Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Published by ton love, 2022-06-27 03:05:18

Description: เล่ม 2 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Keywords: อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 150 น พหลุ ีกโรนฺติ, [ องฺ. เอก. ๒๐/๑๒] \"ภกิ ษุ ท., ถา ภกิ ษุ ยอม เจรญิ จิตมเี มตตา แมช ว่ั ลดั นิ้วมือ, ภกิ ษุ ท., ภกิ ษุนีเ้ รียกวา เปน ผูไ มเ หินหางจากฌาน ทําศาสนา ทาํ โอวาท ของพระศาสดาอยู ยอม บริโภคกอนขาวของชาวแควน ไมเ ปลา, กจ็ ะกลา วไปทําอะไรถึงภิกษุ ท. ท่ที าํ จิตนัน้ ใหมาก.\" ประโยคท่ี ๒ อเิ มสมปฺ  จนฺทิมสรุ ยิ าน เอว มหิทธฺ กิ าน เอว มหานุภาวาน เตชสา เตช ปริยาทิเยยยฺ าถ, โก ปน วาโท อฺ ติตถฺ ยิ าน ปรพิ ฺพชกาน. [ อง.ฺ ทสก. ๒๔/๑๓๙] \"ทาน ท. พงึ ครอบงําเดช แหงดวงจันทรและดวงอาทติ ย ผมู ฤี ทธิ์มากอยางนี้ มีอานภุ าพมากอยา งน้ี แมเ หลา นด้ี ว ยเดช, จะกลาวไปทาํ อะไรถึงพวกปรพิ าชกอญั ญเดยี รถีย. \" ประโยคที่ ๓ จิตฺตุปปฺ าทมฺป โข อห จนุ ฺท กุสเลสุ ธมเฺ มสุ พหกุ าร วทาม,ิ โก ปน วาโท กาเยน วาจาย อนวุ ริ ยิ นาสุ. [ สลเฺ ลขสุตฺต. ๑๒/๗๘ ] \"จนุ ทะ, เรากลาว แมค วามเกดิ แหง จิตในกศุ ลธรรม ท. แล วา มอี ปุ การะมาก, จะกลา วไปทําอะไรในการทําเนอื ง ๆ ทางกาย ทางวาจก.\" ผูก อ.ุ ที่ ๑ แบบประโยคท่ี ๑ ตาต มหลลฺ กสฺส หิ อตฺตโน หตถฺ ปาทาป อนสฺสวา โหนฺติ น วเส วตฺตนฺต,ิ โก ปน วาโท เย าตกา. (เย าตกา เปน

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 151 ประโยค ย สวนหนึง่ , าตกา เปน ลิงคตั ถะ หรอื สยกตั ตา ใน โหนตฺ ิ กไ็ ด, ตองเติม ต ศัพทรับที่ประโยค โก ปน วาโท, ประกอบ เปน เตส [ าตกาน] หรออื เตสุ [ าตเกสุ] กไ็ ด.) ผูก อ.ุ ท่ี ๑ แบบประโยคที่ ๒ ตาต...วตฺตนตฺ ิ, โก ปน วาโท าตกาน. . ผกู อ.ุ ที่ ๑ แบบประโยค ที่ ๓ ตาต...วตตฺ นฺติ, โก ปน วาโท าตเกส.ุ สรูปอธบิ าย: กิมงคฺ  เปนกริ ยิ าวเิ สสนะหรือเหตุ. ถา แปลขึน้ กอนวา ' กลา วไปทาํ อะไร ' บางทานเรยี กเปน ลิงคัตถะ. ปเคว (๓) ปเคว ลงตน ความทอ นหลงั ทส่ี นับสนนุ ความทอนตน แต แสดงความแรงกวา เรียกช่อื วา กิรยิ าวเิ สสน, ศพั ทน ้อี รรถกถาแก อรรถวา ปมฺเว (กอ นนน่ั เทยี ว หมายความวายงิ่ กวา) โดย ชุกชมุ , วา อตวิ ยิ (เกินเปรยี บ) บา ง. อุ.โส เจ อธมมฺ  จรติ ปเคว อิตรา ปชา. ความทอ นตน แสดงวา ถา พระราชาประพฤติ อธรรม, ความทอ นหลังสงความใหแรงยงิ่ ข้นึ วา ประชาชนนอกน้ีก็ ยอ มประพฤตินักเทียว. อธบิ าย: [ ๑ ] ปเคว เปนกริ ิยาวิเสสนะ ลงในความทอนหลัง เพื่ออรรถดงั แสดงแลว. อุ. :-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 152 อุ. ที่ ๑ โส เจ อธมมฺ  จรติ ปเคว อิตรา ปชา. [ อมุ ฺมาทนตฺ ชี าตก. ๒๘/๒๐] \"ถา พระราชาทรงประพฤตอิ ธรรม ประชาชนนอกนี้ ยอ มประพฤติ แนแท. \" (พระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระสมมตอมรพนั ธุ ทรงแปล เรยี บเรยี งวา \"เมอื่ พระราชามไิ ดประพฤตสิ จุ ริตธรรม ประชาชนอนั เศษ กม็ ิไดประพฤตสิ จุ ริตธรรมเหมอื นกนั ๑\"). ปเควสทฺโท จรตีติ ปทสฺส กริ ิยาวิเสสน. ชาตกัฏฐกถา [ ๘/๕๑] วา ปเควาติ ตสมฺ ึ อธมมฺ  จรนฺเต อติ รา ปชา ปเคว จรติ อติวยิ กโรตตี .ิ อตโฺ ถ. อ.ุ ท่ี ๒ จตูสุ ปน ทีเปสุ จกกฺ วตตฺ ิสริ ึ ทาตุ สมตฺถา มาตาปตโร นาม ปุตตฺ าน นฺตถ,ิ ปเคว ทิพฺพสมฺปตฺตึ วา ปมาชฺฌานาทิสมฺปตฺตึ วา. [ โสเรยยฺ ตเฺ ถร. ๒/๑๖๔] \"กช็ ่ือวา มารดาบิดาผูสามารถเพื่อให จกั รพรรดิสริ ิในทวปี ท้งั ๔ แกบ ุตร ท. ยอ มไมม ,ี มารดาบดิ าผสู ามารถ จะใหท พิ พสมบตั หิ รอื สมบตั มิ ีปฐมฌานเปนตน ยอ มไมม กี อนแท. \" ปเควสทโฺ ท นตถฺ ีติ ปทสฺส กริ ยิ าวเิ สสน. อ.ุ ท่ี ๓ โก นุ โข โภ โคตม เหตุ โก ปจจฺ โย; เยเนกทา ทีฆรตฺต สชฺฌายกตาป มนตฺ า นปฺปฏภนฺติ, ปเคว อสชฺายกตา. [ อง.ฺ ๑. จากหนังสอื นิบาตชาดก เลม ๑๖ พิมพเ มื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ หนา ๑๙๕.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 153 ปจฺ ก. ๒๒/๒๕๗ ] \" ขาแตพ ระโคตมผเู จรญิ , เหตอุ ะไรหนอแล ปจ จยั อะไร ที่เปน เหตไุ มแจม แจงแหง มนต ท. แมท ท่ี าํ สาธยายไวต ลอด กาลนาน, มนต. ท. ทไ่ี มไ ดท ําสาธยายไว ย่งิ ไมแจมแจงกอนเท่ียว.\" อรรถกถา [ มโน. ป.ู ๓/๘๐ ] วา ปเควาติ ปมเฺ ว. อ.ุ ที่ ๔ ยโตห ภนฺเต ชาโต นาภิชานามิ สปุ น นเฺ ตนป เมถุน ธมฺม ปฏิเสวิตา. ปเคว ชาคโร. [มหาวภิ งฺค ๑/๓๗๕ ] \"ขา แตพระองค ผเู จริญ, ต้งั แตขา พระองคเกิดแลว ไมร ูจ ักเสพเมถนุ ธรรมแมด ว ย ความฝน , ต่ืนอยู กย็ ่ิงไมร ูจกั กอ นทีเดียว.\" ปเคว ชาคโร อรรถกถา [สมนฺต. ๑/๘๕ ] แกว า ชาครนฺโต ปน ปมเ ยว น ชานามิ. [ ๒ ] รปู ประโยคความทอน ปเคว คลอ ยตามความทอ นตน ไมกลับกนั เหมอื น กิมงฺค พงึ สงั เกตจาก อ.ุ ที่แสดงแลว . แต ปเคว นี้ ทานแปลวา \"ปวยกลาวดงั หรอื \" อยากมิ งคฺ  ท่ีแปลอยางนัน้ ก็มี ดังเชน จะแปลวา อุ. ท่ี ๒ วา \"จะกลาวไปทําอะไร ถึง (จกั มมี ารดาบิดาผู สามารถจะให) ทิพพสมบัติ หรอื สมบตั ิมีปฐมฌานเปน ตน .\" ถา แปล อยางนั้น ก็ตอ งกลบั รูปประโยค ทั้งต้ังประกอบกริ ยิ าอยางประโยค กมิ งคฺ . [ ๓ ] ยงั มีอีกศัพทห น่งึ ทคี่ ลายกัน คอื ปเค แตแปลวา เชา (สสกฤตวา ปรฺ เค = อติปรฺ าต). ปเคว ในทบ่ี างแหง ใชเปน กริ ยิ า- วิเสสนะธรรมดา. อุ. ปเควตร อาคจฺเฉยฺย. [ม. อ.ุ อนุรทุ ฺธ. ๑๔/๒๘๔] \"พึงมาเชาสกั หนอ ย.\" บางแหงใช ปพุ เฺ พว มคี วามคลาย ปเคว (ปมฺเว) เชน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 154 ยา ตถารปู สสฺ ทิฏ ,ิ สาสฺส โหติ สมมฺ าทฏิ ;ิ ฯ เป ฯ โย ตถารปู สฺส สมาธ,ิ สวฺ าสฺส โหติ สมมฺ าสมาธิ; ปพุ ฺเพว โข ปนสสฺ กายกมมฺ  วจกี มฺม อาชโี ว สุปรสิ ทุ โฺ ธ โหติ. [ สฬายตนวิภงฺคสตฺ ตฺ . ๑๔/๕๒๕] \"ทฏิ ฐิของบุคคลผเู ห็นปานนนั้ ใด ทฏิ ฐิของเขานั้น เปน สมั มาทิฏฐิ ฯลฯ สมาธิของบุคคลผเู หน็ ปานนั้นใด สมาธิของเขานนั้ เปนสัมมาสมาธิ, กก็ ายกรรม วจีกรรม อาชพี ของเขายอมบริสทุ ธิ์ดใี นกอนทีเดียวแล.\" สรปู อธบิ าย : ปเคว เปนกริ ยิ าวเิ สสนะ. ยเฺ จ-เสยฺโย (๔) ยฺเจ - เสยโฺ ย โดยปกติใชค กู ันในความ ๒ ทอนที่ แสดงความหยอ นย่งิ ตรงกนั ขาม, เสยฺโย วางในความทอ นตน ท่แี สดงความในทางดีกวา, ยฺเจ วางในความทอนหลงั ท่แี สดงความ ในทางดอ ย หรือปฏเิ สธในทางดีตรงกันขา มกับความในทอน เสยฺโย. ยฺเจ ใชคงรูปอยอู ยางเดียว จนสงเคราะหเปนนิบาต ใชในอรรถ เปนสัพพนาม ๑ เปนนบิ าต ๑. ยเฺ จ ใชเ ปนสพั พนามนี้ ย เปน วเิ สสนะเปนพนื้ , เจ ทานแสดงเปนนามมัตถนิบาตกม็ ี ทา นแสดงกบั ย เปน ยมฺปน กม็ ,ี พงึ เรยี กช่อื วา นามวาจก หรอื สัญญาโชตก อยางนามศพั ท, อีก อยา งหนึ่ง นาเรยี ก ครหโชตก อยา ง ปน ศัพท ในอรรถนนั้ , หรือปทปูรณะกไ็ ด. ยฺเจ ใชเปนนบิ าตนัน้ ทา นแสดงเฉพาะ ย บาง ยฺเจ บา ง วาเปนนิบาตในอรรถปฏเิ สธ คือปฏเิ สธ เสยโฺ ย ประกอบวา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 155 ยเฺ จ เสยโฺ ย, มีอรรถเหมอื น น เสยโฺ น, พงึ เรียกชือ่ วา ปฏเิ สธัตถะ หรอื ปฏิเสธ เหมอื นนบิ าตหมวดปฏเิ สธ. อกี อยา งหนง่ึ ยเฺ จ อมความปฏเิ สธ เสยโฺ ย อยูใ นศัพทของตน (ไมตอง ประกอบวา ยฺจ เสยฺโย) แปลวา จะประโยชนอ ะไร, จะ ประเสริฐอะไร, เรียกชื่ออยางเดยี วกัน, เรียกวา ครหโชตกกน็ าได. อุ ุ. ทณฺโฑว กริ เม เสยโฺ ย ยเฺ จ ปุตตฺ า อนสฺสวา. อธบิ าย: [ ๑ ] ยเฺ จ-เสยโฺ ย นม้ี ีใชม าก และใชค งรปู เปน อพั ยยะ จงึ วาเปน นิบาต ดังทท่ี า นแสดงไวใ นอรรถกถา. อุ. :- อุ. ท่ี ๑ ทณโฺ ฑว กริ เม เสยโฺ ย ยฺเจ ปตุ ฺตา อนสสฺ วา. [ ส. ส. ๑๕/๒๕๙] แปล ยฺเจ เปน สพั พนาม \"บุตร ท. ใด ไมฟงคํา, ไดย ินวา ไมเ ทา เทียวของขาพเจา ประเสรฐิ กวา บุตร ท. น้ัน .\" ย วเิ สสนะ ของ ปตุ ฺตา. แปล ยเฺ จ เปน นบิ าต \"ไดยนิ วา ไมเ ทา เทียวของขา พเจา ประเสริฐกวา, บตุ ร ท. ผูไมฟ งคํา จะประเสริฐอะไร.\" แสดงสัมพันธเฉพาะ ยเฺ จ ปตุ ฺตา อนสฺสวา (ยเฺ จ เปน นบิ าต).

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 156 ก. ปตตฺ า ลิงคัตถะ. ยเฺ จ ปฏิเสธตั ถนบิ าต. อนสสฺ วา วเิ สสนะ ของ ปุตตา. ข. ปตุ ตฺ า สยกตั ตา ใน โหนตฺ ิ. โหนฺติ อาขยาตบท กัตตุวาจก. ยฺเจ ปฏิเสธ ใน เสยโฺ ย โหนฺต.ิ อนสสฺ วา วเิ สสนะ ของ ปตุ ตฺ า. เสยโฺ ย วิกตกิ ตั ตา ใน โหนฺติ. อ.ุ ที่ ๒ เสยฺโย อโยโุ ฬ ภตุ ฺโต ตตฺโต อคฺคสิ ขิ ปู โม ยฺเจ ภุฺเชยยฺ ทสุ ฺสโี ล รฏ ปณ ฺฑ อสฺโต [วคฺคุมทุ าตีริยภกิ ฺข.ุ ๗/๑๗ ] แปล ยเฺ จ เปน สัพพนาม \"กอนเหลก็ ที่รอนเปรียบดว ยเปลวแหงไฟ อันบรรพชติ ผูท ุศลี บรโิ ภคแลว ยังดกี วา กอ นขาวของชาวเมอื ง ที่บรรพชติ ผทู ศุ ลี ไมส าํ รวม แลวพงึ บริโภค.\" แปล ยฺเจ เปนนิบาต \"กอนเหล็กทรี่ อน...ยงั ดกี วา, บรรพชิตผูท ศุ ลี ไมส าํ รวมแลว พึงบรโิ ภคกอ นขาวของชาวเมือง จะดอี ะไร.\" [ ๒ ] ย ในท่นี ้ี วาเปนนบิ าต จึงใชเปนวิเสสนะของนามนามได ทกุ ลิงคและวจนะ . ย นบิ าตนี้มีใชอ กี มาก, ท่ีใชเพลนิ ไปแลวก็มี เชน อยฺนูน (ย+นนู ) [ ๓ ] จะแสดงอรรถกถาทีแ่ ก ยเฺ จ บางแหง :- ยญฺ เจติ นปิ าโต. [ สา. ป. ๑/๓๐๗ แก ยฺเจ ปุตตฺ า อนสฺสวา].

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 157 ยนตฺ ิ ลงิ คฺ วปิ ลฺลาโส กโต. เจติ นามตฺเถ นปิ าโต. ฯ เป ฯ อถวา ยนตฺ ิ ปฏเิ สธตฺเถ นิปาโต, [ ชาตกฏ กถา ๒/๒๒] แก ยเฺ จ พาลานุกมฺโก ใน โรหนิ ีชาตก]. ยเฺ จติ ปฏเิ สธตฺเถ นิปาโต. เตน วสฺสสต หตุ  น เสยโฺ ยติ อตฺโถ. [มงฺคลตฺถทปี นี. ๑/๗๕ แก ยเฺ จ วสฺสสต หุต] . ยฺเจ สาขสฺมิ ชวี ิตนตฺ ิ ยมปน... [ ชาตกฏ กถา.๑/๒๓๒]. สรปู อธบิ าย : ยเฺ จ ใชเปน สพั พนาม ย เปนวิเสสนะเปน พน้ื , เจ เรยี กช่ือวา สัญญาโชตก หรือครหโชตก หรือปทปูรณะ. ยเฺ จ ใชเ ปน นบิ าต เรียกชอ่ื ปฏเิ สธ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 158 หลกั สัมพันธ ๑๔. ในการแสดงสมั พนั ธ มหี ลกั ที่ควรทราบตอไปน:ี้ - หลกั ทว่ั ไป (๑) ในวจวี ภิ าคท่ี ๓ สวนวากยสมั พนั ธต อนตนวา ดว ยวธิ ี สัมพนั ธขอ ๑๖๗ วา \" บททง้ั หลายในพากยางคก็ดี ในพากยก ด็ ี ยอ มมีความเนอ่ื งถึงกับส้ิน, การเรยี นใหรจู กั วา บทไหนเน่ืองกับบท ไหน เรียกวา เรียนสัมพันธ. การแสดงวธิ ีสัมพันธน น้ั มใี จความ สําคญั อยู กเ็ พียงใหรูจกั การเนอ่ื งกันของบทเหลา นั้นอยา งเดยี ว จะ รจู ักชอ่ื สงั เขปหรือพสิ ดารไมเ ปน ประมาณนกั , แมในคมั ภรี โ ยชนา พระวนิ ัยและพระอภิธรรมกใ็ ชบ อกชื่ออยางสังเขป, ในท่นี ี้จะดาํ เนิน ตามอยางนัน้ บา ง.\" ความส้ัน ๆ นีไ้ ดแสดงหลักการเรยี นสัมพนั ธไว ทัง้ หมด. (๒) คาํ พดู ในวากยสัมพนั ธแ บงเปน ๓ คือ บท, พากยางค, พากย. บททงั้ หลายในพากยางคกด็ ี ในพากยก ็ดี ยอมมคี วามเนอ่ื งถึง กันสน้ิ . การเรยี นใหร ูจกั วา บทไหนเนือ่ งกันบทไหน เรยี กวา เรียนสัมพนั ธ ตอ งอาศัยเขาใจความเปนสาํ คัญ , สว นช่ือเรียกตอ งจําใหได. (๓) ทานวา อตฺโถ อกขฺ รสฺ าโต \"ความหมายรูก นั ไดดวย อักษรคอื ภาษา \" เพราะฉะนั้น ทางทจ่ี ะเขาใจความตอ งการรูภาษา, เหมอื นอยางที่คนพูดรคู วามกนั กเ็ พราะพูดฟงรปู ภาษากัน. จะสามารถรู

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 159 และแปลภาษาดี กต็ องรูว ิธไี วยากรณและวธิ ีวากยสมั พันธข องภาษานัน้ ด.ี (วากยสมั พันธท า นจัดเปน ภาษาไวยากรณภ าคที่ ๓ ดว ย แตในทนี่ ี้แสดง แยก). (๔) ไวยากรณเ ปนเครอ่ื งช้ีบอกประเภทและเครื่องสําเรจ็ รูปเปน คํานัน้ ๆ เชน บทเหลา นี้ ภกิ ขฺ ,ุ อาราม, อาคโต, เปนศัพทอะไร สาํ เร็จ รปู มาเปนอยางนไ้ี ดอยางไร, วากยสมั พนั ธเ ปน เครื่องช้บี อกวิธีประกอบ คําเหลา นี้เขาเปน พากย. (๕) ถงึ จะพูดใหผอู ่ืนฟง บาง ก็ตอ งพดู ใหถูกภาษา ถาพดู ผดิ ผูอน่ื ก็ฟงไมรคู วาม เชน ประสงคจ ะพูดวา \"ภิกษุมาแลวสอู าราม\" ถา พูดวา ภกิ ฺขุสสฺ อารโม อาคต หรอื ถาเรียงคาํ พูดอยา งภาษาไทยวา ภิกฺขุ อาคโต อาราม กเ็ ปน ผิดไวยากรณแ ละวธิ ีวากยสัมพันธ. (๖) เมอ่ื เรยี นไวยากรณอ าจไดพบตัวอยางตาง ๆ ที่ทานยกมา อาง บางตัวอยา ง ทานตองลงเลขบอกใหแปลเปน คาํ ที่ ๑,๒ เปน ตนก็มี, นกั เรียนชนั้ ตนคงรสู ึกวนสับสน เพราะไมมเี รียงไปตามลาํ ดับเหมือนภาษา ไทย, ตอมาเมอ่ื ไดเรียนอภุ ัยพากย, ไดเ รียนรวู ธิ ที ่ที านสองไวบา ง ได หัดแปลมคธเปน ไทยแปลไทยเปนมคธบาง กค็ อ ยๆ คุนเขา, ตอมาอกี ไดแปลธรรมบท กค็ อ ยคุนมากเขาโดยลําดับ จนถงึ อาจรวู า ประกอบคาํ อยา งไรถู อยา งไรผิด จนถงึ อาจแตงเองได. คามรูว ธิ ีประกอบคํา เขา อยางนี้เรยี กวา ' วายกสัมพนั ธ' คือวิธปี ระกอบคาํ พูดเขา เปนพากย. แทที่จริงนกั เรียกทุกคนเรม่ิ รูมาตง้ั แตเรยี นไวยากรณแ ลว , เมอ่ื เหน็ คาํ ประกอบวา ภกิ ขฺ ุ อาคโต อาราม กร็ ไู ดวาประกอบผดิ , และรวู าตอ ง ประกอบวา ภิกฺขุ อาราม อาคโต จงึ ถูก, นี้ ไมใชร วู จวี ิภาค แตเ ปน

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 160 รูวากยสัมพนั ธ. ตอมา เม่อื เรียนรแู บบสมั พันธ กเ็ รียกชื่อสัมพนั ธแ ละ แสดงวธิ สี ัมพนั ธไ ดถูก. (๗) ถา เปน ประโยคสั้น ๆ งาย ๆ อยางนี้ กน็ าจะไมมีใคร บอกสัมพนั ธผดิ , แตเ พราะมีประโยคยาวๆ และซบั ซอน การบอก สมั พนั ธประโยคเชน นี้ จงึ เปน การยาก แตก็มีวธิ ที าํ ใหงาย คอื ทอน ลงเปน ทอ น ๆ คือตดั เปนพากยางค ๆ, กาํ หนดใหร วู า บทไหนอยู ในพากยางคไหน และมกี ารเนือ่ งกันอยา งไร เชน นป้ี ระโยคยาว ๆ ซับ ๆ ซอนๆ ก็จะกลายเปน สั้น ๆ งาย ๆ. กลา วส้นั กค็ ือตอ งกําหนดใหรูจ ัก พากยกอนวา เปน กตั ต,ุ กมั ม เปนตน, ใหร ูจกั ตดั พากยางควาเปน พากยางคนาม หรือคุณ หรือกริ ยิ า, ใหร จู กั บทวาเปนบทนาม บทกิริยา ตลอดถึงศพั ทน ิบาต และบทไหนเน่ืองกนั บทไหน. หลกั สังเกตพากย (๘) การรูจกั พากยอันจําเปน ตองรใู นเบ้อื งตนนนั้ กลา วตามหลกั ไวยากรณ กค็ อื รจู ักพากยตามวาจกทัง้ ๕ คือใหร ูจักวา เปนประโยค กตั ตุวาจก ประโยคกัมมวาจก ประโยคภาววาจก ประโยคเหตุกตั ตุวาจก ประโยคเหตุกัมมวาจก. (๙) ใหร ูจกั ความเน่ืองกันของพากย เพระโดยปกติ พากย ท้งั หลาย ก็คือความทอ นหนง่ึ ๆ ทีแ่ สดงขอความในเรือ่ งใดเรอื่ งหนงึ่ จึงเนื่องกนั เชนทอนตน กลาวแตโดยยอ, ทอนหลงั กลาวโดยพิสดาร ; ทอ นตนแสดงความยังไมหมด, ทอ นหลังปรารภแสดงตอ เน่ืองกันไมข าดสาย ดงั นี้เปนตน. ความเนื่องกันนอี้ าจกําหนดรไู ดทางความ ทางการวางนิบาต ในทอ นนน้ั ๆ และทางประกอบ ย - ต เปน ตน .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 161 (๑๐) นบิ าตนนั้ บางทที า นกไ็ มไดวางไว เชน วางอนคุ คหัตถ- นบิ าตไวใ นทอ นตน , แตใ นทอ นหลังไมวางอรุจิสจู นัตถนิบาตไวกม็ ,ี วางแตอปุ มาโชตกไว ไมว างอุปเมยยโชตกกม็ ,ี เรยี งประโยคอุปมาไว ขา งหลังประโยคอปุ ไมยก็ม,ี จงึ ตอ งอาศยั สงั เกตทางความ ใหรจู กั ความ เปน ขอสาํ คัญ. (๑๑) ความเน่อื งกันของพากยท ่คี อนขางซบั ซอนยุง ยากนนั้ ก็คอื ความเน่ืองกันขอพากย ย-ต ท่เี รยี กวา ประโยต ย-ต ประโยค ย มกั ปรากฏชดั เพราะทา นวาง ย ศพั ทไว, แตป ระโยค ต บางทีทา นก็ วาง ต ศัพทไ ว บางทีก็ไมว างไว, ถา ทา นไมไ ดวางไว จําตอ งคนหาให ไดวา ไหนเปน ประโยค ต และวาง ต ศัพทท่ตี รงไหนบทไหน , และ ประโยค ต น้นั บางทีก็อยหู ลงั ประโยค ย, บางทีก็อยหู นา ประโยค ย, ยิง่ กวา นนั้ ยงั มีประโยค ย ซอนตอ ไปอกี ก็มี.การใช ย= ต ใชซ บั ซอน กันน้ี เปนความสละสลวยของทาน แตเ ปนการยากของผแู ปล, ถึงเชนนั้น ถา สังเกตจับประโยคใหไดแลว กไ็ มยาก. (๑๒) ความเนื่องกันของประโยค ย-ต นี้ เน่ืองกันดวยประโยค ย เมอ่ื เปนวเิ สสนะของประโยค ต โดยมาก, ประโยค ย ไปเปนประธาน ของประโยค ต (ประโยคกิรยิ าปรามาส) กม็ ,ี บางทีไปเปน บทโยคของ ต ศัพทในวภิ ัตตอิ ่นื บาง. น้กี ลา วโดยวธิ ตี ัวประโยค ย-ต. นอกจากนี้ จําตอ งรูจกั ประโยคพเิ ศษ เชน ประโยคกริ ยิ าปธานนัย ประโยคนาคโสณฑเิ ปนตน, ทัง้ ใหรูจกั ประโยคเลขนอกเลขใน. หลกั สังเกตพากยางค (๑๓) เม่อื รูจกั พากยแ ละความเนื่องกันของพากยก ็แลว กต็ อง

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 162 รูจักตัดพากยออกเปนสวน ๆ ตอน ๆ ที่เรียกวา พากยางค. พากยางคนน้ั กลาวตามวายกสมั พันธตอนตนแบง เปน ๓ คอื นามพากยางค คุณพาก- ยางค กิรยิ าพากยางค, ใหร จู กั วาตอนไหนเปน พากยอ ะไร. เรื่องนี้ ไดอ ธบิ ายไวในอธิบายวากยสัมพนั ธเ ลม ๑ แลว จะไมกลาวซํา้ อีก. (๑๔) วธิ ตี ดั นั้น ใหย กบทประธานเปนท่ีต้ัง แลว หาบทแตง และขยายประธาน, ถา มีบทแตประธานเปนคุณนาม เชน กุลสสฺ ปุตโฺ ต เปน นามพากยางค ถา มีบทแตงประธานเปนคุณนาม เชน ปโ ย ปตุ ฺโต เปน คณุ พากยางค, ถามบี ทขยายประธาน (กริ ิยา) เชน ปตุ ฺโต ...ปฏปิ ชฺชนโฺ ต เปนกริ ยิ าพากยางค, และบททเ่ี ขา กับบทแตและขยาย ประธานในพากยางคใ ด ก็นับเขา ในพากยางคน น้ั ทั้งหมด. (๑๕) ในกายตัด จาํ ตองรจู ักคมุ บททั้งหลายเขา เปน พากยางค นั้น ๆ. บทท่ีเรยี งคุมกนั เปนพากยางคหนงึ่ ๆ อยูตามท่ีของตนแลว กร็ ูงาย. แตบททเี่ รียงแตกพากยางคข องตนออกไป มพี ากยางคอ ่นื ค่นั อยู อยา งนี้ จําตอ งจัดคุมเขามายังท่ีของตนใหจงได. ถามีคาํ ถามสอดเขามาวา ทาํ ไม ทา นจงึ เรยี งใหแ ตกออกไปอยา งนั้น ? ตอบวา ทานเรียงตามวิธีวากย- สมั พันธ. (๑๖) ในพากยางคยาว ๆ ยังมีพากยางคชันใน คอื ความตอนที่ พงึ เปน นามพากยางคเ ปนตนนัน้ เอง แตไ ปประกอบเปนตา งวิภตั ติ, บางท่ี ไปเขา สมาสตดิ อยกู บั ศัพทอน่ื ตามความท่เี นอื่ งกนั . (พงึ สงั เกตตามตัวอยาง ทย่ี กมาตดั ในขอตอไป). พงึ สังเกตพากยางคใ หรวู าตอนไหนเปนช้ันนอก ตอนไหนเปนชั้นใน และเนือ่ งกันอยอู ยางไร, และพงึ รจู ักความเนือ่ งกนั ของพากยางคท ้งั หลาย.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 163 อนึง่ ประโยคลงิ คัตถะ ประโยคอนาทร ประโยคลักขณะ กจ็ ดั เปน พากยางคห นึง่ ๆ. (๑๐) จะยกพากยยาว ๆ ในธมั มปทฏั ฐกถามาตัดเปน ตัวอยาง สกั ๓ พากย คอื :- พากยท่ี ๑ อหึสกา เยตึ อมิ  ธมมฺ เทสน สตฺถา สาเกต นสิ ฺสาย อชฺ นวเน วหิ รนฺโต ภกิ ฺขหู ิ ปุฏปหฺ  อารพภฺ กเถห.ิ [ ภิกขฺ ูหปิ ฏุ ปฺห. ๖/๑๘๐ ] \"พระศาสดา เมอ่ื ทางอาศยั เมอื งสาเกตประทบั อยูในอัญชนวนั ทรงปรารภปญ หาท่ีพวกภิกษุทูลถาม จึงตรสั พระธรรมเทศนานวี้ า อหึสกา เย เปน อาท.ิ \" กิรยิ าพากยางค : สตฺถา สาเกต นิสฺสาย อฺชนวเน วหิ รนโฺ ต. พากย: อหสึ กา เยติ อิม ธมมฺ เทสน ภิกขิ ูหิ ปุฏ ปหฺ  อารพฺภ กเถส.ิ พากยที่ ๒ ภควโต กริ ภกิ ฺขสุ งฺฆปรวิ ุตสสฺ สาเกต ปณฑฺ ทาย ปวสิ นกาเล เอโก สาเกตวาสี มหลลฺ กพรฺ าหมฺ โณ. นครโต นิกขฺ มนฺโต ฯ เป ฯ สตถฺ าร คเหตวฺ า อตฺตโน เคห อคมาสิ. [ ภกิ ฺขหู ิปุฏปหฺ . ๖/๑๘๐] ไดยนิ วา พราหมณแกช าวเมอื งสาเกตคนหนึ่ง ออกจากนครในกาลที่ พระผูมพี ระภาคอันภกิ ษุสงฆแวดลอ ม เสดจ็ เขาไปสเู มอื งสาเกตเพอื่ ปณฑะ ฯลฯ ไดพ าพระศาสดาไปสเู รอื นของตน.\" คณุ พากยางค: เอโก กิร สาเกตวาสี มหลลฺ กพรฺ าหฺมโณ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 164 กริ ิยาพากยางค : ภควโต ภกิ ขฺ สุ งฺฆปริวุตสฺส สาเกต ปณ ฺฑาย ปวิสนกาเล นครโต นกิ ขฺ มนโฺ ต ฯ เป ฯ พากย : สตถฺ าร คเหตวฺ า อตตฺ โน เคห อคมาส.ิ พากยที่ ๓ สตถฺ า เตน อปริปณุ ณฺ  กตฺวา วตุ ตฺ คาถ ปริปุณณฺ  กตฺวา ทสเฺ สนฺโต เอวมาห. [ อฺตรปุริส. ๓/๑๓๓ ] \"พระศาสดาเมื่อทรง แสดงคาถาอันสตั วน รกนัน้ กลาวทาํ ใหไ มบรบิ ูรณแลว ทาํ ใหบรบิ รู ณ จึงตรัส อยางน.ี้ \" กริ ยิ าพากยางค : สตฺถา เตน อปรปิ ณุ ฺณ กตฺวา วตุ ฺตคาถ ปริปุณฺณ กตฺวา ทสเฺ สนฺโต. (กิริยาพากยางคช้นั ใน : เตน อปริปณุ ณฺ  กตฺวา วตุ ฺต-.) พากย : เอวมาห. ขอ สังเกต : ก. สมานกาลกริ ิยา, กิริยาวเิ สสนะและอพั ภันตรกริ ิยา ในกิรยิ าท่ที ําพรอมกนั ไมตัดแยกเปน กิรยิ าพากยางคตา งหาก. ข. ตอนที่เรยี กวา พากยน นั้ แทจ รงิ กเ็ ปนตอนหนงึ่ ของพากย (พากยางค แตเปน ตอนทส่ี ดุ ของพากย ทานใชก ริ ยิ าคุมพายางค จึง เรียกวาพากย. หลกั สงั เกตบท (๑๘) ในการควบคุมบททง้ั หลายเขาเปนพากยางคน ้นั จําตองรวู าบท ไหนเนื่องกับบทไหนตามความ ไมเชนน้ันกค็ ุมเขาใหถ กู ไมได. ทางท่ี จะใหร ูวา บทไหนเนื่องกับบทไหนนน้ั กลาวเพือ่ ใหเ ขา ใจงายกค็ ือ การ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 165 รจู กั วิธแี ปลและแปลได, ถึงจะแปลศพั ทไ มออก กใ็ หรูท ี่เขา ของบท ตอ บท. (๑๙) ขอ สําคญั ตองคดิ ใหรูค วามทเี่ น่ืองกนั , เพราะเมื่อรคู วาม เน่ืองกันแลว จะวางอยูใ กลหรอื ไกลก็ตาม ตอ งคุณเขา มาเปน ทอ นเดียว กนั ได, นกั เรยี นผยู งั ไมรูวิธีวากยสมั พันธไ มต องคาํ นึงวา บทไหนจะวาง อยูท ไี่ หน ใหค าํ นงึ ถงึ ความที่เนือ่ งกนั นีแ้ หละเปน ใหญ. แตกค็ วรสําเหนียก ควรสังเกตเทยี บเคยี งอยูเนือง ๆ เพราะจักเปนทางใหเกิดความรูวากย- สัมพันธโ ดยลาํ ดบั , และเม่ือพบพากยหรือประโยคท่ีตนรวู ิธีอยู ก็จกั ทราบ วา บทไหนเน่ืองกบั บทไหน คุมความเขา กนั ไดท ันที แมบ ทนน้ั ๆ จะวางอยูทไี่ หน ๆ กต็ าม. (๒๐) อกี ประการหน่งึ ตอ งรจู ักอรรถกบั ทงั้ ทเ่ี ขาของแตละชอ่ื สมั พันธ จึงจําตองรูแ บบสัมพนั ธใ หตลอด ตองจาํ และทําความเขาใจวา บทไหนใชใ นอรรถเชนไร เรยี กชือ่ อยางไร เขาอยา งไร นี้เปนทางนาํ ใหรูวา บทไหนเนอื่ งกนั บทไหน. (๒๑) ความเนื่องกันของบทกบั บทนั้น ถา เปน บทสมาส บางที เนื่องกันไมเ ตม็ บทหรอื ไมเตม็ ศัพทสมาส ท่เี รยี กวา สมั พนั ธเขาคร่งึ บท หรอื ครงึ่ ศัพท (สมาส) เชน :- อ.ุ ที่ ๑ กหาปณการณา มยหฺ  อุโปสถกิ ภาว ปฏิจฺฉาเทยยฺ . [ อนาถ- ปณ ฑฺ ิกปุตตฺ กาล. ๑/๖๐] \"พงึ ปกปดความทีเ่ ราเปน ผูรกั ษาอุโบสถ เพราะเหตแุ หงกหาปณะ.\" กหาปณการณา เปนเหตุ เขาเฉพาะ อโุ ปสถกิ -

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 166 มยฺห เปน ภาวาวทสิ ัมพันธ เขาเฉพาะ - ภาว. อ.ุ ท่ี ๒ โส นิคคฺ ณเฺ หิ กถิตกาเล อธิวาเสตวฺ าป ' ปุราณ ขาทตตี ิ (วจนสฺส) วตุ ตกเฺ ณเยว หตถฺ  อปเนตฺวา. [วสิ าขา. ๓/๖๓ ] \"เศรษฐีนน้ั แมอ ดกล้นั ไดในกาลท่นี คิ รนถ ท. กลาว ชกั มือในขณะ แหง คําทีน่ างวสิ าขากลา ววา 'เคย้ี วกนิ ของเกา, นนั่ แหละ.\" นคิ คฺ ณฺเหิ เปน อนภิหติ กตั ตาเขา เฉพาะ กถิต-. วจนสฺส เปน สามสี ัมพนั ธเ ขาเฉพาะ -ขเณ, (มใี นตวั อยางสมั พันธใ นแบบวากยสัมพันธต อนตน ). อุ.ที่ ๓ เถรสฺส วสนฏานาภมิ โฺ ข อคมาสิ. [ โกณฑฺ ธานตเฺ ถร. ๕/๕๓] \"ไดทรงบายพระพักตรเ ฉพาะทอ่ี ยูของพระเถระเสดจ็ ไปแลว.\" เถรสสฺ เปน สามีสมั พนั ธเ ขา เฉพาะ วสนฏาน-. ตัวอยา งท่ี ๓ น้ี เขากับสมาสทเี่ ปนทองในสมาสใหญ. เพราะมีสมั พนั ธเขาครึ่งศพั ทฉ ะน้ี จงึ ตองสังเกตความเปนใหญ วาบทที่เน่ืองกนั บทสมาสนั้น เน่ืองทั้งหมดหรือเนอ่ื งแคไหน. และตอง คน หาหลักสงั เกตบท เชน บทสาธนะ มอี ธกิ รณสาธนะ เปน ตน ที่เขา สมาสกับอัญญาบทของตน เปน วิเสสนบพุ พบทกมั มธารยสมาส ถาเนือ่ งกับ บทท่ปี ระกอบวิภัตติเขากับนาม ก็เขา ตลอด แตถา เนอ่ื งกับบททปี่ ระกอบ วภิ ตั ติเขากับกิรยิ า ก็ตดั เขา เฉพาะ เชน ตสสฺ า วิหาร ปวสิ นสมเย. [ รูปนนทฺ ตฺเถร.ี ๕/๑๐๙] \"ในสมัยเปนท่เี ขา ไปสูวิหารของนาง.\" วิหาร เปน สมั ปาปุณยิ กัมม เขาเฉพาะ ปวิสน-. ตสสฺ า เปน สามีสมั พนั ธเ ขา ใน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 167 ปวสิ นสมเย ท้ังหมด. และตาม อ.ุ ท่ี ๓ เถรสสฺ เขาใน วสนฏ าน- อยา งนี้เปน ตน. บทพหพุ พิหสิ มาส กพ็ ึงคิดอนุโลมตามนี.้ บางแหง มปี ญ หาท่ีตอ งวินิจฉยั และอาจวนิ ิจฉยั ตาง ๆ กัน เชน อห มฆสสฺ มาตุลธีตา เจว ปาปริจารกิ า จ. [สกกฺ ๒/๑๐๖ ]. มฆสฺส เปน สามีสัมพนั ธเขา เฉพาะ มาตลุ -และ ปาท- เพราะถือเปน สัมพนั ธเ ฉพาะศัพทต น เทา น้นั . อีกอยางหนึง่ เขาตลอด เพราะถือ ความวา มาตลุ ธีตา=ลกู ท่ลี กู นอ ง, ปาทปรจิ าริกา=ภรยิ า. (๒๒) การแสดงสมั พันธอ ฏั กถา ตองรูจ ักบทตงั้ และบทแก และวธิ ีตางๆ เชน วิวริยะ-ววิ รณะ เปนตน ตลอดถึงวธิ บี อกช่ือ บอกเขา. เรือ่ งเหลา นไี้ ดก ลาวมาแลว จะไมก ลาวซ้ําอีก. นอกจากนี้ ตองรวู ิธีหรือลักษณะพเิ ศษตาง ๆ ดวยอาศัยการศึกษา สาํ เหนียกจากพระอาจารยนั้น ๆ. หลกั สงั เกตศพั ท (๒๓) จําตองรจู กั นิบาตทว่ี างไวในทนี่ ัน้ ๆ วา บอกอรรถอะไร เรยี กชือ่ อยางไร, ตองรทู ่ีพงึ วางนิบาต เพ่ือวาบางแหง ทา นไมไ ดวางไว แตตองเติมเขา มา ก็จักเติมไดถูก, นิบาตท่ีทา นไมไดวางไวในบางครง้ั เชน อุปเมยยโชตก, อรจุ สิ รู นัตถ เปน อาทิ. ทางทจ่ี ะใหรูทีว่ างนบิ าต ก็คือรคู วามเนอื่ งกนั ของพากย ดงั กลา วในขอ (๙), เรือ่ งนี้พึงสําเหนียก จากแบบวากยสัมพนั ธตอนตน ตอนทีว่ า ดวยนบิ าต เพราะทา นไดอธบิ าย ถึงขอความที่เนอ่ื งถงึ กัน อยางไรพึงใชนบิ าตอยางไร, ถา สังเกตใหด ีแลว นอกจากจะไดความรูเรือ่ งนบิ าต ยังจะไดความรคู วามเนอื่ งกันของพากย

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 168 ท้งั หลายในทางตางๆ กนั เปน อุปกรณค วามรวู ากยสัมพันธเ ปนอยางดียิ่ง. หลกั สงั เกตขอความทลี่ ะไว (๒๔) มขี อความที่ละไว อันไมต อ งเตมิ เขามาก็มี อันตอ งเติม เขามากม็ ี. ขอความท่ีละไวอนั ไมตอ งเขา มานัน้ เพราะประสงคเพียง ยกมาอางเทา น้ันบาง เพราะซาํ้ กับขอ ความขางตน บาง และขอ ท่ีละ บางทีก็ละตรงกลาง ดวยวาง เปยยาล (ฯ เป ฯ ใชใ นภาษาบาล.ี ฯ ล ฯ ใชใ นภาษาไทย) เหลอื ไวขา งหนาแลขางหลงั เชน อสกุ สฺมึ นาม คาเม วา นคิ เม วา อติ ถฺ ี วา ปุรโิ ส วา พทุ ธ สรณ คโต โหติ ฯ เป ฯ ทานสวิภาครโต. [ อานนฺทตเถรปหฺ . ๓/๘๐] , บางทกี ล็ ะขางทา ย ดว ยวาง อิตอิ าทยัตถะ เชน อิธ ปน ภิกฺขเว เอกจฺเจ กุลปตุ ตฺ า ธมฺม ปรยิ าปณุ นฺ ฺติ สุตฺต เคยฺยนตฺ ิ อย ปรยิ ตตฺ ิธมฺโม นาม. [ จกขฺ ุปาลตฺเถร. ๑/๒๑] , ขอ ทีล่ ะไวอ ยางนี้ ไมจ าํ ตองเติม เวนไวแตท่จี าํ เปน แกการบอก สมั พันธ. อกี อยางหนึ่ง ละไดดวยวางคําแทน เชนวางตถาอนุกกฑั ฒ- นัตถนบิ าต ชกั ถงึ ความทอ นตน เพื่อไมต อ งพูดซํ้า, อยา งน้กี ไ็ มตอ งเติม เพราะมีคําแทนอยแู ลว .สว นขอ ความท่ีละไว อนั จําตองเตมิ เขามา คือบท นามบาง บทกิรยิ าบาง ศัพทนบิ าตบา ง ที่จําเปนตองมีในประโยค แต ละไวเ พราะเขา ใจไวเอง เชน นี้ จาํ ตองเตมิ เขามาตามท่ตี อ งการในประโยค. (๒๕) หลักเหลานก้ี ลาวรวบรดั โดยสังเขป ผปู ระสงคจะรใู หดี จาํ ตอ งขวนขวายดอู ธบิ ายในท่นี ้ัน ๆ ท้ังในทางแปล ท้ังในทางสมั พันธ เพราะหลกั เหลาน้ี ใชไ ดใ นการแปลดว ย. เม่อื แปลได กบ็ อกสมั พันธได หรือเมือ่ บอกสัมพันธไ ด ก็แปลได. เปนนักเรียนมักจะเพงแปลใหได

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 169 กอน แลว บอกสัมพันธไ ปตามแปล, น้หี มายถงึ แปลโดยวธิ ียกศัพท โดยพยัญชนะ ไมใ ชหมายถงึ แปลโดยอรรถ. จะบอกสัมพนั ธต ามแปล โดยอรรถไมได, เชน รชชฺ  กาเรสิ แปลโดยอรรถวาครองราชย จะบอก เปนประโยคกตั ตไุ มไดเลย. เปน ครมู กั เพง สมั พันธกอน, ทราบสัมพนั ธ กอนแลว แปลถกู ท่ไี มม ีผดิ เวนไวแ ตจะแปลศัพทไ มอ อกเทาน้ัน. แตผ ิด ศัพท ยังดีกวาผดิ สมั พันธแ ละประโยค.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 170 วธิ สี ัมพันธ ๑๕. วิธสี ัมพันธ มดี ังตอ ไปนี้ :- (๑) ในวากยสัมพันธตอนตน สว นทา ยที่วาดวยวธิ ีสมั พนั ธ ขอ ๑๖๘,๑๖๙ ทานแสดงสมั พันธใ หดเู ปน ตวั อยา ง เปนภาษาไทยบา ง ภาษามคธบาง, ทานบอกชอื่ อยางสังเขป พงึ สําเหนียกจากตวั อยา ง ทีท่ า นแสดงไวน ้ันใหตลอด. ในท่นี ีจ้ ะแสดงอธิบายวิธีสัมพันธตามแบบ ของทานนัน้ . (๒) การบอกชอ่ื และบอกเขา ใชท ั่ว ๆ ไป ดงั น้ี :- ก. ประธานในพากยางค (ลงิ คัตถะ) บอกแตช่อื ไมต อง บอกเขา . ประธานในพากย บอกช่อื และบอกเขา ในกิรยิ าในพากย เชน ปุตฺโต สยกตั ตา ใน ชายต.ิ ประธานในพากยางคทแี่ ทรกเขามา (อนาทร. ลักขณะ) บอกชอ่ื และบอกเขาในกิรยิ าของตน เชน มาตาปตนู  อนาทร ใน รทุ มานาน. ข. บทนามนาม และบทปรุ สิ พั พนามวิภัตติตาง ๆ บอกชื่อตาม อรรถของตน และบอกเขา ในบททีเ่ นอื่ งกนั เชน ธมมฺ  อวตุ ตกัมม ใน สณุ าติ, อาลปนะ บอกแตช ื่อ. ค. บทคุณนามและบทวิเสสนสัพพนาม บอกช่ือตามอรรถของตน บอกเขาเปน ของนามบาง บอกเขาในกิรยิ าที่เน่ืองกันบา ง เชน ปโ ย วิเสสนะ ของ ปุตโฺ ต พหสุ สุโต วกิ ตกิ ตั ตา ใน โหต.ิ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 171 ฆ. บทกริ ิยาในพากยางค คือบทกริ ยิ าทีป่ ระกอบดว ย อนตฺ , มาน ปจจยั ต ปจ จยั อนยี , ตพพฺ ปจ จัย (ตามแบบ) ใชอยางบท ุคุณนาม, บอกชอื่ และบอกเขาอยางบทคณุ นาม. ชื่อท่เี รยี กแปลกออกไป คือ อัพภนั ตรกริ ิยา เขากับนาม บอกเปน ของนาม เขากบั กริ ิยา กบ็ อก เขาในกริ ยิ า, เชน ในสมั พนั ธตวั อยางเปนภาษาไทย ขอ ๒ ตอนที่ สัมพนั ธ วิสาขา สสุร วชี มานา ิตา... ทา นบอก วชิ มานา อัพภันตรกิรยิ า ใน ิตา. ติ า อพั ภันตรกิรยิ า ของ วิสาขา. ง. บทอนาทร-ลกั ขณกริ ยิ า บอกชื่อและบอกเขา (สง ตอ ไป) ในกิรยิ าในพากยางคห รอื ในพากยใ นลาํ ดบั . ปพุ พกาลกิริยา เขาในกิริยาสืบไปทม่ี ีกตั ตาเดียวกนั แตไมนยิ ม บอกเขา ในกิริยาทที่ ําไมเต็มทีต่ ามลําพงั ตน เชน สมานกาลกริ ิยา อ.ุ ใน สมั พันธต ัวอยา งเปนภาษาไทย ขอ ๓ ตอนท่สี ัมพันธ โส ปน พาโล เถร ทสิ ฺวา อปสฺสนโฺ ต วยิ หตุ ฺวา อโธมุโข ภุชฺ เตว ทานบอก ทิสฺวา ปพุ พกาลกิรยิ า ใน ภุ ฺชติ. ปรโิ ยสานกาลกริ ิยา เขา ในกิรยิ าในลาํ ดับ ทีม่ ลี กั ษณะเชน เดยี วกบั ปพุ พกาลกิริยา. สมานกริ ิยา เขาในกิรยิ า ทท่ี ําพรอมกนั . อปรกาลกริ ิยา เขาในกริ ิยาทท่ี ํากอน. วิเสสนะบอกเขาเปนของนาม, กิรยิ าวิเสสนะ เขาในกิรยิ า. เหตุ เขา ในกริ ิยาทีต่ างกัตตากัน.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 172 อน่งึ กริ ิยาที่ประกอบดวยสมจุ จยัตถนบิ าต หรือวิกัปปต ถนบิ าต ดว ยกนั ไมบ อกเขากัน หรอื แมไมวางนิบาตเชน นัน้ ไว แตมคี วามเหมือน เชน นั้น ก็เหมือนกนั อ.ุ :- อุ. ที่ ๑ กสฺมา อิม สร โอตรติ วฺ า นหฺ าตฺวา จ ปว ติ วฺ า จ ภิสมฬุ าเล ขาทติ วฺ า ปุปผฺ านิ ปล นฺธติ วฺ า น คจฉฺ สิ. [ พหุภณฺฑิกภิกฺข.ุ ๕/๗๐ ] \"เพราะเหตไุ รจึงไมล งสูส ระนี้ อาบและดื่มแลวเคี้ยวกนิ เหงาบัว ประดบั ดอกไมไป.\" นฺหาตฺวา และ ปวติ วฺ า ปพุ พกาลกริ ิยา ใน ขาทติ วฺ า. อ.ุ ที่ ๒ โภ โคตม ตมุ ฺหาก ทาน อทตวฺ า ปูช อกตฺวา ธมมฺ  อสสฺ ตุ ฺวา อุโปสถวาส อวสติ ฺวา เกวล มโนปสาทมตเฺ ตเนว สคเฺ ค นพิ ฺพตฺตา นาม โหนฺต.ิ [ มฏกณุ ฺฑล.ิ ๑/๓๓] \"ขา แตพระโคดมผเู จรญิ ,ชือ่ วา ชน ท. ผไู มใหท าน ไมทาํ การบูชาแดพระองค ไมฟงธรรมของพระองค ไมอ ยู (รักษา) อโุ บสถ เกิดแลว ในสวรรค เพราะเหตเุ พยี งใจเลอื่ มใส อยา งเดยี ว มอี ยูหรอื .\" อทตฺวา, อตกวฺ า, อสสฺ ุตฺวา และ อวสิตวฺ า ปพุ พกาลกริ ิยา ใน นพิ พฺ ตตฺ า. อุ. ท่ี ๓ โส ภูมึ หตฺเถน ปหริตฺวา โรทิตฺวา กนฺทิตฺวา เจตยิ งคฺ ณ คนตฺ วฺ า [ อตฺตโนปพุ ฺพกมมฺ . ๗/๙๘] \"พราหมณน ้ัน เอามือตีแผน ดนิ รองไหค รํ่าครวญ ไปสูเ นนิ เจดยี .\"

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 173 อุ. ที่ ๔ ....อกฺโกสิตฺวา ปรภิ าสติ วฺ า ปลาเปถ. [อตฺตโน. ๗/๑๔๐] \"...ดาบริภาษใหห นไี ป.\" ฉ. กริ ิยาในพากยบอกชือ่ . ช. นิบาตบอกชื่อ, บอกเขาบาง ไมบ อกบางตามสมควร. นบิ าตท่ใี ชเปนบท เชน นิบาตบอกอาลปนะ นบิ าตบอกกาล บอกอยางบท. อติ ิศัพท ทีเ่ ปนสมาบันบอกแตชือ่ , นอกน้ันบอกเขาในบทท่ี เนอื่ งกัน. วธิ สี มั พนั ธเ ปนภาษาไทย (๓) บอกสมั พันธไปตามลาํ ดับดังน้ี :- อาลปนะ, นิบาตขอ ตน ความ, ประธาน, กิรยิ าในพากย. ตอ จากน้ีจึงบอกไปตามลาํ ดับบท. แตบางสํานกั ใชบ อกไปตามลาํ ดับบท (เหมือนสมั พนั ธเปนภาษา บาลี). (๔) บททั้งปวง (รวมท้ังนิบาตท่ีใชเ ปน บท) ยกขนึ้ บอกชอ่ื ทีเดยี ว. วธิ บี อกเขา ใชคําวา 'ใน' เปนพื้น เชน ภิกฺขสุ สฺ สามีสัมพันธ ใน จวี ร ใชค ําวา ' ของ ' แตเ ฉพาะวเิ สสนะและอัพภนั ตรกริ ยิ าของนาม เชน ปโ ย วิเสสนะ ของ ปตุ ฺโต. บทกริ ิยาในพากยบ อกแตชือ่ , แตท่อี ิติศพั ทอมอยู ซึง่ ไมค วรท่ี จะบอกเปนสรปู ในอิติศพั ทน น้ั , ถา ไมมตี ัวกัตตาปรากฏอยู จะบอกเปน กริ ิยาของกตั ตานั้นทีเดียวกไ็ ด เชน ในสัมพนั ธต ัวอยา งเปน ภาษาไทย

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 174 ขอ ๕ ตอนท่ีสัมพนั ธ ปรุ าณ ขาทติ ทานบอกวา ขาทติ อาขยาตบท กัตตุวาจก ของ สสุโร. (๕) เวลายกนบิ าตมาบอก ใชค าํ วา ศพั ทตอบา ง เชน เอวศพั ท, เรียกเฉย ๆ บา ง. นบิ าตตนขอความซึ่งไมเนอ่ื งกนั บทไหนโดยเฉพาะ บอกแตช ่ือ เชน นิ ศัพทว ิตถารโชตก. ทพี่ อจะเน่ืองในกิริยา บอกเขา ในกิริยาบา ง ก็ได เชน สเจ ปริกปั ปะใน... นิบาตท่ีเนือ่ งในบท บอกเขาในบท เชน น ศพั ทป ฏเิ สธใน.... นบิ าตทเ่ี น่ืองกบั บท คอื ท่ีวางเนื่องสนทิ อยกู ับบท เชน ว, เอว, ป, อป ใชบ อกวา ' เขากับ' เชน ทสิ วฺ าป บอกวา ป ศพั ท อเปกขตั ถะ (หรือ สมั ภาวนะ, ครหะ) เขา กบั ทสิ วฺ า. นิบาตจําพวกปทปรู ณะ ไมบ อกเขาเชนเดยี วกับอติ ศิ ัพทส มาบนั . วธิ สี มั พันธเปนภาษามคธ (๖) สัมพันธเปน ภาษามคธ ทานบอกไปตามลําดบั ทบอยา งใน โยชนา. วธิ ีบอกกอ็ ยางเดียวกับสมั พนั ธเ ปนภาษาไทย มตี างกันบา งก็คอื บทกริ ิยาในพากยบอกชื่อและบอกเปนของประธานของตนดวย, นบิ าต จาํ พวกทบ่ี อกเขา วา 'เขา กบั ' ในภาษาไทยกบ็ อกช่อื . อน่ึง บทฉฏั ฐีวิภัตติทเี่ นื่องดวยเปน เจา ของ ทา นมักเรยี กสั้นวา 'สมฺพนฺโธ,' และบอกเขาเปน ' ของ' เชน ในสมั พนั ธต ัวอยา งเปน ภาษา มคธ ขอ ๓ วา มยหฺ นตฺ ิ ปท ปตาติ ปทสฺส สมพฺ นโฺ ธ. (๗) วิธปี ระกอบเปนภาษาบาลี ดงั น้ี :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 175 ก. จะบอกบทใด ยกบทนั้นมาอมไวดว ยอิติศัพท, บทเดยี ววา -ติ ปท, สองบทวา -ติ จ -ติ จ ปททฺวย, ไมใ ช จ สมจุ จัยก็มี เชน ตสฺมึ ตสมฺ ินฺติ ปททวฺ ย, ตงั้ แต ๓ บทขึ้นไป ประกอบวา ปทานิ หรอื ตปิ ท จตุปฺปท เปน ตน ตามจํานวน. นบิ าตยกมาตอ ดว ย สททฺ - ศัพทเ หมือนกนั หมด เชน วาสทโฺ ท วาสททฺ า ตามจํานวน (เวนแต นบิ าตทใ่ี ชเ ปนบท ประกอบเหมือนบท). ข. วางบทเปนทเี่ ขาใหอ มไวดวยอิติศัพทเชนเดยี วกนั , บทเดียว วา -ติ ปเท หรือ ปทสฺส,สองบทวา -ติ จ -ติ จ ปททฺวเย หรอื ปททฺวยสฺส, สามบทข้ึนไปวา ปเทสุ หรือ ปทาน, ถา เปนบาทคาถา วา คาถาปาทสสฺ เปนตนกไ็ ด. ค. วางชื่อประกอบตามลงิ คของตน, วจนะอนุวัตรบทประธาน เชน วาสทโฺ ท วิกปปฺ ตฺโถ หรอื วาสททฺ า วิกปฺปตถฺ า. อพฺภนตฺ ร- กิริยา ปุพฺพกาลกริ ิยา เปน ตน ใช ปท ตอ เชน อพฺภนตฺ รกริ ยิ าปท, ปพุ ฺพกาลกิรยิ าปท. จะยกสัมพนั ธตวั อยางเปนภาษามคธขอ ๗ มาต้งั ใหด สู ักตอนหนึง่ วา เอว อมิ สฺมึ การเณ สา นิสโฺ ทสา อโหสิ ทานบอกวา เอวสทฺโท ปการตฺโถ. อมิ สสฺ ินตฺ ิ ปท การเณติ ปทสสฺ วเิ สสน. การเณติ ปท อโหสตี ิ ปเท นิมิตฺตสตตฺ มี, นิสฺโทสาติ ปเท วา ภินนฺ าธาโร. สาติ ปท อโหสีติ ปเท สยกตตฺ า. นิทโฺ ทสาติ ปท อโหสตี ิ ปเท วิกตกิ ตฺตา. อโหสตี ิ ปท สาติ ปทสสฺ กตตฺ ุวาจก อาขฺยาตปท.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 176 ภาคผนวก (คาํ ชแี้ จง: ในภาคน้ี ไดรวบรวมแสดงชอื่ สัมพันธบาง วภิ ตั ตบิ า ง ศัพทแ ละประโยคบา ง ทีใ่ ชใ นสํานวนชน้ั บาลีโดยมาก แตก พ็ ลดั เขามาในปกรณช ั้นหลัง เชน อรรถกถาโดยประปราย, และท่ีโบราณทานใชมา. ขอ เหลา น้อี าจเปน ประโยชนเ ก้ือกูลแก นกั ศกึ ษาภาษาบาลที ้ังหลาย จึงจดั เปนภาคผนวกข้นึ ตางหาก, และ ลําดบั ขอ ใหต อกนั ไป). ๑๖. มชี อื่ สมั พันธแ ละวิภตั ติพิเศษอันควรผนวก กลาวคอื : ปฐมากิรยิ าวเิ สสนะ (๑) บทปฐมาวิภัตติ ท่เี ปน เคร่อื งทาํ กริ ยิ าใหแปลกจากปกติ ืคอื เปนคุณบทแหงกิริยา โบราณเรยี กชื่อวา ปฐมากริ ิยาวเิ สสน. อ.ุ กนิ ฺตนตฺ ิ อาห อฺ ตรา เทวตาตฺยาทิ. อิติอาทิ เชน น้ี เรียกในโยชนาวา ลงิ ฺคตฺโถ คือปฐมาวิภตั ติท่ีเปน กิริยาวิเสสนะ นน้ั เอง. อธบิ าย : [ ๑ ] ปฐมากิรยิ าวเิ สสนะ เปน ช่อื ท่ีโบราณทานเรียกกันมา, โดยเฉพาะ เรียก อิติอาทิ ท่ีเน่ืองใน อาห อันมีใชใ นมังคลัตถทีปนี เปน ตน . นกั เรยี นเมือ่ พบอิติอาททิ ี่เน่ืองในอาหก็มักสงสยั บางทีแก ของทานเปนอิติอาทึ, แตเ ปนการแกใ หผ ดิ ไป เพราะทา นประกอบ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 177 อยางนั้นเอง. แปลโดยพยญั ชนะวา ' กลาวคํามวี า...ดงั นีเ้ ปนตน.' (ไมต อ งใชอายตนนิบาตไร ๆ ). ในอภธิ มั มตั ถวภิ าวนิ ี มใี ชช มุ ชุม เรยี กในโยชนาวา ลงิ คฺ ตฺโถ กค็ ือ ลิงคัตถะ หรอื บทนามนามปฐมา- วิภตั ติท่เี ปนกริ ิยาวเิ สสนะ, โบราณเราทา นเรยี กวา ปฐมากริ ยิ าวเิ สสนะ จงึ เหมาะมาก เพราะเปนชื่อแสดงอรรถที่เนื่องในกิรยิ าดว ย. อ.ุ :- อุ. ท่ี ๑ กนิ ฺตนตฺ ิ อาห อฺ ตรา เทวตาตฺยาท.ิ [ มงฺคลตถฺ . ๑/๗] \"เพอื่ วสิ ชั นาคําถามวา ' เรือ่ งอ่นื นัน้ อะไร' จงึ กลา วคํามีวา อฺตรา เทวตา ดงั นีเ้ ปน ตน .\" อฺตรา เทวตาตยฺ าทิ (อติ ิอาทิ) ปฐมส- กริ ิยาวิเสสนะ ใน อาห. อุ. ที่ ๒ ยถาห ยาวตา ภิกขฺ เว สตฺตา...ตถาคโต เตส อคคฺ มกขฺ าย- ตีติอาท.ิ [ อภธิ มฺมตถฺ . ปมปริจเฺ ฉท. น. ๑๔] \"ดัง (ฤๅ) พระ- ผมู พี ระภาค ตรัสคํามวี า ' ภิกษุ ท., สัตว ท....มีประมาณเพียงใด, พระตถาคตปรากฏวา (หรอื อนั บัณฑิตกลาววา) เลศิ กวาสตั ว ท. นน้ั ' ดังนี้เปน ตน .\" [ ๒ ] โยชนา [ ๑/๑๐๙] ต้งั วิเคราะหอ ิติอาทิเปนตัคคณุ วา ยาวตา ....มกขฺ ายติ อติ ิ วจน อาทิ ยสสฺ วจนสสฺ ต ยาวจา... มกฺขายตตี อิ าทิ และบอก อกขฺ ายติ เปน กตั ตวุ าจก, บอก เตส วา ใชใ นอรรถปญ จมวี ภิ ตั ติ อางสูตรวา ทุติยาปฺจมีนฺจ ' (หักฉัฏฐ)ี

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 178 เปนทุตยิ า, ปจฺ มี,' และตัดบท อคฺคมกฺขายติ เปน อคฺโค อกฺขายติ เพราะเอาโอ เปน อ โดยสูตรวา ' เอโอนมวณฺโณ' ' ทํา เอ โอ เปน อ อกั ษร,' และลง ม โดยสูตรวา ' มทา สเร.' ลง ม. ท นมิ ติ สระ (เปน หนปลาย).' เรยี ก ยาวตา...ตอิ าทิ เปน ลงคตั ถะ. คคั คุณ คือ พหุพพหิ ิ ตลอดถึง สพปุพพบท. [สหปุพพบท. เชน สกล ' ธรรมชาตทเี่ ปนไปกบั ดวยสว นท่ีพึงนับ' โยชนาอภ.ิ [ ๑-๘๓] เรียกตดั คณุ ปฐมาพหพุ พิห]ิ . แตพ หพุ พิหทิ ป่ี ฏเิ สธ เรยี กอตคั คณุ , เชน อเจตน [ นตฺถิ เจตนา เอเตส สขุ าทีนนฺติ อเจตนา] โยชนา อภ.ิ [๑/๑๘๗ ] เรยี ก อตคฺคณุ จตตุ ฺถี. สรปู อธบิ าย: ปฐมากิรยิ าวิเสสนะ คือ บทปฐมาวภิ ัตตทิ ่ีเปน คณุ บทของกิรยิ า. (ปฐมา) เหตุ (๒) ศพั ทเหลา น้ี คอื เหตุ, ก,ึ ย , ต ประกอบเปน ปฐมาวภิ ตั ติ ใชใ นอรรถแหงเหตุ ตามสูตรในสทั ทนตี วิ า การณตเฺ ถ เหตุกึยเตหิ ปมา 'ลงปฐมาวิภัตติ แตห นาเหตุ, ก,ึ ย, ต ในอรรถแหง เหตุ.' อุ. :- เหตุ จเช ธน องฺควรสฺส เหต.ุ กึ กินนฺ ุ สนฺตรมาโน ว กาสุ ขนสิ สารถิ.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 179 ย โก นุ โข โภ โคตม เหตุ โก ปจจฺ โย, ยนฺตฏิ เตว นพิ ฺพาน ฯ เป ฯ เอกจฺเจ นาราเธนตฺ ิ. ต ต ตาห ตาต ยาจมิ. อธบิ าย : ศพั ทท ง้ั ๔ มเี หตเุ ปน ตนนี้ ประกอบเปนปฐมาวิภัตติ สาํ เรจ็ รปู เปน เหตุ, กึ, ย, ต ใชใ นอรรถเหตไุ ด ตามสตู รนน้ั [ การก. น. ๒๓] และเรยี กชอื่ สมั พนั ธว า เหตุ. อ.ุ :- เหตุ จเช ธาน องฺควรสสฺ เหตุ [ ขุ. ชา. อสตี ิ. ๒๘/๑๔๗] \"พงึ สละทรพั ย เพราะเหตแุ หง อวยั วะอนั ประเสรฐิ .\" กึ อ.ุ ท่ี ๑ กนิ ฺนุ สนตฺ รมาโน ว กาสุ ขาสิ สารถิ. [ ข.ุ ชา. เตมิย. ๒๘/๑๕๓] แนะนายสารถ,ี ทา นรีบขดุ หลุมสีเ่ หล่ียมเพราะเหตไุ ร.\" อ.ุ ท่ี ๒ อถ กิจฺ รหิ เต อย สารปิ ตุ ฺต โอฬารา อาสภิวาจา ภาสติ า. [ ท.ี ปาฏกิ , สมฺปสาทนยี . ๑๑/๑๙ ] \"สาระบตุ ร, เมอื่ เปน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 180 เชนน้นั เพราะเหตไุ รเลาเธอจงึ กลาวอาสภวิ าจาอนั โอฬารน้.ี \" (อรรถกถา [ สุ. ว.ิ ๓/๘๔ ] แกว า อถ กิ จฺ รหีติ อถ กสมฺ า). อุ. ที่ ๓ กึ ปเนตถฺ การณ, ยถา อิธ, เอว อสุ ลวปิ ากคมเน อเหตกุ คหณ น กต. [ อภธิ มมฺ ตถฺ . ปมปริจเฺ ฉท. น. ๗๙ ] \"กใ็ น กุสลากุสลวบิ าก ท. น่นั ทานอาจารยไมท าํ ศัพทวา อเหตกุ ในนิคม แหง อกศุ ลวิบาก เหมือนในนคิ มแหงกุศลวิบากนี้ เพราะเหตุไร.\" ในโยชนา [ ๑/๓๔๒] อางสตู รเดียวกันนแ้ี ละบอกสมั พันธ การณ เปน เหตุใน น กต. (กึ ในโยชนาเรยี ก ปจุ ฉา ตามภาวะเดมิ เหมือน เรียก อติ ิอาทิ วา ลิงคัตถะ,แตใน อุ. นี้ กึ เนื่องเปน วิเสสนะใน การณ จงึ เรียกตามอรรถท่ีเนื่องกนั วาวเิ สสนะ. กึ การณ ใชในอรรถกถาเปน กึ การณา เปน พน้ื ). กึ ที่เปน เหตนุ ี้ ตรงกับทีท่ า นแสดงในวจวี ภิ าค เลม นามและ อัพยยศัพท ตอนสพั พนาม สว นท่วี าดว ย กึ ศัพทวา \"กึ ศพั ท ทเ่ี ปน คาํ ถามถงึ เหตุ แปลวา ทาํ ไม.\" ในทางสมั พนั ธ ถาวาง การณ ไวด วย พงึ เรียกเปน วเิ สสนะของ การณ. ถาไมว างการณไ ว, มแี ต กึ ศพั ท ตามลาํ พัง เรยี กเปน เหตุ หรือ ปจุ ฉนัตถะ ก็ได. จะเติม การณ เขามา และเรยี กเปนวเิ สสนะก็ได, และพงึ เรยี ก การณ เปนเหต.ุ นยั แมใน ย, ต กเ็ หมือนกนั .

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 181 ย อ.ุ ที่ ๑ โน นุ โข โภ โคตม เหตุ โก ปจฺจโย; ยนฺติฏเตว นิพฺพาน, ติฏ ติ นพิ พฺ านคามี, ตฏิ ติ ภว โคตโม สมาทเปตา; อถ จ ปน โภโต โคตมสสฺ สาวกา โภตา โคตฌมน เอว โอวทิยมานา เอว อนุสาสยิ มานา; อปฺเปกจเฺ จ อจจฺ นตฺ นิฏ  นิพพฺ าน อาราเธนฺติ, เอกจเฺ จ นาราเธนฺติ. [ ม. อปุ . คณกโมคคฺ ลลฺ าน. ๑๔/๘๕ ] \"ขา แตพระโคดมผูเจรญิ , เหตอุ ะไรหนอแล ปจจัยอะไร, เพราะเหตุ ปจ จยั ไรเลา พระนิพพานก็มีอยู ทางใหถงึ พระนพิ พานก็มีอยู พระ โคดมผเู จรญิ ผชู กั นําก็มอี ย,ู ถึงอยางน้ัน พระสาวก ท. ของพระโคดม ผเู จรญิ ผอู นั พระโคดมผูเจรญิ โอวาทอยูอยางน้ัน อนสุ าสนอยูอยางนั้น บางพวกก็ยงั พระนพิ พานท่ีสาํ เร็จโดยสวนเดียวใหสมั ฤทธ์ิ , บางพวกก็ ไมใหส มั ฤทธิ.์ \" ในรปู ประโยคเชนน้ี ใช เยน ก็มี เชน โก นุ โข โภ โคตม เหตุ โก ปจฺจโย; เยเนกทา ทฆี รตฺต สชฺฌายกตาป มนตฺ า นปฺปฏภ นฺติ., ปเคว อสชฌฺ ายกตา. [ อง.ฺ ปจฺ ก. ๒๒/๒๕๗] \"ขา แต พระโคดมผูเจรญิ , เหตุอะไรหนอแล ปจจยั อะไร,ทีเ่ ปน เหตไุ มแจม แจงแหงมนต ท. แมท ี่ทาํ สาธยายไวตลอดกาลนาน, มนต ท. ทไี่ มได ทาํ สาธยายไว ย่ิงไมแ จมแจง กอ นเทยี ว.\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 182 อุ. ที่ ๒ ย โข ตฺว สิวก สนตฺ  อชฺฌตฺต โลภ อตฺถิ เม อชฌฺ ตตฺ  โลโภติ ปชานาสิ; อสนตฺ  วา อชฌฺ ตตฺ  โลภ นตฺถิ เม อชฌฺ ตตฺ  โลโภติ ปชานาส;ิ เอวมปฺ  โข สวิ ก สนทฺ ฏิ โิ ก ธมโฺ ม โหติ ฯ เป ฯ. [ อง.ฺ ฉก. ๒๒/๓๙๙ ] \"สวิ กะ, ทา นรโู ลกภายในทมี่ ีอยู วา ' โลภ ภายในของเรามีอยู,' ทานรโู ลภภายในทีไ่ มมีอยูวา ' โลภภายในของเรา ไมม'ี เพราะเหตุใดแล; สวิ กะ, เพราะเหตุแมอ ยางนั้นแล ธรรม เปนสันทิฏฐกิ ะ ฯลฯ.\" ย วิเสสนะ ของ การณ, การณ เหตุ ใน ปชานาส.ิ (ย เหตุ น้ี วางเหมือนกิริยาปรามาส แตใ นอรรถ ยสมฺ า). ต ต ตาห ตาต ยาจาม.ิ [ข.ุ ชา. หลทิ ทฺ ราค. ๒๗/๒๖๕] \"พอ , เพราะเหตนุ ัน้ ฉนั ขอวงิ วอนเจา.\" (ชาตกัฏฐกถา [ ๕/๓๙๖ ] วา ต ตาหนตฺ ิ เตน การเณน ต อห) . สรปู อธิบาย : เหต,ุ ก,ึ ย, ต (ปฐมาวภิ ัตติ) ใชใ นอรรถเหต.ุ วิภตั ตเิ กา (สัตตมปี จ จัตตะ) (๓) มีวภิ ัตตเิ กา คือ รปู เหมือนสตั ตมีวิภัตติ ใชใ น ปฐมาวิภตั ติ เรียกในภาษาไทยวา สัตตมปี จ จตั ตะ. สัตตมปี จจตั ตะนี้ มีในสํานวนเกาบางแหง , มเี ฉพาะบทประธานบาง มตี ลอดถึงบทอน่ื เชน บทวเิ สสนะ กิรยิ าที่แจกดวยวิภัตตินามบาง, เปนสัตตมีปจจตั ตะ ท้งั ทอ นกม็ .ี

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 183 ตวั อยางในบาลสี ตุ ตันตปฎกหลายแหง เชนในสงั ยตุ ตนิกาย ขนั ธวารวัคค ตอนโสตาปตตวิ คั คที่ ๑ ใน ทิฏ ิสย ตุ ฺต วา พาเล จ ปณฺฑิเต จ สนฺธาวติ ฺวา สสรติ วฺ า ทุกขฺ สฺสนตฺ  กริสฺสนฺต.ิ (อรรถกถาแกเ ปน พาโล จ ปณฺฑโิ ต จ ) และ สฬายตนวคั ค ตอนโลกกามคณุ วัคคที่ ๒ วา ตสฺมาตหิ ภกิ ขฺ เว เส อายตเน เวทติ พฺ ฺเพ. (อรรถกถาแกเปน ต การณ ชานิตพพฺ ) . ในทางสัมพนั ธส อนใหเ รยี กช่อื บทเชน นี้ เฉพาะท่เี ปน บท ประธานวา สัตตมีปจ จตั ตะ. อธบิ าย : [ ๑ ] คาํ วา สตั ตมีปจจัตตะ, สัตตมี ก็แปลวา สัตตมวี ภิ ตั ติ, ปจ จัตตะ แปลวา ปฐมาวิภตั ติ, รวมกนั เปน สัตตมี- ปจจัตตะ ถือเอาความวา ปฐมาในรูปสัตตมี หรือสตั ตมที ใี่ ชในปฐมา. นี้เปน คาํ แสดงวธิ ีใชศพั ท, แตท า นสอนใหใ ชเ ปนชื่อของบทเชน นี้ทเ่ี ปน ประธาน. ในปกรณช นั้ บาลี สตั ตมีปจ จตั ตะ มีใชเ ฉพาะบทประธาน กม็ ี ใชต ลอดไปถึงบทวิเสสนะ ถงึ บทกริ ิยาทป่ี ระกอบดว ยวิภัตตินาม กม็ ,ี ใชใ นขอ ความท้ังทอนกม็ ,ี เชนนี้ ตอ งเรยี กตามอรรถท่ีใชน ้ัน ๆ อ:ุ - อ.ุ ท่ี ๑ พาเล จ ปณฺฑเิ ต จ สนฺธาวิตวฺ า สส รติ วฺ า ทุกฺขสสฺ นฺต กริสสฺ นตฺ ิ. [ ขนฺธวารวคฺค. ๑๗/๒๖๐] \"ทง้ั พาลทั้งบณั ฑติ แลน ไป ทองเทีย่ วไป จกั ทาํ ทส่ี ุดแหง ทุกข.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 184 บาลีนน้ั แสดงลัทธิสงั สารสุทธิภายนอกพุทธศาสนา อรรถกถา [สา. ป. ๒/๔๑๗ ] แกเ ปน พาโล จ ปณฑฺ โิ ต จ. (และในหนา ๒๕๔ แสดงนัตถิกวาท วา พาเล จ ปณฑฺ ิโต จ กายสฺส เภทา อจุ ฺฉชิ ฺชนตฺ ิ วนิ สสฺ นตฺ ิ น โหนตฺ ิ ปรมมฺ รณา. ขอ ความนี้ มใี นสันทกสตู ร [ ม. ม. ๑๓/๒๙๑] . อรรถกถาพระสูตรนัน้ [ ป. ส.ู ๓/๒๕๑ ] แกว า พาโล จ ปณฑฺ โิ ต จาติ พาลา จ ปณฑฺ ติ า จ ). อ.ุ ที่ ๒ โทณมเิ ต สุขทุกฺเข, ปริยนตฺ กเต สสาเร, นตฺถิ หายน- วฑฒฺ เน, นตฺถิ อกุ กฺ สาวกเ ส. เสยฺยถาป นาม สุตตฺ คเุ ฬ ขิตฺเต นพิ เฺ พิยมานเมว ปเลติ; เอวเมว พาเล จ ปณฑฺ ิเต จ นิพเฺ พยิ มานา สขุ ทกุ ขฺ  ปเลนตฺ ิ. [ ขนธฺ วาคฺค. ๑๗/๒๖๐ ] \"สุขและทกุ ข เหมือน นบั ดวยทะนาน, สงสารมีทสี่ ดุ อันกาลทาํ แลว , ความเส่อื มและความ เจรญิ ไมม ี, ความเยย่ี งและความดอยไมม ,ี กลุม ดว ยที่คมซัดไปแลว ยอ มคลนี่ ั่นเทย่ี วปลวิ แมฉ นั ใด, ท้งั พาลทง้ั บณั ฑติ ก็ฉนั นนั้ เหมือนกนั ยอ มคลี่รอนไป (เอง) สสู ขุ ทุกข.\" บาลนี แี้ สดงลัทธิภายนอกพทุ ธศาสนา.อรรถกถา [ สา. ป. ๒/๔๑๘] แกเ ปน ปฐมาวิภตั ติ, เรยี งใหมดงั น:ี้ โทณมิต สขุ ทกุ ข, ปรยิ นตฺ โต สสาโร, นตถฺ ิ หายนวฑฺฒน (นายนวฑฒฺ นานิ) นตฺถิ อุกฺกส าวกส , เสยฺยถาป นาม สตุ ตฺ คุฬ ขิตฺต นพิ ฺเพิยมานเมว ปเลติ, เอวเมว พาลา จ ปณฺฑิตา จ นิพเฺ พิยมานา สขุ ทุกฺข ปเลนฺต.ิ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 185 ื อ.ุ ท่ี ๓ ตสมฺ าตหิ ภกิ ฺขเว เส อายตเน เวทิตพเฺ พ. [ สฬาตนวคฺค. ๑๘/๑๒๒] \"ภกิ ษุ ท., เพราะเหตุนัน้ แล พึงทราบอายตนะนั้น.\" อรรถกถา [ สา. ป. ๓/๔๔ แกว า ต การณ ชานติ พพฺ . อ.ุ ท่ี ๔ วนปปฺ คมุ เฺ พ ยถา ผสุ สฺ ติ คฺเค คิมฺหาน มาเส ปสมฺ ึ คิมฺเห (ตถูปม ธมฺมวร อเทสยิ นิพฺพานคามึ ปรม หติ าย). [ขุ. ป. รตน. ๒๕/๘] \"พมุ ไมใ นปา มีดอกทาน (สะพรั่ง) ในเดือนคมิ หะท่ี ๑ (จิตร- มาส) แหง คิมหะ ท. ฉนั ใด, (พระสักยมุนี ไดท รงแสดงธรรมอัน ประเสรฐิ อยา งยิง่ อนั ใหถ ึงพระนิพพาน เพอ่ื เกือ้ กูล กม็ อี ปุ มาฉนั นั้น).\" อรรถกถาแหงพระสตู รน้ัน [ ป. โช. หนา ๒๑๐] แกเปนปฐมา- วภิ ตั ติ วา วนปปฺ คมุ โฺ พ ผสุ สฺ ติ คฺโค. อ.ุ ท่ี ๕ โย สจฺฉิกฏโ  ปรมตโฺ ถ, ตโต โส ปุคคฺ โล อปุ ลพภฺ ติ สจฺฉกิ ฏปรมตเฺ ถนาติ. น เหว วตตฺ พเฺ พ. [ กถาวตถฺ .ุ ๓๗/๑] \"สกวาท:ี อรรถที่แทจ รงิ (= ภูตฏเ) อรรถอยางย่งิ ใด: บคุ คลนน้ั อนั บัณฑติ ยอมเขาไปได เพราะอรรถท่แี ทจริง อรรถอยางยิง่ น้ัน ? ปรวาท:ี บคุ คลน้ัน อนั ทา นไมพ งึ กลา วอยางนนั้ เลย.\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 186 อรรถกถา [ ป. ที. หนา ๑๕๑ ] แกว า เอว น วตตฺ พโฺ พ. อุ. ที่ ๖ สตุ มเย าณ. [ ขุ. ปฏ.ิ าณ. ๓๑/๑] ' ญาณอันสาํ เรจ็ ดวยสุตะ.' อรรถกถา [ สทฺ. ป. หนา ๑๕ ] แกว า สตุ มเย เปน ปจจตั ตวจนะ (ปฐมาวภิ ัตติ) ความวา สุตมย าณ, ทานอาง น เหว วตฺตพฺเพ, วนปฺปคมุ เฺ พ ยถา ผุสสฺ ติ คเฺ ค, นตถฺ ิ อตฺตากาเร เปนอาท.ิ อุ. ท่ี ๗ อสุกคามโต อสกุ คามคมนฏาเน สม, วสิ ม, กทฺทมพหุล, สกฺขรพหุล, กาฬมตฺติก, ตมฺพมตฺติก. [ปวกี ถาปสตุ ปยฺจสตภกิ ฺข.ุ ๓/๑] \"ทไ่ี ปสูบานโนนจากบา นโนน เสมอ, ทไ่ี ป ...โนน ไมเ สมอ, ทไ่ี ป....โนน มากดวยเปอ กตม, ที่ไป....โนน มากดว ยกรวด, ทีไ่ ป... โนน มีดินด,ี ทไ่ี ป...โนน มีดินแดง.\" (ใน อ.ุ น้ี บางทาน ใชเ ต็ม าน หรือ ปวีตล เขามาเปนประธาน). [ ๒ ] สนั นษิ ฐานความเปน มาแกงรูปสัตตมปี จจัตตะ มีดังน้ี :- ในคาํ นําคมั ภรี สัททนีตวิ า ภาษามคธ (มาคธี) มี ๒ อยา ง: ๑. สุทธมาคธี. ๒. อสุทมาคธี หรือ เทสียมาคธ.ี สทุ ธมาคธี วาเปน ภาษาทีพ่ ระพทุ ธเจาใชเ ทศนาสงั่ สอน อสุทธ- มาคธี วาเปน ภาษาพดุ จากนั ของขาวมคธและครู หรือเจา ลัทธิอ่ืนใช สง่ั สอน, และวา อสทุ ธมาคธี หรอื เทสยี มาคธี น้ัน ไมไพเราะหรอื ได

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 187 ระเบียบ เขายกคําของเขาลัทธมิ กั ขลิโคสาล มาตอนหนึง่ วา เหว โทณมเิ ต สุขทกุ ฺเข, ปริยนตฺ กเต สส าเร, นตถฺ ิ หายนวฑฺฒเน, นตฺถิ อุกกฺ ส าวกเ ส เปนตวั อยา ง คําแปลดังปรากฏแลว. สขุ ทุกเฺ ข, สส าเร, หายนวฑฒฺ เน, อกุ ฺกสาวกเส รปู เหมือนสัตตมีไปส้นิ แตอ รรถเปน ปฐมา ฉะนก้ี ระมัง เราจึงเรียกวา สัตตมีปจจัตตะ. อนึ่ง ในภาษาสส กฤต ศพั ทม ที ี่สุดเปน สฺ (ปฐมาวภิ ัตติ ของ สส กฤต ก็ สฺ ) และ ' : ' (วิสรคฺ ซง่ึ แทน ส)ฺ มาสูภาษาบาลีเปน ๒ รูป ืคอื เปน อุ และเปน เอ : สุ = อุ - มิถสฺ = มถิ .ุ สทยฺ สฺ = สชฺช.ุ อาคสฺ = อาค.ุ ส,ฺ : = เอ - สฺวสฺ = เสวฺ . ปุรสฺ = ปเุ ร. อนตฺ : ปรุ = อนฺเตปุร. (นัย อภธิ าน ชลิ เดอรส) เห็นจะเปน เชนน้ีเอง คือ สฺ (ปฐมาวภิ ตั ติ) ของ สสกฤต อันอาจะมาเปน รปู เอ ในบาลี ซง่ึ ในบาลี เอ เปน เครอื่ งหมายสัตตม-ี วภิ ตั ติ เราจึงเรยี กวา สตั ตมีปจ จัตตะ. [ ๓ ] ในคาํ จารกึ หลักศิลาคร้งั พระเจาอโศกมหาราช ก็ใชป ฐมา- ิวภิ ัตติเอกวจนะ ลงทายเปน เอ เขา กบั ศัพท อ การนั ต เชน เทวาน ปเย ปย ทสิลาช. \"พระราชาปย ทสี ทร่ี ักของเทวดา.\" ในคาํ จารกึ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 188 หีบศิลาขดุ ไดท ี่ตาํ บลปป ราหว ะ แขวงเมอื งบัสตแิ ดนเนปอลกเ็ หมือนกัน เชน อิย สลลิ นิธเน. \"นี้ทฝ่ี ง พระสารีริกธาต.ุ \" อนงึ่ ฉฏั ฐีวภิ ัตติเอาวจนะ ลงทา ยเปน เอ เชน คาํ จารึกหลัก ศิลา ฯ วา เทวาน ปย ส ปย ทสิส ลาชิเน. \"ของพระราชาปย ทสี ผเู ปนท่ีรักของเทวดา ท.\" และคําจารึกหบี ศลิ า ฯ เชน พุธส ภควเต. \"ของพระผูม ีพระภาคพุทธเจา ).\" (คัดจากตน ฉบบั ลายพระหตั ถส มเด็จพระมหาสมณเจา ว. ว.). [ ๔ ] ศพั ทนบิ าตท่ใี ชในสัตตมีวภิ ตั ติ เชน กาลสตั ตมี เม่ือใช เปนประธาน บางทานก็สอนใหเรยี กชอ่ื วา สตั ตมีปต ตะ เชน อชชฺ อิทานิ, แตนบิ าตในสตั ตมีนี้ ทานผรู ไู มน ยิ มใชเปน สตั ตมีปจ จัตตะ เชน อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส [ ภกิ ขปุ าฏิโมกข ] สมเด็จพระมหาสมณเจา ว. ว. ทรงแปลงวา ' อโุ บสถวนั น้ที ่ี ๑๕.' [ ๕ ] การใชว ิภัตตหิ น่งึ ในอรรถของอีกวภิ ัตติหนงึ่ นั้นยังมีอีก เชน :- ปฐมาวิภัตติในทุตยิ าวิภัตติ ยสมฺ า จ สงฺคหา เอเต สมเวกขฺ นตฺ ิ ปณฺฑติ า. [ สิงฺคาล. ๑๑/๒๐๗ ] \"กบ็ ณั ฑติ ท. ยอ มพิจารณาสังคหะ ท. นนั่ เหตใุ ด.\" อรรถกถา [ สุ. วิ. ๓/๑๘๘ ] แกว า สงคฺ หา เอเต เปนปจ จัตต- วจนะ ใชใ นอุปโยควจนะ (ทตุ ยิ าวภิ ตั ต)ิ .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 189 ปฐมาวภิ ัตติในตตยิ าวิภัตติ อ.ุ ท่ี ๑ สกกฺ า นุ โข รชชฺ  กาเรตุ อหน อฆาตย อชนิ  อชาปย อโสจ อโสจาปย ธมฺเมน. [ ส. ส. รชชฺ . ๑๕/๑๖๘ ] \"อันเรา อาจหรอื หนอแล เพ่อื เปน ผูไมฆ า เอง ไมใหฆา ไมทําความเสื่อมทรัพย (ของผูอ่นื ) เอง ไมใ หทาํ ความเส่ือมทรัพย (ของผอู นื่ ) ไมโ ศกเอง ไมใหผูอ่ืนโศก ใหทาํ ความเปน พระราชาโดยธรรม. อรรถกถา [สา. ป. ๑/๒๑๒๑ ] แกวา อหน อฆาตยนฺติ อหนนฺเตน อฆาเฏนเฺ คน. อชิน อชาปยตฺ ิ ปรสสฺ ธนชานึ อกโรนเฺ ตน อกเรนฺเตน. อโสจ อโสจาปยนตฺ ิ อโสเจนเฺ ตน อโสจยนเฺ ตน. อหน เปน ตน วกิ ตกิ ัตตา ใน หตุ วฺ า. หุตฺวา สมานกาลกริ ิยา ใน กาเรตุ. อุ. ท่ี ๒ ตสฺมา หิ อตฺตกาเมน มหตฺตมภกิ งฺขตา สทฺธมฺโม ครุกาตพโฺ พ สร พทุ ธฺ านสาสน. [ ส. ส. คารว. ๑๕/๒๐๖ ] \"เพราะเหตุนน้ั แล พระสทั ธรรม อันบุคคลผูรักตน จาํ นงความ เปนใหญ ระลกึ ถงึ คาํ ส่งั สอนของพระพทุ ธเจา ท. พงึ ทาํ ความเคารพ.\" ๑. อรรถกถานี้ แก ปพฺพตสสฺ ในบาทคาถา วา ปพฺพตสสฺ สวุ ณณฺ สฺส วา ปพพฺ โต ภวเยยฺ .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 190 อรรถกถา [สา. ป. ๑/๓๒๘ ] แกวา สร พทุ ธฺ าน สาสนนตฺ .ิ พทุ ธฺาน สาสน สรนเฺ ตน. สร วเิ สสนะของ ปคุ คฺ เลน. ทุติยาวิภัตติ ในสตั ตมีวิภัตติ เอว สนตฺ ป โข เต โปฏปาท อฺ า จ สฺ า ภวิสสฺ ติ อฺโ อตฺตา. [ ท.ี สี. โปฏ ปาทง ๙/๓๒๑] \"โปฏฐปาทะ, เมอ่ื อยา งนนั้ แมมอี ยูแล สญั ญา จกั เปน อยางอนื่ ตนจักเปนอยา งอื่น แกท า น.\" อรรถกถา [ส.ุ วิ. ๑/๔๒๘] แกวา เอว สนฺตนตฺ ิ เอว สนฺเต. ภุมมฺ ฏเ  หิ เอต อปุ โยควจน. อนงึ่ ยงั มีวธิ ีใชในการอกี มาก เชน ฉัฏฐกี มั ม, ฉฏั ฐี (เปน) กรณะ (เขา กับ) ปูรฺ ธาตุ) เปนตน . สรปู อธบิ าย: สตั ตมีปจ จตั ตะ คอื บทวิภัตตริ ูปสตั ตมวี ภิ ตั ติ ใชเ ปน ปฐมาวภิ ัตติ เรียกช่ือตามอรรถท่ีใชนนั้ ๆ. ฉัฏฐปี จ จัตตะ (๔) ในฉัฏฐวี ภิ ัตติ ใชใ นปฐมาวภิ ัตติ เรียกวา ฉฏั ฐีปจจัตตะ. อ.ุ ทุชชฺ วี ิตมชีวมิ ฺหา เยส โน ย ททามหฺ าเส. ตวั อยา งน้ี เยส โน ใชใ นอรรถเหมือน เย มย. อธบิ าย : [ ๑ ] ฉัฏฐปี จ จัตตะน้ี กเ็ ชน เดียวกับสัตตมีปจจัตตะ ตางแตเ ปน ฉัฏฐวี ภิ ตั ติ อ.ุ :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 191 อุ. ที่ ๑ ทชุ ฺชีวติ มชวี ิมหฺ า เยส โน ม ททามหฺ เส. [ ขุ. ชา. โลหกุมฺภ.ิ ๒๗/๑๓๗ ] \"เรา ท. ใด ไมใหแ ลว สิ, เรา ท. น้นั ไดเปน อยูชว่ั .\" (ชาต- กฏั ฐกถา [ ๔/๒๘๕ ] แกเ ปน เย มย) . อ.ุ ที่ ๒ เอกสฺสป เจ ภิกขฺ ุโน นปปฺ ฏภิ าเสยฺย ต ภิกขฺ นุ ึ อปสาเทตุ [ มหาวภิ งฺค ๒/๕๑๘] \"ถา ภิกษแุ มร ูปหนึ่ง ไมกลา วออกไป เพอ่ื จะ รุกรานภกิ ษณุ นี ้นั ไซร.\" (ในมหาวิภงั คนั้น ตอนแจกบทแสดงวา เอกสฺสป เจ ภกิ ฺขโุ น อนปสาทิเต ขาทิสสฺ ามิ ภุฺชสิ สฺ ามีติ ปฏิคคฺ ณฺหาต.ิ ในโยชนาสมนฺต. [ ๒/๑๑๙] วา ปาลิย ปน เอกสสฺ เจป ภิกขฺ โุ น นปปฺ ฏภิ าเสยยฺ าติ เอโ เอต ภกิ ขฺ นุ ึ เจป นปฺปฏภิ าเสยยฺ าติ อตฺโถ. ปจจฺ ตเฺ ต หิ สามิวจน) . [ ๒ ] สตั ตมีและฉัฏฐที ้ัง ๒ นี้ คลาย ๆ กันในบางประการ เชน เปน นทิ ธารณะได, และอีกฝา ยหน่ึงเปนลกั ขณะ อีกฝายหนึ่งเปนอนาทร. ในคําจารกึ เกา ท่ีอางกลาวในขอสัตตมีปจจัตตะแลว ฉฏั ฐีลงทา ยเปน เอ ไดเหมอื นสัตตมี. กเ็ มือ่ สตั ตมยี ังแปลเปน ปฐมาไดแลว (แตวามใิ ชส ัตตม-ี วิภัตติจริง ๆ ตามที่ไดส นั นิษฐานแลว เปน แตรปู เหมือนสัตตมี คอื เอ เพราะยังไมเคยพบ สฺมึ เลย) , ฉฏั ฐกี ็แปลเปนปฐมาได. [ ๓ ] แตม ีขอท่ตี างกันอยูบ า ง คอื สัตตมปจ จัตตะมีทางสันนิษฐาน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 192 วา เปน ปฐมาวิภตั ติในรูปเกา. แตฉ ัฏฐปี จ จัตตะ ตามตัวอยางที่ ไดแลว ไมม ที างสันนษิ ฐานอยา งน้ัน. ทานไมใ ชเปนฉัฏฐีปจจัตตะ ในเม่อื มที างแปลงอยางอ่ืนไดกม็ ี. สรปู อธบิ าย : ฉฏั ฐปี จจัตตะ คือ บทฉฏั ฐวี ภิ ตั ติ ใชเปน ปฐมา- วิภัตติ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 193 สัพพนามนิบาต ๑๗. มสี พั พนามนบิ าต หรอื นบิ าตรูปสัพพนาม ใชใ นสาํ นวน เกา ชัน้ บาลี ใชต ามในช้ันอรรถกถาบาง ดังตอไปนี้ :- เสยยฺ ถที  (๑) เสยฺยถีท เปน นบิ าต, ในบาลีไวยากรณจัดเขา ในนบิ าต หมวดคาํ ถาม, ในวากยสมั พนั ธตอนตน ทา นเรยี กชื่อวา ปจุ ฉฺ นตโฺ ถ นิยมตโฺ ถ. แปลวา ' อยา งไรน้ี.' ตรงกบั คาํ ไทยวา ' คอื .' อุ. อริโย อฏ งฺโก มคโฺ ค เตส อคคฺ มกฺขายติ, เสยยฺ ถที  สมมฺ าทิฏ .ิ .. สมฺมาสมาธ.ิ อธบิ าย : [ ๑ ] เสยฺยถีท ทา นแสดงไวในแบบวากยสัมพันธแ ลว ในนบิ าตหมวดที่ ๓ ขอ ๑๖๕ เรียกชอ่ื วา ปุจฺฉนตโฺ ถ. แตแ สดงใน ท่นี ้ีอกี เพ่ือใหคกู ับ ยททิ  ซ่ึงจะกลาวตอไป. ในอรรถกถาบางแหงแกว า เสยฺยถที นตฺ ิ อนิยมิตนยิ มนิกขฺ ิตฺตอตฺถวภิ าชนฏเ นปิ าโต. [ ส.ุ ว.ิ ๒/๑๒๒ ] \"เสยยฺ ถที  เปน นิบาต ในอรรถวา กําหนดอรรถทย่ี ังมไิ ด กาํ หนดและจําแนกอรรถทย่ี กข้ึนไว.\" เรยี กชื่อตามนี้ แตต ัดใหส น้ั วา วิภาชนตฺโถ หรอื นิยมตโฺ ถ. (อีกอยา งหน่งึ เห็นวาใชเปน ลิงคัตถะ ก็นา ได). แปลวา อยา งไรน้ี ตรงกบั คาํ ไทยวา ' คือ ' ในท่ที วั่ ไปใช นาํ หนา จํานวนบทท่จี ําแนกออก. อุ :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 194 อ.ุ ที่ ๑ อรโิ ย อฏ งคฺ ิโก มคฺโค เตส อคคฺ มกขฺ ายต.ิ เสยฺยถีท สมมฺ า- ทิฏิ...สมมฺ าสมาธ.ิ [อติ ิวตุ ฺตก ๒๕/๑๙๘ ] \" มรรคมีองค ๘ อัน ประเสรฐิ บณั ฑติ กลาววาเลิศกวาธรรมเหลานัน้ คอื สมั มาทิฏฐิ... สัมมาสมาธ.ิ อ.ุ ที่ ๒ สตฺถา...อนุปพุ ฺพกี ถ กเถสิ, เสยฺยถีท ทานกถ สีลกถ สคฺคกถ กามาน อาทนี ว โอการ สงกฺ เิ ลส เนกฺขมฺเม อานิสส ปกาเสสิ. [ จกฺข-ุ ปาลตเิ ถร. ๑/๖] \"พระศาสดา...ตรัสอนปุ ุพพกี ถา คือ ทรงประกาศ ทานกถา สลี กถา สคั คกถา โทษ ความเลวทราม และความเศรา หมอง แหงกามท้ังหลาย และอานิสงสในเนกขัมมะ. ใน อ.ุ น้ี บทท่ีจําแนกออก มีกริ ยิ าอาขยาตซง่ึ รวมกันเขาเปน พากย จงึ สัมพนั ธไ ปตามปกติ. [ ๒ ] บททจี่ ําแนกออก ประกอบวภิ ัตตเิ หมือนบทต้ังเปนพ้นื อุ. :- อ.ุ ท่ี ๑ ....อรยิ  อฏ งฺคกิ  มคคฺ  เทเสสิ ปกาเสสิ, เสยยฺ ถที  สมมฺ า- ทฏิ ึ....สมฺมาสมาธ.ึ [ พระราชนิพนธคําบชู าในพิธีทาํ วตั รวันวิสาข- บูชา] \"แสดง ประกาศซง่ึ มรรคมอี งค ๘ อนั ประเสรฐิ คือ ซึ่งสัมมา- ทิฏฐิ...ซึง่ สมั มาสมาธ.ิ \" (มคฺค บทตัง้ , สมฺมาทิฏ.ึ ..บทจําแนก). อุ. ท่ี ๒ ยถาคตมคฺโคติ โข ภกิ ฺขุ อริยสฺเสต อฏงคฺ กิ สสฺ มคฺคสฺส

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 195 อธิวจน, เสยยฺ ถีท, สมฺมาทิฏยิ า...สมมฺ าสมาธสิ ฺส. [ ส. สฬา. ๑๘/๒๔๒] \"ภกิ ษ,ุ คาํ นน่ั วา ' มรรคตามที่มาแลว ' แล เปน ช่อื แหงมรรคมอี งค ๘ อนั ประเสรฐิ , คือ แหง สมั มาทิฏฐิ....แหง สัมมา- สมาธิ.\" (มคคฺ สสฺ บทตั้ง, สมมฺ าทฏิ  ยิ า...บทจําแนก). ในบางแหง แตน อ ย บทตงั้ เปนวภิ ตั ติอืน่ สวนบทจําแนก ทาน ประกอบเปนปฐมาวิภัตต.ิ อุ. กลุ ลฺ นตฺ ิ โข ภกิ ขฺ เว อริยสเฺ สต. อฏ งฺคิกสสฺ มคคฺ สฺส อธวิ จน, เสยสฺ ถที , สมมฺ าทฏิ  ิ....สมมฺ าสมาธิ. [ ส. สฬา. ๑๘/๒๑๙ ] \"ภิกษุ ท., คํานัน่ วา ' แพ (หรือทุน)' แล เปนช่อื แหงมรรคมีองค ๘ อันประเสริฐ คอื สัมมาทฏิ ฐิ...สมั มา- สมาธ.ิ \" (มคคฺ สสฺ บทตัง้ , สมฺมาทิฏฐ.ิ ..บทจําแนก). [ ๓ ] เสยยฺ ถีท นี้ ทา นแกความดวย กตม ศพั ทกม็ ี จงึ ควร เปน ที่สังเกตของนกั ศึกษา. (เสยยฺ ถที นตฺ ิ เต กตเมติ อตฺโถ. มโน. ปู. ๓/๗๙). อนงึ่ นา สงั เกตวา วิธจี าํ แนกบทดวยวาง เสยนฺ ถีท นี คลาย กนั กับจาํ แนกดว ยวาง อิติ ศัพท ทใี่ ชม ากในรุน อรรถกถา. เร่ืองน้ีได แสดงแลวในตอนท่ีวาดวยสรปู (บทกาํ หนดโดยวิภาค) สว นทส่ี รูปใน อิตศิ พั ทข างตน . การเรียกสมั พันธ กพ็ ึงอนุโลมบทสรูปในอิตศิ พั ทน นั้ คือ ถาบทจาํ แนกเปนปฐมาวิภตั ติ บอกเปนลิงคัตถะ สรูปใน เสยฺยถีท. ถา บทจําแนกเปน วภิ ัตติอื่น อนวุ ัตบทตงั้ เรียกเหมือนบทตัง้ และบอก สรปู ใน เสยฺยถที . สรปู อธบิ าย. เสยฺยถที  เปน นบิ าต ใชใ นคําถาม เรียกชอ่ื วา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 196 ปจุ ฺฉนตฺโถ, อกี อยางหนึ่ง เรียกช่ือวา วภิ าชนตโฺ ถ, หรือ นยิ มตโฺ ถ เพราะใชในอรรถท่ียังมไิ ดก าํ หนด จาํ แนกอรรถทยี่ กขนึ้ ไว. หรือจะใช เปนลงิ คัตถะก็นา ได. ตรงกบั คําไทยวา ' คอื .' ยททิ  (๒) ยททิ  ทา นวาเปน นบิ าต, ในอรรถกถาท้งั ปวง แกอ รรถ เปน สัพพนาม ในอรรถ ย ศัพท (ย+อทิ ) ใชเ ปนวเิ สสนะ (นใ้ี ด, นี้ไรเลา ) บา ง เปน กิรยิ าปรามาส (นี้ใด) บา ง. นีเ้ หมือน ย สัพพนามโดยปกติ ตา งแต ยทิท เปนวเิ สสนะของนามนาม ได ทุกลิงค ทุกวจนะ. อ.ุ :- วิเสสนะ : คหน เหต ภนฺเต; ยทิท มนสุ สฺ า. อุตตฺ าน เหต ภนเฺ ต; ยททิ  ปสโว. กริ ิยาปรามาส: อปปฺ ายสุ ว ตตฺ นิกา เอสา มาณว ปฏปิ ทา, ยทิท ปาณาตปิ าตี โหติ ลุทฺโท. อีกอยางหน่งึ ทา นแปล ยทิท วา 'คือ' (ยทฺ+อทิ ) เหมอื นอยา งถามใหกําหนดอรรถท่ียงั มไิ ดกําหนด เชน เดยี วกบั เสยฺยถีย จึงใชเปน นบิ าตไดอกี อยา งหนง่ึ เรยี กชอ่ื วา ปจุ ฉฺ นตโฺ ถ เหมือนเรยี ก เสยยฺ ถนี  ในแบบวากยสมั พันธต อนทวี่ า ดวยนิบาต หรือ ินยิ มตโฺ ถ เหมือนเรยี ก เสยยฺ ถีท ในอรรถกถาบางแหง (น้ไี รเลา , คอื ). อธบิ าย : [ ๑ ] บทวา ยททิ  น้ี ในอรรถกถาแกเปนสพั พนาม

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 197 ในอรรถ ย ศพั ท และตดั บทเปน ย+อิท, ใชเปน บทวิเสสนะบาง กิรยิ า- ปรามาสบาง เหมือน ย สพั พนาม. แตเพราะ ยททิ  คงรูปอยอู ยางเดยี ว ทัง้ ใชเ ปนวิเสสนะของบทนามทกุ ลิงคท กุ วจนะ. ในอรรถกถา ทาน จึงยกเปน นบิ าต. ไมเชนนน้ั ทานก็วา เปน ลงิ ควปิ ลลาส ดงั คาํ วา ยททิ  สภาวธมฺโม. [ อภ.ิ วิ. ปมปริจเฺ ฉท. น. ๖๖ ] ในโยชนา [ ๑/๑๗๕-๑๗๖ ] วา ยททิ  เปนลิงควิปล ลาส แสดงสมั พันธเปน วิเสสนะ ของ สภาวธมโฺ ม. รูปประโยค ยททิ  ในท่ที ง้ั ปวง อาจจําแนกเปน ๓ ประเภท ดงั นี้ :- รปู ประโยค ยทิท ประเภทท่ี ๑ ยททิ  เม่อื ใชเปนสรรนาม ในอรรถ ย ศพั ท ก็ตองมี ต ศัพท รับ, โดยปกติทานวาง ต ศพั ทไ วชัดเจน ในอนุประโยคหนา อุ. :- ยทิท เปน วิเสสนะ อ.ุ ที่ ๑ คหน เหต ภนฺเต, ยทิท มนุสสฺ า. อุตฺตาน เหต ภนเฺ ต, ยททิ  ปสโว. [ม. ม. กนฺทรก. ๑๓/๔ ]\" ขา แตพระองคผูเ จริญ, แทจริง, มนษุ ย ท. นีใ้ ด, มนษุ ยน่ันซบั ซอ น (หยงั่ ยาก). ขาแต พระองคผูเ จรญิ , แทจ ริง, ปสุ ท. นใ้ี ด, ปสนุ นั่ เผิน (หยั่งงาย).\" ยททิ  วิเสสนะ ของ มนสุ สฺ า. มนุสสฺ า ลิงคัตถะ. ยททิ  วเิ สสนะ ของ ปสโว. ปสโว ลิงคตั ถะ. อ.ุ ที่ ๒ เอตทคคฺ  ภกิ ขฺ เว มม สาวกิ าน อุปาสิกาน พหุสฺสตุ าน.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 198 ยททิ  ขุชชฺ ุตฺตรา. [ องฺ. เอก. ๒๐/๓๔ ] \"ภกิ ษุ ท., ขชุ ชตุ ตรา นใี้ ด, ขุชชุตตรานั่น เปนยอกแหง อบุ าสิกา ท. ผสู าวกิ าของเราผู พหูสตู .\" ตัวอยา งทั้ง ๒ น้ี มใี นสามาวตีวัตถ.ุ แตตัวอยางหลงั ในสามาวตี- วตั ถุ เปน ธมฺมกถิกาน ตางจากบาลี, ในทนี่ ้ใี ชต ามบาล.ี อ.ุ ที่ ๓ เอส ปจจฺ ยโย ชรามรณสสฺ , ยททิ  ชาติ. [ท.ี มหา. มหานิพฺพาน ๑๐/๖๗ ] \"ชาตินใี้ ด, ชาติน่ันเปน ปจจัยแหงชราและมรณะ. ยททิ  เปนกิรยิ าปรามาส อุ. ท่ี ๑ อปฺปายสุ วตตฺ นกิ า เอสา มาณว ปฏิปทา, ยททิ  ปาณาติปาตี โหติ ลุทโฺ ท โลหิตปาณี หตปหเต นิวฏิ โ  อทยาปนฺโน ปาณภูเตสุ. [ม. อุ. สุภ. ๑๔/๓๗๗ ] \"บคุ คลเปน พราน ฆาสตั ว มีมอื เปอ นเลอื ด ตั้งอยูในการฆาการประหาร ไมถึงความเอน็ ดูในสัตว ท. นีใ้ ด, มาณพ, (ปฏิปทา) นน่ั เปน ปฏิปทาทีใ่ หเปนไปเพือ่ มีอายุนอย.\" ยททิ นตฺ ิ ปท โหตีติ ปเท กริ ิยาปรามสน. อุ. ที่ ๒ เอตทคคฺ  ภกิ ฺขเว เปยฺยวชชฺ าน, ยททิ  อตถฺ กิ สฺส โอหิตโสตสฺส ปุนปฺปนุ  ธมมฺ  เทเสต.ิ [องฺ. นวก. ๒๓/๓๗๗ ] \"ภิกษยุ อ มแสดง ธรรมบอยๆ แกผทู าํ ใจใหมีประโยชน เงย่ี โสตนีใ้ ด, ภกิ ษุ ท.,

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 199 (การแสดงธรรม) นั่น เปน ยอดแหง ความกลา ววาจาเปน ทรี่ กั ท.\" ขอสงั เกต : วธิ แี ปลแบบของไทยอยา งหน่ึง ทานสอนใหหาบท โยคของ ยทิท ทีเ่ ปนนปสุ กลงิ ค และใหแปลบทนานามถดั ยททิ  วา คอื ....อยางวเิ สสลาภี เชน ยททิ  ขชุ ฺชุตตฺ รา แปลยกศพั ทว า ยทิท ขนฺธปฺจก ขนั ธปญจกะนีใ้ ด ขชุ ชฺ ุตตฺ รา คือขุชชตุ ตรา, บทโยค ของ ยทิท น้ี ใชเ ปนบทโยคของ ต ศัพทที่เปนรูปนปสุ กลิงคดวย. วิธี นไี้ มถ ือ ยททิ  เปน นิบาต หรอื เปนลิงคว ิปลลาส ถือวาเปน นปุส กลงิ ค ธรรมดา จึงตอนหาวธิ แี ปลเพอ่ื รกั ษาลิงค ดูขยกั ขยอนอยู. และถา บทนามนามถัด ยทิย เปนนปุสกลิงคด วยกัน เชน ยททิ  ธมฺมทาน (ซ่ึงจดั แสดในขอ วา ดว ย เอตทคคฺ ) จะแปลอยางน้ัน หรือจกั ใช ยทิท เปนวเิ สสนะ ของ ธมฺมทาน ทีเดียว, ถา จะใชอ ยางหลงั วธิ แี ปล กไ็ มลงกนั , ถาจะใหล งกันกด็ ไู มจ าํ เปน.ถายก ยททิ  เปน นิบาต หรือ เปน ลิงควิปลลาส ก็หมดปญ หา ไมต องแปลขยกั ขยอน. รปู ประโยค ยททิ  ประเภทท่ี ๒ [ ๒ ] ประโยค ยททิ  ตามตวั อยางในขอ [ ๑ ] วาง ต ศพั ท ไวใ นอนุประโยคหนา ใช เอต ศพั ทเ ปน พ้ืน และมักประกอบเปน รูป นปสุ กลิงคเ หมอื น ยทิท. ยงั มีประโยค ยททิ  อีกรปู หนึง่ ไมวาง ต ศพั ท ไวใ นอนปุ ระโยคหนา และไมวางไวในตอนไหน, ในอรรถกถาแกฝาก ต ศพั ทไวแกบทนามนามถดั ยทิท, ตัด ยททิ  ใหเ ปน ประโยคลงิ คตั ถะ อกี ประโยคหน่ึง โยคบทนามนามนน้ั . อุ :-