Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ม.3

ภาษาไทย ม.3

Published by nongjoy100, 2020-08-24 23:22:35

Description: การอ่าน
การเขียน
การฟัง การดู การพูด
หลักภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม
โดย ครูธิดาทิพย์ พวงศรี

Keywords: ภาษาไทยม

Search

Read the Text Version

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓

คาํ แนะนําในการใช้ PowerPoint - กดป่ มุ SlideShow ทแี่ ถบด้านบนหรือด้านล่าง - กดป่ มุ Esc ยกเลกิ คาํ ส่ังหรือออกจาก Slide Show - กดป่ มุ ลูกศรหรือคลกิ ส่วนใดในหน้า Slide เพอ่ื เลอ่ื นไปหน้าถดั ไป

คาํ แนะนําในการใช้ PowerPoint กดป่ มุ นี้ กลบั ไปหน้าสารบญั (Contents) กดป่ มุ นี้ ฟังคลปิ เสียง (Audio Clip) [การกดป่ ุม ต้องกดให้โดนรูปลาํ โพง เพราะถ้าคลกิ ไปโดนแถบเลอื่ นช่วงการฟัง อาจทาํ ให้เสียงไม่ได้ เริ่มต้นทจ่ี ุดเร่ิมต้น] PowerPoint นี้ เหมาะสําหรับคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ช้โปรแกรม Microsoft Office 2010 การใช้เวอร์ช่ันอน่ื ๆ หรือ เวอร์ชั่นทต่ี าํ่ กว่า คุณสมบัตบิ างอย่างอาจทาํ งานไม่สมบูรณ์

สารบัญ ๑ตอนที่ การพฒั นาทกั ษะการอ่าน ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี การออกเสียง การอ่านในชีวติ ประจําวัน ๒หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี การอ่านวนิ ิจฉัยสาร ๒ตอนท่ี การพฒั นาทกั ษะการเขยี น ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี การเขยี นเพอื่ การส่ือสาร ๓ตอนท่ี การพฒั นาทกั ษะการเขยี น ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ การพูดในโอกาสต่างๆ ๔ตอนที่ การพฒั นาทกั ษะการเขยี น ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ การใช้คาํ ในภาษาไทย ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี การวิเคราะห์ภาษา การเขยี นเพอ่ื การสื่อสาร ๑

ตอนที่ ๑ การพฒั นาทกั ษะการอ่าน ๑. การอ่านออกเสียง ๒.การอ่านจบั ใจความ ๓. การอ่านวนิ ิจสาร

๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี การออกเสียง ๑ ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การอ่าน ทักษะการสื่อสารของมนุษย์ประกอบไปด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน การฟังและการอ่านเป็ นทกั ษะที่จาํ เป็ นสําหรับมนุษยใ์ นการสื่อสารเพื่อศึกษาหา ความรู้เพ่ิมเติม การฟังเป็ นทกั ษะซ่ึงอาจมีขอ้ จาํ กดั เรื่องเวลา สถานท่ีและความคงทนของสาร ส่วนการอ่านเป็นทกั ษะที่สาํ คญั ในการแสวงหาความรู้ ท้งั น้ีดว้ ยส่ือท่ีใชส้ าํ หรับการอ่านมีความ คงทนมากกวา่ ไม่มีขอ้ จาํ กดั เร่ืองเวลาและสถานท่ี ดงั น้นั จึงถือไดว้ า่ ทกั ษะการอ่านมีความเป็น และมีความจําเป็ นสําคัญสําหรับผูท้ ี่ต้องการแสวงหาความรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสําหรับนกั เรียน นกั ศึกษา เพราะความสาํ เร็จทางการศึกษาย่อมข้ึนอยู่กบั ความสามารถและพ้ืนฐานทางการอ่านที่ดี

๑.๑ ความหมายและความสาํ คญั การอ่าน คือ กระบวนการรับรู้และเขา้ ใจสารที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร จากน้นั จึงแปลสญั ลกั ษณ์อกั ษรเหล่าน้นั เป็นความรู้ การอ่านส่วนที่เป็ นเน้ือหาสาระ คือ ขอ้ เท็จจริง และส่วนที่เป็ นอารมณ์ ความรู้สึก จาํ เป็นตอ้ งอาศยั การฝึกฝนทกั ษะและประสบการณ์ในการตีความ

ความสาํ คญั ของการอ่าน • สญั ลกั ษณ์อกั ษร เป็นความรู้ที่อาศยั ทกั ษะการอ่าน กระบวนการคิด ประสบการณ์ และความรู้ของผอู้ ่าน • ผอู้ ่านสามารถแสดงความคิดเห็นที่มีต่อเรื่องที่อ่าน ท้งั ในลกั ษณะเห็นดว้ ย คลอ้ ย ตามหรือโตแ้ ยง้ • ผอู้ ่านสามารถรับรู้ทรรศนะ เจตนา อารมณ์และความรู้สึกที่ผเู้ ขียนถ่ายทอดมาใน สาร ซ่ึงสิ่งท่ีไดร้ ับจากการอ่านในแต่ละคร้ังจึงมีท้งั ส่วนท่ีเป็นเน้ือหาสาระ คือ ขอ้ เทจ็ จริง และส่วนที่เป็นอารมณ์ความรู้สึก หรือทรรศนะของผเู้ ขียน

๑.๒ ระดบั ของการอ่าน ระดบั ของการอ่านแบ่งเป็น ๒ ระดบั คือ • อ่านได้ • อ่านเป็น การรับรู้จากการอ่านโดยท่ัวไปเริ่มจากระดับท่ีเรียกว่า อ่านได้ คือ สามารถแปลความหมาย รับรู้สารผา่ นตวั อกั ษร ส่วนในระดบั อ่านเป็ น คือ ผูอ้ ่านจะสามารถจบั ใจความสําคญั แนวคิด ของเรื่อง ความหมายแฝง หรือความหมายท่ีไดจ้ ากการตีความ สามารถประเมินค่า ของสารท่ีอ่านได้

๑.๓ จุดประสงคข์ องการอ่าน ๑) อ่านเพ่ือการเขียน ๒) อ่านเพ่ือหาคาํ ตอบ ๓) อา่ นเพื่อปฏิบตั ิตาม ๔) อ่านเพื่อหาความรู้หรือสะสมความรู้ ๕) อา่ นเพ่ือความบนั เทิง ๖) อ่านเพ่ือรู้ขา่ วสาร ๗) อ่านเพื่อแกป้ ัญหา

๑) อ่านเพอื่ การเขียน อ่านเพ่ือการเขียนคือ การอ่านเพื่อนาํ ความรู้มาใชใ้ นการเขียน เช่น เรียงความ บทความ สารคดี ฯลฯ ซ่ึงผูอ้ ่านควรวิเคราะห์ความ ถูกตอ้ งของขอ้ มูล คดั เลือกขอ้ มูลที่เหมาะสมนาํ ไปใชเ้ ขียนหรืออา้ งอิง เช่น การอ่านหนังสือเร่ือง วฏั จกั รชีวิตของกบ เพ่ือนําขอ้ มูลมาเขียน รายงานวชิ าวทิ ยาศาสตร์

๒) อ่านเพอื่ หาคาํ ตอบ อ่านเพ่ือหาคาํ ตอบคือ การอ่านเพ่ือตอ้ งการคาํ ตอบสาํ หรับประเด็น คาํ ถามหน่ึงๆ จากแหล่งคน้ ควา้ และเอกสารประเภทต่างๆ เพ่ิมพูนความรู้ ให้แก่ตนเอง เช่น การอ่านหนงั สือวิชาฟิ สิกส์ เพื่อหาคาํ ตอบเก่ียวกบั สาเหตุ การเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ

๓) อ่านเพ่อื ปฏิบตั ิตาม อ่านเพื่อปฏิบัติตามคือ การอ่านเพ่ือทําตามคําแนะนําใน ข้อความหรือหนังสือที่อ่าน เช่น การอ่านฉลากยา เพื่อดูคาํ แนะนํา เกี่ยวกับการใช้ยา หรือการอ่านตาํ ราอาหาร ที่มีการอธิบายข้ันตอน วิธีการทํารวมถึงเคร่ื องปรุงส่วนผสมโดยละเอียด ซ่ึงการอ่านด้วย วตั ถุประสงค์ดังกล่าวน้ี ผูอ้ ่านจะต้องทาํ ความเข้าใจรายละเอียดทุก ข้นั ตอนเพ่ือสามารถปฏิบตั ิตามได้

๔) อ่านเพื่อหาความรู้ อ่านเพื่อหาความรู้หรือสะสมความรู้ คือ การอ่านเพ่ือเพ่ิมพูน ประสบการณ์ ความรู้ โดยทาํ ไดท้ ้งั ผอู้ ่านท่ีเป็น นกั เรียน นกั ศึกษา หรือบุคคล ทวั่ ไป และไม่จาํ เป็ นตอ้ งมีโอกาส หรือกาลเทศะ มากาํ หนดให้ตอ้ งอ่าน ซ่ึง การอ่านในแต่ละคร้ังควรเก็บและเรียบเรียงประเด็นสาํ คญั ของเร่ืองท่ีอ่านไว้ เป็ นคลงั ความรู้สาํ หรับนาํ มาใชอ้ า้ งอิงในภายหลงั เช่น การอ่านหนังสือทาง วชิ าการ

๕) อ่านเพื่อความบนั เทิง อ่านเพ่ือความบนั เทิงคือ การอ่านตามความพอใจของผอู้ ่าน ซ่ึงผอู้ ่านจะไดร้ ับความเพลิดเพลิน นอกจากน้ียงั สามารถช่วยยกระดบั จิตใจ ช่วยใหเ้ กิดความสุข ผอ่ นคลาย คลายความทุกขใ์ จ และบางคร้ัง ผูอ้ ่านอาจได้ข้อคิดหรือแนวทางในการใช้ชีวิต เช่น การวารสาร อ่านนวนิยาย นิตยสาร เป็นตน้

๖) อ่านเพอ่ื รู้ข่าวสาร อ่านเพ่ือรู้ข่าวสาร คือ การอ่านเพื่อศึกษา รับรู้ความเป็ นไปของโลก และพฒั นาความรู้ของตนเอง เช่น การอ่านข่าว นิตยสาร วารสาร เป็นตน้

๗) อ่านเพอ่ื แกป้ ัญหา อ่านเพ่ือแกป้ ัญหาคือ การอ่านเพื่อหาคาํ ตอบ หรือแนวทาง การแกป้ ัญหาเรื่องใดเร่ืองหน่ึง เช่น การอ่านพจนานุกรม เพื่อแกป้ ัญหา เกี่ยวกบั คาํ ศพั ท์ ความหมาย การสะกดการันต์ท่ีถูกตอ้ ง หรือการอ่าน หนงั สือแนะนาํ การเดินทาง แผนท่ี เป็นตน้

๑.๔ ประเภทของการอ่าน การอ่านแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ๑) การอ่านออกเสียง ๒) การอ่านในใจ

การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง คือ การอ่านหนังสือโดยที่ผูอ้ ่านเปล่งเสียง ออกมาดงั ๆ ในขณะท่ีอ่าน โดยมีจุดมุ่งหมายต่างๆ เช่น เพื่อสร้างความ บนั เทิง เพ่ือถ่ายทอดข่าวสาร เพื่อประกาศ เพ่ือรายงานหรือเพื่อแถลง นโยบาย ดงั น้นั การอ่านออกเสียง จึงเป็นการแปลรูปสัญลกั ษณ์หรืออกั ษร ออกเป็ นเสียง จากน้นั จึงแปลสัญญาณเสียงเป็ นความหมาย ซ่ึงผอู้ ่านตอ้ ง ระมดั ระวงั การออกเสียงท้งั เสียง “ร” “ล” คาํ ควบกลา้ การสะกด จงั หวะ ลีลา และการเวน้ วรรคตอนใหถ้ กู ตอ้ งไพเราะเหมาะสม

การอ่านในใจ การอ่านในใจ คือ การทาํ ความเขา้ ใจสัญลกั ษณ์ท่ีบนั ทึกไวเ้ ป็ น ลายลักษณ์อักษร รวมถึงรู ปภาพและเคร่ื องหมายต่างๆ ออกเป็ น ความหมายโดยใชส้ ายตาทอดไปตามตวั อกั ษรหรือสัญลกั ษณ์แลว้ จึงใช้ กระบวนการคิด แปลความหมาย ตีความ เพ่ือรับสารของเรื่องน้นั ๆตาราง แสดงข้นั ตอนการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ

๑.๕ มารยาทในการอ่านออกเสียง การอ่าน คือ เคร่ืองมือสาํ คญั ในการศึกษาหาความรู้และเพิม่ พนู ประสบการณ์ในดา้ นต่างๆ

ผอู้ ่านท่ีดีตอ้ งมีมารยาทหรือขอ้ ควรประพฤติปฏิบตั ิในการอ่านออกเสียง ดงั น้ี ๑. การใชน้ ้าํ เสียง คือควรพิจารณา ใชน้ ้าํ เสียงให้สอดคลอ้ ง เหมาะสม กบั เน้ือหา ไม่ควรดดั เสียงจนฟังไม่ เป็ นธรรมชาติ ๒. มีบุคลิกภาพที่ดี คือการจัด ระเบียบท่ายนื หรือนงั่ ใหเ้ หมาะสม ไม่หลุกหลิก และไม่ควรยกร่าง ขอ้ ความข้ึนมาใหผ้ ฟู้ ังเห็น หรือกม้ หนา้ กม้ ตาอ่านจนไม่สนใจผฟู้ ัง

ผอู้ ่านที่ดีตอ้ งมีมารยาทหรือขอ้ ควรประพฤติปฏิบตั ิในการอ่านออกเสียง (ต่อ) ๓. สังเกตปฏิ กิ ริ ยาของผู้ฟั งว่า สามารถทาํ ความเขา้ ใจเร่ืองราวตาม ผอู้ ่านทนั หรือไม่ ผฟู้ ังใหค้ วามสนใจ มากน้อยเพียงไร จึงปรับเพิ่ม - ลด ความเร็วในการอ่าน ลีลาน้ําเสียง เพื่อดึงให้ผูฟ้ ังกลบั มามีส่วนร่วมกบั ผอู้ ่าน ๔. ไม่ควรแสดงอารมณ์ โมโห หงุดหงิด ฉุนเฉียว หรือใชถ้ อ้ ยคาํ ไม่ สุภาพ ว่ากล่าวตกั เตือน เม่ือเห็นว่า ผฟู้ ังไม่สนใจ

๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ร้อยแก้ว หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยในรูปแบบการบรรยาย พรรณนา เทศนา สาธกหรือ อุปมาโวหาร รวมถึงบทพูด บทสนทนา บท สัมภาษณ์ ประกาศหรือข่าวสารต่างๆ ดงั น้นั ร้อยแกว้ จึงเป็ นความเรียงที่เรียบ เรียงข้ึนโดยไม่มีการบงั คบั สมั ผสั ฉนั ทลกั ษณ์

การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านหนงั สือโดยการท่ีผอู้ ่านเปล่ง เสียงออกมาดังๆในขณะท่ีอ่าน โดยมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกัน เช่น เพ่ือถ่ายทอด ความรู้ เพ่ือสร้างความบนั เทิงและความพอใจ ซ่ึงการอ่านออกเสียงในแต่ละคร้ังอาจมี จุดมุ่งหมายหลายๆ ประการรวมกนั หรือมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ เช่น การอ่านประกาศ รายงาน แถลงการณ์

๒.๑ แนวทางการอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ เบ้ืองตน้ ความเรียงท่ีเขียนในลกั ษณะร้อยแกว้ มีอยหู่ ลายประเภท ซ่ึงอาจจะทาํ ใหล้ ีลาใน การอ่านแตกต่างกนั ออกไป แต่กอ็ าศยั หลกั เกณฑท์ ี่ไม่แตกต่างกนั ดงั น้ี ๑. ผอู้ ่านตอ้ งอ่านใหถ้ ูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ีในภาษา ท้งั ภาษาไทยและภาษาที่ยมื มาจากภาษาอื่นๆ เช่น บาลี สนั สกฤต เขมร ฯลฯ โดยอาศยั หลกั การอ่านจาก พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน รวมท้งั คาํ ที่อ่านตามความนิยม ๒.อ่านตอ้ งมีสมาธิและความมนั่ ใจในการอ่าน ไม่อ่านผดิ อ่านตก อ่านเติม ขณะ อ่านตอ้ งควบคุมสายตาใหไ้ ล่ไปตามตวั อกั ษรทุกตวั ในแต่ละบรรทดั จากซา้ ยไป ขวาดว้ ยความรวดเร็ว วอ่ งไวและรอบคอบ แลว้ ยอ้ นสายตากลบั ลงไปยงั บรรทดั ถดั ไปอยา่ งแม่นยาํ

๓. ผอู้ ่านควรอ่านใหเ้ ป็นเสียงพดู โดยเนน้ เสียงหนกั เบา สูง ต่าํ ตามลกั ษณะการพดู ท้งั น้ี ใหใ้ ชเ้ น้ือหาสาระของบทอ่านเป็นหลกั รวมท้งั ควรพิจารณาเน้ือความวา่ เป็นไป ในทางใด เช่น ต่ืนเตน้ โกรธ ผดิ หวงั ฯลฯ ควรใชน้ ้าํ เสียงใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะ อารมณ์ตามเน้ือหาในเร่ือง ๔. ผอู้ ่านตอ้ งอ่านใหเ้ สียงดงั พอสมควร ไม่ตะโกนหรือแผว่ เบาจนเกินไป ซ่ึงจะทาํ ให้ ผฟู้ ังเกิดความรําคาญและไม่สนใจ

๕. เม่ืออ่านจบยอ่ หนา้ หน่ึงควรผอ่ นลมหายใจ และเม่ือข้ึนยอ่ หนา้ ใหม่ควรเนน้ เสียง และ ทอดเสียงใหช้ า้ ลงกวา่ ปกติเลก็ นอ้ ยเพ่อื ดึงดูดความสนใจจากผฟู้ ัง จากน้นั จึงใชเ้ สียง ในระดบั ปกติ ๖. อ่านใหถ้ ูกจงั หวะวรรคตอน ตอ้ งอ่านใหจ้ บคาํ และไดใ้ จความ ถา้ เป็นคาํ ยาวหรือคาํ หลายพยางค์ ไม่ควรหยดุ กลางคาํ หรือตดั ประโยคจนเสียความ ๗. รู้จกั เนน้ คาํ ท่ีสาํ คญั และคาํ ตอ้ งการเพ่ือใหเ้ กิดจินตภาพตามท่ีตอ้ งการ การเนน้ ควรเนน้ เฉพาะคาํ ไม่ใช่ท้งั วรรคหรือท้งั ประโยค เช่น “กล่ินของดอกไมน้ ้นั หอมหวน ยงิ่ กวา่ กล่ินใดๆ ท่ีเคยไดส้ มั ผสั ” ควรเนน้ ที่คาํ วา่ หอมหวนเพื่อใหผ้ ฟู้ ังจินตนาการถึงดอกไม้ นานาพนั ธุ์ที่ส่งกลิ่นหอมและเป็นกลิ่นหอมท่ีไม่เหมือนกลิ่นหอมอ่ืนใดที่เคยสมั ผสั

๘. เม่ืออ่านขอ้ ความที่มีเครื่องหมายวรรคตอนกาํ กบั ควรอ่านใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษา เช่น โปรดเกลา้ ฯ ตอ้ งอ่านวา่ โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม, ทุกวนั ๆ อ่านวา่ ทุกวนั ทุกวนั ส่วนคาํ ท่ีใชอ้ กั ษรยอ่ ตอ้ งอ่านใหเ้ ตม็ คาํ เช่น พ.ศ. อ่านวา่ พดุ -ทะ-สกั -กะ- หราด, ผบ.ทบ. อ่านวา่ ผบู้ ญั ชาการ ทหารบก โดยการฝึกอ่านตามเครื่องหมายที่กาํ หนด ดงั น้ี / เวน้ วรรคเลก็ นอ้ ยเพ่อื หยดุ หายใจ // เวน้ วรรคเม่ืออ่านจบขอ้ ความหลกั ___ แสดงคาํ ท่ีเนน้ เสียงหนกั ... ทอดเสียง

ข้อควรระวงั ๑. ไม่เวน้ วรรคระหวา่ งประธาน กริยาและกรรม ท้งั ไม่เวน้ วรรคระหวา่ งคาํ เช่ือม ๒. หากประธานเดิมมีคาํ กริยาหลายตวั กริยาตวั ต่อๆ ไปใหเ้ วน้ วรรคไดบ้ า้ ง ๒.๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ประเภทบทความ ๑) การอ่านบทความทว่ั ไป บทความ คือ ความเรียงท่ีผเู้ ขียนนาํ เสนอ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั เร่ืองราวหรือองคค์ วามรู้ต่างๆ สู่ผอู้ ่าน ซ่ึงอาจมีการแสดงทรรศนะ ขอ้ คิดเห็นของผเู้ ขียน บทความสามารถแบ่งไดห้ ลายประเภทตามเน้ือหาที่นาํ เสนอ เช่น บทความ วชิ าการ บทความท่องเที่ยว บทความแสดงความคิดเห็นในเร่ืองราวต่างๆ ดงั น้นั ผอู้ ่าน ตอ้ งจบั ประเดน็ บทความท่ีอ่านใหไ้ ดว้ า่ เน้ือหาตอนใดเป็นขอ้ เทจ็ จริง ตอนใดเป็น ขอ้ คิดเห็น ฯลฯ

๓.การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ร้อยกรองหมายถึง คาํ ประพนั ธ์ท่ีแต่งโดยมีการบงั คบั จาํ นวนคาํ สัมผสั ฉนั ทลกั ษณ์ ตามแบบแผนของร้อยกรองแต่ละประเภท ไดแ้ ก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย เป็นตน้ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหมายถึง การอ่านออกเสียงงานเขียนร้อย กรองประเภทต่างๆ เพื่อสื่อเน้ือหาและอารมณ์ความรู้สึกที่ปรากฏไปสู่ผรู้ ับสาร ดว้ ยท่วงทาํ นองที่แตกต่างกนั การอ่านทาํ นองเสนาะหมายถึง การอ่านออกเสียง บทร้อยกรองประเภทต่างๆ ตามทาํ นองลีลาและจงั หวะของบทประพนั ธ์ เพื่อให้ ผอู้ ่าน ผฟู้ ังเขา้ ถึงความงดงามของภาษา การอ่านทาํ นองเสนาะบทร้อยกรองจะมี ความแตกต่างกนั ตามทาํ นอง ลีลา การทอดเสียงและความสามารถของผอู้ ่าน

๓.๑ แนวทางการอ่านบทร้อยกรองเบ้ืองตน้ ๑) ตอ้ งรู้จกั ฉนั ทลกั ษณ์ หรือลกั ษณะบงั คบั ของร้อยกรองประเภทต่างๆ ท่ีจะอ่าน เช่น การบงั คบั เอก โท ครุ ลหุ เสียงวรรณยกุ ตท์ า้ ยวรรค และพยางคห์ รือคาํ ท่ีบรรจุลงใน วรรคหน่ึงๆ ๒) ตอ้ งรู้จกั ทาํ นองลีลาและการเอ้ือนเสียงของบทร้อยกรองแต่ละประเภทใหถ้ กู ตอ้ ง รวมถึงตอ้ งรู้จกั วางจงั หวะสมั ผสั ท่ีคลอ้ งจองกนั ของบทกวใี หถ้ กู ตอ้ งตามตาํ แหน่งใหล้ ง สมั ผสั และรู้จงั หวะการเอ้ือนเสียงเพือ่ ทอดจงั หวะสาํ หรับอ่านในบทถดั ไป ๓) ตอ้ งรู้จกั เอ้ือนเสียงตามชนิดของคาํ ประพนั ธ์น้นั ๆ โดยลากเสียงชา้ ๆ เพือ่ ใหเ้ ขา้ จงั หวะและไวห้ างเสียงใหไ้ พเราะ แต่ท้งั น้ีตอ้ งไม่เอ้ือนเสียงท่ีคาํ ลหุเน่ืองจากเป็นคาํ ที่มีเสียง ส้นั และเบา ๔) ตอ้ งรู้จกั อ่านรวบคาํ หรือพยางคท์ ี่เกินจากท่ีกาํ หนดไวใ้ นฉนั ทลกั ษณ์ โดยอ่าน ใหเ้ ร็วข้ึนและเสียงใหเ้ บาลงกวา่ ปกติจนกวา่ จะถึงคาํ หรือพยางคท์ ่ีตอ้ งการจึงลงเสียงหนกั

๕) ตอ้ งรู้จกั อ่านคาํ ให้ถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี ไม่ผิดสระ ผิดพยญั ชนะ หรือวรรณยกุ ต์ เช่น ไก่ เป็ น ก่าย ครู เป็ น คู ข่อน เป็ น ค้อน นอกจากน้ี ควรอ่านออกเสียง พยญั ชนะ /จ/ฉ/ช/ถ/ท/ธ/ศ/ษ/ส/ เป็ นต้น ให้ชัดเจนถูกต้องตามอักขรวิธีใน ภาษาไทย โดยไม่อ่านเป็ นเสียงเสียดแทรกมากเกินไปตามภาษาองั กฤษ และควร อ่านออกเสียงพยญั ชนะ /ร/ล/ คาํ ควบกล้าํ ร/ล/ว ให้ชดั เจน เพราะอาจทาํ ให้ผฟู้ ัง เขา้ ใจความหมายคลาดเคลื่อน และไม่ไพเราะ ๖) รู้จกั ใส่อารมณ์ ความรู้สึกลงในคาํ ประพนั ธ์ท่ีอ่าน ซ่ึงหมายความว่า ผอู้ ่านตอ้ งทาํ ความเขา้ ใจความหมายที่แทจ้ ริงของบทประพนั ธ์และสื่อไปยงั ผูฟ้ ังให้ตรงตาม เจตนาที่แทจ้ ริง ๗) พยายามไม่อ่านฉีกคาํ หรือฉีกความ โดยใส่ใจเฉพาะเป็ นตาํ แหน่งคาํ สัมผสั แต่ ประการ เดียว เพราะหากอ่านฉีกคาํ หรือฉีกขอ้ ความแลว้ อาจทาํ ให้เน้ือความ เสียไปหรือผฟู้ ังเขา้ ใจความหมายคลาดเคล่ือนได้

๓.๒ การอ่านบทร้อยกรอง การฝึ กอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ในท่ีน้ีจะยกตวั อยา่ ง ๖ ประเภท คือ กลอน สุภาพ กลอนบทละคร กลอนเสภา โคลงสี่สุภาพ กาพยย์ านี ๑๑ และกาพยฉ์ บงั ๑๖ ดงั น้ี ๑) กลอนสุภาพ คือ กลอนท่ีพฒั นามาจากกลอนเพลงยาวที่พบหลกั ฐานวา่ เร่ิมมี มาต้งั แต่คร้ังปลายกรุงศรีอยธุ ยา กลอนสุภาพ ๑ บท มี ๔ วรรค วรรคละ ๗ - ๙ คาํ จึง ทาํ ใหม้ ีการอ่านในแต่ละวรรคสามารถแบ่งคาํ ไดเ้ ป็ น ๒ / ๒ / ๓ หรือ ๒ / ๓ / ๓ หรือ ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ เป็นตน้ ซ่ึงกลอนในยคุ แรกยงั จดั ระบบการส่งสมั ผสั บงั คบั ระหว่างวรรคไม่ค่อยลงตวั เช่น “จะกล่าวถึง/กรุงศรีอยธุ ยาอนั เป็ นกรุงรัตนราช/พระ ศาสนามหาดิลก/อนั เลิศล้น”รวมถึงยงั ไม่มีการกาํ หนดเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค เหมือนกลอนในยคุ หลงั ภายหลงั สุนทรภู่ปรับรูปแบบการประพนั ธ์กลอนใหล้ งตวั มาก ข้ึน และนิยมใหก้ ลอนแต่ละวรรคมีเพียง ๘ คาํ และมีสมั ผสั ใน ๒ คู่ คือคาํ ที่ ๓ กบั คาํ ท่ี ๔ คาํ ที่ ๕ กบั คาํ ท่ี ๖ หรือ ๗ จึงทาํ ใหก้ ารจดั จงั หวะการอ่านลงตวั เป็น ๓ / ๒ / ๓

หากแต่มีขอ้ ควรระมดั ระวงั คือตอ้ งไม่อ่านฉีกคาํ นอกจากน้ีกลอนแบบสุนทรภู่ ยงั จดั ระเบียบการส่งสัมผสั ระหว่างวรรคไดล้ งตวั คือ ทาํ ให้คาํ สุดทา้ ยของวรรคที่ ๑ และ ๓ ส่ง สัมผสั ไปยงั คาํ ที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ และ ๔ โดยอาจอนุโลมใหส้ ่งไปยงั คาํ ที่ ๕ ไดร้ วมถึงมีการ วางระเบียบบงั คบั เสียงวรรณยุกต์ทา้ ยวรรค โดยทา้ ยวรรคท่ี ๑ เป็ นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ (ยกเวน้ เสียงสามญั ) วรรคที ◌่ ๒ เป็ นเสียงวรรณยกุ ตจ์ ตั วา (อนุโลมให้เป็ นเสียงเอกได)้ ส่วน วรรคที่ ๓ - ๔ ใหล้ งทา้ ยวรรคดว้ ยเสียงสามญั ซ่ึงเรียกกลอนท่ีมีการบงั คบั เสียงวรรณยกุ ตแ์ บบ น้ีวา่ “กลอนสุภาพ” การอ่านทาํ นองเสนาะบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพใหม้ ีความไพเราะ นอกจากผอู้ ่านจะตอ้ งอ่านใหถ้ กู ทาํ นองกลอนออกเสียงตวั ร, ล คาํ ควบกลา้ และเสียงวรรณยกุ ต์ ให้ถูกต้องแล้ว การแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้องเป็ นปัจจัยสําคัญ จากตัวอย่างกําหนดให้ เคร่ืองหมาย / เป็นตวั แบ่ง จาํ นวนคาํ ภายในวรรค การจดั จงั หวะหายใจก่อนจะอ่านต่อไป แต่เน่ืองจากกลอน สุภาพวรรคหน่ึงมีจาํ นวนคาํ ไดต้ ้งั แต่ ๗ - ๙ จึงอาจจดั จงั หวะการอ่านไดเ้ ป็น ๓ / ๒ / ๓ (๘ คาํ ) ๓ / ๓ / ๓ (๙ คาํ ) ๒ / ๒ /๓ (๗ คาํ ) แต่สิ่งสาํ คญั ตอ้ งพจิ ารณาท่ีเน้ือความเป็นหลกั ตอ้ ง ไม่ฉีกคาํ จะทาํ ใหเ้ สียความ

๒) กลอนบทละครคือคาํ กลอนท่ีแต่งข้ึนเพื่อแสดงละครรําเช่น บทพระราชนิพนธ์ บทละครเรื่องรามเกียรต์ิ กลอนบทละครมีลกั ษณะบงั คบั เช่นเดียวกบั กลอนสุภาพ บทหน่ึง มี ๒ บาท หรือ ๔ วรรค วรรคละ ๖ - ๙ คาํ แต่นิยมใชเ้ พียง ๖ - ๗ คาํ เพ่ือให้เขา้ จงั หวะร้อง และรําทาํ ให้ไพเราะยิ่งข้ึน กลอนบทละครมกั จะข้ึนตน้ ดว้ ยคาํ ว่า “เมื่อน้นั ” สาํ หรับตวั ละครท่ีเป็นกษตั ริย์ “บดั น้นั ” สาํ หรับเสนาหรือคนทวั่ ไป “มาจะกล่าวไป” ใชส้ าํ หรับนาํ เรื่องเกร่ินเรื่องการอ่านทาํ นองเสนาะบทร้อยกรองประเภทกลอนบทละครให้ยึดหลกั ปฏิบตั ิเช่นเดียวกบั กลอนสุภาพ คือ ใชเ้ ครื่องหมาย / เป็ นตวั แบ่งจาํ นวนคาํ ภายในวรรค โดยการแบ่งจาํ นวนคาํ เป็ น ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ ตามความเหมาะสมของเน้ือความ ซ่ึงส่ิงที่สําคัญในการอ่านกลอนบทละคร คือ การใส่อารมณ์ความรู้สึกลงไปในบท ประพนั ธ์เพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตวั ละครไปยงั ผฟู้ ัง

๓) กลอนเสภา คือกลอนลาํ นาํ สาํ หรับขบั ใชท้ าํ นองขบั ไดห้ ลายทาํ นอง เช่น เสภาไทย เสภาลาว เสภามอญ มีกรับเป็นเคร่ืองประกอบสาํ คญั ผขู้ บั จะตอ้ งขยบั กรับ ให้เขา้ กบั ทาํ นอง แต่เดิมนิยมขบั เป็ นเร่ืองราว นิยมขบั เรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน กากี เป็ น ต้น กลอนเสภามีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับกลอนสุภาพการอ่านบทร้อยกรอง ประเภทกลอนเสภา ดว้ ยเหตุที่กลอนเสภาใชป้ ระกอบการขบั จึงทาํ ให้มีจาํ นวนคาํ วรรคละ ๗ - ๙ คาํ ข้ึนอยกู่ บั จงั หวะการเอ้ือนลากเสียงของผขู้ บั หรือผแู้ ต่งแต่ละคนจึง ทาํ ให้การอ่านในแต่ละวรรคสามารถแบ่งคาํ ไดเ้ ป็ น ๒ / ๒ / ๓ หรือ ๒ / ๓ / ๓ หรือ ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ เป็นตน้

๔) โคลงสี่สุภาพ เป็ นโคลงท่ีนิยมแต่งมากท่ีสุดในคาํ ประพนั ธ์ประเภทโคลง ท้งั หมด โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มีจาํ นวนคาํ ต้งั แต่ ๓๐ - ๓๔ คาํ บทหน่ึงมี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค ซ่ึงบาทท่ี ๑ – ๓ มีบาทละ ๗ คาํ (วรรคหนา้ ๕ คาํ วรรคหลงั ๒ คาํ และอาจเพิ่ม คาํ สร้อยในทา้ ยบาท ๑ กบั ๓ ไดว้ รรคละ ๒ คาํ ) ส่วนบาทสุดทา้ ยมี ๙ คาํ (วรรคหนา้ ๕ คาํ วรรคหลงั ๔ คาํ ) และยงั มีการบงั คบั ตาํ แหน่งคาํ เอก - โท โดยบงั คบั คาํ เอก ๗ คาํ คาํ โท ๔ คาํ การอ่านทาํ นองเสนาะบทร้อยกรองประเภทโคลง นอกจากผูอ้ ่านจะตอ้ ง ตระหนกั ในเร่ืองเสียง สาํ เนียง อารมณ์และเทคนิคการทอดเสียงแลว้ ผอู้ ่านจะตอ้ งมี ความมนั่ ใจในจงั หวะและทาํ นอง โดยใช้เคร่ืองหมาย / แบ่งจงั หวะการอ่านภายใน วรรคเพ่ือเพิ่มความไพเราะและผอ่ นลมหายใจ การแบ่งจงั หวะในโคลง ถา้ วรรคใดมีคาํ ๕ คาํ จะแบ่งจงั หวะเป็ น ๓ / ๒ หรือ ๒ / ๓ หรือ ๑/๔ โดยให้พิจารณาจากความหมาย ของคาํ เป็ นหลกั วรรคที่มี ๔ คาํ จะแบ่งจงั หวะเป็ น ๒ / ๒ วรรคที่มี ๒ คาํ ไม่ตอ้ งแบ่ง จงั หวะหากในวรรคมีจาํ นวนพยางค์มากกว่าจาํ นวนคาํ ตอ้ งพิจารณารวบพยางค์ให้ จงั หวะไปตกตรงพยางคท์ า้ ยของคาํ ที่ตอ้ งการ โดยอ่านรวบคาํ ใหเ้ ร็วและเบา

๕) กาพยย์ านี ๑๑ คือคาํ ประพนั ธ์ท่ีมีการบงั คบั สัมผสั ต่างจากกลอน คือมี สมั ผสั บงั คบั คูเ่ ดียว คาํ สุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ ส่งสมั ผสั ไปยงั คาํ สุดทา้ ยของวรรคท่ี ๓ และไม่มีการบงั คบั เอก - โท ครุ - ลหุ แบบโคลงและฉันท์ โดยยงั ไม่สามารถหา ขอ้ สรุปไดว้ า่ กาพยเ์ ป็ นคาํ ประพนั ธ์ด้งั เดิมของไทยหรือรับมาจากชาติอื่น แต่มกั นิยม เช่ือกนั วา่ กาพย์ คือ การแต่งฉนั ทท์ ่ีไม่มีการบงั คบั ครุ- ลหุ กาพยย์ านี ๑๑ เป็นกาพยท์ ่ี นิยมแต่งกันมากที่สุดแบบหน่ึง มักใช้สําหรับการพรรณนาความท่ัวไป เช่น ธรรมชาติหรือบรรยายเหตุการณ์ หน่ึงบทมี ๒ บาท บาทละ ๑๑ คาํ คือ วรรคหนา้ ๕ คาํ วรรคหลงั ๖ คาํ การแบ่งจงั หวะการอ่านกาพยย์ านี ๑๑ จะใชเ้ ครื่องหมาย / แบ่ง จงั หวะการอ่านภายในวรรค โดยวรรคท่ีมี ๕ คาํ จะแบ่งเป็ น ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๒ ข้ึนอยกู่ บั เน้ือความ วรรคท่ีมี ๖ คาํ จะแบ่งจงั หวะเป็น ๓ / ๓

๖) กาพยฉ์ บงั ๑๖เป็นกาพยท์ ่ีใชส้ าํ หรับการพรรณนาความงามของธรรมชาติการ เดินทางหรือการต่อสู้ ซ่ึงกาพยฉ์ บงั ๑๖ หน่ึงบท มี ๑๖ คาํ แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคที่ ๑ และ ๓ มี ๖ คาํ ส่วนวรรคที่ ๒ มี ๔ คาํ การแบ่งจงั หวะการอ่านกาพยฉ์ บงั ๑๖ จะ ใชเ้ ครื่องหมาย / แบ่งจงั หวะการอ่านภายในวรรคโดยวรรคท่ีมี ๖ คาํ จะแบ่งเป็น ๒ / ๒ / ๒ เป็นส่วนใหญ่ โดยสงั เกตจากเน้ือความเป็นหลกั ซ่ึงในบางคร้ังอาจแบ่งเป็น ๒ / ๔ ตามตวั อยา่ ง เพราะคาํ บางคาํ ควรอ่านใหเ้ สียงต่อเนื่องกนั เพอ่ื สื่อความหมาย ใหถ้ กู ตอ้ ง วรรคที่มี ๔ คาํ ใหแ้ บ่งจงั หวะ ๒ / ๒

๒หน่วยการเรียนรู้ที่ การพฒั นาทกั ษะการอ่าน ๑ การอ่านจบั ใจความ งานเขียนหรือข้อความท่ีผู้เขียนต้องการสื่อมายงั ผู้อ่าน นอกจากจะมีสาระ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีนาํ เสนอแลว้ ยงั มีส่วนท่ีเป็นส่วนขยาย ขอ้ ความเปรียบเทียบหรือส่วนกล่าวซ้าํ เพ่ือ เน้นความชดั เจน นอกจากน้ียงั แฝงทรรศนะ ความเช่ือหรือความคิดเห็นส่วนตวั ลงไปดว้ ย ดงั น้นั การอ่านจบั ใจความจึงถือเป็ นวิธีการที่ช่วยให้ผอู้ ่านสามารถจาํ แนกขอ้ เท็จจริงออกจาก ส่วนประกอบอื่นๆ หรือที่เรียกวา่ “พลความ” ของเรื่องได้

๑.๑ การอ่านจบั ใจความโดยรวม การอ่านจับใจความโดยรวม หมายถึง การสงั เกตส่วนประกอบต่างๆ ของหนงั สือหรือ บทความอย่างรวดเร็ว เพ่ือสามารถกาํ หนดและทาํ ความเขา้ ใจโครงเรื่องหรือเน้ือหาท้งั หมด ของหนงั สือได้ ดงั น้ี ๑) สังเกตส่วนประกอบของเร่ือง เช่น ช่ือเร่ือง คาํ นาํ สารบญั วตั ถุประสงคข์ องผเู้ ขียน เพือ่ ใหเ้ ห็นแนวทางและจุดประสงคข์ องผเู้ ขียน ๒) สังเกตหัวข้อใหญ่และหัวข้อรอง ซ่ึงเป็ นใจความสาํ คญั ท่ีผเู้ ขียนตอ้ งการส่ือมายงั ผอู้ ่าน การสงั เกตขอ้ ความที่เป็นตวั หนา ตวั เอน ขีดเสน้ ใตห้ รือที่อยใู่ นเคร่ืองหมาย อญั ประกาศ (“....”) รวมท้งั ตาราง และแผนภูมิ จากน้นั จึงเรียงลาํ ดบั ความคิด รวมถึงพิจารณาเรื่องราวที่ ผเู้ ขียนตอ้ งการนาํ เสนอ

๑.๒ การอ่านจบั ใจความสําคญั การอ่านจับใจความสําคัญ เป็ นการอ่านงานเขียนอย่างละเอียด เพื่อพิจารณาหาขอ้ เท็จจริงท่ี นาํ เสนอ รวมถึงทรรศนะ ขอ้ คิดเห็น อารมณ์น้าํ เสียงของผูเ้ ขียนที่มีต่อเรื่องที่น้าํ เสนอและในกรณีท่ี ขอ้ ความที่อ่าน มีความยาวเป็นยอ่ หนา้ หรือหลายๆ ยอ่ หนา้ พจิ ารณาขอ้ ความสาํ คญั ไดด้ งั น้ี ๑) พจิ ารณาจากช่ือเรื่อง แลว้ อ่านยอ่ หนา้ แรกและยอ่ หนา้ สุดทา้ ย ซ่ึงจะช่วยใหท้ ราบวา่ บทความน้ีนาํ เสนอเรื่องอะไรอยา่ งกวา้ งๆ ๒) พจิ ารณาหาใจความสําคญั ไปทลี ะย่อหน้า ซ่ึงส่วนใหญ่ใจความสาํ คญั ของแต่ละยอ่ หนา้ อาจ ปรากฏอยใู่ นตาํ แหน่งตน้ ตาํ แหน่งกลางหรือตาํ แหน่งทา้ ยของยอ่ หนา้ เพราะส่ิงเหล่าน้ีเป็นเพียงเครื่อง สนบั สนุนความคิดหลกั ของเร่ือง เม่ืออ่านจบควรทบทวนหรือต้งั คาํ ถาม ถามตนเองวา่ เร่ืองท่ีอ่านเป็น เรื่องอะไรและพยายามตอบใหไ้ ดว้ า่ ใคร ทาํ อะไร ที่ไหน อยา่ งไร ดว้ ยวิธีใด จากน้นั จึงบนั ทึกใจความ สาํ คญั ไวเ้ พื่อศึกษาเพิ่มเติมต่อไป

๑.๓ ตาํ แหน่งของใจความสําคญั แนวทางการพิจารณาหาใจความสาํ คญั อยา่ งง่ายๆ น้นั ส่วนใหญ่จะพบวา่ ใจความสาํ คญั จะปรากฏอยใู่ นตาํ แหน่งตน้ ตาํ แหน่งกลางหรือตาํ แหน่งทา้ ยของขอ้ ความ ดงั น้ี ๑) ใจความสําคัญอยู่ต้นข้อความ ในลกั ษณะที่ใจความสาํ คญั ของขอ้ ความปรากฏอยใู่ น ตาํ แหน่งตน้ ขอ้ ความหรือยอ่ หนา้ มกั จะทาํ หนา้ ท่ีเป็ นประโยคนาํ เพ่ือบอกเล่าเร่ืองราว แลว้ จึงมี ขอ้ ความอธิบายรายละเอียดสนบั สนุนใหช้ ดั เจนยงิ่ ข้ึน ๒) ใจความสําคัญอยู่กลางข้อความ ลกั ษณะใจความสาํ คญั ท่ีปรากฏอยตู่ อนกลางของ ขอ้ ความหรือยอ่ หนา้ คือการท่ีผเู้ ขียนกล่าวเกริ่นนาํ เพ่ือเช่ือมโยงเขา้ หาใจความสาํ คญั แลว้ จึงมี การอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม

๑.๓ ตาํ แหน่งของใจความสําคญั (ต่อ) ๓) ใจความสําคญั ท้ายข้อความ การที่ใจความสําคัญอยู่ท้ายข้อความหรื อย่อหน้าคือวิธีการนําเสนอที่ผู้เขียนมุ่งให้ รายละเอียดเหตุผลของการนาํ เสนอ แลว้ จึงสรุปประเด็นสาํ คญั หรือความคิดรวบยอดไวต้ อนทา้ ย ของขอ้ ความเป็นผอู้ ่านที่ดีและสามารถพจิ ารณารายละเอียด ใจความสาํ คญั หรือ วตั ถุประสงคห์ ลกั ของขอ้ ความที่สื่อมาถึงผอู้ ่านได้ ควรมีการฝึ กฝนการอ่านอยา่ งสม่าํ เสมอ รวมถึงมีการต้งั ขอ้ สงั เกต และพยายามฝึ กฝนการพิจารณาใจความหลกั หรือใจความสาํ คญั จนกลายเป็นนิสัยการอ่านหนงั สือ ท่ีดีต่อไป ซ่ึงจะทาํ สามารถใชเ้ วลาในการอ่านน้อย แต่ไดใ้ จความครบถว้ น สมบูรณ์ มีเวลาว่าง สาํ หรับการทาํ กิจกรรมชนิดอื่นท่ีสนใจการอ่านจบั ใจความสาํ คญั เป็นพ้ืนฐานทางการอ่านท่ีสาํ คญั ที่สุด ในชีวิตประจาํ วนั ของมนุษยจ์ ะตอ้ งมีการรับสารดว้ ยการอ่านจากหนงั สือประเภทต่างๆ เช่น หนังสือเรียน นวนิยาย เร่ืองส้ัน ฯลฯผูท้ ี่หมน่ั ฝึ กฝนการอ่านจบั ใจความสําคญั ตามแนวทางท่ี นาํ เสนอไวข้ า้ งตน้ จะทาํ ใหส้ ามารถรับสารไดร้ วดเร็วและมีประสิทธิภาพมากข้ึน

๒ การอ่านวเิ คราะห์ความหมายของคาํ ในชีวิตประจาํ วนั มนุษยร์ ับสารดว้ ยการอ่านส่ือที่หลากหลาย แต่ธรรมชาติการสื่อสาร ของคนไทยนอกจากสื่อความหมายตรงตามตวั อกั ษรแลว้ ยงั ใชภ้ าษาสื่อสารที่มีความหมายแฝง เรียกวา่ ความหมายโดยนยั ดว้ ยเสมอ บางคร้ังอาจไม่เขา้ ใจความหมายท่ีแฝงทาํ ใหก้ ารส่ือสารไม่ สัมฤทธิผลดงั น้ัน ผูเ้ รียนจึงตอ้ งฝึ กฝนทกั ษะการอ่านเพื่อวิเคราะห์ให้เขา้ ใจความหมายของคาํ ขอ้ ความ ประโยคเพ่ือให้เขา้ ใจไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามเจตนาผูส้ ่งสาร ฝึ กการแปลความหมายตาม พจนานุกรม ตีความหมายว่าเป็ นความหมายโดยตรงหรือความหมายโดยนยั จบั ใจความสาํ คญั ของเรื่องท่ีอ่านและสรุปความรู้เพื่อถ่ายทอดขอ้ มูลจากเร่ืองที่อ่านใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง

๒.๑ ความหมายของถ้อยคาํ ในการส่ือสาร ๑) คําท่ีมีความหมายนัยตรง คือ คาํ ท่ีมีความหมายตรงตามตวั อกั ษร ซ่ึงเป็ น ความหมายตามที่พจนานุกรมกาํ หนด เป็ นความหมายหลกั ที่ใชใ้ นการสื่อสารทวั่ ไป เม่ือมี ขอ้ โตแ้ ยง้ เร่ืองความหมายของคาํ ตอ้ งยดึ ถือพจนานุกรมเป็นหลกั ในการตดั สิน เช่น สมอง หมายถึง ส่วนที่อย่ภู ายในกะโหลกศีรษะ มีลกั ษณะนุ่มๆ หยุ่นๆ เป็ นลูกคล่ืน เป็ นที่รวม ประสาทใหเ้ กิดความรู้สึก เกา้ อ้ี เป็นคาํ ที่ยมื มาจากภาษาจีน หมายถึง ที่สาํ หรับนง่ั มีขาและ พนกั พิง มกั ยกยา้ ยไปมาได้ ถา้ มีรูปยาวใชน้ อนได้ เรียกว่า เกา้ อ้ีนอน ถา้ โยกไดก้ ็เรียกว่า เกา้ อ้ีโยก ใชล้ กั ษณะนามวา่ ตวั

๒.๑ ความหมายของถ้อยคาํ ในการสื่อสาร (ต่อ) ๒) คาํ ท่มี ีความหมายนัยประหวดั คือคาํ ท่ีมีความหมายไม่ตรงตามตวั อกั ษร แต่เป็น ความหมายแฝงหรือความหมายโดยนยั ออ้ มเพื่อเชื่อมโยงไปถึงอีกสิ่งหน่ึง อนั เป็ นที่เขา้ ใจ กนั ในกลุ่ม เช่น เม่ือนาํ คาํ วา่ “สมอง” “เกา้ อ้ี” มาเรียบเรียงเป็นประโยคเพ่ือส่ือความหมาย เชื่อมโยงไปถึงอีกสิ่งหน่ึงเช่น เธอจะมาร้องไหฟ้ ูมฟายกบั อดีตท่ีแกไ้ ขไม่ไดแ้ ลว้ ทาํ ไมตอ้ ง รู้จกั ทาํ ตวั ใหม้ ีสมองเสียบา้ งจากประโยคน้ี “สมอง” จะหมายถึง ทาํ ตนใหม้ ีปัญญา ฉลาด หรือคิดไตร่ตรองให้ได้ว่าอดีตเป็ นส่ิงที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ใช่หมายถึง สมองที่อยู่ ภายในกะโหลกศีรษะที่ทาํ หนา้ ท่ีเป็น คาํ นาม

๒.๒ หลกั การอ่านวเิ คราะห์ความหมายของคาํ การพิจารณาความหมายของคาํ มีหลกั การพิจารณาดงั น้ี ๑) พจิ ารณาความหมายจากพจนานุกรม ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีคาํ เดียวมีหลายความหมาย หลายนยั และใชแ้ ตกต่างกนั ผอู้ ่านจะเขา้ ใจความหมายโดยพิจารณาความหมายจาก พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ ๒) พจิ ารณาความหมายจากบริบท คาํ บางคาํ อาจมีท้งั ความหมายนยั ตรงและนยั ประหวดั โดยผอู้ ่านตอ้ งสงั เกตความหมายของคาํ จากขอ้ ความที่ใชป้ ระกอบดว้ ย เช่น คาํ วา่ “ขนั ” แม่ไปซ้ือ ขนั ที่ตลาดการสังเกตความหมายของคาํ จากขอ้ ความแวดลอ้ ม จะเขา้ ใจวา่ “ขนั ” ท่ีปรากฏใน ประโยคเป็นคาํ นาม หมายถึง ภาชนะที่ใชต้ กั น้าํ ไก่ขนั แต่เชา้ ตรู่ การสังเกตความหมายของคาํ จาก ขอ้ ความแวดลอ้ ม จะเขา้ ใจวา่ “ขนั ” ที่ปรากฏในประโยคเป็นคาํ กริยา หมายถึง ร้อง

๓) พิจารณาความหมายจากสํานวนโวหาร พิจารณาความหมายจากสํานวน โวหาร มีคาํ จาํ นวนมากเมื่อใช้ประสมกับคาํ อ่ืนทาํ ให้ความหมายเปล่ียนไปกลายเป็ น สาํ นวนโวหาร สุภาษิตหรือคาํ พงั เพย ซ่ึงมีความหมายไม่ตรงตามตวั อกั ษร แต่มีการกาํ หนด ความหมายไวใ้ นพจนานุกรม เช่น ตกั น้าํ รดหวั ตอ เป็ นสาํ นวน หมายถึง แนะนาํ พร่ําสอน อย่างไรก็ไม่ไดผ้ ล ตกั น้าํ ใส่กะโหลกชะโงกดูเงา เป็ นสํานวน หมายถึง ให้รู้จกั ฐานะของ ตนเองและใหเ้ จียมตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook