Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Published by ton love, 2022-06-27 03:05:18

Description: เล่ม 2 อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒
พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Keywords: อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม ๒ พระโศภนคณาภรณ์ (สุวฑฒโน ฺ ป. ธ. ๙)

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 50 กริ ิยาตตยิ าวิเสสน (๒) บทกริ ยิ า ตวฺ า ปจจยั ทีเ่ ปน ทางเครือ่ งแปลก ทานเรียก ช่ือวา กริ ิยาตตยิ าเสสน (โดย), อ.ุ อนาคเต ปน กปปฺ สต- สหสฺสาธิก เอก อสงฺเขยยฺ  อตกิ ฺกมติ ฺวา โคตโม นาม พุทโฺ ธ โลเก อุปฺปชชฺ ิสสฺ ต.ิ (สชฺ ยวตถฺ ุ เรอ่ื งท่ี ๘). อติกกฺ มิตวฺ า ทานเคยแปลวา โดยกา วลวง เปน กิริยาตตยิ าวเิ สสนะ ใน อปุ ฺปชชฺ สิ ฺสติ. วธิ ีอยางนี้ทานไดใ ชม าแลว. อธบิ าย : [ ๑ ] บทกริ ยิ า ตวฺ า ปจจัยทเี่ ปน กิริยาตตยิ าวเิ สสนะน้ี ทานไดใชมาแลว . อุ :- อุ. ท่ี ๑ อนาคเต ปน กปฺปสตสหสฺสาธิก เอก อสงฺเขยยฺ  อตกิ ฺกมติ ฺวา โคตโม นาม พทุ โฺ ธ โลเก อุปปฺ ชชฺ สิ สฺ ติ. [ สฺชย. ๑/๑๐๖ ] \"ก็พระพุทธเจาทรงพระนามวา โคดม จักเกดิ ในโลก โดยลว งอสงไขย หน่ึง ยิง่ ดว ยแสนกัลปในอนาคต. ทราบวา อตกิ กฺ มติ ฺวา ทา นเคยใชม าอยางนี.้ อุ. ที่ ๒ ....เยน เกนจิ อากาเรน วจเี ภท กตวฺ า วา สสี กมฺปาทีหิ วา สมปฺ ฏิจฺฉต.ิ [ส. ปา. ๒/๕๒ ] \" ... รบั ... โดยเปลงวาจา วา ...ดว ยอาการอนั ใดอนั หนง่ึ หรือดวยกายวกิ ารมไี หวศรี ษะเปน ตน.\" ๑ ๑. สมเดจ็ พระวนั รัต เขมจารี แปล, จากหนงั สือท่ีพมิ พแ จก พ.ศ. ๒๔๘๕ น. ๔๓.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 51 อ.ุ ท่ี ๓ เหตุ หตุ วฺ า ปจฺจโย. [ ปรมตฺถทปี นี. น. ๔๕๕๕ ] \"ปจ จยั โดย เปน เหตุ.\" อุ.นี้ มคี ําอธบิ ายในปรมตั ถทปี นี น้ัน ตอไปน้ี เหตภุ าเวน ปจฺจโย (เหตุภาเวน ปจฺจโยติ วตุ ฺต โหติ). [ ๒ ] พวก อารพภฺ , นสิ สฺ าย, ปฏจิ จฺ ผรู ูภ าษาบาลีตางประเทศ มักแปลเปน ' โดย ...' ก็มี. ไทยเราใชเปนสมานกาลกริ ิยาบา ง กริ ิยา วเิ สสนะบาง. สรูปอธบิ าย : กริ ยิ าตตยิ าวิเสสนะ เปนบทกริ ิยา ตวฺ าปจ จยั ท่เี ปน ทางเคร่อื งแปลก. กริ ยิ าบท (๓) นบิ าตหรืออัพยยกิรยิ า คือ สกกฺ า ลพภฺ า เปนกริ ิยาบท พเิ ศษ. สกกฺ า ใชใ นพากยก มั มวาจกบาง ภาววาจกบา ง. ลพฺภา ใชในพากยก มั มวาจกเปนพื้น. กิริยาบทเหลา นที้ เี่ ปนกมั มวาจก เรยี ก ช่ือวา กมมฺ วาจก กิริยาปท, ที่เปนภาววาจก เรยี กชอื่ วา ภาววาจก กิรยิ าปท. อ.ุ :- สกฺกา: พุทธฺ า จ นาม น สกกฺ า สเน อาราเธต.ุ น หิ สกกฺ า อมฺเหสุ เอเกน (ชเนน) อปพพฺ ชติ ุ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 52 ลพฺภา: ลพภฺ า...โภคา จ ภุ ชฺ ิตุ. (ลพฺภา) ปุฺานิ จ กาต.ุ อิท (รชชฺ ) น ลพฺภา เอว กาตุ. อล เปนนิบาต หรือ อัพยยกริ ยิ าอยางนั้นบาง อุ. :- นวหฺ ภกิ ฺขเว องเฺ คหิ สมนฺนาคต กุล อนุปคนตฺ ฺวา จ นาล อุปคนตฺ ุ, อุปคนตฺ ฺวา จ นาล อปุ นิสีทติ .ุ แต อล นบิ าต ใชใ นอรรถวารณะคอื หาม (อยาเลย) เปนตน โดยมาก. อธบิ าย : [ ๑ ] กิริยาบทนี้ ใชแตใ นพากยกมั มวาจกและภาววาจก และคงรปู อยูเดียวเหมอื นอัพยยศพั ท จงึ จดั เปนนิบาต ใชไดท กุ ลงิ ค ทกุ วจนะ. จะกลา วทีละบท :- สกฺกา สกกฺ า เมอ่ื กลา วตามหลกั ไวยากรณ ก็ไมควรใชเปน กริ ยิ า- กัมมวาจก เพราะเปน อกัมมธาตุ, แตตามภาษานิยมในคมั ภรี ทงั้ ปวง ทา นใชเ ปนกริ ยิ ากมั มวาจกดว ย, แมในโยชนาสมัตปาสาทกิ าและ อภิธัมมัตถวิภาวินี กบ็ อกเปน กมั มวาจกในพากยเ ชนนั้น. ถาถอื วา เปนกัมมวาจกไมไ ด เพราะ สกฺกา เปน อกัมมธาตุ กค็ วรถือวาเปน กัตตุวาจกได เพราะอกัมมธาตยุ อมเปนกัตตวุ าจกได, แตภาษานิยม ท่ใี ชใ นทีท่ ่ัวไป ไมย อมใหถอื เชนนนั้ คอื ไมม ใี ชเ ปนกัตตวุ าจก ใช แตเปนกัมมวาจกบา ง ภาววาจกบาง ตามรปู ประโยค. ถา มคี ําถามวา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 53 ท่ีใชเ ปน ภาววาจกจงยกไว, สว นท่ีใชเ ปนกมั มวาจก จะไดบ ทกัมม มากลาวเปนประธานจากไหน เพราะ สกกฺ า ไมมกี รรม ? ตอบวา : ไดบ ทกมั มของบทกิริยา ตุ ปจจัยแทน เพราะในประโยค สกกฺ า ยอ ม มบี ทกริ ยิ า ตุ ปจ จยั ประกอบอยูด วยเสมอ คือใชกัมมของกิรยิ า ตุ ปจจัย น้ันน่นั แหละเปน ประธาน, และเมอื่ ประกอบเปนพากยภ าววาจก, บท กัมมนน้ั กเ็ ปน อวตุ ตกมั มบา ง การตี กมั มบาง ในบท ตุ ปจจัย นัน้ อุ. :- กมั มวาจก พุทฺธา จ นาม น สกกฺ า สเน อาราเธตุ [ จกขฺ ุปาลต-ฺ เถร. ๑/๘ ] \" กธ็ รรมดาวา พระพุทธเจา ท. อนั คนโออวดไมอาจเพอื่ ใหท รงโปรดปราน.\" พทุ ฺธา วตุ ตกัมม ใน สกฺกา. สกกฺ า กิรยิ าบท กัมมวาจก. พุทฺธาติ ปท น สกฺกาติ ปเท วตุ ฺตกมมฺ . สกกฺ าติ ปท พุทฺธาติ ปทสฺส กมฺมวาจก กิรยิ าปท. ภาววาจก น หิ สกกฺ า อมฺเหสุ เอเกน [ ชเนน ] อปพิพชติ .ุ [ เทวทตตฺ . ๑/๑๓๒] \" เพราะวา ในเรา ท. อันคนหน่งึ ไมอาจเพ่อื ไมบ วช.\" เอเกน วเิ สสนะ ของ ชเนน. ชเนน อนภหิ ิตกตั ตาใน น สกกฺ า. สกฺกา กริ ิยาบท ภาววาจก. สกกฺ าติ ปท ภาววาจก กริ ยิ าปท. เอเกนาติ ปท น สกกฺ าติ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 54 ปเท อนภหิ ติ กตตฺ า. ขอสังเกต: ก. วิธเี รยี งประโยค สกกฺ า สังเกตจากอาคตสถาน น้นั ๆ ดงั นี้ :- (ก) สกกฺ า เรยี งไวหนา หรือหลงั บท ตุ ปจจัย กับบททีเนอื่ ง ดวยบท ตุ ปจ จยั นัน้ อ.ุ :- สกฺกา เรยี งไวห นา บท ตุ ปจ จัย อุ. ๑ พทุ ฺธา จ นาม น สกกฺ า สเน อาราเธตุ. อ.ุ ๒ น หิ สกฺกา อมฺเหสุ เอเกน อปพฺพชติ .ุ อ.ุ ๓ สกกฺ า เคห อชฌฺ าวสนเฺ ติ ปุฺานิ กาตุ. [ จกขฺ ุปาลตฺเถร. ๑/๖ ] อุ. ๔ คหิ ินา หุตฺวา สกกฺ า ทุกขฺ า มุจจฺ ิตุ. [ อุกกฺ ณฺติ ภิกขฺ ุ. ๒/๑๓๔] สกฺกา เรยี งไวหลงั บท ตุ ปจจัย อ.ุ ๕ โส อมิ สฺส สนฺตเิ ก อุปปฺ าเทตุ น สกกฺ า. [ สชฺ ย. ๑/๘๕ ] อ.ุ ๖ ตยา คนตฺ ุ น สกกฺ า. [ โกสมพฺ ิก. ๑/๕๖ ] อ.ุ ๗ อโนนเตน ปวิสิตุ น สกกฺ า. [ ปณฺฑิตสามเณร. ๔/๓๑ ] (ข) บทอนภหิ ิตกัตตา เรยี งไวหลัง สกฺกา บา ง ดัง อุ. ๑,๒,๓. เรยี งไวห นา สกกฺ า บา ง ดงั อ.ุ ๔,๖,๗. แตเ รียงไวหนา บท ตุ ปจ จยั เสมอ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 55 (ค) ถา เปนประโยคกมั มวาจก บทวตุ ตกัมม เรยี งไวหนา สกฺกา บา ง อุ ๑,๕; เรียงไวห ลัง สกกฺ า บาง อ.ุ น สกฺกา โส อคารมชเฺ ฌ ปเุ รตุ. [ จกฺขปุ าลตฺเถร. ๑/๖] (ฆ) เปนประโยคคําถาม เรียง สกกฺ า ไวหนา ประโยค อ.ุ น สกกฺ า มยา ต คเหตุ ? [ สามาวต.ี ๒/๓๓] ข. บางแหง แตห า ง ๆ สกกฺ า เขาในกริ ิยาวามวี า เปน (เปน วกิ ติกตั ตา). กิรยิ านั้น โดยปกติ เรยี งไวหลงั สกฺกา อุ. โน เจต ภิกฺขเว สกฺกา อภวสิ ฺส กสุ ล ภาเวตุ. [ ปหานภาวนาสตู ร ] \"ภิกษุ ท. ถากศุ ลนน่ั จักเปน กิจอนั บุคคลไมอาจเพอื่ ใหม ีไดไซร. \" ค. แตถา เขากบั กริ ยิ าวามวี า เปนน้ันไมไ ด ก็ตอ งเปน กัตตา ใน กิริยานั้นบาง อ.ุ ตตถฺ น อาคต คเหตุ สกกฺ า ภวิสสฺ ต.ิ [ สามาวต.ี ๒/๓๓] \"การท่ีเราอาจเพ่ือจะจบั ทาวอุเทนผูเ สด็จมาในทน่ี ้นั จกั มี.\" สกฺกา สยกตั ตา ใน ภวิสฺสต.ิ มหี ลกั ทพ่ี งึ สงั เกตคือ เม่ืออาจยกบท กัมม ของบท ตุ ปจจัยเปน ประธาน คอื เปนกตั ตา ในกิรยิ าวา มีวาเปน ได สกกฺ า กเ็ ปน วิกติกตั ตา ในกริ ิยาวามวี าเปน น้นั ; ถา ไมอ าจ, สกฺกา ก็ตอ งเปน ประธาน คือ เปน กตั ตาเอง เชน ใน อ.ุ วา ตตถฺ น อาคต คเหตุ สกกฺ า ภวสิ สฺ ติ นั้น. (แปลโดยพยัญชนะวา ' อนั วา อันเราอาจเพอื่ จะจับทาวอุเทนผู เสดจ็ มาในที่น้ันจักม.ี บางทานแปล: คเหตุ- เพอ่ื จะจบั .' คหณตตฺ  -เพื่ออันจับ).

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 56 ลพภฺ า ลพภฺ า ใชคลาย สกฺกา แตพบนอยกวา . อ.ุ :- อุ. ที่ ๑ ลพภฺ า....โภคา จ ภุชฺ ติ ,ุ [ลพภฺ า] ปุฺานิ จ กาตุ. [มหาวภิ งฺค ปมภาค. ๑/๒๙ ] \"โภคะ ท. อนั เจาไดเ พอ่ื บริโภค และบุญ ท. อันเจาไดเ พ่ือทํา.\" สมนั ตปาสาทกิ า [๑/๒๔๒] แกค วาม ลพฺภา เปน ลพฺภนตฺ ิ. อุ. ท่ี ๒ ต กเุ ตตฺถ ลพภฺ า, ย เม ปเร อนภิรตึ วโิ นเทตวฺ า อภิรติ อุปปฺ าเทยฺย.ุ [ นกิ ขฺ นตฺ สุตตฺ . ๑๕/๒๗๒ ] \"ขอ ทคี่ นอนื่ พงึ บรรเทาความ ไมยนิ ดี ยังความยนิ ดีใหเ กิดแกเ รา จะไดใ นเมอ่ื ราคะนเ้ี กิดขน้ึ แลวจาก ท่ไี หน.\" ต กเุ ตตฺถ ลพฺภา ใชใ นท่หี ลายแหง, บางแหง ต ใชเ ปน เหตุ (ส.ุ ว.ิ ๒/๒/๔ วา ตนตฺ ิ ตสมฺ า), บางแหง แสดงความ ลพฺภา เปน สกกฺ า ลทฺธุ บาง เปน ลทธฺ พฺพ บาง [ ส.ุ ว.ิ ๓-๒๑๐ ]. อ.ุ ท่ี ๓ ลพฺภา หิ ปุมุหา อทิ . [เวสฺสนฺตรชาตก. ๒๘/๔๑๙] \"เพราะ ทกุ ขน ี้อันชาย (ผูย งั เท่ยี วอยูในภพ] พงึ ได.\" ชาตกกัฏฐกถา [ ๑๐/๔๓๐ ] วา ปมุ นุ าติ อิท ภเว วิจรนเฺ ตน ปุรสิ เน ลภติ พพฺ . แกความ ลพฺภา เปน ลภติ พฺพ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 57 อุ. ที่ ๔ อทิ  (รชฺช) น ลพฺภา เอว กาตุ. [ วฑิ ฑู ภ. ๓/๖] \"ราชสมบัติ นี้ อนั เจาไมได เพื่อทาํ อยา งน้ัน.\" ลพฺภา นี้ เปนสกัมมธาตุ ตรงกนั ขามกน สกกฺ า. ทง้ั วิธปี ระกอบ ประโยคกไ็ มลงรูปเหมือน, คอื ประโยค ลพฺภา ที่ใชบท ตุ ปจ จัย และยกบทกมั ม ของ ตุ ปจ จัย เปน ประธานในพากยก มั มวาจกกม็ ี ดังในตัวอยางที่ ๓ ยกบทกมั มของบท ตุ ปจ จัย คอื โภคา และ ปุ ฺ านิ เปนประธาน, ทีไ่ มใ ชบ ท ตุ ปจ จัยกม็ ี เพราะในบางประโยค ไมใ ชบ ท ตุ ปจ จัย ดังตัวอยา งท่ี ๒ และท่ี ๓, ตา งจาก สกกฺ า ซึง่ ตอ งมีบท ตุ ปจ จยั อยคู ดู วยเสมอ. ประโยค ลพฺภา ที่ไมใชบ ทกมั ม ของ บท ตุ ปจ จัยเปนประธานกม็ ี อ.ุ อย สมเณสุ สกฺยปตุ ฺติเกสุ ปพฺพชนตฺ ,ิ น เต ลพภฺ า กิ จฺ ิ กาตุ, [มหาวคฺค. ๔/๑๕๓ ] \"ชนเหลา ใดบวชในพระสมณะ ท. ผสู กั ยปตุ ติกะ, ชนเหลา นนั้ อนั ใคร ๆ ไมไดเพอ่ื จะทําอะไรๆ.\" ถามีประโยค ลพภฺ า ทปี่ ระกอบอยาง สกฺกา ภาววาจก ก็นา เปน ภาววาจกไดด วย. ภาวสาธนะ ยอมสําเร็จมาจากภาววาจก เพราะเปนภาวรูปอยาง เดียว. กภ็ าวสาธนะนั้น ใชไ ดใ นธาตทุ ัง้ ๒, อกมั มธาตจุ งยกไว, กลาว เฉพาะสกมั มธาตุ เมื่อตั้งวิเคราะหก ็ตองเปน ภาววาจก. จงึ เหน็ วาสกมั ม- ธาตเุ ปน ภาววาจกได ในทคี่ วรเปน . อล อล ใชเ ปนกริ ิยาบทได เชน เดยี วกบั สกกฺ า แตใ ชเ ปน นิบาต

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 58 ในอรรถวารณะคอื หาม (อยางเลย) เปนตนโดยมาก จนมักแหนงใจใน เมือ่ จักใชกิรยิ าบท. อล บทนี้ ทานแสดงวาสําเรจ็ รปู มาจากธาตุ เชน เดยี วกับ สกฺ กา ลพภฺ า ดงั จะกลาวในตอนทาย, เหตฉุ ะนี้ แมจะ ไมค อ ยชนิ หูชนิ ตา ก็พงึ ทราบวา เปนกิรยิ าบทได ในที่เปน กิริยาบท ไม ตองฝนของทา น. อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ กมั มวาจก นวหิ ภกิ ฺขเว องฺเคหิ สมนนฺ าคต กุล อนุปคนตฺ วา จ นาล อุปคนฺตุ, อุปคนตฺ วฺ า จ นาล อุปนสี ที ิตุ. [ วิฑูฑภ. ๓/๘ ] \"ภกิ ษุ ท. ตระกูลทปี่ ระกอบดวยองค ๙ (อนั ภกิ ษ)ุ ยังไมเขา ไป ไมควรเพือ่ เขา ไป, และเขาไปแลว ไมค วรเพือ่ เขา ไปนง่ั .\" กลุ นตฺ ิ ปท น อลนตฺ ิ ปเท วตุ ตฺ กมมฺ . อลนตฺ ิ ปท กุลนตฺ ิ ปทสสฺ กมฺาวาจก กิริยาปท. อุ. ที่ ๒ ภาววาจก อล หิ โว กาลามา กงขฺ ิตุ, อล วจิ ิกจิ ฺฉติ .ุ [ ติก.องฺ. ๒๐/๒๔๓] \" ดกู อ นชาวกาลาม ท. อนั ทา น ท. ควรแทเพอ่ื สงสัย, ควรเพ่ืองงงวย.\" (อล= ยุตตฺ . มโน. ป.ู ๒/๒๓๙ ) โว อนภหิ ิตกตั ตา ใน อล. อล กิริยาบท ภาววาจก. [ ๒ ] แมบทนามกิตกบ างบทใชเปนกิรยิ า อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ ลพฺภเมต วชิ านตา [ โสนนฺทชาตก ๒๘/๖๖ \"ผล (อฏิ ผล)

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 59 น่ัน อันผรู แู จง พึงได. \" (ลพภฺ =ลภ+ฺ ณฺย ไมเปน นิปาตบทเหมือน ลพภฺ า. แต ลพภฺ า ในบางแหง อาจคดิ วาเปน นามกติ ก ป.ุ ป. พหุ. ก็ได). อ.ุ ที่ ๒ เต จ ภกิ ฺขู คารยหฺ า. [ มหาวิภงฺค. ๒/๔๒๔ ] \"ภิกษุ ท. นน้ั ถกู ตเิ ตียนดวย.\" (คารยฺหา=ครหฺ +ณยฺ ). อุ. ท่ี ๓ วุฑฺฒเิ ยว ภิกฺขเว ภกิ ขฺ นู  ปาฏิกงฺขา. [ อปรหิ านยิ ธมฺมสตุ ตฺ . ๒๓/๒๑] \"ภิกษุ ท., ความเจรญิ อยา งเดยี ว อันภกิ ษุ ท. พงึ หวังได. \" (ปาฏิกงฺขา=ปฏิ+กงฺข+ณ เพราะอัฏฐกถาแกอ รรถเปน ปาฏกิ ง-ฺ ขิตพฺพา [ เชน ป. ส.ู ๑/๒๓๑ ตอนแก วตถฺ ูปมสตุ ฺต]. เทียบ วหติ พโฺ พติ วาโห. วห+ณ). บทนามกติ กทใ่ี ชเปนกริ ยิ าน้ี นกั เรยี นมกั ไมก ลาใชเปน กริ ยิ า แต สงั เกตดูวาทานมงุ ใหเปน กิริยา เพราะฉะนัน้ เรียกเหมือนกริ ยิ ากิตกใ น พากย ก็สมควร. แมกริ ยิ ากิตก ที่ใชเปนนาม กบ็ อกสัมพันธเ ปนนามกันได, ไฉน นามกิตก ทใ่ี ชเ ปน กริ ิยาจะบอกเปนกิริยาไมได. [ ๓ ] ตอ ไปน้ีจะแสดงศัพท สกกฺ า ลพภฺ า และ อล ตามที่ ทานผูหน่งึ คนไดจ ากอภิธารศัพทบ างฉบับ ประกอบสนั นิษฐาน:-

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 60 สกกฺ า ลพภฺ า สกกฺ า ลพฺภา วา เปนนบิ าต มาจากกริ ยิ าอาขยาตสตั ตมีวิภัตติ แสดงรปู ทางสส กฤต คอื ศกฺ ลภฺ ธาตุ ลงสัตตมวี ภิ ัตติ สาํ เร็จเปน ศกยฺ าต,ฺ ลภยฺ าต.ฺ สนั นษิ ฐายวา ศกยฺ าตฺ ลภยฺ าตฺ ในสสกฤต, เมื่อมาสูบ าลี ตฺ หายไป คงเหลอื เพยี ง สกฺกา, ลพฺภา, เทียบ สฺยาตุ. กรุ ยฺ าตฺ มาสู บาลเี ปน สิยา กยริ า. ตามสนั นษิ ฐานน้ี เดิมจึงเปนกัตตวุ าจก. ฉะน้ี สกกฺ า ลพภา เปนอพั ยยศัพทหรอื นิบาต, และมาใชเ ปน กมั มวาจกบา ง ภาววาจกบาง ศัพททาํ นองนี้ คือเดิมเปนกริ ิยาของอาขยาต แลวมาเปนนิบาต อัพยยศพั ท มีแนวเทียบ คือ :- มฺเ มาจาก มน+ฺ ย+เอ วัตตมานาวิภัตติ อตั ตโนบท. ภเณ มาจาก ภณฺ+อ+เอ วตั ตมานาวภิ ัตติ อัตตโนบท. อฺ ทตถฺ ุ มาจาก อฺ+อตถฺ .ุ (อสฺ+ตุ ปญจมวี ภิ ัตต.ิ ) แต ลพภฺ า โดยอรรถ ทานแกห ลายอยา งดังกลาวไวก ับตัวอยา ง ในหนหลังแลว. อล อล วาเปน นบิ าต มีทางมาเปน ๒ คอื :- ก. ออกจาก อลฺ ธาตุ เปนไปในความสันทดั อาจ และอะไร ๆ พวกน,ี้ ลงนิคคหติ เมอื่ สาํ เรจ็ รูปศัพท. อลฺ ธาตุ น้ี เปน ธาตุประดิษฐ ข้นึ เพอ่ื อล ศัพท.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 61 ข. ออกจาก ฤ ธาตุ ใน สสกฤต เปน ไปในความรวดเร็ว สําเรจ็ รปู เปน อร. แลว ทาํ ใหเ ปน กัมมการก กริ ยิ าวิเสสนะ เปน อร. เกดิ รูปใหมอ กี รูปหน่งึ เปน อล, มคี วามหมายวา ควร, เหมาะ, อาจ, สามารถ. แลว กลายเปน นิบาตไป. สันนิษฐานวา ความหมายเดมิ วา เร็ว (อร) กบั ความหลาย ใหมวา ควร. เปน ตน (อล) เขากนั ได เพราะอะไร ๆ ถารวดเรว็ คลอ งแคลว ก็คงมอี รรถรสไปทางเหมาะ, สม, ควร, อยูในตัว. อนง่ึ กิรยิ าวิเสสนะน้ัน สําเรจ็ อยูท่ีนิคคหิตเปน ใหญ เชน สขุ  เสติ, และศพั ทท ่ลี งนิคคหิตเพ่ือจํากดั ใหเปน กิริยาวิเสสนะ (ภาว- นปุสก) แลว เมอื่ นิคคหิตยังคงอยู กแ็ จกไมไ ดอีกตอ ไป อพั ยย), แมแ จกกนั มาแลว เม่อื ลงนคิ คหิตอกี กเ็ ปนกิรยิ าวเิ สสนะหนักแนน แนน อนข้ึน เชน จิรสฺส เอา  ประทบั ลงอีกครั้งเปน จิรสฺส อล จึง กลายเปน นิบาต อัพยยศพั ทไ ปฉะน.้ี เทยี บบาลี : ในบาลมี ี อรฺ ธาตเุ ปน ไปในความไป, ในอภิ- ธานัปปทีปกา ขอ ๔๐ แสดง อรฺ ในหมวดศพั ทจ ําพวกทแี่ ปลวารวดเรว็ . การใช : อล ใชใ นความหมายไดหลายอยาง , ในความหมาย หา ม เชน อล เม พทุ ฺเธน, ในความหมายวาควร วา สามารถ เชน อล กาตุ อล สว ธิ าตุ เปนตน . ในทางสัมพนั ธ กม็ ักใชเ ปน วกิ ติ- กัตตาเปน ตน เหมอื นอยา งนามศัพท, สวนท่ใี ชเปนกิริยาบทโดยแทมนี อ ย ตา งจาก สกฺกา ลพภฺ า. สรูปอธบิ าย : กิรยิ าบท คอื สกกฺ า ลพฺภา อล ท่ีใชเ ปน บท กริ ยิ าในพากย กมั มวาจกบาง ภาววาจกบาง.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 62 สมั พนั ธซอ น ๗. บททัง้ หลายในพากยางคห รือในพากยท่วั ไป ยอมมีความ หมายเนื่องถงึ กันโดยปกติ และเรยี กชือ่ วา ลิงคัตถะ สยกัตตา เปน ตน ตามที่กลาวมาแลว, แตบางแหง บทหรือแมพ ากยางคและพากย ยั ังเนอ่ื งถงึ กันดว ยความหมายอีกอยางหนงึ่ ดังตอไปน้ี :- วิวรยิ ะ-วิวรณะ (๑) เปน บทเดียวหรอื หลายบทที่ควรไข คอื ขยายเปด เผย ความใหชดั ดวยบทเดยี วหรอื หลายบทอืน่ อกี , บททีค่ วรไขอนั ตง้ั อยู เบื้องหนา เรยี กชอ่ื วา วิวริย, บทที่ไขออกไปอนั ตั้งอยเู บ้อื งหลงั เรียกชอ่ื วา ววิ รณ. เหมือนในพากย อนฺโตอคฺคิ พหิ น นหี ร-ิ ตพโฺ พ ยงั ไมชัดวา \"ไฟภายใน ไมพึงนาํ ออกภายนอก\" นั้น ภายนอกคอื ในทีไ่ หน จึงมีบทไขในตอนอธบิ ายวา สสสฺ ุสสรุ สามกิ าน อคณุ  ทสิ ฺวา พหิ ตสฺมึ ตสมฺ ึ เคเห ตวฺ า มา กเถส.ิ ได ความชัดวา เหน็ โทษมิใชค ณุ ของแมผ วั พอผวั และสามแี ลว อยา ตัง้ กลา วในภายนอก คอื ในเรือนนัน้ ๆ . พหิ เปน ววิ ริยะ, เคเห เปน ววิ รณะ. วิวรยิ ะ-ววิ รณะ น้ี ใชใ นอรรถกถาที่แกบ าล,ี ในฎกี าทแ่ี ก อรรถกถา, ในอนุฎกี าที่แกฎ ีกาเปน พ้ืน, และบททม่ี าในบาลี เชน ในคาถาธมั มบทเปน ตน ตอ งเปน วิวริยะเสมอ. อ.ุ ในอรรถกถา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 63 ลาชเทวธีตาวตั ถุ (เร่ืองที่ ๙๗) ตอนแกอ รรถบาทคาถา สุโข ปุ ฺสสฺ อจุ จฺ โย วา ปุ ฺ สฺส หิ อจุ จฺ โย วฑุ ฒฺ ิ อิธโลกปร- โลกสุขาวหนโต สุโข. อธบิ าย : [ ๑ ] บทเชนไรเรยี กวา ววิ รยิ -ววิ รณะ ไดก ลา ว ไวในหัวขอ ขา งตน แลว , แตพ ึงกาํ หนดวาตองบอกชอ่ื สัมพันธ วิวรยิ ะ -ววิ รณะดวย ช่อื สมั พนั ธโ ดยปกติดว ย ดัง อุ อมฺม ตว สสฺสุสสรุ - สามิกาน อคุณ ทสิ ฺวา พห:ิ ตสมฺ ึ ตสมฺ ึ เคเห ตฺวา มา กเถส.ิ [ วสิ าขา. ๓/๖๔ ] \"แม, เจา เหน็ โทษมิใชคุณของแมผวั พอผวั และสามี ของเจาแลว อยาตง้ั กลา วในภายนอก คือในเรอื นนั้น ๆ\" อมมฺ อาลปนะ. ตว สยกัตตา ใน กเถส.ิ กเถสิ อาขยาตบท กัตตุวาจก. ตว สามสี มั พันธ ใน สสสฺ .ุ ..สามิกาน สสฺสุ...สามกิ าน สามีสัมพันธ ใน อคุณ. อคุณ อวตุ ตกัมม ใน ทิสวฺ า. ทสิ วฺ า ปพุ พกาลกริ ิยา ใน กเถส.ิ พหิ ววิ ริยะ และ อาธาร ใน กเถส.ิ ตสฺมึ ตสฺมึ ๒ บท วิเสสนะ ของ เคเห. เคเห วิวรณะ ของ พหิ และ อาธาร ใน กเถสิ. ตวฺ า สมานกาลกริ ยิ า ใน กเถส.ิ มา ศัพท ปฏเิ สธ ใน ตฺวา กเถสิ. สัมพันธเปนภาษามคธ พึงดูตามทที่ านสัมพันธเ ปน ตัวอยางใน แบบวายกสัมพนั ธ ภาคที่ ๓ ตอนตน ตอนทา ย. [ ๒ ] วิวริยะ-ววิ รณะน้ี ใชใ นอรรถกถาทแ่ี กบาลีเปนตน เปนชน้ั ๆ ลงมาเปนพื้น, กลา วเฉพาะในอัฏฐกถาธรรมบท เมือ่ มีบทท่ีมาในคาถา บทที่มาในคาถาตองเปน วิวรยิ ะ เสมอ อ.ุ :-

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 64 อุ. ที่ ๑ ปุฺ สฺส หิ อุจฺจโย : วฑุ ฺฒิ อิธโลกปรโลกสขุ าวหนโต สุโข. [ ลาชเทวธตี า. ๕/๙ ] \"เพราะวา ความสงั่ สม คอื ความเจรญิ แหงบุญ ชือ่ วาเปน สุข เพราะเปน เครือ่ งนํามาซึ่งความสุขในโลกนีแ้ ละโลกอน่ื .\" อจุ จฺ โย เปน บทมาในคาถาบาทที่ ๔ วา สโุ ข ปุ ฺสสฺ อจุ จฺ โย ไขเปน วฑุ ฒฺ ิ บอกสมั พนั ธเ ฉพาะที่ตอ งการวา :- [ ไทย ] อจุ ฺจโย ววิ รยิ ะ และสยกตั ตา ใน โหต.ิ วฑุ ฒฺ ิ วิวรณะ ของ อุจจฺ โย และ สยกัตตา ใน โหต.ิ โหติ อาขยาตบท กัตตวุ าจก. [ มคธ ] อจุ จฺ โยติ ปท ววิ รยิ  โหตีติ ปเท สยกตฺตา. วฑุ ฺฒิ วิวรณะ ของ อจุ ฺจโย และ สยกัตตา ใน โหต.ิ โหติ อาขาตบท กตั ตวุ าจก. [ มคธ] อุจจฺ โยติ ปท ววิ ริย โหตีติ ปเท สยกตฺตา. วฑุ ฺฒตี ิ ปท อุจจฺ โยติ ปทสสฺ ววิ รณ โหตีติ ปเท สยกตตฺ า. โหตีติ ปท อุจจฺ โย วุฑฒฺ ตี ิ ปททวฺ ยสสฺ กตฺตวุ าจก อาขยฺ าตปท. อ.ุ ที่ ๒ โย อตตฺ นา พาโล: อปณฺฑิโต สมาโน พาโล อหนฺติ ต อตฺตโน พาลยฺ  : พาลภาว มฺติ: ชานาต.ิ [ คณฺ เิ ภทกโจร. ๓/๑๓๐ ] \"บคุ คล ใด เปน พาลอยู คือไมเปนบณั ฑติ ดว ยตน ยอ ม สําคญั คอื รู ความที่ตนเปนพาล คอื เปนผเู ขลา นัน้ วา เราเปน พาล.\" พาโล เปนตน มาในคาถาบาทที่ ๑ วา โย พาโล มฺาติ พาลฺย ไขเปน ดงั นี้: พาโล: อปณฺฑิโต พาลยฺ : พาลภาว. มฺ ติ:

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 65 ชานาต.ิ บอกสมั พนั ธว า: [ไทย] ปคุ ฺคโล สยกตั ตา ใน มฺ ติ ชานาต.ิ มฺ ติ ววิ รยิ ะ. ชานาติ วิวรณะ ของ มฺต.ิ ทง้ั ๒ บท อาขยาตบท กตั ตุวาจก. โย วิเสสนะ ของ ปุตตฺ โล. อตตฺ นา กรณ ใน พาโล อปณฑฺ โิ ต, พาโล วิวริยะ และ วิกตกิ ัตตา ใน สมาโน อปณฑิ ฺโต วิวรณะ ของ พาโล และ วิกติกัตตา ใน สมาโน. สมาโน อัพภนตร- กริ ิยา ของ ปคุ ฺคโล. อห สยกัตตา ใน อมหฺ ิ. อิติ ศพั ท อาการ ใน มฺ ติ ชานาติ.ต วเิ สสนะ ของ พาลฺย พาลภาว. อตฺตโน ภาวาทสิ มั พันธ ใน พาลยฺ . และ-ภาว. พาลฺย ววิ รยิ ะ และ อวตุ ตกัมม ใน มฺติ ชานาต.ิ พาลภาว วิวรณะ ของ พาลฺย และอวตุ ตกมั ม ใน มฺติ ชานาต.ิ [ มคธ] โยติ ปท ปุคฺคโลหติ ปทสฺส วเิ สสน. ปุคฺคโลติ ปท ปฺ ติ ชานาตตี ิ ปททฺวเย สยกตตฺ า. อตตฺ นาติ ปท พาโล อปณฺฑโิ ตติ ปททวฺ ยสฺศ กรณ. พาโลติ ปท ววิ รยิ  สมาโนติ ปเท วิกติกตตฺ า. อปณฑฺ ิโตติ ปท พาโลตปิ ทสสฺ วิวรณ สมาโนติ ปเท วกิ ติกตฺตา. อปณฑฺ ิโตติ ปท ปุคคฺ โลติ ปทสสฺ อพภฺ นิตรกิริยาปท. พาโลติ ปท อมหฺ ีติ ปเท วกิ ติกตฺตา. อนหนตฺ ิ ปท อมฺหีติ ปเท สยกตฺตา (หรือ ปกติกตตฺ า). อมหฺ ีติ ปท อหนตฺ ิ ปทสสฺ กตตฺ วุ าจก อาขฺยาตปท. อติ ิสทโฺ ท มฺติ ชานาตีติ ปททวฺ เย อากาโร. ตนตฺ ิ ปท พาลยฺ  พาลภาวนฺติ ปททวฺ ยสสฺ วเิ สสน. อตฺตโนติ ปท พาลฺยนฺติ จ-ภาวนฺติ จ ปททวฺ เน ภาวาทิสมพฺ นโฺ ธ. พาลฺยนฺติ ปท ววิ รยิ 

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 66 มฺติ ชานาตตี ิ ปททฺเวย อวุตตฺ กมฺม. พาลภาวนฺติ ปท พาลฺยนฺติ ปทสสฺ ววิ รณ มฺ ติ ชานาตีติ ปททฺวเย อวุตตฺ กมมฺ . มฺ ตีติ ปท ววิ ริย ปุคคฺ โลต ปทสฺส กตตฺ ุวาจก อาขฺยาตปทง ชานาตตี ิ ปท มฺตีติ ปทสสฺ วิวรณ ปุคฺคโลติ ปทสสฺ กตฺตวุ าจก อาขยฺ าตปท. [ ๓ ] แมห ลายบทผสมกนั เปนพากยางคแ ละพากย กเ็ ปนวิวริยะ -ววิ รณะได อุ. ตสมฺ า ตมุ เฺ ห มา ปมาทมนยุ ุ ฺเชถ: มา ปมาเทน กาล วีตนิ ามยติ ฺถ. [ พาลนกขฺ ตฺต. ๒/๙๔ ] \"เพราะเหตนุ ัน้ ทา น ท้งั หลาย อยาตามประกอบความประมาท คอื อยางยงั กาลใหนอมลวงไป ดวยความประมาท.\" มา ปมาทมนยุ ุฺเชถ มาในคาถา ยกมาท้ังบาท เปน ววิ รยิ ะ, มา ปมาเทน กาล วตี นิ ามนิตถฺ เปน ววิ รณะ ของบาทคาถานัน้ . (บอกสัมพันธโ ดยปกติอกี สว นหนึง่ ). [ ๔ ] แมมใิ ชบ ทมาในคาถาก็มี ววิ รณะ ได อุ. มรจี ิ ทูเร ิตาน รปู คต วิย : คยฺหปุ คา วิย โหติ. [ มรจี ิกมมฺ ฏ ารกิ ตเฺ ถร. ๓/๔] \" พยบั แดดยอ มเปนเหมือนรปู คอื เหมือนควรทจ่ี ะถือเอาได. \" ความทอนน้ี อธบิ ายความบทวา มรีจิธมฺม ในคาถาวา เผณปู ม เปนอาทิ. บทวา รูปคต เปน ววิ ริยะ, บทวา คยฺหุปคา เปน วิวรณะ. [ ๕ ] วิวริยะ กบั ววิ รณะ ตองเสมอกันหรอื เทยี บเทากนั เชน เปนบทนามเสมอกัน อ.ุ อจุ จฺ โย: วุฑฒฺ ิ, เปน กิริยาชนั้ เดยี วกัน อ.ุ มฺ ติ : ชานาติ, แมเปนพากยก ด็ วยกนั อุ. มา ปมานยุ ุเฺ ชถ:

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 67 มา ปมาเทน กาล วีตินามยิตฺถ ตามทีแ่ สดงแลว. บางแหง เติมบทท่ี ละไวเขามา อุ. ....ทุกโฺ ข (โหต)ิ ทกุ ขฺ เมว อาวหติ. [ เสยฺยสกตฺเถร. ๕/๖ ] \" ยอมเปน ทกุ ข คอื ยอมนาํ มาซึ่งทกุ ขนัน่ เทียว.\" ทกุ โฺ ข เปน บทมาในบาทคาถาวา ทกุ โฺ ข ปาปสสฺ อุจจฺ โย ไขเปน ทุกขฺ เมว อาวหติ, ตองเตมิ โหติ เขา มาเปน ทุกฺโข โหต.ิ (ทกุ โฺ ข เปนวิกตกิ ตั ตา ใน โหติ แตไมเ ขยี น โหติ ไว ตอ งเขาใจเอาเอง). [ ๖ ] คาํ ท่เี ปน ไวพจน (ววิ ธิ ) เอกสฺมึ อตฺเถ วจน คํามรี ูป ตา ง ๆ กนั แตใ ชใ นอรรถเดียวกัน) ไมเ ปน ววิ รยิ ะ-ววิ รณะ. คาํ ท่ีเปน ไวพจนข องกันและกันนี้ มใี นสํานวนบาลโี ดยมาก เชนในธรรมนิยาม- สูตรวา ต ตถาคโต อภสิ มฺพชุ ฌฺ ติ อภิสเมติ, ปฏเปติ ววิ รติ วภิ ชติ อุตตฺ านีกโรต.ิ \"พระตถาคตยอ มตรัสรูต ลอด ยอมทรงทราบตลอด ธาตนุ ้นั , ครัน้ ตรัสรูต ลอด ครัน้ ทรงราบตลอดแลว ยอมทรงบอก ทรงแสดง ทรงบญั ญตั ิ ทรงกําหนด ทรงเปด เผย ทรงจาํ แนก ทรง ทาํ ใหต ื้น.\" อภสิ มฺพุชฺฌติ อภสิ เมติ เปนไวพจนกัน, อภสิ มฺพุชฌฺ ิตฺวส อภิสเมตฺวา ก็เชน เดยี วกนั , และ ๗ บท มี อาจิกขฺ ติ เปนตน ก็เปน ไวพจนกัน. ในธัมปทฏั ฐกถาก็มบี า ง เชน ในทา ยเร่อื งมรีจกิ มั มัฏฐาน-ิ กัตเถระ [ ๓ /๓] แสดงวา พระเถระบรรลพุ ระอรหตั พรอ มกับปฏสิ มั ภทิ า ในทสี่ ุดแหงคาถาแลว ' สตฺถุ สวุ ณณฺ วณฺณ สรีร โถเมนฺโร วณเฺ ณนโฺ ต วนทฺ นโฺ ต อาคโต ชมเชย สรรเสรญิ ไหวพระสรรี ะ มวี รรณะเพยี งดัง วรรณะแหงทองของพระศาสดาอยมู าแลว.' โถเมนโฺ ต วณฺเณนฺโต เปน ไวพจนกัน.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 68 สว นในอรรถกถา กม็ ใี ชบทเปน ไวพจน แตเพราะมุงแกบทมา ในคาถา จึงเรยี กเปน วิวริยะ-ววิ รณะ อุ. โก วเิ ชสสฺ ติ วิชานสิ สฺ ติ ปฏิวิชฌฺ ิสสฺ ติ สจฉฺ กิ ริสสฺ ต.ิ [ ปวีกถาปสุตปฺจสติภกิ ขฺ .ุ ๓/๒ ]\"ใคร จักรูแ จง คือจกั รูช ัด คือจกั แทงตลอด คอื จักทาํ ใหแจง ..\" วิเชสสฺ ติ เปนบทมาในคาถา บทตอ ไปเปนบทไขแหง วิเชสสฺ ต,ิ เรยี กสัมพนั ธ สงตอกนั ไปวา วเิ ชสฺสติ วิวรยิ ะ: วชิ านสิ สฺ ติ ววิ รณะ ของ วเิ ชสสฺ ติ และ วิวรยิ ะ ฯลฯ. แตถ าไมไ ดม งุ แก เปนคาํ ท่พี ูดควบกนั เชน มหปุผลา โหติ มหานสิ สา ก็ไมตอ งไข. [ ๗ ] ในโยชนาเรยี กวิวรณะอกี อยา งหน่ึงคือ คําอธิบายทอนท่ี ๒ ท่ีเปนขอ ความใน อตโฺ ถ (อธิบาย) บาง ใน เอวเมตฺถ อตโฺ ถ ทฏพฺโพ บา ง ทา นกเ็ รียกวา วิวรณะ. อุ. :- อุ. ที่ ๑ ลาภคคฺ มหตตฺ นตฺ ิ ลาภสสฺ อคคฺ มหตฺต. ฯ เป ฯ 'ลาเภน วส อคฺคมหตฺตมฺป ลาเภน เสฏตตฺ ฺจ มหนตฺ ตฺจิ ปตโฺ ตติ อตโฺ ถ. [ส. ปา. ๑/๒๒๑ ] \"บทวาลาภคคฺ มหตฺต ความวา ซ่ึงความเปน หมูใ หญเลิศแหง ลาภ. ฯลฯ อีกแหง หน่ึง อธบิ ายวา ถึงความเปน หมู เลิศและใหญด ว ยลาภ คอื ความเปนหมปู ระเสริฐ และความเปนหมใู หญ ดว ยลาภ.\" โยชนา [ ๑/๒๐๒ ] วา ลาเภนาติ อาทิ วิวรณ. ขอ ความใน อตฺโถ นี้ ทา นวา เปนววิ รณะ เพราะเปนคําอธิบาย

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 69 ทอนท่ี ๒ ทไี่ ข คอื ขยายออกไปอกี จากทอนที่ ๑ คอื ลาภสสฺ อคฺคมหตฺต. อ.ุ ที่ ๒ ต ปเนต น กสยิ า น วณิชฺชาย สมภฺ ต, อปจ โข อติ ถฺ ิกาย อติ ถฺ ีธน. ' ย อิตถฺ กิ าย าติกุลโต สามกิ ุล คจฺฉนตฺ ิยา ลทฺธพฺพ นฺหานจณุ ณฺ าทนี  อตถฺ าย อติ ฺถธี น, ต ตาว เอตฺตกนตฺ ิ เอวมตฺถ อตโฺ ถ ทฏพโฺ พ. [ ส. ปา. ๑/๒๔๒ ] \"กท็ รพั ยน น้ี ัน้ ไดมาแลว ดวยการทํานา ก็หาไม, ดวยการคาขาย ก็หาไม, ที่แท ทรัพยน นั้ เปน ทรัพยส ําหรบั หญงิ ขอฝายหญิง. พงึ เห็นเนือ้ ความในคาํ วา อติ ฺถิกาย อติ ฺถีธน นี้อยางน้ีวา ' ทรัพยสาํ หรับฝายหญงิ เพอ่ื ประโยชนแกจณุ เปน เครือ่ งอาบเปนตน ใด ทห่ี ญิง ผไู ปสูตระกูลสามีจากตระกลู ญาติ พงึ ได ทรัพยน น้ั ประมาณเทานี้กอ น.\" โยชนา [ ๑/๒๑๗ ] วา ยนตฺ ิ อาทิ วิวรณ. [ ๘ ] ยงั มีวิธไี ขศพั ทใ นการแปลศัพทอ กี อยางหนึ่ง ที่โบราณ เรยี ก ' มักวา ' (= เมาะวา, เมาะ) เชน อิติ ม. ตสฺมา ในบัดน้ี ใช คาํ วา ' คือวา.' วิธไี ขศพั ทอยางน้ี มใี ชห าง ๆ ดงั เชน :- อ.ุ ท่ี ๑ นิพฺพาน หิ สุคเตน เทสต, ตสฺมา ตสสฺ มคฺค ภาเวหิ, [ สารปี ตุ ฺตเถรสสฺ สทธฺ วิ หิ ารกิ . ๗/๘๒ ] \"พระนพิ พานอนั พระสุคตทรง

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 70 แสดงแลว (หิ ม. ยสฺมา) เพราะเหตใุ ด, เพราะเหตุนัน้ ทา นจงยังหน ทางแหงพระนิพพานนน้ั ใหเจรญิ .\" อ.ุ น้ี เปนอรรถกถาแหง บาทคาถาวา นพิ พฺ าน สคุ เตน เทสิต แกเปน ประโยค นาคโสณฑิ, ดูอธิบายดว ยเร่อื งน้ัน. อ.ุ ที่ ๒ เอตฺหิ ตุมฺเห ปฏปิ ชฺชถ. [ปจฺ สตภิ กิ ขฺ .ุ ๗/๖๐ ] \" (หิ ม. ตสฺมา ) เพราะเหตุนน้ั ทา นทง้ั หลายจงปฏิบตั ทิ างน้ัน\" (ตามแกอรรถ). อ.ุ ท่ี ๓ วสฺสิกา วยิ ปปุ ผานิ มชชฺ วานิ ปมุ จฺ ติ เอว ราคฺจ โทสจฺ วิปปฺ มุฺเจถ ภิกฺขโว. [ปฺจสตภิกฺขุ. ๗/๗๙ ] \"มะลิยอมปลอยดอก ท. ที่เหีย่ ว (วิย ม. ยถา) ฉันใด, ภกิ ษุ ท., ทา น จงปลอ ยราคะโทสะเสียฉันน้ัน.\" การใช ' ม.' คอื ไขศัพท ดังใน อุ. ที่แสดงมาน้ี เปนการแสด ความรูอ รรถของศัพทใ นเวลาแปล เชน หิ ในทีน่ นั้ โดยอรรถวา ยสฺมา, ในท่นี นั้ โดยอรรถวา ตสฺมา เปนตน. ยสฺมา ตสมฺ า เปนตน ซงึ่ เปนบทววิ รณะโดยอรรถนนั้ ไมมีตวั อยู ตางจาก ววิ รยิ ะ-วิวรณะ ซ่งึ ตา งกม็ ตี ัวอยูดว ยกัน, ฉะนน้ั ในเวลาสัมพันธ ไมต องบอกวา ววิ รยิ ะ- วิวรณะ, บอกตรงโดยอรรถของศพั ทหรอื บทนัน้ ๆ ทีเดียว เชน หิ เหตุ, หรอื บอกวา หิ ม. ตสฺมา ๆ เหตุ ดงั นก้ี ็ได.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 71 ในโยชนา ทานแสดงอรรถของศัพทไวเหมือนกัน เชน โน โดย อรรถวา อมเฺ ห ทา นบอกวา โนติ ปทสฺส วิวรณ อมเฺ หติ. [ส. ปา. ๑/๒๔๔. โยชนา ๑/๒๑๘ ]. \"อมฺเห เปน วิวรณะ ของ บทวา โน.\" ฉะน้ัน จะใชค ําวา ' วิวรณะ.' แทน ม. ก็ได เพราะความ เทากนั เชน หิ ววิ รณะ ตสฺมา. อน่ึง ในประโยคทว่ี าง ตถา อนกุ กฑั ฒนัตถนบิ าตไว เพื่อชกั ถงึ ความทอนตน มาพูดในความทอ นหลงั อีก ไมต องบอก ตถา และ ความที่ ตถา ชักถึงเปน ววิ ริยะ-ววิ รณะ. เร่อื งนี้จักมีในตอนทีว่ า ดวย นิบาต. [ ๙ ] มคี าถา ๒ บาท ในอภธิ านัปปทปี กา ขอ ๑๑๔๕ แสดงวา ย ต ยโต ตโต เยน เตเนติ การเณ สิย.ุ \" บทเหลาน้คี อื ย ต ยโต ตโต เยน เตน พงึ ใชใ นเหตุ.\" วทามิ, ภททฺ  โว. [กปล มจฉฺ . ๘/๖ ] \" (ต) เพราะเหตุน้นั เรา กลา วกะทา น ท., ความเจริญจงมีแกทาน ท.\" สรปู อธบิ าย : วิวริยะ เปนบททพี่ งึ ไข, วิวรณะ เปนบทของ ววิ ริยะ. สญั ญ-ี สญั ญา (๒) เปน บทเดยี วหรือหลายบท ที่กลา วอธิบายความกันอยาง ววิ ริยา-ววิ รณะ, แตวางกลบั กันเสยี บทไขกก็ ลายเปน คําวิเคราะห เพราะวางไวหนา เหมือนคําวิเคราะหศ ัพท, บททพี่ งึ ไขกก็ ลายเปน คํา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ท่ี 72 ทีพ่ ึงวเิ คราะห เพราะวางไวหลงั เหมือนบทปลง, ทานบญั ญตั ชิ ื่อเรียก คาํ วิเคราะหวา สญั ญี, เรียกคาํ ท่ีพงึ วิเคราะหวา สญั ญา (ช่อื วา), มคี วามเทา กบั ววิ รยิ ะ-ววิ รณะ ตา งกนั แตว ิธเี รียงและช่ือที่บัญญัตขิ นึ้ เรยี กเทา น้นั . ช่อื นี้ นาบญั ญตั ิข้นึ อนุโลม สญั ญ-ี สัญญา ทเ่ี รียกใน โยชนา, แตสัญญี-สัญญา ทเี่ รียกในโยชนา กค็ ือสญั ญาวเิ สสิยะ- สญั ญาวเิ สสนะ ซึง่ แสดงในหนหลังแลว, สวนทีบ่ ญั ญัตเิ รียกวา สญั ญี-สญั ญา ในขอนี้ ในโยชนาไมไดเ รยี ก เชน เดียวกับไมคอย ไดเรยี กวิวรยิ ะ-ววิ รณะ, เรียกตามสัมพันธโดยปกตเิ ปน พืน้ , ทบ่ี ญั ญตั ิ เรียกซอนลงไปอกี กับสมั พันธต ามปกตกิ เ็ ปนการละเอียด. อ.ุ ใน อรรถกถาปโ ลตกิ ัตเถรวตั ถุ (เร่ืองท่ี ๑๑๖) วา เอวรโู ป ปุคคฺ โล ทุลฺลโภ (โหติ) โกจิเทว โลกสฺมึ วชิ ชฺ ต.ิ ในตัวอยางน้ี โกจิ- เทว โลกสฺมึ วชิ ฺชติ ยกมาจากคาถาท้ังบาท ความในบาทคาถานีม้ ี เทากบั ทลุ ฺลโภ เพราะมีนอ ยคน (โกจเิ ทว...วชิ ชฺ ต)ิ . กเ็ ทา กบั หา ไดย าก( ทุลฺลโภ ) หรอื หาไดย ากก็เทา กับมีนอ ย, ในท่นี ้เี รยี ง ทลุ ลฺ โภ ไวหนา ความทอนท่ียกมาจากคาถา บญั ญตั ิเรียกวา สญั ญี (เติม โหติ เพือ่ ใหม รี ปู เสมอกนั ) และเรียงความทอ นท่มี าในคาถาวา สญั ญา (ช่ือวา). บทหรือความทอ นท่ีมาในคาถาตองเปน สัญญาเสมอ. อธบิ าย : [ ๑ ] คําวา วิเคราะห ในทางไวยากรณหมายถึง วเิ คราะหศ ัพท เหมือนอยาง สยมฺภู ต้ังวิเคราะหวา สย ภวาตตี ิ สยมฺภู, สย ภวติ เปน บทวเิ คราะห สยมฺภู เปน บทปลง นวี้ เิ คราะหทาง ไวยากรณ, แตในท่นี ี้ สญั ญีเปนคําวิเคราะหท างความมิใชว ิเคราะหศ พั ท คอื มงุ อธบิ ายความของบทสัญญา อ.ุ เอวรโู ป ปคุ คฺ โล ทลุ ลฺ โภ (โหต)ิ

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 73 โกจิเทว โลกสฺมึ วชิ ฺชต.ิ [ปโลตกิ ตฺเถร. ๕/๘๑ ] \" บุคคลเหน็ ปาน นัน้ หาไดยาก ชอ่ื วามีนอยคนน่นั เทียวในโลก.\" (จินโฺ ต กาโก จ กสึ ทฺโท อปปฺ กตถฺ สสฺ วาจโก.' \"ศพั ทว า กา โก กึ ทม่ี ี จิ เปนทส่ี ดุ บอกอรรถคือนอ ย).\" โกจเิ ทว โลกสฺมึ วชิ ชฺ ติ เปนขอ ทพ่ี งึ วิเคราะหวา ความอยา งไร ? ทา นจึงใหวิเคราะหค วาม (รวมกนั ) วา ทุลฺลโภ, เรียงดจุ ต้ังวิเคราะห ศพั ทวา ทลุ ฺลโภ (โหต)ิ โกจิเทว โลกสฺมึ วชิ ชฺ ติ 'หาไดย าก ช่ือวา มนี อ ยนักในโลก.' [ ไทย ] ปุคฺคโล สยกัตตา ใน โหติ และ วิชชฺ ต.ิ โหติ และ วชิ ชฺ ติ อาขยาตบทกตั ตวุ าจก. เอวรปู โป วิเสสนะ ของ ปุคคฺ โล. ทุลลฺ โภ โหติ สัญญ.ี ทลุ ลฺ โภ วิกตกิ ตั ตา ในโหติ. โกจิเทว โลกสฺมึ วิชฺชติ สัญญา. โกจิ วกิ ติกัตตา ใน หตุ วฺ า. เอว ศพั ท อวธารณะ เขากบั โกจิ. หุตวฺ า สมานกาลกิริยา ใน วชิ ชฺ ต.ิ โลกสฺมึ อาธาร ใน วิชชฺ ต.ิ [ มคธ] เอวรโู ปติ ปท ปคุ ฺคโลติ ปทสฺส วิเสสน. ปุคฺคโลติ ปท โหตตี ิ จ วิชฺชตีติ จ ปททวฺ เย สยกตฺตา. ทุลฺลโภ โหตีติ ปททฺวย สฺ ี. ทลุ ฺลดภติ ปท โหตตี ิ ปเท วกิ ตกิ ตตฺ า. โหตตี ิ ปท ปุคคฺ โหติ ปทสฺส กตตฺ วุ าจก อาขยฺ าตปท. โกจิเทว โลกสฺมึ วชิ ฺชตตี ิ ปทานิ สฺา. โกจตี ิ ปท หตุ วฺ าติ ปเท วิกตกิ ตฺตาซ เอวสทฺโท อวธาณตฺโถ. หุตฺวาติ ปท วชิ ฺชตตี ิ ปเท สมานกาลกิริยาปท. โลกสมฺ ินฺติ ปท วิชชฺ ติ ปเท อาธาโร วชิ ชฺ ตีติ ปท ปคุ คฺ โลติ ปทสฺส กตฺตวุ าจก อาขฺยาตปท.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 74 (วิชฺชติ = วิทฺ+ย (ในหมวด ทิวฺ ธาตุ) + ต.ิ อกี อยางหน่ึง ทานใชเ ปน กัมมวาจก (อนั ...) ยอ มได, หาได). [ ๒ ] ขอ ทพ่ี ึงสงั เกตกค็ อื :- ก. สญั ญี-สญั ญานใี้ ชในอรรถกถาเปน พน้ื และบทที่มาในคาถา หรอื ในบาลี ตองเปน สัญญาเสมอ เพราะเปน บทต้ังพงึ วิเคราะห หรือ อธิบายความ. ข. สญั ญี ตองเรียนอยเู บอื้ งหนา, สัญญา ซง่ึ เปน บทมาในคาถา ตองเรยี งอยูเบ้อื งหลัง, ถาเรียงกลบั กนั ก็ไมใ ชสญั ญ-ี สญั ญา แตเ ปน วิวรยิ ะ-วิวรณะ ดัง อุ. ทลุ ลฺ โภ โกจเิ ทว... น้ัน ถา เรียงกลบั กันวา โกจเิ ทว โลกสมฺ ึ วชิ ฺชติ ทลุ ลฺ โภ (โหติ), โกจิเทว โลกสมฺ ึ วชิ ชฺ ติ กก็ ลายเปน วิวริยะ, ทลุ ลฺ โภ โหติ วิวรณะ แปลวา \"....มนี อยคน น่ันเทียวในโลก คอื หาไดย าก.\" แม อ.ุ ในขอท่ดี ว ย ววิ รยิ ะ-วิวรณะ ถาเรียกกลบั กนั เอาบทมาในคาถาไวเ บ้อื งหลงั ก็กลายเปน สญั ญ-ี สญั ญา. เพราะฉะน้นั ในที่น้ี พงึ กาํ หนดบททม่ี าในคาถาเปนเกณฑ. ถา บทมา ในคาถา ตั้งอยเู บอ้ื งหนา กเ็ ปน ววิ ริยะ-วิวรณะ ถาตงั้ อยเู บ้ืองหลงั กเ็ ปน สญั ญ-ี สญั ญา. พึงพจิ ารณาตวั อยา ง ดังตอไปน้ี :- อ.ุ ท่ี ๑ ยถา ปน, อคนธฺ ก ปุปฺผ โย น ธาเรติ, ตสสฺ สรเี ร คนโฺ ธ น ผรติ: เอว, เอตป,

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 75 โย น สกกฺ จฺจ สวนาทีหิ น สมาจรติ, สญั ญี ตสสฺ สกกฺ จจฺ  อสมาจรนตฺ สฺส, สัญญา ย ตตถฺ กตฺตพฺพ, ต อกุพฺพโต สุตคนฺธ ธารณคนธฺ  ปฏปิ ตตฺ คิ นฺธจฺ สัญญี น อาวหติ สัญญา อผล โหต.ิ [ฉตฺตปาณอิ ุปาสก. ๓/๔๖ ] \"เหมือนอยา งวา ดอกไมไมมีกลน่ิ หอม, ผใู ดทรงมัน, กลิ่นของ มันยอ มไมแผไ ปในสรรี ะของผนู ้ัน ฉันใด; พระพทุ ธวจนะ คือปฎ ก ๓ แมนัน้ , ก็ฉนั นัน้ , ยอ มไมน ํามา ซงึ่ กล่นิ คอื การสดบั กลน่ิ คือการ ทรงจาํ และกล่ินคอื ปฏิบตั ิ ช่อื วา ยอมเปน ของไมมีผล, ผใู ดยอมไม ประพฤติพระพทุ ธวจนะนน้ั ดวยกิจมกี ารสดับเปน ตนโดยเคารพ, แกผู ไมป ระพฤตโิ ดยเคารพนั้น ชือ่ วา ผูไมท ํากิจท่พี งึ ทําในพระพุทธวจนะ นน้ั .\" โย น ฯ เป ฯ สกกฺ จจฺ  อสมาจรนฺตสฺส สญั ญ.ี ย ฯเปฯ อกพุ ฺพโต สญั ญา. เพราะ อกุพฺพโต เปนบทมาในคาถา. สุตคนฺธ ฯ เป ฯ น อาวหติ สัญญี. อผล โหติ สญั ญา. เพราะ อผล โหติ กค็ อื อผลา โหติ ในคาถา. อุ. ที่ ๒ ยถา ต ปุปผฺ  ธาเรนคฺ สสฺ สรีเร คนฺโธ ผรติ; เอว เตปฏกกพทุ ฺธวจนสงฺขาตา สภุ าสิตา วาจาป วิวรยิ ะ สกุ พุ พฺ โต.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 76 ววิ รณะ โย สกฺกจฺจ สวนาทีหิ ตตฺถ กตตฺ พฺพ กโรติ, อสฺส ปุคฺคลสฺส ววิ รยิ ะ สผลา โหติ วิวรณะ สุตคนธฺ ธารณคนธฺ ปฏิปตตฺ ิคนฺธาน อาวหนโต มหปผฺ ลา โหติ มหานิสสา. [ฉตฺตปาณอิ ปุ าสก. ๓/๔๖ ] \"กลนิ่ ยอ มแผไ ปในสรีระของผูทรงดอกไมน้ัน ฉนั ใด ; แมว าจา สุภาษิต กลาวคอื พระพทุ ธวจนะคือปฎก ๓ กย็ อมเปน ของมผี ล คอื ยอ มเปน ของช่ือวา มีผลมาก มีอานิสงสม าก เพราะนํามาซึ่งกล่ินคือ การสดับ กลน่ิ คอื การทรงจํา และกลิ่นคือปฏิบตั ิ แกผูทาํ ดอี ยู คอื แกบคุ คลผูทํากิจที่พงึ่ ทําในพระพุทธวจนะ ดว ยกจิ ท. มกี ารสดบั เปนตน โดยเคารพ ฉันนนั้ .\" สกุ พุ พฺ โต (มาในคาถา) วิวรยิ ะ โย สกกฺ จจฺ  ฯ เป ฯ อสฺส ปุคฺคสฺส ววิ รณะ ของ สกุ พุ ฺพโต. สผลา โหติ (มาในคาถา) ววิ รยิ ะ. สตุ คนฺธ- ฯ เป ฯ มหานสิ ส า วิวรณะ ของ สผลา โหต.ิ ตัวอยา งทั้ง ๒ นี้ พึงถอื เปนแบบได เพราะแสดงวิธเี รยี งเปน ๒ อยาง เทียบกนั จากคาถาท่มี ีรูปเดยี วกนั และถาจกั เรยี งกลบั กัน อ.ุ ท่ี ๑ กก็ ลายเปน ววิ ริยะ-วิวรณะ อ.ุ ที่ ๒ กก็ ลายเปน สญั ญ-ี สัญญา. อ.ุ ที่ ๓ ตสฺมา หิ สัญญี ธติ สิ มฺปนฺน

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 77 สญั ญา ธรี จฺ สีญญี โลกยิ โลกตุ ตฺ รปปฺ ฺาสมฺปนฺน สญั ญา ปฺ จฺ สญั ญี อาคมาธคิ มสมปฺ นฺน สัญญา พหุสสฺ ตุ ฺจ.... ต ตถารปู  สปฺปรสิ  โสภนปฺปุ ฺ  ภเชถ ปยิรุปาเสถ. [ สกกฺ . ๖/๑๓๘ ] \"เพราะเหตุนัน้ แล บคุ คลควรคบ คือ ควรเขาไปนง่ั ใกลทา น ผูถึงพรอ มดวยธติ ิ ชอื่ วา ธรี ะ, และผูถึงพรอมดวยปญ ญาทั้งเปนโลกิยะ ทั้งเปนโลกตุ ระ ชือ่ วาผูมีปญ ญา, และผูถึงพรอ มอาคม (ปริยตั )ิ และอธิคม (มรรคผล) ชอ่ื วา ผูมีสุตะมาก,...ผเู ปน สัตบุรุษมีปญ ญา งามเชน น้ันนน้ั ...\" ธีร, ปฺ, พหุสสฺ ุต เปน บทมาในคาถา, และ ทั้งบททีเ่ ปน สญั ญี ท้ังบททีเ่ ปน สญั ญาตอ งบอกเปนวเิ สสนะอีกสวนหนึ่ง. สรปู อธบิ าย: สญั ญี เปนคาํ วิเคราะหแ สดงอธิบายความแหงสัญญา, สญั ญาเปนคาํ ทพ่ี ึงวิเคราะหแสดงอธิบายดวยสญั ญ.ี สญั ญ-ี สัญญาอีกอยางหนง่ึ (๓) อกี อยางหน่งึ สญั ญี เรยี กคาํ ท่แี สดงอธบิ าย ซึ่งเปน กริ ยิ าประกอบดว ย อนฺต หรือ มาน ปจ จยั เปน พื้น อนั วางอยู เบ้อื งหนา , สัญญา เรยี กคําท่พี งึ แสดงอธิบาย อันวางอยเู บือ้ งหลงั , คําท้ังคูน้ี ประกอบธาตเุ หมอื นกนั บาง ตา งกนั บาง แตต อ งมีความ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 78 เทา กนั . การประกอบอยา งนี้ ใชใ นอรรถกถาเปน พ้ืน เรยี กกันวา ทอดเหตุ. อ.ุ กมมฺ ตปปฺ เนน ตปปฺ นโฺ ต ปาป เม กตนฺติ ตปฺปติ. ใน อ.ุ นี้ กมมฺ ตปปฺ เนน ตปฺปนฺโต เปนคําแสดงอธบิ ายวา เดือดรอ น เพราะกรรม เปน สญั ญี, ปาป เม กตนตฺ ิ ตปปฺ ติ มาในคาถา ยกมา เรยี งไวเ บอื้ งหลงั ใหรบั กนั วา ชอ่ื วา เดอื ดรอนวา บาปอนั เราทําแลว เปน สญั ญา. อธบิ าย: [ ๑ ] สญั ญ-ี สัญญาอยางนี้ ใชเรยี กกนั ในหลายสํานัก จึงนํามาแสดงไว. อ.ุ :- อุ. ที่ ๑ บาลี ปาป เม กตนตฺ ิ ตปปฺ ติ ภยิ ฺโย ตปปฺ ติ ทคุ คตึ คโต. อรรถกถา โส หิ สญั ญี กมมฺ ตปปฺ เนน ตปฺปนโฺ ต สญั ญา ปาป เม กตนฺติ ตปป ต,ิ ... สัญญี วิปากตปปฺ เนน ปน ตปฺปนฺโต สัญญา ภยิ โฺ ย ตปฺปติ ทุคคฺ ตึ คโต. [เทวทตฺต. ๑/๑๔๖/๑๔๗ ] \"กผ็ ูทาํ บาปนนั้ เดือดรอน (โดยเดอื ดรอน) เพราะกรรม ชอื่ วา ยอมเดอื ดรอ นวา บาปอันเราทาํ แลว. เดือดรอนเพราะวิบาก ชือ่ วา ถงึ ทคุ ติ ยอมเดอื ดรอนยง่ิ .\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 79 อ.ุ ที่ ๒ บาลี อุตฺตฏิ เ นปฺปมชฺเชยยฺ ธมฺม สจุ ริต จเร ธมฺมจารี สุข เสติ อสฺมึ โลเก ปรมหฺ ิ จ ธมมฺ  จเร สุจริต น ต ทจุ จฺ รติ  จเร ธมฺมจารี สขุ  เสติ อสฺมึ โลเก ปรมหฺ ิ จ. อรรถกถา (คัดแตเฉพาะท่ีตองการ) สัญญี ปณ ฑฺ จารกิ วตฺต หิ ปริหาเปตฺวา ปณีตโิ ภชนานิ ปรเิ ยสนโฺ ต สัญญา อตุ ตฺ ฏิ เ ปมชชฺ ต นาม. \"กภ็ กิ ษยุ ังบิณฑจารกิ วัตรใหเ สอ่ื ม แสวงหาโภชนะอนั ประณตี ช่ือวา ยอ มประมาทในกอนขา วที่พึงลุกข้นึ รับ.\" สญั ญี สปทาน ปณ ฑฺ าย จรนโฺ ต ปน สญั ญา นปปฺ มชฺชติ นาม. \"แตเทยี่ วไปเพือ่ บณิ ฑะ ตามลาํ ดบั ตรอก ช่อื วา ยอมไมป ระมาท.\" สญั ญี เอว กโรนโฺ ต สัญญา อตุ ตฺ ิฏเ  นปฺปมชเฺ ชยยฺ . \"ทาํ อยางนนั้ ชือ่ วาไมพ ึงประมาทในกอนขา วที่พงึ ลกุ ข้ึนรบั .\" สญั ญี อเนสน ปหาย สปทาน จรนฺโต สัญญา ตเมว ภิกขฺ าจริยธมฺม สจุ รติ  จเรยยฺ . \"ละอเนสนา เทยี่ วไปตามลาํ ดับตรอก ชื่อวา พึงพระพฤตธิ รรม

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 80 คือ ภิกษาจาร นัน้ นัน่ เทยี วเปนสจุ รติ .\" สัญญี ภกิ ขฺ าจริยธมฺม จรนฺโต สัญญา ธมมฺ จารี. \"ประพฤติภิกขาจรยิ าธรรม ชอ่ื วา ธรรมจาร.ี \" สัญญี เวสยิ าทิเภเท อโคจเร จรนฺโต สญั ญา ภกิ ขฺ าจริยธมฺม ทจุ จฺ รติ  จรติ นาม. \"เท่ยี วไปในอโคจร ตา งดว ยหญิงแพศยาเปน ตน ชือ่ วา ประพฤตภิ ิกขาจริยธรรม เปนทุจรติ .\" [ สทุ โฺ ธทน. ๖/๓๓-๓๔] [ ๒ ] สัญญ-ี สัญญาในลักษณะที่กลาวนี้ บางอาจารยใ หใ ชเ รียก เฉพาะแหงท่ีมีบทมาในคาถาเปนคําที่พึงอธิบาย และถามีนามศพั ทวางอยู ดวยแลวกไ็ มต องใชเ รยี ก. พิเคราะหด เู ห็นวา การทีจ่ ะเรยี กวาสัญญ-ี สัญญา ควรกําหนด ดวยลกั ษณะอันควรเรียก, แตโ ดยมากมีในอรรถกถาที่ยกคาํ ในคาถามา แสดงอธิบาย, อาจารยจึงยกแตทีม่ ีคําในคาถามาสอน, และถา มนี ามศัพท ถึงอาจารยไ มบอกวา น่สี ัญญา ก็ตอ งแปลช่อื วาอยนู ั่นเอง อาจารยจงึ บอก แตท ่ไี มมีนามศพั ทวาน่ีสัญญา เพื่อใหนกั เรยี นสังเกตแปลใหถกู . ก็คําทีม่ นี ามศพั ทบา ง ไมม บี าง แตแปลวา ชอ่ื วา ยังมอี กี มาก แต กห็ าเรยี กวา สัญญาไม เชน คํามาในคาถาทีแ่ สดงอธบิ ายดว ยบทเหตอุ ยู เบ้ืองหนา อันเรียกวา หนุนเหตุ อุ... อรหตฺตปาปนสงฺขาตาย ธรุ วหนสีลตาย โธรยหฺ สีล. ...ภเชถ ปยริ ุปาเส.[สกกฺ ๖-๑๓๘] \"บุคคลควรคบ คอื ควรเขาไปนงั่ ใกล. ..ผูชื่อวามีปกตนิ าํ ธุระไป เพราะ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาท่ี 81 ความเปน ผมู ีอันนําธรุ ะไปเปน ปกติ กลาวคือการใหถ ึงพระอรหัต...\" บทเหตุคอื ธุวหนสลี ตาย ไมใชลกั ษณะท่ีเปนสัญญี, โธรยหฺ ลลี  จงึ ไมเปนสญั ญา, แปลวาชื่อวา เพียงเสรมิ ความเชนเดยี วกบั บทปลงของ สมาสนามท่ีไมม ีอัญญบท, เร่อื งนีไ้ ดก ลาวในขอ สญั ญวี ิเสสยิ ะ-สญั ญา- วเิ สสนะในหลงั แลว . แทท ีจ่ รงิ ชื่อคดู ังเชน วิวรยิ ะ- วิวรณะ, สญั ญา นี้ ใน โยชยายงั มีใชอกี คืออปุ มา-อุปเมยฺย. อ.ุ ตสฺส ปุรสิ สฺส นิทฺทายนกาโล วยิ ภวงคฺ กาโล. [อภิธมฺมตถฺ . จตตุ ถฺ ปรจิ ฺเฉท. น. ๑๓๘] \"กาลแหง ภวังค ราวกะกาลแหก ารหลบั ของบุรุษนัน้ .\" ทา นเรยี กวา นทิ ทิ ายน- กาโล อปุ มา, ภวงคฺ กาโล อุปเมยยะ. แตเรยี กตามอรรถโดยปกติ กม็ าก เชน นิรฑุ โฺ ฒ หิ เอส จกขฺ สุ ทโฺ ท ทฏ ุกามตานิทานกมมฺ ช- ภตู ปฺปสาทลกขฺ เณ จกฺขุปปฺ สาเทเยว มยรุ าทสิ ทฺทา วยิ สกุณวิเสสทสี ุ. [อภิธมฺมตฺถ. ปมปรจิ ฺเฉท. น. ๗๖ ] \"แทจริง ศัพทวา จกั ขุนัน่ ลงแลว ในจักขุปสาท ที่มีปสาทแหงภูตะ เกดิ แกก รรมท่มี คี วามเปนผูใ คร เพ่อื จะเหน็ เปน นิทานนัน่ เทียวเปน ลกั ษณะ เหมือนศพั ทว า มยรุ ะ เปนตน ลงในสกณุ วเสสเปนตน .\" ทานบอก มยรุ าทิสททฺ า ลงิ คตั ถะ, วยิ ศพั ท อุปมาโชตก. [โยชนา. ๑/๓๐๕]. สรปู อธบิ าย: - สัญญี เปน คาํ วเิ คราะหแสดงอธบิ ายความแหง สัญญา, สัญญาเปนคาํ ท่ีพงึ วิเคราะหแสดงอธิบายดว ยสัญญ.ี

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 82 เบด็ เตล็ด ๘. มบี ทและศัพทเ บด็ เตลด็ เล็กนอ ย คอื :- บทตง้ั (๑) บทนามบาง บทกริ ิยาบา ง ศพั ทนบิ าตบาง เปน บทตั้งเน่อื งใน อติ ศิ ัพท เรยี กวา สรปู  เขากับอติ ศิ พั ทนน้ั , สรปู นี้ ไมเ ชงิ เปน ชอื่ เพราะบทตั้งยอ มมชี ือ่ ตามสัมพนั ธใ นประโยคทยี่ กมา, เปนแตบอกความเนื่องในอติ ศิ พั ท อุ. ตตฺถ ภยนฺติ ภายิตพฺพ. ในตัวอยา งนี้ เปน อรรถกถา (มหาธนวาณิชวตั ถุ ท่ี ๑๐๑) ยก ภย จากบาทคาถาวา วาณฺโชว ภย มคฺค มาตัง้ แกอรรถ. ภย สรปู ในอติ ิศพั ท. ยกมาตง้ั หลายบทจนถงึ ทัง้ บาทคาถา หรอื ทัง้ พากย หรอื มากกวานน้ั กม็ ี. อธบิ าย : [ ๑ ] คาํ วา บทนาม หมายถึง บทนามทงั้ ๓, คาํ วา บทกิรยิ า หมายถงึ บทกิรยิ าทกุ อยา ง ท้งั ในพากยางค ทง้ั ในพากย. บทเหลา นนั้ บทเดียวก็ตาม หลายบทกต็ าม แมศัพทท ่ยี กมาต้ังแกอรรถ เรยี กวา สรปู . บทสรูปในลักษณะนี้ นกั เรียนไดท ราบตัง้ แตเ รม่ิ หดั แปลธัมมปทฏั ฐกถาแลว , นาํ มาแสดงไวดวยเพ่ือใหบรบิ ูรณ. แทจริง บทเดยี ว หรอื หลายบทที่ยกมาตง้ั แกอรรถนนั้ กม็ สี มั พนั ธเ ดิมโดย เฉพาะของตน เชนในตัวอยา งน้ัน ภย เปน วิเสสนะ ของ มคฺค ในบาทคาถาวา วาณิโชว มคคฺ , น้ีเปน สัมพันธเ ดิมของ ภย แต

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 83 เมอื่ ยกมาตั้งแกอ รรถ ก็มสี ัมพนั ธใหมกับอิตศิ พั ท จงึ ไมตองบอกสมั พันธ เดมิ บอกแตสัมพนั ธใหมว า สรูปในอติ ศิ พั ท. สว นบทแกต องบอก สมั พนั ธ อนวุ ัตสมั พันธเดิมของบทต้ัง ดังใน อ.ุ น้ี บอก ภายิตพฺพ วา วเิ สสนะของ มคคฺ . น้เี ปน ขอที่พึงทราบ. อ.ุ :- อ.ุ ที่ ๑ ตตฺถ ภยนฺ-ติ ภายิตฺพฺพ. [ มหาธนวานชิ . ๕/๒๒] \"บรรดาบท เหลานัน้ บทวา ภย ไดแ ก ทพ่ี งึ กลัว.\" ตตถฺ าติ ปท ปเทสตู ิ ปทสสฺ วิสสน. ปเทสตู ิ ปท นิทฺธารณ. ภยนฺติ ปท อติ สิ ทเฺ ท สรปู . อิตสิ ทฺโท ปทสฺสาติ ปเท สรปู . ปทสสฺ าติ ปท ปเทสตู ิ ปทสสฺ นิทธฺ ารณิย, อตฺโถติ ปทสฺส สมพฺ นฺโธ. อตฺโถติ ปท ลงิ คตฺโถ. ภายิตพฺพนตฺ ิ ปท มคฺคนตฺ ิ ปทสฺส วเิ สสน. อิตสิ ทฺโท อตโฺ ถติ ปเท สรปู . อ.ุ ท่ี ๒ ตโต น สขุ มเนวฺตี-ติ ตโต ติวิธสจุ ริตโต ต ปุคฺคล สุขมเนฺวติ. [มฏกณุ ฑฺ ล. ๑/๓๖] \" บาทคาถาวา ตโต น สขุ มเนฺวติ ความวา สุขยอมไปตามบคุ คลนัน้ เพราะสุจริต ๓ อยา งนน้ั .\" ตโต น สุขมเนวฺ ตตี ิ ปทานิ อิติสทเฺ ท สรปู . อิตสิ ทโฺ ท คาถาปาทสฺสาติ ปเท สรูป. คาถาปทาสสฺ าติ ปท อตโฺ ถติ ปทสฺส สมฺพนฺโธ. อตโฺ ถติ ปท ลิงคฺตโฺ ถ. [ ๒ ] หรือบทศพั ทเล็กนอยทยี่ กมาอาง เพ่ือสาธกความ ซ่ึง

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 84 เน่อื งในอิติศัพท กส็ งเคราะหเขาในบทตั้ง [ ๓ ] บทที่มใิ ชบทดงั กลาวในขอ [๑] - [ ๒ ] พึงบอกสัมพันธ ตามควรแกอ รรถ. อ.ุ กนิ นฺ ุ โข อห ' อนิจจฺ  ทุกขฺ  อนตฺตาติ ตลิ กฺขณ อาโรเปตวฺ า โยคกฺเขม กาตุ นาสกขฺ ึ. [ ปาฏกิ าชีวก. ๓/๔๒] \"เรายกข้ึนสูไ ตรลักษณวา ' ไมเทย่ี ง ทกุ ข อนตั ตา' ไมไดอาจเพือ่ ทํา ความเกษมจากโยคะหรือหนอแล.\" อนจิ จฺ  ทกุ ขฺ  อนตฺตาติ ตปิ ท ลิงคฺ ตฺโถ. (หรอื อนจิ ฺจ ทุกขฺ  อนตฺตาติ ตปิ ท ขนฺธปฺจกนฺติ ปทสสฺ วิเสสน. ขนธฺ - ปจฺ กนตฺ ิ ปท ลิงคฺ ตโฺ ถ). สรปู อธบิ าย :- บทตงั้ ทเี่ นื่องในอิตศิ พั ท บอกสรูปในอติ ศิ ัพท. กตปิ ยศพั ท (๒) ศพั ทเ ล็กนอย เชน กสิ ฺส กสิ มฺ ี เปนรูปวภิ ตั ติอน่ื ของ กึ ศัพท ใชในอรรถตามวภิ ตั ตขิ องตน, กิมตฺถ ยทตถฺ  ยาวทตฺต เปนตน เปน รปู ภาวนปุสกลิงค ใชใ นอรรถสมั ปทาน บาง กริ ยิ าวิเสสนะบาง , ภตู ปุพพฺ  วางตน ขอความ ใชเ ปน ลิงคัตกะ. อธบิ าย : [ ๑ ] กึ ศพั ท คงเปนรูป กึ อยแู ตใ น นป.ุ ป. ท.ุ เอก. เทา น้ันเปนพ้ืน, รปู อื่นทมี่ ใี ชบ า งคอื กิสฺส กสิ มฺ ึ. อุ. ที่ ๑ กิสฺส ปน เถโร เอเกนูนมกาสิ. [ สมนตฺ . ๑๗/๗ ] \"กพ็ ระเถระ ไดทาํ ใหห ยอนหนง่ึ เพื่ออะไร.\" กิสสฺ สมั ปทาน.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 85 อ.ุ ที่ ๒ กิสสฺ ปน นสิ สฺ นเฺ ทน ตาเยต ปสาธน ลทธฺ  [ วสิ าขา. ๓-๕๗ ] \"กป็ าสธนะน้นั นางไดแลว เพราะความหล่ังออกแหง อะไร. (หรือแหง กรรมอะไร. กสิ สฺ วเิ สสนะของ กมฺมสสฺ ). อุ. ที่ ๓ กสิ ฺมึ วตฺถุสฺมึ [ว.ิ จุลฺลวคฺค. ๒/๓๘๓] \"ในเพราะวัตถุอะไร.\" [ ๒ ] กมิ ตถฺ  ยาวทตถฺ  เปน ตน จาํ พวกมี อตฺถ เปน เบื้องปลาย นยิ มประกอบเปนรปู ภาวนปสุ กลงิ ค ไมใ ชบัญญัตวิ า จตุตถวี ิภัตติอยาง ปรุ ิสตฺถ, ถา เปน จตุตถวี ิภตั ติ ตอ งเปน กิสฺส ยสฺส เปน ตน ไมใช กิมตฺถ, ยทตฺถ. บทเหลา น้ีใชเ ปน สมั ปทานเปน ตน เรียกช่ือตามอรรถท่ีใช. อุ. ที่ ๑ สมั ปทาน ยทตฺถ โภคมจิ ฺเฉยยฺ ปณฺฑโิ ต ฆรมาวส. [องฺ. จตกฺ ฺ. ๒๑/๙๐] \"บณั ฑิตครอบครองเรอื น พึงปรารถนาเรือน พึงปรารถนาโภคะ เพ่ือประโยชนใด.\" อุ. ที่ ๒ กิรยิ าวเิ สสนะ ยาวทตฺถ ภุ ฺช. [ สามาวต.ี ๒/๑๐ ] \"ทา นจงบริโภคเพียงพอ ตอ งการ.\" (ยาวทตถฺ กําหนดเพยี งไรแหงความตอ งการ). อ.ุ ที่ ๓ กิมตฺถ อาคตาสิ. [ วิสาขา. ๓/๗๒] กริ ิยาวิเสสนะ) \"ทา น มาตอ งการอะไร. \" (สมั ปทาน) \"ทา นมาเพ่อื ประโยชนอ ะไร.\"

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 86 กมิ ตถฺ  ใน อ.ุ น้ี มคี วามเทากบั กึการณา ในคําวา กกึ ารณา อาคโตส.ิ [ วสิ าขา. ๓/๔๘ ] . กิมตฺถ (มีอะไรเปน ประโยชน, เพ่อื ประโยชนอ ะไร) ประกอบเปน รูป กมิ ตถฺ าย กม็ ี. [ ๓ ] ภตู ปพุ พฺ  ใชว างตนขอความที่เลาเร่อื งซึ่งเคยมมี าแลว ใน อดตี กาล ตัดเรียกเปนลิงคตั ถะเฉพาะบท นอกนัน้ เรียกสัมพนั ธไป โดยปกติ. อุ. ภูตปพุ ฺพ ภกิ ขฺ เว เทวาสุรสงฺคาโม สมปุ พพฺ ยุฬฺโห อโหสิ. [ ส. ส. ๑๕/๓๒๐] \"เรือ่ งเคยมีมาแลว ภิกษุ ท. สงครามแหงเทพ และอสรู ไดเ กดิ ประชดิ กนั แลว .\" แต ภตู ปพุ ฺพ ทีใ่ ชอ รรถอื่น กเ็ รยี กตามอรรถท่ีใช อ.ุ สาลคิ พภฺ  ผาเลตฺวา ทาน นาม เนว อตเี ต ภูตปุพพฺ . [ สฺชย. ๑/๙๒ ] \"ชอื่ วาการผาทอ งขาวสาลีให ไมเคยมแี ลว ในอดตี .\" สรปู อธบิ าย: กตปิ ยศัพท พงึ สงั เกตเรียกตามอรรถทใี่ ชในทีน่ ัน้ ๆ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 87 ลักษณะความเปนตนบางอยาง ๙. มลี กั ษณะความ , บทหรือศพั ทบ างอยา งในประโยค คือ:- นาคโสณฑิ (๑) มีความ ๒ ทอน, ทอ นตน กลา วผลซ่ึงชวนใหถ ามถงึ เหตุ วาเปนอยา งนั้น เพราะอะไร จึงกลาวเหตใุ นทอนหลงั , โดยปกติ ทานวาง การณโชตกนบิ าต (ห,ิ จ, ปน) ในความทอนหลงั นัน้ , แตบ างทีทานก็ไมไ ดว างไว. เมอื่ จะแสดงอธิบายความอยา งแกอรรถ (หรอื แปล) ใหเห็นวา เปน ประโยคเหตุ, กต็ อ งประกอบ ยสมฺ า หรือ หิ (เหตุ) เขา เพ่อื ใหชดั วาเปน ความทอ นเหตุ. อ.ุ ใน สาริปตุ ตฺ ตเฺ ถรสฺสสทฺธวิ หิ าริกวตถฺ .ุ (เรอ่ื งที่ ๒๐๙) วา สนตฺ มิ คฺคเมว พรฺ หู ย, นพิ พฺ าน สุคเตน เทสิต. ความทอ นตนคือ 'สนตฺ มิ คคฺ เมว พฺรูปหย' ' สูจงพนู ทางแหง ความสงบน้นั แล' กลา วผล, ความทอนหลงั คอื ' นิพพฺ าน สคุ เตน เทสติ ' ' นิพพานอนั พระสุคตทรงแสดงแลว ' กลา วเหตุ แตห าได วางการณโชตกนิบาตไวไม, เพื่อแสดงอธบิ ายใหช ดั พึงประกอบ วา :- สนตฺ ิมคคฺ เมว พรฺ ปู หย, นิพฺพาน หิ สุคเตน เทสติ .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาที่ 88 อีกอยางหนึ่งประกอบวา สนฺติมคคฺ เมว พรฺ หู ย, ยสมฺ า นพิ ฺพาน สุคเตน เทสติ . ประกอบ ยสมฺ า กเ็ ทา กับ หิ หรอื ประกอบ หิ ก็เทา กบั ยสมฺ า นน่ั เอง เพราะตา งกส็ องความปฏโิ ลมวา เปน เหตุของทา นตน โบราณทานจึงเรยี กวา นาคโสณฑิ เพราะเหมือนนงวงชางที่ทอดลงมา แลว กง็ อกลบั ข้ึนไป. กลา วสั้น ขอความทกี่ ลา วผลกอ น กลา วเหตุ ภายหลงั , นาคโสณฑิ เปน ช่อื ของความทอ นหลัง เพราะสองความ ปฏิโลม คือยอมกลับไปหาทอนตน . นาคโสณฑนิ ้ี ไมใ ชช ื่อสัมพันธ, ชื่อสัมพันธเรียกตามอรรถ ท่ีใช. อธบิ าย : [ ๑ ] นาคโสณฑมิ ลี ักษณะอยางไร ไดแ สดงไวชัดเจน ในหัวขอพรอมท้งั ตัวอยางแลว , จะอธบิ ายแตท แ่ี ปลกออกไป ประโยค เชน นีใ้ นการแปลศพั ทหรอื แปลโดยพยัญชนะ ทานสอนกันมาใหแปล แบบงวงชา ง คือแปลทอ นตนท่กี ลาวผลกอน แลวจึงแปลทอนหลังที่ กลา วเหตุ,ใหแปลเติม หิ (เหต)ุ ตนขอ ความ, หรอื ใหแ ปลเตมิ ยสมฺ า ทส่ี ดุ ขอ ความ, ถา แปลเติม ยสมฺ า ก็จะตอ งมี ตสฺมา รบั (เวน แตจะแปลเปนสากงั ขคติ), จงึ จาํ ตองชักเอาทอนตน มาแปลอกี คร้นั หนง่ึ ใหเ ปน ประโยค ตสมฺ า, แตถ าเติม หิ แปลวา เหตวุ า, เพราะวา กไ็ มตองยอ นไปแปลทอ นตน อกี .

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 89 [ ๒ ] นักเรยี นมักเขาใจกันวา ท่เี รียกวา นาคโสณฑิ เพราะ ตองยอนไปแปลความทอนตนอกี คร้งั หนึง่ . ถาเชน นนั้ ถา แปลเติม หิ (เหตุ) ไมต องยอนไปแปลทอนตนอกี จะไมเปนนาคโสณฑิหรือ ท่แี ทจรงิ คงเปนนาคโสณฑินั่นเอง เพราะแปลงทอ นทีก่ ลา วผลกอน แปล ทอ นทกี่ ลาวเหตุภายหลงั เหตกุ ็สองความปฏิโลมกลับไปหาผลอยูน ั่นเอง, ถา แปลทอนเหตุกอ นน่ันแหละ จึงไมเปน นาคโสณฑิ เปน ผดิ ประโยค. [ ๓ ] การประกอบขอ ความทง้ั ปวงนน้ั บางทกี ลา วเหตุกอ นผล ใหเหตอุ นโุ ลมแกผล นเี้ ปน ประโยคธรรมดา, บางทีกลาวผลกอนเหตุ ใหเ หตปุ ฏิโลมตอ ผล นเี้ ปน นาคโสณฑ,ิ นาคโสณฑมิ ีในธมั มบทหลาย แหง ทา นแกอรรถเปน ยสฺมา - ตสฺมา หรือ หิ ตสมฺ า ก็มี วางแต ยสมฺ า หรือ หิ ก็ม.ี จะแสดงตัวอยาง ๓ แบบ :- แบบที่ ๑ นพิ พฺ าน หิ สคุ เตน เทสิต, ตสมฺ า ตสสฺ มคฺค ภาเวห.ิ [ สารปี ุตตฺ ตฺเถรสสฺ สทฺธวิ หิ าริก. ๗/๘๒ ] \"พระนพิ พาน อนั พระสุคต ทรงแสดงแลว เพราะเหตุใด (หิ= ยสมฺ า),เพราะเหตุนัน้ ทา นจง ยังทางแหง พระนพิ พานนั้นใหเจริญ.\" อ.ุ น้ี เปนอรรถกถาแกอรรถ \"นิพฺพาน สคุ เตร เทสตฺ . \" แบบท่ี ๒ ยสมฺ า สพพฺ สตตฺ าน ชวี ิต มรณปริโยสานเมว. [ อตุ ตฺ รตเฺ ถร.ี ๔/๑๐๕ ]. น้ีเปน อรรถกถาแกอรรถ ' มรณนฺต หิ ชวี ติ . ' ที่กลา วเหตุ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนา ที่ 90 ของทอ นตน คอื ' ภชิ ชฺ ติ ปูติ สนเฺ ทโห, ทานแตง ประโยคแกอ รรถ วา กึการณา ? มรณนฺต หิ ชีวิต. ยสมฺ า สพฺพสตตฺ าน ชีวิต มรณปรโิ ยสานเมวาติ วุตฺต โหติ \"(กายเนาจะตองแตก) เพราะ เหตุไร ? เพราะวา ชวี ิตมีความตายเปนท่ีสดุ , ที่คําอธบิ ายวา เพราะ เหตทุ ่ีชวี ิตของสัตวท้ังปวง ท. มีความตายเปน ที่สดุ นน้ั เทียว (ฉะนัน้ กายเนา จะตองแตก).\" ' มรณนฺต หิ ชีวิต ' น้ี ทานวางการณโชตก- นิบาตไวด ว ย. แบบที่ ๓ ปุ ฺ สฺส หิ อุจจฺ โย วฑุ ฒฺ ิ อธิ โลกปรโลกสุขาวหนโต สุโข. [ลาชเทวธตี า. ๕/๙]. นเี้ ปน อรรถกถาแกอ รรถ ' สุโข ปุ ฺสฺส อุจฺจโย' ท่กี ลา วเหตุของทอนตน คือ ' ตมหฺ ิ ฉนฺท กยริ าถ.' ทา น แตงประโยคแกอ รรถวา กกึ ารณา ? สุโข ปุ ฺ สฺส อจุ ฺจโยติ ปุ ฺ สสฺ หิ อจุ จฺ โย วฑุ ฒฺ ิ อิธโลกปรโลสุขาวหนโต สโุ ขติ. \"(ถามวา พงึ ทําความพอใจในบญุ น้นั ) เพราะเหตุไร ? (แกวา ) เพราะ ความส่ังสมแหง บญุ ใหเกดิ สขุ , อธบิ ายวา เพราะวา ความสง่ั สม คือ ความเจริญแหงบญุ ชอ่ื วาใหเ กิดสขุ เพราะเปน เคร่ืองนาํ มาซึ่งความสขุ ในโลกน้ีและโลกอนื่ .\" จะแปล หิ เปน ยสมฺ า และเตมิ ตสฺมา ตมหฺ ิ ฉนทฺ  กยริ าถ อกี กไ็ ด. [ ๔ ] ในประโยคทองเรอ่ื ง บางทีทานแตความทอ นตน ซ้ําไว ดวย เชน มหาราช (หิ=ยสมฺ า) อคฺคราชสสฺ สนตฺ ิเก นสิ ินฺโน ปเทสราชาน ทสิ ฺวา อฏุ หนโฺ ต สตฺถริ อคารโว ภเวยยฺ , ตสฺมา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนาท่ี 91 น อฏุ  ห.ึ [ ฉตตฺ ปาณิอุปาสก. ๓/๔๔] . ขอวา ' ไมยืนข้นึ เปน ความ ทอนตน มีในคาํ ตรสั ถามของพระเจาปส เสนทิโกศลวา เอว, กสมฺ า ปุริมทวิ เส สตฺถุ สนตฺ ิเก นิสนิ โฺ น ม ทสิ วฺ า น อุฏ ห.ิ \"อยา งนัน้ , เหตไุ รในวันกอน ทานนงั่ อยูในสํานักของพระศาสดา เห็นเราแลว ไมยนื ขึน้ รบั .\" ฉตั ตปาณิอบุ าสกทูลตอบดวยถอยคําท่ียกมาเปนตัวอยา ง นั้น แปลวา \"ขาแตพระมหาราช, เพราะเหตทุ ่ขี าพระองคน ั่งในสํานัก ของพระราชาผูเลศิ เมอ่ื เหน็ เจาประเทศราชแลว ยนิ ข้นึ รับ.\" ตสฺมา น อฏุ  หึ เปนประโยคพูดซาํ้ ตน . โดยมากทานไมพูดใหชํ้าอีก ดงั เชน ในกมุ ภโฆสกวตั ถุ [ ๒/๗๕ ] ตอนทกี่ ลาววา พระราชาตรัสถามเศรษฐี- บตุ รวา วเทหฺ โภ กสฺมา เอว กโรสิ ? \"ผเู จริญ, จงกลา ว, เจา ทําอยางนั้นเพราะอะไร ?\" เศรษฐบี ุตรทูลตอบวา นสิ สฺ โย เม นตฺถิ เทว. \"ขา แตเทวะ, (เพราะวา )ทพี่ ่ึงของขาพระองคไมม ี. ในการบอกสมั พันธ พึงบอกอยาแปล แลว แตจ ะใชวธิ ีเติม หิ เพราะวา , หรอื ยสมฺ า หรอื หิ เพราะเหตุใด. สรปู อธบิ าย: นาคโสณฑิ เปนช่อื ของความทอ นหลังท่กี ลา วเหตุ ของความทอนตน เพราะสอ งความยอนกลับไปเปนเหตขุ องความทอนตน . บอกสมั พันธต าม กาโกโลกนยั (๒) ในพากยหรือพากยางคเ ดียวกัน บางทีตองใชบ ท ๆ หน่ึงในอรรถหลายอยา ง แตทานวางบทเชนนนั้ ไวค รั้งเดียว, บท เชนน้โี บราณทานเรยี กวา กาโกโลกนัย คือมีนัยอยางการดขู องกา

ประโยค๑ - อธิบายวากยสัมพนั ธ เลม ๒ - หนา ท่ี 92 คือดูแลว ยงั เหลียวดูอีก. อ.ุ เตส เม นิปโก อริ ิย ปฏุ โ ปพฺรหู ิ มาริส. ใน อ.ุ น้ี เม ใช เปน อนภิหติ กตั ตา ใน ปุฏโ  และ สมั ปทาน ใน ปพฺรูหิ. กาโกโลกนยั น้ี ไมใ ชช ่อื สมั พันธ, ชอื่ สมั พนั ธเ รยี กตามอรรถ ที่ใช. อธบิ าย: ลักษณะบททเี่ ปนกาโกโลกนยั ไดกลา วไวชดั เจนใน หวั ขอ ขางตนนนั้ แลว. อ:ุ - เตส เม นปิ โก อริ ยิ  ปฏุ โ  ปพฺรหู ิ มารสิ . [ยมกปฺปาฏหิ ารยิ . ๖/๙๖ ] \"ดกู อ นผูเชนกบั ดวยเรา, ทานผู อันเรา ถามแลว จงบอกความ เปนไปแหงบคุ คลเหลาน้นั แกเ รา.\" สรูปอธบิ าย :- กาโกโลกนยั คอื วางไวบ ทเดยี ว ใชในอรรถ หลายอยา ง. บอกสมั พนั ธตามอรรถที่ใช. สากงั ขคติ (๓) ย สพั พนาม ทไ่ี มถอื เอา ต ศพั ท ทา นเรียกวา สากังขคติ, ทา นแปลวา ' ไรเลา ,' โดยความ เปนสมั พนั ธวิเสสนะ ในอีกประโยคหนงึ่ จึงแปลงโดยอรรถดว ยใชอ ายตนิบาต เชือ่ ม ประโยคในภาษาไทยวา ผู, ที่ , ซ่งึ เปนตน . อ.ุ ใน มงคฺ ลตถฺ ทีปนี ตอนทานกถาวา หตถฺ ทิ นเฺ ตน ปวตฺติตา ทนฺตมยสลาก, ยตฺถ ทายกาน นาม องเฺ กนตฺ .ิ ย สัพพนาม ทีถ่ อื เอา ต ศพั ท ไมเ ปน สากังขคติ.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 93 สากงั ขคตนิ ไี้ มใ ชช อ่ื สัมพันธ, ชอ่ื สัมพันธเ รียกเปน วเิ สสนะ โดยปกติ, แตไ มเ ติม ต ศพั ทร ับ ปลอ ยไวแต ย ตามลําพงั . อธบิ าย: [ ๑ ] ตามอาจริยกะ (มตพิ ระอาจารย) ย-ต ศัพท ใชเน่อื งกนั ๑ ย ศพั ทใชแ ตอยา งเดยี ว ๑ ดังคาถาวา :- ยนฺติ สตุ ฺวา ตนวฺ ิ ปท ตนฺติ สตุ วฺ าน ยนฺติ จ โยเชยฺย ยตสททฺ าน นิจจฺ สมพฺ นธฺ ภิ าวโต. \"ไดย นิ วา ย แลว พึงประกอบบทวา ต (รบั ) และไดย ินวา ต แลว พึงประกอบบทวา ย (รับ) เพราะ ย, ต ศัพทเ นอ่ื งถกึ กนั เปนนิตย\" ปุพฺโพ วากโฺ ย ปาตตโฺ ถ ตุ ยส ทโฺ ท อุตตฺ รวากเฺ ย ตสทฺโทปาทาน วินา สากงโฺ ข วากยฺ สสฺ อนุ ตตฺ  ชเนต.ิ \"พากยตนมเี นื้อความชดั แลว ย ศัพทในพากยหลงั เวน การ เขาไปถอื เอา ต ศัพท ชอ่ื วา สากังขคติ ยอ มยังความท่ีพากยพรอ ง (จาก ต ศพั ท) ใหเกดิ .\" [ ๒ ] แบบสากังขคติ บัดนีไ้ มคอ ยไดใชก ัน แตพระอาจารยทา น ใชม า จะแสดง อุ. และคําแปลแบบ สากังขคติ. อุ. ที่ ๑ หตฺถิทนฺเตน ปวตฺตติ า ทนฺตมยสลากา, ยตถฺ ทายกาน นาม องเฺ กนฺติ. [มงฺคลตฺถ. ๒/๓๖ ]

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนาที่ 94 แปลโดยพยัญชนะ \"สลาก ท. อันบุคคลใหเปนไปแลว ดว ยเงาของชาง ชอื่ วา ทนั ตมยสลาก (สลากอักบุคคลทาํ แลวดว ยงาของชา ง), ชน ท. ยอ ม จดซึ่งชื่อของทายก ท. ในสลาก ท. ไรเลา. แปลโดยอรรถ \"สลากทเี่ ปน ไปดว ยงาชาง เรียกสลากงา ท่ี เขาจดช่อื ทายก.\" อุ. ที่ ๒ ชนา มฺ นฺติ พาโลติ เย ธมมฺ สฺส อโกวทิ า. [ ส. ส. ๑๕/๓๒๕ ] แปลโดยพยญั ชนะ \"ชน ท. ยอ มสาํ คัญเหน็ วาคนเขลา ดังน,้ี ชน ท. ไรเลา ผูไม ฉลาดในธรรม.\" แปลโดยอรรถ \"(แต )พวกชนผูเ ขลาในธรรม ยอ มสําคญั เห็นวาเปนคนออ นแอ ไป.\" [ คาํ แปลในมงคลวเิ สสกถา พ.ศ. ๒๔๕๕] สรปู อธบิ าย: ย ศพั ทท ี่ไมถอื เอา ต ศพั ท เปน สากังขคติ, บอก สมั พนั ธเ ปน วเิ สสนะโดยปกต.ิ

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 95 นิบาต หมวดนิบาต ๑๐. นบิ าตตาง ๆ ทา นจดั หมวดแสดงในแบบวากยสัมพนั ธ ตอนตน แลว, ในทน่ี จี้ ะยอนิบาตในแบบกลา วตามหมวด, และจะ แทรกนบิ าตทแี่ สดงไว หรอื ที่ใชใ นทีต่ า ง ๆตอ , โดยมากคดั จาก อภธิ านนปั ปทีปกา ฉบบั ภาษาบาลีแปลเปน ไทย ของสมเด็จพระสังฆ- ราชเจา กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ัฒน. ไดบอกขอ ไวในวงเล็บดว ย และ เกบ็ จากท่ีอ่ืนบา ง, ไดบ อกทม่ี าไวด ว ย. นิบาตหมวดที่ ๑ กาํ หนดดวยความ ๒ ทอ น ลงในทอนหลัง (๑) วิตฺถารโชตโก, วติ ถฺ าโร สองความพิสดาร. หิ = ความพิสดารวา , ก็ (๒) วากยฺ ารมฺภโขตโก, วากฺยารมโฺ ภ สอ งความที่เทา พากย กอน. ห,ิ จ, ปน = ก,็ แล, ก็แล. วากยารัมภะในทม่ี าตาง ๆ อโถ. อถ = ก็ (๑๑๙๐); หนฺท (๑๑๙๓). ขลุ (วากฺยาลงฺการ อลงั การ คอื วากยะ) แปลวา ก็ (๑๑๙๕). (๓) การณโชตโก, เหตุ สอ งความท่ีเปนเหตุ.

ประโยค๑ - อธิบายวากยสมั พันธ เลม ๒ - หนาท่ี 96 ห,ิ จ, ปน= เหตุวา, เพราะวา. (๔) ผลโชตโก, ผล สองความท่เี ปนผล ห,ิ จ, ปน= ดว ยวา. (๕) วิเสสโชตโก, วเิ สโส สอ งความทแ่ี ปลกออกไป. ห,ิ จ, ปน=แต, ก็แตว า, ถึงอยา งนั้น. วิเสสนะในทม่ี าตาง ๆ ตุ= แตวา (๑๑๙๗) (๖) ตปปฺ าฏิกรณโชตโก, ตปปฺ าฏกิ รณ สอ งอรรถที่ทาํ ความ ขอ น้นั ใหช ัด. ห,ิ จ, ปน = เหมือนอยา งวา. (๗) ทฬหฺ ีกรณโชตโก สอ งความเครอ่ื งทําคํากอ นใหม่นั . มี ๒ : อาคมทฬฺหีกรณ อางตาํ รารับรองใหม น่ั , ยุตตฺ ิพฬหฺ กี รณ กลา วอาง สมเอง. (เพราะทฬั หยิ ะ ขอ ที่ควรอา งรบั รองใหม ่นั มี ๒ : อาคม- ทัฬหิยะ ทฬั หยิ ะ คอื ตาํ รา ๑ ยุตตทิ ฬั หิย ทฒั หิยะ คอื คําที่กลา วเอง ๑). ห,ิ จ, = จรงิ อยู, แทจ ริง. ทฬั หกี รณโชตกในที่มาตา ง ๆ ตถาหิ จรงิ อยางน้ัน. (โยชนา อภิ. ๑/๕๖ อางสัททนตี ิ วา 'หิ ตาถหีติ อจเิ จเต ทฬฺหกี รณตเฺ ถ' ' นบิ าตเหลา น้ีคอื หิ ตถาหิ ลงในอรรถคอื ทฬั หีกรณ' ). (๘) ปกฺขนตฺ รโชตโก สองความอีกฝายหนึ่ง. จ, ปน.= ฝา ยวา , สว นวา .

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสมั พนั ธ เลม ๒ - หนา ที่ 97 (๙) อนวฺ ยโชตโก สองความอนุโลม. ห,ิ จ, ปน= อัน. (๑๐) พยฺตเิ รกโชตโก สอ งความปฏเิ สธหา ม แตคลอ ยตามกัน. ห,ิ จ, ปน= อัน. (๑๑) สมภฺ าวนโชตโก สองความสรรเสริญ. ปน= ถงึ อยา งนนั้ , แต, กแ็ ตวา. (๑๒) ครหโชตโก สอ งความต.ิ ปน = ถงึ อยา งน้นั , แต, ก็แตวา. นบิ าตหมวดที่ ๒ ลงในบทหรือความอนั เนอ่ื งถึงกัน (๑) สมจุ ฺจยตฺโถ บอกอรรถคอื ควบพากยห รอื บท. มี ๒ : วากยฺ สมจุ จฺ โย ควบพากย, ปทสมุจฺจโย ควบบท. จ (เปน พนื้ ) = กบั , และ (ใชใ นระหวา), ดวย, อนึ่ง (ใช ขา งทาย); วา = บาง; ป = ท้ัง. สมุจจนตั ถะในทมี่ าตางๆ อป = บา ง. อุ. อิตปิ  อรห. (๑๑๘๓). อน่งึ สมจุ จยัตถะ ทา นแยกเรยี กเปน ๔ (๑๑๘๗) คอื : [ ๑ ] สมุจจฺ ย = ดว ย, หนึ่ง, (ไมใชใ นสมาส) อุ. :- จีวร ปณฑฺ ปาตฺจ ปจฺจย สยนาสน อทาสิ อุชภุ เู ตสุ วปิ ปฺ สนเฺ นน เจตสา.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนาที่ 98 [ ๒ ] สมาหาร = ดว ย, หนึ่ง. (ใชใ นทวนั ทวมาส) อุ. จกขฺ ุ ฺ จ โสตฺ จ จกขฺ ุโสต. [ ๓ ] อนั วาจย = หนึ่ง. (กลา วประธานเดียวกนั ) อุ. สีล รกขฺ ทานจฺ เทห.ิ [ ๔ ] อติ รีตร = ดว ย, หน่ึง (เหมอื นทวนั ทวสมาส) อ.ุ สมโณ จ ตฏิ  ติ พฺราหฺมโณ จ ติฏ ติ สมณพรฺ าหมณฺ า ตฏิ นตฺ .ิ (๒) สมปฺ ณฑฺ นตฺโถ บอกอรรถ คอื บวกความเขา. จ (เปนพื้น) = ดวย, (ใชทายความ). ทานแสดงตัวอยาง (๑๑๘๗) วา ปุพโฺ พ จ สเย จ. (๔) วิกปฺปตโฺ ถ บอกอรรถ คือ แยกคือเอาอยางเดียว. มี ๒ : วากยฺ วกิ ปโฺ ป แยกพากย, ปทวกิ ปโฺ ป แยกบท. วา (เปน พืน้ ) = หรอื (ใชใ นระหวาง), บา ง, กด็ ,ี กต็ าม (ใชขางทา ย) ; ยทิวา, อุท, อถวา = หรอื วา ; ป= บาง, วาปน= กห็ รอื ; อปจ = อีกอยา งน่งึ ; กวจิ= บาง. วกิ ัปปตถะในทมี่ าตาง ๆ อโห,ก,ึ กิม, อทุ าหุ, กมิ ุต, (อุท) = หรอื , หรอื วา, หรือไม. (วิกปฺปตถฺ วาจก นบิ าตบอกออก คือ ความตรึก. ๑๑๓๘). จ = หรอื , บา ง. (๑๑๘๗ ) ทานแสดงตัวอยาง คือ โท ธสฺม จ อาเทศ ธ เปน ท บาง.

ประโยค๑ - อธบิ ายวากยสัมพันธ เลม ๒ - หนา ที่ 99 อถวา = อีกอยางหนึ่ง. บางทานเรียก อปรนยโชตก หรอื อปรนย. (ชะรอยจะเรียกตามอรรถของศพั ท ดงั ท่ที านแกว า ' อถวา อปโร นโย เวทิตพฺโพ' [ โยชนา อภ.ิ ๑/๙๐ ] , หรอื ปพุ ฺพนยปริจฺจาโค นโยส คมฺยเต [ โยชนา อภิ. ๑/๒๔๔]. หรอื ตามทีม่ คี ําแสดงวา อถวา = อถ: ปุพฺพนโย โหต,ุ วา : อปรนโย วจุ ฺจเต). อปจ อกี อยางหนง่ึ บางทานก็เรยี ก อปรนยโชตก หรือ อปรนย, (๑) ปรกิ ปฺปตฺโถ บอกอรรถ คือ กาํ หนดไวย ังไมแน. สเจ, เจ, ยท,ิ อท= ถา วา, หากวา , ผวิ า ; อปเฺ ปวนาม, ยนนฺ นู = ถา ไฉน, ถา อยางไร, บาง. ปรกิ ปั ปตถะในท่มี าตา ง ๆ เจ สเจ เรยี ก อนิยมตถฺ (๑๑๔๗). อปฺเปว, อปฺเปวนาม, นุ = ไฉนหนอ เรยี ก สสยตฺถ. (สส ยตฺถวาจก บอกอรรถ คอื สนเทห. ๑๑๕๘). มฺเ = ชะรอยวา , เหน็ จะ, สงเคราะหเรยี ก ปรกิ ปั ปตถ หรือ สงั สยัตถะ. อุ. ' มม สาวก ตมุ หฺ าก สนตฺ เิ ก วสิ สฺ าส น ลภนตฺ ิ มเฺ . [ วฑิ ฑู ภ. ๓/๑๒ ] \" สาวา ท. ของอาตมภาพ ชะรอยวา จะ ไมไ ดว สิ าสะ ในสํานกั ของสมเด็จบรมบพิตร.\" จรหิ = ถาวา. อุ โภตี จรหิ ชานาต.ิ [ ขุ. สตุ ฺ. ปรายน- วคฺค. ๒๕/๕๒๕ ] \"ถา ทา นผเู จริญยอ มร.ู \" อรรกถา [ ป. โช. ๒/๔๙๗] แกเ ปน เจ. จรหิ ในทน่ี ี้ จงึ เปน ปริกปั ปตถะ.แต จรหิ โดยมากใช กบั กึ ศัพท, จกั กลา วในขอ ท่วี า ดวย ปจุ ฉนตั ถ.