Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Published by ton love, 2022-06-27 03:05:18

Description: เล่ม 2 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Keywords: อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 200 อุ. ที่ ๑ เอว สว ฑฺฒา หิ ตสสฺ ภควโต ปรสิ า, ยททิ  อฺมฺวจเนน อฺ มฺวุฏ าปเนน. [ มหาวิภงฺค ๑/๔๑๑] \"เพราะวา บริษทั ของพระผมู ีพระภาคเจาน้นั เจริญแลว ดว ยอาการอยางน้.ี (การวา กลา ว ซงึ่ กันและกัน การเตือนกันและกันใหออกจากอาบัตนิ ้ีใด), ดวย การวา กลาวซ่งึ กันและกัน ดวยการเตอื นกนั และกนั ใหออกจากอาบตั ิ (นนั้ ).\" ตั้งแต ยทิท ประกอบเปนภาษามคธวา ยททิ  อฺมฺวจน อฺมฺวุฏ าปน, เตน อฺ มฺวจเนน อฺ มฺวุฏาปเนน. อุ. ที่ ๒ หตฺถิปท เตส อคคฺ มกขฺ ายติ ยทิท มหนฺตตเฺ ตน. [ม. ม.ู มหาหตฺถปิ โทปม. ๑๒/๓๔๙] \"รอยเทาชา ง บณั ฑิตกลาววา เลิศกวา รอยเทา เหลา นนั้ เพราะ (ความท่แี หง, รอยเทา ชางนใ้ี ด) รอยเทา ชา ง (น้ัน) เปนของใหญ. ตัง้ แต ยทิท ประกอบเปนภาษามคธวา ยทิท หตฺถิปท. ตสสฺ หตถฺ ิปทสฺส มหนตฺ ตฺเตน. อุ. ที ๓ กมมฺ  สตฺเต วภิ ชติ หนี ปปฺ ณีตตาย. [ ม. อุ. สภุ . ๑๔/๓๗๖ ] \"กรรมยอมจาํ แนกสตั ว ท. เพือ่ (ความทแ่ี หง , สัตว ท. นใ้ี ด สัตว ท. (นนั้ ) เปน ผูเ ลวและด.ี

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 201 ตั้งแต ยทิท ประกอบเปนภาษามคธวา ยทิท สตาฺ , เตส สตฺตาน หนี ปฺปณตี ตาย. อ.ุ ท่ี ๒-๓ นี้ ฝาก ต ศัพท ทบ่ี ทภาวาทสิ ัมพันธ และ ประกอบบทน้นั ใหเปนบทโยคของ ยทิท. นี้ก็อนโุ ลม อ.ุ ที่ ๑. ประโยค ยททิ  ประเภทท่ี ๓ [ ๓ ] ตามตวั อยางในขอ [ ๑ ] บทนามนามถัด ยททิ  เปน ปฐมาวิภัตตเิ ปน ลิงคตั ถะ วาง ต ศพั ทไวในอนปุ ระโยคหนา , ตาม ตวั อยางในขอ [ ๒ ] บทนามนามถดั ยทิท เปนวิภัตตอิ ่นื จากปฐมา- วิภตั ติ ไมมี ต ศพั ท ตอ งฝาก ต ศัพทแ กบ ทนามนามน้ัน หรือบทที่ เนื่องแกบ ทนามนามนั้น ความก็พอยังได, แตย งั มปี ระโยค ยทิท อกี มาก ไมไดวาง ต ศพั ทไ ว และจกั ฝาก ต ศัพทไวแ กบ ทใดบทหน่ึงใหร ับ กนั กไ็ มถนดั , ในท่เี ชน น้ี ทา นแตก อ นจงึ แปลวา ' นไ้ี รเลา ' เลีย่ งคาํ วา ' ใด' เพอ่ื ไมตอ งมี ' นน้ั ' รบั . อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ ตถาคตสาวกสงโฺ ฆ เตส อคคฺ มกฺขาติ, ยททิ  จตตฺ าริ ปุริสยคุ านิ อฏ ปรุ ิสปุคฺคลา [ อติ วิ ุตฺตก ๒๕/๒๙๘ ] \"หมูสาวก ของพระตถาคต บัณฑติ กลาววา เลศิ กวาหมเู หลานั้น, คูแ หงบรุ ษุ ท. ๔ บุ ุรุษบุคคล ท. ๘ นี้ไรเลา .\" ยทิทนตฺ ิ ปท ปุริสยุคานตี ิ จ ปรุ สิ ปคุ คฺ ลาติ จ ปททวฺ ยสสฺ วเิ สสน. 

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 202 แปลอยา งนี้ เหมอื นยกประโยคหนา เปน ประโยค ต หรอื ต ศพั ท แฝงอยใู นประโยคหนา. ยทิท หรอื ย ศัพทท ง้ั ปวง อาจแปลอยา งน้ี ไดต ามเหมาะ. (บาลีอตั ตปั ปสาทสตุ ต ตอนนี้ในจตุกกนบิ าต อังคตุ ตร- นิกาย [ ๒๑/๔๕ ] มีตอ เอส ภควโต..ปุฺกเฺ ขตฺต โลกสฺส, แตในอติ วิ ุตตกะน้ไี มมี. ถึงจะมตี อ เอส กเ็ ห็นวา เอส ไมใชเปน บท รบั ยทิท. เพราะไมใ ชลกั ษณะอนุประโยค ต ศพั ทท ใ่ี ชในประโยค ยททิ  พึงเทียบดู). อกี อยางหน่งึ ทานใชอยา ง เสยฺยถยี  (คอื ) เชน เอว สว ฑฺฒา... อฺมฺ วุฏ าปเนน สมเดจ็ พระมหาสมณเจา ว.ว. ทรงแปลวา \"เพราะบรษิ ัทของพระผูมพี ระภาคเจานัน้ เจรญิ แลวดวยอาการอยา งน้ี คือ ดว ยวา กลาวซ่งึ กันและกนั ดวยเตือนกันและกันใหอ อกจากอาบัต.ิ \" เพราะฉะน้ัน จึงใชเ ปน นบิ าตอยา ง เสยยฺ ถีท ไดอีกอยา งหน่ึง แปลวา 'น้ไี รเลา ' (โดยพยญั ชนะ), 'คอื ' (โดยอรรถ) เรยี กชอ่ื วา ปจุ ฉฺ นตฺโถ ตามทที่ านเรียกไวแ ลว ในแบบวากยสัมพนั ธ ตอนทว่ี า ดว ย นิบาต, หรอื นยิ มตโฺ ถ ตามท่เี รยี กในอรรถกถา [ สุ. ว.ิ ๒/๑๒๒] (หรอื เรยี กวา ลิงคัตถะ กน็ า ได, ความอยา งเดยี วกัน). พิจารณาดใู นประโยคมาก ยทิท กบั เสยฺยถีท เทยี บกนั ได แตมีขอ ทต่ี างกนั คือ ยททิ  มุงกําหนดอรรถทยี่ งั มไิ ดก ําหนดอยางเดยี ว เสยฺยถีท มุงกาํ หนดดงั น้ัน และจาํ แนกขอดวย อ.ุ เทยี บกัน คือ :- ยททิ  ตถาคตสาวกสงฺโฆ เตส อคคฺ มกฺขายติ, ยททิ  จตฺตาริ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 203 ปุรสิ ยุคานิ อฏ ปุริสปคุ ฺคลา. เสยฺยถีท อรโิ ย อฏงคฺ โิ ก มคฺโค เตส อคฺคมกขฺ าติ เสยฺยถที  สมฺมาทิฏิ...สมมฺ าสมาธิ. [ อิติวุตตฺ ก. ๑๕/๒๙๘]. อ.ุ ที่ ๒ วมิ ุตติ าณทสสฺ น อนุปาทาปรินพิ พฺ านตถฺ าย, เอตทตถฺ า กถา..., ยททิ  อนปุ าทา จติ ฺตสสฺ วิโมกฺโข. [สมนฺต. ๑/๑๐๗ ]. \"วิมตุ ติญาณทัสสนะ เพ่อื อนปุ าทาปรนิ พิ พาน, กถามีอนปุ าทาปริ- นิพพานนนั้ เปนประโยชน คอื ความพนแหง จิต เพราะไมยดึ ม่ัน.\" ใน อ.ุ น้ี เอต [ -ทตฺถา ] มุงยอ นกลบั ไปหาอนปุ าทาปรนิ ิพพาน จะใชร ับ ยททิ  ไมไ ด, จงึ แปล ยทิท ไดแ ตอ ยา งเดียววา ' คอื .\" อุ. ท่ี ๓ อหฺหิ พรฺ าหมฺ ณ พหชุ นหิตาย ปฏิปนฺโน พหชุ นสขุ าย พหสุ ฺส ชนาตา อรเิ ย าเย ปติฏาปต า, ยททิ  กลฺยาณธมฺมตา กลุ สธมมฺ ตา. [ องฺ. จตกุ กฺ ๒๑/๔๗ ] \"พราหมณ, เราแล ปฏบิ ตั ิ เพ่ือเกอื้ กูลแกช นมาก เพอ่ื สุขแกชนมาก, ยงั ประชุมชนมากใหต ง้ั อยู ในายธรรมอนั เปน อริยะ คอื ความเปนกลั ยาณธรรม ความเปน กุศลธรรม.\" (พหุสสฺ ชนตาติ พหุ อสฺส ชนตา. อทิ ฺจ กรณตฺเถ สามิวจน เวทิตพพฺ . มโน . ป.ู ๒/๓๘๘). ใน อ.ุ นี้ บทที่พึงกาํ หนด (อริเย าเย) เปนสัตตมวี ภิ ัตติ, สวนบทกําหนด (กลฺยาณธมฺมตา กุสลธมฺมตา) เปน ปฐมาวิภัตติ,

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 204 ท้งั ๒ จึงตางวิภัตติกนั . อกี อยางหนึง่ ทานประกอบวิภตั ติเสมอกัน อ.ุ พนฺธนา.วิปฺปโมกโฺ ข โหติ, ยทิท อวชิ ฺชาพนธฺ นา [ ม. ม. เวกฺขณ. ๑๓/๓๗๒ ] \"เปน ผพู นจากเครอื่ งผกู คือ จากเคร่อื งผกู คอื อวชิ ชา.\" [ ๔ ] ตวั อยา งท่ียกมาแสดงต้ังแตตนนี้ เพือ่ แสดงวา ยททิ  ใชใน รปู ประโยคหลายอยาง ต้งั แตวาง ต ศัพทไวชดั เจน และเลือนไปจน ถึงตอ งฝาก ต ศพั ท จนถงึ หาท่ฝี ากไมได กลายเปนนบิ าต (โดยการ ใช) ในพวก เสยยฺ ถที . ประโยคท่วี าง ต ศัพทไ ว หรอื ทีฝ่ าก ต ศัพท ลงได เวลาแปลตดั ย-ต ไมป รากฏ ยทิท, ถาจะใหปรากฏก็ตอ งแปล ยททิ  วา 'คอื ' และตั้งรปู คําแปลใหม เชน เอส ปจฺจโย ชรามรณสสฺ ยทิท ชาติ แปลวา \" น่นั เปนปจ จยั แหงชราและมรณะ คือ ชาติ \" แปล อยา งนี้ ใกลก บั รปู บาลี. ผูเพงภาษานิยมแปลดังนี.้ บทกาํ หนดดวย ยททิ  น้ี คลา ยกนั กับวเิ สสนลาภ.ี อาจเทียบกันได ดังน:้ี บทกําหนดบทเดยี ว เปนวเิ สสลาภี, หลายบท เปนสรูป, แม แสดงกําหนดดวย ยทท ฺ-เสยยฺ ถีท นีก้ เ็ หมือนกนั , แสดงกําหนดบทเดยี ว ใช ยททิ . แสดงกําหนดหลายบท ใช เสยฺยถที . ฉะนั้น การแสดง สมั พนั ธ พึงสังเกตวธิ ีเรยี งวิธเี ขาในท่ีโนน มาใชใ นทน่ี ตี้ ามสมควร. อน่งึ ในประโยคทกี่ าํ หนดบทเปนเหตุ เชน ยทิท มหนตฺ ตฺตาย, แปล ยททิ  วา'คอื ' เขา ความไมถนดั , แปลเปนปจุ ฉนัตถะทถี่ ามถงึ เหตุ (หรอื ใชเ ปน วิเสสนะ ของ การณ. การณ เหต)ุ เขาความได, ในเวลาแปลโดยอรรถ มกั ไมป รากฏ. ยทิท ทกี่ าํ หนดถามถงึ เหตุน้ี คลาย กกึ ารณา หรอื ต กสิ สฺ เหต,ุ แต กึการณา เปนสํานวนใหม,

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 205 และ ต กิสสฺ เหตุ กใ็ ชใ นทม่ี ีคาํ ตอบเปน ประโยค เชน เตสาห ธมฺม เทเสมิ...ต กสิ ฺส เหต,ุ เอเต หิ คามณิ ม ทปี า...วิหรนตฺ .ิ [ส. สฬา. ๑๘/๓๘๘] \"เราแสดงธรรมแกภ กิ ษแุ ละภกิ ษณุ ีเหลา นน้ั , ขอ นน้ั เพราะเหตแุ หง อะไร ? นายบา น, เพราะชน (คือภิกษแุ ละภิกษุณ)ี เหลา นน้ั เปนผมู เี ราเปนเกาะ...อยู.\" นีเ้ ปนขอพึงสงั เกต. สรูปอธบิ าย: ยททิ  เปนนบิ าต ใชเปนสพั พนาม คอื เปน วิเสสนะ บา ง (น้ใี ด, น้ไี รเลา) กิริยาปรามาสบาง (น้ใี ด) เหมอื น ย ธรรมดา ตางแต ยทิท เมอ่ื ใชเ ปน วเิ สสนะ กเ็ ปน วิเสสนะของบทนาทนามไดท ุก ลิงคท ุกวจนะ เพราะยกเปนนิบาตแลว กห็ มดปญหา. อกี อยา งหนึง่ ยททิ  ทานใชอยาง เสยฺยถที  (น้ไี รเลา, คือ) เรยี กชอื่ วา ปจุ ฺฉนตฺโถ หรอื นยิ มตโฺ ถ. บาลแี ละอรรถกถาทมี่ าแหง ยททิ  บาลี เอส ปจฺจโย ชรามรณสสฺ , ยททิ  ชาติ. [ ท.ี มหา. มหานิทาน ๑๐/๖๗]. อรรถกถา ยทิท ชาตตี ิ เอตถฺ ยททิ นฺติ นิปาโต, ตสสฺ สพฺพปเทสุ ลิงคฺ านุรปู โต อตถฺ โต เวทติ พฺโพ, อธิ ปน ยา เอสาติ อยมสสฺ อตฺโถ, ชรามรณสฺส หิ ชาติ อุปนิสฺสยโกฏยิ า ปจฺจโย โหต.ิ [ ส.ุ วิ. ๒/๑๒๓].

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 206 บาลี เอว สว ฑฒฺ า-อฺ มฺวฏุ  าปเนน. [มหาวภิ งฺค ๑/๔๑๑]. อรรถกถา ยททิ นตฺ ิ วฑุ ฺฒกิ ารณนิทสฺสนตฺเถ นิปาโต, เตน ย อทิ  อฺมฺวฏุ าปเนน จ สว ฑฺฒา ปรสิ าติ เอว ปรสิ าย วุฑฒฺ กิ ารณ ทสฺสติ  โหต.ิ [ สมนฺต. ๒/๑๒๗]. บาลี จนทฺ โน เตส อคคฺ มกขฺ ายติ, ยทิท มุทตุ าย เจว กมมฺ ฺ ตาย จ. [ องฺ. เอก. ๒๐/๑๑]. อรรถกถา ยททิ นตฺ ิ นิปาตมตฺต. [ มโน. ป.ุ ๑/๖๑]. บาลี ยททิ  จตตาริ ปรุ ิสยคุ านิ อฏ ปุริสปคุ ฺคลา. [ ข.ุ อติ ิวตุ ฺตก ๒๕/๒๙๘ ]. อรรถกถา ยทิทนตฺ ิ ยานิ อมิ านิ. [ขุ อติ .ิ ป. ท.ี ๓๗๔]. บาลี ยททิ  มทนิมฺมทโน...นพิ ฺพาน. [ข.ุ อติ ิวตุ ฺตก ๒๕/๒๙๘ ]. อรรถกถา ยททิ นตฺ ิ นปิ าโต, โย อยนฺติ อตโฺ ถ. [ ขุ. อติ ิ. ป. ท.ี ๒๗๓].

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 207 เอตทคฺค (๓) เอตทคฺค ทา นตัดเปน บท เอต+อคคฺ  และใชไ ด ในลิงคทั้ง ๓, พงึ ถือเปน นบิ าตเหมือน ยทิท เพราะใชคงรูปอยู อยา งเดยี ว.ในปทานุกรมบางฉบับ แสดงเปนบทสมาสวา เอตทฺ (ในภาษาสส กฤต, แตใ นบาลไี มมีพยญั ชนะการนั ต จึงลงวา ทฺ อาคม) +อคฺค ทาํ สนธเิ ปน เอตทคคฺ  ใหความหมายรวมกันวา อัครฐาน ยอด เปนตน. เอตทคคฺ  เรยี กช่อื ตามอรรถที่ใช. อ.ุ เอตทคคฺ  ภิกฺขเว มม สาวิกาน อปุ าสกิ าน พหสุ สฺ ตุ าน, ยทิท ชุชฺชตุ ฺตรา. อธบิ าย : [ ๑ ] ในอรรถกถาตอนแก เอตทคั คบาลี ในเอกนบิ าต อังคุตตรนิกาย ตัดบท เอตทคคฺ  เปน เอต อคฺค [นโม. ป.ู ๑/๑๓๑] และแกอ รรถของบท ไปตามลิงคท ั้ง ๓ คือเปน เอส อคฺโค , เอสา อคฺคา, หรอื คงเปน เอต อคฺค. นี้แกอ รรถคอื ความ, แตโดย พยญั ชนะ คงใชว า เอตทคคฺ  รูปเดยี ว, ชื่อเรยี กตามอรรถทใี่ ช คือ เอต เปน วิเสสนะ, อคคฺ  เปนวิกติกัตตา หรอื วเิ สสนะ. อ.ุ :- อ.ุ ท่ี ๑ เอตทคคฺ  ภิกขฺ เว มม สาวิกาน อปุ าสกิ าน พหุสฺสุตาน, ยทิท ขชุ ชฺ ตุ ตฺ รา . [ องฺ เอก. ๒๐/๓๔ ] \"ภกิ ษุ ท., ขุชชุตตราน้ใี ด, ขุชชุตตรานั่น เปน ยอดแหงอบุ าสิกา ท. ผูสาวกิ าของเรา ผพู หูสูต.\" เอตนฺติ ปท ขชุ ชฺ ตุ ตฺ ราติ ปทสฺส วิเสสน. อคคฺ นฺติ ปท โหตตี ิ ปเท วิกตกิ ตฺตา, โหติติ ปท ขชุ ชฺ ตุ ฺตราติ ปทสฺส กตฺตุวาจก

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 208 อาขยฺ าตปท. ภิกขฺ เวติ ปท อาลปน. มมาติ ปท สาวกิ กานฺนติ ปทสสฺ สมพนฺโธ, สาวิกานนตฺ ิ จ พหุสฺสตุ านนฺติ จ ปททฺวย อปุ าสกิ านนฺติ ปทสสฺ วิเสสน. อุปาสกิ านนตฺ ิ ปท นทิ ธฺ ารณ. ขชุ ฺชตุ ตฺ ราติ ปท อปุ าสกิ านนฺติ ปทสสฺ นทิ ธฺ ารณยิ , โหตีติ ปเท สยกตตฺ า. ยทิทนฺติ ปท ขุชชฺ ตุ ตฺ ราติ ปทสฺส วิเสสน. ขชุ ชฺ ุตฺตราติ ปท ลงิ ฺคตฺโถ (อีกอยางหนง่ึ อคฺค ศัพท ไมถ ือเปนอตวิ เิ สสคุณศัพท, บอก อปุ าสิกาน เปนอปาทาน ใน อคฺค [ เหมือนในโยชนาอภิธัมม]. หรอื ใน โหติ). อุ. ท่ี ๒ เอตทคฺค ภิกขฺ เว อตตฺ ภาวนี , ยททิ  ราหุ อสรุ นิ ฺโท. [ องฺ. จตุกกฺ . ๒๑/๒๒ ] \"ภิกษุ ท., ราหู ผจู อมอสูรนี้ใด, ราหผู จู อมอสูรนั่น เปน ยอดแหง ผูมอี ัตภาพ ท. \" (ยททิ  ราหุ อสรุ ินโฺ ทติ โย เอส ราหุ อสุรนิ ฺโท, อย อคฺโค นาม. มโน. ป.ู ๒/๓๔๐). คําแปลอีกแบบหน่ึง \"ภิกษุ ท., น่นั เปน ยอดแหงผูมีอตั ภาพ ท. คือราหู ผูอ สุรนิ ท. \" อุ. ที่ ๓ เอตทคฺค ภิกขฺ เว อเิ มส ทฺวนิ นฺ  ทานาน, ยทิน ธมมฺ ทาน. [ ข.ุ อิตวิ ุตฺตก ๒๕/๓๐๕] \"ภกิ ษุ ท., ธรรมทานนีใ้ ด, ธรรมทาน นั่น เปนยอดแหงทาน ท. ๒ น.้ี \" (ยททิ นตฺ ิ ย อิท ธมมฺ ทาน วตุ ฺต, เอต อิเมสุ ทวฺ ีสุ ทาเนสุ อคฺค เสฏ  อุตฺตม. ข.ุ อิต.ิ ป. ที ๔๐๔).

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 209 คาํ แปลอีกแบบหน่งึ \"ภกิ ษุ ท., นน่ั เปน ยอดแหง ธรรม ท., ๒ เหลาน้ี คอื ธรรมทาน.\" [ ๒ ] ในการยกศัพทแปลวา \"ขชุ ชฺ ตุ ตฺ รา ขชุ ชตุ ตา ยททิ  นีใ้ ด, ขชุ ชฺ ตุ ฺตรา ขชุ ชุตตรา เอต นน่ั อคคฺ  โหติ เปน ยอด.\" อาจเกดิ ความรไู มสนทิ , ทา นจึงอาจสอนใหวิวรณะ คอื ไขไปหาลงิ ค ของบทนามนาม เชนวา ขชุ ฺชุตฺตรา ขุชชตุ ตรา. ยททิ  เมาะ ยา เอสา, ยา เอสา. นใ้ี ด. เอต เมาะ เอสา. เอสา ขุชชฺ ตุ ตฺ รา ชชุ ชุตตรา น่นั . อคคฺ  เมาะ อคคฺ . อคคฺ า โหติ เปน ยอด.... ดกู ็เขา ที แตพึงทราบวา น่ันเพยี งเพือ่ แสดงวา ยทิท เทา กบั ยา เอสา เปนตน , ในเวลาสมั พนั ธไมพ ึงบอกเปน ววิ ริยะ-วิวรณะ พึงบอก เขา โดยตรง, หรือบอกวิวรณะดวยอยางยกศัพทแปลกไ็ ด. [ ๓ ] เอตทคฺค นี้ ถา ถอื เปน บทสมาส เหมอื นที่แสดงไวใน ปทานุกรมบางฉบบั แปลวา เอตทัคคะ หรอื ผเู อตทคั คะ บอก สัมพนั ธเปนลงิ คตั ถะหรือวิเสสนะก็ได เหมือนดงั อ.ุ ท่ี ๒ แปลวา \"เอตทัคคะ (หรือผเู อตทคั คะ) แหงอุบาสิกา ท. ผูสาวกิ าของเรา ผพู หสู ตู คือ ขชุ ชตุ ตรา.\" สรปู อธบิ าย : เอตทคฺค พงึ ถอื เปนนบิ าต ใชไดใ นลิงคทั้ง ๓ เหมอื น ยททิ  เรยี กช่ือตามอรรถทใี่ ช. อทิ  (๔) อทิ  นิบาต มใี ชใ นคําเกา มากแหง โดยมากใชร วม เขากับศพั ทอ ่ืน , พบเปน พ้นื อยูค อื เสยฺยถที  (เสยยฺ ถา+อิท) ,

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 210 ยทิท (ยทฺ+อทิ ) , ยถยทิ  ยเถท (ยถา+อทิ ) , ยาวจฺ ิท (ยาว+จ+อิท) , หิท (ห+ิ อทิ ), นยิท (น+อทิ ) , ตททิ  (ตท+ฺ อิท), กมิ ทิ ) (ก+ึ อทิ ) . อ.ุ :- เสยฺยถที  ยททิ  แสดงแลวในขอ นัน้ ๆ ยถยทิ  ยาวจฺ ทิ ; นาห ภกิ ขฺ เว อฺ  เอกธมฺมป  สมนปุ สฺสาม,ิ ย เอว ลหปุ ริวตฺต, ยถยทิ  ภิกขฺ เว จติ ตฺ , ยาวฺจิท ภกิ ขฺ เว อุปมาป น สุกรา, ยาว ลหุปรวิ ตฺต จิตฺต. หทิ , นยิท; สงขฺ ารา จ อิท ภิกฺขเว อตตฺ า อภวสิ สฺ สุ. นยทิ  สงฺขารา อาพาธาย สวตเฺ ตยฺยุ. อทิ  นบิ าตนี้ ใชเปน เพียงนิบาตมาก ใชเปนนยิ มสัพพนาม บาง. อธบิ าย : [ ๑ ] อิท นิบาตนี้ รปู เดยี วกับ อทิ  นยิ มสพั พนาม โดยมากใชรวมเขา ศัพทอื่น และเปนคําทา ยของศพั ทน นั้ เชน ยทิท ทวี่ าเปน นิบาต เพราะ อิท ในทเ่ี ชน นั้น ไมม ีความหมายแหง อิม ศพั ท ดงั ทท่ี า นเรียกวา นิปาตมตฺต เปนเพียงนิบาต, คอื ใชเปนวจนาลังการ วจนสิลิฏฐกะ หรอื บทปรู ณ, ทางขา งไทยเราถือเครง วาตองแปลทุกบท ทกุ ศัพท เมอ่ื พบ อิท เขา ก็ตองแปลวา น้ี และบางทยี กั ยา ยรปู ประโยค เพือ่ ใหล งิ คลงกัน เชน ยถยทิ  อติ ถฺ สี ทฺโท แปลวา อทิ  สททฺ ชาต สัททชาตนี้ใด อติ ฺถสี ทฺโท คือเสยี งแหง หญิง ยถา ฉนั ใด. แตทานวา อทิ  เปนเพยี งนบิ าต จึงไมจ าํ ตอ งแปลอยางนน้ั ถารกั จะใหเปน คุณบท บอกวา อิทนตฺ ิ ปท อติ ถฺ สี ทโฺ ทติ ปทสฺส วิเสสน กย็ ังได เพราะ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 211 บอกอยางน้ี ลงกันไดก ับประโยคท่ีมีบทนามนาม เปน นปุสกลงิ ค เชน ยททิ  ภกิ ฺขเว จติ ตฺ , ยถยทิ  เทยี บกันไดก บั ยถาต, บอกสัมพันธ รวมกันไปกบั ยถาศัพทก็ได บอกแยกวา วจนาลงั การกไ็ ด, แม อิท ที่ รวมอยูกบั ศัพทอ ื่น ก็พงึ ทราบอยางนี้ อุ. :- ยถยทิ , ยาวฺจิท อุ. ท่ี ๑ นาห ภกิ ฺขเว อฺ เอกธมมฺ ป  สมนุปสสฺ ามิ, ย เอว ลหุปริวตตฺ , ยถยิท ภิกขฺ เว จติ ตฺ . ยาวฺจิท ภกิ ฺขเว อปุ มาป น สกุ รา, ยาว ลหุปริวตฺต จิตตฺ . [ อง.ฺ เอก. ๒๐/๑๑] \"ภิกษุ ท., เราไมแลเห็นแมธ รรมขอ หน่ึงอน่ื ท่ีแปรเรว็ เหมือนจติ (หรอื เหมอื น จิตน้ี) ภิกษุ ท., จนกระทั่ง, ภิกษุ ท., อุปมาไมท าํ งา ย เทา ที่จิต (แปรเร็ว.\" ยาวฺจาติ อธิมตฺตสมานตฺเถ นปิ าโต. อตวิ ิย น สกุ โรติ อตโฺ ถ. อิทนฺติ นปิ าตมตฺต. มโน. ป.ู ๑/๖๑). สัมพนั ธ ยถยิท ๑. ยถยทิ ส ทฺโท อุปมาโชตโก. ๒. ยถาสทโฺ ท อปุ มาโชตโก. อิทสทโฺ ท วจนาลงฺกาโร. ๓. ยถาสทโฺ ท อปุ มาโชตโก. อทิ นตฺ ิ ปท จิตตฺ นฺติ ปทสฺส วเิ สสน. สัมพนั ธ ยาวฺจิท ๑. ยาวจฺ ิทส ทฺโท กิริยาวเิ สสน.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 212 ๒. ยาวสทฺโท กริ ยิ าวิเสสน. จสทโฺ ท จ อิทส ทฺโท จ วจนาลงฺการา. อ.ุ ท่ี ๒ นาห ภกิ ขฺ เว อฺ  เอกสททฺ มฺป สมนปุ สฺสามิ , โย เอว ปรุ สิ สสฺ จิตตฺ  ปริยาทาย ติฏติ, ยถยทิ  ภิกขฺ เว อติ ฺถสี ทฺโท. [จกฺขปุ าลตเฺ ถร. ๑/๑๕ ] \"ภิกษุ ท., เราไมแลเหน็ แมเสียงอยา งหน่งึ อนื่ ที่ ครอบงําจิตของชายตัง้ อยเู หมือนเสียงหญิง ภิกษุ ท.\" อ.ุ ท่ี ๓ นาห ภกิ ขฺ เว อฺ  เอกธมมฺ มฺป สมนุปสสฺ าม,ิ เยน อนุปปฺ นฺนา วา อกสุ ลา ธมมฺ า อปุ ฺปชชฺ นฺต,ิ อุปปฺ นนฺ า วา กสุ ลา ธมฺมา ปริหายนตฺ ิ, ยถยิ ท ภกิ ขฺ เว ปมาโท. [อง.ฺ เอก. ๒๑/๑๓] \"ภกิ ษุ ท., เราไมแลเห็นแมธรรมอยา งหน่งึ อืน่ ทเ่ี ปนเหตใุ หธรรม เปน อกุศลทยี่ งั ไมเกดิ เกินข้ึน หรือธรรมเปน กศุ ลที่เกิดแลวเสือ่ มไป เหมอื นความประมาท ภกิ ษุ ท.\" (มังคลตั ถทีปนี [ ๒/๑๘๕ ] ยกฎีกา พระบาลีนม้ี าแกว า อิทนฺติ ลงิ คฺ วปิ ลลฺ าเสน นิทฺเทโส นิปาตปท วา เอต ยททิ นฺติอาทีสุ วิย....). หทิ , นยิท สงฺขารา จ หทิ  ภิกฺขเว อตฺตา อภวสิ สฺ ส ุ, นยทิ  สงฺขารา อาพาธาย สวตเฺ ตยยฺ , [ อนตฺตลกฺขณ. ๔/๒๕ \" \" ภกิ ษุ ท., ถา สงั ขาร ท. น้ี จกั ไดเ ปนตวั ตนแลว ไซร , สังขาร ท.นี้ ไมพงึ เปนไปเพอ่ื อาพาธ.\" อิทนฺติ ปท (ทง้ั สองแหง ) สงฺขาราติ ปทสฺส วเิ สสน.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 213 [ ๒ ] อิท นบิ าตนี้ ปรากฏในสํานวนเกา ชั้นบาลี ในรูปประโยค เชน ทย่ี กมาเปนตวั อยางนี้ พงึ สังเกตใหด .ี อนง่ึ บางทานไดช ้แี จงวา ในคมั ภีรพ ระเวทของพราหมณ (อัน จะเทยี บกบั พระไตรปฎ ก) สรรพนามเชน อทิ  ไมนยิ มลงิ คและวจนะ ของนามนาม, ในพระไตรปฎก กม็ ใี ชอยางนน้ั เชน สงฺขารา จ หิท เปนตน หรอื ดัง อุ. ทั้งหลายท่ยี กมาแลว. แมใ นคาถาวา อติสตี  อติอุณหฺ  อตสิ ายมทิ  อหุ ก็เหมือนกนั , บางทานจึงใช อทิ  กาโล ทเี ดยี ว. สรปู อธบิ าย : อิท นบิ าต ใชค วบทา ยศัพทอ่ืนเปนพน้ื เชน ยทิท ยถยทิ . ใชเ ปน เพียงนบิ าตควบไปกบั ศัพทน้นั ๆ บา ง เปนสพั พนาม บา งตามควร. ยตรฺ หินาม (๕) ยตรฺ หินาม หรอื ยตฺถ หนิ าม เปน นบิ าต ใช รวมกันในทแี่ สดงอศั จรรย, ในทีแ่ สดงสงั เวชบา ง แตนอ ย, ยตฺร ใชเ ปน สพั พนาม ในอรรถ ย ศัพท ทา นแกความเปน ปฐมา- วิภตั ติเปน ตน ตามความในทมี่ านัน้ ๆ, เปน วเิ สสนะของบทนามนาม ที่เพงถึง, หนิ าม พึงใชเปน นิบาต เรยี กชื่อวา วมิ ยฺ ตโฺ ถ หรอื อจฉฺ ริยตโฺ ถ (ความเดยี วกัน), ในท่ีแสดงสงั เวช นา เรยี กวา สงเฺ วคตฺโถ. ยตฺร หนิ าม น้ีวางไวในพากยใด กิรยิ าในพากยน้ัน ประกอบดว ยภวิสสนั ติวิภตั ตเิ ปนพ้ืน แตใชใ นอรรถอดตี กาล. (บาง มตวิ า หนิ าม ทาํ กิริยาใหเ ปนไปในอรรถปจ จุบันกาล). อ.ุ ยตรฺ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 214 เปน ปฐมาวิภตั ติ อจฺฉรยิ  วต โภ อพภฺ ุต วต โภ, ยาว ปณฺฑโิ ต อย ทีฆาวุ กมุ าโร, ยตรฺ หนิ าม ปต โุ น สงขฺ ิตเฺ ตน ภาสติ สฺส วติ ฺถาเรน อตฺถ อาชานสิ ฺสติ. ใน อ.ุ นี้ ยตฺร เทา กบั โย วิเสสนะของ กมุ าโร กตตฺ า ใน อาชานสิ สฺ ติ. อธบิ าย : [ ๑ ] ยตรฺ หนิ าม หรอื ยตถฺ หินาม เปน นิบาต ใชรวมกนั ในประโยคแสดงอศั จรรยท ี่เกดิ รสู กึ ในปจจุบนั . อศั จรรยนน้ั ทา นแสดงวามี ๒ คอื ครหอัจฉรยิ ะ อศั จรรยใ นทางติเตยี น ๑ ปสังสาอัจฉรยิ ะ อศั จรรยใ นทางสรรเสรฐิ ๑. [ อฏั ฐกถากนั ทรกสตู ร ป. ส.ู ๓/๒ ] ยตรฺ หินาม ใชในทท่ี ัง้ ๒ แตพบในทีส่ รรเสรญิ โดย มาก, ใชใ นทแ่ี สดงสงั เวชบา ง แตน อย. ประโยค ยตรฺ หินาม นี้ มีวิธปี ระกอบกิริยาแปลกจากประโยคธรรมดาทวั่ ๆ ไป คือ ในตอน ยตรฺ หนิ าม ประกอบกริ ยิ าในพากยดวยภวสิ สันติวิภัตติเปน พ้ืน แต ใชในอรรถแหง อดีตกาล ทา นวา ดวยอํานาจ ยตฺร ห.ิ (แตต ามมติ ในสัททนีติวาใชในอรรถปจจุบันกาล). และ ยตรฺ ทา นแกความเปน สัพพนาม ในอรรถ ย ศพั ท (ใด) เพง ถงึ นามนามในหนหลัง, และให เปนปฐมาวิภัตติ เปน ตน ตามแตจะปรับเขารปู ประโยคได, ในทาง สมั พันธ ยตรฺ จงึ เปนวเิ สสนะของบทนามนามที่เพง ถึง. สว น หินาม พงึ เรยี กชอื่ เปนนิบาตวา วมิ ฺหยตฺ โถ หรือ อจฉฺ ริยตฺโถ ตามทท่ี า น บอกไว, ในทางสมั พนั ธ ทานใหน ํามาเช่อื มทายกิริยาในพากย เชน อาชานสิ ฺสติ หินาม, โบราณแปลวา มา...แลว . อ.ุ :-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 215 ยตฺร เปน ปฐมาวิภัตติ อุ. ท่ี ๑ อจฺฉรยิ  วต โภ อพภฺ ุต วต โภ, ยาว ปณฺฑโิ ต อย ทีฆาวุ กมุ าโร, ยตรฺ หนิ าม ปต โุ น สงฺขิตฺเตน ภาสติ สสฺ วิตฺถาเรน อตฺถ อาชานสิ สฺ ติ. [ โกสมพฺ กิ กขฺ นฺธก ๕/๓๓๕ ] \"ดูกอ น ผเู จริญ ท., อศั จรรยหนอ, ดูกอนผูเจริญ ท., ไมเ คยมหี นอ, เทา ท่ี กุมารทีฆาวุนเี้ ปน บัณฑิต, กุมารไรเลา มารูท่วั ถึงอรรถแหง คําท่ีบดิ าตรัส โดยยอ ไดโ ดยพิสดารแลว.\" ยตฺร = โย. ยตรฺ าติ ปท กมุ าโรติ ปทสสฺ วเิ สสน. หินามสทโฺ ท อจฉฺ รยิ ตโฺ ถ. อุ. ท่ี ๒ อจฺฉริย อาวโุ ส, อพฺภตุ  อาวโุ ส, (ยาว) ตถาคตสฺส มหิทฺธิกตา มหานภุ าวตา, ยตรฺ หนิ าม ตถาคโต อตเี ต พุทฺเธ ...ชาตโิ ตป อนสุ ฺสริสฺสติ. [ ที. มหา. มหาปทาน. ๑๐/๑๐ ] \"อัศจรรย อาวโุ ส, ไมเคยมี อาวโุ ส, (เทา) ท่พี ระตถาคตเปนผมู ฤี ทธิม์ าก มี อานุภาพมาก, พระถตาคตพระองคไ รเลา มาทรงตามระลกึ ไดแลว ซงึ่ พระพทุ ธเจา ท. ผูลว งแลว ....โดยพระชาติบา ง.\" ยตรฺ -โย. อุ. ที่ ๓ ปณฺฑโิ ต ภิกฺขเว อานฺนฺโท, มหาปโฺ  ภิกขฺ เว อานนฺ โท, ยตรฺ หินาม มยา สงขฺ ิตฺเตน ภาสิตสสฺ วติ ฺถาเรน อตฺถ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 216 อาชานสิ ฺสต.ิ ..[มหาวคฺค ๕/๒๐๓ ] \"ภกิ ษุ ท., อานนทเปนบณั ฑติ , ภกิ ษุ ท., อานนทมีปญญามาก, อานนทไรเลามารทู ่ัวถงึ คําท่เี รากลาว โดยยอ ไดโ ดยพิสดารแลว .\" ยตฺร=โย. ยตรฺ เปน ทุตยิ าวภิ ัตติ อุ. ที่ ๔ ปาปก วต โภ อย ปรุ ิโส กมฺม อกาสิ คารยหฺ  สีสจฺเฉชฺช, ยตฺร หินาม รโฺ  ปุริสา ทฬฺหาย รชชฺ ยุ า ปจฉฺ าพาห คาฬหฺ พนฺธน พนธฺ ติ ฺวา ขุรมณฑฺ  กรติ วฺ า ขรสสฺ เรน ปณเวน รถยิ า รถิย สงิ ฆฺ าฏเกน สิงฆฺ าฏก ปริเณตวฺ า ทกขฺ ิเณน ทฺวาเรน นกิ ฺขาเมตฺวา ทกฺขิณโต นครสสฺ สีส ฉนิ ฺทิสสฺ นตฺ .ิ [ องฺ. จตุกกฺ . ๒๑/๓๒๗] \"ดูกอนผเู จริญ ท., บุรษุ น้ไี ดท าํ กรรมชวั่ นกั อันนา ติเตียน โทษถงึ ตดั ศีรษะ, บรุ ษุ ท.ของพระราชามาจับซึ่งบรุ ุษไรเลา มดั มอื ไพลหลังเสียมัง่ คง โกนศรี ษะดวยมดี โกน นําตระเวนไปท่วั ทุกถนน ท่ัวทกุ สี่แพรง (ตลอดทางรถโดยทางรถ, ตลอดทางสแี่ พรง โดยทาง สแี่ พรง) ดว ยทั้งกลองเสียงดงั ขรม แลว ออกทางประตดู านทักษิณ ตดั ศรี ษะแลวทางประตูทิศทักษณิ ของพระนคร.\" ยตรฺ = ย. ยตรฺ เปนตตยิ าวภิ ัตติ อ.ุ ท่ี ๕ อจฉฺ รยิ  วต โภ อพภิ ตุ  วต โภ, ยาว สทฺธาย สปุ ฺปย า ปสนนฺ า, ยตฺร หนิ าม อตตฺ โนป มสานิ ปริจฺจตาฺ นิ, กึ ปนมิ าย อฺ  กิจฺ ิ อเทยฺย ภวสิ ฺสต.ิ [ มหาวคฺค ๕/๗๐ ] \"ดูกอนผเู จริญ ท.,

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 217 อัศจรรยห นอ, ดกู อ นผูเ จริญ ท., ไดเ คยมหี นอ. เทา สปุ ปย านี้ผูมีศรัทธา เล่อื มใส, เนือ้ แมของตน อันสุปปยาไรเลา มาสละแลว. กส็ ง่ิ ไร ๆ อน่ื อะไร จกั เปน ของอันสุปปยานไ้ี มพ ึงให.\" บาลีน้ี อรรถกถาไมไ ดแ ก แตต ามความ ยตฺร= ยาย (ตติยา- วิภัตติ). ยตรฺ เปน ปญ จมวี ิภตั ติ อ.ุ ท่ี ๖ อจฺฉรยิ  วต โภ, อพภฺ ตุ  วต โภ, (ยาว) ตถาคตสฺส มหทิ ธฺ ิกตา มหานภุ าวตา, ยตรฺ หินาม สห ทสสฺ เนน ภควโต ตาวมหาวโณ รฬุ โฺ ห ภวสิ สฺ ติ สจุ ฉฺ วิ โลมชาโต. [ มหาวคคฺ ๕/๗๑ ] \"ดกู อ นผูเ จริญ, อัศจรรยห นอ, ดกู อนผเู จริญ, ไมเ คยมหี นอ, (เทา) ความทพี่ ระตถาคตเปน ผมู ฤี ทธม์ิ าก มอี านภุ าพมาก, เหตุความ ท่พี ระตถาคตเปน ผมู ีฤทธ์มิ าก มีอานภุ าพมากไรเลา, แผลใหญเพียงนั้น มางอก มผี ิวเรียบรอ ย มีขนเกดิ แลว พรอ มกบั เหน็ พระผมู พี ระภาค.\" ยตฺร= ยสมฺ า. ยตฺร เปนสัตตมวี ภิ ัตติ อ.ุ ที่ ๗ อจฉฺ ริย วต โภ, อพฺภตุ  วต โภ, (ยาว) สมณสสฺ มหทิ ธฺ ิกตา มหานุภาวตา, ยตฺร หินามาย พฺรหหฺ มายุ พรฺ าหฺมโณ าโต ยสสสฺ ี เอวรปู  ปรม นปิ จจฺ การ กรสิ ฺสต.ิ [ม. ม. พฺรหมิ ายุ. ๑๓/๕๗๗] \"ดกู อนผเู จริญ ท., อศั จรรยห นอ, ดกู อนผเู จริญ ท., ไม

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 218 เคยมหี นอ, (เทา) ความท่ีสมณะมฤี ทธ์มิ าก มีอานุภาพมาก, ใน สมณะไรเลา พราหมณชื่อพรหมายุ ผูเ ลอ่ื งชือ่ ลอื ยศมาทํากายนอบนอม อยางยง่ิ ปานฉะนี้ .\" ยตรฺ = ยตฺถ, ยสฺมึ. อ.ุ ที่ ๘ อโห พทุ ฺโธ อโห ธมฺโม อโห ธมฺมสฺส สฺวากฺขาตตา, ยตรฺ หินาม สายมนสุ ฏิ โ ปาโตวเิ สส อธฺคมสิ ฺสติ ปาตมนสุ ฏิ โ  สายวิเสส อธคิ มิสสฺ ติ. [ม.ม. โพธริ าชกมุ าร. ๑๓/๔๗๔ ] \"โอ พระพทุ ธเจา, โอ พระธรรม, โอ ความที่พระธรรม อนั พระผูม-ี พระภาคเจาตรัสดแี ลว, ในเพราะพระพุทธเจา ในเพราะพระธรรม ในเพราะความที่พระธรรมอนั พระผูม ีพระภาคเจาตรัสดแี ลว ไรเลา บคุ คล ผูท ีท่ รงอนสุ าสนเวลาเยน็ มาบรรลคุ ุณวิเสสเวลาเชา , บุคคลผทู ีท่ รง อนุสาสนเ วลาเชา มาบรรลคุ ุณวเิ สสเวลาเยน็ .\" ยตรฺ = ยสฺม.ุ อ.ุ ที่ ๙ ธริ ตถฺ ุ กริ โภ ชาติ นาม, ยตรฺ หนิ าม ชาตสฺส ชรา ปฺ านิสสฺ ต.ิ [ ที. มหา. มหาปทาน. ๑๐/๒๕ ] \"ดกู อ นผูเจริญ ท., ขอทเี ถอะ ข้ึนช่อื วาชาติ นา ตเิ ตียน (ธิ+อตฺถ.ุ อตฺถุ = ภเวยยฺ ), ใน เพราะชาติไรเลา ชรามาปรากฏแกผเู กิดแลว.\" ยตรฺ = ยตรฺ , ยาย, ยสสฺ . ยตฺร หนิ าม ใน อ.ุ น้ี ใชใ นทางตเิ ตียน. อรรถกถาแกเปน ประโยคลกั ขณะ, แตในที่น้ี ใชเ ปนนมิ ิตตสตั ตมี ตามทเี่ หน็ วา ใชไ ด อยา งสน้ั .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 219 [ ๒ ] ท่เี รยี กวา ประโยค ยตรฺ หินาม นน้ั สังเกตไดจากท่มี า ทัว่ ไปวา ประกอบดว ยอนุประโยคเต็มที่ ๓ อนุประโยค ดังนี้ :- ก. อนปุ ระโยค อจฉฺ ริย. ข. อนปุ ระโยค ยาว แสดงบทนามนามกับลกั ษณะเทา ทีต่ องให กลาววา อัศจรรย. ค. อนปุ ระโยค ยตรฺ หนิ าม ขยายความลักษณะน้นั ออกไปอีก และ ยตรฺ เพง ถงึ นามนามในอนุประโยค ข., บางทีมีตอไปอีกอนุประโยค หน่งึ ดัง อุ. ที่ ๕ แตก น็ อ ย,จงึ นับเอาแต ๓ อนปุ ระโยค. ในท่ีมาทัง้ ปวง อนุประโยค ก. มีบา งไมมบี าง สวนอนุประโยค ข. มีเปน พื้น และวาง ยาว ไวเ บื้องหนาบาง ไมว าง ยาว ไวบา ง, ถา วาง ยาว ไว หรอื เตมิ ยาว เขามา , อนปุ ระโยค ก. ก็เปน ประโยค ตาว. จักแยกประเภทใน อ.ุ ท่ี ๑ เปน ตวั อยาง :- ก. อจฉฺ ริย วต โภ อพภฺ ตุ  วต โภ. ข. ยาว ปณฑฺ โิ ต อย ทีฆาวุ กมุ าโร. ค. ยตฺร หนิ าม ปตโุ น สงขฺ ติ เฺ ตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถ อาชานสิ สฺ ติ. [ ๓ ] ขอ ท่ี ยตฺร ใชเ ปน วิภัตตอิ ะไรนนั้ พงึ สงั เกตดงั นี้ : ยตฺร เพง ถงึ นามนามบทใดทก่ี ลา วถึงในอนปุ ระโยค ข., ถานามนามบทนนั้ มาเปนกตั ตาในกริ ิยาในพากย ยตฺร ห,ิ ยตฺร ใชเปน ปฐมาวภิ ัตติ, ถากิริยาในพากย ยตรฺ หิ มกี ัตตาอน่ื , ยตฺร ใชเปนวิภตั ตใิ นวิภัตติหน่งึ แลวแตความ, สวน ต ศัพทใ สล งท่บี ทนามนามท่ี ยตรฺ เพง ถงึ ใน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 220 อนปุ ระโยค ข. นั้น [ ๔ ] ในท่นี อมแหง ขาดอนปุ ระโยค ข. เชน :- ก. อจฺฉริย ภนฺเต อพภฺ ตุ  ภนเฺ ต. ค. ยตฺถ หิ นาม สตฺถุ เจว สาวิกาย จ อตฺเถน อตฺโถ, พยฺ ยชฺ เนน พฺยฺชน สสนทฺ ิสฺสติ...ยททิ  อคคฺ ปทสมฺ .ึ [ ส. สฬา. ๑๘/๕๖๑ ].(ในทนี่ ้ีใช ยตถฺ แทน ยตฺร). ก. อัศจรรย พระเจาขา ไมเ คยมี พระเจาขา (ในพระธรรม- เทศนาน้นั ). ค. ใน (พระธรรมเทศนา) ไรเลา อรรถมาเทียบสมดว ยอรรถ พยัญชนะมาเทียบสมดว ยพยญั ชนะทงั้ ของพระศาสดาท้ังของพระสาวกิ า คืนในบทอันเลิศ. ใน อุ. น้ี ถาใหอนปุ ระโยค ก. คงเปนประโยค ตาว กต็ องใช ยตฺถ หิ นาม เปน นบิ าตรวมกนั ในวรรค ยาว เรยี กรวมกนั วา อัจฉ- รยิ ตั ถนบิ าต อยางที่ทานเรียกในอรรถกถา แปลวา \"อศั จรรย พระเจาขา , ไมเคยมี พระเจาขา, เทา อรรถมาเทยี บสมดวยอรรถ....\" [ ๕ ] ในบางแหงแตน อย กริ ยิ าในอนปุ ระโย ยตฺร หินาม ประกอบดว ยวัตตนามวิภตั ติ เชน นสฺสต วต โภ โลโก, วนิ สฺสติ วต โภ โลโก, ยตฺร หินาม ตถาคตสฺส อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ อปฺโปสฺสุกฺกตาย จิตตฺ  นมต,ิ โน ธมมฺ เทสนาย. [ ว.ิ มหาวคฺค ๔/๙] \"ดูกอนผูเ จรญิ ท., โลกฉบิ หายหนอ, ดูกอ นผเู จริญ ท., โลก พินาศหนอ, ในโลกไรเลา จิตของพระตถาคตผูอ รหนั ต สมั มา-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 221 สัมพทุ ธเจามานอ มไป เพ่ือความเปนผูขวนขวายนอย, ไมนอ มไปเพือ่ การแสดงธรรม.\" (หินาม ในทีน่ ี้ นา เรยี กวาสงั เวคัตถะ). เพราะมี กิรยิ าในอนุประโยค ยตรฺ หินาม ประกอบดวยวตั ตมานาวภิ ัตติเชน ตัวอยา งนี้ จึงนาเห็นวามตใิ นสทั ทนตี ิวา เพราะอาํ นาจ หนิ ามนิบาต ภวิสสนั ตติวิภตั ติใชในอรรถวตั ตมานาวิภตั ติ มหี ลักฐานอยู. สรูปอธบิ าย : ยตรฺ ิ หนิ าม หรอื ยตฺถ หินาม เปน นิบาต ใชใน ทแี่ สดงอัศจรรย บางแหงแสดงสังเวชแตนอ ย. ยตรฺ ใชเ ปนสพั พนาม เปนปฐมาวิภัตตเิ ปน ตน ตามความ, ในทางสัมพันธเ ปนวิเสสนะ,หิ นาม เรยี กชอื่ วา อัจฉริยตั ถะ หรือ สังเวคัตถะ ตามสมควร. บาลีและอรรถกถาบางแหง ทมี่ าแหง ยตฺร หนิ าม บาลี อจฉฺ รยิ  อาวโุ ส...ยตฺร หนิ าม......อนุสสฺ ริสสฺ ติ. [ อ.ุ ที่ ๒]. อรรถกถา ยตรฺ หนิ ามาติ อจฺฉริยตเฺ ถ นปิ าโต. โย นาม ตถาคโตติ อตโฺ ถ. อนสุ สฺ รสิ ฺสตตี ิ อทิ  ยตรฺ หนิ ิปาตวเสน อนาคตวจน, อตโฺ ถ. ปเนตถฺ อตีตวเสน เวทิตพโฺ พ. [ สุ. วิ. ๒/๒๕ ]. บาลี อโห พทุ โฺ ธ.... ยตรฺ หนิ าม... [ อ.ุ ที่ ๘] อรรถกถา ยตฺร หนิ ามาติ วมิ หฺ ยตฺเถ นิปาโต. [ ป. ส.ู ๓/๓๐๓ ].

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 222 ยตฺร เปน ปฐมาวิภัตติ บาลี ปณฑฺ โิ ต ภกิ ขฺ เว อานฺนโท...ยตรฺ หินาม.... [ อุ.ท่ี ๓]. อรรถกถา ยตรฺ หนิ ามาติ โย นาม. [ สมนตฺ . ๓/๒๓๖ ]. บาลี อจฉฺ รยิ  ภนฺเต...ยตฺร หินาม เทวภูตสสฺ ป อปุ การานิ ปุฺ านิ..... [ สุมนาราชกมุ าร.ี องฺ. ปฺจก. ๒๒/๓๕ ]. อรรถกถา ยตฺร นนิ ามาติ ยานิ นาม. [ มโน. ป.ู ๓/๒๒ ] ยตฺร เปนทตุ ยิ าวิภัตติ บาลี ปาปก วต โภ...ยตรฺ หินาม... [ อ.ุ ที่ ๔ ]. อรรถกถา ยตรฺ  หนิ ามาติ ย นาม. [ มโน. ปู. ๒/๕๑๐ ]. ยตรฺ เปนปญ จมวี ภิ ัตติ บาลี อจฺฉรยิ  วต โภ...ยตรฺ หนิ าม .... [ อ.ุ ท่ี ๖.]. อรรถกถา ยตฺร หนิ ามาติ ยสมฺ า นาม. [ สมนฺต. ๓/๑๙๓ ].

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 223 ยตรฺ เปน สตั ตมวี ิภตั ติ บาลี ธริ ตถฺ ุ.....ยตฺร หินาม.. [ อุ. ท่ี ๙ ]. อรรถกถา ยตฺร หนิ ามาติ ยาย ชาติยา สติ ชรา ปฺายติ. สา ชาติ ธริ ตฺถุ ธิกฺกตา อตถฺ ุ ชคิ จุ ฉฺ า นาเมสา ชาต.ิ [ ส.ุ วิ. ๒/๖๖ ]. ต (๖) ต นิบาต ใชใ นบางแหง อ.ุ ตป  ภควา น มนสากาส,ิ ยถาต อนตุ ฺตเร อุปธิสงขฺ เย อธิมุตฺโต. อธิบาย : [ ๑ ] ต นบิ าต ทีใ่ ชร วบกับ ยถา เปน ยถาต น้ี มีในสํานวนเกา บางแหง ไมม ีความหมายแหง ต สัพพนาม อุ. :- อ.ุ ที่ ๑ ตป ภควา น มนสากาส,ิ ยถาต อนุตตฺ เร อปุ ธสิ งขฺ เย อิธมตุ โต. [ มารธีตา. ๖/๖๗ ]. \"พระผมู ีพระภาค ไมทรงทําคําแมน ้นั ไวในพระทัย เหมือนทีท่ รงนอ มไปในธรรมเปน ท่ีสน้ิ อุปธอิ ันเยี่ยม.\" อ.ุ ที่ ๒ สาธุ สาธุ ภกิ ขฺ ,ุ ยาถต อคุ โฺ ค คหปติ เวสาลิโก สมฺมา พยฺ ากรมาโน พยฺ ากเรยยฺ . [ องฺ . อฏ. ๓๒/๒๑๕ ] \"ภกิ ษุ ดีละ ดลี ะ, อยา งคฤหบดีอุคคะ ชาวเมอื งเวสาลี เมอื่ พยากรณโดยชอบ พงึ พยากรณน ่นั แหละ.\" (สาธุ สาธุ ภกิ ขฺ ุ เปนประโยค ตถา).

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 224 อ.ุ ที่ ๓ ยถาต ยุวา ยุวตึ. [มหาวภิ งฺค ๑/๒๗๔ ] \"เหมอื นชายหนุม พดู เคาะหญงิ สาว.\" (ยถาตนฺติ เอตฺถ ตนฺติ นปิ าตมตตฺ . สมนตฺ . ๒/๔๐ ). อ.ุ ที่ ๔ น สพฺโพ สพพฺ ทาเยว ตสสฺ ต อุปกปปฺ ติ. [ ข.ุ ขุ. นธิ กิ ณฑฺ . ๒๕/๑๑]. \"ขมุ ทรพั ยท้ังหมด ยอ มไมสําเร็จประโยชนแ กเ ขาในกาลทง้ั ปวง ทเี ดยี วแล.\" [ ตนตฺ ิ ปทปูรณมตฺเต นิปาโต ทฏพฺโพ ยถาต อปฺปมตฺตสฺส อาตาปโนติ เอวมาทีสุ. ลงิ ฺคเภท วา กตวฺ า โสติ วตตฺ พฺเพ ตนฺติ วุตฺต ขุ. ขุ. ป. โช. น. ๒๔๔ ). [ ๒ ] ยถาต อรรถกถาบางแหงแกเ ปน ยสมฺ า ก็มี. ต นบิ าต บอกสมั พันธรวมกนั ไป หรือจะแยกบอกเปนวจนาลังการ หรืออวธารณะ ก็ได. สรูปอธิบาย : ต นบิ าต ใชใ นทบ่ี างแหง. โว, โน (๗) โว, โน เปนนบิ าตในทีบ่ างแหง, โว สักวา นิบาต คอื เปนบทปูรณะ หรอื อวธาณะ. อ.ุ เย หิ โว ปรสิ ทุ ฺธกาย- กมมฺ นตฺ า. โน ใชอ ยา ง นุ บาง. อ.ุ อภชิ านาสิ โน ตฺว มหาราช. สกั วา นิบาตบา ง. อ.ุ น โน สม อตฺถิ ตถาคเตน. อธบิ าย: [ ๑ ] โว และ โน ในสาํ นวนช้นั บาลีบางแหงใชเ ปน นบิ าต, น้ีเปนเรือ่ งทีค่ วรทราบไว เพราะถา ไมท ราบ เม่ือไปพบเขา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 225 แปลของทา นไมออก (เพราะไมอ าจแปลเปน สัพพนาม) อาจคดิ แก เชนแก โน เปน โข. [ ๒ ] โว เปน บทปรู ณะ หรอื อวธารณะที่เรียกวา ' นิปาตมตฺต' สกั วา นิบาคต. อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ เย หิ โว อริยา ปริสทุ ธฺ กายกมฺมนตฺ า อรฺวนปตถฺ านิ ปนฺตานิ เสนาเสนานิ ปฏิเสวนฺติ เตสมห อฺตโร. [ ม. ม.ู ภยเภรว. ๑๒/๒๙] \"ก็พระอรยิ ะ ท. เหลาใดแล มกี ารงานทางกายอนั บริสุทธ์ิ ยอมเสพเสนาสนะ ท. ท่ีเปนราวปา และไพรสณฑอันสงัด, เราเปน ผูหน่งึ แหงพระอรยิ ะเหลาน้ัน.\" (เย หิ โวติ เอตฺถ โวติ นิปามตตฺ  ป. ส.ุ ๑/๑๕๗ ). อ.ุ ท่ี ๒ ปสสฺ ามิ โวห อตฺตาน ยถา อจิ ฺฉึ ตถา อห.ุ [ ขุ. ชา. มหาชนก. ๒๘/๑๖๗] \"เราเห็นแลซ่งึ ตน (วา) ไดเ ปน แลวดวยปรารถนา.\" [ ๓ ] ใน ใชอยา ง นุ บาง สกั วา นิบาตอยา ง โว บา ง อุ . :- โน ใชอ ยาง นุ อุ. ที่ ๑ อภิชานาสิ โน ตฺว มหาราช อมิ  ปหฺ  อเฺ ป สมณพรฺ าหมฺ เณ ปจุ ฺฉิตา. [ ท.ี ส.ี สามฺ ผล. ๙/๖๗] \"ดูกอ น มหาบพติ ร, พระองคทรงจําไดหรอื หนอ วา (เคย) ถามปญหานี้

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 226 กะสมณพราหมณ ท. แมอ ่ืน .\" (อภิชานาสิ โน ตวนฺติ อภชิ านาสิ นุ ตวฺ . ส.ุ วิ ๑๙๙). อ.ุ ที่ ๒ ปสฺสถ โน ตุมเฺ ห ภกิ ฺขเว อมุ มหนฺต อคฺคิกฺขนฺธ. [ องฺ. สตตฺ ก. ๒๓/๑๒๙ ] \"ภิกษุ ท., ทาน ท. เหน็ หรือหนอ ซ่งึ กองไฟ ใหญโ นน.\" (ปสสฺ ถ โนติ ปสฺสถ น.ุ มโน. ปู. ๓/๒๓๕). โน นิบาต ในอรรถน้ี ควรจดั เขา ในนบิ าตหมวดคาํ ถาม เรยี ก ชื ื่อวา ปุจฺฉนตฺโถ อยา ง นุ ศพั ท. โน สักวานิบาต. น โน สม อตถฺ ิ ตถาคเตน. [ ข.ุ ข.ุ รตน. ๒๕/๕ ]. \"รตนะ (นัน้ ) เสมอดวยพระตถาคตไมมีเลย.\" (โน อติ ิ อวธารเณ. ข.ุ ข.ุ ป. โช ๑๘๗). สรูปอธิบาย : โว,โน ใชเปน นิบาต ในสํานวนชัน้ บาลบี างแหง. บอกแกบางแหง หนังสอื อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๑ ๑. ตัวอยางแสดงอาธาร หนา ๑๑๑ (ตามฉบับพิมพครงั้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๙๒) วา พหิ ตสมฺ ึ เคเห ตฺวา มา กเถสิ แปล

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 227 และบอก เคเห เปนอาธาร ใน ตฺวา, ขอแกตามสัมพันธตวั อยางเปน ภาษามคธ ขอ ๓ ในทายวากยสมั พันธ เปน อาธาร ใน กเถส.ิ ใน เลม นี้ ยมมาเปน ตัวอยางในขอ วาดว ยวิวริยะ-ววิ รณะ หนา ๖๕. ๒. ในตอนอปรกาลกริ ิยา หนา ๑๘๒ ที่บอกวา ในการแปลใส คําวา 'แลว' เหมอื นปพุ พกาลกิรยิ า, ขอแกเปน ไมแ ปล ' แลว ' ตาม อภิธานนปั ปทกี าฉบบั บาลีแปลเปนไทย ของสมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงชนิ วรสิริวฒั น หนา ๔๓๖.