบความรู้ 3.4 เร่ืองส้นั ที่เปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พิธีเปดิ ประชุมกอง(ชกั ธงขึน้ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก) 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูก้ าํ กับลูกเสอื สนทนาถงึ สภาพอากาศอากาศในประเทศไทยในปจั จุบันมสี ภาพ อย่างไร 2)ผูก้ าํ กบั ลกู เสือแจกใบความรแู้ ละใบงาน มอบหมายใหห้ มลู่ ูกเสอื ร่วมกนั ศกึ ษา ใบความรู้ และอภิปรายประเด็นในใบงานและสง่ ตัวแทนรายงานในกองลกู เสอื 3)ตัวแทนหมู่ลกู เสือรายงานทีละหมู่ ผกู้ ํากบั ลูกเสือและลกู เสือหมอู่ นื่ ร่วมกนั ซกั ถามเพ่ือ ความเขา้ ใจ และตระหนกั ถึงการอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม 4.4ผกู้ ํากบั ลูกเสือเล่าเรอื่ งสน้ั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 4.5พธิ ปี ิดประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ) 5. การประเมนิ ผล 5.1 วิธกี าร 5.2 เครอื่ งมือ - สังเกตการมสี ว่ นร่วมในการปฏิบัติ - แบบสังเกต กิจกรรม - แบบทดสอบ - ทดสอบ 1ค0มู่ ือสง่ เสคชูม่รน้ั ิมือมสแัธ่งยลเมะสพศรึกฒัมิ ษแนลาาปะกพที จิ ี่ัฒก3นรรามกจิลกูกรเรสมือลทูกักเสษอื ะทชกัีวษิตะในชวีสติถใานนสศถึกาษนศาึกลษูกาเสปอื รสะเาภมทญั ลรูกุน่ เสใอืหสญา่มญั ชรั้นนุ่ มใัธหยญม่ ศเคึกรษื่อางหปมีทา่ี 3ยลูกเสอื 1ห7ลวง
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี2 เกม จาส่ิงของ วิธีเลน่ 1. ใหผ้ กู้ าํ กบั ลกู เสอื จดั หาสงิ่ ของมาประมาณ 15-20 ช้นิ เช่น ใบมีด ยางลบ กระดุม ปากกา เงนิ เหรียญ ลวดเสยี บ ใส่ของไวใ้ นถาด หาผ้าปิดไว้ 2.ให้ลกู เสือแต่ละหมยู่ ืนลอ้ มรอบถาด ผกู้ าํ กบั ลูกเสือเปิดผ้าออกใหด้ ูและจาํ สง่ิ ของประมาณ 1 นาที แล้วปิดผ้าไวต้ ามเดมิ 3. ลกู เสอื แต่ละหมแู่ ยกกันออกไปเขยี นรายชอ่ื สิง่ ของทจี่ าํ ได้ส่งผู้กาํ กับลูกเสือ ถา้ เขยี นถกู จะไดช้ ่ือละ 1 คะแนน ถ้าเขยี นสงิ่ ทไี่ มม่ จี ะหกั ชอ่ื ละ 1 คะแนน หมใู่ ดได้คะแนนมากเปน็ หมู่ชนะ ใบงาน อนุรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม คาชแ้ี จง 1. ใหห้ มู่ลกู เสอื แตล่ ะหมูช่ ่วยกนั ระดมความคดิ ถึงสาเหตทุ ่ีทาํ ให้เกิดมลภาวะ และ แนวทางในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรดงั ต่อไปน้ี โดยเลือกหรือจับฉลากเรอื่ งหมลู่ ะ1 เร่อื ง 1.1 ดิน 1.2 นํา้ 1.3 ปาู ไม้ 1.4 สตั วป์ ูา 1.5 อากาศ 2. ลูกเสอื แต่ละหม่สู ง่ ตวั แทนนาํ เสนอตอ่ กองลูกเสือ คูม่ 1อื 8ส่งเสรมิ แคลมู่ ะอืพสฒั ่งนเสารกิมจิ แกรลระมพลัฒกู นเสาือกทิจกั กษระรชมวี ลิตกู ใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษีวาิตปใรนะสเภถทานลูกศเกึ สษือาสาลมูกัญเสรนุ่ือใสหาญมญั่ เครรุ่นื่อชใงหนั้ หญมมธั ่ายยมชลศัน้ กู ึกมเสษัธือายหปมลีทศว่ี 3ึกงษาปีท่ี131
ใบความรู้ สง่ิ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ ม คือ ทุกสงิ่ ทกุ อย่างทีอ่ ยรู่ อบตัวมนุษยท์ ัง้ ที่มชี ีวิตและไมม่ ีชวี ติ รวมท้ังท่ีเปน็ รปู ธรรม (สามารถจบั ตอ้ งและมองเห็นได้) และนามธรรม (ตัวอย่างเชน่ วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชอ่ื ) มีอิทธพิ ลเกีย่ วโยงถงึ กัน เปน็ ปัจจัยในการเก้อื หนุนซง่ึ กันและกนั ผลกระทบจากปัจจัยหน่ึง จะมีส่วนเสริมสร้างหรอื ทาํ ลายอีกส่วนหน่ึง อย่างหลีกเล่ยี งมไิ ด้ สิง่ แวดล้อมเป็นวงจรและวฏั จักร ท่เี ก่ียวขอ้ งกันไปทง้ั ระบบ ทอ้ งถิน่ คอื เขตหรืออาณาเขต พื้นที่เฉพาะท่ีมีกลมุ่ บคุ คลอยูอ่ าศัย ไดแ้ ก่ หมบู่ ้าน ตาํ บล อาํ เภอ จังหวัด หรอื ภมู ภิ าค เมอ่ื พจิ ารณาคําว่า สิง่ แวดลอ้ มในทอ้ งถ่นิ จะหมายถงึ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งท่ีมอี ย่ใู นเขตหรอื ทอ้ งที่ นน้ั ๆ โดยเฉพาะ และหากสง่ิ แวดล้อมดงั กลา่ วมีสภาพทีม่ ปี ญั หาหรอื เกิดปญั หา ยอ่ มสง่ ผลกระทบ ของปญั หาดง้ กลา่ ว สะทอ้ นมาสบู่ ุคคลหรือกลมุ่ บคุ คลท่อี าศยั หรอื เก่ียวขอ้ งกับทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ ได้ ปญั หาส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ ปัญหาดนิ เสอื่ มโทรม ปูาถูกทาํ ลาย ขยะมูลฝอย ส่ิงแวดลอ้ มแบ่งออกเป็นลกั ษณะกวา้ งๆ ได้ 2 ส่วนคอื 1. สง่ิ แวดล้อมท่เี กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ เช่น ปาู ไม้ ภเู ขา ดนิ น้ํา อากาศ ทรพั ยากร 2. สง่ิ แวดลอ้ มท่ีมนษุ ย์สรา้ งขนึ้ เช่น ชมุ ชนเมือง สง่ิ กอ่ สรา้ งโบราณสถาน ศลิ ปกรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวฒั นธรรม ปัญหาสง่ิ แวดล้อมในท้องถ่ิน การขาดความรูค้ วามเข้าใจและความตระหนักในเรอ่ื งของการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มที่ถูกตอ้ งเหมาะสม จะนาํ ไปสู่การเกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา และอาจอาจส่งผลกระทบ โดยตรงตอ่ วิถีชีวติ ของคนเรามากขน้ึ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ หากปญั หาที่เกดิ ข้ึนนน้ั เกดิ ขึน้ ในทอ้ งถ่ินหรือ ชมุ ชนที่เราอาศยั อยู่ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ สิ่งตา่ งๆ (สิง่ แวดลอ้ ม) ท่ีเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษย์ สามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน นํา้ ปูาไม้ ท่งุ หญ้า สัตวป์ าู แรธ่ าตุ พลงั งาน และ กาํ ลังแรงงานมนษุ ย์ เป็นตน้ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติสามารถแบง่ ตามการนามาใชง้ านและผลทเ่ี กิดขน้ึ ได้ 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ใี ช้แล้วไมห่ มด ทรพั ยากรธรรมชาติทใี่ ช้แลว้ ไมห่ มดหรอื ไมส่ ญู หาย 1ค2มู่ อื สง่ เสชคู่มรัน้ มิือมสแธั ่งยลเมะสพศรกึัฒมิ ษแนลาาปะกพีทิจ่ีฒั ก3นรรามกจิลกูกรเรสมอื ลทกู กั เสษือะทชกัวี ษติ ะในชีวสิตถใานนสศถึกาษนศากึ ลษูกาเสปอื รสะเาภมทญั ลรูก่นุ เสใือหสญา่มัญชรัน้ ่นุ มใัธหยญม่ ศเคึกรษื่อางหปมที า่ี 3ยลูกเสือ1ห9ลวง
ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทน้ี ไดแ้ ก่ บรรยากาศ นาํ้ ในวฎั จกั ร แสงอาทติ ย์ 2. ทรัพยากรธรรมชาติทท่ี ดแทนไดท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ ที่ ดแทนไดห้ รอื รกั ษาไว้ได้ ทรพั ยากรธรรมชาตปิ ระเภทนี้ ได้แก่นาํ้ ดิน ปูาไม้ ท่งุ หญา้ สตั ว์ปาู 3. ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ชแ้ ล้วหมดไป ทรัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทนจ้ี ําเป็นอย่างยงิ่ ที่ต้อง ศึกษาเพ่ือหาแนวทางในการอนรุ กั ษใ์ ห้สามารถมีใช้ประโยชนไ์ ดน้ านท่ีสดุ ซ่ึงทรพั ยากรธรรมชาติ ประเภทนี้ ไดแ้ กท่ รัพยากรธรรมชาตปิ ระเภทน้ี ไดแ้ ก่ แรธ่ าตุ พลังงาน ความหมายของมลพษิ คาํ ว่า “มลพิษ” เปน็ ศัพท์ท่ีราชบัณฑติ ยสถานบญั ญัตขิ นึ้ ในปี พ.ศ. 2525 ใช้ แทนคําศัพท์เดิม ว่า “มลภาวะ” ซึ่งตรงกบั ศพั ท.์ ภาษาองั กฤษว่า “Pollution” มาจากคาํ ว่า “Pollute” หมายถงึ ทําให้ สกปรก ซงึ่ ได้แก่ ขบวนการตา่ งๆ ทีม่ นษุ ยก์ ระทําทั้งโดยต้งั ใจและไมไ่ ด้ตง้ั ใจ ปลอ่ ย ของเสยี ซ่งึ ไม่ พงึ ปรารถนาเขา้ ไปหมกั หมมในบรรยากาศ พนื้ ดินและในนาํ้ มีผลใหส้ ่งิ แวดลอ้ มเสื่อม โทรมลง หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การอนรุ กั ษ์ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ 1. สํานักงานคณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแห่งชาติ มหี นา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบในดา้ น “สง่ เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มแหง่ ชาติ อันเปน็ ราชการ ซงึ่ มไิ ดอ้ ยใู่ นอาํ นาจหน้าทข่ี อง กระทรวงหนงึ่ กระทรวงใดโดยเฉพาะ” ไดแ้ ก่ การศึกษาวเิ คราะห์สภาวะและคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื ใชใ้ นการกาํ หนดนโยบายและการวางแผน การกาํ หนดแนวทางในการสง่ เสริมอนุรักษ์และแกไ้ ข ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มของชาติ การสอดส่องดแู ลให้คาํ แนะนาํ แกส่ ่วนราชการรัฐวิสาหกจิ และเอกชน การให้การศกึ ษา การเผยแพรง่ านดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม การรับเรื่องราวร้องทุกขจ์ ากประชาชน 2. สํานักงานคณะกรรมการการวิจยั แหง่ ชาติ มีหนา้ ทีใ่ นการกําหนดแนวนโยบายส่งเสรมิ สนับสนุน และประสานงานเก่ียวกับการวจิ ัยทางดา้ นทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมของหนว่ ยงานอ่ืนทั้ง ภาครฐั บาลและเอกชน 3. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีหนา้ ทใี่ นการแกไ้ ขปัญหาส่งิ แวดล้อมสง่ เสรมิ และ ให้บริการด้านสาธารณสขุ แกป่ ระชาชน 4. กองอนามยั สง่ิ แวดล้อม สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร มหี นา้ ทคี่ วบคมุ แกไ้ ข สิง่ แวดล้อมในเขตกรุงเทพมหานคร และรับเรอื่ งราวร้องทกุ ขจ์ ากประชาชนท่ไี ด้รบั ความเดือดรอ้ น รําคาญ เนือ่ งจากส่ิงแวดล้อม 5. คณะสิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล เปน็ สถาบนั เพอ่ื ผลิต นักวิชาการและนกั บริหารด้านทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม จดั สมั มนาทางวชิ าการแก่ผู้สนใจ ทาํ การ วิจัยเพ่ือแกป้ ัญหาสภาวะส่ิงแวดลอ้ มตา่ ง ๆ 6. กองสิ่งแวดล้อมโรงงาน กรมโรงงานอตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมมหี นา้ ท่คี วบคมุ มลพิษจากโรงงานอตุ สาหกรรม กําหนดเง่ือนไขและมาตรการในการกําจดั สงิ่ โสโครกและของเสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม คมู่ 2ือ0ส่งเสริมแคลมู่ ะอืพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒูกนเสาอื กทจิ ักกษระรชมีวลิตูกใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลูกศเกึ สษือาสาลมกู ัญเสร่นุอื ใสหาญมญั่ เครรุน่ ื่อชใงหนั้ หญมมธั ่ายยมชลศั้นกู กึ มเสษัธือายหปมลีทศว่ี 3กึงษาปีที่133
7. กองวิจัยวัตถุมพี ษิ กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มหี น้าท่ีตรวจสอบ และวิจัยส่ิงมีพษิ ท่ปี ะปนอยใู่ นผลติ ผลทางการเกษตร 8. นิเวศวทิ ยาสมาคมแหง่ ประเทศไทย มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการศกึ ษา ค้นควา้ วิจัยเกยี่ วกบั ระบบนเิ วศวิทยา การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรกั ษ์ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และความ ช่วยเหลือทางวิชาการระหวา่ งประเทศอ่ืน ๆ 9. กรมศลิ ปากร กระทรวงศกึ ษาธิการ มหี น้าทีใ่ นการอนุรกั ษ์ ส่งเสริมควบคมุ ดูแลรกั ษา ศลิ ปะและศิลปวตั ถขุ องชาติ รวมทัง้ ควบคมุ ดูแลรกั ษาปฏิสงั ขรณ์โบราณสถานและโบราณวัตถขุ อง ชาติ ทีม่ อี ยู่ตามสถานทต่ี า่ ง ๆ ของประเทศ 10. กรมปูาไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหี นา้ ทีเ่ กี่ยวกับการอนุรกั ษ์ปูาไม้ การจดั ต้งั และควบคมุ ดแู ลรักษาอุทยานแห่งชาติ วนอทุ ยานแหง่ ชาติ ปูาสงวน สวนพฤกษศาสตร์ สวนรกุ ข ชาติ ตลอดจนดแู ลรักษาสัตว์ปาู 11. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าทใ่ี นการสํารวจและจดั หาแหล่งนา้ํ สรา้ งอ่างเก็บนํ้าเขอื่ นเหมอื งฝาย รวมทงั้ จัดระบบและควบคุมการใชน้ ้าํ เพือ่ การเกษตร การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อมทอี่ ยู่รอบตัวเรามีคณุ ประโยชนต์ ่อการดํารงชวี ติ ในสงั คมอยา่ งดี ถา้ มนุษยไ์ ม่รู้จกั ปรบั ปรงุ อนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มทีอ่ ย่รู อบตัวเราใหอ้ ยู่ในสภาพทดี่ ี หรอื ไม่รู้จกั ใช้ทรพั ยากรและ สิง่ แวดล้อมให้ถูกวธิ ีแล้ว จะกอ่ ใหเ้ กิดการเสยี หายตามมาภายหลงั หลายประการ ได้แก่ สง่ิ แวดล้อม เปน็ พิษ ซงึ่ เป็นบอ่ นทาํ ลายชีวติ มนษุ ย์ สัตว์ พืช เปน็ ตน้ การอนุรกั ษ์ดนิ 1. ไม่ควรปลกู พืชชนิดเดยี วกนั ซ้าํ ๆซาก ๆในทเ่ี ดิมยอ่ มจะทาํ ให้ดนิ เสอื่ มคุณภาพ ไดผ้ ลผลติ น้อย 2. ใส่ปยุ หรอื ปลกู พชื สลบั และหมุนเวียน 3. ปลูกพชื คลมุ ดินเปน็ หญ้า เพอื่ ปฺองกนั การกดั เซาะ พงั ทลายไดน้ ้อยลง 4. ลดการทาํ ลายหญา้ ทป่ี กคลุมดนิ 5. ระงบั การระบายน้าํ ออก และลดการใชน้ าํ้ ทดี่ ดู ซมึ จากดิน ฯลฯ การอนุรกั ษ์นา้ 1. ให้การศึกษาแกป่ ระชาชนให้เข้าใจถงึ ประโยชน์ในการปฺองกนั แหลง่ นาํ้ ใหส้ ะอาดและโทษท่ี เกดิ จากแหล่งนา้ํ 2. สนบั สนุนใหม้ ีการค้นคว้าวิจยั หาสง่ิ ใหมท่ เ่ี หมาะสมในการคน้ คว้าหาสารเคมีทจี่ ะมาแทน สารพษิ อนั ตรายตา่ ง ๆ เชน่ ดี.ด.ี ที หรอื ยาฆ่าแมลงอนื่ ๆ 3. ไมท่ ้ิงเศษขยะและปฏิกูลลงในแม่นาํ้ ลาํ คลอง 4. จดั ระบบการกาํ จดั นา้ํ โสโครกจากครัวเรอื น และโรงงานอตุ สาหกรรมให้มปี ระสทิ ธิภาพจงึ ปลอ่ ยลงสู่แม่นาํ้ 1ค4ู่มอื สง่ เสคชู่มรั้นิมอืมสแัธง่ยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพีทจิ ี่ฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมือลทูกกั เสษอื ะทชกัวี ษิตะในชีวสิตถใานนสศถึกาษนศาึกลษูกาเสปือรสะเาภมทัญลรกู ุ่นเสใือหสญา่มัญชร้นั ่นุ มใธัหยญม่ ศเคกึ รษ่ือางหปมที าี่ 3ยลกู เสอื 2ห1ลวง
5. รัฐบาลจะต้องกําหนดนโยบายและวางแผนในการปฺองกันและแกไ้ ขปญั หานา้ํ เน่าให้ แนน่ อนและมีประสิทธภิ าพ การอนรุ ักษ์สตั ว์ พระราชบัญญตั สิ งวนและคุ้มครองสตั วป์ ูา พ.ศ.2503 ไดใ้ หค้ าํ นยิ ามศัพทใ์ นพระราชบญั ญตั ิ ไว้ดงั น้สี ตั ว์ปูาไมห่ มายรวมถงึ แมลงและไขข่ องแมลง สัตวส์ งวน หมายความว่า สัตว์ที่หายาก สัตว์ปาู คมุ้ ครอง หมายความวา่ สัตวป์ าู คุ้มครองประเภท 1 และสัตว์ปาู ค้มุ ครองประเภท 2 สัตวป์ ูาคุม้ ครองประเภทท่ี 1 หมายความวา่ สตั ว์ปูาซ่ึงปกตอิ าจไมใ่ ชเ้ นอ้ื เป็นอาหาร หรือไม่วา่ เพื่อ การกีฬาหรอื สัตว์ปาู ท่ที าํ ลายศตั รพู ืช หรือกาํ จดั ส่งิ ปฏิกลู หรอื สตั ว์ปาู ท่คี วรสงวนไว้ประดบั ความ งามตามธรรมชาติ หรือสงวนไว้ไม่ให้ลดจํานวนลง ทั้งน้ตี ามท่รี ะบใุ นกฎกระทรวง สตั ว์ปาู คมุ้ ครองประเภทที่ 2 หมายความวา่ สตั ว์ ซึง่ ตามปกตคิ นใชเ้ นอื้ เปน็ อาหาร หรือเพ่อื การกีฬา ตามท่รี ะบุไว้ในกฎกระทรวงลา่ หมายถึง ยิง ดัก จบั หรือฆ่าสัตว์หรอื ทาํ อนั ตรายด้วยประการใด แกส่ ัตว์ และหมายความตลอดในการไล่ การตอ้ น การเรียกและการลอ่ เพ่ือการกระทาํ ดงั กลา่ วแลว้ ด้วยเนือ้ หมายความว่า เน้อื ของสตั วไ์ มว่ า่ จะไดป้ ้ิง ย่าง รม หรอื ตากแห้ง หรอื ทําอย่างอน่ื เพอื่ ไม่ให้เน่าเปอ่ื ย และไม่ว่าจะอย่ใู นร่างของสัตวน์ ั้นหรือชาํ แหละแล้วพระราชบญั ญัตนิ ไ้ี ดก้ าํ หนด ข้อความท่ีลกู เสอื ควรทราบมดี งั น้ี 1. นอกจากพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ หรือเจ้าพนักงานอ่นื ใดซงึ่ ตอ้ งเขา้ ไปปฏิบัติการตามหนา้ ที่ หา้ มไม่ใหผ้ ู้ใดเข้าไปในเขตอนรุ ักษ์พันธส์ุ ัตว์ปูา เวน้ แตจ่ ะได้รบั การอนุญาตจากพนักงานเจา้ หน้าที่ 2. ในเขตอนรุ กั ษ์พนั ธส์ุ ตั วป์ ูาห้ามมใิ หผ้ ใู้ ดเขา้ ไปครอบครองยดึ ถอื ทดี่ ิน หรอื ตดั โคน่ แผ้ว ถางทาํ ลายตน้ ไม้ หรอื พฤกษชาติอื่น หรอื ขุดแร่ ดนิ หนิ สตั ว์ หรอื เปล่ยี นแปลงทางนํา้ หรอื ทา่ นํ้า ในลํานาํ้ หรือทําใหน้ ํ้าในลํานา้ํ ลาํ หว้ ย หนอง บึง ทว่ มทน้ หรือเหอื ดแหง้ หรอื เปน็ พิษตอ่ สตั วป์ าู 3. หา้ มไมใ่ ห้ผูใ้ ดลา่ สัตว์ ไมว่ า่ จะเป็นสัตว์ปูาสงวน หรอื สัตว์ปูาคมุ้ ครอง หรือมใิ ช่หรือเกบ็ หรือทาํ อนั ตรายแก่ไข่ในรงั ของสัตว์ปาู ซง่ึ ห้ามไมใ่ หล้ า่ สตั ว์นั้นในบรเิ วณวัด หรือในบรเิ วณสถานท่ี ซ่งึ จดั ไว้เพ่ือประชาชนเปน็ ทป่ี ระกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา 4. ผู้ใดซอ่ นเร้น ชว่ ยจําหนา่ ย ชว่ ยพาเอาไปเสีย ซอ้ื รบั จํานาํ หรือรับไวป้ ระการใด ซอ้ื สตั ว์ ปาู หรอื เน้อื ของสตั วป์ าู อนั ได้มาโดยกระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั นิ ีต้ อ้ งระวางโทษจําคกุ ไม่เกนิ 1 เดอื น หรือปรบั ไม่เกิน 1,000 บาท หรอื ท้งั จาํ ทัง้ ปรบั การอนรุ กั ษส์ ถานท่ีสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ โบราณสถานหมายความวา่ อสงั หาริมทรพั ยซ์ งึ่ โดยอายุ หรอื โดยลกั ษณะแหง่ การกอ่ สรา้ ง หรือโดยหลกั ฐานเก่ียวกบั ประวตั ขิ องอสังหารมิ ทรพั ยน์ ั้น เปน็ ประโยชน์ในทางศิลปะ ประวตั ิศาสตร์ หรอื โบราณคดโี บราณวตั ถุ หมายความวา่ สงั หารมิ ทรัพย์ทเี่ ป็นของโบราณไมว่ ่าจะเป็นสิ่งประดษิ ฐ์ หรือเป็นสิ่งท่ีเกิดขนึ้ ตามธรรมชาติ หรือเป็นส่วนหนึ่งสว่ นใดของโบราณสถาน ซากมนุษยห์ รอื ซาก สตั ว์ซ่ึงโดยอายหุ รอื โดยลักษณะการประดษิ ฐ์ หรือโดยหลกั ฐานเก่ียวกบั ประวตั ศิ าสตร์ อสงั หารมิ ทรพั ยน์ ัน้ เป็นประโยชนใ์ นทางศิลปะ ประวัตศิ าสตร์ หรอื โบราณคดีศลิ ปวตั ถุ หมายความ คู่ม2ือ2สง่ เสริมแคลูม่ ะอืพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒกู นเสาือกทิจักกษระรชมีวลติ ูกใเนสสอื ถทากันษศะกึ ชษวี าิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษือาสาลมูกัญเสรุ่นอื ใสหาญมัญ่ เครรนุ่ ือ่ ชใงหั้นหญมมัธ่ายยมชลศั้นูกกึ มเสษัธือายหปมลที ศว่ี 3กึงษาปที ่ี135
ว่า สิง่ ท่ีทาํ ด้วยฝมี อื และเป็นส่ิงทน่ี ยิ มกันวา่ มคี ณุ คา่ ในทางศลิ ปะพระราชบัญญตั ิน้ีมสี าระสาํ คญั ดงั น้ี 1. ห้ามมใิ ห้ผูใ้ ดทาํ การคา้ วตั ถุ หรือศลิ ปวตั ถุ หรืแสดงโบราณวัตถุ หรือศิลปวตั ถุใหบ้ ุคคล ชมโดยเรียกเก็บค่าชมเป็นปกติธุระ เวน้ แต่จะได้รบั การอนุญาตจากอธิบดี 2. ผู้ใดไดร้ บั การอนุญาตใหท้ าํ การค้าโบราณวตั ถหุ รอื ศลิ ปวตั ถุ หรอื แสดงโบราณวัตถุ หรอื ศิลปะวตั ถใุ หบ้ คุ คลชมตอ้ งแสดงในใบอนญุ าตนนั้ ไว้ ณ ทีเ่ หน็ ได้งา่ ยในสถานการค้า หรอื สถานการ แสดงของคน แลตอ้ งมีบญั ชแี สดงรายการโบราณวตั ถหุ รือศิลปวัตถทุ ีอ่ ยใู่ นครอบครองของตนตาม แบบทีอ่ ธบิ ดีกาํ หนดให้ถกู ตอ้ งตามความเป็นจรงิ และรักษาบัญชีนน้ั ไวใ้ นสถานการค้า หรอื สถาน การแสดงวัตถุหรอื ศลิ ปวัตถนุ นั้ 3. ห้ามมใิ หผ้ ูใ้ ดส่งหรอื นาํ โบราณวตั ถุ ไมว่ ่าโบราณวัตถหุ รอื ศลิ ปวัตถนุ น้ั จะเป็นโบราณวตั ถุ หรือศิลปวัตถุท่ไี ด้ข้นึ ทะเบียนแลว้ หรอื ไม่ ออกนอกราชอาณาจักรเวน้ แต่จะได้รับใบอนุญาตจาก อธบิ ดี 4. โบราณวตั ถหุ รือศลิ ปวตั ถทุ ซ่ี ่อน หรอื ฝัง หรอื ทอดทงิ้ อยู่ ณ ที่ใด โดยพฤตกิ ารณ์ซึง่ ไม่มี ผใู้ ดสามารถอา้ งเป็นเจ้าของ ไม่ว่าทซ่ี อ่ น หรอื ฝงั หรอื ทอดท้ิงไว้ จะอยู่ในกรรมสทิ ธ์หิ รอื ความ ครอบครองของบุคคลใดหรอื ไมใ่ ห้ตกเปน็ ทรพั ย์สินของแผ่นดิน ผ้เู ก็บได้ตอ้ งมอบแก่พนกั งาน เจา้ หนา้ ที่ หรอื พนกั งานฝาู ยปกครอง หรอื ตาํ รวจ ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา แล้วมีสทิ ธิไดร้ ับรางวลั หน่งึ ในสามแหง่ ค่าของทรพั ย์สนิ นนั้ 5. ผใู้ ดเกบ็ ได้โบราณวัตถุหรือศลิ ปวตั ถุที่ซ่อน หรือฝงั ไว้ หรือทอดทง้ิ อยู่ ณ ทใี่ ด ๆ โดย พฤติการณ์ซึง่ ไม่มผี ้ใู ดสามารถอ้างว่าเปน็ เจ้าของได้ และเบยี ดบงั เอาโบราณวตั ถุ หรือศลิ ปวัตถนุ น้ั เปน็ ของตน หรือของผูอ้ น่ื ตอ้ งโทษจาํ คุกไม่เกนิ สองปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ สีพ่ นั บาท หรอื ทั้งจาํ ทั้งปรบั 6. ผู้ใดทําให้เสยี หาย ทําลาย หรอื ทาํ ให้เสอ่ื มค่า หรอื ทําให้ไรป้ ระโยชน์ซงึ่ โบราณวัตถตุ อ้ ง ระวางโทษจําคกุ ไมเ่ กินหน่ึงปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ สองพนั บาท หรอื ทั้งจาํ ทั้งปรับ 1ค6ู่มือสง่ เสชคู่มรน้ั มิือมสแธั ง่ยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพที ิจี่ัฒก3นรรามกจิลกูกรเรสมอื ลทูกักเสษือะทชกัีวษติ ะในชวีสิตถใานนสศถึกาษนศาึกลษูกาเสปือรสะเาภมทญั ลรกู ่นุ เสใอืหสญา่มัญชรนั้ ุ่นมใธัหยญม่ ศเคกึ รษอ่ื างหปมีทาี่ 3ยลกู เสือ2ห3ลวง
เรอื่ งสัน้ ท่เี ป็นประโยชน์ กล้วยสองปลี นานมาแลว้ มีนายลอยชายยาจกุไปหลงรกั ลูกสาวเศรษฐี จงึ อยากได้มาเปน็ คคู่ รองของตน คิดว่าถ้าไม่ได้ด้วยเล่ห์ก็ต้องเอาด้วยกล นายลอยชายยาจกจึงออกเดินทางไปสืบหาหมอเสน่ห์ เดนิ ทางไปหนง่ึ วันเต็มๆุพบกระทอ่ มหลงั หนึง่ จึงได้เข้าไปขอน้ําด่ืมจากหญิงชราเจ้าของกระท่อม หญิงชราได้ถามนายลอยว่าเดินทางไปไหนมา นายลอยจึงเล่าความประสงค์ของ ตนให้ฟังโดยไม่ ปดิ บงั แตอ่ ยา่ งใด หญงิ ชราไดบ้ อกว่าตนนี่แหละเป็นหมอเสน่ห์และช่วยนายลอยได้ หากว่านายลอย สามารถหากล้วยสองปลีมาให้เป็นเครื่องยาในการทําเสน่ห์ นายลอยดีใจมากที่หญิงชรารับปากจะ ช่วยเหลอื รบี ออกเดินทางไปเสาะหากล้วยสองปลีเป็นเวลานานหลายเดือนก็ยังไม่พบ นายลอยจึงได้ เร่ิมปลูกกล้วยเสียเองจํานวนมากหลายชนิด และดูแลไร่กล้วยเป็นอย่างดี ใส่ปุยเอาใจใจใส่ดูแลต้น กล้วยเปน็ พิเศษ เพอ่ื ให้ต้นกลว้ ยออกสองปลใี ห้ได้ นายลอยทาํ ไร่กล้วยอยนู่ านุก็ยังไม่ไดก้ ลว้ ยสองปลแี ตอ่ ยา่ งใด แตก่ ็ยังไม่ละความพยายาม ได้ปลูกกลว้ ยเพม่ิ ขนึ้ อกี และขยายไร่กล้วยออกไปกว้างขวางขึ้นมากกว่าเดิมเร่ือยๆ เพ่ือที่จะค้นหา กลว้ ยสองปลีใหไ้ ดุ้ปีแล้วปีเล่าที่ทาํ ไรก่ ลว้ ยได้นาํ ผลผลติ จากไร่ไปขายอยู่เป็นเวลานานถึง 7 ปีุมี เงนิ ทองเก็บไวจ้ ากการขายกล้วยเปน็ จาํ นวนมากุจนมฐี านะเปน็ เศรษฐีในเวลาตอ่ มา เม่ือมีฐานะร่ํารวยก็ไปสู่ขอลูกสาวุเศรษฐีคนท่ีนายลอยหมายปองไว้ จนได้แต่งเป็นสามี ภรรยาสมความปรารถนาุแตต่ น้ กล้วยทั้งหมดท่ีนายลอยปลูกไว้ก็ไมเ่ คยออกสองปลีเลย ทําให้นาย ลอยคิดวา่ “กล้วยสองปลีทหี่ ญงิ ชราบอกใหห้ ามาทาํ ยาเสน่หน์ น้ั คงไม่มใี นโลกนแี้ นน่ อน แต่การที่หญิง ชราส่งั ใหห้ ากลว้ ยสองปลีให้ได้ คงเป็นอุบายเพ่ือส่งเสริมให้นายลอย มีความมานะ จนสามารถเป็น เศรษฐีไดใ้ นเวลาต่อมานน่ั เอง” เรอ่ื งนส้ี อนให้รวู้ า่ ความพยายามอยทู่ ่ีไหน ความสาํ เรจ็ อยทู่ ี่นนั่ คู่ม2ือ4ส่งเสรมิ แคล่มู ะอืพสัฒ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลัฒกู นเสาอื กทิจักกษระรชมีวลติ กู ใเนสสอื ถทากันษศะึกชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษอื าสาลมูกญั เสร่นุอื ใสหาญมัญ่ เครร่นุ ่ือชใงห้นั หญมมัธ่ายยมชลศ้ันกู กึ มเสษธั ือายหปมลีทศว่ี 3ึกงษาปที ่ี137
แบบสังเกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ เครอื่ งหมายลกู เสอื หลวง ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยท่ี 2 สงิ่ แวดลอ้ ม แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 2 เรารักษ์โลก คาช้แี จง หลังจากลูกเสอื ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมแล้ว ใหผ้ กู้ าํ กบั ทาํ เครือ่ งหมาย ประเมินพฤตกิ รรมของ ลูกเสือตามรายการต่อไปนี้ ชื่อ............................................................................................................................................. ข้อท่ี รายการประเมนิ ผา่ น ไม่ผ่าน 1 ความสนใจและความตัง้ ใจ 2 การเข้ารว่ มกจิ กรรม 3 การถามตอบในขณะอภิปราย 4 การใหค้ วามร่วมมอื ในการปฏบิ ัตงิ านกลมุ่ 5 อธิบายความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมได้ 6 สามารถจาํ แนกประเภทของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มได้ 7 บอกปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มในท้องถ่ินของตนได้ 8 บอกวิธกี ารอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมได้ 9 อธบิ ายบทบาทของลกู เสอื ในการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มในท้องถิน่ ได้ 10 การนําเสนอรายงานในทีป่ ระชุม เกณฑ์การประเมิน ผ่านการประเมินขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 และข้ออ่นื ๆ อกี 2 ขอ้ รวม 8 ขอ้ ขนึ้ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน สรุปผลการประเมนิ ผา่ น ไม่ผ่าน ลงชื่อ.................................................................... (..................................................................) ผ้ปู ระเมนิ 1ค8ู่มือสง่ เสคชูม่ร้ันมิือมสแัธง่ยลเมะสพศรกึัฒมิ ษแนลาาปะกพที ิจ่ีัฒก3นรรามกจิลกกู รเรสมอื ลทูกกั เสษือะทชกัีวษติ ะในชีวสิตถใานนสศถึกาษนศากึ ลษูกาเสปือรสะเาภมทัญลรกู ุน่ เสใอืหสญา่มญั ชรนั้ ่นุ มใัธหยญม่ ศเคกึ รษ่ือางหปมที า่ี 3ยลกู เสือ2ห5ลวง
แบบทดสอบ การจัดกิจกรรมลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ เครอื่ งหมายลกู เสอื หลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยที่ 2 ส่ิงแวดล้อม แผนการจัดกจิ กรรมที่ 2 เรารกั ษโ์ ลก ตอนที่ 1 คาช้แี จง ให้ลูกเสอื เขยี นเครอ่ื งหมาย O ลอ้ มรอบตัวอกั ษร ก ข ค หรอื ง คาํ ตอบท่ถี กู ตอ้ งที่สดุ เพยี งขอ้ เดยี ว ................................................. 1. ข้อใดคือทรพั ยากรท่ใี ช้แลว้ หมดไป ก. อากาศ ข. แรธ่ าตุ ค. มนษุ ย์ ง. พชื พรรณ 2. ขอ้ ใดคือความหมายที่แท้จริงของคาํ ว่า “ สงิ่ แวดล้อม ” ก. สิ่งทม่ี ชี วี ิตทุกชนิด ข. สงิ่ ทไ่ี มม่ ชี วี ิตทกุ ชนิด ค. ทุกสงิ่ ทุกอยา่ งทมี่ องเหน็ ง. สง่ิ ต่างๆทอี่ ยรู่ อบตัวเรา 3. สตั ว์ปูา จดั เปน็ ทรัพยากรประเภทใด ก. ทรัพยากรสน้ิ เปลอื ง ข. ทรัพยากรที่ใชแ้ ลว้ หมดไป ค. ทรัพยากรท่ใี ช้แลว้ ทดแทนใหมไ่ ด้ ง. ทรพั ยากรท่ใี ช้แลว้ ไมม่ วี นั หมดสิน้ 4. สง่ิ แวดลอ้ มขอ้ ใดเป็นผลจากการกาํ หนดของมนุษย์และเป็นสง่ิ ที่มองไมเ่ หน็ ก. อาชพี ระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย ข. การศกึ ษา ศาสนา อุณหภูมิ ค. รังสี ประเพณี การเมอื ง ง. วัฒนธรรม ความร้อน อาชีพ 5. ข้อใดเป็นตวั การสําคญั ที่สดุ ซึ่งกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มโทรม ก. ภยั ธรรมชาติ ข. การทาํ ลายของสตั ว์ ค. การกระทาํ ของมนุษย์ ง. การแพรร่ ะบาดของเชอื้ โรค คู่ม2ือ6สง่ เสรมิ แคลูม่ ะือพสัฒ่งนเสารกมิจิ แกรลระมพลฒั ูกนเสาือกทจิ ักกษระรชมวี ลิตูกใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษือาสาลมูกญั เสรนุ่ือใสหาญมญั่ เครรนุ่ อื่ ชใงหน้ั หญมมัธ่ายยมชลศนั้ ูกกึ มเสษธั ือายหปมลีทศวี่ 3กึงษาปีที่139
6. โครงการที่สรา้ งจติ สาํ นกึ ในความรบั ผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมให้แกป่ ระชาชนในขอ้ ใดเป็นของเอกชน ก. โครงการหลวง ข. โครงการอีสานเขียว ค. โครงการบึงมักกะสัน ง. โครงการรกั เจา้ พระยากับตาวเิ ศษ 7. ข้อใดไม่ใช่สาเหตทุ ที่ าํ ใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ก. ความไมเ่ หน็ แก่ประโยชน์ส่วนตัว ข. ความมักงา่ ยของคน ค. การมวี ัฒนธรรมอนั ดงี าม ง. ความรเู้ ทา่ ไมถ่ ึงการณข์ องคน 8. ลกู เสอื ไมค่ วรปฏบิ ัตใิ นขอ้ ใด ก. ลอกวชั พชื ออกจากคคู ลองใกล้บา้ น ข. จบั ปลาในคลองมาเลีย้ งท่ีบอ่ นาํ้ หน้าบ้าน ค เข้าร่วมโครงการปลกู ปาู ในท้องถน่ิ ง. ช่วยบอกโทษของการทาํ ลายสภาพแวดลอ้ มใหแ้ กป่ ระชาชนทัว่ ไป 9. ใครควรเปน็ ผอู้ นุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ก. หนว่ ยงานราชการ ข. หนว่ ยงานเอกชน ค. ประชาชนทกุ ฝาู ย ง. ทกุ ขอ้ ที่กล่าวมารับผิดชอบรว่ มกนั 10. ข้อใดเป็นหน่วยงานท่เี กย่ี วข้องกับการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและสิง่ แวดล้อมที่สําคัญทส่ี ดุ ก. สํานกั งานคณะกรรมการสิง่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ข. กรมศิลปากร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ค. กรมประมง กระทรวงทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม ง. กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอตุ สาหกรรม 2ค0ู่มือสง่ เสชคู่มรนั้ ิมอืมสแัธง่ยลเมะสพศรึกัฒิมษแนลาาปะกพที ิจี่ัฒก3นรรามกิจลกูกรเรสมือลทูกักเสษอื ะทชกัวี ษติ ะในชีวสติถใานนสศถึกาษนศาึกลษกู าเสปือรสะเาภมทัญลรูกนุ่ เสใือหสญา่มญั ชรนั้ นุ่ มใธัหยญม่ ศเคึกรษื่อางหปมีทา่ี 3ยลกู เสอื 2ห7ลวง
แบบทดสอบ ตอนท่ี 2คาชแ้ี จงให้ลูกเสือเขยี นเครอ่ื งหมาย หนา้ ขอ้ ความทถ่ี ูก และเคร่อื งหมาย x หน้าขอ้ ความทผ่ี ิด ...........1. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ กุ ชนดิ ใช้แลว้ ไมม่ ีวนั หมดสน้ิ ไปจากโลก ุุุ.2. ปาู ไมส้ ามารถคงอยตู่ ลอดไป หากมนษุ ยใ์ ช้อยา่ งระมดั ระวังโดยใชไ้ มเ่ กินอตั ราการผลติ ของปูา และรู้จักปลกู ต้นไม้ทดแทน ............3. มนษุ ยน์ ําทรัพยากรมาใชใ้ นการพัฒนาเทา่ กบั เปน็ การทาํ งานสิ่งแวดลอ้ มใหห้ มดสิ้นไป ............4. ระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย การเมอื ง การประกอบอาชพี เป็นสงิ่ แวดล้อมทีม่ องเห็นได้ โดยมนษุ ย์สร้างขึ้น เพอ่ื เปน็ ข้อปฏบิ ตั ใิ นสงั คม ............5. มนุษยเ์ ป็นตัวการสําคญั ทีท่ ําใหเ้ กดิ ปญั หาส่งิ แวดล้อม ............6. ถ้าไมร่ ูจ้ ักเคารพระเบียบวินัย จะเปน็ สาเหตหุ นึ่งทที่ าํ ให้เกดิ ปัญหาส่งิ แวดล้อมขึ้นได้ ............7. การตั้งคา่ ยพกั แรมลูกเสอื ควรอย่หู ่างจากชมุ ชน เพราะสามารถส่งเสยี งดังอยา่ งไรกไ็ ด้ ............8. เมือ่ ลกู เสอื พบเหน็ ผู้ลักลอบตดั เศียรพระพุทธรปู ควรปิดเงยี บไวไ้ มต่ ้องแจ้งเจา้ หนา้ ที่ เพราะคนรา้ ยดงั กล่าวอาจทาํ อันตรายเราได้ ............9. หน่วยงานที่เกย่ี วข้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ คอื หนว่ ยงานทสี่ ง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชน ได้ตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญของสิ่งแวดล้อม ............10. ถา้ จะปลกู ต้นไม้เพือ่ ให้ความรม่ ร่ืน เราสามารถไปขอกล้าพนั ธุไ์ มจ้ ากกองอุทยานแหง่ ชาติ กรมปาู ไม้ได้ คูม่ 2อื 8ส่งเสริมแคล่มู ะอืพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒกู นเสาอื กทจิ กั กษระรชมีวลิตูกใเนสสือถทากันษศะกึ ชษวี าติ ปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษอื าสาลมกู ญั เสร่นุือใสหาญมัญ่ เครร่นุ ือ่ ชใงห้ันหญมมัธ่ายยมชลศนั้ กู กึ มเสษธั ือายหปมลที ศว่ี 3กึงษาปีที่231
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เครือ่ งหมายลูกเสือหลวง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยท่ี 2 ส่ิงแวดลอ้ ม เวลา 2 ช่ัวโมง แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 3 สวนสวยด้วยวสั ดุเหลอื ใช้ 1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ลูกเสือสามารถอธิบายวิธแี ก้ปญั หาสิง่ แวดล้อมดว้ ยการนาํ วัสดุเหลอื ใชม้ าใชป้ ระโยชน์ได้ 2. เนอ้ื หา วัสดุเหลือใช้รวมถึงขยะและของใช้แล้วท่ีไม่ได้ใช้ประโยชน์อาจกลายเป็นขยะที่สร้างปัญหา ส่ิงแวดล้อมอย่างมาก การสร้างจิตสํานึกท่ีดีในการจัดการและสร้างมูลค่าเพิ่มในทุกรูปแบบจะช่วยลด ปญั หามลพิษได้ 3. สือ่ การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 ภาพการดัดแปลงวสั ดุเหลอื ใช้ 3.3 เรื่องสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 กิจกรรมครั้งท่ี 1 1) พธิ เี ปดิ ประชุมกอง (ชักธงขึน้ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก) 2) เพลง หรือเกม 3) กจิ กรรมตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) ผูก้ าํ กับลกู เสอื สนทนาในกองลกู เสือ เก่ียวกับวสั ดเุ หลอื ใชป้ ระเภทขวด แกลลอน ยางรถ พลาสตกิ ฯลฯ ท่ที ิง้ ในบ้าน ชมุ ชนหรอื ในโรงเรยี น ซง่ึ มมี ากมาย และเป็น ทีย่ อ่ ยสลายไดย้ ากมาก (2) ผูก้ ํากบั ลกู เสือนาํ ภาพการนําวัสดุเหลือใช้ประเภท ขวด แกลลอน ยางรถ พลาสติก ฯลฯ ไปดัดแปลงใชป้ ระโยชน์ เชน่ ดัดแปลงยางรถยนต์เกา่ เป็นถัง ขยะและกระถางต้นไม้ให้ลกู เสอื ดู (3) มอบหมายงานให้ลกู เสือรว่ มกันใช้ความคิดสร้างสรรค์ นําวสั ดุเหลอื ใช้ประเภทนี้ มาดดั แปลงใชป้ ระโยชน์ โดยใหห้ มลู่ ูกเสือแขง่ ขนั กนั สรา้ งสวนหย่อมในโรงเรยี น หมูล่ ะ 1 แหง่ (4) ใหแ้ ตล่ ะหมู่ส่งตัวแทนหมลู่ ะ 1 คน มาเป็นกรรมการ และกรรมการกาํ หนด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนและพจิ ารณาให้คะแนนแตล่ ะหม่ตู ามเกณฑ์ท่กี าํ หนด โดยใหค้ ะแนนใน 5 ประเด็น ได้แก่ - ความคิดสร้างสรรค์ - การนาํ วสั ดุเหลอื ใชก้ ลับมาใชป้ ระโยชน์ได้มากทีส่ ุด - การประหยัด ใชเ้ งนิ นอ้ ยทสี่ ุด 2ค2ู่มอื สง่ เสชคมู่ร้ันมิือมสแธั ่งยลเมะสพศรกึัฒมิ ษแนลาาปะกพที ิจี่ฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมือลทูกกั เสษือะทชักีวษติ ะในชวีสติถใานนสศถึกาษนศากึ ลษกู าเสปือรสะเาภมทัญลรูกุ่นเสใอืหสญา่มญั ชรั้นุ่นมใธัหยญม่ ศเคกึ รษื่อางหปมีทา่ี 3ยลกู เสือ2ห9ลวง
- การใชป้ ระโยชนส์ วนหยอ่ ม - ความสวยงาม (5) ใหล้ ูกเสือแตล่ ะหมรู่ ่วมกนั วางแผน แบ่งงาน และกาํ หนดผรู้ ับผดิ ชอบ เตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ และตน้ ไม้ มาทาํ สวนหยอ่ มนอกเวลา 4) ผกู้ ํากับลูกเสอื เลา่ เรือ่ งส้ันทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 5) พิธีปิดประชมุ กอง (นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก) หมู่ลูกเสอื ร่วมกนั สรา้ งสวนหยอ่ มไมด้ อกไม้ประดับหรอื พชื ผักสวนครัว โดยใช้วสั ดเุ หลอื ใชม้ าประดับ กระจายจดั ตามมมุ ต่าง ๆ ของโรงเรยี น แต่ละหมตู่ ดิ ปาฺ ยชือ่ สวนหยอ่ มของหมตู่ น และชว่ ยกันดูแลใหส้ วยงามและใชป้ ระโยชนต์ ่อไป(นอกเวลา) 4.2 กิจกรรมคร้ังที่ 2 (ห่างจากครัง้ แรก 3 สัปดาห)์ 1) พธิ เี ปดิ ประชุมกอง(ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) 2) เพลง หรือเกม 3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ (1) หมลู่ ูกเสอื เข้าประจําทด่ี ูแลความเรยี บร้อยตามสวนหย่อมของตน (2) กรรมการเดนิ ดู ซกั ถามและใหค้ ะแนนตามเกณฑ์ท่ีกาํ หนด และประกาศผล ในกองลกู เสือสมุ่ ถามความรู้สึกลกู เสือตอ่ กจิ กรรม และขอ้ คิดทไี่ ด้ 4) ผูก้ าํ กบั ลูกเสอื เล่าเรอ่ื งทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 5) พิธปี ิดประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลิก) 5. การประเมนิ ผล ตรวจผลงานลูกเสอื สรา้ งสรรคส์ ิ่งประดิษฐจ์ ากวสั ดเุ หลือใชไ้ ด้ทกุ หมู่และใช้ประโยชนไ์ ด้จริงย่งั ยนื 6. องค์ประกอบทกั ษะชวี ิตสาคญั ทเี่ กิดจากกิจกรรม คอื ความคดิ วิเคราะห์ ความคดิ สร้างสรรค์ และความตระหนกั ถงึ ความสําคญั ในการจดั การ และการสรา้ งมลู ค่าเพิ่มให้กบั วสั ดุเหลือใชท้ ่จี ะชว่ ยลดปญั หามลพษิ คู่ม3ือ0สง่ เสรมิ แคลูม่ ะือพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒกู นเสาอื กทจิ กั กษระรชมีวลิตกู ใเนสสอื ถทากันษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษอื าสาลมกู ญั เสรนุ่อื ใสหาญมัญ่ เครรุ่น่อื ชใงหนั้ หญมมัธ่ายยมชลศั้นกู ึกมเสษัธอื ายหปมลีทศวี่ 3กึงษาปีท่ี233
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 3 เพลง ดอกบัว ดอกบัวเอย๋ ดอกบัว นัน้ มีอยู่ทว่ั ทงั้ ในถิ่นไทย ชูดอกงามอรา่ มไป สวยสมถกู ใจจริงเจ้า วนพราวอยู่ในบงึ จะเดด็ บวั กอ็ ย่ไู กล สองมอื เอือ้ มไปเทา่ ไรกไ็ มถ่ ึง ไดแ้ ต่มองจ้องตรงึ ฉนั ขอฝาก บงึ อาํ ลา ขอลาไปกอ่ นเอย วนั น้ยี นิ ดี วันนยี้ ินดที เี่ ราได้มาพบกนั (ซา้ํ ) ยินดี ยนิ ดี ยนิ ดี มาเถดิ มาเรามาร่วมสนุก ปลดเปล้ืองความทกุ ขใ์ หม้ นั สนิ้ ไป มาเถิดมาเรามาร่วมจติ ช่วยกนั คดิ ทาํ ใหก้ ารลกู เสอื เจรญิ ภาพการดดั แปลงวัสดุเหลือใช้ 24ค่มู อื สง่คชเมู่ั้นสือมรสัธิมง่ยแเมสลศระกึมิพษแฒั ลานปะพีทากี่ัฒ3ิจนการกริจมกลรูกรมเสลือูกทเสักอื ษทะักชษวี ะติ ชใีวนิตสใถนาสนถศานกึ ศษึกาษลาูกปเสระือเสภาทมลญั กู เรสุ่นอื ใสหาญมัญ่ รชนุ่ ั้นใมหญธั ย่ เมคศรื่อกึ งษหามปาีทย่ี ล3กู เสอื ห3ลว1ง
ทม่ี า http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=nature-delight&month=29-05- 2005&group=7&gblog=2 ค3ู่ม2ือสง่ เสรมิคแู่มลอื ะสพ่งฒัเสนรามิ กแจิ ลกะรพรมฒั ลนกู าเสกอืจิ ทกกัรรษมะชลวีูกติเสในือสทถกั าษนะศชึกีวษิตาในปสระถเาภนทศลกึูกษเสาือสลาูกมเสญั อื รสนุ่ าใมหญัญร่ เนุ่คใรห่อื ญงห่ มาชยั้นลมูกธั เสยือมหศลกึ วษงาปีที่ 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 25
เรอ่ื งท่เี ปน็ ประโยชน์ กาบา้ ยอ สุนขั จ้งิ จอกเหน็ กามีเนอื้ ชน้ิ โตอยใู่ นปาก จึงเอย่ วา่ \"เพ่ือนกาเอย๋ ตาของเพ่ือนช่างงามราวกับ ตาเหยี่ยวปีกก็เป็นเงางามด่งั ปีกนกอนิ ทรี ขา้ อยากรูน้ ักวา่ ถ้าเพ่อื นรอ้ งเพลงเสียงของเพอ่ื นจะไพเราะ เพราะพร้งิ เพยี งใด\"กาไดฟ้ งั คําปฺอยอกช็ อบใจ รีบอ้าปากรอ้ งเพลงอวดสนุ ัขจิง้ จอกเมอื่ กาอา้ ปากทันใด น้ันชิ้นเนื้อก็ตกลงมาที่พื้น สุนัขจ้ิงจอกรีบเข้าไปคาบช้ินเน้ือเเล้วว่ิงจากไปทันที เรอื่ งน้ีสอนใหร้ ้วู า่ คนทม่ี าเฝฺายกยอปอปัน้ ยอ่ มหวังได้ประโยชน์จากเรา กบฟุ้งซา่ น....ข้างกาแพงวดั กบตวั หนงึ่ นง่ั อยขู่ า้ งกําแพงวัดทุกเช้ามันเฝฺาดูพระออกบิณฑบาตตั้งแต่เช้ามืด พอพระกลับ ถึงวัดเพ่ือฉันอาหารเช้า...กบตัวเดิมจึงนึกในใจว่า “ถ้าฉันได้เกิดเป็นพระคงจะดีเพราะมีคนถวาย อาหารให้กินทกุ วนั ” ครั้นเมื่อพระฉันเสร็จ พวกเด็กวัดก็มานําอาหารท่ีเหลือมากมายไปกินต่ออย่างเอร็ดอร่อย ตอนนีก้ บเกดิ เปลยี่ นใจ อยากเกดิ เปน็ \"เด็กวัด\"ดีกว่า สบายกว่าพระเป็นไหน ๆต่ืนสายก็ได้ ไม่ต้อง ออกตามพระไปบณิ ฑบาตกไ็ ด้ เม่ือเด็กวัดกินเสร็จก็โกยอาหารท่ีเหลือท้ังหมดให้หมาวัดกินจากน้ันก็ช่วยกันล้างจานถึง ตอนนี้เจ้ากบกเ็ ปลย่ี นใจอกี ... อยากเกดิ เปน็ \"หมาวัด\"แลว้ เพราะไม่ต้องล้างจานเหมอื นเด็กวัด พอหมาวัดกินอาหารเสร็จก็แยกย้ายไปทําหน้าท่ีเฝฺาบริเวณวัดคอยเห่าคนแปลกหน้า กบ มองเหน็ ฝงู แมลงวนั บินมาตอมอาหารตอ่ จากหมาวัดกบจงึ เปลี่ยนใจอกี แลว้ อยากเกิดเป็น \"แมลงวัน\" สบายทส่ี ุด ไมต่ ้องทาํ อะไรเลยหนาํ ซา้ํ ยังมกี องอาหารใหก้ นิ ไมม่ หี มดดว้ ย ขณะทเ่ี จ้ากบฟฺุงซ่านกําลังคิดเพลินๆ อยู่นั้นพอดีหันมาเห็น แมลงวัน บินมาใกล้ๆจึงใช้ลิ้น ตวดั เอาแมลงวนั เขา้ ปากตวั เองโดยสัญชาตญาณถึงตอนน้ี ....กบฟฺุงซ่านจึงบรรลุธรรมฉบั พลัน!!คดิ ได้ วา่ เออ้ ! \"เป็นตวั ของเราเองนีแ้ หละ\"ดที สี่ ดุ เลย เรือ่ งนี้สอนใหร้ วู้ า่ จงเชอื่ มน่ั ในตัวเองและจงพอใจในสิง่ ทตี่ นเองเปน็ อยู่ 2ค6ู่มอื สง่ เสชคู่มร้ันิมือมสแัธ่งยลเมะสพศรึกัฒมิ ษแนลาาปะกพีทิจี่ัฒก3นรรามกิจลกกู รเรสมือลทูกกั เสษือะทชกัวี ษิตะในชวีสิตถใานนสศถกึ าษนศาึกลษูกาเสปือรสะเาภมทัญลรกู ุ่นเสใือหสญา่มัญชรั้น่นุ มใัธหยญม่ ศเคกึ รษือ่ างหปมีทาี่ 3ยลกู เสือ3ห3ลวง
แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามัญรุน่ ใหญ่ เครอื่ งหมายลกู เสือหลวง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยที่ 2 ส่งิ แวดลอ้ ม เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจัดกิจกรรมท่ี 4 โลกสวยดว้ ยมือเรา 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ ลกู เสอื สามารถจดั ทําแผ่นพบั ประชาสมั พนั ธ์ หรอื วาดภาพรณรงค์การอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มได้ 2. เนอื้ หา จดั ทําแผน่ พับ วาดรปู รณรงค์รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม 3. สือ่ การเรียนรู้ 3.1 แผนภูมเิ พลง 3.2 กระดาษ 3.3 ดนิ สอ 3.4 ดินสอสี สเี ทยี น 3.5เรื่องส้นั ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปิดประชมุ กอง(ชกั ธงขึน้ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) ผกู้ าํ กับลูกเสอื ทบทวนในเรอ่ื งของสาเหตุและแนวทางในการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม ตามทีล่ ูกเสือไดน้ ําเสนอไวจ้ ากสปั ดาหท์ ี่ผา่ นมา 2) ลูกเสอื แตล่ ะคนจดั ทาํ แผ่นพบั ประชาสัมพนั ธ์ หรือวาดภาพรณรงค์ รกั ษส์ ิ่งแวดล้อม โดยใหเ้ ลือกจดั ทําคนละ 1 รปู แบบ 3) ลกู เสอื นาํ เสนอผลงานตัวเองตอ่ กองลูกเสอื ผู้กํากบั นําผลงานของลกู เสอื โดยตดิ แสดงในบรเิ วณจุดประชาสัมพันธข์ องโรงเรยี น หรอื ติดแสดงในโอกาสอนื่ เชน่ ในวนั รกั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม 4) รวมกอง ผู้กาํ กบั ลกู เสอื นาํ อภปิ ราย และสรปุ ในประเด็น -แนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 4.4 ผู้กํากับลกู เสือเลา่ เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ดิ ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลิก) 5. การประเมินผล 5.1 วิธีการ 5.2 เคร่อื งมอื - สงั เกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม - แบบสงั เกต - ทดสอบ - แบบทดสอบ - ตรวจผลงาน - แบบตรวจประเมินผลงาน คู่ม3อื 4สง่ เสรมิ แคล่มู ะือพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒูกนเสาอื กทิจกั กษระรชมวี ลิตูกใเนสสอื ถทาักนษศะกึ ชษวี าิตปใรนะสเภถทานลูกศเกึ สษือาสาลมูกญั เสรุน่ือใสหาญมัญ่ เครรนุ่ ่ือชใงห้ันหญมมธั ่ายยมชลศั้นูกกึ มเสษัธือายหปมลีทศวี่ 3ึกงษาปีที่237
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 4 เพลง งานส่งิ ใด งานสง่ิ ใด งานสิง่ ใด แมน้ ใครละเลยทงิ้ ปลอ่ ย มัวแต่คอยเฝฺาแต่คอย หวังคอยแตเ่ ก่ียงโยนกลอง ไมม่ ีเสร็จ ไมม่ เี สร็จรับรอง จําไว้ทกุ คนตอ้ งทํางานเราตอ้ งช่วยกัน ช่วยกนั ุ..ช่วยกนั ุุ. ช่วยกัน เรอ่ื งสน้ั ทเ่ี ป็นประโยชน์ ลกู ชาวนากบั มรดก นานมาแลว้ มีครอบครัวชาวนาอยคู่ รอบครวั หนง่ึ เม่อื ผทู้ ี่เป็นพ่อตายไปเเลว้ ลกู ชาวนาท้งั สองกช็ วนกนั ออกไปขุดหาสมบตั ใิ นสวนองนุ่ เพราะพอ่ ได้สั่งเสียเอาไวก้ อ่ นทจ่ี ะตายว่าทรพั ยส์ มบตั ิ ของพอ่ อยใู่ นสวนองุน่ “น้องไปขดุ ตรงนนั้ นะ ส่วนพจ่ี ะขดุ ตรงน้เี อง” ลกู ชาวนาทั้งสองช่วยกนั ขดุ ดนิ เพอ่ื หาสมบัติตามทต่ี า่ งๆในสวนองนุ่ ไปจนทั่วทง้ั สวนก็ยงั ไม่ สามารถหาสมบัตทิ คี่ ดิ ว่าพอ่ จะฝงั ไว้ให้เจอไดเ้ เตส่ วนองุ่นท่ีถกู ขดุ ถกู พรวนดนิ จนท่วั นน้ั กลบั ยงิ่ เจรญิ งอกงามดี จนลกู ชาวนาสองพนี่ อ้ งสามารถท่ีจะขายองนุ่ จนไดท้ รพั ยส์ นิ เงนิ ทองมากมายทงั้ สองจงึ เพ่ิงรู้ วา่ ทรพั ยส์ มบัติท่ีพอ่ ท้งิ ไวใ้ ห้เปน็ มรดกนนั้ แทจ้ รงิ ไม่ใช่สมบัติทถ่ี ูกฝงั เอาไว้ แต่จริงๆแลว้ คอื อะไร เรือ่ งนีส้ อนให้ร้วู า่ ความขยนั พากเพยี รสามารถกอ่ ให้เกดิ ทรพั ย์ 2ค8่มู ือสง่ เสชคู่มร้นั มิือมสแธั ่งยลเมะสพศรึกฒัมิ ษแนลาาปะกพที ิจ่ีฒั ก3นรรามกิจลกกู รเรสมือลทูกกั เสษอื ะทชกัวี ษติ ะในชีวสิตถใานนสศถกึ าษนศาึกลษกู าเสปอื รสะเาภมทญั ลรูก่นุ เสใือหสญา่มญั ชรัน้ นุ่ มใธัหยญม่ ศเคกึ รษ่ือางหปมที า่ี 3ยลกู เสือ3ห5ลวง
แบบสังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ เครื่องหมายลูกเสอื หลวง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หนว่ ยท่ี 2 สงิ่ แวดลอ้ ม แผนการจัดกจิ กรรมที่ 4 โลกสวยดว้ ยมอื เรา คาชแี้ จง หลงั จากลูกเสอื ปฏิบตั ิกจิ กรรมแลว้ ให้ผ้กู าํ กับทาํ เครอ่ื งหมาย ประเมนิ พฤตกิ รรม ของลกู เสอื ตามรายการต่อไปน้ี ชอ่ื ............................................................................................................................................. ข้อท่ี รายการประเมนิ ผา่ น ไมผ่ า่ น 1 ความสนใจและความต้ังใจ 2 การเข้ารว่ มกจิ กรรม 3 การใหค้ วามรว่ มมือ และมคี วามรับผิดชอบในขณะปฏิบตั ิกิจกรรม 4 สามารถจดั ทาํ แผ่นพับประชาสมั พันธ์ หรอื วาดภาพรณรงค์ รกั ษ์ สงิ่ แวดลอ้ ม 5 บอกสาเหตแุ ละแนวทางในการอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม 6 สรุปประเดน็ แนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เกณฑ์การประเมนิ ผ่านการประเมินขอ้ 4 ขอ้ 5 และข้ออน่ื ๆ อีก 2 ข้อ รวม 4 ข้อขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สรุปผลการประเมนิ ผา่ น ไม่ผ่าน ลงช่อื .................................................................... (..................................................................) ผู้ประเมิน คมู่ 3อื 6สง่ เสริมแคล่มู ะอืพสัฒ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒกู นเสาือกทจิ กั กษระรชมวี ลิตูกใเนสสือถทาักนษศะึกชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษือาสาลมูกัญเสรุ่นอื ใสหาญมญั่ เครร่นุ ือ่ ชใงห้ันหญมมัธ่ายยมชลศน้ั กู กึ มเสษัธอื ายหปมลที ศว่ี 3ึกงษาปที ่ี239
แบบทดสอบ การจัดกิจกรรมลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยท่ี 2 สง่ิ แวดลอ้ ม แผนการจัดกิจกรรมที่ 4 โลกสวยดว้ ยมอื เรา ตอนที่ 1 คาชแี้ จง ใหล้ กู เสอื เขยี นเคร่อื งหมาย O ลอ้ มรอบตวั อักษร ก ข ค หรือ ง คาํ ตอบท่ีถกู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว ................................................. 1. ขอ้ ใดคอื ความหมายของคาํ ว่า “ อนุรกั ษ์ ” ก. เก็บรักษาทรพั ยากรไว้ใหน้ านทสี่ ดุ ข. ใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ หม้ ากท่สี ุด ค. เกบ็ รกั ษาทรพั ยากรไมใ่ หส้ ูญเปลา่ ง. นาํ ทรัพยากรมาใชใ้ หม้ ากท่สี ุด 2. ข้อใดเป็นวธิ กี ารอนรุ กั ษ์ดนิ อยา่ งถูกตอ้ ง ก. ปลูกพชื หมนุ เวยี นตลอดปี ข. การบาํ รุงดนิ ควรใสป่ ยุ เคมเี พยี งอยา่ งเดยี ว ค. หลักการเกบ็ เกีย่ วควรปลอ่ ยพื้นทใ่ี หว้ า่ งเปล่า ง. ทําลายหญ้าทป่ี กคลมุ ดนิ ออกใหห้ มด 3. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชน์ของสตั วแ์ ละพืช ก. ช่วยรักษาสมดลุ ธรรมชาติ ข. มปี ระโยชนท์ างด้านเศรษฐกิจ ค. ทาํ ใหไ้ ฟไหม้ปูาไดง้ า่ ยๆ ง. มปี ระโยชนท์ างดา้ นจติ ใจ 4. ข้อใดกลา่ วถึงการอนุรักษน์ า้ํ ผดิ ไปจากความจรงิ ก. ค้นคว้าหาสารชนิดใหมท่ ไ่ี มม่ ีผลตกค้างในนาํ้ มาใช้ปราบศัตรูพชื ข. ไมท่ ง้ิ ส่งิ ปฏิกูลลงในแมน่ าํ้ ลําคลอง ค. ใหก้ ารศกึ ษาเรอื่ งการอนุรกั ษน์ ํา้ แกป่ ระชาชน ง. ตอ้ งประหยดั นาํ้ เพอ่ื ไม่ใหน้ า้ํ หมดไปจากโลก 5. สตั ว์ปูาไม่รวมถงึ ขอ้ ใด ก. แมงทุกชนดิ ท่อี ยู่ในปาู ข. สัตว์บกท่ีไม่เช่ือง ค. สตั วน์ ้ําและสตั วป์ ีกทค่ี นไม่ไดเ้ ลีย้ งดู ง. สตั วท์ ค่ี นไม่ไดเ้ ปน็ เจา้ ของ 3ค0ู่มือสง่ เสคชมู่รน้ั ิมอืมสแธั ่งยลเมะสพศรึกฒัิมษแนลาาปะกพที ิจ่ีัฒก3นรรามกิจลกูกรเรสมอื ลทูกกั เสษอื ะทชักวี ษติ ะในชีวสติถใานนสศถึกาษนศาึกลษูกาเสปือรสะเาภมทญั ลรูกนุ่ เสใอืหสญา่มญั ชรัน้ ุ่นมใธัหยญม่ ศเคกึ รษอ่ื างหปมที าี่ 3ยลกู เสือ3ห7ลวง
6. ขอ้ ใดเป็นสตั ว์ปูาสงวนทง้ั หมด ก. ช้าง แรด กปู รี ละมง่ั ข. ควายปูา วัวแดง กระซู่ สมัน ค. สมนั กวางผา เลียงผา กระซู่ ง. แรด ละอง เลียงผา สมเสรจ็ 7. สาเหตุท่ที าํ ให้พืชพรรณถกู ทําลายเกิดจากตัวการใดมากท่ีสดุ ก. แมลง ข. มนุษย์ ค. เชื้อโรค ง. ฝนแลง้ 8. วิธกี ารอนุรักษพ์ ืชพรรณอยา่ งผดิ วิธี ก. หาพืชแปลกๆมาปลูกในทอ้ งถนิ่ ข. ปฺองกันการระบาดของโรคและแมลง ค ปลกู ตน้ ไมท้ ดแทนมากข้ึน ง. ลดการทาํ ลายปาู ไม้นอ้ ยลง 9. ข้อใดคือโบราณวัตถุที่ถูกตอ้ งท้ังหมด ก. พระปรางค์ ศลิ าจารึก พระพทุ ธรูป ข. เทวรปู ซากอโุ บสถ ทับหลงั ปราสาท ค. พระพุทธรูป โครงกระดกู ซากเจดีย์ ง. เทวรูป ศลิ าจารกึ ซากสตั ว์โบราณ 10. ข้อใดเป็นการอนุรกั ษ์ส่งิ ทส่ี ําคญั ทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่างถูกตอ้ ง ก. ปลูกบ้านเรือนใกลโ้ บราณสถาน เพือ่ ดแู ลไดส้ ะดวก ข. โบราณสถานท่ไี มย้ ่นื ตน้ เกาะอยู่ ควรตดั โคน่ ตน้ ไมอ้ อก ค. ไมข่ ีดเขียน สลักข้อความลงบนโบราณสถาน ง. ควรนาํ ซากมนษุ ยโ์ บราณที่ขุดพบไปเผาแลว้ ทาํ บญุ อุทศิ ส่วนกศุ ลไปให้ คู่ม3อื 8ส่งเสรมิ แคลมู่ ะือพสัฒ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลัฒกู นเสาือกทจิ กั กษระรชมีวลิตูกใเนสสือถทาักนษศะึกชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษอื าสาลมกู ญั เสรนุ่ือใสหาญมญั่ เครร่นุ อ่ื ชใงหน้ั หญมมธั ่ายยมชลศ้นั ูกึกมเสษธั ือายหปมลที ศว่ี 3ึกงษาปีที่331
แบบทดสอบ ตอนท่ี 2 คาชีแ้ จง ให้เขียนเครือ่ งหมาย หนา้ ข้อความทถี่ ูกและเคร่ืองหมาย Xหน้าขอ้ ความทีผ่ ดิ ............1. การอนุรกั ษอ์ ย่างถูกตอ้ ง คอื การรกั ษาทรัพยากรไว้เฉยๆเพื่อเก็บไว้ใชน้ านๆ ุุุ.2. การปรบั ปรุงแหล่งนา้ํ ทีต่ ื้นเขนิ ให้ใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ต็มทจ่ี ดั เป็นการอนรุ กั ษอ์ ยา่ งหนึ่ง ............3. การอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมจะต้องได้รับความรว่ มมือจากทุกๆคน ............4. ปญั หาส่ิงแวดล้อมจะลดลงได้ ถ้าประชาชนมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงิ่ แวดล้อม ............5. ดิน นํ้า อากาศ เป็นทรัพยากรทไ่ี มห่ มดสิน้ ไป เราไมจ่ าํ เป็นตอ้ งใช้อยา่ งระมดั ระวงั ............6. สตั ว์และพืชมีประโยชน์เพราะช่วยรักษาสมดลุ ธรรมชาติจงึ ไมค่ วรทําลาย ............7. สตั ว์ปูา คอื สตั ว์ท่ีไมเ่ ชอื่ งและอาศยั อยู่ในปาู เทา่ นนั้ โดยคนไมไ่ ด้เลยี้ งดใู หอ้ าหาร ............8. การไมท่ ง้ิ เศษขยะและสิง่ ปฏกิ ูลลงในแม่น้ําลาํ คลองถอื เป็นการอนรุ กั ษน์ ํ้าอย่างถกู ต้อง ............9. โครงกระดูกมนษุ ย์โบราณจัดเป็นโบราณวตั ถอุ ย่างหนงึ่ ทต่ี อ้ งชว่ ยกนั อนุรกั ษ์ไว้ ............10. ประเทศไทยมีความเจริญรงุ่ เรอื งมาช้านาน เพื่อความภมู ิใจแกอ่ นุชนรุน่ หลงั เราควรเก็บ สะสมโบราณวัตถุไวเ้ ป็นของสว่ นตวั 3ค2ูม่ ือสง่ เสคชู่มรั้นมิอืมสแัธง่ยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพีทจิ ี่ัฒก3นรรามกจิลกกู รเรสมอื ลทูกักเสษอื ะทชกัีวษติ ะในชีวสติถใานนสศถึกาษนศาึกลษกู าเสปอื รสะเาภมทญั ลรูกนุ่ เสใอืหสญา่มญั ชรัน้ ุน่ มใธัหยญม่ ศเคกึ รษ่ือางหปมีทา่ี 3ยลูกเสอื 3ห9ลวง
แบบตรวจประเมินผลงานแผน่ พบั หรือภาพรณรงค์รักษส์ ่ิงแวดล้อม ชอ่ื ............................................................................................................................................. ขอ้ ที่ รายการประเมนิ 432 1 1 รปู แบบชนิ้ งาน 2 ภาษา 3 เนือ้ หา 4 เวลา ผลรวม คา่ เฉลย่ี ( ผลรวมหาด้วย 4) คะแนนเฉล่ยี ตง้ั แต่ 3.5 ข้ึนไป แสดงวา่ ผลงานอย่ใู นระดับดีมาก คะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ 2.5 – 3.4 ขึ้นไป แสดงวา่ ผลงานอยใู่ นระดบั ดี คะแนนเฉลย่ี ตั้งแต่ 1.5 – 2.4 ขน้ึ ไป แสดงวา่ ผลงานอยใู่ นระดบั พอใช้ คะแนนเฉลยี่ ตัง้ แต่ 1.5 ขนึ้ ไป แสดงวา่ ผลงานอยูใ่ นระดบั ปรับปรงุ สรปุ ผลการประเมินภาพรวมของผลงาน ( ) ดมี าก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุง ลงช่อื .............................................................. (..............................................................) ผ้ตู รวจ คูม่ 4ือ0ส่งเสริมแคลู่มะือพสฒั ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลัฒูกนเสาือกทิจกั กษระรชมีวลิตกู ใเนสสือถทากันษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลูกศเึกสษือาสาลมูกัญเสรนุ่ือใสหาญมัญ่ เครร่นุ อ่ื ชใงห้ันหญมมัธ่ายยมชลศั้นกู ึกมเสษธั อื ายหปมลที ศว่ี 3ึกงษาปที ่ี333
เกณฑ์การให้คะแนนผลงานแผ่นพบั หรือภาพรณรงคร์ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม ประเด็น 4(ดีมาก) เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1(ปรับปรุง) การ 3(ด)ี 2(พอใช้) -รูปแบบชิน้ งานถูกตอ้ งตามที่ -รูปภาพมสี สี นั ประเมิน กาํ หนด -รูปแบบแปลกใหม่ -มขี นาดเหมาะสม -รูปภาพสัมพนั ธ์ -รูปแบบแปลกใหมน่ ่าสนใจ กับเนอื้ หา 1. รปู แบบ -มีขนาดเหมาะสม น่าสนใจ -รูปภาพมสี ีสนั ชิ้นงาน -รปู ภาพมีสีสนั สวยงาม -มีขนาดเหมาะสม สวยงาม -รูปภาพสัมพนั ธ์กับเน้อื หา -รปู ภาพมีสีสนั สวยงาม -รูปภาพสมั พนั ธ์ -รปู ภาพสมั พนั ธก์ ับ กบั เนือ้ หา เนือ้ หา 2. ภาษา -มีการใช้ภาษาอยา่ งถกู ตอ้ ง -ประโยคสอดคลอ้ งกบั -สะกดคําถกู ตอ้ ง -มีการเว้นวรรค 3. เนอ้ื หา -ประโยคสอดคลอ้ งกบั เนอื้ หา เนอื้ หา -มีการเวน้ วรรค โดยไมฉ่ กี คาํ 4. เวลา -สะกดคําถกู ตอ้ ง -สะกดคาํ ถกู ต้อง โดยไมฉ่ กี คาํ -มกี ารใชภ้ าษา -มกี ารเว้นวรรคโดยไม่ฉกี คาํ -มกี ารเวน้ วรรคโดยไม่ -มกี ารใชภ้ าษา อย่างสรา้ งสรรค์ -มีการใช้ภาษาอยา่ ง ฉกี คาํ อย่างสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ -มกี ารใชภ้ าษาอยา่ ง -รายละเอยี ด สร้างสรรค์ -เนอ้ื หาเป็นไป ครอบคลุม -เนือ้ หาถูกตอ้ ง ตามทีก่ าํ หนด -เนอื้ หา -เน้อื ความตรงตามหัวข้อเร่อื ง -เนื้อความตรงตาม -รายละเอียด สอดคลอ้ ง -เนือ้ หาเป็นไปตามทก่ี ําหนด หัวข้อเรื่อง ครอบคลมุ -รายละเอียดครอบคลมุ -เนอื้ หาเป็นไปตามท่ี -เนอื้ หาสอดคลอ้ ง ส่งชนิ้ งานชา้ กว่า -เนื้อหาสอดคลอ้ ง กําหนด กําหนด 3 วัน -รายละเอยี ดครอบคลมุ สง่ ชิ้นงานชา้ กวา่ ส่งชน้ิ งานภายในเวลาที่ -เนื้อหาสอดคลอ้ ง กําหนด 2 วัน กาํ หนด ส่งช้ินงานชา้ กวา่ กําหนด 1 วัน คมู่ อื 3ส4ง่ เสรมิ แลคชู่ม้นัะพือมสัฒัธง่ยนเมสาศรกึกมิ ิจษแกลารปะรพที มี่ัฒล3นกู าเสกอืิจทกรกั รษมะลชกู ีวเสติ ือในทักสษถะาชนวีศิตึกใษนาสถลาูกนเศสกึือษสาามปัญระรเ่นุ ภใทหลญูกเ่ สือชสนั้ ามมธั ญั ยรมนุ่ ศใหกึ ษญา่ เปคที รอ่ืี่ 3งหมายล4กู1เสือหลวง
แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยที่ 2 ส่งิ แวดล้อม แผนการจดั กิจกรรมท่ี 5 รวมพลงั รักษส์ ิ่งแวดล้อม เวลา 1 ชั่วโมง 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ ลูกเสือสามารถทาํ โครงการรักษาสงิ่ แวดล้อมในโรงเรยี นได้ 2. เนอ้ื หา ตัวอยา่ งโครงการ 3. สื่อการเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง, เกม 3.2 แบบฟอร์มโครงการ 3.3เรอื่ งสนั้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พิธเี ปดิ ประชุมกอง (ชักธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก) 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) ผู้กํากับถามลกู เสอื ถงึ สภาพส่งิ แวดลอ้ มภายในโรงเรยี นเปน็ อย่างไร 2)ให้แตล่ ะหมู่ระดมความคิดจัดทาํ โครงการรักษาส่งิ แวดลอ้ มในโรงเรยี น ภายใน ระยะเวลา 2 เดอื น โดยใหล้ กู เสอื เขยี นโครงการสง่ ให้ผู้กํากับลกู เสอื ตรวจก่อน 3) ใหล้ กู เสือปฏิบตั ิงานตามท่เี ขียนไวใ้ นโครงการ 4)ผ้กู าํ กบั ลูกเสอื นัดหมายใหห้ มู่ลูกเสอื นาํ เสนอผลการปฏบิ ัติการ โดยอาจจะดจู าก สถานท่ีหรอื งานจริงทีล่ กู เสอื ได้ปฏบิ ัติ 4.4 ผกู้ าํ กบั ลกู เสือเลา่ เรือ่ งสน้ั ที่เปน็ ประโยชน์ 4.5 พิธปี ดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลิก) 5. การประเมินผล 5.1 วิธกี าร 5.2 เครอ่ื งมือ - ประเมนิ การมีส่วนร่วมและ - แบบประเมินโครงการ ความสาํ เร็จของโครงการ คูม่ 4อื 2ส่งเสริมแคลมู่ ะือพสฒั ่งนเสารกมิจิ แกรลระมพลัฒกู นเสาือกทิจกั กษระรชมวี ลติ กู ใเนสสอื ถทาักนษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลูกศเึกสษือาสาลมูกัญเสรนุ่อื ใสหาญมัญ่ เครรุ่นือ่ ชใงห้นั หญมมธั ่ายยมชลศัน้ ูกึกมเสษธั อื ายหปมลที ศว่ี 3กึงษาปีที่335
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 5 เพลง เพลงสามัคครี วมใจ สามคั คีรว่ มใจ เรว็ ไวชว่ ยกนั ทาํ การงานด้วยความสาํ ราญเริงใจ มาชว่ ยกันซิเร็วไว จะได้เสร็จทนั ใดใครๆก็พากนั ยกยอ่ ง เกม เดินหมี วิธีเล่นมีดังนี้ 1. ใหล้ กู เสือแตล่ ะหมูเ่ ขา้ แถวตอนลกึ จดั ใหท้ กุ หมู่มจี าํ นวนคนเทา่ ๆ กนั 2. ให้นายหม่นู ําไมพ้ ลองไปวางไว้ใหห้ ่างจากคนหวั แถวเท่า ๆ กนั แล้วกลับมาเขา้ แถว ตามเดมิ 3. เม่อื ไดย้ นิ คาํ สงั่ วา่ “ เริ่มเล่น” ให้คนหัวแถวกม้ ตวั ลง ใชม้ อื ท้ัง 2 ข้าง จับท่ขี ้อเท้า ด้านนอกให้แนน่ แลว้ ว่ิงอ้อมไม้พลอง แล้วกลบั มาแตะคนตอ่ ไป ตนเองไปตอ่ ทา้ ยแถว 4. คนที่ถกู แตะวิ่งไปออ้ มกอ้ นหนิ แล้วกลบั มาแตะคนต่อไปเช่นเดยี วกนั 5. เลน่ กนั ไปเร่ือยๆ ลกู เสอื หมใู่ ดทาํ ไดถ้ ูกตอ้ งครบทกุ คน และทาํ ไดเ้ สรจ็ กอ่ นลูกเสอื หมู่อ่ืน จะเป็นผชู้ นะ หมอู่ น่ื ปรบมือให้ ค3ู่ม6อื ส่งเสรคชมิ ู่ม้นั แือมลสัธะ่งยพเมสฒั ศรกึิมนษแาลากปะิจพีทกี่ัฒร3รนมาลกกูิจเกสรอืรมทลักกูษเะสชอื ีวทติ กั ใษนะสชถีวาิตนในศสกึ ถษาานศลึกูกษเสาอื ปสราะมเภัญทรลุ่นูกใเหสญอื ส่ ามชญััน้ มรุ่นธั ใยหมญศ่กึ เคษราื่อปงทีห่ีม3ายลูกเส4ือ3หลวง
แบบฟอรม์ โครงการ 1. โครงการ........................................... 2. หลกั การและเหตุผล ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... . 4. เป้าหมายโครงการ 4.1เชงิ ปรมิ าณ................................................................................................................................... 4,2เชิงคณุ ภาพ................................................................................................................................ 5. วธิ ดี าเนนิ การ 5.1ขัน้ เตรียมการ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 5.2ข้นั ดาเนนิ การ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 5.3ขั้นประเมินผล ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ........4..4..........ค..ูม่ ..อื .ส..่ง..เ.ส..ร.มิ..แ..ล..ะ.พ..ฒั...น..า..ก.ิจ..ก..ร.ร..ม..ล..ูก..เ.ส..ือ..ท..ัก.ษ..ะ..ช..ีว.ติ..ใ..น..ส..ถ.า..น..ศ..กึ ..ษ..า..ล..กู..เ.ส..อื..ส..า.ม..ญั...ร.ุ่น..ใ..ห..ญ..่ ...ช..นั้ ..ม..ัธ.ย..ม..ศ..กึ..ษ..า..ป..ที ..ี่ .3.. คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ เคร่อื งหมายลูกเสือหลวง 37 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
6. ระยะเวลาดาเนนิ งาน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 7.ทรพั ยากรทีใ่ ช้ 7.1 งบประมาณ .....บอกจาํ นวนเงนิ ที่ใช้ และบอกแหล่งทีม่ าของงบป..ร.ะ..ม..า..ณ............................................... 7.2 วสั ดอุ ปุ กรณ์......มีรายละเอยี ดแนบทา้ ยโครงการฯ .......................................................................... 8. สถานทด่ี าเนินงาน .............................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................. 9. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชอื่ (...................................................) ผเู้ สนอโครงการ ลงช่อื (..................................................) ผเู้ หน็ ชอบโครงการ ลงชอ่ื (.................................................) ผูอ้ นมุ ัติโครงการ 3ค8ู่มือสง่ เสชคู่มรัน้ ิมอืมสแัธง่ยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพีทจิ ี่ฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมือลทกู กั เสษือะทชักวี ษิตะในชวีสติถใานนสศถึกาษนศากึ ลษกู าเสปอื รสะเาภมทัญลรกู ุ่นเสใือหสญา่มญั ชรน้ั ุ่นมใัธหยญม่ ศเคึกรษ่ือางหปมที า่ี 3ยลกู เสอื 4ห5ลวง
เรือ่ งสนั้ ที่เปน็ ประโยชน์ นกึ วา่ งา่ ย คนไทยกบั คนลาวเปน็ เพอ่ื นกัน คนไทยน้ันมีเรืออยลู่ ําหน่งึ มีอย่วู ันหนง่ึ เกดิ นํ้าท่วมขึ้น คนลาวจงึ นั่งไปกับเรอื ของคนไทย โดยคนลาวนั่งอย่ทู ห่ี วั เรอื และคนไทยนัง่ อยู่ท่ที า้ ยเรือ และกเ็ ปน็ คน พายเรือไปดว้ ยเมอื่ พายเรือไปไดส้ ักระยะหน่งึ คนลาวเหน็ วา่ เรอื วงิ่ ตรงเข้าไปหาต้นไม้จนจะชนตน้ ไม้ คนลาวตกใจกลวั จงึ ร้องบอกไปว่า“ซ้ายหน่อยๆ” คนไทยก็พายงดั เลก็ นอ้ ย เรือก็ไม่ชนต้นไม้ เรือรอด ผา่ นไปได้ เมือ่ พายต่อไปอกี สักระยะเรอื ก็ร่ตี รงเข้าไปจะชนบา้ นอีก คนลาวเห็นดังน้นั กต็ กใจ ร้องขึน้ มา อีกวา่ “ขวาหน่อยๆ” คนไทยก็พายงัดเลก็ นอ้ ย เรือกร็ อดไปไดโ้ ดยไม่ชนบ้านคนลาวคนนัน้ จงึ บังเกดิ ความสงสัยแล้วจึงถามคนไทยขน้ึ วา่ “นีเ่ รือของเพื่อนทาดว้ ยอะไรนะถึงว่าง่ายอยา่ งน้ี” “อ๋อเรือลานี้ขุดข้ึนจากไม้ตะเคียนนะเพ่ือน”คนไทยตอบคนลาวคนลาวได้ฟังดังนั้นเม่ือกลับถึง บ้านก็บอกกับเมียของตนว่า “นี่น้องไม้ตะเคียนน่ีว่าง่ายจังพ่ีอยากจะขุดเรือจากไม้ตะเคียนสักลํา ที่ ข้างบ้านเรามีไม้ตะเคียนอยู่ต้นหนึ่งเด่ียวพี่จะโค่นมาขุดทําเรือนะ”เมียก็บอกกับคนลาวที่เป็นผัวว่า “มันจะทับบา้ นพงั นะซพิ ี่”“มันไม่ทับบา้ นเราหรอก ไม้ตะเคียนมันว่าง่าย” ฝูายผัวรีบอธิบายสรรพคุณ ของตน้ ตะเคยี นเสร็จสรรพว่าแลว้ คนลาวคนนน้ั ก็คว้าขวานไปตัดต้นตะเคยี นทีอ่ ยขู่ า้ งบา้ นในทนั ที ฟัน ไปๆจนต้นตะเคียนจวนเจียนจะขาดอยแู่ ลว้ มันกค็ อ่ ยๆเอนลงจะทบั บ้าน คนลาวก็ไปยืนโบกไม้โบกมอื รอ้ งตะโกนไปวา่ “ซ้ายหนอ่ ยๆ”ตน้ ตะเคยี นกล็ ม้ ลงทับหลังคาบ้านพงั ไปเรยี บร้อย คนลาวคิดบน่ อยูใ่ นใจว่า“เอะ๊ ! ทาํ ไมต้นตะเคยี นบา้ นเรานถ่ี ึงดอื้ ขนาดนี้ ทาํ ไมไม่เหมือนต้นตะเคยี นของคนไทยเลย ว่าง่ายเอาเสียมากๆ” ทีม่ า: http://www.nithan.in.th เรือ่ งนสี้ อนให้รู้วา่ การเข้าใจอะไรทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง หรือการทหี่ ลงเชื่อในสิง่ ทีผ่ ดิ ๆ จะนาํ มาซ่งึ ความ เสียหายหรอื ความหายนะไดฉ้ ะนน้ั กอ่ นทจ่ี ะเชอื่ ในอะไรก็ตาม ควรทีจ่ ะพจิ ารณา ไตร่ตรองใหร้ อบคอบ โดยใชห้ ลักของเหตุผลเป็นหลกั กอ่ น คมู่ 4อื 6ส่งเสริมแคลมู่ ะอืพสัฒ่งนเสารกมิิจแกรลระมพลฒั กู นเสาือกทจิ กั กษระรชมีวลติ กู ใเนสสือถทาักนษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษอื าสาลมูกัญเสรุ่นอื ใสหาญมญั่ เครรนุ่ อื่ ชใงหนั้ หญมมัธ่ายยมชลศน้ั ูกึกมเสษัธอื ายหปมลที ศว่ี 3ึกงษาปที ี่339
แบบประเมินโครงการรักษาสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียน แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 หนว่ ยที่ 2 สง่ิ แวดล้อม แผนการจดั กิจกรรมท่ี 5 รวมพลงั รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ชื่อหมู่ ................................................................................................................................... ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ 1. ช่อื โครงการ .......................................................................................................................... 2. ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติ โครงการ เมอ่ื วันท่ี ............ เดือน............................ พ.ศ. ............... สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลท่ัวไปเกยี่ วกบั โครงการ 1. วัตถปุ ระสงคข์ อง โครงการ .......................................................................................................................................... ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ 2. การดาํ เนินงาน ( ) ดาํ เนนิ งานสาํ เรจ็ แลว้ ( ) ยงั ไม่ไดด้ าํ เนินการ 3. ระยะเวลาดําเนินงานโครงการ .................................................................................................... 4. เปฺาหมาย (ระบุกจิ กรรม/คณุ ลกั ษณะท่ตี อ้ งการให้เกดิ ขนึ้ ระบุจาํ นวนหรอื หนว่ ย) 4.1 เปฺาหมาย .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ 4.2 ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ 5. ค่าใชจ้ า่ ยในการดําเนนิ โครงการ เงนิ งบประมาณได้รับการอนมุ ตั .ิ ..........................................บาท จ่ายจริง.........................................บาท 4ค0มู่ อื สง่ เสคชู่มรน้ั มิอืมสแธั ง่ยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพีทจิ ่ีฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมอื ลทกู ักเสษอื ะทชกัีวษิตะในชีวสิตถใานนสศถกึ าษนศาึกลษกู าเสปือรสะเาภมทัญลรกู ุ่นเสใือหสญา่มญั ชร้ันนุ่ มใธัหยญม่ ศเคึกรษื่อางหปมีทาี่ 3ยลกู เสือ4ห7ลวง
สว่ นที่ 3 การประเมนิ ผลงานของโครงการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 คะแนน หมายถงึ ประเมนิ แล้ว อยูใ่ นระดบั ตํ่ากวา่ 60% ปรบั ปรงุ 2 คะแนน หมายถงึ ประเมินแลว้ อยใู่ นระดบั 60 - 69% พอใช้ 3 คะแนน หมายถึง ประเมนิ แลว้ อยใู่ นระดบั 70 – 79 % ดี 4 คะแนน หมายถึง ประเมินแล้ว อยูใ่ นระดบั 80 % ขึน้ ไป ดมี าก กรุณาใสเ่ ครื่องหมาย ตามรายการทเี่ ห็นว่าเปน็ จรงิ หรอื เหมาะสม รายการประเมิน คะแนน 1234 1. ผลการดาํ เนนิ งาน / โครงการน้บี รรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งใด 2. ผลสาํ เร็จของงาน / โครงการนบี้ รรลุเปฺาหมายเพียงใด 3. งบประมาณหรอื คา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ ด้รับเหมาะสมเพยี งใด 4. วสั ดุ / อุปกรณท์ ่ีให้ในการปฏิบัตงิ านเหมาะสม หรอื เพยี งพอเพยี งใด 5. ความร่วมมอื ของผ้รู ่วมงานมากน้อยเพียงใด 6. โดยภาพรวมผลสัมฤทธข์ิ องโครงการอยู่ในระดบั ใด 7. ข้ันตอนการดาํ เนินงานเป็นไปตามกาํ หนดเวลาเพียงใด 8. งาน /โครงการนส้ี นองแผนการจดั กจิ กรรมรวมพลงั รกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มตามท่รี ะบุเพียงใด ผลรวม ค่าเฉลย่ี ( ผลรวมหาด้วย 8) คะแนนเฉล่ีย ต้ังแต่ 3.5 ขึ้นไป แสดงวา่ การดาํ เนินงาน / โครงการอยูใ่ นระดบั ดมี าก คะแนนเฉลีย่ ต้งั แต่ 2.5 – 3.4 ขนึ้ ไป แสดงว่า การดําเนนิ งาน / โครงการอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลย่ี ต้ังแต่ 1.5 – 2.4 ข้ึนไป แสดงว่า การดําเนนิ งาน / โครงการอยู่ในระดับพอใช้ คะแนนเฉลี่ย ตั้งแต่ 1.5 ข้ึนไป แสดงวา่ การดาํ เนินงาน / โครงการอย่ใู นระดับปรับปรุง สรุปผลการประเมนิ ภาพรวมของงาน / โครงการ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรบั ปรุง ข้อเสนอสาํ หรับการดาํ เนินการโครงการในคร้ังต่อไป ( ) ควรดาํ เนนิ การตอ่ ( ) ควรดําเนนิ การตอ่ แต่ต้องปรบั ปรุง ( ) ยกเลกิ การดาํ เนินงานในครง้ั ต่อไป ค4มู่ 8ือสง่ เสรมิคแู่มลือะสพ่งัฒเสนรามิ กแิจลกะรพรมฒั ลนูกาเสกอืจิ ทกักรรษมะชลีวูกิตเสในือสทถักาษนะศชกึ วี ษติ าในปสระถเาภนทศลึกกู ษเสาอื สลากู มเสญั ือรสุ่นาใมหญัญร่ เ่นุคใรห่อื ญงห่ มาชย้ันลมูกธั เสยือมหศลึกวษงาปีท่ี 3 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 41
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234