Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คนเราตัดสินใจเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร

คนเราตัดสินใจเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร

Published by konmanbong_k3, 2021-10-12 03:01:50

Description: คนเราตัดสินใจเพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร

Search

Read the Text Version

คนเราตัดสินใจ เพื่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ.................

.......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

คำ�น�ำ แนวคิดหลักการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน โลกปจั จบุ นั น้ี คอื การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในสงั คม โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ประชาชนในฐานะปจั เจกชนและสมาชกิ หน่วยย่อยสุดของสงั คม ในทางวิชาการยอมรับกันวา่ การท่ีคนๆหน่งึ ตดั สินใจลงมอื กระทำ� บางอย่างเพอ่ื ส่ิงแวดล้อมนน้ั คนๆนน้ั ตอ้ งมคี วามคดิ ทจี่ ะเสยี สละ บางอย่าง เช่น ความสะดวกสบายเพ่อื สังคมส่วนรวม ดงั น้นั การทีค่ นเรา จะตัดสินใจกระท�ำ เพอื่ ส่งิ แวดลอ้ ม ในทางจิตวิทยาตอ้ งผา่ นกระบวนการ ตัดสินใจ การกระต้นุ ผ่านสิ่งเรา้ และปัจจยั ต่างๆ นอกจากน้ี แมแ้ ตผ่ ทู้ ม่ี ี ความคิด ทศั นคตทิ างบวกต่อส่งิ แวดล้อมกม็ ิได้หมายความวา่ ผู้นนั้ จะ แสดงออกอันเปน็ การกระทำ�เพ่อื ประโยชนต์ ่อสิ่งแวดลอ้ มเสมอไป ทำ�ให้มี คำ�ถามตา่ งๆเกดิ ข้นึ มากมายในแงจ่ ิตวิทยาสิง่ แวดล้อม หนังสือเลม่ นจี้ งึ พยายามหาค�ำ ตอบท่ีเปน็ ไปไดต้ ่างๆ เกย่ี วกบั คำ�ถามท่วี า่ “คนเราตดั สินใจเพื่อสง่ิ แวดล้อมได้อยา่ งไร” โดยพยายาม คน้ หาถึงหลกั และแนวคดิ ทางจติ วิทยา และความเปน็ จรงิ ท่เี กดิ ข้นึ ท้งั ใน และต่างประเทศ ด้วยความคาดหวังวา่ จะเปน็ ขอ้ มูลและความรแู้ กผ่ ู้ ปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ก่ียวข้องและผูส้ นใจในเร่ืองนี้ กองสง่ เสริมและสนบั สนนุ องค์การอสิ ระดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม มนี าคม 2558 ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 1

สารบัญ 1 บทนำ�..................................................................................................... 3 2 จิตวทิ ยาสิ่งแวดล้อมกับการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื ................................ 11 3 ร้จู ักพฤตกิ รรมส่ิงแวดล้อม................................................................. 19 4 พฤติกรรมสง่ิ แวดลอ้ มเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งไร............................................ 24 5 คา่ นิยมส่ิงแวดลอ้ ม.............................................................................. 36 6 “ความร้”ู มผี ลอย่างไร........................................................................ 46 7 จติ สำ�นึก ความตระหนัก ทัศนคต.ิ ................................................... 56 8 บรโิ ภคสเี ขียว........................................................................................ 68 9 สอ่ื สารมวลชน..................................................................................... 81 10 เยาวชน : ทรพั ยากรของชาติ........................................................... 96 11 พฤตกิ รรมสงิ่ แวดลอ้ มของเยาวชนไทย............................................ 107 12 การกระทำ�ดา้ นสงิ่ แวดล้อม............................................................... 119 13 NIMBY Syndrome กบั การพัฒนาพลังงาน................................. 125 14 ชาวอเมรกิ นั คดิ อยา่ งไรเกย่ี วกับโลกรอ้ น.......................................... 137 15 เอกสารอ้างองิ ..................................................................................... 148 2 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

1 บทนำ� ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 3

1 บทนำ� “การตดั สินใจ” เปน็ กระบวนการทางความคิดทเ่ี กดิ ข้ึนตลอด เวลาในชีวติ ประจำ�วันของเราทุกคน กล่าวไดว้ ่า ทุกๆ เร่ืองราวใน ชีวิต ไม่วา่ จะเปน็ กิจวัตรประจำ�วัน การเดนิ ทาง การศกึ ษา การ ท�ำ งาน ล้วนแตเ่ กีย่ วพันกับการตดั สนิ ใจทั้งสนิ้ ดังน้ัน ในเรอ่ื ง ของสง่ิ แวดล้อม ซง่ึ ก�ำ ลงั กลายเปน็ ประเด็นหลกั ของสงั คมโลกยุค ปัจจบุ ัน เราจึงเข้าไปมสี ่วนเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สนิ ใจเสมอ แม้ใน บางครั้งการตัดสินใจนั้นอาจเกิดขึ้นโดยที่เราไม่ได้มีความรู้สึกว่า ก�ำ ลังตกอยู่ในภาวะที่ต้องตัดสินใจก็ตาม อย่างเชน่ การตัดสนิ ใจเลือกซ้อื อาหารปลอดสารพิษ การเลอื กใช้รถยนต์ท่ีประหยัด น้�ำ มนั การเลอื กซื้อผลิตภัณฑ์ท่ีตดิ ปา้ ยแสดงถงึ ความเป็นมิตรกับ ส่งิ แวดลอ้ ม เปน็ ต้น สงสยั หรอื ไมว่ า่ การตดั สินใจเหล่านีเ้ กิดข้ึนไดอ้ ย่างไร และ ปจั จยั อะไรบ้างทมี่ สี ่วนกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การตดั สินใจท่วี า่ เหล่าน้นั 4 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

ปจั จุบนั นกั จดั การสิ่งแวดลอ้ มได้ให้ความสนใจกบั ประเดน็ คำ�ถามเหล่านีเ้ ป็นอยา่ งมาก เน่อื งจากตระหนักว่า ถงึ แมม้ นษุ ย์ จะสามารถพฒั นาเทคโนโลยีไดก้ า้ วหนา้ เพยี งใดกต็ าม แต่หาก ประชาชน ชุมชน หรือสงั คม ไม่ให้ความร่วมมอื แล้ว การจดั การ ปัญหาสงิ่ แวดล้อมย่อมไมป่ ระสบผลสำ�เร็จ ดงั นนั้ การจัดการ ส่ิง แวดลอ้ มในทกุ วันน้ี จงึ มุ่งกลา่ วถึงและให้ความสำ�คัญกบั เรื่องของ การมสี ว่ นรว่ ม ความตระหนกั รขู้ องสงั คม และประชาชน ตลอดจน ความเข้าใจคา่ นยิ มของประชาชนเปน็ สำ�คัญ นกั จัดการสิ่งแวดล้อม จึงไม่ ได้มีมุมมองว่าสิ่งแวดล้อมเป็นเร่ืองทางวิทยาศาสตร์เพียง อย่างเดยี ว หากแต่มองว่า เป็นเรือ่ งทางสังคมด้วย เราจงึ ได้พบเหน็ งานวิจยั จำ�นวนมากทพ่ี ยายามหาคำ�ตอบวา่ แทจ้ ริงแล้ว ประชาชน มคี วามรู้ ความเข้าใจในประเด็นส่ิงแวดลอ้ มตา่ งๆ มากน้อยเพยี งใด เช่น ปัญหาภาวะโลกรอ้ น ซึง่ ก�ำ ลงั ได้รบั ความสนใจ รว่ มกันแก้ไข ปัญหาในประชาคมโลก หรอื ประชาชนมคี วามรู้สกึ ต่อปญั หาสิ่งแวด ลอ้ มนน้ั ๆ อย่างไร หรือเพราะเหตุใดประชาชาชนบางคนจงึ รว่ มมือ กนั ต่อตา้ นกระบวนการท�ำ ลายสภาพแวดล้อม ขณะท่บี างคนไม่ได้มี ความสนใจทจ่ี ะกระท�ำ เช่นน้ัน เป็นต้น การตดั สินใจเพอ่ื ส่งิ แวดลอ้ มของแต่ละคนแตกต่างกนั ออกไป โดยมี ความพยายามจดั กลมุ่ ของการแสดงออกหรอื การกระท�ำ ทางสง่ิ แวดลอ้ ม ดงั น้ี (1) นกั กจิ กรรมส่งิ แวดลอ้ ม (environmental activism) ตัวอยา่ ง เชน่ ผูท้ เ่ี ขา้ รว่ มในองคก์ รพัฒนาเอกชนด้านส่ิงแวดลอ้ ม ผทู้ ีเ่ ข้าร่วมในการเรียกรอ้ งต่างๆเพ่ือพทิ ักษส์ ่ิงแวดล้อม เป็นตน้ ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 5

(2) ผทู้ ่มี ีการกระท�ำ เพ่อื ส่วนรวม ไดแ้ ก่ การสง่ หนงั สือร้องเรียน เกยี่ วกบั ประเดน็ ส่งิ แวดล้อม การใหก้ ารสนบั สนนุ องคก์ รด้าน สงิ่ แวดลอ้ ม การสนับสนนุ หรือยอมรับนโยบายดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ของรัฐบาล เช่น การเพ่ิมภาษสี ่งิ แวดล้อม กฎระเบยี บทีเ่ ข้มงวด มากขึ้น (3) ผู้มีพฤตกิ รรมสงิ่ แวดลอ้ มในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้แก่ การ ใชจ้ า่ ย การบริโภค และการกำ�จัดของเสียของแตล่ ะคน ดังเชน่ ปัจจุบันในสังคมต่างเรียกร้องให้บุคคลมีการกระทำ�ท่ีเป็นการ บริโภคสเี ขยี วให้มากขึน้ เป็นต้น (4) อืน่ ๆ ได้แก่ นกั ออกแบบ พยายามออกแบบผลิตภันณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น นักพัฒนาเมืองพยายามวางแผนใหเ้ มอื งเปน็ เมืองทยี ่ังยืน เปน็ ตน้ สงิ่ เหล่าน้ยี อ่ มมีผลต่อสภาพแวดล้อมโดยรวม รวมท้งั เป็นการ ปอ้ งกนั ปญั หาส่งิ แวดล้อมระยะยาวอกี ดว้ ย32 เม่ือศกึ ษาและทำ�ความเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแทจ้ ะพบวา่ โลกตอ้ งเผชิญ กับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและปัญหาส่ิงแวดล้อม มาต้ังแตศ่ ตวรรษ 1960 สงั คมจงึ เริม่ ต่นื ตัวด้านสิ่งแวดล้อมนบั แต่นัน้ เปน็ ต้นมา ยง่ิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มส่งผลกระทบตอ่ ชวี ติ ความ เปน็ อยขู่ องมวลมนุษยชาติมากเพยี งใด ยิง่ มสี ่วนกระต้นุ เตอื นให้ สังคมร่วมมือกันและตระหนักถึงความจำ�เป็นเร่งด่วนที่จะต้อง จดั การปญั หาส่ิงแวดลอ้ มให้ได้ จงึ มแี นวคดิ มากมายถกู นำ�เสนอ ในเวทีต่างๆ ซึง่ แนวคิดที่ได้รบั การยอมรับและสนับสนุน เช่น แนวคิดการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื หรอื sustainable development แนวคิดเศรษฐศาสตร์สเี ขียว แนวคิดเรือ่ งเมืองย่ังยนื แนวคิดเรอ่ื ง 6 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

การมีสว่ นร่วม เปน็ ตน้ จนปัจจบุ นั โลกไดก้ ้าวผา่ นมาสูศ่ ตวรรษที่ 21 กลา่ วได้วา่ สง่ิ แวดลอ้ มไดก้ ลายเปน็ กระแสหลักของโลกไปแลว้ ปัญหาที่ไดร้ บั การกลา่ วถึงในเวทีโลกและเวทที อ้ งถน่ิ อยูเ่ สมอๆ คือ ปัญหาโลกร้อน และปัญหาการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change ซง่ึ นบั วนั เรื่องสงิ่ แวดล้อมเหลา่ นี้ลว้ นได้รับการ กล่าวถึง และได้รับความสนใจท่ีเขม้ ข้นมากขนึ้ การจดั การส่ิงแวดลอ้ มในโลกนี้ มวี ิวฒั นาการมาเป็นล�ำ ดบั จากเดิมที่ภาระหน้าท่ีตกเปน็ ของภาครัฐเกอื บทงั้ หมด แต่จาก ประสบการณ์ที่เกิดข้ึนทำ�ให้แนวคิดในการจัดการค่อยๆปรับ เปล่ยี นมาให้ความส�ำ คัญกับสังคม ชมุ ชน ประชาชน ทถ่ี อื วา่ เป็น ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียโดยตรงมากข้ึน ดังนน้ั ภาระหน้าที่การพทิ ักษ์ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมิได้ตกเป็นของภาครัฐ แต่ เพยี งฝา่ ยเดยี วอกี ต่อไป หากแต่ถือวา่ สังคม ชมุ ชน และประชาชน ย่อมมีส่วนที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันในฐานะหุ้นส่วนหรือผู้มีส่วน ได้ส่วนเสยี ร่วมกนั ดว้ ยเหตุนเ้ี ร่ืองราวของการมสี ่วนร่วมในการ จัดการส่ิงแวดล้อมจึงโดดเด่นเป็นยุทธศาสตร์หลักที่เป็นที่ยอมรับ กันในระดบั สากล มีการศึกษาวจิ ัย และปรบั ใช้อย่างกวา้ งขวาง อกี ทัง้ นักสิ่งแวดล้อมสว่ นใหญ่เชื่อว่า หากไม่ได้รับความรว่ มมือ จากสมาชกิ ในสังคมแล้ว ยากทก่ี ารจดั การส่ิงแวดล้อมจะประสบ ความส�ำ เรจ็ ไดต้ ามทีม่ ุง่ หวงั จึงเห็นได้ว่าเรอ่ื ง “การมสี ่วนร่วม” มี การกล่าวถึงและให้ความส�ำ คญั มาตลอด 3-4 ทศวรรษทีผ่ ่านมา ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 7

เพราะเหตุใดบางคนจึงมีพฤติกรรมสิ่งแวดล้อมขณะท่ีบางคนไม่มี พฤตกิ รรมน้ี มีขอ้ สงสัยและคำ�ถามมากมายท่ีวา่ เพราะเหตใุ ด หรือมปี ัจจยั ใด บา้ งทที่ ำ�ใหค้ นๆหน่งึ มพี ฤติกรรมสง่ิ แวดล้อม ขณะที่อีกคนไม่มี หรอื มีพฤตกิ รรมสิ่งแวดล้อมนอ้ ย นกั วชิ าการต่างมีสมมตุ ิฐานที่ หลากหลาย และไดพ้ ยายามหาเหตุผลตา่ งๆ มาอธบิ ายถงึ ส่งิ เกิดขึ้น การท่คี นเราจะตดั สินใจลงมอื ท�ำ หรอื มพี ฤตกิ รรมแสดงความคิด ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มนั้น ยอ่ มมีปัจจัยหลายอย่างมาเปน็ ส่งิ เรา้ หรือ สว่ นกระตุน้ อาจจะเกดิ จากปจั จยั ภายนอกต่างๆ อยา่ งเช่น สถานการณ์ ภาวะทางสังคม หรือปจั จัยภายในตวั บุคคล ซึง่ ไดแ้ ก่ ความคิด ความรู้สกึ คา่ นยิ ม ความเชื่อ ประสบการณต์ า่ งๆ รวม ไปถึงเพศ การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ เปน็ ตน้ โดยจะพบเสมอ วา่ พฤติกรรมหรอื การกระท�ำ เพ่อื ส่ิงแวดลอ้ ม เช่น การทีบ่ ุคคล เปลีย่ นจากการใช้รถส่วนตัวไปใชร้ ถบรกิ ารสาธารณะ การตดั สินใจ ซอื้ อาหารอนิ ทรีย์ท่มี รี าคาสงู กว่าอาหารท่ัวๆ ไป การแยกขยะ ส่ิงเหลา่ นี้ไม่ไดเ้ กดิ จากปัจจยั อยา่ งใดอย่างหน่งึ เท่านน้ั แตเ่ ป็นท่ี ยอมรับในหม่นู ักวิชาการวา่ มหี ลายปจั จยั ทที่ �ำ งานร่วมกัน และ เป็นไปไดว้ ่า อาจมีบางปจั จยั ทีม่ ีอิทธิพลมากกวา่ ปัจจยั อน่ื ๆ มีข้อสงสัยมากมายที่นำ�ไปสู่การค้นหาคำ�ตอบมาต้ังแต่ทศวรรษ 1960 ว่า มปี ัจจัยอะไรบา้ งทีเ่ ป็นแรงผลักดนั หรอื เป็นอปุ สรรค ต่อการแสดงออกในระดับบุคคลในเรื่องการแสดงพฤติกรรม 8 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

หรือการกระท�ำ ด้านสิ่งแวดล้อม จงึ มีความพยายามที่จะแสดง ใหเ้ หน็ ถึงข้อคน้ พบทมี่ ีความเกีย่ วขอ้ งกบั ปัจจยั ตา่ งๆ โดยเนน้ ลักษณะทางประชากรของบุคคล จากในหลายประเทศ และหลาย สถานการณ์ โดยพบว่า เพศ และระดับการศกึ ษา เปน็ ปจั จัยท่ีมี ผลต่อทศั นคติและพฤตกิ รรมสิง่ แวดลอ้ ม ผหู้ ญิงมักจะมคี วามรู้ เกี่ยวกบั สง่ิ แวดล้อมน้อยกว่าผูช้ าย แต่มีความรู้สึกด้านอารมณ์ มากกว่า คอื ผ้หู ญงิ มีความรูส้ ึกหว่ งใยในการทำ�ลายส่งิ แวดลอ้ ม มากกวา่ ผูช้ าย เชื่อในความสามารถของเทคโนโลยนี ้อยกว่า และ มีความเต็มใจยอมรบั การเปล่ยี นแปลงมากกว่าฝา่ ยชาย และ ในกรณีท่ีบุคคลใดไม่ว่าหญิงหรือชายใช้ชีวิตในระบบการศึกษา มากกว่า ย่อมมคี วามรเู้ กีย่ วกับเร่อื งสิ่งแวดล้อมสูงกว่า แตข่ ณะ เดียวกันกพ็ บว่า คนทมี่ กี ารศึกษาสูงกวา่ ก็ไม่ได้หมายความวา่ คนๆ นัน้ จะมพี ฤติกรรมสิ่งแวดล้อมท่ีมากกว่าเสมอไป ผลจากการสัมภาษณ์นักส่งิ แวดลอ้ มระดับมอื อาชีพ ในประเทศ สหรัฐอเมรกิ าและนอร์เวย์ เกีย่ วกับประสบการณ์ และผซู้ ึ่งก่อให้ เกดิ แรงจูงใจจนท�ำ ใหต้ ้องผันตัวเองมาเปน็ นักส่งิ แวดลอ้ ม ได้แก่ ประสบการณ์สัมผัสธรรมชาติในวัยเดก็ ประสบการณพ์ บเหน็ สงิ่ แวดล้อมถูกทำ�ลาย ค่านิยมส่ิงแวดล้อมภายในครอบครัว องคก์ ร ที่ให้ความส�ำ คัญกับประเดน็ สงิ่ แวดล้อม การศึกษา และบคุ คล ซง่ึ เปน็ แบบอย่างด้านส่งิ แวดล้อม เชน่ เพ่ือน ครู เป็นต้น22 ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 9

เนอื้ หาบทความตอ่ จากน้ีไป เป็นการนำ�เสนอเพอื่ พยายามตอบ ค�ำ ถามส�ำ คญั ท่วี า่ เพราะเหตุใดคนเราจึงตดั สนิ ใจมพี ฤตกิ รรม สง่ิ แวดลอ้ ม ในขณะทีบ่ างคนไมม่ ี ในลำ�ดบั แรก เปน็ การนำ�เสนอ ถงึ ทีม่ าของแนวคดิ หรือศาสตรท์ ี่ศกึ ษาวเิ คราะหเ์ รอื่ งท่ีเก่ยี วขอ้ ง กบั พฤติกรรมส่ิงแวดลอ้ ม เรยี กวา่ จติ วิทยาส่ิงแวดล้อม เพื่อให้ผู้ อา่ นเข้าใจพนื้ ฐานของศาสตรแ์ ขนงน้ี จากนนั้ จงึ นำ�เสนอเร่อื งราว ในเชงิ แนวคดิ และทฤษฎตี า่ งๆ ท่ีนักวชิ าการและนักวิจยั ส่วนใหญ่ นำ�มาปรับใช้อธิบายปรากฏการณ์พฤติกรรมและความตระหนัก ทางดา้ นส่ิงแวดล้อม โดยกล่าวถงึ กรอบแนวคดิ ดา้ นพฤติกรรม สิ่งแวดล้อม จากน้นั จึงกลา่ วถึงปจั จยั ต่างๆ ท่มี ีผลต่อการตัดสินใจ ของบคุ คล และนำ�เสนอการตดั สนิ ใจเพอื่ การบริโภคสีเขียว การ ลงมอื กระทำ�เพ่ือสงิ่ แวดลอ้ ม NIMBY และความรู้ความเขา้ ใจใน เรือ่ งโลกร้อนของชาวอเมริกัน 10 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

2. จิตวิทยาสิ่งแวดล้อม กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 11

2. จติ วทิ ยาส่ิงแวดล้อม กับการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน ศาสตร์ท่ีทำ�ให้เราเข้าใจถึงพฤติกรรมและการกระทำ�ต่างๆ ของมนุษย์ คอื จติ วิทยา ซง่ึ แยกสาขาต่างๆได้หลายสาขา และ จิตวิทยาสิ่งแวดล้อมจัดเป็นสาขาหน่ึงที่นับวันจะมีความสำ�คัญ และไดร้ ับความสนใจมากข้นึ เปน็ ลำ�ดับ จิตวิทยาสิง่ แวดลอ้ ม (en- vironmental psychology) เร่ิมต้นขน้ึ เมื่อปลายทศวรรษ 1960 ดว้ ยความคิดที่ว่า พฤติกรรมมนุษยเ์ ปน็ ส่ิงส�ำ คญั ตอ่ การจดั การ สิ่งแวดล้อม จิตวิทยาส่ิงแวดล้อมเกี่ยวข้องอย่างไรกับการจัดการสิ่งแวดล้อม เพ่ือการพฒั นาทีย่ ่ังยนื จิตวิทยาส่งิ แวดล้อมเป็นสาขาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับประเด็นตอ่ ไปนี้ 1. ใหค้ วามสนใจกับประเดน็ นโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะ นโยบายสิ่งแวดล้อม ช่วยให้เข้าใจถึงกระบวนการ มีสว่ นร่วมของประชาชน และยงั ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจสถานการณ์ เฉพาะบางอย่างที่มีความสำ�คัญต่อการกำ�หนดนโยบาย 12 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

ตัวอย่างเช่น กรณีรัฐบาลต้องการกำ�หนดนโยบาย เกีย่ วกบั การจัดการขยะ จติ วทิ ยาส่ิงแวดล้อมจะชว่ ย ใหน้ ักกำ�หนดนโยบาย หรือ นกั จัดการสิ่งแวดล้อม เขา้ ใจวา่ ควรทำ�อย่างไรจึงสามารถโน้มนา้ ว หรือกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำ�คัญของปัญหา ขยะจากบ้านเรอื นหรือจากทุกคน และหนั มาให้ ความร่วมมือตามนโยบายและมาตรการที่ภาครัฐ กำ�หนด เช่น การใชม้ าตรการทางเศรษฐศาสตร์ เปน็ แรงกระตุ้น ความรู้จติ วทิ ยาจะสามารถอธบิ าย ปรากฏการณต์ า่ งๆท่ีเกิดขน้ึ ได้ 2 . นั ก จิ ต วิ ท ย า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ ห้ ค ว า ม สำ � คั ญ กั บ “เทคโนโลยี” ในหมู่นักจติ วิทยามมี ุมมองเทคโนโลยีท่ี แตกต่างกัน บางคนคิดวา่ เป็นสง่ิ ที่เปน็ ปัญหา ขณะท่ี บางคนกลับเช่ือว่าเป็นส่ิงที่สามารถท�ำ ให้บรรลุเป้าหมาย ความยง่ั ยนื ได้ ดังเช่น มวี ารสารจติ วิทยาสงิ่ แวดล้อม ฉบบั แรกๆ กล่าวถงึ เทคโนโลยวี า่ เป็น “โรคใหม่ทาง สงั คม” อย่างไรก็ตาม นักจิตวทิ ยาสง่ิ แวดลอ้ มได้ ชว้ี ่า การน�ำ เสนอเทคโนโลยีใหมๆ่ ไม่ได้เปน็ สงิ่ ท่ี สามารถการันตีได้เสมอไปวา่ จะเปน็ ท่ียอมรบั ของ ประชาชน ดงั น้ันในการกำ�หนดนโยบายจึงจ�ำ เปน็ ตอ้ ง พิจารณาถึงมาตรการหรือวิธีการที่จะสามารถกระตุ้น ใหป้ ระชาชนยอมรับเทคโนโลยนี ัน้ ๆดว้ ย ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 13

3. ความเชอ่ื มโยงกับสาขาอนื่ ๆ เช่น ภูมิศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ท่ี ได้รับการพัฒนามาก่อนสาขา น้ี เนื่องจากส่งิ แวดล้อมเกยี่ วขอ้ งกบั สงิ่ ต่างๆมากมาย ทัง้ ด้านกายภาพและสังคม วัฒนธรรม ดังนั้นการ ทำ�งานร่วมกันของบุคลากรท่ีต่างสาขาจึงเป็นส่ิง จ�ำ เปน็ เพือ่ ให้บรรลุเปา้ หมาย 4. จิตวทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ มได้ขยายกรอบ จากที่เคยเน้น เฉพาะรายบุคคลและกล่มุ ขนาดเลก็ หรอื ในหอ้ ง ปฏิบัตกิ าร ไปสกู่ ารพจิ ารณาในกรอบทข่ี ยายวงกว้าง มากขึ้นคือเร่ืองความยั่งยืนและสาขาด้านชีวิตความ เป็นอยทู่ ี่มากไปกว่าการจัดการส่ิงแวดล้อม เชน่ Van den Berg, Hartig and Staats ได้ขยายแนวคดิ ของ ความยง่ั ยนื ไประดับของเมือง ซึ่งเป็นการขยายแนวคดิ ความย่ังยืนจากท่ีเน้นเร่ืองทรัพยากรไปยังเรื่อง คุณภาพชีวิต ซงึ่ จัดได้วา่ เป็นสง่ิ ทา้ ทายนักวางแผน เมอื งอยา่ งมาก และมกั พบเสมอวา่ ความคิดเห็นจาก ผ้เู ช่ยี วชาญกับประชาชนมักไมต่ รงกัน อย่างไรกต็ าม ไม่มีผู้ ใดสามารถอ้างได้ว่าความคิดจากสมาชิกคนหน่ึง คนใดในสงั คมสามารถนำ�ไปส่คู วามยั่งยนื ดงั นั้น จงึ ควรรับฟงั ความคดิ เห็นจากประชาชน อาจสรปุ ไดว้ ่า นกั จติ วทิ ยาสิง่ แวดลอ้ มมบี ทบาทส�ำ คัญ 3 ประการ 14 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

คือ (1) ช่วยใหก้ ารศึกษาแกป่ ระชาชนตามความจ�ำ เป็น (2) ใช้ประสบการณด์ า้ นจติ วิทยาในการรวบรวมขอ้ มลู จากประชาชนเพอ่ื สนบั สนนุ การจดั ท�ำ นโยบายสง่ิ แวดลอ้ ม (3) ทำ�หน้าทีเ่ ปน็ คนกลางหรือ นกั ไกลเ่ กลีย่ ระหวา่ ง ประชาชนกบั นักจดั การส่ิงแวดลอ้ ม หรอื บางครัง้ ระหวา่ งผเู้ ชย่ี วชาญกบั ผู้รบั ผดิ ชอบจดั ทำ�นโยบาย 5.จิตวิทยาสิ่งแวดล้อมขยายสาขาจากทฤษฎีในสาขา อ่นื ๆ เชน่ การพฒั นามาจากแนวคิดทางสังคม จนถึง ปัจจุบันชัดเจนแล้วว่าการตัดสินใจท่ีเกี่ยวข้องกับความ ยง่ั ยนื จะไมส่ ามารถกระท�ำ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ถ้า มิได้เข้าใจถึงความคิดของประชาชนหรือพลเมืองว่าคิด เห็นอย่างไร รวมถึงจำ�เป็นต้องเขา้ ใจถึงแรงจูงใจและ เป้าหมายของพวกเขาเหล่าน้นั ดว้ ยเช่นกนั 6. เนน้ แนวคดิ เร่อื งความย่งั ยืน นกั จิตวทิ ยาส่ิงแวดล้อม ยอมรับแนวคิดเรื่องความยั่งยืนซ่ึงที่เป็นท่ียอมรับกัน ในระดบั สากล แต่นกั จิตวิทยามิได้หยุดเพียงแค่สภาพ แวดล้อมทางกายภาพเท่าน้ัน หากแต่ยงั มแี นวคิด ผนวกเอาเรื่องของคณุ ภาพชวี ิตมาพจิ ารณาด้วย 7. ความสนใจทางวทิ ยาศาสตรใ์ นเร่ืองของสิ่งมชี วี ติ และ ระบบนิเวศ นักจติ วทิ ยาส่งิ แวดลอ้ มจำ�นวนหนึ่งได้น�ำ เสนอแนวคิดท่ีเน้นขยายกรอบแนวคิดของความย่ังยืน ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 15

ไปยังปัญหาท่ีมิไดเ้ ป็นเร่ืองของมนุษย์ (nonhuman biological world) และปัญหาทางนิเวศ เชน่ ปญั หา โลกร้อน ปญั หาวิกฤติการณน์ ำ�้ เป็นตน้ ดงั นั้น ดว้ ย เหตุท่ีความย่ังยืนเกี่ยวข้องกับเรื่องของพืชและสัตว์ รวมถึงสง่ิ มีชวี ิตท้งั หลาย ดงั น้ันเร่อื งเหล่าน้ีจงึ รวมอยู่ ในสาขาจติ วทิ ยาสิง่ แวดล้อมด้วยเชน่ กนั 14 “จิตวิทยาสิง่ แวดลอ้ ม” จัดเป็นศาสตร์สาขาที่กวา้ งและมี ลักษณะเป็นสหสาขาวิทยาซ่ึงศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์และ ชีวิตความเป็นอยู่ รวมทง้ั ความสัมพันธก์ ับสงิ่ แวดลอ้ มทัง้ ทางสังคม และทางกายภาพ ตวั อย่างเชน่ ศกึ ษาเก่ยี วกบั การปรบั ตัวกับ สภาพแวดลอ้ ม โดยเช่อื วา่ บคุ คลยอ่ มปรับตัวใหเ้ ข้ากับสภาพแวดล้อม ท่ีเปล่ียนแปลงไป เชน่ การปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั เสยี ง ความหนาแนน่ หรอื ส่งิ ก่อสรา้ งใหมท่ เ่ี กิดขึน้ เป็นตน้ นอกจากน้ี ยังศึกษาบทบาท ของสังคม วฒั นธรรมวา่ มผี ลต่อความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลหรอื ชุมชนอยา่ งไร ปัจจบุ ันได้รวมถึงหัวข้อ ทัศนคติ ค่านยิ ม ความเช่ือ และกระบวนการท่เี กย่ี วขอ้ งกบั สิ่งแวดล้อม สภาพพื้นโลก ทวี่ ่าง ส่วนบคุ คลและผลจากความแออัดของสงิ่ แวดลอ้ ม ความเครยี ด ส่งิ แวดล้อม พฤตกิ รรมซึง่ เกีย่ วขอ้ งกบั โรงเรียนและสภาพแวดลอ้ ม การทำ�งาน จิตวิทยาเริ่มจากการมุง่ เนน้ ศึกษารายบุคคล ดงั นัน้ จิตวิทยาสว่ น บคุ คลทมี่ มี าแตเ่ ดมิ เหล่านั้น ยอ่ มมีสว่ นช่วยส่งเสริมทศั นคติและ 16 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

พฤติกรรมสิ่งแวดล้อมอย่างยง่ั ยืน หลายดา้ นดว้ ยกัน คอื o ประการแรก จิตวทิ ยาสว่ นบุคคลสามารถท�ำ ให้ เขา้ ใจพลวตั ของอารมณ์ แรงจูงใจและความรู้ ความจำ�ซึ่งอาจมีผลต่อพฤติกรรมทำ�ลายส่ิงแวดล้อม นักจิตวิทยาส่ิงแวดล้อมมองว่าตัวแปรทาง จิตวิทยาส่วนบคุ คล หรอื person-variables ว่า มีความสำ�คญั ในการส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม o ประการทส่ี อง จติ วทิ ยาสว่ นบุคคลเช่ือวา่ พฤตกิ รรม มนษุ ย์เป็นสง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ อยา่ งมเี ปา้ หมาย มิใชเ่ ปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขึ้นอย่างบังเอญิ (purposive, goal-directed behaviour) ดงั น้ัน แนวคดิ จติ วทิ ยา สิง่ แวดล้อม จงึ เกิดข้นึ บนแนวคดิ เดยี วกนั ว่า คน และสัตว์ ใช้ประโยชน์สิ่งแวดล้อมอย่างไรเพื่อให้ บรรลเุ ปา้ หมายบางประการ o ประการทสี่ าม จิตวิทยาส่วนบุคคลเน้นสงั คม และส่งิ แวดล้อม นกั จติ วทิ ยาสง่ิ แวดลอ้ มเชอ่ื ว่า ความตระหนักถึงความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานการ เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมท่มี ผี ลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม o ประการท่สี ี่ จิตวิทยาสว่ นบุคคลสามารถช่วย จิตวิทยาส่ิงแวดล้อมให้เข้าใจความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เชน่ เข้าใจไดว้ า่ เพราะอะไรคน หนง่ึ มีความสนใจสง่ิ แวดลอ้ ม ในขณะท่ีบางคน ไมม่ คี วามสนใจดังกลา่ ว33 ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 17

ปจั จุบนั ดเู หมือนว่า จิตวิทยาส่งิ แวดล้อมจะสามารถตอบสนอง แนวคิดการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนภายใต้ค�ำ กลา่ วทว่ี ่า ‘think globally, act locally’ อย่างไรก็ตาม ในอกี แง่มุมหน่ึง จติ วิทยาสิง่ แวดล้อม ก็ให้ความสำ�คญั กับพฤตกิ รรมมากกว่าเร่ืองของมมุ มอง ทศั นคติ ดงั นัน้ จึงมีผู้น�ำ เสนอแนวคิดเรื่องการกระทำ�ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม หรือ environmental action เพ่ือเขา้ ใจถงึ การกระท�ำ ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ของประชาชน โดยการพิจารณาในแง่ที่บุคคลเหล่านัน้ เปน็ เครือขา่ ย หรอื สมาชกิ ของกลมุ่ ใดกลุม่ หน่ึง ซง่ึ เปน็ ปจั จัยสำ�คญั ทท่ี �ำ ใหบ้ คุ คล นน้ั ๆ ได้พัฒนาอัตลักษณ์ของตนเอง ซึ่งในมุมมองนี้ ทำ�ให้มคี วาม เห็นว่า การกระทำ�ดา้ นส่งิ แวดลอ้ มไม่ควรมองว่าเป็นพฤตกิ รรม ของแตล่ ะบคุ คลเทา่ น้ัน เพราะเป็นผลท่เี กดิ จากการกระต้นุ ของ สังคมโดยรวมด้วย และเกิดข้ึนจากความตง้ั ใจท่จี ะกระท�ำ ดว้ ย ใช่ว่า จะเกิดจากส่งิ เร้าเพียงอย่างเดยี ว อกี นัยหน่ึง กล่าวไดว้ ่าจิตวิทยาสิ่งแวดล้อม มีกรอบตง้ั แตร่ ะดบั บุคคล ทอ้ งถน่ิ มติ ิเฉพาะ และรวมถงึ สังคม โลก และมิตทิ ั่วๆไป ซ่ึงเปิดโอกาสให้เข้าใจการกระทำ�ของคนเพ่ือประโยชน์ ในระดับ โลก รวมถงึ คนรุ่นตอ่ ๆไป มากกวา่ เพื่อประโยชน์ในระดับบุคคล5 18 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

3 รู้จักพฤติกรรมสิ่งแวดล้อม âçá¡¢ÂÐ à¡ÉµÃµÑÇÍ‹ҧ »†ÒªØÁª¹ ûŒÒŹÍÍ´ÒÀËÑÂÒà ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 19

3. รจู้ ักพฤติกรรมสิ่งแวดลอ้ ม ทศั นคติ ความตระหนัก จติ สำ�นึก และพฤติกรรม ล้วนเป็น ค�ำ ท่นี ำ�มากล่าวอา้ งถงึ ความรูส้ กึ นึกคดิ ของคนเรา เพอื่ น�ำ ไปส่กู าร แสดงออกทางพฤติกรรม ทง้ั ที่มองเหน็ ได้ เชน่ พฤติกรรมการกิน และมองไมเ่ หน็ เช่น การรู้เรอ่ื งราวของสง่ิ แวดล้อม หรือการ กระทำ� ตา่ งๆ เช่น การปลูกต้นไม้ ในทางจิตวทิ ยาเชือ่ ว่า ค�ำ ต่างๆ เหล่านี้ล้วน มีความสัมพันธ์กนั นักจิตวิทยาเชอ่ื ว่า การที่คนๆ หน่ึงมพี ฤตกิ รรม อย่างใดอยา่ งหนึ่ง เป็นผลมาจากส่ิงชักจงู และแรงขับต่างๆ ท้งั จาก ภายนอกและภายในตวั ของคนๆ น้นั และบางครั้งซับซอ้ นยากตอ่ การ อธิบาย โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล อยา่ งไร ก็ตาม มนี กั วิชาการ นักจิตวิทยา เปน็ จ�ำ นวนมากท่ตี ่างพยายาม อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขน้ึ ทั้งในลกั ษณะของปจั เจกชน สงั คม ชมุ ชน อีกทงั้ พยายามเชื่อมโยงกบั เหตกุ ารณ์ ปญั หา และปรากฏการณ์ มากมาย ทัง้ ทเ่ี กิดข้นึ ตามธรรมชาติ และถูกมนษุ ยส์ รา้ ง หรอื เปล่ียนแปลง โดยเฉพาะในเรือ่ งของสง่ิ แวดลอ้ ม เรอ่ื งราวเกี่ยวกับ ความคดิ ความรู้สกึ และการกระทำ�ของมนุษย์ จงึ ได้รับความสนใจ 20 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

มากขึ้นเป็นล�ำ ดบั เพราะคนสว่ นใหญ่ไดต้ ระหนักแล้ววา่ แม้โลกจะมี เทคโนโลยดี เี ลศิ หรือเงินทนุ มากมายมหาศาลเพยี งใด หากไม่ไดร้ บั ความรว่ มมอื หรือความสนใจจากชมุ ชน สงั คม และประชาชนแล้ว ก็ยากที่การจัดการสิ่งแวดล้อมจะบรรลุถึงเป้าหมายสูงสุดที่เรียกขาน ว่า “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ได้ ดว้ ยเหตุน้ี “จิตวิทยา สาขาจิตวิทยา สิง่ แวดลอ้ ม” จงึ ไดร้ ับการพฒั นา และก้าวหนา้ มาเป็นลำ�ดบั ตลอด หว้ งเวลา 3 - 4 ทศวรรษท่ผี า่ นมา ซ่งึ นักสิง่ แวดลอ้ มเองก็ได้ใหค้ วาม สนใจเก่ยี วกบั เร่อื งนีเ้ ป็นอยา่ งมาก โดยพยายามศึกษา และคน้ หาวิธี ตา่ งๆ เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ของคนเรา เพื่อที่จะสามารถ จัดการสง่ิ แวดลอ้ มได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ในศาสตร์จติ วทิ ยาได้แบง่ ระดบั ของจิตออกเปน็ 3 ระดับ คือจิตใต้ส�ำ นกึ จิตกง่ึ สำ�นึก และจิตสำ�นกึ (unconscious, sub-conscious and conscious) โดยจติ ใตส้ ำ�นกึ เปน็ จติ ระดับลึกสดุ และจิตส�ำ นึกเป็นจติ ระดบั ต้ืนสดุ ที่ เปน็ ระดบั ทรี่ บั รู้ได้ และขณะเดียวกนั ก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ตามส่ิงเรา้ ดงั นน้ั ทศั นคติ ความตระหนกั จิตส�ำ นกึ ลว้ นแล้วแต่เปน็ จิต ระดับตนื้ ทรี่ บั รู้ไดแ้ ละเปลีย่ นแปลงได้ง่ายเชน่ กนั ดังนัน้ บรรดาเคร่อื งมือ วดั ต่างๆทพี่ ฒั นาขน้ึ จะอธบิ ายเสมอวา่ เป็นผลในขณะทดสอบหรอื ใน ขณะท่บี คุ คลนนั้ ๆท�ำ แบบทดสอบเทา่ น้นั สิ่งแวดลอ้ ม ท่นี กั จดั การส่งิ แวดลอ้ ม และนักจติ วิทยาสงิ่ แวดลอ้ ม อยากรู้นัน้ มีอยู่มากมาย เชน่ “พฤติกรรมสิ่งแวดลอ้ มเกดิ ข้นึ ได้อยา่ งไร เพราะเหตุใดบางคน จึงมีการตัดสินใจแสดงออกถึงพฤติกรรมหรือการกระทำ�เพื่อ ส่ิงแวดลอ้ ม ขณะท่ีบางคนไมม่ ีพฤตกิ รรมดังกล่าว” ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 21

“เพราะเหตใุ ดแตล่ ะคนจึงมคี วามถี่ หรือ ความมุ่งมนั่ เพื่อสิง่ แวดล้อม ไมเ่ ท่ากัน อะไรเปน็ ส่วนกระตนุ้ หรอื อะไรเป็นอุปสรรค” “ความรู้มีส่วนผลักดันให้ผู้คนหันมากระทำ�หรือมีความคิดเพ่ือส่ิง แวดล้อมจริงหรือ” “ทำ�ไม บางคนจึงยอมเสยี สละความสะดวกสบายส่วนตัว เพื่อ ส่ิงแวดล้อม และเพราะเหตุใด บางคนจึงยอมเป็นอาสาสมคั รให้ กับองคก์ รท่มี ีกจิ กรรมดา้ นสงิ่ แวดล้อม” นอกจากนี้แลว้ ยงั มคี ำ�ถามอ่ืนๆอีกมากมาย พฤตกิ รรมสิง่ แวดล้อม คอื อะไร พฤตกิ รรมสงิ่ แวดลอ้ ม หรือ pro-environmental behaviour “เป็น พฤติกรรมซึ่งเปล่ียนแปลงสภาพการดำ�รงอยู่ของทรัพยากรหรือ พลงั งานจากสง่ิ แวดลอ้ ม หรอื เปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งและ ไดนามกิ ส์ ของระบบนิเวศหรือชีวมณทลในทางบวก”15 เชน่ เดียวกบั Stewart,A.E. (2007) จดั ให้พฤตกิ รรมสงิ่ แวดล้อม เปน็ พฤติกรรมในระดบั จติ ส�ำ นกึ ท่ีผู้นั้นแสดงออกอย่างมีเป้าหมายท่ีต้องการลดผลกระทบทางลบท่ี เกิดขน้ึ ทง้ั ในธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ตัวอย่างเช่น พฤตกิ รรมลดการใช้พลังงาน การลดของเสียจากการผลติ เป็นต้น33 ดงั น้ันจากแนวคิดการให้คำ�จำ�กดั ความของนกั คิดทั้งสอง จงึ พอสรุป ไดว้ ่า พฤตกิ รรมสง่ิ แวดล้อม หมายถงึ การแสดงออกหรือการกระทำ�ใน ระดับจิตสำ�นกึ ทมี่ เี ปา้ หมายเพอ่ื คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มท่ีดีข้นึ ด้วยเหตุท่ีเปน็ พฤตกิ รรมระดบั จติ ส�ำ นึกนีเ่ อง พฤตกิ รรมส่งิ แวดลอ้ ม จึงสามารถเปล่ียนแปลงได้เสมอตามสิ่งเร้าทั้งภายนอกและภายใน จติ ใจของบคุ คลนัน้ ๆ 22 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

พฤตกิ รรมสงิ่ แวดล้อม จัดว่าเปน็ พฤติกรรมท่มี ีความยดึ โยงอยกู่ บั คณุ ธรรมและจริยธรรม หรอื หลกั ศีลธรรม หรือ บรรทดั ฐานสังคม ดังน้ัน จึงเหน็ ได้วา่ พฤตกิ รรมสิ่งแวดลอ้ มมิไดเ้ ป็นสิง่ ทสี่ ามารถเกิดขึ้น ได้ง่ายๆ นี่คือท่ีมาของคำ�ตอบงา่ ยๆ ท่ีว่า เพราะเหตุใดบางคนมีและ บางคนไม่มพี ฤตกิ รรมสง่ิ แวดลอ้ ม ดว้ ยเหตุนี้ พฤติกรรมส่ิงแวดล้อม จึงถูกจัดใหเ้ ปน็ พฤตกิ รรมจริยธรรมทางส่งิ แวดล้อม (ethically environmental behaviour) Groot and Stege (2009) ได้อธบิ ายไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจวา่ พฤติกรรม สิง่ แวดลอ้ มจัดเปน็ พฤตกิ รรมท่ีใหค้ ุณกบั ผู้อนื่ ในขณะท่ีผแู้ สดงพฤตกิ รรม กลับไม่ได้ประโยชน์ นนั่ คอื เทา่ กับวา่ บคุ คลน้ันต้องเป็นผู้เสียสละเพ่อื ผอู้ ่นื หรอื สงิ่ อ่นื ตวั อย่าง เช่น การตดั สนิ ใจ ใช้รถโดยสารสาธารณะใน การเดินทาง ผูน้ นั้ จะไม่ได้รบั ความสะดวกสบายเช่นเดยี วกบั รถส่วนตวั แตส่ ังคมและสิ่งแวดลอ้ มไดป้ ระโยชน์ เพราะเป็นการลดมลพิษและลด ความแออดั ของการจราจร หรอื กรณีการคดั แยกขยะกเ็ ช่นเดียวกนั ผู้ ที่มีการกระทำ�เชน่ นัน้ จะต้องจัดหาทส่ี ำ�หรับการคดั แยกขยะ หรอื ตอ้ งหา ข้อมูลว่า จะสามารถคัดแยกขยะไดอ้ ย่างไร ซงึ่ คนๆ นนั้ จะตอ้ งเสยี สละ เวลาและความสะดวกทีเ่ คยมมี าท�ำ ในสิง่ ทส่ี ังคมได้ประโยชน์ สงิ่ ตา่ งๆ เหล่านี้ในเชิงจติ วทิ ยาแล้วจะเห็นไดว้ ่า นคี่ ือคำ�ตอบของคำ�ถามท่ีว่า เหตใุ ด การ ส่งเสริมหรอื ชักจูงให้บุคคลมีพฤติกรรมสิ่งแวดลอ้ มเป็นส่งิ ท่ไี ม่งา่ ยนักเพราะ โดยธรรมชาติแล้ว คนทกุ คนยอ่ มเหน็ ความสำ�คัญของตนเองเปน็ หลกั และ รักความสะดวกสบาย ขณะเดียวกันก็เป็นคำ�ตอบของคำ�ถามท่วี า่ เพราะ เหตใุ ดจงึ ต้องมปี ัจจยั ชักจูงใหผ้ คู้ นมีความคดิ และพฤติกรรมส่ิงแวดล้อม ถึงแม้จะต้องเผชิญกบั ความยุ่งยากเพียงใด โลกทกุ วันน้ีตระหนักดีว่า การกระตุ้นและส่งเสริมให้พลเมืองโลกมีความตระหนักและมีการกระทำ� เพอ่ื สง่ิ แวดล้อมเปน็ ความจำ�เปน็ ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 23

4 พฤติกรรมสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นได้อย่างไร 24 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

4. พฤตกิ รรมส่ิงแวดลอ้ มเกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร แนวคดิ ที่ใชว้ เิ คราะห์และอธบิ ายความเปน็ มาเปน็ ไปเก่ยี วกับพฤติกรรม สิ่งแวดลอ้ ม มีพน้ื ฐานจากศาสตรส์ าขาจติ วทิ ยา ดงั นั้นตงั้ แตท่ ่ี โลกตระหนักถึงภัยคุกคามจากปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเริ่มมาตั้งแต่ ทศวรรษ 1960 มีนักจติ วิทยา และนักจัดการสิง่ แวดล้อมต่างใหค้ วาม สนใจอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆทางจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ อยู่ไม่นอ้ ย โมเดลทเี่ ก่าและงา่ ยทสี่ ดุ ของพฤติกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม คอื linear progression ทีเ่ ชอื่ วา่ พฤตกิ รรมสิง่ แวดล้อมเกดิ จากความรู้สิง่ แวดล้อม โดยเช่ือว่าความรู้สามารถกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและความห่วงใย ต่อส่งิ แวดลอ้ ม และเกดิ พฤติกรรมสงิ่ แวดลอ้ มในท่ีสดุ ดังนน้ั โมเดลนี้ จึงมสี มมตุ ิฐานวา่ การใหก้ ารศึกษาเกีย่ วกบั ประเดน็ ส่ิงแวดลอ้ มอาจ มผี ลใหม้ พี ฤตกิ รรมทางสง่ิ แวดลอ้ มมากขึน้ หรอื ถ้าบคุ คลมีความรู้ หรือ ไดร้ ับขอ้ มลู ส่งิ แวดล้อมมากเพียงใดย่อมมีโอกาสทจ่ี ะตัดสนิ ใจ กระท�ำ เพ่ือส่ิงแวดลอ้ มมากขึ้นเชน่ กัน ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 25

ความรู้สิ่งแวดล้อม ทศั นคติต่อ พฤติกรรมตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ ม ภาพที่ 1 แสดงโมเดลพฤติกรรมสิ่งแวดล้อมยุคเริ่มต้น ต่อมา ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 ก็พบว่าโมเดลนี้ไม่ถูกต้องเนื่องจาก งานวิจัยสว่ นมากพบวา่ ความรูแ้ ละความตระหนกั มิได้ท�ำ ให้คนๆน้นั มพี ฤติกรรมสิง่ แวดลอ้ มเสมอไป ดังเช่น จากประสบการณก์ ารรณรงค์ ของรฐั บาลสหราชอาณาจกั ร เร่อื ง “ประหยดั ” และการอนรุ ักษ์ พลังงานเมือ่ กลางทศวรรษ 1970 เพ่ือพัฒนาความเขา้ ใจของประชาชน เกย่ี วกับการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื ประสบการณ์เหลา่ นที้ �ำ ใหต้ ระหนกั ดีว่าการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมเปน็ เร่ืองยากมาก ถึงแม้วา่ รัฐจะ ด�ำ เนนิ การประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ และขอ้ มูลต่างๆจ�ำ นวนมาก อยา่ งแพร่หลายกต็ าม 26 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

นกั วิชาการได้พยายามวิเคราะห์หาสาเหตุทวี่ ่า เพราะเหตใุ ดบคุ คล ท่มี ีทัศนคตทิ างบวกตอ่ การพิทักษ์สง่ิ แวดล้อม แต่ยงั ไม่แสดงออก ซง่ึ พฤตกิ รรมหรอื การกระทำ�เพ่อื สิ่งแวดล้อม ซึง่ พบวา่ มีสาเหตทุ ี่ สำ�คญั 4 ประการ ดังน้ี 1. ประสบการณท์ างตรงและทางออ้ ม ประสบการณ์ตรง มีผลต่อพฤติกรรมมากกว่าประสบการณ์ทางอ้อม อยา่ งมาก ตัวอยา่ งเชน่ การเรยี นรเู้ กี่ยวกับปัญหาสงิ่ แวดล้อมในโรงเรียนซึ่งจัดเป็นประสบการณ์ทางอ้อม ย่อมมีผลต่อพฤติกรรมน้อยกว่าประสบการณ์ตรงที่ เหน็ ปลาตายในแมน่ ้�ำ 2. บรรทัดฐานของสงั คม ประเพณีทางวฒั นธรรม และ ประเพณีทางครอบครัว มีอิทธิพลและสามารถ ก�ำ หนดทศั นคติของคนเราได้ เชน่ ถ้าวัฒนธรรมมี อทิ ธิพลท�ำ ให้การดำ�เนินชีวติ เปน็ ไปอยา่ งไม่ยงั่ ยนื กจ็ ะสง่ ผลใหก้ ารแปรเปลยี่ นเปน็ พฤตกิ รรมส่งิ แวดล้อม เป็นไปได้ยาก น่ันคือทำ�ให้ช่องว่างระหว่างทัศนคต ิ และพฤตกิ รรมกวา้ งมากขนึ้ 3. ความรสู้ ึกชัว่ คราว เกดิ จากความจริงทว่ี ่า ทัศนคติ ของคนเรานนั้ เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เนอ่ื งจาก เนื่องจากเป็นความรู้สกึ ในระดบั จิตสำ�นกึ ตวั อย่าง เชน่ หลังเหตกุ ารณเ์ ชอโนบิลระเบดิ ประชาชนชาว สวสิ เซอรแ์ ลนดจ์ ำ�นวนมากคัดค้านพลงั งานนวิ เคลียร์ ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 27

แตก่ ารสำ�รวจเพ่อื หาข้อตกลงสองปหี ลังจากนั้น วา่ ควรยตุ กิ ารสรา้ งโรงงานไฟฟา้ นวิ เคลยี ร์ใหมเ่ ป็น เวลา 10 ปีหรอื ไม่ ปรากฏวา่ จ�ำ นวนของผูท้ ่ีเห็นด้วย และไมเ่ ห็นดว้ ยแตกต่างเพยี งเลก็ นอ้ ยเท่านนั้ 4. การวดั ทัศนคติและพฤตกิ รรม พบวา่ บอ่ ยคร้งั ทีก่ ารวดั ทศั นคตมิ กี รอบทก่ี ว้าง (เชน่ วดั ว่า คุณเอาใจใสส่ งิ่ แวดลอ้ มหรอื ไม่) มากกวา่ การวดั การกระทำ� (เชน่ คุณรีไซเคิลหรือไม)่ ท�ำ ใหน้ �ำ ไปสู่ขอ้ สรุปที่ไม่ตรงกับ ความเป็นจริง ดังน้ันการวัดก็มีสว่ นในการหาขอ้ สรปุ ทตี่ รงกับความเปน็ จริง Ajzen and Fishbein ชีว้ า่ นักวิจัยจะต้องวัดทัศนคติต่อพฤติกรรมแบบเฉพาะ เจาะจงเพ่ือให้ได้มาซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติ และพฤตกิ รรมทีส่ งู เชน่ การเปรยี บเทียบระหว่าง ทัศนคตติ อ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กับ พฤติกรรมการขับรถซ่ึงปกติไม่มีความสัมพันธ์ต่อกัน เนื่องจากพบว่าผู้ซึ่งมีความห่วงใยอย่างมากเกี่ยวกับ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มท่ีจะขับรถ สิ่งนี้เป็นเพราะว่าทัศนคติต่อการเปล่ียนแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศไมม่ ีความสมั พนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการขับรถ ดว้ ยเหตดุ งั กล่าว ท�ำ ให้ Ajzen and Fishbein ไดพ้ ยายามแก้ ปัญหาประเด็นเหล่านด้ี ว้ ยการนำ�เสนอทฤษฎี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎี การกระทำ�ดว้ ยเหตุผล และทฤษฎีพฤตกิ รรมจากการวางแผน (Theory of Reasoned Action และ Theory of Planned Behaviour) 28 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

ทฤษฎกี ารกระทำ�ดว้ ยเหตผุ ล (Theory of Reasoned Action) มาจากความเช่ือพื้นฐานทีว่ ่า มนุษยเ์ ป็นผูท้ ีม่ เี หตผุ ล ดังนนั้ “มนุษย์ จึงใช้ขอ้ มูลทม่ี อี ย่อู ยา่ งเป็นระบบ” และ “ไมไ่ ดถ้ ูกควบคมุ โดยแรงขับ ใต้จิตสำ�นึก แตม่ าจากระดบั จิตสำ�นึก” Ajzen and Fishbein เชื่อว่า ทศั นคติไม่ไดม้ ผี ลตอ่ พฤติกรรมโดยตรง (แตกตา่ งจากแนวคิดใน ยคุ เริม่ แรกทเ่ี ช่ือวา่ พฤติกรรมเป็นผลจากทัศนคติโดยตรง) แตม่ ี ผลต่อความต้ังใจทางพฤติกรรม (behavioural intentions) ซึ่งสง่ ผลต่อพฤติกรรมท่ีแสดงออก ขณะเดียวกันปัจจัยท่มี ผี ลต่อ ความต้งั ใจมิได้มีเพียงทัศนคตเิ ทา่ น้นั แตย่ งั มีปจั จยั ทางสงั คมด้วย ดังนั้นแนวคดิ การกระทำ�ดว้ ยเหตผุ ลน้ีจึงสรุปไดว้ ่า “พฤติกรรม สิง่ แวดลอ้ มเกดิ ข้ึนจากทงั้ ปัจจัยภายในตวั คนๆนนั้ ไดแ้ ก่ ทศั นคติ หรือความเช่อื ต่างๆ และปัจจยั ภายนอก ได้แก่ เงือ่ นไขทางสงั คม” ดงั แสดงในภาพหน้าถดั ไป ปี 1986 Hines, Hungerford and Tomera ได้น�ำ เอาแนวคิด การ กระท�ำ ด้วยเหตผุ ลขา้ งตน้ มาปรบั และน�ำ เสนอเปน็ โมเดล พฤตกิ รรมรับผดิ ชอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม หรือ Model of Respon- sible Environmental Behaviour พร้อมทัง้ วเิ คราะห์ พฤตกิ รรมส่ิง แวดลอ้ ม 128 พฤตกิ รรม และพบตวั แปรทผ่ี ลตอ่ พฤติกรรมสงิ่ แวดลอ้ มท่สี �ำ คัญในรายละเอยี ดมากข้นึ ดงั นี้ ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 29

ความเชือ่ ทัศนคติต่อ เกีย่ วกบั พฤติกรรม ผลทีเ่ กดิ จาก พฤตกิ รรม ความเชอ่ื ปฏิสัมพนั ธ์ ความต้ังใจทาง พฤติกรรม เกย่ี วกบั ระหว่าง พฤตกิ รรม ความคิด ปัจจยั ต่างๆ ของผอู้ ื่น (กลมุ่ อา้ งองิ ) Subjective norm ท่มี ีต่อพฤติกรรม และแรงจูงใจ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความคดิ เหน็ ที่วา่ นั้น (normative belief) ภาพท่ี 2 แสดงทฤษฎีการกระท�ำ เชงิ เหตผุ ล 30 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

h ความรเู้ กย่ี วกับประเด็นปญั หา พฤติกรรมสงิ่ แวดล้อม เกดิ ขึน้ ไดเ้ มอ่ื คนๆนนั้ มคี วามรู้และคุ้นเคยกบั ปญั หาส่งิ แวดลอ้ มและสาเหตุของปญั หา hความรูเ้ กย่ี วกับการกระทำ� รู้ว่าตนเองควรทำ�อยา่ งไรเพื่อ ลดผลกระทบจากปัญหา hตระหนักถงึ ความสามารถในการควบคมุ (Locus of control) หมายถึง การที่บุคคลตระหนกั รู้ว่าการกระท�ำ หรอื พฤติกรรม จะสามารถน�ำ มาซงึ่ การเปลย่ี นแปลงไดห้ รือไม่ สามารถ กลา่ วได้ในสองรปู แบบ คือ เช่ือถงึ ความสามารถของตนเอง วา่ สามารถกอ่ ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงได้ และเช่ือในความ สามารถของผอู้ นื่ วา่ น�ำ มาซงึ่ การเปลีย่ นแปลงได้ ทั้งนี้ในคนๆ หนึง่ อาจมีอย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือท้งั สองก็ได้ ข้นึ อย่กู ับว่า อยา่ งใดสงู มากกวา่ เช่น กรณที ่ีเชอ่ื หรอื ตระหนักถึงความ สามารถจากภายนอก ผนู้ น้ั ย่อมเชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงหรือ การจัดการส่ิงแวดล้อมจะประสบผลได้จากอำ�นาจภายนอก เช่น รัฐ เป็นตน้ h ทัศนคติ คนทมี่ ที ศั นคตติ ่อสง่ิ แวดล้อมสูงพบว่ามีแนวโน้มที่ จะมีพฤตกิ รรมสง่ิ แวดล้อม แต่กพ็ บวา่ ความสมั พันธร์ ะหว่าง ทศั นคติและการกระท�ำ ได้พิสจู น์ให้เห็นว่ามรี ะดับท่ตี ่�ำ h การแสดงออกถึงความม่งุ มน่ั ด้วยวาจา ความมุง่ ม่ันท่ีส่อื ใหเ้ หน็ ถงึ ความเตม็ ใจของผนู้ นั้ ต่อการลงมอื กระท�ำ เพ่ือส่ิงแวดลอ้ ม h ความรูส้ ึกรับผดิ ชอบของคนๆนน้ั ผู้ทมี่ คี วามรู้สกึ ถงึ ความรับ ผดิ ชอบสงู มแี นวโนม้ ทจี่ ะมพี ฤตกิ รรมทร่ี บั ผดิ ชอบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 31

แม้วา่ โมเดลนี้ จะสามารถอธบิ ายปจั จัยรายละเอียดต่างๆท่ี สามารถทำ�ใหค้ นๆหนงึ่ ตดั สนิ ใจกระทำ�เพอ่ื สิ่งแวดล้อม แต่กพ็ บ ว่ายังไม่เพียงพอต่อการอธิบายพฤติกรรมทางส่ิงแวดล้อมทั้งหมด เชน่ พบว่า ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความรู้และทัศนคติ ระหว่าง ทัศนคติและเจตนารมณ์หรือความตัง้ ใจ และระหว่างเจตนารมณ์ และพฤตกิ รรมรับผดิ ชอบที่แสดงออกมีระดบั ท่ตี �ำ่ ดงั นั้นจงึ ดู เหมอื นว่ายังมีปจั จัยอน่ื ๆอีกท่ีมผี ลต่อพฤตกิ รรมสง่ิ แวดล้อมอีก ซง่ึ Himes et al. เรยี กว่า “ปจั จยั สถานการณ”์ หรอื “situational factors’ ได้แก่ ปัญหาทางเศรษฐกิจ แรงกดดันทางสงั คม และ โอกาสในการเลอื กการกระทำ�ทแ่ี ตกต่างกัน22 (ดังภาพ) สถานการณ์ ตวั แปรทางสงั คม ความตั้งใจทาง พฤตกิ รรม และส่ิงแวดลอ้ ม พฤติกรรม ตวั แปรทางจติ วิทยา ภาพแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างสถานการณ์กับปจั จัยอน่ื ๆ 32 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

คา่ นิยมทางสงั คมและสิ่งแวดล้อม Schwarthz and Bilsky (1987) and Schwartz (1992) ได้สรุปถงึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง คา่ นิยมกบั การกระท�ำ และพฤตกิ รรมทางส่งิ แวดลอ้ มไว้ 2 ประการ คอื “เปิดรบั การเปลี่ยนแปลง – อนรุ กั ษน์ ยิ ม” (openness to change – conservatism) และ “อัลทรอู ซิ ่มึ – อิโกอิซึม (altruism – egoism) h “เปิดรับการเปลี่ยนแปลง – อนรุ ักษน์ ยิ ม” เปน็ กลุ่มท่ี แสดงถึงความอดทนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงมากน้อย เพียงใด หากยอมรับไดม้ ากจัดเป็นกล่มุ ทม่ี แี นวคิดแบบ เสรี แต่หากยึดม่นั ในประเพณีกจ็ ัดเป็นกล่มุ อนรุ กั ษ์นิยม h “อัลทรูอิซ่ึม – อิโกอิซึมหรอื เรยี กง่ายๆ ว่า “เหน็ ผู้อ่นื ส�ำ คญั เห็นตวั เองสำ�คญั ” โดย altruism เปน็ กลมุ่ ที่ แสดงออกถึงคา่ นิยมทางสงั คม (pro-social) ขณะที่ egoism เปน็ กลุม่ ที่ใหค้ วามส�ำ คญั กบั ความมั่งค่งั และ ความก้าวหนา้ ของตัวเอง Schwartz พบวา่ มกี ลุ่มคนทัง้ สองประเภทนี้ในสังคมต่างๆ ทเี่ ขาได้ ศกึ ษา ด้วยเหตนุ ้ี เขาจึงสรปุ ว่า สงิ่ เหล่านี้เป็นคา่ นิยมทพ่ี บได้ในทุก สังคม ตอ่ มาจงึ ไดน้ �ำ เอาข้อสรุปดงั กลา่ วมาปรบั ใชก้ บั เรื่องส่งิ แวดล้อม ตวั แปรทางสถานการณ์ (Situational variables) ตวั แปรสถานการณ์ (เชน่ โครงสร้างทางกายภาพ สถานทตี่ ้ังทาง ภมู ศิ าสตร์ โครงสร้างทางสังคม เศรษฐกจิ และความร้)ู สัมพันธ์ กับพฤตกิ รรมของแตล่ ะคน ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 33

h ประการแรก พฤติกรรมบางประเภท เชน่ พฤติกรรม รีไซเคิลเปน็ พฤตกิ รรมท่ีพบวา่ สถานการณต์ ่างๆ เชน่ การมบี รกิ ารรีไซเคลิ มีส่ิงอำ�นวยความสะดวกต่างๆ มีผลต่อการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมรีไซเคลิ นอกจากน้ี พฤติกรรมประหยัดพลังงานก็เช่นกัน หากมีอุปกรณ์ หรอื บรกิ ารที่เออื้ อำ�นวย เชน่ มกี ารติดตงั้ อุปกรณ์ ประหยัดนำ�้ ในห้องสว้ ม หรอื การใช้มิเตอรว์ ัดน้ำ� เปน็ ตน้ h ประการทส่ี อง ความรอู้ าจเป็นตวั แปรสำ�คัญต่อระดบั การกระท�ำ ทางสงิ่ แวดลอ้ มด้วยเชน่ กัน เชน่ มผี ล การวิจัยพบว่าระดับความรู้ส่ิงแวดล้อมที่สูงมีผลให้ ระดบั การกระทำ�ทางสิง่ แวดล้อมสงู h ประการท่สี าม ประสบการณส์ ่วนบุคคล ก็เปน็ อีก ตวั แปรหนึง่ ท่ีอาจมผี ลตอ่ ทัศนคติและพฤตกิ รรม ตัวแปรทางจติ วิทยา (psychological variables) มกี ารศึกษา สรุปได้ดังต่อไปน้ี h แรงกระตนุ้ จากภายใน(Intrinsic motives)มีผลต่อการ สรา้ งพฤติกรรมทางบวกท่แี สดงออกกับปญั หาส่งิ แวดล้อม h ประสิทธภิ าพของการตอบสนอง (Response efficacy) คือพฤตกิ รรมของคนเรายอ่ มมีผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ในรูปที่มองเห็นได้ ท้งั ระดบั ทอ้ งถิน่ และระดบั โลก h การรับรภู้ ยั คุกคามจากปัญหาสง่ิ แวดล้อม ซง่ึ เปน็ การรบั รวู้ ่าเป็นภยั ท้งั ระดบั โลกและท้องถน่ิ 34 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

hการไว้วางใจ หรอื เช่อื ม่นั (trust) คนสว่ นใหญ่ให้ความ เชอื่ ม่ันกับขอ้ มลู ทางการและความรู้ทางวิทยาศาสตร ์ เกีย่ วกับปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม และความรบั ผดิ ชอบของ บุคคลก็ผลกั ดันให้ผนู้ ้นั แก้ไขปญั หา ซ่ึงความสัมพนั ธ์ ในเชิงบวกระหว่างความเชื่อมั่นกับความรับผิดชอบ สว่ นบคุ คลเช่นนส้ี ามารถพบเหน็ ได้บ่อยคร้งั hผลกระทบของปจั จยั ทางสังคม (social influence) และ self-presentation – ญาติพี่นอ้ งและบคุ คล อื่น ที่มีอิทธิพล ย่อมมีบทบาทสำ�คญั ตอ่ พฤตกิ รรมสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรือ่ งของการบริโภค hทัศนคตเิ ฉพาะต่อบางอย่างมีผลตอ่ การกระทำ� เชน่ ทศั นคตเิ กย่ี วกบั การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื มผี ลตอ่ การบริโภค1 จากแนวคิดและทฤษฎีดงั ได้กล่าวมาแลว้ จะเหน็ ได้วา่ การทีค่ นๆ หน่ึงจะตดั สินใจแสดงออกซึ่งพฤตกิ รรมสงิ่ แวดล้อม หรือการกระท�ำ เพื่อส่ิงแวดลอ้ มหรือไม่นน้ั เกิดขึน้ ในระดับจิตส�ำ นึกทเ่ี ป็นผลมาจาก ปัจจยั ต่างๆ มากมาย ทั้งปจั จัยภายในตวั บุคคล และปจั จัยภายนอก เชน่ ปัจจยั หรือเงอื่ นไขทางสังคม สถานการณป์ ัญหาสิ่งแวดลอ้ ม ตา่ งๆ เป็นต้น ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 35

5 ค่านิยมสิ่งแวดล้อม 36 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

5. คา่ นยิ มส่งิ แวดลอ้ ม แนวคดิ และทฤษฎดี ้านจติ วทิ ยาส่ิงแวดลอ้ มต่างยอมรบั ว่า สิ่งเร้าท่ีมีผลต่อการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและการกระทำ�ด้าน ส่ิงแวดลอ้ ม ท่สี ำ�คัญประการหนึ่งก็คอื ปัจจัยภายตวั บุคคลเหล่า นัน้ ได้แก่ ทัศนคติ คา่ นิยม ความรู้สึกตา่ งๆ เป็นตน้ อกี ทง้ั ต่าง ยอมรับร่วมกันว่า พฤติกรรมสิ่งแวดลอ้ มยดึ โยงกบั คุณธรรมและ จริยธรรม น่ันคือ ผูท้ ม่ี พี ฤตกิ รรมสิ่งแวดลอ้ มยอ่ มตอ้ งเป็นผู้ซึ่ง มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ยึดถอื หลักของบรรทดั ฐานทางสงั คม หรอื social norm และค่านิยมทางสังคม หรอื social value สงิ่ ทจ่ี ะกล่าวถงึ ตอ่ ไปนี้ จะเน้นเรอื่ งปัจจัยภายใน ทเ่ี ก่ยี วข้องกับ คา่ นยิ มท่มี อี ยู่ในตวั บคุ คลแตล่ ะคน ว่าผู้ทมี่ แี นวโน้มทจ่ี ะแสดง พฤติกรรมส่ิงแวดล้อมควรมคี ่านิยมอะไรบ้าง ผูร้ มู้ ากมายตา่ งใหน้ ิยามของคำ�ว่า “คา่ นิยม” ไมแ่ ตกต่าง กันนัก ดงั น้ี ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 37

ค่านิยม ตามราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายไวว้ า่ หมายถงึ “สิ่งที่ บุคคลหรอื สงั คมยดึ ถือเปน็ เครื่องชว่ ยตดั สนิ ใจ และก�ำ หนดการกระทำ� ของตนเอง” ค่านยิ ม หมายถงึ ทัศนะของคนหรอื สงั คมทีม่ ีตอ่ สิง่ ของ ความคิด และเหตุการณ์ท่เี ก่ยี วข้องกบั ความปรารถนา คณุ ค่าและความถกู ตอ้ ง ของสงั คมนัน้ ๆ เชน่ ชาวอเมริกันถอื วา่ “ประชาธปิ ไตย”มีค่าสงู สุด ควรแกก่ ารนยิ มควรรักษาไว้ด้วยชีวติ อเมริกันรกั อิสระ เสรภี าพ และ ความก้าวหนา้ ในการงานเป็นตน้ สว่ นคา่ นิยมของคนไทยหรือคนตะวัน ออกโดยทว่ั ไปนั้นแตกต่างจากค่านิยมในอเมริกนั หรือคนตะวนั ตก เช่น คนไทยถือว่าความสงบสุขทางจิตใจและการทำ�บุญให้ทานเป็นส่ิงท่ีพึง ปรารถนา การเคารพเชอื่ ฟงั บดิ ามารดาและการกตัญญูรู้คุณเป็นส่งิ ท่ี ควรยกย่อง คา่ นยิ ม หมายถึง ส่งิ ทบ่ี ุคคลพอใจหรอื เหน็ วา่ เปน็ สิ่งท่ีมคี ณุ คา่ แลว้ ยอมรบั ไวเ้ ป็นความเช่ือ หรือความรสู้ ึกนกึ คิดของตนเอง คา่ นยิ มจะสิงอยู่ในตวั บคุ คลในรปู ของความเช่อื ตลอดไป จนกว่าจะพบ กบั คา่ นยิ มใหม่ ซึง่ ตนพอใจกว่าก็จะยอมรับไว้ เม่อื บุคคลประสบกับ การเลือกหรอื เผชญิ กับเหตกุ ารณ์ ละต้องตัดสินใจอย่างใดอย่าง หน่งึ เขา้ จะนำ�คา่ นยิ มมาประกอบการตดั สินใจทกุ ครัง้ ไป คา่ นิยมจึง เปน็ เสมอื นพนื้ ฐานแห่งการประพฤติ ปฏบิ ัติของบุคคลโดยตรง “ค่านิยม” หมายถึง ความเชื่อว่าอะไรดี ไม่ดี อะไรควร ไม่ควร เช่น เราเชอ่ื วา่ การขโมยทรัพย์ของผู้อ่ืน การฆา่ สัตวต์ ัดชวี ติ เป็น สง่ิ ที่ไมด่ ี ความกล้าหาญ ความซื่อสตั ย์ เปน็ ส่ิงที่ดี 38 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

จงึ กลา่ วไดว้ ่า คา่ นยิ ม เปน็ ส่ิงที่มคี วามเก่ียวขอ้ งกบั ความเช่อื สว่ น บคุ คล หรือสงั คม ซ่งึ มีต่อส่งิ หนง่ึ ส่ิงใดน่นั เอง และค่านยิ มเหลา่ น้นั ยอ่ มมีอทิ ธิพลต่อความคิด พฤตกิ รรม และการกระทำ�ตา่ งๆ ของ บคุ คลหรือสังคมน้นั ๆ นกั วชิ าการท่ีใหค้ วามสนใจเร่ืองพฤตกิ รรมส่งิ แวดลอ้ ม ได้แบง่ ค่านยิ ม ที่มผี ลต่อพฤติกรรมส่ิงแวดล้อม 3 รปู แบบ คือ อีโกอิสติก, อัลทรอู สิ ติก และ ไบโอสเฟียรกิ (egoistic,altruistic และ biospheric values) hคนทีม่ ี คา่ นิยม อีโกอิสติก สูงเปน็ ผู้ท่ีใหค้ วามส�ำ คญั กับ ผลของต้นทุนกับผลประโยชน์ทตี่ นเองจะได้รับ น่นั คอื ให้ ความสำ�คัญกบั ตัวเองมากทสี่ ดุ หากประเมินแล้วตนเอง ได้รับประโยชน์ ก็มีแนวโนน้ ทีจ่ ะมีพฤตกิ รรมส่งิ แวดล้อม คนท่ีมี ค่านิยม อลั ทรอู ิสตกิ สงู เป็นผทู้ ีต่ ัดสนิ ใจมี พฤติกรรมสิ่งแวดลอ้ มเม่อื พบวา่ ผลการประเมนิ ระหวา่ ง ต้นทนุ กับผลประโยชน์นั้นปรากฏออกมาวา่ ผอู้ น่ื ไดร้ ับ ประโยชนม์ ากกว่า hคนทม่ี ีค่านิยม ไบโอสเฟยี ริกสูง เป็นผู้ท่ีเปน็ ผู้ท่ตี ัดสนิ ใจมี พฤติกรรมส่ิงแวดลอ้ มเมอื่ พบวา่ ผลการประเมนิ ระหวา่ ง ต้นทนุ กับผลประโยชนน์ ้นั ปรากฏออกมาว่า สิ่งแวดล้อม หรอื ระบบนิเวศได้รับประโยชนม์ ากกวา่ คา่ นิยมแบบ อีโกอิสติก เป็นคา่ นยิ มที่ให้ความสำ�คญั กับตัวเองสงู ท่ีสุด ส่วน ค่านิยม อัลทรูอสิ ติก เป็นคา่ นยิ มในระดบั ทีส่ งู กว่า เพราะ ใหค้ วามสำ�คัญกับผอู้ น่ื มากกว่าตัวเอง และค่านยิ ม ไบโอสเฟียรกิ มี ระดับสงู ทีส่ ดุ เพราะ ให้ความส�ำ คญั กับระบบนิเวศ จงึ อาจกล่าวได้ ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 39

ว่า ค่านยิ มอัลทรูอสิ ติก เป็นคา่ นยิ มทอ่ี ยู่ในระดับกลางๆทส่ี ามารถ พฒั นาหรอื สง่ เสรมิ ไดง้ า่ ยกวา่ คา่ นยิ มไบโอสเฟยี รกิ ดงั นั้นนกั วิชาการจงึ ใหค้ วามสนใจศกึ ษาคา่ นยิ มอลั ทรูอสิ ติกมากกวา่ คนเราอาจมีคา่ นิยมทั้งสามรวมอยู่ภายในตัวคนๆเดียวได้ เพียงแต่ คา่ นิยมใดจะมดี ีกรี หรือความเข้มข้นมากกวา่ กันเทา่ นนั้ หรือใน สถานการณ์ใดๆ ที่ต้องตดั สนิ ใจ อาจมีปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างคา่ นิยม ท้งั สามเหล่านร้ี ่วมกบั ปัจจยั อ่นื ๆ กเ็ ป็นไปได้ อย่างไรก็ตาม ใน ฐานะนักจัดการส่ิงแวดล้อมย่อมต้องการให้ประชาชนมีค่านิยมท่ี เห็นความสำ�คญั ของผอู้ ่ืนหรือส่ิงอน่ื มากกวา่ ตัวเอง เพราะจะท�ำ ให้ บุคคลเหล่าน้ันมีแนวโน้มแสดงออกซ่ึงพฤติกรรมหรือการกระทำ� เพือ่ ส่ิงแวดลอ้ มมากกวา่ และค�ำ ถามที่ตามมาก็คอื แล้วจะต้องทำ� อย่างไร หรือมวี ิธกี ารจงู ใจอยา่ งไร จึงจะท�ำ ใหค้ นส่วนใหญ่พัฒนา ค่านิยมทล่ี ดความสำ�คญั ของตัวเองลง แต่เพ่ิมความสำ�คญั ของผอู้ น่ื หรือส่ิงอ่นื ๆ ให้มากข้นึ ค่านยิ ม ปฏสิ ัมพันธ์ทีเ่ กิดข้นึ ความต้ังใจทาง พฤติกรรม ระหวา่ งความเชือ่ สง่ิ แวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ ม Egoistic ทางสิ่งแวดลอ้ ม และ Altruistic ค่านยิ มทง้ั สามประเภท Biospheric ภาพแสดง โมเดลทคี่ า่ นยิ มสิ่งแวดล้อม มีอทิ ธิพลต่อความเช่อื ความตัง้ ใจ และ พฤตกิ รรมสงิ่ แวดลอ้ ม ได้อยา่ งไร 40 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

จากภาพ นักวชิ าการส่วนใหญเ่ ชอ่ื วา่ ค่านยิ มท้ังสามรปู แบบน้ีทำ�งาน ร่วมกับความเชอื่ บรรทัดฐานที่มีอยู่ในตัวคนๆน้นั ซ่งึ สง่ ผลกระตนุ้ ใหเ้ กิดเจตนารมย์ของบคุ คล และเกิดเป็นพฤติกรรมส่งิ แวดลอ้ มใน ท่สี ุด ดังน้ันจึงเห็นว่าแม้ว่าคนๆหน่ึงจะมีค่านิยมท่ีเหมาะสมแล้วก็ มิได้หมายความว่าค่านิยมจะก่อให้เกิดพฤติกรรมส่ิงแวดล้อมโดยตรง ตรงข้ามกลบั มปี ัจจยั อ่นื เช่น ความเช่อื มาร่วมด้วย การท่ี ใครสักคนจะมีพฤติกรรมส่ิงแวดล้อมได้อย่างม่ันคงและสมำ่�เสมอ นนั้ คนๆนน้ั จะตอ้ งเป็นผทู้ มี่ ีคา่ นยิ มอลั ทรูอสิ ติกและไบโอสเฟียริก ซ่งึ เปน็ คา่ นยิ มที่เล็งเหน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตัว (เพราะ การพฤตกิ รรมหรอื การกระท�ำ ใดๆเพอ่ื สง่ิ แวดลอ้ มนน้ั ถอื เปน็ การเลง็ เหน็ ประโยชนเ์ พอ่ื สง่ิ อน่ื มากกวา่ เพอ่ื ตวั เอง) ดงั นน้ั การทค่ี นเราจะมคี า่ นยิ ม ทง้ั สองน้ีไดจ้ �ำ เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ หรอื การจงู ใจดว้ ยสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ค่านยิ มทแี่ ตกตา่ งกันท้ังสามแบบนมี้ ผี ลทำ�ให้เกิดพฤติกรรมสิง่ แวดล้อม แตกตา่ งกนั และสามารถอธิบายปรากฏการณ์ทางพฤติกรรมทเ่ี กิด ข้ึน ตัวอยา่ งเช่น คนๆหนึ่งอาจลดการใช้รถยนต์เพราะต้นทนุ การใช้ รถสูงเกนิ ไป (อิโกอิสตกิ เพราะให้ความสำ�คัญกบั ตวั เอง) เนอ่ื งจาก การขบั รถทำ�ใหเ้ กดิ ภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพของผอู้ ื่น (อลั ทรูอสิ ติก เป็นการเหน็ ความสำ�คญั ของผ้อู ืน่ ) หรือ เพราะเปน็ อันตรายตอ่ พชื และสตั ว์ (ไบโอสเฟยี ริค เห็นความสำ�คญั ของสง่ิ แวดลอ้ ม) ดัง นั้นโดยหลักการแล้วผูซ้ งึ่ จัดล�ำ ดบั ใหก้ ับ คา่ นยิ มอลั ทรอู สิ ติก หรือ ไบโอสเฟียริค อยเู่ หนอื คา่ นิยมอิโกอสิ ตกิ ไม่จำ�เปน็ ตอ้ งมีการกระทำ� ในเชงิ นิเวศมากกว่าผทู้ ี่มคี ่านยิ มอิโกอสิ ติก ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 41

กล่าวคือ ทง้ั สามกลมุ่ อาจมพี ฤตกิ รรมเดียวกัน แต่ข้นึ กับเหตผุ ลที่ บุคคลนน้ั ใช้อธบิ ายหรือตัดสนิ ใจ (เพ่ือการแสดงออก) พฤติกรรม ของตนเอง จากแนวคิดการจำ�แนกค่านยิ มเป็นสามแบบดังกลา่ ว จึงพบวา่ h การกระทำ�ตามค่านิยมอัลทรอู ิสตกิ และไบโอสเฟยี ริก มี แนวโน้มจะเกิดข้ึนเมื่อได้รับข้อมูลที่ว่าเพราะเหตุใดคน เราควรลงมือท�ำ ในส่งิ ทมี่ ่งุ เฉพาะเพ่ือสิง่ แวดล้อม (spe- cific pro-environmental actions) ดงั นน้ั ยทุ ธศาสตร์ ด้านข้อมูลจึงควรมีเป้าหมายเพ่ือเพ่ิมความตระหนักของ ผ้รู ับเก่ียวกบั ปญั หาส่งิ แวดล้อม เพิม่ ความรู้ ผลกระทบ ของพฤตกิ รรมคนตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม และการรับร้พู ฤติกรรม ทีเ่ ป็นคุณและไมเ่ ปน็ คณุ กับสง่ิ แวดลอ้ ม นนั่ คือจะต้องเป็น ข้อมูลทีม่ รี ายละเอยี ดมากพอ เพราะค่านยิ มอลั ทรูอสิ ติกและ ไบโอสเฟยี รกิ เป็นค่านิยมท่ีมคี วามซับซ้อนสงู ดงั น้นั กรณี นี้ข้อมูลจึงมคี วามส�ำ คัญ ด้วยเหตุนี้ นักส่ือสารจึงจำ�เปน็ ต้องวางแผนอยา่ งรอบคอบ ว่าควรส่ือสารขอ้ มูลใดบา้ ง เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมหรือการกระทำ�ส่ิงแวดล้อม ที่ตอ้ งการ ตัวอย่างเช่น หากตอ้ งการใหป้ ระชาชนรว่ ม กนั ใชร้ ถโดยสารสาธารณะ อาจต้องใหข้ อ้ มูลท้งั ในด้าน สถานการณป์ ญั หาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหามลพิษ ทางอากาศและเสียง ปัญหาความคบั คั่งของการจราจร และผลกระทบจราจร ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ เป็นตน้ 42 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

hข้อมลู จากการรณรงค์ทีจ่ ดั โดยรัฐบาล มกั เปน็ การส่งเสรมิ ค่านิยมท่ีมีฐานจากการคำ�นึงเฉพาะตนเองหรืออิโกอิสติก มากกว่าที่จะเป็นค่านิยมอัลทรูอิสติกและไบโอสเฟียริก เชน่ ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การรณรงค์เพือ่ ส่งเสรมิ ความย่ังยืนของพฤติกรรมมักล้มเหลวเพราะการรณรงค์ เหล่านีอ้ อกแบบเพือ่ ชกั จูงคา่ นิยมอิโกอสิ ติกเท่านน้ั แทน ท่ีจะพยายามส่งเสริมคา่ นยิ มอัลทรูอสิ ติกและไบโอสเฟียรกิ ทั้งนี้เน่ืองจากในการรณรงค์รัฐบาลมุ่งให้ข้อมูลท่ี ได้ ประโยชนก์ ับตัวผู้ลงมือกระทำ� ตัวอย่างเช่น การรณรงค์ ลดการปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซด์ ดว้ ยการเน้นให้ข้อมูลที่ บุคคลน้ันได้ประโยชน์ เชน่ หากลดการใช้รถจะสามารถ ลดปัญหาการจราจร ทำ�ใหค้ ุณลดเวลาการเดนิ ทางและ เพ่ิมความปลอดภัยบนถนน หรอื การใช้รถยนตม์ ีต้นทนุ แพง กวา่ การใชบ้ ริการรถสาธารณะ เป็นตน้ แต่ในทางท่ีดแี ล้ว ควรให้ขอ้ มูลท่ีเน้นค่านยิ มสว่ นรวมมากกวา่ เชน่ การใช้ รถยนต์มีผลต่อการทำ�ลายธรรมชาติและการอนุรักษ์สัตว์ ปา่ เปน็ การรบกวนความสมดลุ ของธรรมชาติ เปน็ ต้น hวิธกี ารอกี อย่างหน่งึ ของการทำ�ให้คา่ นิยมอลั ทรอู สิ ตกิ และไบโอสเฟียรกิ เขม้ แข็งมากข้ึน ก็คือการอาศยั อารมณ์ เช่น กล่าววา่ “คณุ แย่มาก ถ้าคณุ กระท�ำ ต่อต้านคา่ นิยม เพ่อื สง่ิ แวดล้อมส่วนรวม” เป็นความพยายามทกุ วิถี ทางเพื่อให้คนรู้สึกต่อต้านค่านิยมที่กระทำ�เพื่อตนเอง ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 43

ทง้ั นี้ ยทุ ธศาสตรก์ ารใหข้ ้อมลู และการสรา้ งคณุ ธรรมมี การใช้กันทั้งในการเคล่ือนไหวทางสังคมและการรณรงค์ ของรัฐบาล เช่ือว่าการพยายามส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้คนมีค่านิยมอัลทรู อสิ ตกิ และไบโอสเฟยี รกิ เป็นหนทางการสง่ เสรมิ ให้บุคคลมีการ ตัดสนิ ใจกระท�ำ เพื่อส่งิ แวดลอ้ มได้อย่างสม่ำ�เสมอและม่นั คง นกั ส่อื สารย่อมมบี ทบาทสำ�คญั ในเรอ่ื งน้ี เพราะต้องวางแผนและ คดั เลือกสารทีต่ ้องการสื่อถงึ ประชาชนอย่างรอบคอบ ดงั ท่ีกล่าว ข้างตน้ หากตัดสินใจเลอื กสารท่ีต้องการสือ่ ทีแ่ ตกต่างกันยอ่ มให้ ผลที่แตกต่างกันด้วย กลา่ วไดว้ ่าในแงม่ มุ นี้ การเลือกสารทต่ี ้องการสือ่ น้นั สำ�คญั มากกวา่ การคัดเลอื กสื่อหรอื ช่องทางที่จะใช1้ 5 คา่ นิยมอัลทรอู ิสติกกบั การเป็นอาสาสมัครเพ่ือสงั คม แรงผลักดันที่ทำ�ให้คนเราหันมาสนใจการเป็นอาสาสมัครเพ่ือสังคม มีทม่ี าจากความเชอ่ื ทางศาสนาเปน็ ส�ำ คัญ ซึง่ เป็นความเช่ือเพอ่ื การใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้อู น่ื มีการใช้แนวคิดค่านิยมอสั ทรอู ิสตกิ วิเคราะห์ถึงเหตุผลที่คนวัยหนุ่มสาวในสวิสเซอร์แลนด์เป็นอาสา สมัครเพ่ือสงั คม โดยจากการศึกษาถึงแรงจูงใจทท่ี �ำ ให้หนุ่มสาว ชาวสวสิ ฯ ยอมอทุ ิศตนเองเปน็ อาสาสมัคร พบวา่ มีกลมุ่ ตัวอยา่ ง ร้อยละ 11 ทม่ี ีแรงจงู ใจในลักษณะของอลั ทรูอสิ ตกิ ท่ียอมรบั ว่า เน่อื งจากตนเอง “ตอ้ งการประสบความส�ำ เรจ็ ในทางบวกเพือ่ ผอู้ ื่น” 44 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ

แต่ขณะเดยี วกบั ก็ยงั พบวา่ ลักษณะอลั ทรอู สิ ติกของแตล่ ะคนมักเกดิ ข้นึ ควบคูก่ ับแรงจูงใจที่มีตนเองเป็นศนู ย์กลาง (self-centred motive) โดยยอมรบั วา่ เปน็ อาสาสมคั รเพือ่ “แสวงหาส่ิงใหม่ๆ หรือแสวงหา บางอยา่ งเพอ่ื ตนเอง” ซึ่งพบวา่ มกี ลมุ่ ที่ไดร้ บั แรงผลกั ดนั จากทัง้ ท่ี ต้องการกระทำ�เพ่ือผู้อื่นและตนเองในระดับท่ีมีอัลทรูอิสติกสูงกว่า หรืออาจมีในระดับเทา่ ๆ กนั คิดเป็นจ�ำ นวนมากทสี่ ดุ ถงึ ร้อยละ 77 ขณะที่กลุ่มตัวอย่างท่ี ได้รับแรงจูงใจที่กระทำ�เพื่อตัวเองเพียงร้อยละ 27 ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง27 อัลทรูอสิ ติกกบั พฤติกรรมรีไซเคิล จากผลการวิจัยยนื ยนั วา่ แรงจงู ใจอลั ทรูอสิ ติกและความพึงพอใจ สว่ นบุคคลเปน็ เหตผุ ลทสี่ ำ�คญั ท่สี ดุ ทีท่ ำ�ให้คนเรามพี ฤตกิ รรมรีไซเคลิ ซึง่ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ทัศนคตขิ องคนท่หี ว่ งใยสิ่งแวดล้อม และจากผล การวิจัยเกี่ยวกบั ความสัมพันธ์ของอลั ทรอู สิ ติกและการรีไซเคิล พบ ความสัมพนั ธอ์ ยา่ งชดั เจนวา่ การรีไซเคิลเป็นรปู แบบหนึง่ ของพฤติกรรม อลั ทรูอิสติก ทง้ั น้ี เม่ือคนเรารับรูว้ ่าการรีไซเคิลเปน็ บรรทดั ฐานหนึ่ง ของสังคม ดังนัน้ บรรทัดฐานทีว่ า่ น้ีจึงกระต้นุ พฤตกิ รรมอลั ทรอู สิ ตกิ ท่ีมีอยู่ในตัวเราออกมา17 แน่นอนวา่ หากเราตอ้ งการใหบ้ รรลถุ ึงเปา้ หมายการพัฒนาพลเมอื ง สิ่งแวดล้อมใหม้ ีจ�ำ นวนมากข้นึ ในสังคม จึงหลกี เล่ียงไม่ได้ทีน่ ัก จัดการสิ่งแวดล้อมและนักส่ือสารจำ�เป็นต้องให้ความสำ�คัญกับการ พฒั นาค่านิยมสง่ิ แวดลอ้ มควบคู่ไปด้วยกัน ¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ................. 45

6 “ ความรู้ ” มีผลอย่างไร 46 .......................¤¹àÃҵѴÊÔ¹ã¨à¾×èÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ䴌͋ҧäÃ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook