Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Published by ton love, 2022-06-27 03:05:18

Description: เล่ม 2 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Keywords: อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Search

Read the Text Version

คํานํา บาลไี วยากรณภ าคที่ ๓ คือวากยสมั พนั ธ เปน หลกั สาํ คญั ในการ ศึกษาภาษาบาลีสว นหนงึ่ และหนังสือที่เปนอปุ กรณ กเ็ ปน เครือ่ งชว ย นักศกึ ษาใหไดรบั ความสะดวก และชวยครผู สู อนใหเบาใจ. ก็หนังสือ อปุ กรณวากยสัมพนั ธนั้น แผนกตาํ รามหากฏุ ราชวิทยาลัยไดมอบให พระโศฏนคณาภรณ (เจริญ สวุ ฑฺฒโน ป. ธ. ๙) วดั บวรนิเวศวหิ าร กรรมการ รวบรวมและเรียบเรยี งขึ้น, ผเู รียบเรียงไดจัดแบงออกเปน ๒ เลม ในชอื่ วาอธิบายวากยสมั พนั ธเลน ๑-๒ , เหตปุ รารภในเรอื่ งนี้ ไดก ลาวในคํานําหนังสืออธบิ ายวากยสัมพนั ธเ ลม ๑ และในคําปรารภ ของผูเรยี บเรยี งในเลม น้แี ลว. บดั นี้ ผูเ รยี บเรยี งไดร วบรวมและเรียบเรยี ง เลม ๒ ขึน้ เสร็จ ดังทป่ี รากฏเปนหนังสืออธบิ ายวากยสมั พนั ธเ ลม ๒ นี้ และไดม อบลิขสทิ ธิสวนที่เรียบเรยี งในหนงั สอื นใี้ หเ ปน สมบตั ิของมหา- มกุฏราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมถ. แผนกตาํ รา ฯ ขออนโุ มทนาผเู รียบเรียงตลอดถงึ ทา นผชู วยแนะนาํ โดยประการอื่น กระทง่ั หนงั สือนสี้ าํ เรจ็ . แผนกตาํ รา มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั มกราคม ๒๔๙๓

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 1 อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ พระโศภนคณาภรณ (สวุ ฑฒฺ โน ป. ธ.๑ ๙) วดั บวรนิเวศวหิ าร เรยี บเรยี ง ๑. ในวากยสัมพนั ธ ภาคท่ี ๓ ตอนตน ทา นไดแสดงแบบ สมั พนั ธไว ซึง่ เปนแบบทใ่ี ชเปนหลักทว่ั ไป, สว นสมั พนั ธทไ่ี มไ ดใช ท่ัวไป ยงั มอี ีก จกั ไดแสดงไวต อไป กับทง้ั ศพั ทพ ิเศษเปนตน ท่ีเห็น วาควรรู, ระเบยี บในการแสดงจักอาศยั แบบทท่ี า นวางไวเปนหลกั . นกั เรียนเมื่อรูแ บบสมั พันธทท่ี านแสดงไวในวายกสมั พันธ ภาคที่ ๓ ตอนตนนั้นแลว ก็ควรทราบสมั พันธน อกจากนนั้ ทีแ่ สดงในหนงั สือน้ี เพอ่ื การศึกษาวธิ ปี ระกอบคาํ พูดเขาเปนพากย จะไดส ะดวกดี ตาม ประสงคแ หง การศึกษาวากยสัมพนั ธ. อธบิ าย : [ ๑ ] แบบสัมพันธในวากยสัมพันธ ภาคท่ี ๓ ตอนตน เปน แบบที่ใชเปน หลักทวั่ ไป, ไดอธิบายแลว ในอธิบายวากยสัมพันธ ภาคท่ี ๓ เลม ๑. ในอธบิ ายน้นั ไดแ สดงชอื่ สัมพันธท ่ตี า งจากในแบบ แตมอี รรถ (ความหมายท่ใี ช) เปน อยา งเดียวกนั กับชอื่ สัมพันธใ นแบบ ไวใ นขอ น้ัน ๆ ท่ีมอี รรถเดียวกนั ดวย. ชอื่ สมั พันธเหลา นนั้ แสดงไว ในขอดงั ตอไปน้ี :- ๑. เวลาน้ี เปน สมเดจ็ พระญาณสงั วร.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 2 อปุ มาลงิ คัตถะ ในขอ ลงิ คตั ถะ ตุมัตถกตั ตา \" สยกัตตา สหโยคตตยิ า-สหาทิโยคตติยา \" สหัตถตติยา ตุมัตถสมั ปทาน \" สมั ปทาน ภาวสัมพนั ธ-กริ ยิ าสมั พนั ธ \" ภาวาทสิ ัมพนั ธ อาธาร-ภนิ นาธาร \" ทายอาธารทั้ง ๕ วิเสสนลิงควิปส ลาส \" วิเสสนะ (บทคุณนาม) อปุ มาวิเสสนะ \" \" \"\" สัญญาวเิ สสน \" \" \"\" ปกติกัตตา \" วกิ ติกตั ตา บทคณุ นาม) [ ๒ ] สวนสมั พันธท ่มี อี รรถตางออกไปจากในแบบ จักแสดง และอธบิ ายในเลม นี้ กับทั้งศพั ทพเิ ศษเปนตน ทค่ี วรร,ู ในการแสดง จักอาศยั ระเบยี บทท่ี านใชในแบบ: ในแบบทา นแสดงบทนามนามกอน แลว จึงบทคุณนาม, บทสัพพนาม, บทกริ ยิ า (ในพากยางค-ในพากย) และนบิ าตตามลาํ ดบั , ในที่น้ี กจ็ ักอนวุ ตั ระเบยี บนั้น. แตบ ทนามนาม ทจ่ี ะกลา วตอไป กไ็ มไ ดใชฐานะเปน การก หรือในฐานะเปน นามนาม แท ใชด จุ คุณนามในอรรถพิเศษอยางหน่ึงนัน่ เอง จึงสงเคราะหเปน บท คณุ นาม. [ ๓ ] แบบสัมพนั ธ ทา นวา ควรรจู ักกอ นแตเ รียนสมั พันธ จงึ ควรจําและทําความเขาใจใหท ัว่ ถงึ . กก็ ารเรยี นสมั พันธนน้ั เปนทาง ๑ แหง การศกึ ษาวิธปี ระกอบคําพูดเขาเปนพากย อันเปน ตัววากยสมั พันธ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 3 โดยตรง (ดขู อ (๑๔๙) ในวากยสมั พนั ธ ภาคที่ ๓ ตอนตน ), เม่อื เขาใจทรงสัมพันธน้ดี ีแลว, กบั ทั้งเรียนผกู คาํ พูดใหเ ปน พากยเอง ใหตอ งตามแบบอยา งไปดวย, การศึกษาวิธปี ระกอบคําพดู เขา เปน พากย ก็จกั เปน ไปสะดวกดี.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 4 บทนามนาม (สงเคราะหเ ขาในคณุ นาม) ๒. บทนามนาม ใชใ นอรรถพิเศษบางอยาง สงเคราะหเขา ในบทคณุ นาม เพราะแสดงลกั ษณะอยา งหนึ่งของนามนามอกี บทหนง่ึ , แตจ ัดไวอกี ขอหนงึ่ ตา งหาก เพราะใชน ามนาม หรอื คณุ นามในฐาน นามนาม ดงั นี้ :- วิเสสลาภี (๑) นามนาม ๒ บท, บทหนงึ่ กลา วความกวาง แตไ ดอ รรถ พเิ ศษทีก่ ลาวกําหนดไวดวยอีกบทหนง่ึ เหมือนอยา งกณฺฏโก 'ไมมี หนาม' กลา วความกวา ง เพราะไมมหี นามมีหลายอยาง, แตในที่ บางแหง ไดอ รรถพเิ ศษวา เวฬุ 'ไมไ ผ, ' เปนอันหา มมใิ หห มายถึง ไมมหี นามชนิดอื่น, บทท่ีกลาวกําหนดอรรถพิเศษน้ี ทานเรียกชือ่ วา วิเสสลาภี (คอื ) เพราะทําบทท่กี ลา วความกวางใหไดอ รรถพิเศษ, วเิ สสลาภี มวี ภิ ัตตอิ นุวัตบทที่กลาวความกวา ง. อ:ุ - ทกุ ขฺ  อรยิ สจจฺ , ทุกฺขสมทุ โย อรยิ สจฺจ, ทกุ ขฺ นโิ รโธ อรยิ สจฺจ, ทกุ ขฺ นิโรธคามนิ ี ปฏิปทา อรยาสจจฺ . อธบิ าย : [ ๑ ] วเิ สสลาภีนี้ เปน นามบททก่ี ลาวกําหนดอรรถ คือความพเิ ศษแหงบทท่ีแสดงอรรถกวา ง เพื่อหา มเน้ือความอ่นื แหง บท ที่มีอรรถกวางน้ัน คือจํากัดใหหมายถงึ เฉพาะที่แสดงในบทวเิ สสลาภี เทา นั้น ดุจอวธารณัตถนิบาต, ในเวลาแปลใหคําเชอื่ มวา ' คือ,' ดงั จะผูกพากยางคขึน้ วา เวฬุ กณฏฺ โก, กณฺฏโก หมายถึงไมมหี นาม

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 5 หลายอยา ง แตไ ดอรรถพเิ ศษวา เวฬุ (ไมไ ผ) , เวฬุ จึงเปน วเิ สสลาภี แปลวา 'ไมม ีหนาม คือไมไผ.' วิเสสลาภีนี้ มอี รรถเชน เดยี วกับ อวาธารณปุพพบท กัมมธารย- สมาส ดงั เชนตัวอยางวา พุทฺโธ เอว รตน พทุ ธฺ รนต (รตนะคอื พระพทุ ธเจา), ในสมาสนี้ ประกอบดว ย เอว ศัพท อนั เปนอวธาร- ณัตถะ เพ่ือจะหา มเน้ือความอนื่ เสีย เพราะรตนะมมี ากชนิด แตในท่ีน้ี ไดอ รรถพิเศษวา พระพุทธเจา. พึงทราบอุ. ดงั ตอไปนี้ :- อุ. ที่ ๑ ทุกขฺ  อรยิ สจฺจ, ทกุ ฺขสมทุ โย อรยิ สจจฺ , ทกุ ขฺ นิโรดธ อริยสจจฺ , ทกุ ฺขนโิ รธคามนิ ี ปฏิปทา อรยิ สจจฺ . \"อรยิ สจั คือ ทุกข, อริริยสัจ คือ ทุกขสมทุ ยั , อริยสัจ คือ ทกุ ขนิโรธ, อรยิ สจั คอื ปฏิปทา ท่ีใหถ ึงทกุ ขนิโรธ.\" ในตัวอยา งนี้ มอี ธบิ ายวา ท่ชี ื่อวา อริยสัจยงั กวาง แตใ นท่นี ี้ อรยิ สจั บทท่ี ๑ ไดอรรถพเิ ศษวา ทกุ ข ฯลฯ อริยสัจ บทที่ ๔ ไดอ รรถพิเศษวา ทกุ นโิ รธคามีนีปฏปิ ทา, ทกุ ข เปน ตน จึงเปน วิเสสลาภี, ในเวลาสัมพันธใชเรยี กวา วิเสสลาภี ของบทนามนามที่ เก่ียวเนื่องกัน เชน ทุกขฺ  วเิ สสลาภี ของ อริยสจจฺ , พึงทราบอธิบาย ดงั น้ีทุกแหง ทกุ ขฺ นตฺ ิ ปท อริยสจฺจนฺติ ปทสฺส วิเสสลาภ.ี อริยสจจฺ นฺติ ปท ลงิ คตฺโถ. ฯ เป ฯ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 6 อุ. ที่ ๒ อนภิชฌฺ า ปริพพฺ าชกา ธมมฺ ปท. อพฺยาปาโท ปรพิ พฺ ชกา ธมมฺ ปท, สมมฺ าสติ ปรพิ พฺ าชกา ธมมฺ ปท, สมมฺ าสมาธิ ปรพิ พฺ า- ชกา ธมฺมปท. [ กุณฺฑลเกสีเถรี. ๔/๑๑๑ ] \" ดูกอ นปริพาชกและ ปริพาชิกา ท. ธรรมบท คอื อนภชิ ฌา, ดูกอน... ธรรมบท คือ ัอพั ยาบาท, ดูกอน....ธรรมบท คอื สมั มาสติ, ดูกอน... ธรรมบท คือ สัมมาสมาธ.ิ \" อุ. ท่ี ๓ ปฺา เว สตตฺ ม ธน. [ สปุ ฺปพุทฺธกฏุ ิ. ๓/๑๓๕ ] \" ทรพั ย ที่ ๗ คอื ปญญาแล.\" ขอสงั เกต : มักแปลกนั วา ปญ ญาแล เปน ทรพั ยท ี่ ๗. [ ๒ ] บทไขของบทปลง ทราบวา โบราณทานก็เรียกวา วิเสสลาภี เชน วจุ จฺ ตีติ วจน อตฺโถ \"สัททชาตใดอันเขากลา ว เหตุ น้นั สทั ทชาตนัน้ ชื่อ วจนะ คือ อรรถ. (อตฺโถ โบราณทานเรียกวา วิเสสลาภ)ี . บทไขของบทปลงน้ี ในโยชนาเรยี กวา ลงิ คตั ถะ ดงั จะ กลาวตอไป, แตเ รยี กตามทโ่ี บราณทานเรยี กดเู ขาทีด.ี [ ๓ ] บทวเิ สสลาภี ใชนามนาม เพราะฉะน้นั จงึ ตา งลงิ คจาก บทนามนาม ทก่ี ลา วความกวา งได เพราะคงตามลิงคเ ดิมของตน เชน อ.ุ ทแ่ี สดงมาแลว. สว นวิภตั ติ ตอ งอนุวัตบทนามนามทีก่ ลา วความกวางเสมอ, และ ไมนิยมคอื กาํ หนดแนวาตอ งเปน วภิ ตั ตนิ ้ันวภิ ตั ตน้ี, เมอ่ื นามนามบทท่ี

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 7 กลา วความกวา งเปนวิภัตติใด บทวิเสสลาภี ก็ตองเปนวิภตั ตนิ นั้ . [ ๔ ] บางแหง นาเปน วิเสสลาภ,ี แตเมื่อพิจารณาดู ใชเปน วกิ ตกิ ัตตาเหมาะกวา อุ :- อุ. ที่ ๑ โก ปน ตวฺ  สามิ ? \"นาย, ทา นเปนใครเลา .\" อห เต สามิโ ก มโฆ. \"เราเปน มฆะผูส ามีของเจา.\" [ สกกฺ . ๒/๑๑๐ ] ประโยคถาม : โกติ ปท อสีติ ปเท วิกตกิ ตฺตา. ปนสทโฺ ท ปุจฉฺ นตฺโถ. ประโยคคําตอบ : มโฆติ ปท อมหฺ ีติ ปเท วิกติกตฺตา. อ.ุ ท่ี ๒ สวฺ าห กสุ ล กริตวฺ าน กมมฺ  ติทสาน สหพฺยต ปตโฺ ต. [มฏกณุ ฺฑล.ิ ๑/๓๐ ] \"บตุ รนัน้ เปน ขาพเจา ทํากศุ ลกรรมแลว ถึงความเปนสหาย แหง เทพช้นั ไตรทศ ท.\" อหนฺติ ปท หตุ วฺ าติ ปเท วิกติกตตฺ า. (เตมิ หตุ ฺวา). สรปู อธบิ าย : วิเสสลาภี มีอรรถวา ทํานามนามบททก่ี ลา วความ กวา งใหไดอ รรถพเิ ศษ. บอกสัมพันธเ ปน ของบทนามนามนัน้ . สรปู (บทกาํ หนดโดยวภิ าค) (๒) เปน บทกาํ หนดโดยวภิ าค คือจาํ แนกแหงนกิ เขปบท คือบทท่ยี กขนึ้ ไวเรยี กช่ือวา สรปู  (คือ), หรอื เนอื่ งในนิกเขปบท

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 8 เรียกชอื่ วา สรูปวเิ สสน เพราะมีลักษณะคลายสรูปวิเสสนะตามท่ี ทานเรยี ก (มีกลา วขางหนา ), เนอ่ื งในอติ ิศพั ท ทเ่ี ปน ปฐมาวิภตั ติ เรยี กช่ือวา ลงิ ฺคตโฺ ก ตามแบบโยชนา, ท่เี ปน วภิ ัตตอิ ่ืน ก็เรยี ก ตามชื่อนิกเขปบท อนโุ ลม ท่ที า นเรยี กวาลิงคตั ถะ และบอกสรปู ควบไปดวย. เปนสรปู วิเสสนของนกิ เขปบท อุ :- จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณโฺ ณ สขุ  พล. นสิ โภ จ อโนโม จ เทวฺ อคคฺ สาวกา. เปนสรปู ในอติ ศิ พั ท อุ :- จตสโฺ ส หิ สมฺปทา นาม วตถฺ ุสมฺปทา ปจจฺ ยสมปฺ ทา เจตนาสมฺปทา คณุ าตเิ รกสมปฺ ทา-ต.ิ อธบิ าย : [ ๑ ] บทกาํ หนดโดยวภิ าคน้ี คอื กําหนดอรรถทยี่ ังมิได กําหนด ดวยวิภาคคอื จําแนกอรรถนกิ เขปบท คือบทท่ยี กขึ้นไว ดังเชน ยกขนึ้ พูดวา ธรรม ท. ๔, ก็ธรรม ท. ๔ คอื อะไร ยังไมไดก ําหนด ลงไป, ในการกําหนด ก็จาํ แนกออกทีละขอ จงึ กําหนดจําแนกวา อายุ วรรณ สขุ พล, บทท้ัง ๔ น้ี เรยี กส้ันวา บทกําหนดโดยวิภาค ใชคาํ เชื่อมในภาษาไทยวา 'คือ' เหมือนวเิ สสลาภี. ในท่นี ี้ จกั เรียกท่ีเนือ่ งในนิกเขปบทวา สรูปวิเสสนะหรือสรปู , จักเรยี กที่เนือ่ งในอติ ศิ พั ทว า ลิงคัตถะ หรือตามนิกเขปบทตามนัยใน โยชนา และบอกสรุปในอิติศพั ท. อุ. :-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 9 ก. สรูปของนิกเขปบท อ.ุ ที่ ๑ จตตฺ าโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณโฺ ณ สขุ  พล [ อายุวฑฺฒนกุมาร. ๔/๑๒๑ ] \"ธรรม ท. ๔ คอื อายุ คือ วรรณ คอื สุข คอื พละ ยอมเจริ.\" อายุ วณฺโณ สุข พลนตฺ ิ จตุปปฺ ท จตฺตาโร ธมฺมาติ ปทสฺส สรูปวเิ สสน. (หรือ สรูปล พึงทราบเหมือนอยา งน้ีทุกแหง .) อายุ วณโฺ ณ สุข พล ๔ บท สรปู วิเสสนะ ของ จตฺตาโร ธมฺมา. อุ. ท่ี ๒ นิสโภ จ อโนโม จ เทฺว อคคฺ สาวกา. [ สชฺ ย. ๑/๑๐๑] \"พระอัครสาวกทั้ง ๒ คือ พระนสิ ภะ ดว ย พระอโนมะ ดวย.\" นสิ โภติ จ อโนโมติ จ ปททฺวย เทฺว อคคฺ สาวกาติ ปทสสฺ สรปู วิเสสน. บทสรปู ในอุ. ขางบทนี้ เปน ปฐมาวิภัตติ, แตอ าจเปนวิภัตติ อืน่ จากปฐมาวิภัตติได อนวุ ตั นิกเขปบท ดงั อุ. ตอ ไปน้ี :- อุ. ท่ี ๓ อุสสฺ ตู เสยยฺ  อาลสยฺ  จณฺฑิกฺก ทฆี โสตฺตยิ  เอกสสฺ ทธฺ านคมน ปรทารปู เสวน เอต พฺราหฺมณ เสวสสฺ ุ [ อนตถฺ ปุจฉฺ กพฺราหฺมณ. ๔/๑๑๒ ] \"ดูกอนพราหมณ, ทานจงเสพซ่ึงกรรม ๖ อยา ง (ฉพพฺ ิธกมฺม)

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 10 นค้ี ือ ความนอนจนตะวันโดง ความเกียจครา น ความดรุ าย ความหลับ นาม ความไปทางไกลแหงคนผูเดียว ความซองเสพภรยิ าผอู ่ืน.....\" อสุ สฺ รู เสยย....ปรทารูปเสนนฺติ ฉปปฺ ท เอต ฉพฺพธิ กมมฺ นตฺ ื ปทสสฺ สรปู วเิ สสน. อุ. ที่ ๔ ธมฺมจรยิ  พฺรหมฺ จรยิ  เอตทาหุ วสุตตฺ ม. [กปลมจฺฉ. ๘/๕ ] \"บณั ฑติ ท. กลาวซง่ึ ความประพฤตทิ ้งั ๒ (จรยิ าทวฺ ย หรอื ทวุ ธิ าจริย) นีค้ ือ ความประพฤตธิ รรม ความประพฤตเิ พยี งดังพรหม วา เปนแกวสูงสุด.\" ธมมฺ จรยิ  พฺรหมฺ จริยนตฺ ิ ปททฺวย เอต จริยาทวฺ ยนฺติ ปทสสฺ สรปู วิเสสน............วสตุ ตฺ มนฺติ ปท อาหตู ิ ปเท สมภาฺ วน. อุ. ที่ ๕ ก. ยทา ภควา อฺาสิ ยส กลุ ปตุ ฺต กลลฺ จิตฺต มุทจุ ิตฺต วินีวรณ- จิตฺต อุทคฺจิตตฺ  ปสนฺนจติ ตฺ ; อถ ยา พทุ ธฺ าน สามกุ ฺกงสฺ กิ า ธมฺมเทสนา, ต ปกาเสสิ ทุกขฺ  สมทุ ย นโิ รธ มคฺค. [มหาวคคฺ . ๔/๓๐] \"ในกาลใด พระผมู ีพระภาคไดทรงทราบแลว ซ่ึงกลุ บตุ รชอ่ื ยสะ วามจี ติ ควร มีจิตออ น มจี ติ ปราศจากนิวรณ มจี ติ เบิกบาน มีจิต เลอ่ื มใสแลว ; ในกาลนน้ั , ธรรมเทศนาท่มี กี ารยกขน้ึ เองของพระพทุ ธ- เจา ท. ใด, พระผูมีพระภาคทรงประกาศซ่งึ ธรรมเทศนาน้นั คอื ทกุ ข สมทุ ัย นโิ รธ มรรค.\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 11 ทกุ ขฺ  สมทุ ย นโิ รธ มคฺคนตฺ ิ จตปุ ฺปท ต ธมมฺ เทสนนฺติ ปทสฺส สรปู วเิ สสน. อ.ุ ท่ี ๕ ข. อิธ ปน ภิกขฺ เว เอกจเฺ จ กลุ ปตุ ตฺ า ธมมฺ  ปรยิ าปณุ นฺติ สุตฺต เอยยฺ นตฺ ิ อย ปรยิ ตตฺ ิธมฺโม. [ จกขฺ ปุ าลติเถร. ๑/๒๑ ] \"ธรรมศัพทน ี้ ในคาํ วา ' ภิกษุท้ังหลาย, อน่ึง กลุ บตุ รบางจําพวกใน โลกน้ี ยอมเรียน ธรรม คือ สตุ ตะ เคยยะ' เปนตน ชอ่ื วา ปรยิ ตั ธิ รรม.\" อ.ุ ที่ ๕ ท้งั ๒ นี้ บางอาจารยอาจเรียกเปนวเิ สสลาภ.ี ข. สรูปในอติ ศิ พั ท อุ. ที่ ๑ จตสฺโส หิ สมปฺ ทา นาม วตฺถสุ มฺปทา ปจจฺ ยสมปฺ ทา เจตนาสมฺปทา คุณาตเิ รกสมฺปทา-ต.ิ [สขุ สามเณร. ๕/๘๘ ] \" จริงอยู ช่ือวาสมั ปทา ท. ๔ คือ วตั ถสุ ัมปทา ปจจยสมั ปทา เจตนาสัมปทา คุณาติเรกสัมปทา.\" วตฺถสุ มปฺ ทา.........คณุ าตเิ รกสมฺปทาติ จตุปฺปท ลิงฺคตโฺ ถ, อิต,ิ สทฺเท สรูป. อิตสิ ทโฺ ท จตสฺโสติ ปเท สรปู . อ.ุ ท่ี ๒ หตฺถาชาเนยโฺ ย อสฺสาชาเนยโฺ ย อุสภาชาเนยโฺ ย ขณี า- สโว-ติ อิเม จตฺตาโร เปตฺวา อวเสสา ตสนตฺ ีติ เวทิตพพฺ า.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 12 [ฉพฺพคคฺ ิยภิกฺขุ. ๔/๔๗ ] \" สัตว ท. ทเี่ หลือ เวน สัตวแ ละบุคคล วเิ ศษ ๔ เหลา น้ี คือ ชางอาชาไนย มาอาชาโยน โคอาชาไนย พระขีณาสพพึงทราบวา ยอมสะดุง .\" อุ. ที่ ๓ ตสฺส เอโก เทฺว ตโย-ติ เอว อนปุ พฺพชฺช ปพฺพชิตวฺ า จตสุ ตฺตตสิ หสสฺ มตฺตา ชฏิลา อเหสุ .ุ [ สชฺ ย ๑/๑๐๐] \" ชน ท. บวชตามซงึ่ สรทดาบสนนั้ อยางน้คี อื ๑ คน, ๒ คน, ๓ คน, ไดเปน ชฎิล ๗๔,๐๐๐ แลว.\" เอโก เทฺว ตโยติ ติปท ลิงคฺ ตฺโถ, อติ ิสทฺเท สรปู . อิตสิ ทโฺ ท เอวสทฺเท สรูป. เอโก เทวฺ ตโย ในทนี่ ี้ใชในฐานเปน นามนาม จะใชเ ปน วเิ สสนะกไ็ ด พงึ บอกสมั พนั ธเ ปนวเิ สสนะ. บทสรปู ใน อุ. ทแ่ี สดงมาน้ีประกอบดว ยปฐมาวภิ ัตติ แมนกิ เขป- บทจะประกอบดวยวิภตั ติอนื่ ก็ตาม, เพราะถอื วา เปนบทในอติ ิ, อกี อยาง หน่ึง ทา นประกอบวภิ ัตติอนวุ ตั นกิ เขปบท ดงั อ.ุ ตอ ไปนี้ :- อ.ุ ท่ี ๔ ทฺวิตาลมตตฺ  ติตาลมตตฺ นฺ-ติ เอว สตฺตตาลมตฺต เวหส อพฺภุคฺคนฺตวา โอรยุ ฺห อตฺตโน สาวกภาว ชานาเปสิ. [ชมพฺ กุ า- ชีวก. ๓/๑๕๙ ] \" เหาะข้ึนสเู วหาส ๗ ชว่ั ลาํ ตาล อยา งนคี้ ือ สเู วหาส ๒ ชัว่ ลาํ ตาล, สูเ วหาส ๓ ช่ัวลําตาล เปน ตน ลงแลว ยงั มหาชนให ทราบความทตี่ นเปนสาวก ( ๗ ครั้ง).\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 13 ทวฺ ติ าลมตฺต ติตาลมตฺตนตฺ ิ ปททวฺ ย สมปฺ าปุณิยกมฺม, อติ ิ สทฺเท สรูป. อิตสิ ทฺโม เอวสทเฺ ท อาทยตฺโถ. อ.ุ ที่ ๕ ตทงคฺ วมิ ุตฺติยา วิกขฺ มฺภนวมิ ุตตฺ ยิ า สมจุ ฺเฉทวมิ ตุ ตฺ ิยา ปฏิ- ปสฺสทธฺ ิวมิ ุตตฺ ิยา นสิ สฺ รณวิมุตตฺ ิยา-ติ อิมาหิ ปจฺ หิ วมิ ตุ ฺตีหิ วมิ ตุ ตฺ าน. [ โคธิกตเฺ ถรปรนิ ิพฺพาน. ๓/๙๓ ] \"วมิ ุตแลว ดวยวิมุตติ ๕ เหลาน้ี คอื ดว ยตทังควมิ ตุ ติ ดวยวิกขัมภนวมิ ตุ ติ ดวยสมุจเฉท- วมิ ุตติ ดวยปฏิปสสทั ธวิ ิมตุ ติ ดว ยนสิ สรณวิมุตต.ิ \" ตทงวฺ ิมุตตฺ ยิ า...นิสสฺ รณวิมุตตฺ ยิ าติ ปฺจปท กรณ, อิตสิ ทฺเท สรปู , อติ ิสทโฺ ท อมิ าหตี ิ ปเท สรูป. [ ๒ ] สรปู น้ี ตางจากวเิ สสลาภ:ี วเิ สสลาภี ยงั บทที่มีอรรถกวาง ใหไดอรรถพิเศษ คือมุงกําหนดอรรถพเิ ศษ, สรปู เปน บทกาํ หนดโดย วภิ าค. วาถึงสรูป, โดยมาก นกิ เขปบท คอื บทที่ยกขนึ้ ไวป ระกอบเปน พหุวจนะ, บทวิภาคประกอบเปน เอกวจนะ, แตนกิ เขปบทอาจประกอบ เปน เอกวจนะตามวธิ ีผกู ประโยคกไ็ ด, พงึ เห็น อุ. เทียบกนั :- อุ. ที่ ๑ ทุวิโธ ปรฬิ าโห กายิโก จ เจตสิโก จ. [ ชีวิก. ๔/๕๙] \"ความเรารอน ๒ อยา ง คือความเรา รอนเปนไปทางกาย ๑ ความ เรา รอนเปน ไปทางใจ ๑. กายิโกติ จ เจตสโิ กติ จ ปททฺวย ทุวโิ ธ ปรฬิ าโหติ ปทสฺส สรปู วเิ สสน.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 14 กายโิ ก และ เจตสโิ ก ในที่น้ี เปน คุณบททใี่ ชในฐานเปน นามนาม ได พงึ ดูอธิบายอันวา ดวยเรือ่ งนใี้ นอธบิ ายเลม ๑. บางอาจารยบ อกสัมพันธว า กายโิ ก วิเสสนะ ของ ปริฬาโก (บทหนงึ่ ). เจตสิโก วเิ สสนะ ของ ปริฬาโห (บทหนงึ่ ). (กายโิ ก) ปริฬาโห (เจตสิโก) ปรฬิ าโห วเิ สสลาภี ของ ทวุ โิ ธ ปรฬิ าโห. เพราะถือหลักวา เรยี กวาสรปู ตอ เมือ่ นิกเขปบทพหวุ จนะ, ถา เปน เอกวจนะ เรียกวา วเิ สสลาภี. อุ. ท่ี ๒ เทฺว สนนฺ จิ ยา กมมฺ สนฺนจิ โย จ ปจจฺ ยสนฺนจิ โย จ. [ เพฬฏสีสตฺเถร. ๔/๖๒ ] \"ความสง่ั สม ท. ๒ คือ ความส่งั สอนคอื กรรม ๑. ความสัง่ สมคือปจ จยั ๑.\" กมมฺ สนฺนิจโยติ จ ปจจฺ ยสนนฺ จิ โสติ จ ปททวฺ ย เทวฺ สนนฺ จิ ยาติ ปทสสฺ สรปู วิเสสน. อุ. มลี กั ษณะเดียวกันกบั อ.ุ ตน . [ ๓ ] บทสรปู นี้ในโยชนาเรยี กวา ลงิ คัตถะ อ.ุ :- วิตกฺโก จ วิจาโร จ ปติ จ สุขจฺ เอกคคฺ ตา จาติ อิเมหิ สหิต วติ กฺกวจิ ารปต ิสขุ เอกคฺคตาสหิต. [ อภ.ิ ว.ิ ปมปรจิ ฺ- เฉท. น. ๘๕ ] \" จิตที่ประกอบดว ยธรรมเหลา นี้ คอื วติ ก ๑ วจิ าร ๑ ปต ิ ๑ สขุ ๑ เอกัคคตา ๑ ชอื่ วิตักกวิจารปต ิสขุ เอกัคคตาสหิตจติ .\" โยชนา [ ๑/๔๐๗ ] วา วิตกโฺ ก.....เอกคฺคตา จาติ ปขฺ ปท ลิงคฺ ตฺโถ. อิตตี ิ (ปท) อิเมหตี ิ ปทสฺส สรปู . อิเมหตี ิ (ปท)

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 15 สหติ นตฺ ิ ปเท สหโยคตติยา. สหิตนตฺ ิ (ปท) จติ ตฺ นตฺ ิ ปทสฺส วเิ สสน. วิตกกฺ ...สหิตนฺติ (ปท) ลงิ คฺ ตฺโถ. ตวั อยางน้ี เปน ปฐมาวภิ ตั ติ และมีอิตศิ พั ท, สวนทเี่ ปนวิภัตตอิ ื่น หรือท่ีไมม ีอิติศัพท ไดคนวาทา นจกั เรยี กอยางไร, แตไ มพบ เพราะบท ที่ตอ งการ ทา นไมบอกสัมพันธไว บอกแตบทอน่ื ๆ. (เชน เตสุ เจว ปจฺ ปณฺณาสวิตกฺกจิตฺเตสุ เอกาทสสุ ทุตยิ ชฌฺ านจติ ฺเตสุ จาติ ฉสฏ ีจติ ฺเตสุ วจิ าโร ชายติ. [ อภิ. วิ. ทตุ ยิ ปริจเฺ ฉท. น . ๑๐๘ ] \"วิจารยอมเกิดในจติ ๖๖ ดวง คอื ในวิตักกจติ ๕๕ ดวง เหลาน้ันดว ย ในทตุ ยิ ฌานจิต ๑๑ ดวงดวย.\" เทวฺ มา ภิกฺขเว เวทนา สขุ า ทกุ ขฺ า. [ อภิ. ว.ิ ตตยิ ปรจิ เฺ ฉท. น. ๑๑๗] \"ภกิ ษุ ท., เวทนา ๒ เหลานี้ คือ สขุ เวทนา ทุกขเวทนา.\") สรูปอธบิ าย : สรปู ในขอ น้ี คอื บทกาํ หนดโดยวิภาค, เปน สรปู วิเสสนะของนิกเขปบท หรือสรูปลิงคคัตถะเปนตนในอิตศิ พั ท.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 16 บทนามนามอีกอยา งหนง่ึ ๓. บทนามนามอกี อยางหน่ึง ใชเ ปนวิเสสนะบางอยางมชี ื่อ ดงั ตอ ไปน้ี :- สรปู วิเสสนะ (๑) เปนบทวเิ สสนะทีเ่ ปน สรปู เรยี กชอื่ วา สรปู วเิ สสน (คอื ) อุ. มหตา ภิกขฺ สุ งฺเฆน สทธฺ ึ ปฺจมตฺเตหิ ภกิ ขฺ ุสเตหิ โบราณทานเรียก ภิกฺขสุ เตหิ วา สรูปวิเสสนะ. อธบิ าย: [๑ ] สรูปวเิ สสนะน้ีคลา ยวิเสสลาภี แตต างกัน, วเิ สสลาภี ทําใหไดอรรถพิเศษ, สรปู วเิ สสนะ เปน บทขยายเพอื่ ทาํ ความ ที่ประสงคใ หชดั ทาํ นองบทไข, มลี งิ คแ ละวจนะตางจากบทนามนามซงึ่ เปนท่ีเขาได, แตตองมีวิภัตตเิ ดียวกัน อ:ุ - มหตา ภิกฺขสุ งเฺ ฆน สทฺธึ ปจฺ มตฺเตหิ ภิกฺขสุ เตห.ิ [ พฺรหมฺ ชาล. ๑/๙ ] \"พรอ มกับภกิ ษสุ งฆห มใู หญ คอื ภิกษุประมาณ ๕๐๐ รปู .\" ภกิ ฺขสุ เตหีติ ปท ภกิ ฺขุสงเฺ ฆนาติ ปทสสฺ สรปู วิเสสน. [ ๒ ] สรูปวเิ สสนะน้ี มตี ัวอยางในธมั มปทฏั กถา เชน โส อตถฺ โต ตโย อรปู โ น ขนธฺ า. [จกขฺ ปุ าลตฺเถร. ๑/๒๑ ]\" ธรรม นนั้ โดยอรรถ คือขันธ ท. ไมม ีรูป ๓.\" บอกสัมพนั ธวา โสติ ปท ลงิ ฺคตโฺ ถ. อตถฺ โตติ ปท ขนฺธาติ ปเท ตติยาวิเสสน. ตโย อรปู โนติ ปททฺวย ขนฺธาติ ปทสฺส วิเสสน. ขนธฺ าติ ปท โสติ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 17 ปทสสฺ สรปู วิเสสน. (ขนธฺ า ใชเปน วิกติกตั ตา ใน โหติ ทีเ่ ติม เขา มาก็ได) . [ ๓ ] บทท่มี ีลกั ษณะอยา งนี้ หรอื ท่คี ลา ย ๆ กันนี้ ในโยชนา ทานเรียกช่อื วา สรูปวิเสสน บาง สรปู  บา ง ลงิ คฺ ตโฺ ถ บา ง, พึง สังเกตตาม อ.ุ ตอ ไปนี้ :- สรปู วิเสสนะ ธารณฺจ ปเนตสฺส อปายาทนิ ิพฺพตตฺ นกเิ ลสวิทธฺ สน. [อภิ. ว.ิ ปมปริจฺเฉท. น. ๖๕ ] \" ก็แล ความทรงไวแ หง ธรรมนัน้ คือ ความกาํ จดั กิเลสเปนเหตุใหเ กิดในอบายเปนตน.\" โยชนา [ ๑/๑๔๐ ] วา ธารณจฺ าติ (ปท) ลิงคฺ ตฺโถ. เอตสฺ- สาติ (ปท) ธารณนฺติ ปเท กริ ิยาสมพฺ นฺโธ. อปา... สนนตฺ ิ (ปท) ธารณนฺติ ปทสฺส สรูปวิเสสน. สรูป อุ. ที่ ๑ จติ ตฺ สฺส อาลมฺพติ ุกามตามตฺต ฉนโฺ ท [อภ.ิ ว.ิ ทุตยิ ปริจ-ฺ เฉท. น. ๑๐๒] \" ฉนั ทะ คอื กิรยิ าสักวาความทแี่ หงจิตใครเ พื่อหนว ง.\" โยชนา [๑/๕๘๓ ] วา จติ ฺตสสฺ าติ (ปท) กามตาติ ปเท สมพฺ นฺโธ. อาลมพฺ ิตุกามตามตตฺ นฺติ (ปท) ฉนโฺ ทติ ปทสฺส สรูป ฉนฺโทติ (ปท) ลิงคฺ ตโิ ถ. อุ. ที่ ๒ โลโภ ตตถฺ อภคิ ฺฌน. [ อภ.ิ ว.ิ ทตุ ิยปรจิ เฺ ฉท. น. ๑๒๐ ]

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 18 \"โลภ คือความอยากไดนักในอารมณนน้ั .\" โยชนา [ ๑/๕๘๓ ] วา โลโภติ (ปท) ลงิ ฺคตฺโถ ตตฺถาติ (ปท) อภคิ ชิ ฌฺ นนฺติ ปเท อาธาโร. อภิคชิ ฌฺ นนฺติ (ปท) โลโภติ ปทสสฺ สรปู . ลงิ คัตถะ อ.ุ ท่ี ๑ รตนตตฺ ยปณาโม หิ อตฺถโต ปณามกริ ยิ าภินปิ ฺผาทิกา กสุ ลเจตนา. [ อภ.ิ ว.ิ ปมปริจฺเฉท. น. ๖๒ ] \" แทจ รงิ การประณามพระ รัตนตรัย โดยเนื้อความ คอื กศุ ลเจตนา ทย่ี งั กริ ยิ าเครื่องประฌาม ใหส าํ เร็จ.\" โยชนา [ ๑/๕๙ ] วา รตนตตฺ ยปณาโมติ (ปท) ลงิ ฺคตโฺ ถ. ...กุสลเจตนาติ (ปท) ลงิ ฺคตโฺ ถ. อ.ุ ท่ี ๒ รูป ภูตปุ าทายเภทภินฺโน รปู กฺขนโฺ ธ [ อภ.ิ ว.ิ ปมปริจเฺ ฉท. น. ๖๖ ] \"รปู คอื รูปขันธ ตา งโดยประเภทแหงภูตรปู และอปุ า- ทายรูป.\" โยชนา [ ๑/๑๖๗ ] วา รปู  รูปกขฺ นโฺ ธติ (ปททฺวย) ลิงฺคตฺโถ. อ.ุ ที่ ๓ อุปาทา นกขฺ นธฺ สงฺขาตโลกโต อตุ ตฺ รติ อนาสวภาเวนาติ โลกตุ ตฺ ร มคฺคจิตฺต. [ อภ.ิ ว.ิ ปมปริจฺเฉท. น. ๖๙ ] \" จิตใด ยอ มขา มข้นึ จากโลก กลา วคอื อุปาทานขนั ธ โดยเปน จิตไมมีอาสวะ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 19 เพราะเหตุน้ัน จิตนั้น ชอื่ โลกุตระ (ขา มข้ึนจากโลก) คอื มคั คจิต.\" โยชนา [ ๑/๒๑๙ ] วา โลกตุ ฺตรนตฺ ิ (ปท) สฺ า. มคคฺ จิตฺตนตฺ ิ (ปท) ลงิ คฺตฺโถ. อ.ุ น้ี แสดงบทไขบทปลงแหง รปู วเิ คราะห. บทไขบทปลงนี้ โบราณเรยี กวเิ สสลาภี ดงั กลา วในขอ น้ันแลว. สรูปอธบิ าย: เปน บทวเิ สสนะทเ่ี ปนสรูป เรยี กช่อื วา สรปู วเิ สสนะ. สญั ญาวิเสสนะ (คกู บั สัญญวี ิเสสิยะ) (๒) เปน บททีเ่ ปนตนชื่อวา เรียกช่อื วา สฺาวเิ สสน (ชือ่ วา), สัญญาวเิ สสนะน้ี โบราณทานเรยี กคูกบั สญั ญีวิเสสยิ ะ คอื เรยี กบทท่เี ปน ตัวเขา ของชอ่ื วา วา สัญญีวิเสสิยะ (สส กฤตวา วิเศษฺย คือตัวนามนามอนั จะใหแปลกไปดว ยวเิ ศษณ หรอื วิเสสนะ) เรยี กบทท่ีเปน ตวั ชือ่ วา วาสัญญาวิเสสนะ อ.ุ กมุ ภฺ โฆสโก นาม เสฏ ี กมุ ฺภโฆสโก สญั ญาวิเสสนะ, เสฏฐ ี สญั ญีวเิ สสิยะ. ช่ือคูนเ้ี รียกส้ันวา สญั ญี-สญั ญา บัดนี้ มกั เรยี กแตสัญญา- วิเสสนะอยางเดยี ว. บทสญั ญีวิเสสิยะ ตอ งเรียกชอ่ื ตามอรรถทเ่ี กยี่ ว เนื่องกันในประโยคดวย เชน สยกัตตา เปน ตน. อธบิ าย : [ ๑ ] เรื่องสัญญาวิเสสนะน้ี ไดอ ธบิ ายไวแ ลวในเลม ๑ ในลักษณะท่ีใชก นั อยูท่วั ไปเบอ้ื งตน , ในที่น้ี จกั กลา วใหกวางขวาง ออกไป ตลอดถงึ ที่เรียกวา สัญญ-ี สัญญา ในโยชนา. เพราะเมอ่ื เรียก วาสญั ญา กต็ อ งมีสญั ญเี ปน คูกนั (สฺา อสสฺ า อตถฺ ตี ิ สฺ ี)

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 20 ฉะนั้น เม่ือมสี ญั ญาวเิ สสนะ ก็ตอ งมสี ัญญีวิเสสิยะเปนคกู ัน, เรยี ก สั้น ๆ มสี ัญญา กต็ องมีสัญญ,ี แมจะไมเ รียก บทท่ีเปนตัวเขาของ สัญญา ก็เปนสญั ญี หรือสัญญีวเิ สสยิ ะอยูในตัว. บทนามนามที่เปน ตวั สัญญนี ี้ ไมพ งึ ทิ้งช่อื ในอรรถทใ่ี ชใ นประโยค เชน สยกัตตา เปน ตน. ดังตัวอยางงา ย ๆ วา กมุ ภฺ โฆสโก นาม เสฏี \"เศรษฐี ช่อื วา กุมภโฆสก.\" เรียกสัมพันธว า กุมฺภโฆสโกติ ปท เสฏตี ิ ปทสสฺ สฺาวิเสสน. นามสทฺโท สฺ โชตโก. เสฏตี ิ ปท สฺ ีวิเสสยิ . (และสยกตั ตาเปน อาทใิ นอะไร กต็ อ งออก). [ ๒ ] จะกลา วถงึ สญั ญ-ี สัญญา ทที่ า นเรียกในโยชนา พรอมทัง้ ตวั อยา ง และจะแสดงตวั อยางในธมั มปอัฏฐกถาดว ย. สญั ญ-ี สญั ญาน้ี กาํ หนดลักษณะส้นั ๆ , สญั ญกี ็คอื บทวิเคราะห ความ. (กลาวเพอื่ เขาใจงาย ก็คอื บทที่แปลข้นึ กอ น เปนตวั เขาของ ' ชือ่ วา ' )สญั ญา ก็คอื บทรบั รองหรอื ปลงความ. (กลาวเพอื่ เขา ใจงาย กค็ ือบทท่เี ปนตัว 'ช่ือวา .' ) สัญญ-ี สัญญา โดยปกติมีในอรรถกถาทแี่ ก บาลีเปนตน หรือในตอนที่อธบิ ายอรรถแหง คําท่กี ลา วไวข า งตน หรือท่ี ยกมาอธบิ าย และบทสัญญาตอ งเปนบททม่ี าในบาลเี ปน ตน หรือใน ความทองตน ที่ในอรรถกถาเปน ตน หรือในความทอนหลังยกมา. อกี อยางหนึง่ ในวิเคราะหศ พั ททานเรียกอญั ญบทของปลงวา สัญญี เรียกบทปลงวาสัญญา. สัญญ-ี สัญญานี้ รวมกันเปน พากยางค ก็เปนพากยางคล งิ คัตถะ นัน่ เอง. บทประธานในพากยางคลิงคตั ถะทเ่ี ปน สัญญ,ี ในโยชนา เรียกชื่อสญั ญชี ่อื เดยี วเปน พืน้ , แบบนกั เรยี นควรเรยี กคูก นั ไป. ในตัว

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 21 อยางตอไปนี้เรยี กตามโยชนา กพ็ ึงเขา ใจเอาเองอยางนี.้ ในบททงั้ ๒ น้ี สญั ญา เปน บทสาํ คัญ เพราะเปน บทมาในบาลี เปนตน หรอื ในความทอนตน ทย่ี กมาแกใ นอรรถกถา หรอื ในความ ทอ นหลงั อ.ุ :- อุ. ที่ ๑ เหตุสมปฺ ทา นาม มหากรณุ าสมาโยโค โพธิสมภฺ ารสม-ฺ ภรณจฺ . [ อภ.ิ วิ. ปมปรจิ เฺ ฉท. น. ๖๔ ] \" ความประกอบพรอ ม ดว ยพระมหากรุณา และความบําเพ็ญธรรมเคร่อื งอุปถมั ภแ กความตรสั รู ช่อื วาเหตุสัมปทา.\" โยชนา [ ๑/๑๑๒] วา เหตสุ มฺปทา นามาติ (ปท) สฺา มหากรุณาสมาโยโค โพธิสมภฺ ารณฺจาติ ปททวฺ ย สฺ .ี ขอสังเกต: ในโยชนา ทานใชบ อกชื่ออยา งสังเขปพอใหรจู กั การเนือ่ งกัน ของบทเหลา นัน้ , นิบาตท่ีเน่อื งกัน เชนนามศัพท อติ ิ ศพั ท (สญั ญาโชตก หรอื นามวาจก ) จ ศัพท (สมจุ ฉยั ) ทาน กม็ ักแสดงรวมกนั ไปทีเดยี ว สพั พานามกม็ ักไมโ ยค พึงทราบอยา งนี้ ทกุ แหง. อุ. ท่ี ๒ ฌานนตฺ ิ วิตกโฺ ก วิจาโร ปติ สขุ  เอกคฺคตา. [ อภ.ิ วิ. ปมปรจิ เฺ ฉท. น. ๘๖] \"วิตก วิจาร ปติ สุข เอกคั คตา ชอื่ ฌาน.\" โยชนา [ ๑/๔๒๕ ] บอกวา ฌานนฺตีติ ฌาน นาม... ฌานน-ฺ ตีติ เอตถฺ อติ สิ ทฺโท นามวาจโก. อ.ุ นี้ แสดงสัมพันธอ ยางเดียว

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 22 กับ อ.ุ ท่ี ๓ วา ฌานนตฺ ิ ปท สฺ า. อิตสิ ทโฺ ท นามวาจโก. วิตกโฺ ก.....เอกคฺคตาติ ปจปท สฺี. อุ. ที่ ๓ จนิ ตฺ นมตฺต จติ ฺต [ อภิ. วิ. ปมปรจิ เฺ ฉท. น . ๖๖ ] \"สง่ิ (คือธรรมชาต) มาตรวา คดิ ช่อื วาจิต.\" โยชนา [ ๑/๑๗๕ ] วา จินตฺ นมตฺตนฺติ (ปท) สฺ ี. จิตตฺ นฺติ (ปท) สฺ า. อุ. ท่ี ๔ ชวี ติ นิมิตฺต รโส ชวี ติ . [ อภิ. ว.ิ ปมปริจเฺ ฉท. น. ๗๖ ] \"รส เปนนมิ ติ แหงชีวติ ช่อื วา ชวี ิต.\" โยชนา [ ๑/๓๑๑ ] วา ชีวติ นมิ ิตฺตนตฺ ิ (ปท) รโสติ ปทสสฺ วิ เิ สสน. รโสติ (ปท) สฺ ี. ชีวิตนตฺ ิ (ปท) สฺา. อุ. ท่ี ๕ (สฺาเรยี งไวหนา ) รปุ ฺปนฺเจตถฺ สิตาตวิ โิ รธิปจจฺ ยสมวาเย วิสทิสุปฺปตฺติเยว. [อภิ. ว.ิ ปมปรจิ ฺเฉท. น. ๖๗ ] \"ก็เม่อื ความประชุมแหง วโิ รธ-ิ ปจจัย มีเยน็ เปน ตน (มอี ยู), ความเกิดขึ้นไมเหมอื นกัน ช่ือความ สลาย ในคําน้ัน.\" โยชนา [ ๑/๑๙๒ ] วา รปุ ฺปนนฺติ (ปท) สฺ า. เอตถฺ าติ (ปท) รุปฺปนนตฺ ิ ปเท อาธาโร. สตี าทวิ โิ รธปิ จฺจยสมวาเยติ (ปท) ภาวสตตฺ มี. สตีติ (ปท) อปุ ฺปชชฺ ตตี ิ ปเท ลกขฺ ณกิริยา วิสทสิ ปุ ปฺ ตตฺ ิเย- วาติ (ปท) สฺ.ี

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 23 ตวั อยา งเทียบ อ.ุ ท่ี ๑ ปจฺจยาน ธมเฺ มน สเมน อปุ ฺปตตฺ ิ ปจฺจยสมฺปทา นาม. [ สขุ สามเณร. ๕/๘๘ ] \"ความเกดิ โดยธรรมโดยสมควร แหง ปจจยั ท. ชื่อวา ปจ จยสัมปทา.\" อุปปฺ ตตฺ อ ลงิ คัตถะ และสญั ญีวเิ สสิยะ. ปจฺจยสมฺปทา สญั ญา- วิเสสนะ ของ อปุ ปฺ ตตฺ .ิ นามศพั ท สัญญาโชตกเขากบั ปจ จยสัมปทา. อ.ุ ตอไป กพ็ ึงทราบอยางนี้. อ.ุ ท่ี ๒ ธีโรติ ปณฺฑโิ ต. [ อสทิสทาน. ๖/๕๘ ] \" บณั ฑติ ช่ือธรี ะ\" ธโี รติ ปท ปณฑฺ ิโตติ ปทสสฺ สฺาวเิ สสน. อติ สิ ทโฺ ท สฺาโชตโก. ปณฑฺ โฺ ตติ ปท สฺ ีวิเสสยิ . อุ. ท่ี ๓ ปรุ าณสาโลหิตาติ ปุพเฺ พ เอกโต กตสมณธมฺมา. [ ทารุจีริ- ยตฺเถร. ๔/๙๗ ] \"เทพดาผูทําสมณธรรม รวมกัน ในกอน ชือ่ วา ปุราณสาโลหิต.\" เรยี กสน้ั กตสมณธมมฺ า สญั ญ.ี ปุราณสาโลหติ า สัญญา. อุ. ที่ ๔ โอกปณุ เฺ ณหิ จวี เรหตี ิ เอตถฺ อทุ ก โอก. [เมฆิยตเฺ ถร. ๒/๑๒๒ ] \" น้ําชอ่ื วาโอก ในคํานว้ี า มีจวี ร ท. เตม็ ดว ยนํ้า.\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 24 เรียกสนั้ อทุ ก สญั ญี. โอก (เปนบทท่ใี ชใ นคาถาบาทวา โอกโมกตอพุ ภฺ โต.) สัญญา. [ ๒] อกี อยางหนึ่ง บทปลงของวิเคราะหศ ัพทที่มอี ัญญบท ทานเรยี กอญั ญบทวา สญั ญี เรยี กบทปลงวา สญั ญา. อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ (โย ปคุ คฺ โล) สมฺมา สามจฺ สพฺพธมเฺ ม อภิสมฺพทุ ฺโธติ (โส) สมมฺ าสมพฺ ุทฺโธ ภควา. อภ.ิ วิ. ปมปริจฺเฉท. น. ๖๓] \"บุคคลใด ตรัสรยู ่ิง ซ่งึ ธรรมทงั้ ปวง ท. โดยชอบและเอง เพราะ- เหตนุ นั้ บคุ คลนนั้ ชือ่ วา สมั มาสมั พุทธะ คอื พระผูมพี ระภาค.\" โยชนา [ ๑/๘๑ ] วา โยติ (ปท) ปคุ คฺ โลติ ปทสสฺ วเิ สสน. \" ปุคคฺ โลติ (ปท) อภสิ มพฺ ุทฺโธติ ปเท กตฺตา. สมมฺ า สามญจาติ ปททฺวย อภสิ มฺพทุ โฺ ธติ ปเท ตตยิ าวิเสสน. สพฺพธมเฺ มติ (ปท) อภิสมพฺ ุทโฺ ธติ ปเท กมมฺ  อภิสมฺพทุ โฺ ธ. (ปท) กตตฺ วุ าจก กติ ปท. อติ ตี ิ (สทฺโท) สมมฺ าสมฺพุทโฺ ธติ ปเท เหต.ุ โสติ (ปท) สฺ .ี (ถาโส ปคุ ฺคโล บอกวา โสติ ปท ปุคคโลติ ปทสสฺ วเิ สสน. ปุคคฺ โลติ ปท สฺ )ี . สมมฺ าสมพฺ ทุ โธติ (ปท) สฺ า. ภควาติ (ปท) ลงิ คฺ ตฺโถ. ขอสงั เกต: บทไขบทปลง ทา นเรยี กลิงคัตถะ. แตโบราณ เราเรียกวา วเิ สสลาภ.ี อ.ุ ท่ี ๒ (ย จิตฺต) อุปทานกฺขนธฺ สงขฺ าตโลกโต อุตฺตรติ อนาสว-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 25 ภาเวนาติ (ต จติ ฺต) โลกุตตฺ ร มคฺคจิตตฺ . [ อภ.ิ ว.ิ ปมปริจเฺ ฉท. น. ๖๙ ] \" จติ ใดยอ มขา มขึ้นจากโลกกลา วคืออุปาทานขนั ธ โดย ความท่ีไมม ีอาสวะ เพราะเหตนุ นั้ จติ นน้ั ชอ่ื วา โลกุตตระ คอื มัคคจิต.\" โยชนา [ ๑/๒๑๙] วา โลกตุ ฺตรนฺติ (ปท) สฺ า. มคฺค- จติ ตฺ นฺติ (ปท) ลิงคฺ ตโถ. อ.ุ ที่ ๓ (ตวั อยา งเทียบ) นวิ าสนตฺเถน สมถวปิ สฺสานธมโฺ ม อาราโม อสฺสาติ (โส) ธมมฺ าราโม. [ ธมมฺ ารามตเฺ ถร. ๘/๖๑ ] \" ธรรมคือสมถะและวิปส สนา เปน ทีม่ ายนิ ดี โดยอรรถวาเปน ทอ่ี าศัยอยู แหงบคุ คลน้ัน เพราะ- เหตนุ ้นั บคุ คลน้นั ช่อื วา ธัมมารามะ (มีธรรมเปน ทม่ี ายนิ ดี).\" เรยี กสนั้ โส สญั ญ.ี ธมฺมาราโม สญั ญา. อนึ่ง ตามหลักธรรมดา มสี ญั ญากต็ อ งมีสัญญเี ปนคูกนั ดงั กลาว ขา งตน, บทปลงของวิเคราะห ทม่ี อี ญั ญบท ทานเรยี กวา สัญญาก็ เพราะมีอัญญบทเปน สัญญ.ี เพราะฉะนี้ในท่ไี มมีสัญญี ทานจึงไมเรยี ก สญั ญา ดงั บทปลงของสมาทาน (ไมม ีอัญญบท) ทานเรยี กวา ลงิ คัตถะ. อ.ุ :- อุ. ที่ ๑ ปรโม อตุ ตฺ โม อวีปริโต อตโฺ ถ, ปรมสสฺ า วา อตุ ตฺ มสฺส

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 26 าณสฺส อตฺโถ โคจโรติ ปรมตโฺ ถ. [ อภ.ิ วิ. ปมปรจิ เฺ ฉท. น. ๖๖] \"อรรถอยางยง่ิ (คอื ) สูงสุด (คือ) ไมวิปริต, อีกอยา งหนึง่ อรรถ (คือ) โคจร แหงญาณอยา งย่ิง (คือ) สูงสดุ เพราะเหตนุ ั้น ชือ่ ปรมัตถะ.\" โยชนา [ ๑/๑๗๐ ] วา ปรมตโฺ ถติ (ปท) ลงิ ฺคตโถ. อ.ุ ท่ี ๒ ตสสฺ ภาโว เอกคฺคตา สมาธิ. [อภ.ิ ว.ิ ปมปรจิ เฺ ฉท. น. ๘๖ ] \" ภาวะแหง เอกคั คจิตนนั้ ชอ่ื เอกคั คตา คือ สมาธ.ิ \" โยชนา [ ๑/๔๒๒ ] วา ภาโว เอกคฺคตา สมาธตี ิ ปทตฺตย ลงิ ฺคตฺโถ. ขอ สังเกต : บทปลงท่วั ไป แปลนาํ วา ช่อื .\" คาํ นใี้ ชเ สริม ความก็มี ฉะนนั้ ในทไ่ี มใชสัญญา และใชคําวา ชื่อ พงึ ทราบวา ใชเ ปนคาํ เสรมิ ความ. สญั ญ-ี สญั ญานี้ มลี กั ษณะกลับกันกบั สรปู (สรปู วิเสสนะ) และ ถ าเพงความกลบั กัน สรปู กก็ ลายเปน สัญญ-ี สญั ญา, สัญญ-ี สัญญา ก็กลายเปนสรูป. ดงั ตัวอยางในสรูปวา จติ ฺตสสฺ อาลมฺพิตกุ ามตามตตฺ  ฉนโฺ ท ถา เพงความวา กริ ยิ าสกั วาความท่ีแหง จติ ใครเ พื่อหนวง ช่อื วาฉันทะ อาลมพฺ ิตุกามตามตตฺ  กเ็ ปน สัญญ,ี ฉนโฺ ท ก็เปนสญั ญา. หรอื ดังตวั อยางในสญั ญี-สญั ญา นีว้ า จนิ ตฺ นมตตฺ  จติ ฺต ถาเพงความ วา จิต คอื ส่ิง (คอื ธรรมชาต) มาตรวาคิด จินฺตนมตฺต ก็เปน บทสรูปของ จติ ตฺ , จติ ฺต กเ็ ปน ลิงคัตถะ.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 27 สรปู อธบิ าย : สญั ญาวิเสสนะ เปน บททเ่ี ปน ตัวชือ่ วา คกู ับ สญั ญวี เิ สสิยะ เรียกส้นั วา สัญญ-ี สัญญา.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 28 บทคุณนาม ๔. บทคุณนามยงั ใชใ นอรรถอน่ื อีก นอกจาก ๓ อยา ง ท่แี สดง ไวใ นแบบวากยสมั พนั ธ ภาคที่ ๓ ตอนตน จะนาํ มากลาวไวในที่นี้ คอื :- สัมภาวนะ หรือ อาการ (๑) เปนคุณนามก็ดี เปน นามนามแตใ ชด จุ คุณนามก็ดี ทีเ่ ขา กบั กริ ิยาวา รู วากลา ว เปน ตน โดยอาการดุจมี อิติ ทแ่ี ปลวา ' วา ' ค่นั อยู ประกอบดวยทุติยาวิภตั ติ ในพากยทเ่ี ปน กตั ตวุ าจก และ ประกอบดว ยปฐมาวภิ ตั ติ ในพากยท ่เี ปนกมั มวาจก เรียกชอื่ วา สมภฺ าวน บา ง อากาโร บา ง อุ :- อตฺตานฺเจ ปย ชฺ า. ตมห พรมู ิ พรฺ าหฺมณ. วิราโค เตส อคฺคมกฺขายต.ิ อมต วุจฺจติ นิพพฺ าน. อธบิ าย : [ ๑ ] สัมภาวนะหรอื อาการ เพราะเหตไุ รในพากย กตั ตวุ าจก ประกอบดวยทตุ ยิ าวภิ ตั ติ และในพากยก ัมมวาจก ประ- กอบดว ยปฐมาวิภตั ติ มีอธบิ ายเชน กบั ทก่ี ลา วแลว ในวิกตกิ ัมม ใน อธบิ ายวายกสมั พันธ เลม ๑. คุณนามทใ่ี ชในอรรถน้ี แปลวา ' วา' หรอื ' วาเปน ' อุ :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 29 ในพากยกตั ตุวาจก อ.ุ ท่ี ๑ อตตฺ านฺเจ ปย  ชฺ า. [ โพธริ าชกมุ าร. ๖/๔ ] \"ถา บคุ คล พงึ รซู ่งึ ตน วา เปน ทรี่ ักไซร. \" [แปลเรยี งความวา \"ถา บคุ คลพงึ รวู า ตนเปนทร่ี ักไซร\" บา ง แม อ.ุ อนื่ ก็พึงทราบดจุ เดียวกัน.\" ] ปยนตฺ ิ ปท ชฺ าติ ปเท สมฺภาวน. อุ. ตอ ไปก็พงึ ทราบดจุ เดียวกัน. อุ. ท่ี ๒ ตมห พรฺ มู ิ พฺราหมฺ ณ. [ กีลาโคตม.ี ๘/๑๒๑ ] \"เราเรียกบคุ คล น้ันวาเปนพราหมณ.\" อ.ุ ท่ี ๓ ปฏาจาร ตนภุ ตู โสก ตฺวา. [ปฏาจารา. ๗/๘๗ ] \"ทรง ทราบทางปฏาจารา วามีโศกสรา งแลว . [ อุ. นี้เปนพากยางค แตก ็มี อรรถเชน กับพากย. ] ในพากยกัมมวาจก อุ. ท่ี ๑ วิราโค เตส อคฺคมกขฺ ายติ. [ ปจฺ สตภิกขฺ .ุ ๗/๖๑ ] \"บรรดา ธรรมเหลา น้นั วิราคะบณั ฑิตกลา ววาเลิศ.\" [ อคคฺ  เปนปฐมาวิภตั ติ มิใชท ตุ ิยาวภิ ตั ติ, เทยี บกับ เทยี บกนั ตถาคโต เตส อคคฺ มกขฺ ายต.ิ [ อภธิ มั ม. หนา ๖๔ ] ในโยชนาแกว า อคคฺ  ไดแก อคโฺ ค)

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 30 อ.ุ ที่ ๒ อมต วจุ ฺจติ นพิ ฺพาน, [ สามาวตี. ๒/๖๘ ] \"นพิ พาน เรียกวา อมตะ.\" อ.ุ ที่ ๓ มนตฺ า วจุ ฺจติ ปฺา. [ โกกาลกิ . ๘/๕๙] \"ปญ ญา เรยี กวา มันตา.\" สมั ภาวนะ ลกั ษณะนี้ โบราณแปลวา 'ใหช อ่ื วา' ดัง อุ. มนฺตา วจุ จฺ ติ ปฺ า นัน้ แปลยกศพั ทว า ปฺ า ปญญา, ภควตา อนั พระผูมพี ระภาค, มนตฺ า ใหช ่ือวา มนั ตา, วจุ จฺ ติ ยอ มตรสั เรียก. [ ๒ ] ทเี่ รียกชอ่ื วา สมั ภาวนะ เพราะยกข้นึ วาดุจสมั ภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส, โดยนยั น้ี คาํ วา สมั ภาวนะ ในทีน่ ี้ จงึ มไิ ดห มาย ความวา สรรเสริญทค่ี ูต เิ ตียน หมายความเพียงยกขึ้นวาเชน เดยี วกบั สัมภาวบุพพท กมั มมธารยสมาสเทานั้น. อนึ่ง ที่เรียกวา อาการ เพราะแปลวา ' วา ' ดุจ อติ ิ ศพั ทที่เปนอาการ. ในโยชนาใชช อ่ื หลังน้ี เชน อุ. ตถาคโต เตส อคฺคมกฺขานติ นั้น ในโยชนาบอก สมั พันธว า อคฺค อาการใน อกขฺ ายติ. สรปู อธบิ าย : สมั ภาวนะ เปน เคร่ืองยกขน้ึ วา หรอื เปน อาการ, เขา กับกริ ยิ าวารู วากลาว เปน ตน. สรูป (๒) เปนคณุ นามกด็ ี เปน นามนามแตใชด จุ คุณนามกด็ ี ทเ่ี ขา กบั อิตศิ ัพท เรียกชือ่ วา สรปู  อุ :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 31 สมจรยิ าย สมโณ-ติ วุจจฺ ติ อุปธึ วทิ ติ ฺวา สงโฺ ค-ติ โลเก. อธบิ าย : [ ๑ ] คณุ นามทีใ่ ชใ นอรรถน้ี เมือ่ เพงถึงความ ก็ เชน เดยี วกับสัมภาวนะ ตางแตใ นทน่ี ี้มี อิติ ศัพท จึงเรยี กชื่อสัมพนั ธ ตางไป และเรยี กเขาใจอิติศัพทน นั้ อุ. :- [ ในพากยกัมมวาจก ] สมจริยาย สมโณ-ติ วจุ จฺ ต.ิ [ อฺตาปพพฺ ชติ . ๘/๑๑๐ ] \"พราหมณผูลอยบาปแลว เรยี กวา สมณะเพราะประพฤติสงบ. \" สมโณติ ปท อติ สิ ทเฺ ท สรปู  อติ สิ ทโฺ ท วุจฺจตตี ิ ปเท อากาโร. ในพากยกตั ตวุ าจก อุ. ท่ี ๑ อุปธึ วทิ ิตวิ า สงฺโค-ติ โลเก. [ มาร. ๗/๑๖๕ ] \"รอู ุปธิ วา เปนเครือ่ งของใจในโลก.\" (อ.ุ นเ้ี ปน พากยางค) . อุ. ที่ ๒,๓ สมโณ โคตโม อตตฺ โน สาวเก ปพฺพชติ า-ติ วทต.ิ นาห เอตตฺ เกน ปพพฺ ชโิ ต-ต วทาม.ิ [ อฺตรปพพฺ ชติ . ๘/๑๑๐ ] \"พระโคตาตรสั เรียกสาวกของพระองควาเปน บรรพชติ .\" \"เรากลา ว (ซึ่งบคุ คล) วา เปน บรรพชติ ดวยเหตเุ ทานหี้ ามิได. \"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 32 ใน อ.ุ คูน ้ี อ.ุ ทห่ี นึ่งแสดงรูปเปนพหวุ จนะคือ ปพพฺ ชิตา. อ.ุ ทสี่ องแสดงรูปเปนเอกวจนะคือ ปพฺพชิโต และไมไ ดเ ขียนกรรมแหง วทามิไว ตองเขาในเอาเองคือ ปคุ คฺ ล. [ ๒ ] ในพากยเ ปนกัตตุวาจก บทสรปู ในอิตศิ พั ทประกอบเปน ปฐมาวิภัตติ ไมประกอบเปนทุติยาวภิ ัตติ เหมือนบทนามนามที่เปน อวตุ ตกมั มในกิรยิ า, ทง้ั นีเ้ พราะมีอิติศัพทค ่ัน จึงถอื เปน ขาดตอนกัน ได. เทียบดูกบั สมั ภาวนะ จะเห็นวาความเทากนั , เพราะฉะนัน้ จึง ไมพนจากคุณนามไปได. ตวั อยางเทยี บกนั เชน นาห ภิกฺขเว พหุ ภาสติ ฺวา ปเร วเิ หยมาน ปณฺฑิโต-ติ วทาม.ิ เขมนิ  ปน อเวร อภยเมว ปณฑฺ ิต วทามิ. [ ฉพฺพคฺคิยา. ๗/๔๕ ] \"ภกิ ษุ ท., เรา ไมก ลาวบุคคลผูพูดมากเบยี ดเบียนคนอ่ืนวาเปน บณั ฑิต, แตเรากลาว บคุ คลผมู คี วามเกษม ไมมีเวร ไมม ีภัย เทา น้นั วาเปน บณั ฑิต.\" สรูปอธบิ าย : สรปู เปน คณุ นามหรือนามนามทใี่ ชด ุจคุณนามที่ เนื่องในอติ ศิ ัพท. ขอ สังเกตการสัมพนั ธบทวา สรณ [ ๑ ] บทวา สรณ ในพากยว า พุทธฺ  สรณ คจฉฺ ามิ หรอื วา โย จ พุทฺธจฺ ธมมฺ จฺ สงฆฺ ฺจ สรณ คโต เปนอาทิ มีมติ สงั เกต :- ก. วา ในมหาสัททนตี ิ และตามสมนั ตปาสาทกิ า [ ๑/๑๙๒ ] เติม อติ ิ วา สรณนตฺ ิ คจฉฺ ามิ. เมื่อเติม อติ ,ิ สรณ จงึ สรปู ใน อิติ และ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 33 เปน ปฐมาวิภัตติ เหมือนบทสรปู ดงั กลาวมาแลว ในขอวาดว ยสรปู . บาง- อาจารยใหเติมประโยควา พุทฺโธ สรณ โหติ กม็ ี. ข. บางอาจารยใ หเ ห็น วิกติกัมม ใน กตฺวา ที่เติมเขามา หรอื ใน คจฺฉามิ ทเี ดยี ว. [ ๒ ] เหน็ วา : ทา นเตมิ อติ ิ เพราะมงุ แกอรรถวา เปน สมั ภาวนะ ซงึ่ เหมอื นมีอติ ิศัพทแฝงอยู ฉะนนั้ บอกเปน สัมภาวนะจะเหมาะ และ เพราะ สรณ เปนสมั ภาวนะ ในพากยกฺ ัตตุวาจก จงึ เปน ทุตยิ าวภิ ตั ต.ิ กิรยิ าวเิ สสนะ [ ๓ ] เปน บทวเิ สสนะ ทเ่ี ปน เครื่องทาํ กริ ยิ าใหแปลกจากปกติ คือเปนคณุ บทแหง กิริยา เรียกช่ือวา กริ ิยาวิเสสน อ.ุ :- ลหุ นิปฺปชฺชิสสฺ ต.ิ อธบิ าย : [ ๑ ] คุณนามท่ใี ชในอรรถนี้ มีอธบิ ายเชน เดยี วกับ บทนามนามทีใ่ ชในอรรถเปนกิริยาวิเสสนะ ตามทีก่ ลาวแลวในทุตยิ าวิภัตติ ในอธิบายเลม ๑. อุ :- อ.ุ ที่ ๑ ลหุ นิปปฺ ชฺชสิ ฺสติ [วสิ าขา. ๓/๗๔ ] \"จกั สําเรจ็ พลนั .\" ลหนุ ฺตปิ ท นปิ ปฺ ชฺชสิ ฺสตตี ิ ปเท กิริยาวิเสสน. อุ. ตอไปพึงทราบดุจเดียวกนั . อ.ุ ที ๒ ปมมปฺ าห อาจริเย อปรชฌฺ ึ [ ตสิ สฺ ตฺเถร. ๑/๔๐ ] \" กระผม

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 34 ผดิ ในทานอาจารยแ มกอ น.\" อ.ุ ท่ี ๓ ปุรมิ ตร คนฺตวฺ า . [ โลฬุทายิตฺเถร. ๕/๑๑๘ ] \"ไปกอนกวา.\" [ ๒ ] บางบทชวนใหบ อกเปน วิกตกิ ัมม แตท แ่ี ทเปนกริ ิยาวเิ สสนะ มใิ ชว ิกติกมั ม. อุ. ต ทฬฺห คเหตฺวา [ จนุ ทฺ สกู ริก . ๑/๑๒๓ ] ' จบั เขามน่ั .' พึงสังเกตความตางกันดงั นี:้ วิกตกิ มั ม แมเขา กบั กริ ิยาวา ทํา แตก เ็ ปน คุณบทแสดงภาวะของนามนาม คือ บททตุ ิยาวิภัตติทเ่ี ปนกมั ม ในกิรยิ าวาทําน้นั เชนทําเหลก็ ใหเ ปนมดี เปนตน . สว นกิริยาวิเสสนะ เปนคุณบทแสดงกิริยา เชน ทฬหฺ  ใน อ.ุ นั้น แสดงกริ ยิ าทจ่ี ับวามัน่ . ถา ใชผิดจะเสียความ เชน ทฬฺห ถา ใชผ ดิ เปนวิกตกิ ัมม ตองหมายความวา เขาน่ังเองเปนผูมัน่ มใิ ชก ิริยาทจี่ บั มัน่ . สรุปอธบิ าย : กริ ยิ าวิเสสนะ เปนเครื่องทํากริ ิยาใหแปลกจากปกติ, เขา กบั กิริยา.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 35 บทสัพพนาม ๕. บทสัพพนามทใ่ี ชในอรรถพิเศษ คอื :- กริ ยิ าปรามาส บทวา ย ซึ่งเปนวิเสสนะในพากย โดยปกติวางไวหนาพากย ทําพากยน้ันทงั้ พากยใ หม ีความสัมพนั ธ เปน ประธานโดยเปน โยคของ ต ศพั ทใ นอกี พากยห น่ึง เรยี กวา กริ ยิ าปรามสน บาง กริ ิยาปรามโส บา ง กิรยิ าปรามาโส บา ง อุ :- อธิ โข ต ภกิ ขฺ เว โสเภก, ย ตมุ เฺ ห เอว สฺวากฺขาเต ธมมฺ วนิ เย ปพพฺ ชิตา สมานา ขมา ข ภวเยยฺ าถ โสรตา จ. บทวา ยสฺมา ซ่ึงมีลกั ษณะเชนนนั้ ทานเรียกวา กิรยิ า- ปรามสน บทวา ยโต ทานกเ็ รยี กบา ง แตม ีหา ง ๆ. อธบิ าย : [ ๑] ย กริ ยิ าปรามาสน้ีสงั เกตไดงา ย เพราะเรียง ไวหนาพากย และไมเปนวิเสสนะของนามบทใหบทหนึ่ง แตเ ปนวเิ สสนะ ของพากยท ้ังหมด จบั ตงั้ แตต นจนกริ ิยาในพากยทีเดียว จึงเรยี กวา กิริยาปรามาส ดวยอรรถวา ลบู คลาํ หรือจบั ตอ งถงึ กิรยิ า. กริ ิยาปรามาสนี้ คลายกริ ิยาวเิ สสนะ แตต า งกัน: กิรยิ าวเิ สสนะ เปนวิเสสะของเฉพาะ กริ ิยา เชน สขุ  เสติ. สขุ  แตง เฉพาะกิริยาวานอนเปนสุข, สวน กิริยาปรามาส เปนวเิ สสนะของพากยทัง้ พากย ไมเ ฉพาะบทกิรยิ า, แต พากยท ัง้ ปวง ยอมมกี ริ ิยาในพากย จงึ ตงั้ ช่ือยกกริ ยิ า (ในพากย ) เปน ทตี่ งั้ วา กิรยิ าปรามาส และทําพากยนัน้ ท้ังพากยใหมีความสมั พนั ธ เปน

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 36 ประธานโดยเปน โยคของ ต ศพั ท ในอีกพากยหน่ึงในทางไวยากรณ เพราะในภาษาบาลีไมใชพากยเปนประธาร (หรือเปน วิเสสน) ตรง ๆ ใชว าง ย-ต (หรอื วางไวแต ย) เพอื่ ใหเ ล็งความวา เปน อยางนนั้ ฉะนัน้ ในเวลาแปลยกศพั ท ทานจึงสอนใหถอนเอาศัพทในพากยกิริยา- ปรามาส มาประกอบเปน โยคของ ต ศัพท ใหเ ปนประธานในพากย ต ศัพท, หรอื โดยยอก็ใชศ พั ทกลาง ๆทบ่ี ง ไปถงึ ขอความท้ังหมด ในพากย กิริยาปรามาสได เชน ปพฺพ เปนตน ประกอบใหเ ปน บทโยคของ ต ศัพท. อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ อิธ โข ต ภกิ ขฺ เว โสเภถ, ย ตฺมเห เอว สวฺ ากขฺ าเต ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ ภาเวยฺยาถ โสรตา จ. [ โกสมฺพกิ . ๑/๕๔ ] \" ภกิ ษุ ท., ทา นท้ังหลายเปนผูบ วชอยูในธรรม- วิ ินยั ที่กลา วเดียวดแี ลวอยา งน้ี พงึ เปนผูอดทน และเปนผเู สงย่ี มใด, ขอ (ต โยค ปพพฺ  หรอื ตมุ หฺ าก เอว สวฺ ากขฺ าเต ธมมฺ วนิ เย ปพพฺ ชิตาน สมานาน ขมโสรตตฺต. ความที่แหง ทาน ท...) นั้น พงึ งามในธรรม วิ ินยั นี้แล.\" ยนฺติ ปท ภวเยฺยาถาติ ปเท กิริยาปรามาโส. ขอวา ' เปน ประธาน' นน้ั พึงเหน็ ในเวลาแปลตัด ย-ต, ดัง อ.ุ น้ัน แปลตัดวา ' ภิกษุ ท., ขอที่ทา น ท. เปน ผูบวชอย.ู .. และเปนผู เสงยี่ ม พึงงามในธรรมวินัยน้ีแล.' ประธานในประโยค คือ คาํ วา ' ขอท.ี่ ....เสง่ียม' ก็คือประโยค ย กริ ิยาปรามาสนั่นเอง.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 37 อุ. ที่ ๒ าตเมต กรุ งุ ฺคสฺส, ย ตวฺ  เสปณณฺ ิ เสยฺยส.ิ [ เทวทตฺต. ๑/๑๔๒ ] \"ดกู อ นไมห มากมื่น (มะล่ืนหรอื มะกก), ขอท่เี จา กลง้ิ อนั กวาง รูแลว.\" (เจายอมกล้ิงใด ขอ [ หรอื ตว เสยฺยนฺ ] นัน่ อันกวาง รูแลว). อุ. ท่ี ๓ อนจฉฺ รยิ  โข ปเนต ภกิ ขฺ ุ, ย ตว มาทิส อาจาริย ลภติ ฺวา อปฺปจ โฺ ฉ อโหส.ิ [ นิคมวาสีตสิ ฺสตฺเถร. ๒/๑๑๘ ] \"ภิกษ,ุ กข็ อที่ เธอไดอ าจารยผูเชนกบั ดว ยเรา ไดเ ปน ผมู กั นอย ไมอ ัศจรรยเลย.\" [ ๒ ] ในโยชนา เรยี กบทวา ยสมฺ า ในพากย เปน กิรยิ าปรามาส เปนพ้ืน อุ. :- อ.ุ ที่ ๑ .... ยสมฺ า ปุเร อฏ กถา อกส.ุ [ ส. ปา. ๑/๓ ] พระอรรถกถาจารยช าวสหี ล ท.... ไดทําอฏั ฐกถา ท. ในกอ น เหตใุ ด.' โยชนา [ ๑/๑๖ ] วา ยสฺมาติ ปท อกส ูติ ปเท กิริยปรามสน. อ.ุ ท่ี ๒ ยสมฺ า วิภาควนฺตาน ธมฺมาน สภาวภิ าวน วภิ าเคน วนิ า

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 38 น โหต.ิ [ อภิ. วิ. ปมปริจฺเฉท น. ๖๘ ] \"การยงั สภาวะแหง ธรรม ท. ทมี่ วี ภิ าค ใหแ จม แจง เวน วภิ าค ยอมไมมีได เหตใุ ด.\" โยชนา [ ๑/๒๐๓ ] วา ยสมฺ าติ (ปท) น โหตีติ ปเท กริ ิยาปรามสนเหตุ. ขอ สังเกต: ยสมฺ า ทเี่ ปน กริ ิยาปรามาส ทา นสองใหแปลวา ' เหตใุ ด.' สวน ตสฺมา ในประโยค ตสมฺ า คงบอกเปน เหตุ. ทท่ี า น เรียกเปนกิรยิ าปรามาส คงหมายใหค ลุมท้งั พากยอ ยาง ย. ขอวา ' ยสมฺ า ในพากย' น้นั คอื ยสมฺ า ทที่ านเรียกวา กิริยาปรามาส ตอ งอยูในประโยคที่เปน พากย [ มกี ิรยิ าในพากย] ดัง อุ. ท่ีแสดงมาแลว, ถา อยูในพากยางค ที่เปนประโยคลงิ คัตถะ ทานไมเ รยี ก อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ .... ยสฺมา ปมาณ อิธ ปณฺฑิตาน. [ ส. ปา. ๑/๓] \"คาํ น้ัน ....เปน ประมาณแกบ ณั ฑติ ท...ในศาสนานี้ เพราะ เหตุใด.\" โยชนา [ ๑/๑๙ ] วา ยสฺมาติ ปท ปมาณนตฺ ิ ปเท เหต.ุ (ปมาณนฺติ ปท วจนนตฺ ิ ปทสส วิเสสน) อธิ าติ ปท ปณฺฑิตานนตฺ ิ. ปเท อาธาโร. ปณฺฑิตานนตฺ ิ ปท ปมาณนตฺ ิ ปเท สมปฺ ทาน วจนนตฺ ิ ปท ลิงฺคตโฺ ถ.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 39 อ.ุ ที่ ๒ ยสฺมา ปเนเต จตุภูมิกา ธมมฺ า อนปุ พุ พฺ ปณีตา. [ อภิ. ว.ิ ปมาปริจฺเฉท. น. ๖๘ ] \"แตธรรมอันเปน ไปในภูมิ ๔ เหลา นี้ ประณตี โดยลําดับเพราะเหตุใด.\" โยชนา [ ๑/๒๐๗ ] วา ยสมฺ าติ (ปท) อนปุ ุพพฺ ปณตี าติ ปเท เหตุ. (ปนสทฺโท วิเสสตฺโถ). เอเต จตุภมู ิกา อนปุ พพฺ ปณีตาติ ปทตฺตย ธมมฺ าติ ปทสฺส วเิ สสน. ธมมฺ าติ (ปท) ลิงคฺ ตโถ. ตอไปนี้ จะแสดงตวั อยาง ในธมั มปทัฏฐกถาเทยี บ :- กิรยิ าปรามาส อุ. ที่ ๑ ยสมฺ า ชราพฺยาธิมรณมสิ ฺสตาย ชาติ นาเมสา ปุนปฺปุน อปุ คนตฺ ุ ทกุ ฺขา, น จ สา ตสมฺ า อทิฏเ นวิ ตฺตติ; ตสฺมา ต คเวสนโฺ ต สนธฺ าวิสสฺ . [ ปมโพธ.ิ ๕/๑๒๑ ] \" ช่ือวา ชาตินั่น คือ ความเขา ถึง (บงั เกดิ ) บอย ๆ เปนทุกข เพราะเจือดวยชรา พยาธิ มรณะ, และชาตนิ น้ั เมอื่ คหการะน้ันอันเราไมเหน็ แลว ยอ มไมกลับ เหตใุ ด ; เพราะเหตนุ ั้น เราเมอ่ื แสวงหา คหการะ นนั้ ทองเท่ียว ไปแลว.\" อุ. ที่ ๓ ยสมฺ า นาพฺพณ วิสมนเฺ วติ (ตสมฺ า หเรยฺย ปาณนิ า วสิ ) . [กุกกฺ ฏุ มติ ตฺ . ๕/๒๗] \"ยาพษิ ไมซึมซาบฝา มอื ทีไ่ มมีแผล เหตใุ ด. (เพราะเหตนุ ้ัน บุคคลพงึ นํายาพษิ ดวยมือได) .\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 40 เหตุ ยสมฺ า สพพฺ สตฺตาน ชีวิต มรณปริโยสานเมว. (ตสฺมา ภิชฺชติ ปตู สิ นฺเทโห). [ อตุ ตฺ รตฺเถร.ี ๕/๑๐๕ ] \"ชีวติ ของสัตวท ั้งปวง มีความตายเปนท่ีสดุ อยา งเดียว เพราะเหตใุ ด (เพราะเหตุน้ัน กายอันเนา จะแตก).\" [ ๓ ] ยโต ในพากยท านเรยี กเปนกิรยิ าปรามาส แตม หี า ง ๆ อุ.:- วิ ฺ ูน [ ส. ปา. ๑/๒๓๐ ] \" คําไร ๆ ท่ไี มนําความเลือ่ มใส...ไม ปรากฏแกว ญิ ชู น ท. ผูตรวจดอู ยใู นวินยฏั ฐกถา ช่ือสมันปาสาทิกา นี้.\" โยชนา [ ๑/๒๐๗] วา ยโตติ ปท น ทิสฺสตีติ ปเท กิรยิ า- ปรามสน. สรูปอธบิ าย : กริ ยิ าปรามสนะ หรือกริ ิยาปรามสะ หรอื กริ ยิ า ปรามาส เปนวเิ สสนะในพากย จับต้ังแตตน จนจดกริ ยิ าในพากย. บอกเขาในกิรยิ าพากย. กริ ยิ าปรามาสน้ีไดเ ฉพาะบท ย หนา พากย. ในโยชนา เรยี กบท ยสฺมา ในพากยเปนกิรยิ าปรามาส, เรียกบท ยโต ในพากยด วย แตม หี าง ๆ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 41 บทกริ ิยา ๖. บทกริ ยิ าใชใ นอรรถพิเศษบาง บทกิรยิ าพิเศษบา ง คือ :- กิริยาปธานนยั [ ๑ ] บทกิรยิ า ตวฺ า ปจจัย ทีว่ างไวใ นทีส่ ุดขอความเรยี ก ชอื่ วา กิรยิ าปธานนโย. กิริยาปธานนยั น้ี ทา นวางไวในทส่ี ุด ข อความทอนหนาบาง ทานหลงั บาง ในขอ ความหลายทอน ที่กลา ว รวมแลว แยก หรือแยกแลว รวม, แตในทอ นที่สดุ กม็ ีกิรยิ าใน พากยเ สมอ อุ. อิเมส สตฺตาน ชาติอาทโย นาม ทณฺฑหตถฺ - โคปาลกสทิสา, ชาติ ชราย สนตฺ นิ  เปเสตวฺ า, ชรา พยฺ าธิโน สนตฺ ิก, พฺยาธิ มรณสฺส สนตฺ ิก, มรณ กุธาริยา ฉนิ ฺทนฺตา วิย ชีวิต ฉนิ ฺทติ. อธบิ าย : [ ๑ ] ชอ่ื วา กริ ิยาปธานนยั นี้ ใชเรยี กบทกิรยิ า ตฺวา ปจ จยั ที่วางไวใ นทีส่ ดุ ขอ ความ, จะกลา ววาบทกิริยาตูนาทิปจ จยั เชน น้ันกไ็ ด แตพบแตกิรยิ า ตฺวา ปจจัย เปน พน้ื . ประโยคท่ีวาง บทกริ ิยา ตฺวา ปจ จัยไวเปนทส่ี ดุ น้ี จะเรียกวาพากยกไ็ มถนดั เพราะ ขดั ดว ยกริ ยิ าในท่สี ดุ เปนกิรยิ า ตฺวา ปจ จัยซง่ึ เปนชัน้ กริ ยิ าในพากยางค, จะจัดเขาในกิริยาพากยางคล งิ คัตถะก็ไมถ นัด เพราะในพากยางค ลิงคตั ถะแมจะมีบทกิรยิ าในทส่ี ุด ก็เปน บทกิรยิ าที่ใชเ ปน วิเสสนะของ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 42 บทประธานได (กิรยิ าอนตฺ มาน ปจจัย), และเรียกบทประธานวา ลงิ คัตถะ. แตใ นทีน่ ีก้ ิรยิ า ตฺวา ปจจัย ท่วี างไวใ นทส่ี ุด ไมเ ปน วิเสสนะของบทประธาน เพราะโดยรูปกเ็ ปนรูปของพากยน ั่นเอง แต แทนท่จี ะวางกิรยิ าในพากยไ วใ นทีส่ ุด กลับวางกริ ิยา ตฺวา ปจจัยไว, นาจะเปนเพราะเหตนุ ้ี จึงตอ งตัง้ ช่อื บทกริ ิยานนั้ ใหมวา กิริยาปธานนยั คือจัดเปน กริ ิยาทเี่ ปนประธาน คือกริ ยิ าใหญ, สวนบทประธานซ่งึ เปนกัตตา เรียกชื่อเหมอื นกตั ตาในกิริยาในพากย และนาจดั เปน ช้ัน พากยางค ชนิดท่เี ปนตอนหนง่ึ จากพากย (ไมใชต อนหนง่ึ ๆ ของ พากย) เพราะตั้งเปน ประโยคของตนตา งหาก เชนเดยี วกบั พากยางค ลงิ คตั ถะ. [ ๒ ] เพราะเหตุไร ทา นจงึ วางกิรยิ า ตฺวา ปจจยั ไวใ นทส่ี ุด ขอ ความ, ปญหานี้ตอนไดจ ากการสงั เกตตัวอยา งท่ีทานใช, กลาวโดยยอ วา ทานใชในขอ ความท่ีกลา วรวม ๆ แยก ๆ ซ่ึงจะตอ งแบงประโยค ออกเปนหลายทอน นาเปน เพราะเหตุนี้ จงึ วางกิริยา ตวฺ า ปจจยั ไว ในท่สี ดุ ขอ ความของทอนท่กี ลา วรวม หรอื กลาวแยก, ซ่ึงในทอนท่ีสดุ ก็คงใชกิรยิ าในพากยนั่นเอง. ทอนทวี่ างกริ ยิ า ตฺวา ปจจัยไวใ นทส่ี ุดน้นั จงึ เปนเหมอื นอนุประโยค. [ ๓ ] ในขอ ความท่ีกลา วรวม ๆ แยก ๆ นน้ั วางกริ ิยา ตวฺ า ปจ จัย ไว ในตอนไหน สงั เกตไดจากทท่ี า นใชดงั ตอ ไปนี้ :- ก. รวม - แยก: ในขอ ความหลายทอ น ทอ นตน กลาวรวม ทอ นหลังกลา วแยก, วางกริ ยิ า ตวฺ า ปจจยั ไวใ นที่สุดของทอ นที่กลาว

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 43 แยก อ.ุ :- อิเมส สตฺตาน ชาติอาทโย นาม ทณฺฑหตถฺ โตปาลกสทิสา, ชาติ ชราย สนตฺ กิ  เปเสตฺวา, ชรา พยฺ าธโิ น สนตฺ กิ  (เปเสตฺวา), พยฺ าธิ มรณสฺส สนตฺ กิ  (เปเสตวฺ า) ๕/๕๖] \"ข้ึนชื่อวาสาภาวธรรม ท. มีชาตเิ ปนตนของสัตวเ หลานี้ เชน กับคนเลย้ี งโคมีมอื ถือทอนไม, ชาติ สงไปสูสาํ นักของชรา, ชราสงไปสสู ํานกั ของพยาธิ, พยาธิสงไปสู สํานักของมรณะ, มรณะตัดชีวติ เหมือนพวกมนษุ ยตัด (ตน ไม) ดว ย ขวาน.\" ข. รวม-แยก : ขอ ความหลายทอนเหมือนขอ ก. แตว าง กิริยา ตฺวา ปจ จยั ไวใ นทอนรวม (วางกลบั กนั กับขอ ก. ) อุ. :- อ.ุ ท่ี ๑ เตน กถิต ธมมฺ  สตุ ฺวา การกปุคคฺ ลา ยถานสุ ิฏ ปฏปิ ชชฺ ิตวฺ า, เกจิ ปมฌานาทีนิ ปาปุณนตฺ ิ, เกจิ วปิ สฺสน วฑฺเฒตวฺ า มคฺคผลานิ ปาปณุ นฺต.ฺ [เทวฺ สหายกภิกฺขุ.๑ /๕๔] \"การกบุคคลผฟู งธรรมทภ่ี ิกษุ นัน้ กลาวแลว ปฏิบัตติ ามทีส่ อน, บางพวกบรรลปุ ฐมฌานเปนตน, บางพวกเจริญวปิ สสนาบรรลมุ รรคผล.\" อ.ุ ท่ี ๒ เต เอกมคเฺ คนาป อคนฺตวฺ า. เอโก ปจฺฉิมทฺวาเรน มคฺค คณฺหิ, เอโก ปุรตฺถมิ ทฺวาเรน (คณฺหิ). [ สกู รเปต. ๗/๗๐ ]

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 44 \"พระเถระเหลา น้ัน ไมไปทางมรรคาเดียวกัน, รูปหน่งึ ถอื มรรคทาง ประตทู ศิ ตะวนั ตก. รปู หนึง่ ถือมรรคาทางประตทู ิศตะวันออก.\" อุ. ท่ี ๓ เอว ขาทนตฺ า ปจฺ สุ อตตฺ ภาวสเตสุ อฺ มฺสฺส ทุกขฺ  อุปฺปาเทตฺวา, อวสาเน เอกา ยกขฺ นิ ี หตุ วฺ า นพิ ฺพตฺติ. เอกา สาวตฺถยิ  กลุ ธีตา หุตวฺ า นพิ พฺ ตฺติ. [ กุกกฺ ุฏณฺฑขาทกิ า. ๗/๑๐๑] \"หญิงทัง้ สองนน้ั เคี้ยวกนิ ยังทุกขใ หเ กดิ แกกันและกนั ในอตั ภาพ ๕๐๐ อยางนน้ั , ในท่ีสุดหญงิ ผหู นึง่ เกิดเปนยักษณิ ี, หญงิ ผหู น่ึงเกิดเปน กลุ ธิดา ในกรุงสาวัตถี.\" ใน อุ. น้ี อติ ฺถิโย เหตุกตั ตา ใน อปุ ฺปาเทตฺวา เพราะเปน เหตุกตั ตุวาจก. ค. แยก - รวม : ในขอ ความหลายทอน: ทอ นตนกลา วแยก ทอนหลงั กลาวรวม กลบั กนั กับขอ ก. - ข. , วางกิรยิ า ตวฺ า ปจจัยไว ในทอนแยก อุ :- เอว สตถฺ ารา เทสติ าสุ อิมาสุ คาถาสุ เอกเมกสิ ฺสา คาถาย ปริโยสาเน เอกเมก ภกิ ขฺ สุ ต นสิ นิ ฺนนสิ นิ ฺนฏ าเนเยว สห ปฏ-ิ สมฺภิทาหิ อรหตฺต ปตวฺ า เวหาส อพภฺ ุคคฺ นตฺ วา, สพฺเพป เต ภกิ ฺขู อากาเสเนว วีสสโยชนาสติก กนตฺ าร อตกิ ฺกมิตวฺ า คถาคนสสฺ สวุ ณฺณวณณฺ  สรรี  วณเฺ ณนฺตา ปาเท วนฺทสึ ุ. [ สมพฺ หุลภิกขฺ .ุ ๘/๗๘ ] \" เมอ่ื พระศาสดาทรงแสดงคาถาเหลานี้ อยางนน้ั ในท่ีสุดคาถา หนง่ึ ๆ ภิกษุ ๑๐๐ รูป ๆ บรรลุพระอรหัต พรอ มกนั ปฏสิ มั ภทิ า

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 45 ในท่ีทน่ี ัน่ ๆ นัน่ แหละ เหาะขน้ึ สูเวหาส, ภิกษุเหลา นนั้ แมทง้ั หมด ลว งกนั ดาร ๑๒๐ โยชน ทางอากาศทเี ดียว ชมเชยพระสรรี ะ มี วรรณะเพียงดงั วรรณะแหง ทอง ของพระตถาคต ถวายบงั คมพระบาท แลว.\" รวมความวา ในขอ ความหลายท่ีกลา วรวมแลว แยก หรอื แยกแลว รวมบาง ในทอ นทก่ี ลา วแยกบาง, แตใ นทอนท่สี ุดก็วาง กิริยาในพากยไวเสมอ. [ ๔ ] พงึ สงั เกตรุ ปู ประโยคแปลก ๆ ตาม อุ. ตอ ไปน้ี :- รปู ที่ ๑ เตป เทวโลกโต จวิตวฺ า, พนฺธุมติย เอกสมฺ ึ กุลเคเห เชฏโ  เชฏโ  ว หตุ ฺวา, กนฏิ โ  ว หุตวฺ า ปฏิสนธฺ ึ คณหฺ สึ ุ. [ โชติกตฺเถร. ๘/๑๖๔ ] \" กุฎม พีพี่นอ งแมเหลานั้น เคลื่อนจากเทวโลก แลว, คนพีถ่ อื ปฏสิ นธเิ ปนพีเ่ ท่ยี ว, คนนอ งถอื ปฏิสนธเิ ปนนองเทยี ว ในเรือนสกุลหนึง่ ในพนั ธุมดีนคร.\" อ.ุ นี้ นา เห็นวายอ มมาจาก เตป เทวโลกโต จวิตฺวา,...เชฏโ เชฏโ  ว หตุ วฺ า ปฏสิ นธฺ ึ คณหฺ ,ิ กนฏิ โ  กนิฏโ  ว หุตวฺ า ปฏิสนธฺ ึ คณหฺ .ิ เพ่ือมิใหตองเรียง ปฏสิ นฺธึ คณฺหิ ๒ ครง้ั จงึ ใช คณฺหึสุ ทีเดยี ว. เม่อื ดูรปู เต็มดังน้แี ลว กจ็ ะเห็นชดั วา จวิตฺวา เปนกิรยิ าปธานนัย จดั เขาในประเภทรวม-แยก (ขอ ข.) ทกี่ ลา ว มาแลว . และ เชฏโ  (บทตน) และ กนฏิ โ (บทตน) เปน

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 46 กัตตา ใน คณหฺ สึ ุ เหมือนอยางกัตตาเอกพจนต ั้งแต ๒ บทขึ้นไป ใช กิริยารว มกันเปนพหพู จน. รปู ท่ี ๒ เต...เถร ขมาเปตวฺ า, โจรเชฏเกน 'อห อยฺยสสฺ สนตฺ เิ ก ปพพฺ ชิสฺสามตี ิ วตุ เฺ ต, เสสา ' มยป ปพฺพชสิ สฺ ามาติ วตฺวา, สพเฺ พว เอกจฺฉนฺทา หุตฺวา เถร ปพพฺ ชชฺ  ยาจึส.ุ [ขานุโกฑฺ ฺตฺเถร. ๔/๑๓๕ ] \" โจรเหลานั้น ยังพระเถระใหอ ดโทษแลว เมือ่ โจรผูหัวหนา กลา ววา ' ขา จักบวชในสาํ นกั ของพระผูเ ปนเจา , โจรทเี่ หลือกลา ววา ' แมข าเจา ท. กจ็ ักบวช,' โจรทัง้ หมดเทยี ว เปน ผูม ีฉันทะอนั เดียวกนั ขอบวชกะพระเถระ.\" เสสา มยป ปพพฺ ชสิ สิ ามาติ วตฺวา เหมอื นเปนประโยคแทรก. เรยี กสัมพนั ธวา (เสสา) โจรา สยกัตตา ใน วตฺวา วตฺวา กริ ยิ า- ปธานนัย. สว น ขมาเปตฺวา ปุพพกาลกริ ิยาใน ยาจสึ .ุ ประโยคกริ ิยาปธานนัยนี้ มีความกลาวแยกแทรกเขา มาในระหวา ง ประโยคที่กลา วรวม. รูปท่ี ๓ ก. คามวาสโิ ก ตสสฺ า วจเน ตฺวา เอเกโก เอเกก กตฺวา สทธฺ ึ รตตฺ ฏิ  านทิวาฏ าเนหิ ปณฺณสาลาสหุสสฺ  กาเรตวฺ า....อปุ ฏหึสุ. [ มหากปฺปน. ๔/๑๐] \" ชาวบา น ท. ตั้งอยูใ นคาํ ของนาง . คนหนึ่ง ๆ ทาํ แหง หน่ึง ๆ , (รวมเปน ) ใหท าํ บรรณศาลาพนั หนงึ่ พรอมกบั ท่พี ัก กลางคอื และทพี่ กั กลางวนั บาํ รุง....\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 47 อ.ุ นี้ เอเกโก เอเกก กตฺวา คลา ยแทรกเขามาดัง อุ. รปู ที่ ๒ แตต างกนั เพราะ เอเกโก กลา วถงึ 'แตละคน' ของคนทั้งหมด ไมเ หมอื น เสสา (โจรา) และเหตฉุ ะนี้ กตวฺ า จึงเปน กริ ยิ าของทกุ คน, ไมเ หมอื น วตวฺ า ที่เปน กิริยาของ เสสา (โจรา) เทานั้น ไมร วมทั้ง หวั หนาโจรดวย. บอก เอเกโก เปน วิกติกัตตา ใน หตุ วฺ า. บอก กตวฺ า เปนสมานกาลกริ ิยา ใน กาเรตวฺ า. รูปที่ ๓ ข. ทารกา ' มย อิทานิ คเหตุ น สกฺขสิ สฺ าม, เสฺว อาคนฺตวฺ า คณฺหิสฺสามาติ เอเกโก เอเกก สาขาภงคฺ มุฏ ิมาทาย สตฺตป ชนา สตตฺ ฉิทฺทานิ ปทหติ วฺ า ปกฺกมสึ ุ. [ ตโยชน. ๕/๔๐ ] \"เด็กชาย ท. คดิ วา ' เราจักไมอาจเพ่ือจะจับในบดั นี้, พรุงนี้ เราจกั มาจบั ,' คน หนงึ่ ๆ เอาก่งิ ไมห ัก (เตม็ ) กํามอื , ท้งั ๗ คน ปด ชอ งทั้ง ๗ หลีกไป.\" เอเกโก วกิ ติกัตตา ใน หตุ ฺวา...อาทาย ปุพพกาลกริ ยิ า ใน ปท หติ ฺวา...(ชนา วิกติกตั ตา ใน หุตวฺ า (เติม) สตตฺ วเิ สสนะ ของ ชนา). [ ๕ ] ในทสี่ ุดขอความทไี่ มตอ งดว ยลกั ษณะดังกลา วแลว วางกริ ิยา ตวฺ า ปจจยั ไวกม็ ี อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ เอก กริ พุทธฺ นฺตร อวีจนิ ิรเย ปจิตเฺ ว ตโต จุตา สฏ-ิ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 48 โยชนกิ าย โลหกมุ ฺภยิ า นิพพฺ ตฺตติ วฺ า อฏ สฏ วิ สฺสสหสสฺ านิ ปจิตฺวา, เอวป เตส ทกุ ขฺ า มจุ ฺจนกาโล น ปฺ ายติ, อหมปฺ ...นิททฺ  น ลภ.ึ [ อฺ ตรปรุ ิส. ๓/๑๑๔ ] \" ไดยินวา เปรตเหลา น้ันไหมใ น อวจี ินริ ยะส้ินพุทธันดร ๑ เคล่ือนจากอวจี ินิรยะนนั้ แลว บังเกิดใน โลหกมุ ภี ประกอบดว ย ๖๐ โยชน หมกไหมสน้ิ ๖๗,๐๐๐ ป; แม อยา งนน้ั กาลเปน ทพ่ี น จากทุกขของเปรตเหลา น้ัน ยังไมปรากฏ, แมเรา...ไมไดความหลับ. [ ในฉบับสหี ลและยโุ รป เปน ปจจฺ ิตฺวา, ดูก็เขา ที เพราะ ใชในฐานเปนกิรยิ าของคนทถ่ี ูกเผา เหมอื นอยาง ปจจฺ ติ คอื ลง ย ปจ จัย ]. อ.ุ ที่ ๒ ราชา ' กนิ นฺ ุ โข เอตนฺติ จินฺเตตฺวา 'ภนเฺ ต อโิ ต ตาว นกิ ขฺ มถาติ วตฺวา, เถเร ตโต นิกฺขมติ ฺวา ปมุเข เิ ต, ปนุ สา เถรสฺส ปฏ ิปสฺสเส อฏ าสิ. [โกณฑฺ ธานตเฺ ถร. ๕/๕๒] \"พระราชา ทรงคิดวา ' ขอ น้ีอยางไรหนอแล' ตรสั วา ' ขา แตทานผเู จรญิ ขอ ทา นจงออกจากท่ีน้ีกอ น,' เมอ่ื พระเถระออกจาวหิ ารน้ันยืนทหี่ นา มขุ , หญงิ นั้นไดยนื ท่ขี างหลงั ของพระเถระอกี .\" ปจิตฺวา ใน อ.ุ ท่ี ๑ และวตวฺ า ใน อุ. ที่ ๒ นา ประกอบเปน กิรยิ าในพากย วตฺวา ใน อ.ุ ท่ี ๒ ฉบบั ยโุ รปเปน อาห. [ ๖ ] กริ ยิ าปธานนัยนี้ บางทา นเห็นวาทา นเรียงไวดวยความ เผลอ, แตเ มื่อพิจารณาดู ก็จักเหน็ ไดว าหาใชด วยเผลอไม ทา นเรียง

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 49 ดว ยมหี ลักเกณฑ ดังท่ีกลา วแลวจากสังเกต เวนไดแตใ นที่บางแหง ดังท่ียกมาเปนตัวอยา งในขอ [ ๕ ]. อนึ่ง ใจขอ ความท่กี ลา วรวม ๆ แยก ๆ อนั ควรวางกิรยิ า ตวฺ า ปจจยั ในท่ีสุด ทา นวางกริ ยิ าอ่ืนกม็ ี อุ :- ตา เคเห ฌายนเฺ ต เวทนาปริคฺคหกมฺมฏาน มนสิกโรนตฺ โิ ย, กาจิ ทตุ ยิ ผล, กาจิ ตติยผล ปาปณุ ึส.ุ [สามาวต.ี ๒/๑๐ ] \" หญงิ เหลา น้ัน, เมอ่ื เรอื นอันไฟไหมอยู, กระทาํ ไวใ นใจ ซึง่ กมั มฏั ฐาน กาํ หนดเวทนาเปนอารมณ; หญงิ บางพวกบรรลุผลที่ ๒; บางพวกบรรลุ ผลท่ี ๓.\" มนสิกโรนตฺ โิ ย นาเรยี กเปน กิริยาปธานนยั แตเ มอ่ื ไมกลาเรยี ก กต็ องเรยี กเปนวเิ สสนะ. (จะเรยี กเปน อพั ภนั ตรกิริยาก็ขดั เพราะไมเ ปน กริ ิยาภายใน คอื ในระหวา ง ๆ แตเปน กิริยาในท่สี ุด.) ถาจะใหเ ปน กิริยาปธานนยั ก็ตองเติม หตุ ฺวา ให กโรนฺติโย เปน วิกติกตตฺ า ใน หตุ ฺวา ๆ เปน กิริยาปธานนยั . (บทกริ ยิ า อนตฺ มาน ปจ จัยเปน วกิ ติกตฺตา ได). แตดไู มนา เตมิ ทานวางไวพอดแี ลว. สรูปอธบิ าย: กิรยิ าปธานนัย คอื กริ ยิ า ตฺวา ปจ จัยทีว่ างไวในที่ สุดขอความ ที่กลาวรวมบา ง แยกบา ง บรรดาขอความหลายทอนท่กี ลาว รวม ๆ แยก ๆ และวางไวในทอนตน บา ง ทอ นหลังบาง ไมแ น, แต ในทอนที่สุด กม็ ีกริ ิยาในพากยเ สมอ, บทกตั ตา เรยี กวา กตั ตา หรอื สยกัตตาบาง เหตุกตั ตาบาง ตามควรแกบ ทกิรยิ า.