Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Published by ton love, 2022-06-27 03:05:18

Description: เล่ม 2 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Keywords: อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 100 หฺจิ = ถาวา. พบใชใ นพระอภิธรรม อ.ุ หจฺ ิ ปคุ คฺ โล อปุ - ลพภฺ ติ สจฉฺ กิ ตถฺ ปรมตฺเถน. [ กถาวตั ถ.ุ ๓๗/๑ ] \"ถา บคุ คล อัน...] ยอมได โดยอรรถเปน แจงจรงิ อรรถอยางย่งิ ไซร.\" อรรถกถา [ ป. ท.ี น. ๑๕๑ ] แกเปน ยทิ. (๖) อนคุ ฺคหตฺโถ บอกอรรถ คอื คลา ยตาม. อรุจสิ จู นตฺโถ บอกอรรถ คือ แสดงความไมเ หน็ ดวย. อนคุ คหตั ถะ: กิจฺ าป, ยทิป.กาม หรือ กามจฺ = ถงึ (ใช หนาคาํ พดู ) , แมน อ ยหนึ่ง (ใชห ลังคาํ พดู ). อรจุ ิสุจนัตถะ: ตถาป, ปน, อถโข=แต, ถึงอยา งนัน้ , ท่ีแท. (ใชหนาคําพูด). อนคุ คหัตถะในท่ีมาตา ง ๆ เจป สเจป (-อถโข) อุ. :- โย เจป อติจจฺ ชวี ติ, อถโข โส ชรสาป มียต.ิ [ ชราสุตฺต. ๒๕/๙๙๒ ] \"ถงึ หากวาผใู ดจะมีอายยุ นื เกินรอ ยปไปได, ผนู ้ันชราเขา ก็คงจะตาย เปน แท.\" คําแปลของสมเด็จพระมหาสมณเจา ว.ว. จากหนงั สือ ศราทธพรตเทศนา). ตาว (-ปน) ในสมั พนั ธต ัวอยา งเปน ภาษามรรค (ในแบบ) ขอ ๑ ทานเรยี กเปน อนุคคหจถ. (อยยฺ า อธิ าป ตาว โทโส มา โหต,ุ อิมิสสฺ า ปน ปต า...)

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 101 ในโยชนาอภธิ ัมมตั ถ. เรยี กอนคุ คหัตถนิบาตวา อปุ คมนบิ าต, เรียกอรุจิสนู ตั ถนบิ าตวา วิเสสาภิธานารมั ภะ. (๗) อปุ มาโชตโก สงความอุปมา คอื ขอความท่นี าํ มาเปรยี บ. อุปเมยยฺ โชตโก สอ งความอปุ ไมย คือขอ ความทคี่ วรเปรียบ. อปุ มาโชตก: ยถา, เสยฺยถาป= ฉนั ใด; วิย, อิว = ราวกะ, เพยี งดัง, เหมือน , เชน , ดจุ , ประหนง่ึ เปนตน . อุปเมยยโชตก : ตถา, เอว = ฉันนั้น. อปุ มา - อุปเมยยโชตกในท่ีมาตา ง ๆ อุปมา : ยเถว, ยถายนมม, ยถาป, เสยยฺ ถาปนาม, ยถริว, ยถาจ,= ฉันใด; วา= ราวกะ (เหมอื น วิย). อ.ุ วา (อุปมาโชตก): มธุ วา มฺติ พาโล. (๑๑๘๙). อปุ ไมย: ตถาห,ิ เอวเมว, ตเถว, เอวป , ตถรวิ = ฉนั น้ัน. (ปฏิภาคตฺถาวาจก นิบาตบอกอรรถ คือ ความเปรียบเทียบ. ๑๑๔๒. ๑๑๔๓). นิบาตหมวดที่ ๓ ลงในความทอ นเดียว (๑) อนสุ ฺสวนตโฺ ถ บอกอรรถ คอื ความเลาหรอื ลอื กันตอ ๆ มา. กริ , ขล,ุ สทุ  = ไดยนิ วา . (๒) ปุจฺฉนตโฺ ถ บอกอรรถ คือ ความถาม.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 102 ก,ึ ปน, กถ, กจจฺ ิ, นุ, นน,ุ อุทาหุ, อาทู, เสยี ยฺ ถที , เปน ตน. (นบิ าตไทยดูในวจวี ิภาค สวนอพั ยยศพั ทท่วี า ดว ยนิบาต). ปุจฉนัตถะในทีม่ าตาง ๆ กสึ ุ = อะไรส,ิ กจจฺ นิ =ุ บา งหรือหนอ . (๑๑๓๙). อป= บา งหรอื . อุ อป ภนฺเต ภิกขฺ  ลภติ ถฺ . (๑๑๘๓). อป นุมานิ ภกิ ฺขเว ปฺจ พชึ ชาตานิ วุฑุฒึ วิรฬุ ฺหึ เวปุลฺล อาปชฺเชยยฺ .ุ [ส. ขนธฺ วาร. ๑๗/๖๗ ]. เอว = อยา งนั้นหรือ. (๑๑๘๖). อโถ, อถ. (๑๑๙๐). จรหิ. โดยมากใชก บั กึ ศัพท อยางเปน สรอยคํา ท่ีตรงกับ คาํ ไทยวา ' เลา ' ในคําวา ' ทาํ ไมเลา ' เปนตน นา สงเคราะหเรยี กชอ่ื วา ปุจฉฺ นตโฺ ถ. อุ :- อ.ุ ที่ ๑ อถ กิฺจรหิ เต อย สารปิ ตุ ตฺ โอฬารา อาสภวิ าจา ภาสิตา. [สมฺปสาทนีย. ๑๑/๑๐๙] \" สารีบตุ ร, เม่ือเปนเชน น้ัน ทาํ ไมเลา เธอจึงกลาวอาสภิวาจาอันโอฬารน้.ี \" กึ = กสฺมา (ตามสทั ทนีติสตู ร และอรรถกถาพระสูตรนี้ทีจ่ ะแสดงตอไป) เรียกชอ่ื สมั พนั ธวา เหตุ (= กสฺมา) กไ็ ด ปุจฉนตั ถะ ก็ได. กึ เชน นี้ ในวจีวภิ าคตอนที่วา ดว ยนาม แสดงวา ถามถึงเหตุ แปลวา ' ทาํ ไม.' สวน จรหิ เรียก ุปจุ ฉนตั ถะ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 103 อ.ุ ท่ี ๒ อถ โก จรหิ เทวมนุสสฺ โลเก รโต มโน กสสฺ ป พฺรปู  เมต. [ มหาวคฺค. ๔/๖๖] \"กัสสปะ, ก็ทนี ั้น ใจของทานยินดแี ลวในสงิ่ ไรเลา ในเทวโลก หรอื ในมนษุ ยโลก? ทานจงบอกขอน้ันแกเ รา.\" โก ใน อุ. นี้ อรรถกถา [ สมนฺต. ๓/๒๙] แกเปน กหุ ึ เปน อาธาร ใน รโต. กินตฺ ิ วา กระไร. ใชร วมกนั ในพากยทม่ี กี ิรยิ าในพากยประกอบดวย สัตตมีวิภตั ตเิ ปน พืน้ . อุ :- อุ. ท่ี ๑ กินฺติ ต กเรยยฺ าสิ. [ อภยราชกมุ ารสุตฺต. ๑๓/๙๑] \"พระองค พงึ ทรงทาํ ทารกน้ัน ประการไร.\" อุ. ท่ี ๒ กินตฺ ิ อนาคตา จ เปสลา สพฺรหมฺ จารี อาคจฺเฉยยฺ .ุ [ ภิกฺขุ- อปรหิ านิยธมฺมสุตตฺ ] \"ทําไฉน เพอื่ นสพรหมจารผี ูมศี ลี เปน ทีร่ ัก ซงึ่ ยังไมมาพึงมา.\" อรรถกถา [ มโน. ป.ู ๓/๑๘๙ ] แกเ ปนเหตุวา เกน นุ ฉข การเณน. กินตฺ ิ ตามรปู ศัพทเปน นบิ าตบอกความถาม แตในทีบ่ างแหง ใช แสดงความปรารถนา ดงั อ.ุ ท่ี ๒ น.้ี อุ. ท่ี ๓ กนิ ฺติ เต อานนทฺ สตุ  วชชฺ ี อภริ หฺ สนฺนิปาตา สนนฺ ปิ าต-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 104 พหุลา. [ สตตฺ ก. องงฺ ๒๓/๑๘] \"อานนท, เธอไดยนิ (คาํ ) วา- กระไร วา เจา วชั ชี ท. ประชุมกนั เนือง ๆ มาดว ยการประชมุ กนั ? \" อุ. น้ี กิริยาไมใ ชกริ ิยาสัตตมวี ิภัตติ. กินฺติ เรยี กในโยชนาบางแหงวา ปสส าการปจุ ฉฺ า. [ โยชนาสมนฺต. ๑/๑๕๖]. กนิ ฺติ ในทน่ี น้ั ถามขอความวา ยนฺต อรยิ า อาจกิ ฺขนฺต.ิ [ สมนฺต. ๑/๑๑๖]. กินฺติ ใชใ นทแ่ี สดงความปรารถนา นา เรียกวา ปริกปปฺ ปจุ ฉา. ในโยชนาอกี แหง หนึ่งเรยี กวา ปจุ ฺฉากาโร. [ โยชนา สมนตฺ . ๑/๒๕๗. แกสมนั ต. ๑/๓๐๖] ถึงจะถามดว ยมุงอยางไร กค็ ง เปนคําถาม ฉะนน้ั พงึ เรียกตามแบบแตอยา งเดียววา ปุจฉนัตถะ. ยถากถ = ตามอยางไร, เหมือนอยา งไร. อ.ุ ยถากถ ปน ตว ภิกฺขุ มยา สงฺขติ ฺเตน ภาสิตสฺส วิตถฺ าเรน อตฺถ อาชานาสิ. [ ส. ขนธฺ าวาร. ๑๗/๔๓] \"ภกิ ษ,ุ ก็ทา นเขาใจเนอื้ ความแหงคําท่ีเรา กลา วโดยยอ โดยพิสดาร เหมือนอยา งไร.\" ยถากถน ้ี ใชใ นทถ่ี าม ใหแสดงความเขาใจเปนตน ดงั มเี รือ่ งแสดงวา พระภิกษุรูปหนึ่ง กราบทลู ขอไหพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมแกตนโดยยอ , เมอื่ ทรงแสดง แลว ก็กราบทูลวารแู ลว, พระพุทธเจาจงึ ตรัสถามใหแ สดงดวยประโยค ทย่ี กมาเปนตัวอยา งนน้ั . ยถา ในคาํ วา ยถาห. ยถา น้ี ทา นแสดงอรรถในบางแหงเทากบั กึ [ ยถาห= ยถา: กึ อาห. โยชนาสมนฺต. ๑/๒๘] อุ. โส หิ สงฺขตาสงขฺ ตเภท สกลมปฺ  ธมฺมชาต. ...พชุ ฺฌิ อฺาส.ิ ยถาห สย อภิฺ าย กมทุ ฺทิเสย-ฺ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 105 ยนตฺ ิ [ อธิธมมฺ ตถฺ . ปมปรจิ เฉท. น. ๖๓] \"จริงอยู พระสัมมา- สมั พทุ ธะน้ัน ตรสั รู คอื ทรงรูท ว่ั ธรรมชาตแมทั้งสิ้น ตา งโดยสงั ขตธรรม และอสงั ขตธรรม. พระผมู พี ระภาคตรสั วา ' เรารยู งิ่ โดยตนเองแลว พงึ ยกใครขึ้น (วา เปน ศาสดา) อยา งไรเลา .\" โยชนา [ ๑/๘๙] วา ยถาติ ปจุ ฉฺ า. ภควาติ (ปท) อาหาติ ปเท กตฺตา. สยนฺตฺ (ปท) อภิ ฺ ายาติ ปเท ตตยิ าวิเสสน. อภิ ฺายาติ (ปท) อทุ ทฺ สิ ฺเสยยนฺติ ปเท ปุพฺพกาลกริ ิยา. กนฺติ (ปท) อุททฺ ิสเฺ สยฺยนฺติ ปเท กมฺม. อหนฺติ (ปท) อทุ ทฺ ิสเฺ สยฺยนฺติ ปเท กตฺตา. อุทฺทสิ ฺเสยยฺ นตฺ ิ (ปท) กตตฺ วุ าจก อาขฺยาตปท. อิตีติ (สทฺโท) วจนนฺติ ปทสสฺ สรูป. วจนนตฺ ิ (ปท) อาหาติ ปเท กมมฺ . ยถา ในคาํ วา ยถาห น้ี แปลโดยอรรถวา เชน , อยางท่.ี (๓) สมปฺ ฏิจฉฺ นตฺโถ บอกอรรถ คอื ความรับคําถาม. อาม (เปนพืน้ ), อามนฺตา (แตในพระอภิธรรม)= ขอรบั , จะ, เออ เปนตน ตามชน้ั . สมั ปฏจิ ฉนัตถะในทมี่ าตาง ๆ สาหุ= ดีละ; ลหุ = ดลี ะ, เบาใจ : โอปายกิ  = สมควร; ปฏิรูป = สมควร; สาธุ= ดีละ; เอว = อยางนั้น. (สมปฺ ฏิจฉฺ นตฺถวาจก นบิ าตบอกอรรถ คือ ความรับ. ๑๑๔๔). (๔) อยุ โฺ ยชนตฺโถ บอกอรรถ คือ ความสง ออกไป (ใชใ น คาํ ยอม, คาํ เตือน, คําชกั ชวน, คําใชใหทาํ ).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 106 อิงฆฺ , ตคฆฺ , หนฺท, เตนหิ=เชญิ เถดิ , เอาเถิด, ถา อยางน้ัน (เตนหิ วิภตฺตปิ ฏิรปู โก มรี ูปแมนศัพทท่ีประกอบดวยวิภตั ตินาม). อุยโยชนัตถะในทม่ี าตาง ๆ องิ ฺฆ, หนฺท เรยี ก โจทนตั ถะ (โจทนตั ถวาจก บอกอรรถ คอื เตือน. ๑๑๕๗). (๕) อจฉฺ ริยตฺโถ บอกอรรถ คอื ความหลากใจ, เบกิ บานใจ. สเ วคตฺโถ บอกอรรถ คอื ความสลดใจ, กรอมใจ. อโห (ใชตน คาํ พดู ) = โอะ (หลากหรอื เบกิ บานใจ), โอ, พุโธ (สลดใจ); วต (ใชขางทา ย) = หนอ. อจั ฉริยัตถะในท่มี าตาง ๆ อโห, ห=ิ โอ (วิมหยัตถวาจก. ๑๑๔๙) ; หา = โอ, อา . (บอกอรรถ คอื ทุกข. ๑๑๕๙). อโห (บอกอรรถลําบาก, อศั จรรย ๑๒๐๑). นิบาตหมวดท่ี ๔ ลงในบท (๑) อวธารณตฺโถ, อวธาโร บอกอรรถ คือ ความหาม นาม, คุณ และกิรยิ าอื่นเสยี . เอว, ว (เปน พื้น), หิ= เทานน้ั นน่ั เทยี ว, เทยี ว, แล เปน ตน . อวธาระในทีม่ าตางๆ เอว = เทยี ว. เทานน้ั . อ.ุ ต กึ มฺ ถ กาลามา ฯ เป ฯ เอว โน เอตถฺ โหติ. (๑๑๘๖).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 107 จ= แท, เทียว. อุ. ฆเต จ. (๑๑๘๗). อิติ แสดงในขอที่วาดว ย อติ ิ. วา (ในอรรถวัสสคั ค) = เทียว. (๑๑๘๙). ยาว, ตาว. (๑๑๙๓). ขล.ุ (๑๑๙๕). ตุ. (๑๑๙๗). (๒) อเปกขฺ ตโฺ ถ บอกอรรถ คอื ความเพงนามอนื่ ดว ย. ป, อป = แม, ถงึ . (๓) สมภฺ าวนตฺโถ บอกอรรถ คือ ความชม. ครหตโฺ ถ บอก อรรถ คือ ความต.ิ ป, อป = แม, ถึง. สมั ภาวนะ - ครหะในที่มาตา งๆ อปน าม (๑๑๙๑. อ.ุ อป สัมภาวนะ ' อป ทิพฺเพสุ กาเมสุ รตึ โส นาธิคจฉฺ ติ.' (๑๑๘๓). (๔) ปทปูรโณ ลงพอใหอักขระในบาทแหงคาถาเต็มตาม กําหนด. วจนาลงฺกาโร, วจนสลิ ฏิ โก ลงพอใหค ําไพเราะสละ สลวยขึน้ . วจีวิภาคสว นอพั ยยศพั ท ทว่ี าดวยนิบาตสักวา เปน เครื่องทาํ บท ใหเต็ม : นุ หนอ, สุ ส,ิ เว เวย, โว โวย, โข แล, วต หนอ, หเว เวย เปนตน และ ห,ิ จ,ปน ท่ไี มมีความหมายอะไร.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 108 ปทปูรณะในที่มาตาง ๆ สทุ , อสฺสุ, ยคเฺ ฆ, เว, หา (๑๑๕๐) : อโถ, อถ (๑๕๙๐); ตุ (๒๑๙๗). เหลา นี้ หมายถึงที่ไมม คี วามหมายอะไร. ปทปูรณะ เรียกในคาถา. วจนาลังการ วจนสลิ ฏิ ฐกะ เรยี กใน เวยยากรณปาฐะ. (๕) สมสาโย บอกอรรถ คอื ความพรอมกนั มี ๒ : ทพพฺ - สมวาโย เขากับนาม ๑ กริ ยิ าสมวาโย เชา กับกริ ิยา ๑. สทธฺ ,ึ สห = พรอ ม. สมวายในที่มาตางๆ สม, อมา ('สห, สทธฺ ึ สม, อมา.' ๑๑๓๖) = กบั พรอ ม. (๖) ปฏเิ สธ บอกอรรถ คือ ความหาม. น ไม, โน ไม , มา อยา, (เปนพืน้ ). ปฏเิ สธในท่ีมาตา ง ๆ อ, อล, นหิ. (นเิ สตฺถวาจก บอกอรรถ คือ ปฏิเสธ ๑๑๔๗). หมายเหต:ุ ในวจวี ภิ าคสวนอัพยยศัพทจดั ว, เอว, วินา เปน นิบาตบอกปฏิเสธ ซงึ่ หมายคามรวมถงึ อวธารณะดวย, แตใน วากยสัมพนั ธตอนตน ท่วี าดว ยนิบาต แสดงแยกประเภทเปน ปฏิเสธ หมวด ๑ อวธารณะหมวด ๑. วินา เรยี กเปน กิรยิ าวิเสสนะก็ได. (๗) อติ ิ ศัพท ก. อากาโร อมขอ ความ เนอื่ งกับกริ ยิ า = วา ...... ดงั น.้ี

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 109 ข. สรปู  เนอ่ื งดว ยบทนาม = วา ........ดังน้,ี คือ. ค. อาทยตฺโถ อมความยอ ไวไมห มด = วา........ ดงั นี้ เปน ตน. ฆ. นทิ สสฺ น เปน ตัวอยาง = อยา งน.ี้ ง. เหตวฺ ตโฺ ถ เปนเหตุ = เพราะเหตุนั้น. จ. ปกาโร เปน ประการ = ดว ยประการฉะน.ี้ ฉ. สมาปนโฺ น, ปรสิ มาปนฺโน มใิ นที่สดุ ความ = ดงั น้ีแล, แล. ช. สฺ าโชตโก บอกชือ่ = ชอื่ วา. ชื่อตามลักษณะอ่ืน อวธารณะ = เทียว, นั่นเทียว. อุ. อตฺถิ อทิ ปฺปจจฺ ยา ชรา- มรณนตฺ ิ อติ ิ ปฏุ เ น สตา อานนฺท ' อตฺถตี สิ ฺส วจนีย. (๑๑๘๘) \"อานนท, คาํ ที่ทานเปนผูถูกถามวา ชราและมรณะ เพราะส่งิ น้ี ๆ เปนปจ จยั มอี ยหู รอื ดงั นี้น่ันเทยี ว พึงกลา ววา มอี ยู ดังนี้ พงึ มี.\" นบิ าตหมวดท่ี ๕ เปน บท. (๑) อาลปน นบิ าตบอกอาลปนะทั้งปวง. วจวี ภิ าคสวนอัพยยศัพท ที่วา ดวยนบิ าตบอกอาลปนะ: คมเฆ ขอเดชะ, ภนเฺ ต, ภทนเฺ ต ขาแตท านผูเจริญ, ภเณ พนาย, อมฺโภ แนผูเจริญ, อาวุโส ผมู อี ายุ, เร, อเร เวย, โวย, เห เฮย , เช แม. อาลปนะในทม่ี าตาง ๆ องิ ฆฺ = เชิญเถิด, โภ, อมฺโภ = พอ เฮย, ผเู จริญ, หเร เฮย (๑๑๓๙). นน,ุ วต. (๑๑๙๒).

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 110 (๒) กาลสตตฺ มึ นบิ าตบอกกาลทัง้ ปวง. วจีวภิ าคสวนอพั ยยศพั ท ทีว่ าดวยนิบาตบอกกาล : อถ ครัน้ น้ัน, ปาโต เชา , ทิวา วัน, สาย เย็น, สุเว ในวนั , หยิ ฺโย วนั วาน, เสฺว วนั พรุง, สมปฺ ติ บดั เดยี๋ วนี,้ อายตึ ตอ ไป. ปจ จัยลงในกาล คือ ทา ทานิ รหิ ธุนา ทาจน ชชฺ ชฺชุ: สพพฺ ทา ในกาลท้ังปวง, สทา ในกาลทกุ เมอ่ื , เอตรหิ ในกาลน,้ี เดยี๋ วน้ี , กรหจิ ในกาลไหนๆ , บาคร้ัง, เอกทา ในกาลหนึ่ง, บางที, ยทา ในกาลใด, เมื่อใด, ตทา ในกาลนนั้ , เม่ือนั้น, กทา ในกาลไร, เม่อื ไร, กทาจิ ในกาลไหน, บางคราว, อทิ านิ ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้, อธนุ า ในกาลน,้ี เม่อื กี,้ กุทาจน ในกาลไหน, อชฺช ในวนั น้ี สชฺชุ ในวนั มอี ยู, วนั น้ี, ปรชชฺ ุ ในวันอ่ืน, อปรชฺชุ ในวันอ่นื อีก. กาลสตั ตมใี นทม่ี าตา ง ๆ จิรสสฺ  นาน, จริ  นาน, จเิ รน โดยกาลนาน, จริ รตฺตาย ตอ - เพือ่ ราตรนี าน (๑๑๓๖). กทาปน บางคราว, กทาจิ บางคราว, ( ' อสากลเฺ ย ตุ ปน จิ.' ' ปน, จิ ใชบอกอรรถ คือ บางที. ๑๑๔๕). รตตฺ , โทโส= ราตร,ี คา่ํ (๑๑๔๗). (สชฺชุ) สปท=ิ เดยี๋ ว, วันนั้น, (๑๑๔๙) (ปาโต) ปเค = เชา. (๑๑๕๒). (สทา) สน = ในกาลทุกเม่ือ. (๑๑๕๓). สุเว เสฺว = พรงุ น้;ี ปรสุเว หนา แตพ รุงนี้, (๑๑๕๕).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 111 ตทานิ = ในกาลนั้น. (๑๑๖๑. ลง ทานิ ปจจยั ). อโถ, (อถ) = ลําดบั นนั้ , คร้ังนน้ั . (๑๙๙๐). สิยา = ในกาลบางคราว. ( 'กทาจสิ ททฺ ตฺเถ นิปาโต' ' เปน นบิ าตใชใ นอรรถ กทาจิ ศพั ท.' โยชนา สมนฺต. ๑/๒๖๖) อุ. กิ จฺ ิ สิยา กริ ิยาโต, สิยา อกริ ิยโต [ สมนฺต. ๑/๓๒๐] \" บางสกิ ขาบท เกดิ โดยการทาํ ในบางคราว, โดยการไมท ําในบางคราว.\" ปเุ ร - ปจุ ฺฉา. อุ. ปเุ ร วจนยี  ปจฉฺ า อวจ. [ ส. ขนฺธวาร. ๑๗/๑๕] \"ไดกลา วคาํ ท่คี วรกลา วกอ นในภายหลัง.\" ปาต. อ.ุ สาย ปาต อปุ ฏ าน คจฺฉต.ิ [ วิสาขา. ๓/๗๗] \"ไปสทู ีบ่ าํ รุงในเวลาเย็นในเวลาเชา .\" สายปาต. อ.ุ สายปาต.....อทาส.ิ [ ยมกปฺปาฏิหาริย. ๖/๘๗] \"ไดใหทั้งเวลาเยน็ ท้งั เวลาเชา.\" (๓) อาธาโร นิบาตบอกทีท่ ้ังปวง. วจวี ภิ าคสวนอัพยยศัพท ทีว่ า ดว ยนบิ าตบอกที่ : อทุ ธฺ  เบอื้ งบน อปุ ริ เบื้องบน, อนฺตรา ระหวา ง, อนฺโต ภายใน, ติโร ภายนอก, พหิ, พหทิ ฺธา, พาหิรา, ภายนอก, อโธ เบื้องต่ํา เหฏา ภายใต, โอร ฝง ใน, ปาร ฝง นอก, หุร โลกอนื่ , สมมฺ ขุ า ตอหนา , ปรมมฺ ุขา ลบั หลงั , รโห ที่ลบั . อาธารในที่มาตา งๆ ปเุ ร, อคฺคโต, ปุรโต, = กอน, หนา . (อภมิ ขุ ตฺถวาจก ๑๑๔๘). เปจจฺ , อมุตฺร=ภพอนื่ , ขา งหนา .( ๑๑๔๘).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 112 อนตฺ เรน (อนตฺ รา, อนโฺ ต) = ระหวาง (๑๑๕๐) พาหิร = ภายนอก (๑๑๕๓). (ตโิ ร ภายนอก) , ตริ ิย = ขวาง (๑๑๕๙). (กุตฺร), กุตฺถ = ไหน; (๑๑๖๐). ปรตถฺ า เบือ้ งหนา, ทศิ ตะวนั ออก เปน ตน ; ปรุ า เนื่อง, ติด ตอ กนั เปน ตน (๑๑๙๔). ตโิ ร = ปด, ขวาง. (๑๒๐๑). อารา, ทรู า, อารกา = ไกล. (๑๑๕๗). หมายถึงทบ่ี อกท่ี. (๔) กิรยิ าวิเสสน นบิ าตบอกเขตแดน ประการเปน ตน ซ่ึง เปน คณุ บทของกริ ิยา. วจีภาคสว นอพั ยยศพั ท ทวี่ าดวยนิบาตบอกปริจเฉท: กีว เพยี งใด, ยาว เพียงใด, ตาว เพียงน้ัน, ยาวเทว เพยี งใดน่นั เทียว, ตามเทว เพยี งนน้ั นั่นเทียว, ยาวตา มีประมาณเพยี งใด, ตาวตา มีประมาณเพียง นั้น, กติ ตฺ าวตา มีประมาณเทาใด , เอตฺตาวตา มปี ระมาณเทาน้ัน, สมนตฺ า รอบคอบ. นิบาตบอกประการคือ เอว, ตถา ดว ยประการนนั้ , กถ ดว ย ประการไร; (ถา, ถ, ถตฺตา ปจ จัยลงในประการ อุ. อฺถา อฺถตฺตา ดวยประการอ่ืน , อยา งอ่ืน. ๑๒๐๒). นบิ าตมเี นื้อความตา ง : อฺทตฺถุ โดยแท, อทธฺ า แนแ ท, อวสฺส แนแ ท, อารา ไกล, นีจ ต่ํา, นูน แน, นานา ตาง ๆ, ปจฺฉา ภายหลัง, ปฏ าย ตั้งกอ น, อาวี แจง, อจุ จฺ  สูง. กฺวจ.ิ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 113 บา ง, มิจฺฉา ผิด, มธุ า เปลา, มสุ า เทจ็ , สกึ คราวเดียว. สตกขฺ ตฺตุ รอ ยคราว, (กขฺ ตตฺ ุ ปจ จยั ลงในสังขยา. ๑๒๐๒). ปภูติ จําเดิม, ปุน อกี , ปุนปปนุ  บอ ย ๆ, ภยิ โฺ ย ยงิ่ , ภยิ ฺโยโส โดยย่งิ , สณกิ  คอ ย ๆ, (สนกิ  เรว็ , ๑๑๕๓) , สย สาม เอง. นิบาตในที่มาตา งๆ (ปุนปฺปุน), อภิณหฺ , อสก,ึ อภึกขฺ ณ, มหุ ุ= บอย ๆ, เนอื ง ๆ . (๑๑๓๗). วินา, นานา, อนตฺ เรน, ริเต ; ปถุ ุ =เวน เสยี , ตาง ๆ, นอกจาก ตาง ๆ . (๑๑๓๗). พลว. สฏุ  ,ุ อตวิ , กมิ ุต (ส,ุ อต)ิ =ด,ี ยิ่ง. (๑๑๓๘). ตคฆฺ , สสกฺก, กาม, ชาต,ุ เว, หเว=แท (เอกส ตฺถวาจก บอกอรรถ คอื แท. ๑๑๔๐). อ.ุ ท่ี ๑ น หิ ชาตุ คพฺภเสยยฺ  ปนุ เรติ. [เมตตฺ สตุ ตฺ . ๒๕/๑๔] \"ยอ ม ไมถ งึ ความนอน (เกดิ ) ในครรภอ กี โดยแททเี ดียว.\" อ.ุ ที่ ๒ น หิ ชาตุ โส มม หเึ ส. [องคฺ ุลิมาลสุตตฺ . ๑๔/๔๘๗] \"เขาไมพงึ เบียดเบียนขาพเจา โดยแทท เี ด่ียว.\" อรรถกถา อ.ุ ท้งั ๒ นี้ [ ป. โช. น. ๒๘๒ และ ป. ส.ู ๓/๓๑๖ ] แกอรรถวา เอกเ สน.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 114 ส = เอง (๑๑๔๔). กทาจิ, ชาตุ = ดอกกระมัง. (๑๑๔๖). ชาตุ ๑๑๔๐ แท) . สพฺพโต โดย- ทัง้ ปวง, สมนฺโต, ปริโต, (สมนตฺ า) = โดยรอบ (๑๑๔๖). สทฺธ = เหมาะ, สม. (๑๑๔๗). อสี , กิ จฺ ิ, มน = นอ ย (๑๑๔๗). สาหสา = ไมทันตรึก, ผลุนผลัน; สาหส = พลการ. (๑๑๔๘). ตุณฺหี = นง่ิ ; (๑๑๔๙). อาว,ิ ปาตุ = ปรากฏ, แจง, ชัด (บอกอรรถ คือ ปรากฏก็ได บอกอรรถ คือ ตอ หนา กไ็ ด ๑๑๔๙,๑๑๕๗). ปสยหฺ = ขม , คุมเหง.( พลักการตั ถวาจก. ๑๑๔๙). ส, ทิฏ า (อานันทัตวาจก. บอกอรรถ คือ ความยินดี (๑๑๕๑). อตฺถุ (อุสูโยปคมตฺถวาจก บอกอรรถ คอื เขา ใกลรษิ ยา. (๑๑๕๑). ยถตตฺ , ยถาตถ = แท, จริง. (๑๑๕๒). ปาโน = มาก (๑๑๕๓). สนกิ  = เรว็ (๑๑๕๓). อตฺถ (อทสสฺ นตถฺ วาจก บอกอรรถ คอื ไมเหน็ . ๑๑๕๔) อุ. อฏงฺคต. นโม= นอบนอม; สมมฺ า = โดยชอบ ; สุฏ ุ = ดวยดี (๑๑๕๔). (อารา), ทูรา, อารกา = ไกล (๑๑๕๗).

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 115 สจฉฺ =ิ แจง, ใส; ธวุ  = เที่ยง; ทฏุ  ุ, กุ = ชว่ั , นาเกลยี ด (๑๑๕๙). สุวตถฺ ี สวสั ด,ี เจริญสขุ . (๑๑๖๐). สามิ = กงึ่ , พงึ เกลยี ด. (๑๑๒๐๐) มโิ ถ= กนั และกัน, ลบั , สงัด. (๑๒๐๐). หรือ มิถุ ดงั ในคาํ มิถเุ ถทาย. [มหาปรนิ ิพฺพานสุตตฺ . ๑๐/๘๙]. เอชฌฺ  อันเดียวกัน, ดวยกนั (ชฺฌปจ จัย. ๑๒๐๒). ปฏิกจฺจ กอน, ใชก บั เอวศพั ทเ ปนพนื้ . อุ. ปฏกิ จฺเจว ต กยิรา. [ ส. ส. ๑๖/๘๑] \"พงึ ทํากจิ น้นั กอนทเี ดียว.\" (ปฏกิ จเฺ จวาติ ปมเ ยว. สา. ป. ๑/๑๔๓. ใน อ.ุ นี้ ฉบบั สหี ลเปน ปฏิคจเฺ จว). นบิ าตเหลา นี้ ท่เี ปน คณุ บทของกริ ยิ า เรยี ก กิริยาวเิ สสนะ ทัง้ หมด.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 116 ขอ ประกอบ ๑๑. นบิ าตตามทีก่ ลาวในขอ กอ นนัน้ มีขอทคี่ วรอธิบายชแ้ี จง ประกอบ กบั ทงั้ มีขอปลีกยอ ยบางประการเกย่ี วดวยนบิ าต อันควร กลาวประกอบไว ตอไปนี้ :- (๑) นิบาตนอกแบบทส่ี งเคราะหเขาในหมวดตามแบบนน้ั บาง นิบาตมีท่ใี ชนอยมาก, บางนบิ าตใชม ากในบางอรรถ, แตในบางอรรถ ใชน อย เชน : หนฺท ใชในอรรถอยุ โยชนะโดยมาก ใชในอรรถวากยา- รมภะนอย. ตวั อยางที่นาเห็นวาเปน วากยารัมภะ: อถ น สตถฺ า \"หนฺท กโุ ต นุ ตฺว มหาราช อาคจฺฉสิ ทวิ า ทิวสสฺ าติ ปมตร อาลป, [อฺตรปุริส. ๓/๑๑๑ ] \"ลาํ ดบั นน้ั พระศาสดาตรัสทกั พระราชานัน้ กอนกวาวา ' ดกู อ นมหาบพิตร, กพ็ ระองคเสดจ็ มาจาก ทไี่ หนหนอ ในเวลายังวัน ๆ.\" ในแบบจึงแสดงไวในหมวดที่ใชม าก, นกั เรียนใชบอกตามแบบอยา งเดยี วกพ็ อ. (๒) นิบาตหลายศพั ทร วมกนั แสดงอรรถอันเดยี ว มใี ชเ ปน อนั มาก ตรงกบั คําทีท่ า นเรยี กวา นปิ าตสมทุ าย ' ประชุมแหงนิบาต' หรอื อภินนฺ ปนิปาต ' นบิ าตท่ไี มแ ยกกัน' (ดงั เรียก อถวา ในอรรถ อปรนยั . โยชนา อภิ. ๑/๙๐, ๑๙๖). นบิ าตพวกน้ี พงึ รวมเรยี กชอ่ื เดียว เพราะถึงมหี ลายศัพทก ็รวมกันแสดงอรรถเดียว เชน อถวา (อถ+วา) วิกปั ปต ถะ, นหิ (น+ห)ิ ปฏเิ สธ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 117 นบิ าตทแ่ี สดงอรรถอันเดียวกนั วางไวใ กลก นั เรยี กรวมกัน ทเี ดยี วก็ได ดงั เชน กึ ปน ตางแสดงความถาม ทา นเรยี กรวมวา กึ ปนาติ ปุจฉฺ า. [ โยชนา อภิ. ๒/๕๙๘ ]. แตท แ่ี สดงอรรถตา งกนั ดังทท่ี านเรยี กวา ภินนนิบาต [ โยชนา อภ.ิ ๑/๒๙๐ ] ตองแยกเรยี กตามอรรถ อุ.น จ ปเนต วุตตฺ นฺติ. [ อภิธมมฺ ตฺถ. ปฺจมปรเิ ฉท น. ๑๗๕] \"ก็แต อทุ ธจั จสหคตจิตนั่น พระผมู พี ระภาคไมตรสั แล.\" ทานแยกเรยี กวา นศัพท ปฏิเสธ. จศัพท วากยารัมภะ. ปนศัพท วิเสสตั ถะ. [ โยชนา ๒/๖๐๖]. พึงสงั เกต อุ. ตอ ไปน้ี :- อ.ุ ที่ ๑ สรสิ ตวฺ  ทพฺพ เอวรปู  กตฺตา (วาป) ยถาย ภิกฺขุนี อาห. [มหาวภิ งฺค. ๑/๓๗๕ ] \"ทพั พะ, เธอระลึกไดหรอื วา กระทาํ กรรมเชน ท่ีนางภกิ ษนุ ี้กลา วแลว แมบ าง.\" วาป ไมม ใี นบาลี แตโ ยชนา [ ๑/๔๖๕ ] แกว า ปาฐะ วา กตฺตา วาป กม็ ี และแสดงวา วาป เปน อเปกขัตถะ (วาปติ อเปกฺขตโฺ ถ นิปาตสมฺทาโย). อุ. ท่ี ๒ ทลุ ฺลภ วาป ลภนตฺ ิ [ ส. ส. ๑๕/๖๖ ] \"ยอ มไมตุฏฐิ แม ท่ไี ดย าก.\" อ.ุ ที่ ๓ โย พาโล มฺ ตี พาลยฺ  ปณฑฺ ิโต วาป เตน โส [ คณฺ ิเภทกโจร ๓/๑๓๐ ]

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 118 \"ผใู ดเปนพาล รูความท่ีเปน พาล, ผูนั้นแมเปน บณั ฑิต เพราะ ความรูน้นั .\" อุ. ที่ ๔ จนทฺ น ตคร วาป อปุ ฺปล อถ วสสฺ ิถี เอเตส คนฺธชาตาน สลี คนฺโธ อนตุ ตฺ โร. [ อานนทฺ เถรปฺห. ๓/๘๒] \"จนั ทรก ็ดี กฤษณาก็ดี อบุ ลกด็ ี มะลเิ ครือกด็ ,ี กล่นิ แหงศลี เปน เยยี่ มกวา คันธชาตเหลาน.้ี \" วาป, อถ วกิ ัปปตถะ. (จะแยกเรียก อป เปน ปทปรู ณะก็ได) . อ.ุ ท่ี ๕ ต วาป ปตุ ตฺ โรทนตฺ .ิ [ สานุสามเณร. ๗/๑๕๖ ] \"ลกู , ชน ท. รอ งไหถ งึ แมบตุ รนั้น.\" (๓) กริ ยิ าวิเสสนะนั้น หมายถงึ แตท ่ีเปนคุณบทของกริ ิยา, ถา เปนคุณบทของนามหรือแมของนิบาตดว ยกนั เรยี กวเิ สสนะ อุ. :- อุ. ท่ี ๑ ยาวตา ภิกฺขเว.... [ องฺ. จตกฺ ฺก. ๒๑ /๔๔] \"ภิกษุ ท., สตั ว ท. มีประมาณเพยี งใด.....\" ยาวตา วิเสสนะ ของ สตฺตา. [ โย. อภ.ิ ๑/๑๐๙ ]. อ.ุ ที่ ๒ ธมมฺ จกกฺ ปปฺ วตตฺ น หิ อาทึ กตวฺ า ยาว สภุ ทฺทปริพฺพาชก-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 119 วนิ ยนา กตฺพุทธฺ กจิ เฺ จ กสุ ินาราย อปุ วตฺตเน มลฺลาน สาลวเน ยมกสาลานมตฺ เร วิสสขปุณฺณมีทวิ เส ปจจฺ สู สมเย อนปุ าทเิ สสาย นพพฺ านธาตุยา ปรนิ ิพฺพุเต ภควติ โลกนาเถ [ สมนฺต. ๑/๕] \"ความพสิ ดารวา เมอื่ พระโลกนาถผมู พี ระภาค ผูทรงทําพุทธกจิ แลว ตราบถงึ โปรด (แนะนาํ ) สุภัททปรพิ าชก จับแตท รงยังธรรมจกั ร ใหเปน ไปเปนตน ทรงปรนิ พิ พานแลว ดวยทงั้ อนุปาทเิ สสนิพพานธาตุ ในสมยั ใกลร งุ ในวันวสิ าขปุณณมี ณ ระหวา งแหงไมส าละทั้งคู ใน สาลวันของมลั ลกษัตรยิ  ท. อนั เปน ทแ่ี วะพกั ใกลก รุงกสุ นิ ารา.\" พึง สงั เกตสมั พันธ ในโยชนา [ ๑/๒๔ ] ดงั ตอไปน้ี:- ธมมฺ จกกฺ ปปฺ วตฺตนนฺติ ปท กตวฺ าติ ปเท ปกตกิ มมฺ . หีติ ปท วิตฺถาโชตโกง อาทินตฺ ิ ปท กตฺวาติ ปเท วกิ ตกิ มมฺ . กตฺวาติ ปท ยาวาติ ปเท วิเสสน. ยาวาติ ปท พุทธฺ กจิ เฺ จติ ปทสฺส วิเสสน. สุภททฺ ...วินยนาติ ปท ยาวาติ ปเท อปาทาน. กตพทุ ฺธกจิ เจ ภควตตี ิ ปทฺทวย โลกนาเถติ ปทสฺส วเิ สสนง กสุ นิ ารายนตฺ ิ ปท ปรนิ พิ พฺ เุ ตติ ปเท เทสวเสน สามฺ าธาโร สมีปาธาโร วา. อปุ วตตฺ เนติ ปท สาลวเนติ ปทสสฺ วิเสสน. มลลฺ านนตฺ ิ ปท สาลวเนติ ปเท สมพฺ นโฺ ธ. สาลวเนติ ปท ปรนิ ิพพฺ ุเตติ ปเท เทสวเสน วเิ สสาธาโร. ยมกสาลานนตฺ ิ. ปท อนเฺ รติ ปเท สมพฺ นโฺ ธ. อนตฺ เรติ ปท ปรนิ ิพพฺ ุเตติ ปเท วิเสสาธาโร. วิสาขปุณฺณมีทวิ เสติ ปท ปรินพิ พฺ ุเตติ ปเท สามฺกาลสตตฺ มี. ปจฺจูสสมเยติ ปท ปรนิ พิ ฺพเุ ตติ ปเท วิเสสกาลสกตตฺ มี. อนุปาทิเสสายาติ ปท นิพฺพานธาตุยาติ ปทสฺส วเิ สสน. นิพพฺ านธาตุยาติ ปท ปรนิ พิ พฺ เุ ตติ ปเท อติ ถฺ มภฺ ตู ลกขฺ ณ.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 120 ปรินิพพฺ เุ ตติ ปท สนนฺ ปิ ตติ านนฺติ ปเท ลกขฺ ณกริ ยิ า โลกนาเถติ ปท ปรินพิ พฺ เุ ตติ ปเท ลกฺขณวนตฺ . อ.ุ ที่ ๓ นกิ ฺขมโต ปฏ าย ยาว อรหตตฺ มคคฺ า กสุ ลสฺส อปุ ฺปาทนเฺ จว อปุ ปฺ าทิตสฺส จ ภาวนา. [ อานนทฺ ตฺเถรสฺสปฺห. ๖/๑๐๕] \"การยงั กุศลใหเกดิ และการยงั กศุ ลท่เี กดิ แลว ใหเ จรญิ ตราบถึงอรหัตมรรค จาํ เดิมแตออกบวช.\" บอกสัมพันธ ปฏาย ยาว เทียบ อาทึ กตวฺ า ยาว วา ยาว วเิ สสนะของ อปุ ปฺ าทน และภาวนา. ปฏ าย วิเสสนะ ของ ยาว. (๔) นบิ าตยงั ใชใ นอรรถตาง ๆ เหมือนบทนาม เชน :- วิกตกิ ัตตา: อุ. เอกทิวส ทินฺโนวาโทเยว หสิ สฺ สตฺตนนฺ  สว จฉฺ ราน อล อโหสิ. [ อานนฺทตเฺ ถรสสฺ ปหฺ . ๖/๑๐๔ ] \"เพราะ วา โอวาทที่ประทานแลวในวันหนึ่งของพระวปิ สสีสัมมาสมั พุทธเจานั้น ไดเปนของพอแก ๗ ป. \" ประธาน : อุ . สุวตตฺ ิ โหตุ สพพฺ ทา. [ รตนตฺตยปปฺ ภาวา- ภยิ าจนคาถา] \"ขอความสวสั ดี จงมีในกาลทุกเมื่อ.\" สวุ ตฺถิ นบิ าตบอกอรรถ คอื ปรารถนา [ อาสสี ตฺวาจก. ๑๑๖๐ ] แปลวา สวสั ดี, เจรญิ สขุ . (๕) นบิ าตจําพวกที่ใชลงในตติยาวิภตั ติ ทา นมักเรียกเปน ตติยาวิเสสนะ, บางคร้ังเรียกเปน กรณะ ก็มี เชน สกกฺ จฺจ โดยเคราพ, ภยิ ฺโยโส โดยยิ่ง, จิเรน โดยกาลนาน (จิเรน. ๑๑๓๖). สพฺพโต

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 121 โดย...ท้งั ปวง, สมนตฺ โต, ปรโิ ต, สมนฺตา โดยรอบ (๑๑๔๖). ยถา โดยประการใด, ตถา โดยประการนั้น, เอตตฺ าวตา โดย, ดว ย คํามปี ระมารเพยี งน้ี. (๖) อติ ิศพั ทท ว่ี างอาทิศัพทไ ดด วย เปน อติ ิอาทิ ทา นแสดง เปนบทสมาส ในเวลาแสดงสัมพันธจึงไมตองแยกศพั ท และใหอา นขอ ความทีอ่ ิติอาทิอมไวท งั้ หมดดวย. อ.ุ น หิ สกฺกา ปรโลก คจฺฉนเฺ ตน ' อธวิ าเสถ กติปาห, ทาน ตาว เทมิ, ธมมฺ  ตาว สณุ ามีตอิ าทีนิ วตตฺ . [ โคฆาตกปุตตฺ . ๗/๖ ] \"แทจริง บคุ คลเม่ือไปสปู รโลก ไมอ าจ เพือ่ จะกลา วคํามวี า ขอทานโปรดใหย บั ย้งั อยู ๒-๓ วนั , ขาพเจา จะใหท าน กอน, ขา พเจาจะฟงธรรมกอ น ดังนเี้ ปน ตน.\" เมือ่ แสดงสัมพนั ธถงึ อิตอิ าทิ ใหแ สดงวา อธิวาเสถ ฯ เป ฯ สณุ ามตี อิ าทีนิ อวุตตกัมม ใน วตตฺ ุ. (หรือวิเสสนะของ วจนาน)ิ . (๗) อติ ศิ พั ทท่วี างกลาง แตอ มความท้ังขางหนาทงั้ ขางหลงั โบราณเรยี กวา อติ นิ าคพาธ เชน :- จนทฺ สรุ เิ ยหิ เม อตโฺ ถ เต เม เทหตี ิ ยาจโิ ต โส มาณโว ตสฺส ปาวท.ิ [มฏกุณฑฺ ล.ิ ๑/๒๘] \"มาณพน้ัน ไดกลา วแกพ ราหมณน ั้นวา 'ความตอ งการของ ขา พเจา ดวยดวงจันทรแ ละสรู ย, ทา นผอู ันขาพเจาขอแลว, จงให ดวงจนั ทรและสรู ย ท. นนั้ แกข า พเจา ดงั น.้ี \" แทท ี่จรงิ อติ ิ พงึ วางหลงั ยาจิโต เพราะอมความสดุ ลงท่ีบทใด กว็ างหลังบทนน้ั แตในท่ีน้ีวางแทรกในระหวาง เพราะฉันทลกั ษณะ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 122 บังคับ และอมความท้ังขางหนาขางหลัง จงึ เรียกวา นาคพาธ. ชอื่ นี้ แสดงลักษณะอติ ทิ ่ีต้ังอยูในประโยค ไมใชชอ่ื สัมพนั ธ. ชื่อสัมพนั ธค ง เรยี กตามอรรถที่ใช เชน ใน อ.ุ นั้น อิติ ศพั ท อาการ ใน ปาวท.ิ (๘) นบิ าตทใ่ี ชต ามทีว่ างไวเ รียก านปฺปยุตตฺ หรือ ฐาน- สมั ปยตุ , สวนนบิ าตที่ชักไปใชใ นท่ีอน่ื จากที่วางไวเรยี ก อฏ านปฺ- ปยตุ ฺต หรือ อัฏฐานสมั ปยตุ . (โยชนา อภธิ มฺมตฺถ. ๑/๒๘๘). อ.ุ อิธ เอกจโฺ จ หตถฺ ิรตนมฺป ทสสฺ นาย คจฺฉติ, อสฺสรตนมฺป ทสฺสนาย คจฉฺ ติ.... [วากยสัมพันธตอนตน สวนนบิ าต ท่วี า ดว ย วกิ ัปปต ถะ] \" บุคคลบางพวกในโลกน้ี ไปเพือ่ ดชู า งแกวบา ง, ไปเพ่ือ ดมู า แกว บาง....\" ป ศพั ท เปน วากยวกิ ัปปตถะ พงึ วางแลว คจฺฉติ แตวางหลงั หตฺถริ ตน เปนตน. อติ ินาคพาธ กส็ งเคราะหเขาใน อัฏฐานสัมปยุต. อัฏฐานสมั ปยตุ นี้ โดยท่ีแททา นวางถูกลกั ษณะวธิ วี ากยสัมพันธ ดังบศี่ ัพทว ิกัปปต ถะนนั้ นิยมวางทบ่ี ทตา งกนั (หตฺถิรตน เปนตน ) ไมวางท่บี ทซํา้ (คจฺฉติ). ในทางอรรถแหง สัมพนั ธ นบิ าที่ใชเ ปนานสัมปยุต มีอรรถ อยางหนึ่ง, อัฏฐานสัมปยุต มีอรรถอกี อยางหน่งึ , เรอื่ งน้ีพึงสังเกต ใหด ี เชน วตุ ฺตป เจต, ถา อป เปน ฐานสมั ปยตุ ก็เปน วตุ ฺต อปจ เอต (อปจ อปรนยั ), ถา เปนอฏั ฐานสัมปยตุ ก็เปน วุตตฺ  จ เอต อป (จ ทัฬหีกรณะ, อป อเปกขัตถะ).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 123 (๙) นบิ าตและปจจยั เบด็ เตล็ด คอื :- ก. อตถฺ ิ บอกอรรถ คือ มี (สตฺตาตถฺ วาจก. ๑๑๕๔), นตถฺ ิ (น+อตถฺ ิ). ทงั้ ๒ น้ี ในโยชนาเรียก กตฺตุวาจก นปิ าตปท. ข. กิร เปนไปในอรรถ คือ ไมชอบใจ เรียกช่อื อรจุ ฺยตโฺ ถ หรอื อรจุ ิ (กริ านุสสฺ วารจุ ีส.ุ ' ' กริ เปนไปในอรรถ คือ ไดย นิ วา๑ ไมช อบใจ ๑.' ๑๑๙๙). ทานแสดงตัวอยางไว คือ ขณวตถฺ ุปรติ ฺตตฺตา อาปาถ น วชนฺติ เย, เต ธมฺมารมมฺ ณา นาม เยส รปู าทโย กริ . กิร ใน อุ. ตอ ไปน้ี กน็ าเห็นวา แสดงอรรถไมช อบใจ: ธริ ตฺถุ กริ โภ ชาติ นาม. [ มีในขอวา ดวย ธ]ิ . ค. ก เปน ไปในอรรถ คอื วาริ (นาํ้ ) ๑ มทุ ฺธนิ (ยอด) ๑. ('ก ตุ วารมิ หฺ ิ มทุ ฺธานิ.' ๑๑๙๘). ฆ. หิ ปจจยั ลงในสัตตมวี ิภัตติ เชน ยหิ (๑๒๐๒) เปน พวก เดียวกบั ตรฺ ตฺถ ห ธ ธิ หึ ห หิฺจน ว ท่ีทา นแสดงไวแ ลวใน วจวี ิภาคสวนอัพยยศัพท. ง. โตปจ จยั โดยปกตเิ ปน เคร่อื งหมายตติยาวิภัตติและปญจมวี ภิ ัตติ แตบางศัพทใชในอรรถอนื่ เชน ยโต ตโต ที่แสดงกาล เรยี กกาลสตั ตมี แปลวา ในกาลใด, ในลาํ ดบั นน้ั , ในกาลน้ัน. (ตโต= ตทนนฺตร, ตทา. [ โยชนาสมนตฺ . ๑/๓๖ ]. ยโต โขติ ยทา โข. [ มงคฺ ลตฺถ. ๒/๑๙๑ ]. ตโต = ปจฺฉา ในบางแหง ) (๑๐) นบิ าตทใี่ ชในอรรถถามโดยปกติ ใชในอรรถอนื่ ก็มี เชน :- กถฺจิ บอกอรรถ คือ ยาก, เสียใจ. (กจิ ฺฉตฺถวาจก. ๑๑๕๘).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 124 กึ บอกอรรถ คอื เกลยี ด (' กึ ตุ ปจุ ฉฺ าชิคุจฉฺ าสุ.' ' กึ เปน ไปในอรรถ คอื ปจุ ฉฺ า ชคิ จุ ฉฺ า ๑๑๙๘). นนุ บอกอรรถ คอื ติเตียน อุ. นนุ อาวุโส ภควตา อเนก- ปรยิ าเยน วริ าคาย ธมฺโม เทสโิ ต. [ มหาวิภงฺค ๑/๓๔ ] \"ผูม อี าย,ุ ธรรมอันพระผูมพี ระภาคทรงแสดงเพอื่ วริ าคะโดยอเนกปริยาย มใิ ชห รือ.\" [ นนูติ อนมุ ติ คหรตเฺ ถ นปิ าโต สมนฺต. ๑/๒๕๐]. กถ (หิ นาม ) บอกอรรถ คือ ตเิ ตยี น (นนิ ทฺ าตฺถวาจก) อ.ุ กถ หิ นาม ตฺว โมฆปุรสิ เอว สวฺ ากฺขาเต ธมมฺ วินเย ปพพฺ ชติ ฺวา น สกขฺ สิ ฺสสิ ยาวชีว ปรปิ ณุ ฺณ ปรสิ ทุ ธฺ  พฺรหฺมจริย จรติ .ุ [ มหาวิภงฺค ๑/๓๕ ] \"แนะ โมฆบุรษุ , ไฉนทา นมาบวชแลว ในธรรมวนิ ัยอนั เรากลา ว ดีแลว อยางน้ี ไมอาจเพือ่ ประพฤตพิ รหมจรรยใหบ ริสุทธ์ิบรบิ รู ณต ลอด ชวี ติ ไดเลา.\" นิบาตเหลานี้ จะถามเพือ่ อะไรก็ตาม กค็ งสรูปลงใน ปุจฉนัตถะ เหมอื นอยา ง กินตฺ .ิ (๑๑) หิ นาม นิบาต มอี าํ นาจทาํ กิรยิ าในพากยทมี่ ักประกอบ เปน อนาคตวจนะ (ภวิสสฺ นตฺ วิ ภิ ัตติ) ใหเปนอตตี วจนะโดยความ. (ยตฺรหนิ ปิ าตวเสน อนาคตวจน, อตโฺ ต ปเนตถฺ อตีตวเสน เวทติ พโฺ พ. สุ. วิ ๒-๒๕) อกี มติหนง่ึ วา ใหเปนปจจบุ นั วจนะ (วตตฺ มานาวภิ ัตต)ิ , มตนิ ้ขี องสทั ทนีต.ิ [ การก น. ๑๓๐ ] อุ. ในขอ กอน. หิ นาม นําไปเชือ่ มทา ยกิริยาในพากย ดงั อ.ุ น้นั ประกอบวา สกฺขสิ สฺ สิ หิ นาม. โบราณแปลวา มา.... แลว. บางแหง ทานวางแตนามศัพท แตมอี าํ นาจเปลีย่ นกาลแหง บท

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 125 กริ ยิ าในพากยเชนเดยี วกบั หิ นาม. อ,ุ ตตฺถ. นาม ตฺว โมฆปรุ สิ ย ตวฺ  อสทฺธมฺม สมาปชชฺ สิ สฺ สิ. [มหาวภิ งฺค ๑/๓๖ \" แนะโมฆบรุ ุษ, ทานมาสมสูแลว ซงึ่ อสัทธรรม... ไรนนั่ ในองคชาตของมาตุคามน้นั .\" (อรรถกถา [ สมนตฺ ๑/๒๕๕] แกอ รรถ ย ตว วา ย เปน หีฬ- นัตถนบิ าต [ นบิ าตในอรรถ เยย , หม่นิ ], ตฺว เปนไวพจนของ ต ศพั ท, ย ตวฺ  เมาะ ย ต, พึงเรียกเปน วเิ สสนะ. นาม ศพั ทนําเช่อื ม วา สมาปชฺชสิ ฺสสิ นาม). แต หิ นาม ไมเปลย่ี นกาลแหง บทกิรยิ ากม็ ี อ.ุ กถ หิ นาม มาทโิ ส อจุ เฺ จ อาสเน นสิ ที ิตวฺ า ตสฺส ภควโต สาสน โสตพฺพ มเฺ ยยฺ .[ ส. ขนธฺ วาร. ๑๗/๑๐๙] \" บุคคลผูเชน กบั เรา จะมาสาํ คัญ ขาวสาสนของพระผูมพี ระภาคเจา น้ัน วา อนั คนพึงน่ังบนอาสนะสงู สดับ ฟง อยา งไรได.\" (พงึ สงั เกตการใชวภิ ตั ตกิ ิรยิ าในพากย). (๑๒) คํา ๆเดยี ว แปลซาํ้ เชน มธุ า เปลา ๆ โบราณ เรียกชอื่ พิเศษวา วิจฉาวจนาเมณฑกนัย. วิจฺฉา สส กฤตเปน วปี สฺ า แปลวา ซํา้ , วจิ ฉาวจนะ ก็คือคําซํา้ , เปนคาํ ไขของ อาเมณฑก. อาเมณฑ หรอื อาเมณฑก แปลวา กลา วซาํ้ . อาเมณฑติ วจนะ ใชหมายในทีท่ ั่วไปถงึ คําทก่ี ลา วซ้ํา ๒ คร้ัง เพราะความราเริง เชน สาธุ สาธุ เปนตน ดงั คาถาวา : ภเย โกเธ ปสส าย ตุรเิ ต โกติหลจฉฺ เร หาเส โสเก ปสาเท จ กเร อาเมฑิต พุโธ. [สมนฺต. ๑/๑๙๑ ]

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 126 \"ปราชญพึงทาํ คํากลา วซาํ้ ในเพราะความกลวั , ความโกรธ, ความสรรเสรญิ , ความรบี ดว น, ความอลหมาน, ความอศั จรรย, ความ รา เริง, ความโศก, ความเลอื่ มใส.\" แต วจิ ฉาวจนาเมณฑกนัย ในทนี่ ี้ ไมใ ชอ าเมณฑิตวจนะ เพยี ง เอานัยมาใชใ นคําแปลเทานน้ั , และมุธา เปลา ๆ ที่เปน คณุ บทของกิริยา ก็คอื กิรยิ าวเิ สสนะนน่ั เอง. อนง่ึ ยถา ที่ใชในอรรถซา้ํ วา 'ใด ๆ ' ทานเรยี กวา วจิ ฺฉาวาจก เชน ในคําวา ยถาธปิ ฺเปต. (โยชนา อภ.ิ [ ๑/๑๕๗ ] วา อธปิ ปฺ ยติ อจิ ฺฉิยตีติ อธิปฺเปต, ย ย อธิปฺเปต ยถาธปิ เฺ ปตล ยถาสทโฺ ท วิจฺฉาวาจโก). (๑๓) มชี ่อื นบิ าตทีท่ า นเคยเรียกมาแตก อน เชน หิ สองความ สังเขป เรียก สงั เขปโชตก, สองความวาธรรมเนียน หรือ ธรรมดา เรยี กธมั มตาโชตก ดงั คําวา อตถฺ สมปฺ นนฺ า หิ (ธรรมเนียนหรือธรรมดา ผูท ถ่ี งึ พรอ มแลว ดว ยอรรถ). กริ ' ขอทีเถอะ' เรียก ยาจนตั ถะ, ตามความ กต็ รงกับทเี่ ปนไปในอรรถ คอื ไมชอบใจ. (๑๔) นิบาตโดยมากไมไดยนื ตัวอยใู นอรรถอยางเดยี ว จึงกําหนดให แนล งไปทเี ดียวไดย าก ทงั้ จะกลาวใหสน้ิ เชิงก็เปน กายยาก เชน ตถา ศัพท บางแหงใชใ นอรรถ วา ศพั ทก็มี [ โยชนา อภิ. ๑/๑๘๓]. น้จี ะหา ท่ีบอกไวใ นแบบไดย าก เพราะเปน การใชพ เิ ศษ. หรอื เชน ปาโต ปฏ าย, อชชฺ ปฏาย เห็นวา ควรบอก ปาโต และ อชชฺ เปน อปาทาน ใน ปฏาย.(บางแหงใชวา อชชฺ โต ปฏ าย ก็มี). ฉะนนั้

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 127 ตองคํานึงถงึ อรรถในทนี่ นั้ ๆ เปนขอสําคัญ แมจะพเิ ศษจากแบบ กต็ อง ถือวา เปนการใชพ ิเศษเฉพาะแหง ๆ ไป.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 128 นบิ าตโดยเอกเทศ ๑๒. จะยกนิบาตมีอรรถหลายอยา งบางนบิ าตทกี่ ลาวมาแลว ตามหมวดในขอกอน แตยังไมส้นิ อรรถทีใ่ ช มาประมวลกลาว โดยเอกเทศ กับท้งั นิบาตท่ีแปลออกไปอนั ไมอ าจจดั เขาหมวดไดท ีละ- ศพั ท คอื :- (๑) อถ, อถวา, อถโข ใชอ รรถตามชอ่ื สัมพันธ ดงั ตอ ไปน้ี :- วากยารมั ภโชตก. อถ ก.็ สมจุ จยตั ถะ. อถ ดว ย. วิกปั ปตถะ. อถ หรอื , บา ง; อถวา หรอื วา , อกี นยั หน่ึง. ปริกัปปต ถะ. อถ ถา วา . อรุจสิ ุจนัตถะ. อถโข แต, ก็แตวา , ถงึ อยา งนนั้ . ปุจฉนตั ถะ. อถ (๑๑๙๐) ดังเราถาม คาํ แปลในบาล-ี ลปิ ก รม). กาลสตั ตม.ี อถ ครน้ั นน้ั , อถโข ครั้งนน้ั แล. (ถา มบี ทนามนาม ก็เปน วเิ สสนะ เชน อถโข กาเล ในกาลนนั้ แทจ ริง). อถ กาลสตั ตมี ที่คกู ับยทา (ยทา-อถ) = ตทา อุ. :- ยทา หเว ปาตุภวนฺติ ธมมฺ า ฯเป ฯ อถสสฺ กงขฺ า วปยนฺติ สพพฺ า. [ มหาวคฺค ๔/๒] \"เมอื่ ใดแล ธรรม ท. ปรากฏ....เมอื่ น้ัน ความสงั สยั ของ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 129 พราหมณน้ันยอมส้ินไป.\" ตตยิ าวเิ สสนะ. อถ. (เมาะ สจฺจโต) โดยแท. อุ. ปฺ า นาม น ปจติ ฺวา ขาทนตฺถาย กตา, อถโข วจิ ารณตถฺ าย กตา. [ กณุ ฺฑลเกสเี ถรี. ๔/๑๐๖ ] \"ชื่อวาปญ ญา ทาํ ไวเพื่อประโยชนต มกนิ หามไิ ด, ทําไวเ พอ่ื ประโยชนว จิ ารณโดยแท. ลกั ขณวนั ตะ. อถ. อ.ุ อถ กสฺมา น อุจจฺ ินิโต [ สมนตฺ . ๑/๗ ] \"เมอ่ื เปนอยา งนั้น เพราะเหตุไร พระเถระจงึ ไมเลือกพระ อานนฺท.\" (อถาติ อจุ จฺ ติ พพฺ ภาเว สต.ิ โยชนา ๑๒๙). หรอื ดัง อถ กิ จฺ รหิ, อถ โกจรหิ ท่กี ลาวแลวในขอปจุ ฉนัตถะ. อถ ทก่ี ลา วความสืบตอไปจากตอนตน (ปม- อถ) แปลกนั วาในภายหลัง ดงั คาํ วา อถาปร เอตทโวจ สตถฺ า, อเถกทิวส. ใน บางแหงอาจแปลโดยอรรถวา แลว, คร้นั แลว , ดงั อุ. วา วนทฺ ิตวฺ า สมฺมาสมฺพทุ ธ อาทโิ ต อถ ธมฺมจฺ สงฆฺ ฺจ \"ไหวพ ระสมั มา- สัมพทุ ธะแตตน แลว (ไหว) พระธรรมและพระสงฆ. \" อถ จ ปน เปน นิบาตหมู ใชใ นความทอ นหลังทก่ี ลา วชมหรือติ นาเรียกรวมวา สมั ภาวนโชตกนปิ าตสมหุ ะ หรอื ครหโชตกนปิ าตสมหุ ะ ตามความ, ตรงกับความไทยวา ก็แตว า, ถึงอยา งนั้น. อุ. :- อุ. ที่ ๑ โก นุ โข โภ โคตม เหตุ โก ปจจฺ โย; ยนฺติฏเตว นิพพฺ าน, ตฏิ ติ นพิ พฺ านคามี, ตฏิ  ติ ภว โคตโม สมาทเปตา; อถ จ ปน โภโต โคตมสฺส สาวกา โภตา โคตเมน เอว

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 130 โอวทยิ มานา เอว อนสุ าสยิ มานา; อปเฺ ปกจเฺ จ อจจฺ นตฺ นิฏ  นพิ พฺ าน อาราเธนตฺ ิ, เอกจเฺ จ นาราเธนฺต.ิ [ม. อุป, คณกโมคฺคลลฺ าน. ๑๔/๘๕ ] \"ขาแตพ ระโคดมผูเ จริญ, เหตุอะไรหนอแล ปจจัยอะไร, เพราะเหตุ ปจจยั ไรเลา พระนพิ พานก็มีอยู, ทางใหถ ึงพระนิพพานกม็ อี ยู, พระ โคดมผเู จริญผชู ักนําก็มีอย,ู ถงึ อยางน้ัน พระสาวก ท. ของพระโคดม ผูเจริญ ผูอ ันพระโคดมผเู จริญโอวาทอยอู ยา งนั้น อนุสาสนอ ยูอยางนน้ั , บางพวกกย็ ังพระนพิ พานท่สี ําเรจ็ โดยสว นเดียวใหสัมฤทธ,์ิ บางพวกก็ ไมใหส มั ฤทธ.์ิ \" (ย เปน ปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถเหต,ุ เรื่องน้ีจะมี แสดงขางหนา). อ.ุ ที่ ๒ สามเณเรน อทิ าเนว ภตตฺ  ภตตฺ ; อถ จ ปน สรุ ิโย นภมชฺฌ อติกฺกนโฺ ต ปฺ ายต.ิ [สขุ สามเณร. ๕/๙๓] \"ภัตร อนั สามเณรฉนั เสรจ็ เดยี๋ วนเี้ อง. ก็แตวา อาทิตยป รากฏเลยทามกลาง ฟา แลว .\" อถ จ ปน ใชวางในพากยางคท ่ีเปนตอนหน่ึงของพากยก็มี อ.ุ :- อุ. ท่ี ๑ อฺตติ ฺถยิ า ปรพิ พฺ าชกา อนธฺ อจกฺขุกา อชานนตฺ า อาโรคยฺ  อปสสฺ นตฺ า นิพฺพาน; อถ จ ปนมิ  คาถ ภาสนฺติ ... [ ม. ม. มาคณฑฺ ิย. ๑๓/๒๘๒] \"ปรพิ าชก ท. ผูอญั ญเดียรถีย ผบู อด ไมม ี

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 131 จกั ษุ ไมรูความไมมีโรค ไมเหน็ นิพพาน, ก็แตว า ยอ มกลา ว คาถาน้.ี ..\" อุ. ท่ี ๒ ภทเฺ ท ตวฺ  อโิ ต ปพุ ฺเพ อมเฺ หหิ น ทฏิ ปุพพฺ า; อถ จ ปน โน มหนฺต สกกฺ าร กโรส.ิ [ โสเรยยฺ ตเฺ ถร. ๒/๑๖๐ ] \"นางผูเจริญ, หลอ น อนั เราไมเคยเหน็ ในกอนแตน ้ี ก็แตว าทาํ สักการะใหญแ กเรา.\" อ.ุ ที่ ๓ สพฺเพ เนว เอกสิ ฺสา มาตุ ปตุ ฺตา, น เอกสสฺ ปต,ุ นาป วีตราคา; อถ จ ปน อวเสสาน อตฺถาย ปฏปิ าฏยิ า ชีวิต ปรจิ ฺจชึสุ. [ สงกฺ ิจจฺ สามเณร. ๔/๑๒๙ ] \" ภกิ ษุ ท. นั้นทง้ั หมด ไมใ ช เปน บุตรรว มมารดา ไมใ ชเ ปนบุตรรว มบิดา, ท้งั ไมใชเ ปนผปู ราศจาก ราคะ, กแ็ ตวา บริจาคชวี ิตเพ่อื ประโยชนแหงภกิ ษุ ท. ทีเ่ หลือโดย ลําดบั .\" พากยเ ชน น้ี นักเรยี นมกั ตดั เปน ๒ พากย แตเ ห็นวา ไมตัดกไ็ ด เพราะพากยางคก็เปน ขอความตอนหน่ึง ๆเหมือนกัน จึงเปน ฐานะทจ่ี ะ วางนบิ าตจําพวกตน ขอความลงได. อถ จ ปน วางอยา งกิริยาวิเสสนะก็มี. อ.ุ เสยฺยถาป พรฺ าหฺมณ ปุรโิ ส ทฬิทโฺ ท อสฺสโก อนาฬฺหิโย ตสสฺ อกามสสฺ วสิ  โอลคฺเคยฺยุ อนิ นเฺ ต อมโฺ ภ ปรุ ิส มส  ขาทิตพพฺ  มูลฺจ อนุปปฺ ทาตพพฺ นฺติ, เอวเมว โข พฺราหมฺ ณ พรฺ าหฺมณา อปฺปฏิฺ าย เตส สมณ-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 132 พฺราหฺมณาน อถ จ ปนมิ า จตสโฺ ส ปารจิ รยิ า ปฺ เปนตฺ .ิ [ม.ม. เอสุการสี ตุ ตฺ . ๑๓/๖๑๑] \"พราหมณ, ชน ท. พงึ แขวนสว นเนื้อ (โค) แกบ รุ ุษผขู ัดสนจนยาก ไมป รารถนาวา ' บุรษุ ผเู จริญ, ทานพงึ เค้ียว กนิ เนอื้ นี้ และพึงใหมูลคา' แมฉ นั ใด; พราหมณ ท. กฉ็ ันน้ันเหมือน กนั แล ยอ มบญั ญตั ิปารจิ รยิ า ๔ นี้ กแ็ ตดวยความไมรับรองแหงสมณ- พราหมณ ท. นั้น.\" อุ.นอี้ าจเรยี งแยกอนปุ ระโยคได ดังน้ี :- ก. เอวเมว โข พฺราหมฺ ณ พรฺ าหฺมณา อิมา จตสฺโส ปาริจรยิ า ปฺ าเปนฺติ; อถ จ ปน เต สมณพฺราหฺมณา น ปจฺจฺาสุ. ข. เอวเมว โข พรฺ าหมฺ ณ พฺราหมฺ ณา, สมณพรฺ าหมฺ ณา น ปจจฺ ฺาส;ุ อถ จ ปน เตส อมิ า จตสโฺ ส ปาริจริยา ปฺ เปนฺติ. นิปาตสมหุ ะนี้ บางทา นกแ็ ยกเรียงตามท่ีเห็นสมแกอรรถในท่ีน้นั ๆ. (๒) อป ทานวาเปนอปุ สคั , โดยมากใชเ ปนนิบาตดังกลา ว มาแลว, ใชเ ปน อุปสัคตาม อ.ุ ทีท่ า นแสดงไว คอื อปธ าน (๑๑๘๓). อป ใชใ นอรรถที่กลา วแลว ในขอกอ น คือ สมุจจยัตถะ, (และ วิกัปปตถะ), ปุจฉนตั ถะ, อเปกขัตถะ, สัมภาวนตั ถะ, ครหตั ถะ. อนึง่ อป โบราณทา นแปลแปลก ๆหลายอยา ง, ท่ีควรกลา ว คือ อนึ่งโสด, โดยแท, เออก,็ อป (อนึ่งโสด) เรยี กวกิ ปั ปตถะหรือ อปรนยั ; อป (โดยแท) เรยี กวิกปั ปตถะ, สมั ภาวะ หรือ ครหะ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 133 ตามควร; อป (เออก็), อปจ (เออก)็ , บางทานเรียกโจทนตั ถะ. อุ. :- อุ. ที่ ๑ อป นุ หนุกา สนฺตา. [ มหลลฺ กตฺเถร. ๗/๗๗] \"เออก็ คางของเราลา แลว.\" อ.ุ ที่ ๒ อป อตรมานาน ผลาสาว สมิชฌฺ ต.ิ [ ขุ. ชา. เตมิย. ๒๘/๑๕๖ ] \"เออก็ ความหวังในผล ยอ มสําเรจ็ แกบุคคลผไู มดว นเห็นแตไ ด. \" (คําแปลนยั มงคลวิเสสกถา. ศก ๑๒๕). อป ในที่บางแหง แสดงความปริกปั ( =สเจ) ก็ม.ี อปจ โข ปน อปจ ปน เปน นิบาตหมู สงความวิกปั นา เรียกวา วกิ ปั ปต ถนปิ าตสมหุ ะ ตรงกบั ความไทยวา ถงึ อยา งไรกด็ ี ถึงกระนนั้ กด็ ี. อีกอยางหน่งึ สองอปรนยั นาเรยี กวา อปรนยโชตก- นิปาตสมุหะ ตรงกบั ความไทยวา ก็อีกอยา งหน่งึ แล, โบราณใชว า แมน อนั หน่ึงโสด. อ.ุ :- อุ. ท่ี ๑ มนุสฺสาน เอต ปสาทภฺ , อนาปตฺติ ภกิ ขฺ เว ปสาทภเฺ ; อปจ โข ปน พรฺ าหฺมณสสฺ อรหนฺเตสุ อธมิ ตตฺ  เปม; ตสฺมา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 134 ตุมฺเหหปิ  ตณฺหาโสต เฉตฺวา อรตตฺ เมว ปตตฺ ุ ยุตฺต. [ ปสาท- พหลุ พรฺ าหฺมณ. ๘/๑๐๓] \"คํานัน่ เปน การกลา วดว ยความเลอ่ื มใสแหง มนษุ ย ท. , ภกิ ษุ ท., ไมเ ปนอาบตั ิ ในเพราะการกลา วดว ยความเลือ่ มใส; ถงึ กระนั้นก็ดี พราหมณมีความรักมปี ระมาณย่ิงในพระอรหันต ท., เพราะฉะน้นั กค็ วรท่ที าน ท. จะตดั กระแสตณั หาบรรลุพระอรหัต แทเที่ยว.\" อุ. ที่ ๒ ตสมฺ า น สุต มงฺคล; อปจ โข ปน มตุ  มงคฺ ล. [ มงฺคลตฺถ. ๑/๓ ] \"เพราะเหตุน้นั สตุ ะไมใชม งคล, แมอ นงึ่ โสด มตุ ะเปน มงคล.\" อ.ุ ที่ ๓ อโห เต ภาริย กมมฺ  กต, กสมฺ า มยหฺ  นาจิกฺขิ; อปจ ปน เต เถโร ขมาปโต [ โสเรยยิ ตเฺ ถร. ๒/๑๖๑] \"โอ ! กรรม หนกั อันทานทําแลว , เพราะเหตไุ ร จึงไมบ อกแกฉนั ; อีกอยางหน่ึงแล พระเถระอนั ทานใหอ ดโทษแลว หรือ.\" อ.ุ น้ี แยกเรยี ก อปจอปรนย, ปน ปจุ ฉนัตถะ (อนึ่งเลา ) ก็ได. นิปาตสมหุ ะน้ี บางทานแยกเรยี งตามทีเ่ หน็ สมแหอรรถในที่นนั้ ๆ. อป นาม เรียกวกิ ัปปต ถะ เหมือน อปฺเปว นาม (ชอ่ื แม ไฉน, ทําอยางไรเสยี ) อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ อป นาม เอวรโู ปป รกขฺ โส ธมมฺ  ชาเนยยฺ . (รสวาหณิ ี, อุรคสตุ ฺต) \"ช่อื แมไฉน รากษสเหน็ ปานนพี้ ึงรธู รรม.\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 135 อุ. ที่ ๒ อป นาม อชชฺ ลเภยฺยาม. [ มงคฺ ลตฺถ. ๑/๑๒๑ ] \"ทํา อยางไรเสีย วันน้ี เราพงึ ได. \" อปเฺ ปว นาม วา มาจาก อป+ เอว+นาม, เพราะ อป เมอื่ มีสระ ตามมา บางครงั้ กลายเปน อปฺป จงึ เปน อปเฺ ปว นาม. อน่ึง ป วา เปนรปู ตัดของ อป เนื่องจากการสนธิกอน,เพราะ อป เม่อื สนธกิ ับศัพทหนา อ ยอมกลายไปโดยวิธสี นธิ เชน อชชฺ าป จาป นาป หรือหายไป เชน มนสุ โฺ สป วาป สพเฺ พป, จงึ เกดิ เปน รูป ป ขึ้นใชอ ีกศัพทห น่งึ โดยไมค ํานงึ ถงึ อ ตนศพั ท เชน ทตุ ิยมปฺ  อติ ปิ  ถา เปน อป ตองสนธเิ ปน ทุตยิ ะมะป อติ ปี  หรือ อจิ ฺจาป), และบทเชน มนุสโฺ สป วาป สพเฺ พป จะเขยี นวา มนุสโฺ สป (มนุสโฺ ส' ป), วาป (วา' ป) , สพฺเพป (สพฺเพ' ป ) กไ็ ด; วา มนุสฺโส ป, วา ป, สพฺเพ ป กไ็ ด. (๓) อล ทา นวา (๑๑๙๐ ) ใชในอรรถ ภูสนะ (พอ) อ.ุ อล- กาโร'ทาํ ให (งาม) พอ' บาง, วรรณะ( ปฏกิ เขปะ หรือปฏเิ สน = อยา เลย) อ.ุ อล เม พทุ ฺเธน ' อยา เลยดว ยพระพทุ ธเจาของเรา' บาง, ปรยิ ัตติ (พอ, ควร, อาจ, สามารถ) อ.ุ อลเมต สพพฺ  ' ทั้งหมดนี้ พอ' บา ง แตทางสมั พันธคงเรียกตามเนือ่ งอยูใ นประโยค อุ. :- อุ. ท่ี ๑ (วารณะ) อล อยฺย, มาตา เม ตชเฺ ชฺสฺสติ. [ ปาฏกิ าชีวก. ๓/๔๐ ] \"อยา เลย ผูเปนเจา, มารดาของขาพเจา จะดุเอา\" อล เรียกลงิ คตั ถะ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 136 หรอื ปฏิกเขปลงิ คตั ถะ หรอื ปฏิเสธิลงิ คตั ถะ. อ.ุ ท่ี ๒ (ปรยิ ตั ติ) ตตฺถ ทกฺโข โหติ อนลโส.... อล กาตุ อล สวธิ าตุ. [ อง.ฺ จตกุ ฺก.๒๑/๔๖ ] \"เปน ผขู ยันไมเกียจครานในกิจ ท. น้นั ...เปน ผูพ อ (อาจ, สามารถ) เพอื่ ทํา, เปนผพู อเพื่อจดั .\" อล วิกติกตั ตา ใน โหติ. (๔) เอว นิบาต ใชในอรรถหลายอยาง ประมวลกลาวคอื :- นทิ สั สนะ แปลวา อยา งนี.้ อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ เอวป เต มโน, เอหิ ตวฺ  มาณวก เยน สมโณ อานฺนโท เตนปุ สงกฺ มตุ อนุกมฺป อปุ าทาย. [ ๑๑๘๖]. อ.ุ ท่ี ๒ ....ติ เอวเมเต ตโยป วนิ ยาทโย เฺยยฺ า. [ สมนฺต. ๑/๒๐] \"วินัยเปน ตน แม ๓ เหลา น้ี บัณฑติ พงึ รอู ยา งวานี.้ [อติ ิ เอว ศพั ท นทิ ัสสนะ ใน เยฺ ยา. โยชนา ๑/๔๒]. อนึง่ ทานแสดง อติ ฺถ เปน นิทัสสนะ คูกบั เอว บาง. (๑๑๕๘). อาการ แปลวา ดวยประการดังนี.้ อ.ุ เอว พฺยา โข อห ภนฺเต ภควตา ธมฺม เทสติ  อาชานามิ. [ ๑๑๘๖]. อุปเมยยฺ โชตก แปลวา ฉันนน้ั . อุ . :- เอว ชาเตน มจฺเจน กตฺตพพฺ  กสุ ล พห.ุ [ ๑๑๘๖ และ วสิ าขา. ๓/๗๙].

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 137 \"มัจจะผเู กิดแลว พงึ ทํากสุ ลใหม าก ฉันนนั้ .\" สมั ปหงั สนะ (รา เรงิ ) แปลวา อยางนน้ั .อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ เอวเมต ภควา, เอวเมต สคุ ต. [ ๑๑๘๖ และ องฺ. ติก. ๒๑/๒๔๗] \"ขาแตพระผูมีพระภาค, ขอน้ี อยางนน้ั , ขาแตพระสุคต, ขอน้ี อยางนน้ั .\" อ.ุ ที่ ๒ เอว ภทฺเท, เอว ภทเฺ ท. [ อฺ ตรปรุ ิส. ๓/๑๑๙] \"นาง ผเู จริญ, อยางนัน้ , นางผูเจรญิ , อยางน้ัน.\" เอว ทแี่ สดงความราเริงหรอื เลื่อมใส ใชเปน อาเมณฑิตวจนะ คอื กลาวซา้ํ เชนเดยี วกับสาธุ. ปุจฉนะ หรือ ปุจฉนตั ถะ แปลวา อยา งนั้นหรอื . อ.ุ เอว กิร มหาราช. [ อฺตรปุรสิ . ๓/๑๑๑] \" มหาบพิตร, ไดยินวา อยางนน้ั หรอื .\" วจนปฏคิ คาหะ คือ สมั ปฏจิ ฉนตั ถะ แปลวา อยางน้ัน. อ.ุ ตอจากปุจฉนะ เอว ภนฺเต \"อยา งน้ัน พระเจาขา.\" เอว ทเี่ ปน คาํ รับวาเปนจริง บางอาจารยเรยี กวา สัจจวาจก- ลงิ คัตถะ. อวธารณะ แปลวา อยางนี้, เทยี ว, เทานนั้ . อุ. เอว โน เอตถฺ โหติ. [ อง.ฺ ตกิ . ๒๐/๒๔๖.๑๑๘๖ ] \" ความเหน็ ของขาพระ- พทุ ธเจา ในขอนี้เปน อยางนี.้ \" (หามความเหน็ อื่น).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 138 นแี้ สดงตามแนวอภิธานนัปปทปี กา (๑๑๘๖), นอกจากน้ี ทา น ยังแสดงวาใชใ นอรรถอปุ เทส (แนะนาํ ), ครหา (ตเิ ตยี น), ในอรรถ อิท ศพั ท และปริมาณ. สวนชื่อสัมพนั ธ พึงเรียกตามที่ใชก ัน และเรยี กเปน กริ ยิ าวเิ สสนะ ตติยาวิเสสนะ เปน ตน ตามควร. ท่เี ปนคํารับ คําแสดงความราเริง เรียกเปน ลงิ คตั ถะก็ม.ี (๕) ตาวนบิ าต โดยปกติ กเ็ ปน พวกปริจเฉททตั ถวาจก. บอก อรรถ คอื ความกําหนด (๑๑๔๑) ' เพียงนั้น' ใชค ูก บั ยาว ' เพียงใด.' และ ยาว-ตาว น้ี ทา นยงั แสดงอรรถละเอียดลงไปอกี คอื สากลฺย (นริ วเสส) 'เพยี ง' อ.ุ ยาวทตฺถ ตาวคหติ  ประโยชนเพียงใด ถอื เอา เพยี งนน้ั ; มาณ; (ประมาณ) อวธิ (กาํ หนด); อวธารณ. (๑๑๙๓). อีกนยั หนงึ่ ตาว ศพั ท ทานแสดงวา ใชในอรรถ ๔ อยา ง คือ ปม, กม, วคั คพั ภนั ตราเปกขน, อนชุ านน. (ตาวสทฺโท ปมกม- วคฺคพภฺ นฺตราเปกขฺ นานชุ านนสงขฺ าเตสุ จตูสุ อตเฺ ถสุ วตตฺ ิ โยชนา อภิ. ๑/๒๐๔). เพราะ ตาว ใชในอรรถหลายอยาง จึงแปลไดต ามอรรถหลาย อยา งตามอรรถทใ่ี ช เชน ตาว ท่ีเปน ปฐมตั ถวาจก บอกอรรถ คือ ปม แปลวา กอน, ท่ีเปน กมัตถาวาจก บอกอรรถ คือ ลาํ ดบั แปลวา โดยลําดบั [ = กเมน] เปนตน , แตโดยมาก ใชแปลกัน เปน ปรจิ เฉทัตวาจก (เพยี งนนั้ ) และปฐมัตถวาจก (กอ น) เรียก ชอื่ วา กริ ยิ าวิเสสนะเปน พื้น อุ. :-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 139 อุ. ที่ ๑ ติฏ ถ ตาว ภนฺเต [ จกฺขปุ าลตฺเถร. ๑/๑๕] \"หยุดประเดย๋ี ว ขอรับ.\" อุ.ที่ ๒ ปจฺฉา เทว อาจกิ ฺขิสฺสาม,ิ ทารูนิ ตาว อาหารเปถ. [ โพธริ าช- กุมาร. ๖/๒] \"ขา แตเทวะ, ขาพระองคจกั ทลู ภายหลัง, ของพระองค โปรดใหน าํ ไม ท. มากอ น.\" อ.ุ ท่ี ๓ ปสาธน ปน ตาว นฏิ  าติ. [ วสิ าขา. ๓/๕๕ ] \"แตเ ครอื่ ง ประดบั ยงั ไมส ําเรจ็ .\" (ตาว กิริยาวเิ สสนะ). อุ. ที่ ๔ ภาตกิ ตรณุ าปจ ตาว. [จกฺขุปาลตเฺ ถร. ๑/๖ ] \"พ,ี่ เออก็ เด๋ียวนี้ ทา นยังหนุมอยู.\" อ.ุ ท่ี ๕ เตนหิ กตปิ  ตาว สกขฺ รา อาหร. [ อนภิรตภกิ ขฺ ุ. ๑/๑๐๗]. \"ถาอยางน้นั เธอจงนาํ กอนกรวด ท. มาเทา จํานวนกหาปณ.\" อ.ุ ที่๖ น ตาว สกขฺ ิสสฺ าม วิตถฺ าเรน ธมฺม เทเสต.ุ [ สฺชย. ๑/๘๗ ] \"เราจกั ไมอ าจเพื่อจะแสดงธรรมโดยพสิ ดารเดย๋ี วนี้ได. \" อุ. ท่ี ๗ ธน ตาว อมฺหาก ธน อุปทาย กากณิกมตฺต. ทาริกาย ปน อารกฺขมตตฺ าย ลทธฺ กาลโต ปฏาย กึ อเฺ น การเณน. [ วสิ าขา.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 140 ๓/๕๔ ] \" ทรพั ย เทียบทรพั ยข องเรา ก็เพียงกากณิก เทา นนั้ , ถึง อยา งนั้น ประโยชนอะไรดว ยเหตอุ นื่ จาํ เดิมแตกาลทที่ ารกิ ไดมาตรวา อารกั ขา.\" ตาว อนุคคหัตถะ, ปน อรจุ สิ ูจนตั ถะ. อ.ุ ท่ี ๘ ตาว มหนเฺ ต นคเร. [ วสิ าข. ๓/๕๔ ] \"ในนครอันใหญเพียง นั้น.\" ตาว มหทฺธนา มหาโภคา. [ โสเรยฺยตฺเถร. ๒/๑๖๔ ] \"มี ทรัพยม าก มโี ภคะมาก เพียงน้นั .\" ตาวเทว กาลสตั ตมี ' ในขณะนั้นนนั่ เทยี ว, ในทนั ทนี ัน่ เทียว.' อุ. น ตาวเทว นฏิ ิต. [โพธิราชกุมาร. ๖/๒] \"ไมเ สร็จในขณะ นน้ั นนั่ เทียว.\" ตาวเทว บางทเี หลอื เพยี ง ตาวเท. อ.ุ รโฺ  อาจกิ ขฺ ิ ตาวเท. (๖) ธิ บอกอรรถ คอื ตเิ ตียน (นนิ ฺทาตถฺ วาจก. ๑๑๖๐) แปลวา ดังเราติเตยี น, นา ตเิ ตยี น, เรยี ก นนิ ทาตถะ หรอื คาหัตถะ อุ. :- ธิ พฺราหมฺ ณสสฺ หนตฺ าร ตโต ธิ ยสฺส มุ ฺจติ. [ สารปี ุตฺตเถร. ๘/๑๑๒] ดังเราตเิ ตยี นคนผูประหารพราหมณ, คนใดปลอ ย (เวร) แก ผูประหาร (กอ น) น้ัน, เราตเิ ตยี นคนน้นั กวาคนผูค นประหาร (กอ น) น้ัน.\" ธิ เรยี ก ครหัตถะ หรอื ครหัตถลิงคตั ถะ ไมตอ งไขเปน ครหาม.ิ (อรรถกถาแหงคาถานี้ วา ครหามิ ก็เพือ่ แสดงความแหง ธิ วา 'ดงั

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 141 เราติเตียน.' ) หนตฺ าร อวตุ ตกัมม ใน ธ.ิ ธิ เปนวกิ ตกิ ตั ตาก็ได. อ.ุ ธริ ตฺถุ กริ โภ ชาติ นาม. [ ที. มหา . ๑๐/๒๕ ] \"ผเู จริญ ท., ขอทเี ถอะ ชอื่ วา ชาติ (ความเกิด) พงึ เปน สภาพนา ติเตียน.\" (ธิตรถ=ุ ธ+ิ อุตถฺ .ุ อตฺถ=ุ ภเวยยฺ ). ธิ วกิ ตกิ ัตตา ใน อตถฺ ุ. กริ นา เห็นวาบอกอรรถ คือ ไมชอบใจ. (๗) สาธุ นิบาต ใชใ นอรรถหลายอยาง ประมวลกวา คือ :- สมั ปฏจิ ฉนัตถะ (๑๑๔๔) อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ สาธุ ภนฺเต. [ มหากสสฺ ปตเฺ ถร. ๔/๕๘ ] \" สาธุ ! พระเจา ขา .\" อ.ุ ท่ี ๒ สาธุ กเถสสฺ าม.ิ [ กณุ ฺฑลเกส.ี ๔/๑๐๙ ] \"สาธุ ! ฉันจกั กลาว.\" อายาจนัตถะ อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ สาธุ ภนฺเต ภควา, อยนายสฺมา สารปี ุตโฺ ต, เตนปุ สงฺกมตุ อกุกมฺป อปุ ทาย. [ องฺ ทกุ . ๒๐/๘๒ \"ขาแตพระองคผูเจรญิ , ดงั ขา พระองคขอโอกาสอาราธนา! ของพระผูม ีพระภาค จงทรงอาศยั ความอนุเคราะหเสด็จเขา ไปทางทีพ่ ระสารบตุ รอยู.\" (สาธูติ อายาจนตเฺ ถ นิปาโต. มโน. ป.ู ๒/๕๒). อุ. ท่ี ๒ สาธาห ภนเฺ ต ปวึ ปรวิ ตฺเตยยฺ  [ มหาวภิ งคฺ . ๑/๑๑] \"ขาแต พระองคผูเ จริญ, ดังขา พระองคขอโอกาสอนุญาต ! ขา พระองค

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 142 พงึ ใหแ ผนดินพลกิ .\" สาธุ เปนคํา อายาจนะ. (สาธตู ิ อาจนเมต. สมนตฺ . ๑/๒๐๖). อ.ุ ที่ ๓ สาธุ วตสฺส พรฺ หฺมโลกมคฺค กเถถ. [ สารีปุตฺตเถรสสฺ - มาตุพฺราหมฺ ณ. ๔/๑๑๔] \"ดังขา พระองคขอโอกาสอาราธนา ! ขอ พระองคจงตรัสบอกทางแหงพรหมโลกแกพ ราหมณน ้ัน.\" สัมปหงั สนัตถะ อุ. สาธุ สาธุ สปฺปรุ สิ .[ มหาวภิ งฺค. ๑/๑๒๙] สาธ,ุ สาธุ ! (ดลี ะ, ดีละ), สตั บรุ ษุ .\" สาธุ เปนคาํ แสดง ความรา เริง. (สาธุ สาธตู ิ สมปฺ หสนตเฺ ถ นิปาโต สมนตฺ . ๑/๔๘๒). สาธุ ตน ขอความอยา งน้ี เรยี กวาลงิ คัตถะกไ็ ด.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 143 กติปยนบิ าต ๑๓. ยงั มีนบิ าตอกี เลก็ นอ ย ใชในอรรถพเิ ศษ คอื :- ตถา อนุกกัฑฒนตั ถะ (๑) ตถา ศัพท ที่วางไวเ บอ้ื งหนา บทหรอื ความทอนหลงั ชักถงึ บทเดียวหรอื หลายบทขางตน หรอื ในความทอ นตน เรียก ชือ่ วา อนุกฺกฑฺฒน หรือ อนุกฺกฑฒฺ นตโฺ ถ. อุ. ปหานงฺคาทิ- วเสน ปนสสฺ วเิ สโส อุปริ อาวภิ วสิ ฺสต.ิ ตถา อรปู าวจร- โลกุตตฺ เรสุป ลพฺภมานกวเิ สโส. ในตัวอยางน้ี ความทอนตน แสดงวา ความแปลกกนั แหง ฌานน้ัน ดว ยสามารถแหง องคทพี่ ึงละ เปนตน จักมแี จง ขา งหนา, ในความทอนหลังวาง ตถา ศัพท ชัก ถึงบทวา อปุ ริ อาวภิ วสิ สฺ ติ เพอ่ื ไมใชซา้ํ กนั เพราะความแปลก กันท่ไี ดอยูแมในอรปู าวจระและโลกตุ ระกจ็ ักมแี จง ขางหนา เหมอื นกนั . ทานเรยี ก ตถา ศัพทวา อนกุ กฺ ฑฺฒน เรยี ก ลพภฺ มานกวิเสโส วา ลงิ ฺคตฺโถ.พึงสงั เกตวา ทานไมเ ติม อปุ ริ อาวิภวิสสฺ ติ ในความ ทอ นหลังอกี , นา เปนเพราะเตมิ เขา มา กจ็ ักซ้าํ กนั ปวยประโยชน ที่วาง ตถา ศัพทไว. อธบิ าย: [ ๑ ] ตถา ในอรรถนี้ ทา นเรยี กชอื่ เดียวกันกับนบิ าต หมวดที่ ๒ ขอ ๑๖๓ ในวากยสมั พนั ธตอนตน , เพราะฉะนั้น อนุก- กฑั ฒนะ หรอื อนกุ กฑั ฒนัตถะ จึงมี ๒ คอื ใช จ ศพั ทเ ปนพื้น ดงั

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 144 ทา นแสดงไวในแบบ ๑ ใช ตถา ศพั ท ดงั ทานเรียกในโยชนาทแ่ี สดง ในขอน้ี ๑. [ ๒ ] เม่ืองวางตถาอนุกกัฑฒนะ ไมตองเติมอนกุ กฑั ฒนิยะ คอื บทเดยี วหรอื หลายบทท่ี ตถา ศพั ทช กั ถึง ในเวลาแปลหรอื สมั พนั ธ เพราะมี ตถา ศัพทแทนอยแู ลว . ในเวลาแปลยกศพั ท ทา นเคยสอนให ไข ตถา ศัพทไปหาบทที่ชัก กเ็ พ่อื ใหท ราบวา ตถา ชกั บทไหน. อุ :- อ.ุ ท่ี ๑ ปหานงฺคาทวิ เสน ปนสสฺ วเิ สโส อปุ ริ อาวิภวสิ ฺสติ. ตถา อรูปาวจรโลกุตตฺ เรสปุ  ลพฺภมานกวิเสโส. [ อภิธมมฺ ตฺถ. ปปรจิ เฺ ฉท. น. ๘๗ ] \"แตความแปลกกนั แหงฌานนั้น ดวยสามารถแหงองคพ งึ ละ เปนตน จักมแี จง เบื้องหนา, ความแปลกกนั ท่ไี ดอ ยูแมใ นอรูปวาจรและ โลกตุ ระท้ังหลายกเ็ หมอื นกนั .\" ใน อุ. น้ี ตถา ศัพท ชกั บทวา อปุ ริ อาวิภวสิ สฺ ต.ิ โยชนา [ ๑/๔๓๗ ] วา ตถาติ อนุกฺกฑฒฺ น. อรูปาวจร- โลกตุ ฺตเรสุปต ิ (ปท) ลพภฺ มานาติ ปเท อาธาโร. ลพภฺ มานกวิเสโสติ (ปท) ลงิ คฺตโถ. อ.ุ ท่ี ๒ เตสฺหิ จตุนนฺ มฺป วตฺถภุ ูตานิ จกฺขวฺ าทนี ิ อปุ าทารปู าเนว. ตถา อารมฺมณภูตานปิ  รูปาทีนิ. [ อภธิ มฺมตถฺ . ปมปริจเฺ ฉท. น. ๗๘ ] \"จริงอยู จกั ษุเปนตน ทัง้ หลาบ อนั เปน วตั ถุแหงวิญญาณแม ๔ เหลานนั้ ชือ่ รูปอาศยั น่นั เทยี ว, รูปเปน ตน ท้งั หลายแมทีเ่ ปน อารมณ กเ็ หมอื นกนั .\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 145 ใน อ.ุ นี้ ตถา ศพั ทชักบทวา อปุ าทารปู านิ. โยชนา [ ๑/๓๒๘ ] วา ตถาสทโฺ ท อนุกกฺ ฑฒฺ นตโฺ ถ. ... อารมมฺ ณภตู านิปติ (ปท) รปู าทีนตี ิ ปทสสฺ วิเสสน. รปู าทีนตี ิ (ปท) ลงิ ฺคตฺโถ. อ.ุ ท่ี ๓ ตีหิ องคฺ ุลหี ิ คเหตฺวา โถเก ตณฑฺ เุ ล อทาสิ. ตถา มุคเฺ ค, ตถา มาเส. [ พฬิ าลปทกเสฏ .ิ ๕/๑๗] \"เศรษฐีคนหนึ่ง ..ไดเ อา นิว้ ๓ นิ้ว หยิบใหข า วสารหนอ ยหนึง่ , ไดใ หถ่ัวเขียวอยางนน้ั ( คือ เอาน้วิ ๓ นวิ้ หยบิ ....หนอ ยหนง่ึ ), ไดใหถ ่ัวเขียวอยา งน้นั (คือ เอานว้ิ ๓ น้วิ หยบิ ...หนอ ยหนงึ่ ), ไดใ หถ วั่ ทองอยา งนั้น.\" ใน อ.ุ น้ี ตถา ศพั ทท ง้ั ๒ ชักถึง ตีหิ องฺคุลหี ิ คเหตวฺ า โถเก. สว น อทาสิ ละไวว างตามวิธเี รียงธรรมดา จงึ ตองเตมิ เขามา. สัมพันธป ระโยค ตถา มุคเฺ ค เปนตัวอยาง: (ตถาสทโฺ ท ตีหิ องคฺ ลุ หี ิ คเหตวฺ า โถเกติ ปทานิ อากฑฒฺ ติ). ตถาสทฺโท อนกุ กฺ ฑฺฒ- นตฺโถ. มุคฺเคติ ปท อทาสีติ ปเท อวตุ ตฺ กมมฺ . อทาสตี ิ ปท เสฏติ ิ ปทสฺส กตตฺ ุวาจก อาขยฺ าตปท. อุ. ที่ ๔ ปถุ ชุ ชฺ นา อตตฺ โนว วสิ เย ปหฺ  วิสชเฺ ชตวฺ า โสตาปนฺนสฺส วิสเย ปฺห วสิ ชเฺ ชตุ นาสกฺขสึ .ุ ตถา สกาทาคามิอาทีน วิสเย โสตาปนฺนาทโย. [ ยมกปาฏหิ าริย. ๖/๙๕] \"ปถุ ุชน ท. แกป ญ หา ในวสิ ยั ของตนเทานั้น ไมไ ดอาจเพ่อื แกป ญหาในวสิ ยั ของพระโสดาบนั , พระโสดาบันเปน ตน ก็เหมอื นกนั (คือแกปญ หาในวสิ ัยของตนเทา นั้น)

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 146 ไมไดอาจเพ่ือแกป ญ หาในวสิ ยั ของพระสกทาคามี เปนตน .\" สมั พันธป ระโยค ตถา ฯ เป ฯ โสตาปนนฺ าทโย เปน ตวั อยา ง: (ตถา ศัพท ชกั ถึง อตฺตโน ว วิสเย ปหฺ  วิสชฺเชตฺวา). ตถา ศพั ท อนุกกฑั ฒนัตถะ. โสตาปนนฺ าทโย สยกัตตา ใน น อสกขฺ ึสุ. น ศัพท ปฏิเสธ ใน อสกขฺ ึส.ุ อสกขฺ สึ ุ อาขยาตบท กัตตุวาจก. สกทาคามิอาทีน สามีสมั พนั ธ ใน วสิ เย. วสิ เย ภนิ นฺ าธาร ใน ปฺห. ปฺห อวตุ ตกมั ม ใน วิสชเฺ ชต.ุ วสิ ชฺเชตุ ตมุ ตั ถสัมปทาน ใน น อสกขฺ ึส.ุ อ.ุ ที่ ๕ ปรุ โต ทฺวาทสโยชนกิ า ปรสิ า อโหสิ. ตถา ปจฺฉโต จ อุตตฺ รโต จ ทกฺขิณโต จ. [ ยมกปปฺ าฏหิ าริย. ๖/๘๓ ] \"ไดมบี ริษทั แผไ ป ๑๒ โยชนเ บ้อื งหนา, ไดม ีบรษิ ัท (แผไป) อยางนน้ั ท้ัง เบือ้ งหลัง ทั้งเบือ้ งซา ย ทง้ั เบือ้ งขวา.\" (ตถา ศพั ท ชักถึง ทวฺ าทสโยชนกิ า). ปริสา สยกัตตา ใน อโหสิ. อโหสิ อาขยาตบท กตั ตวุ าจก. ตถา ศพั ท อนุกกฑั ฒนัตถะ. ปจฉฺ โต อตุ ฺตรโต และ ทกฺขณิ โต ตติยาวเิ สสนะ ใน อโหส.ิ อกี อยา งหนงึ่ ตถา ศพั ท ชักถึง ทวฺ าทสโยชนิกา ปรสิ า อโหสิ. ึพงึ บอกวา ตถา ศพั ท อนกุ กฑั ฒนตั ถลิงคตั ถะ. ปจฺฉโต เปน ตน ตติยาวิเสสนะ ใน ตถา. อ.ุ ที่ ๖ อคฺคกิ ฺขนฺโธ ปเนตถฺ อุทกธาราย อสมฺมสิ โฺ ส อโหสิ. ตถา อทุ ธารา อคฺคขิ นฺเธน. [ ยมกปฺปาฏิหาริย. ๖/๘๔] \"กใ็ นยมกปั -

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 147 ปาฏหิ ารยิ ญาณน้ี กองไฟไมไดเ จือกับทอ น้ํา, ทอนํ้า ก็อยางนัน้ (ไม ไดเ จือ) กบั กองไฟ.\" (ตถา ศพั ท ชกั ถงึ อสมมฺ ิสฺโส). ตถา ศัพท อนกุ กฑั ฒนตั ถะ. อทุ กธารา ลงิ คัตถะ. อคคฺ ิกขฺ นเฺ ธน สหตั ถตตยิ า ใน ตถา.(เชน เดียวกบั อุทกธาราย สหตั ถตตยิ า ใน อสมฺมสิ โฺ ส). อ.ุ ท่ี ๗ มหาราช มนสุ ฺสตตฺ  นาม ทลุ ลฺ ภเมว. ตถา สทฺธมฺมสฺสวน, ตถา พุทธฺ ุปปฺ าโท. [เอรกปตตฺ นาคราช. ๖/๑๐๓ ] \" มหาบพติ ร, ช่อื วา ความเปน มนุษย เปนส่ิงทไ่ี ดย ากนัก, การฟง สัทธรรมก็เหมอื นกนั , ความเกดิ ข้นึ แหง พระพุทธเจาก็เหมอื นกัน.\" มหาราช อาลปนะ. มนสุ สฺ ตฺต สยกัตตา ใน โหติ. โหติ อาขยาตบท กัตตวุ าจก. นามศพั ท สัญญาโชตก เขากบั มนุสสฺ ตฺต.ุ ืทลุ ฺลภ วิกตกิ ตั ตา ใน โหติ. เอวศพั ท อวาธารณะ เขากบั ทลุ ลฺ ภ. (ตถา ศพั ท [ ที่ ๑] ชักถงึ ทลุ ฺลภ). ตถา ศัพท อนกุ กัฑฒ- นัตถะ. สทธฺ มฺมสสฺ วน ลงิ คัตถะ. (ตถา ศัพท [ ที่ ๒ ] ชักถึง ทุลลฺ โภ) . ตถา ศพั ท อนุกกฑั ฒ- นตั ถะ. พุทฺธปุ ปฺ าโท ลงิ คัตถะ. สรูปอธบิ าย : ตถาอนกุ กฑั ฒนัตถะ เปน นิบาตชักถึงบทเดียว หรอื หลายบทในความทอนตน. กมิ งฺค ปน (๒) กมิ งคฺ  ปน ลงตน ความทอ นหลงั ที่ตรงกนั ขา มกับความ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 148 ทอนตน กลา วถามความทอ นหลงั นั้นใหก ลับคลอ ยตามความทอนตน , กมิ งฺค เรยี กชอ่ื วา กริ ยิ าวิเสสน (มีอะไรเปน เหตุ), หรือ เหตุ (เพราะเหตุอะไร). ปนเรียกชื่อวา ปจุ ฉฺ นตโฺ ถ (ก็...เลา ,...เลา). ในความทอนหลงั ทานไมเรยี งกริ ิยาไว พงึ ประกอบใหม ีธาตุเดียวกับ ในทอนตน ดวย ภวสิ สฺ นตฺ ิ วภิ ัตติ, แลว ถา ในทองตน มีปฏเิ สธ ก็ ตองไมม ปี ฏิเสธ, ถา ในทอ งตน ไมมีปฏเิ สธ ก็ตองมปี ฏเิ สธ. อ.ุ ตาต มหลลฺ กสสฺ หิ อตฺตโน หตถฺ ปาทานป อนสฺสวา โหนตฺ ิ น วเส วตฺตนตฺ ิ, กมิ งฺค ปน าตกา. ประกอบความทอนหลงั เตม็ ทีว่ า กมิ งคฺ  ปน าตกา อสสฺ วา ภวสิ ฺสนติ, วเส วตฺติสฺสนฺติ. อธบิ าย : [ ๑ ] กมิ งคฺ  ปน โดยปกติใชคูกันไป มอี รรถและ รปู ประโยคดงั ที่แสดงแลว อุ. :- อุ. ที่ ๑ ตาต มหลฺลกสสฺ หิ อตตฺ โน หตฺถปาทาป อนสฺสวา โหนฺติ น วเส วตฺตสตฺ ิ, กมิ งคฺ  ปน าตกา. [ จกขฺ ปุ าลตฺเถร. ๑/๖ ] \"พอ , ก็มือและเทาของคนแก แตข องตัวเองยังวาไมฟ ง ไมเ ปนไป ในอํานาจ, กญ็ าตทิ งั้ หลายจกั วา ฟง จักเปนไปในอาํ นาจ มีอะไรเปน เหตุเลา.\" กิมงคฺ ส ทโฺ ท. ภวสิ ฺสนตฺ ีติ จ วตฺติสสฺ นตฺ ตี ิ จ ปททวฺ ยสฺส กริ ิยาวิเสสน. ปนสทฺโท ปุจฉฺ ตโฺ ถ าตกาติ ปท ภวิสฺสนฺตีติ จ วตตฺ สิ ฺสนฺตตี ิ จ ปททวฺ เย สยกตฺตา. ภวิสสฺ นตฺ ตี ิ จ วตตฺ ิสสฺ นตฺ ีติ จ ปททฺวย าตกาติ ปทสฺส กตตฺ วุ าจก อาขฺยาตปท. อสสฺ วาติ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 149 ปท ภวิสสฺ นตฺ ตี ิ ปเท วกิ ติกตฺตา. วเสติ ปท วตฺตสิ ฺสนฺตีติ ปเท อาธาโร. อุ. ท่ี ๒ อยโฺ ย หิ นาม ภเวสี สเี ลสุ ปรปิ รู ิการี ภวสิ สฺ ติ, กมิ งคฺ  ปน มย. [ องฺ. ปฺจก. ๒๒/๒๔๑] \"กภ็ เวสอี ุบาสกผูหัวหนามาทําให บรบิ รู ณใ นศลี ท. แลว , กเ็ รา ท. จกั ไมท าํ ใหบรบิ รู ณใ นศีล ท. เพราะเหตอุ ะไรเลา.\" กมิ งคฺ  เหตุ ใน น ภวิสสฺ าม. ประกอบเต็มที่วา กิมงฺค ปน มย สีเลสุ ปริปรุ กิ ารโิ น น ภวิสฺสาม. อรรถกถา [ มโน. ป.ู ๓/๗๗ ] วา กมิ งคฺ  ปน มยนฺติ มย ปย เกเยว การเณร ปริปูรปิ ารโิ น น ภวสิ ฺสาม. [ ๒ ] กมิ งฺค มนี ิยมแปลอีกอยา งหนึง่ วา ' ปวยกลาวดงั หรือ, กลาวไปทําอะไร, ปว ยกลา วไปไย.' ดงั อ.ุ ท่ี ๑ ทา นแปลวา ' ก็จกั กลาวไปทําอะไร ถึงญาติ ท.' ในอรรถกถาบางแหง ก็แกค วามแหง ศพั ท กิมงฺค วา 'คาํ อะไรจะตองกลาว.' บางทา นเรยี กวา กิมงคฺ  ทแ่ี ปล อยา งนวี้ า ลงิ คัตถะ [ ๓ ] กมิ งฺค ปน นม้ี ีความเทา โก ปน วาโท ดังในประโยควา : ประโยคท่ี ๑ อจฺฉราสงฆฺ าตมตฺตป จ ภิกขฺ เว ภิกขฺ ุ เมตตฺ าจิตตฺ  ภาเวติ, อย วจุ จฺ ติ ภกิ ฺขเว ภกิ ฺขุ อริตตฺ ชฌฺ าโน วิหรติ สตถฺ สุ าสานกโร โอวาทปฏกิ โร อโมฆ รฏ ปณ ฑฺ  กุ ฺชติ, โก ปน วาโท เย