Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะกอศิด

มะกอศิด

Published by ISMAIL RAOB, 2020-11-25 09:31:56

Description: 1..รายงานฉบับสมบูรณ์RDG6240036

Search

Read the Text Version

86 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมทดลองใช้เวบ็ แอพพลเิ คช้ัน โรงเรยี นอลั อีย๊ะวิทยา อ.ยง่ี อ จ. นราธวิ าส ในวนั ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมนี ักเรยี นเขา้ ร่วมจำนวน 40 คน และครูจำนวน 2 คน ภาพที่ 4.3.1 กจิ กรรมทดลองใช้เวบ็ แอพพลเิ คช้ันในโรงเรยี นอลั อีย๊ะวทิ ยา

87 กิจกรรมที่ 2 กจิ กรรมทดลองใช้เว็บแอพพลเิ คชั้น โรงเรียนรุ่งโรจน์วทิ ยา อ.จะนะ จ.สงขลา ในวนั ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมนี ักเรียนเข้าร่วมจำนวน 45 คน และครูจำนวน 3 คน ภาพท่ี 4.3.2 กิจกรรมทดลองใช้เวบ็ แอพพลเิ คช้ันในโรงเรียนรงุ่ โรจน์วทิ ยา

88 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทดลองใช้เว็บแอพพลิเคชั้น โรงเรียนอิสลามประชาสงเคราะห์มูลนิธิ ต.พิเทน อ.ทุ่งยางแดง จ.ปัตตานี ในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมีนักเรียนเข้ารว่ มจำนวน 35 คน และครูจำนวน 3 คน ภาพที่ 4.3.1 กิจกรรมทดลองใช้เวบ็ แอพพลเิ คช้ันในโรงเรียนอสิ ลามประชาสงเคราะห์มูลนิธิ

ตารางท่ี 4.8 แสดงข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกบั ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน (คน) 89 ข้อมูลทั่วไปเกีย่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม 55 ร้อยละ เพศ 73 ชาย 128 43.0 หญงิ 57.0 รวม 128 100.0 128 ศาสนา 100.0 อิสลาม 41 100.0 รวม 42 37 32.0 สถานะ 8 32.8 มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 128 28.9 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 6.3 มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 100.0 ครู รวม จากตารางที่ 4.8 พบว่า กลุ่มตัวอย่างเกินครึ่งเป็นเพศหญิ ง จำนวน 73 คิดเป็น ร้อยละ 57.0 และเพศชาย 55 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.0 โดยที่เป็นผู้นบั ถือศาสนาอิสลาม จำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 กลุ่มตัวอย่างมาจากนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 41 คน คิดเป็น ร้อยละ 32.0 นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 32.8 นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 37 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 28.9 และครู จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3

90 ตารางที่ 4.9 แสดงข้อมลู การประเมินกจิ กรรมทดลองใชเ้ วบ็ แอพพลเิ คชน่ั คำถาม X S.D. ระดับ 1. แบบตวั อักษรแอพมคี วามเหมาะสมและง่ายต่อการอ่าน 0.54 มากทีส่ ดุ 4.45 0.59 มากทส่ี ุด 0.62 มากที่สุด 2. แอพมคี วามสะดวกในการค้นหาข้อมลู 4.46 0.67 มากที่สุด 3. การจัดวางองค์ประกอบแต่ละส่วนในหน้าจอมีความ 4.27 0.65 มากทีส่ ุด 0.59 มากที่สุด เหมาะสม 0.56 มากที่สดุ 0.56 มากทีส่ ุด 4. ขนาดของตวั อักษรมคี วามเหมาะสมกับหนา้ จอ 4.31 0.61 มากท่สี ดุ 0.60 มากท่สี ุด 5. สีของตัวอกั ษรและพนื้ หลงั เหมาะสม 4.32 0.37 มากที่สุด 6. เนือ้ หาแอนเิ มช่ันมคี วามเหมาะสม 4.47 7. ทา่ นได้ความรูจ้ ากการดแู อนิเมช่นั 4.48 8. เนอ้ื หาวีดีโอมคี วามเข้าใจง่าย 4.52 9. เนอ้ื หาเกมสม์ ีความเหมาะสมกบั วยั ผเู้ รียน 4.55 10. เกมส์มีความสนุกและได้ความรู้ 4.54 รวม 4.44 จากตารางท่ี 4.9 พบว่า การประเมินกิจกรรมทดลองใช้เว็บแอพพลิเคช่ัน โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ เนื้อหาเกมส์มีความเหมาะสมกับวัยผู้เรียนท่ีสุด และการจัด วางองค์ประกอบแตล่ ะสว่ นในหน้าจอมีความเหมาะสมน้อยท่สี ุด

91 ตารางท่ี 4.10 แสดงข้อมลู การประเมินกจิ กรรมทดลองใชเ้ ว็บแอพพลเิ คชัน่ ตามระดับ คำถาม ค่าเฉล่ยี ของผู้ประเมนิ ครู ม.4 ม.5 ม.6 4.38 1. แบบตัวอักษรแอพมีความเหมาะสมและง่ายต่อ 4.51 4.50 4.32 4.50 4.50 การอา่ น 4.13 2. แอพมีความสะดวกในการค้นหาข้อมลู 4.51 4.52 4.32 4.38 4.63 3. การจัดวางองค์ประกอบแต่ละส่วนในหน้าจอมี 4.34 4.21 4.19 4.63 4.50 ความเหมาะสม 4.75 4.75 4. ขนาดของตัวอกั ษรมคี วามเหมาะสมกบั หน้าจอ 4.44 4.45 4.05 4.51 5. สขี องตวั อกั ษรและพืน้ หลงั เหมาะสม 4.44 4.19 4.32 6. เนอื้ หาแอนเิ มชนั่ มีความเหมาะสม 4.46 4.55 4.35 7. ทา่ นได้ความรู้จากการดแู อนเิ มช่นั 4.44 4.55 4.41 8. เน้ือหาวดี ีโอมีความเขา้ ใจง่าย 4.59 4.48 4.49 9. เนื้อหาเกมสม์ ีความเหมาะสมกบั วยั ผู้เรยี น 4.66 4.48 4.49 10. เกมส์มคี วามสนุกและได้ความรู้ 4.51 4.60 4.46 รวม 4.49 4.45 4.34 จากตารางท่ี 4.10 พบว่า การประเมินกิจกรรมทดลองใช้เว็บแอพพลิเคชั่น โดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ เนื้อหาเกมส์มคี วามเหมาะสมกับวัยผู้เรียนท่ีสดุ และการจัด วางองคป์ ระกอบแต่ละส่วนในหนา้ จอมคี วามเหมาะสมน้อยท่ีสุด การประเมินความพึงพอใจต่อการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นของเยาวชนในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนใต้ เรอ่ื ง พฒั นาเว็บแอพพลเิ คชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮเ์ พ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการเรยี นร้ขู อง ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีความเหมาะสมมากทุก ๆ ด้าน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้หลัก มะกอศิดไปบูรณาการกับสาระอิสลามศึกษาในรายวิชาศาสนบัญญัติ ในระดับมัธยมศึกษาปีที 4-6 และครูผู้สอนก็ยังใช้แอพพลิเคชั่นนี้เป็นส่ือประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาศาสนบัญญัติได้ เชน่ เดยี วกัน

92 2. ด้านการเรียนรู้ ประเมินความรคู้ วามเข้าใจและการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การประเมินด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนต่อความรู้ความเข้าใจต่อหลักหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ โดยได้สร้างแบบทดสอบในลักษณะเกมส์ ซึ่งคำถามเกี่ยวกับเค้าเรื่องในวีดีโอแอนนิเมชั่น เกมส์ และ เนื้อหาสรุป Whiteboard animation โดยได้ออกแบบเป็นเกมส์ Plickers จำนวน 20 ข้อ และเกมส์ Kahoot จำนวน 20 ขอ้ ได้ร่วมทำกิจกรรมกบั ผเู้ รียนจำนวน 120 คน ไดผ้ ลคะแนนดงั ตอ่ ไปน้ี เกมส์ Plickers เกมส์ Kahoot

93 ตารางท่ี 4.11 แสดงขอ้ มูลการประเมินความรูค้ วามเขา้ ใจและการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ประเภทเกมส์ X S.D. t เกมส์ Plickers 1.73 14.716*** 17.25 เกมส์ Kahoot 17.60 1.53 19.193*** ***นยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.001 จากตารางที่ 4.11 ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจต่อหลักหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ พบว่า นักเรียนมมีความรู้ความเข้าใจสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้ คือ 15 คะแนน โดยนักเรียนทำแบบทดสอบกับ เกมส์ Plickers ได้คะแนนเฉลี่ย 17.25 คะแนน และแบบทดสอบกับเกมส์ Kahoot ได้คะแนนเฉลี่ย 17.60 คะแนน ซึ่งทง้ั 2 เกมส์มคี ะแนนสงู กวา่ เกณฑ์อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั 0.001 การประเมินการประเมินความรู้ความเข้าใจและการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อหลักหลักมะ กอศิดอัชชะรีอะฮ์ พบว่าผู้เรียนสว่ นใหญ่ผ่านเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ แสดงว่าเว็บแอพพลิเคชั่นที่ได้พัฒนาขึ้นมา ทำให้ผู้เรียนมีความรู้มากข้ึน และผู้เรียนสามารถต่อยอดความรู้ไปยังแขนงสาขาอ่ืน ๆ ได้ เช่น เชอ่ื มโยงไปรายวิชาหลกั ศรัทธา วิชาอลั กุรอาน วิชาประวตั ศิ าสตรอ์ สิ ลาม เป็นต้น

94 3. ดา้ นพฤตกิ รรม การประเมนิ ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของผู้เรียนเมื่อได้ใช้แอพพลิเคช่ัน โดยแบ่ง ออกเป็น 5 ทักษะ คือ 1) ทักษะคณุ ธรรมจริยธรรม 2) ทกั ษะทางวฒั นธรรม 3) ทักษะการทำงานเป็น ทีมและภาวะผู้นำ และ 4) ทักษะทางอาชีพและการเรียนรู้ จากการได้จัดสนทนากลุ่ม ได้ผลการ สะท้อนคิดของผเู้ รียนดงั ตอ่ ไปน้ี

95 1. ทกั ษะคุณธรรมจริยธรรม ผู้เรียนมีทักษะศาสนาด้านหลักความเช่ือกอฎอ-กอฎัร (การเชื่อม่ันต่ออัลลอฮฺ) ตามหลัก ศาสนาอิสลาม โดยให้การเช่ือม่ันต่อการกำหนดสิ่งต่าง ๆ ของอัลลอฮฺเพียงผู้เดียวเช่นในเรื่องกอฎอ- กอฎัร ถึงแม้อาซี้ดจะมีการวางแผนในการสอบมาเป็นอย่างดีทั้งในเร่ืองของการอ่านหนังสือ การ เตรียมความพร้อมต่างๆก่อนสอบ แต่อาซี้ดกลับลืมขอดุอาร์และลืมการมอบหมายต่ออัลลอฮและเม่ือ ผลการสอบประกาศออกมาทำให้ไม่เป็นที่พอใจของอาซ้ีดเนื่องจากอาซี้ดขาดการมอบหมายต่อ อัลลอฮฺและยังมีทักษะชีวิตด้านการตัดสินใจการเลือกที่จะปฏิบัติตามค่ำสั่งใช้ของอัลลอฮฺ ทั้งต่อหน้า ผู้คนหรือลับหลังโดยในเร่ืองของการถือศีลอดอาซี้ดเลือกที่จะไม่แอบกินอาหารในตอนกลางวันถึงแม้ เขาจะหิวมากและไม่มีผู้ใดเห็นหากว่าอาว้ีดจะแอบกินเพราะอาซ้ีดเชื่อว่าอัลลอฮฺทรงเห็นในสิ่งท่ีอาซีด กำลงั จะปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับอานาทมี่ ที ักษะดา้ นสตปิ ญั ญาในการเลอื กละหมาดหมาดอิสติคอเราะหเ์ พื่อ เลือกในสิ่งที่ตัวเองชอบท้ัง 2 อย่างพร้อมกันเม่ือผู้เรียนมีทักษะคุณธรรมจริยธรรมตรงตามหลัก มะกอศิดท้ัง 3 ด้าน คือ ด้านศาสนา ด้านชีวิตและด้านสติปัญญา ผู้เรียนมีทักษะที่สอดคล้องกับ คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ดา้ นคุณธรรม เมตตา กรณุ า และมรี ะเบยี บวนิ ัย 2. ทักษะทางวัฒนธรรม ผู้เรียนมีทักษะศาสนาด้านการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรมในสังคมที่มีความแตกต่างทาง วัฒนธรรม ศาสนา ความเช่ือ อาหาร เป็นต้น และยังมีทักษะชีวิตด้านการดูแลสุขภาพการเลือก รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกายหลีกเล่ียงการรับประทานอาหารที่มีผลเสียและเป็น อันตรายต่อร่างกายดั่งท่ีปรากฎในเอนิเมช่ันอานาเลือกทานอาหารฟาสฟู้ดซ่ึงมีความสะดวกและ รวดเร็วแต่อานาไม่ได้คำนึงถึงผลท่ีจะตามมาเม่ือทานอาหารประเภทเหล่านี้บ่อย ๆ จนทำให้อานามี สุขภาพท่ีไม่แข็งแรงจากการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์และผู้เรียนมีทักษะด้านสติปัญญาใน การแยกแยะและหลีกห่างจากส่ิงที่จะเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อ่ืนท่ีอยู่ร่วมกันในสังคม เม่ือผู้เรียน มีทักษะทางวัฒนธรรมซ่ึงมีความสอดคล้องกับคุณลักษณะและทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ด้าน ความเขา้ ใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม 3. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์แกไ้ ขปัญหา ผู้เรียนมีทักษะการแยกแยะระหว่างข่าวปลอมและข่าวเท็จที่เก่ียวข้องกับการทานยาลด น้ำหนัก จากเดิมทีผู้เรียนมักจะหลงเช่ือคำเชิญชวนในโลกโซเซียล และไม่เข้าใจในบริบทของหลักการ ศาสนาอิสลาม ดังนั้นการทานยาลดน้ำหนักตามหลักการมะกอศิดแล้วจำเป็นต้องหลีกห่าง เนื่องมี ผลกระทบต่อสมองและสติปัญญา รวมทั้งอบายมุขทั้งปวด เช่น บุหรี่ จากเดิมทีผู้เรียนขาดความ ตระหนัก และไม่รู้แน่ชัดถึงบทบัญญัติของการหลีกห่าง และมีความจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคนต้องหลัก ห่าง เพ่ือเป็นการรักษาสติปัญญา และการร่วมเข้าค่ายทางวิชาการ อาจจะไม่ใช้หน้าทีหลัก หรือ

96 กิจกรรมหลักของผู้เรียน แต่ในศาสนาอิสลามถือว่าเป็นการเสริมแต่ง เพ่ิมเติมความรู้ และกระตุ้น สมองและสตปิ ญั ญาใหม้ ีความฉลาดและคิดอยา่ งเป็นระบบมากข้นึ 4. ทกั ษะการทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ ผู้เรียนมีทักษะศาสนาด้านการแต่งงานและรสนิยมทางเพศที่ตรงตามแบบอิสลามโดยสิ่งที่ เลือกจะต้องเป็นส่ิงที่ดีและไม่ขัดต่อหลักการศาสนาอิสลามเช่นการแต่งงานกับเพศเดียวกันเพราะการ แต่งงานกับเพศเดยี วกันอสิ ลามถือว่าการกระทำสิ่งเหล่าน้ีจะทำให้ไม่สามารถสืบทอดวงษ์ตระกูลได้ซึ้ง ขัดต่อหลักคำสอนของอิสลามในเรื่องของการสืบทอดวงษ์ตระกูลและทักษะชีวิตด้านการเลือกที่จะ ห่างไกลจากการซีนา(การผิดประเวณี)ตามหลักอิสลามถือว่าการผิดประเวณีถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต้อง หลีกห่างเพราะจะนำมาของปัญหาต่าง ๆ ท้ังทางครอบครัวและทางสังคมและทักษะสติปัญญาด้าน ครอบครัวโดยการจัดระบบฮาลากอฮเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดและรับทราบถึงปัญหาและความ ต้องการภายในครอบครัวและยังฝึกให้สมาชิกในครอบครัวสามารถแสดงภาวะผู้นำและผู้ตามให้ สอดคล้องกับคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ด้านทักษะการทำงานเป็นทีมและ ภาวะผู้นำ 5. ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้ ผู้เรยี นมที กั ษะชีวิตดา้ นการบริจาคทรพั ย์สนิ ท่ีตรงตามแบบอย่างของอสิ ลามเพ่ือจะใหม้ นุษยม์ ี สุขภาพจิตและร่างกายท่ีมีความสมบูรณ์เหมือนดังที่อาซี้ดรักษาอาการป่วยของแม่โดยการ ใช้วิธีการ บริจาคทรพั ย์สินและทักษะชีวิตดา้ นบริหารการเงนิ และมรดกโดยอาซี้ดเลือกท่ีจะไม่ใชส้ ่ิงของฟุ่มเฟือย เพอื่ เป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวและยงั มีทักษะด้านสติปัญญาในการประกอบอาชีพเพ่ือ ช่วยการหารายได้เข้าสู่ครอบครวั โดยอาซี้ดเลือกการขายของออนไลน์ซ้ึงปัจจุบันการขายของออนไลน์ ถือเป็นส่ิงที่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ขายและผู้ซื้อและการรู้จักการเรียนรู้ในการปรับตัวให้ทันและ เข้ากับกับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนผู้เรียนทักษะคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้าน อาชพี และการเรยี นรู้ และไดส้ รา้ งกระดานอัจฉรยิ ะผา่ นเวบ็ ไซต์ wwwmmenti.com ใหผ้ เู้ รยี นได้สะท้อนความเห็น ว่า หลังจากใชแ้ อพพลิเคช่นั แลว้ ผู้เรียนเกดิ ทักษะดา้ นไหนมากทส่ี ด

97 จากภาพข้างต้นผู้เรียนได้สะท้อนว่า เกิดกามอบหมายต่ออัลลอฮฺ (ด้านคุณธรรมจริยธรรม) มี ทักษะการคิด การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ความแตกต่างพหุวัฒนธรรม ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรักต่อศาสนา เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น ได้เคร่ืองมือในการตัดสินใจด้วยหลัก มะกอศิดอัชชะรีอะห์ ทำให้รักสติปัญญาของตนเองมากขึ้น รักทรัพย์สินของตนเองและครอบครัว การเชอื่ ฟงั ผใู้ หญ่ รักวงศต์ ระกลู และได้รบั ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ จากการเลน่ กจิ กรรม จากการประเมินด้านพฤติกรรมต่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนเมื่อได้ใช้ แอพพลิเคชั่นแล้วทำให้ผู้เรียนเกิด ทักษะคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม รวมทั้ง ทักษะทางวฒั นธรรมท่ีสามารถอยู่ร่วมกนั ระหวา่ งไทยพุทธและมุสลมิ อีกทงั้ เกิดทักษะการคดิ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาเวลาเจอสถานการณ์ที่คับขัน รวมท้ังมีทักษะการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำทั้งในขณะ อยู่ในสถานศึกษาและขณะอยู่ที่บ้าน และผู้เรียนทักษะทางอาชีพสามารถค้าขายออนไลน์ และการ เรียนรูไ้ ด้ด้วยตนเองโดยในเครอื ขา่ ยเทคโนโลยที เ่ี กิดขนึ้ ในยุคศตวรรษที่ 21

98 4. ด้านผลลัพธ์ ประเมินการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผู้ใช้เวบ็ แอพพลเิ คช่นั การประเมนิ ดา้ นผลลพั ธต์ ่อการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมของผ้ใู ชเ้ ว็บแอพพลเิ คช่ัน เมื่อผเู้ รียน ไดท้ ดลองใช้แอพพลเิ คช่นั ซึ่งได้เรยี นรหู้ ลกั มะกอศดิ และทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 แล้ว ผเู้ รยี นได้สะท้อนต่อการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม โดยได้จดั สนทนากลุ่มไดผ้ ลดังต่อไปน้ี

99

100 1. ไดร้ บั ความรูค้ วามเขา้ ใจความรู้ตามหลัก Maqasid 2. เข้าใจต่อหลักการอิสลามห้ามการแต่งงานระหว่างผู้หญิงกับผู้หญิงด้วยกัน แต่ระหว่างผู้หญิงและ ผหู้ ญิงดว้ ยกันสามารถเปน็ เพือ่ นกนั ได้ 3. ส่งเสริมการบริจาค เช่น การบริจาคใหก้ ับมัสยิด บริจาคให้กบั เด็กกำพรา้ และผูท้ ม่ี ีความขัดสน 4. การกินยาลดน้ำหนักจะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในภายหลังถ้าหากต้องการมีสุขภาพที่ดีการออก กำลังกายถือว่าเปน็ รกั ษาสขุ ภาพท่ดี ี 5. อิสลามสามารถเปน็ เพ่ือนกับต่างศาสนกิ ได้ 6. การตะวกั กัลตอ่ อัลลอฮฺ อีกท้ังยังให้ผู้เรียนได้สะท้อนผ่านกิจกรรมในกระดานอัจฉริยะ www.padlet.com ได้ผล สะทอ้ นดังต่อไปน้ี รักกันเพ่ืออัลลอฮฺ ศรัทธาต่ออัลลอฮฺมากกว่าเดิม ฮาลาเกาะห์ต้องทำทุกสัปดาห์ ชอบช่วยเหลือผู้อื่น เช่ือฟังครูบาอาจารย์ ดูแลสุขภาพตนเองโดยการออกกำลังกายดีกว่าทานยาลด น้ำหนัก เม่ือต้องตัดสินใจควรละหมาดอิสติคอเราะห์ คิดวิเคราะห์ก่อนพูดเสมอ เช่ือฟังต่อพ่อแม่ให้ มาก รกั ใหอ้ ย่ใู นแนวทางศาสนา พฤตกิ รรมการออม รกั การบริจาค เปน็ ต้น จากการประเมินด้านผลลัพธ์ต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้เว็บแอพพลิเคชั่น เม่ือ ผู้เรียนได้ทดลองใช้แอพพลิเคชั่น ซ่ึงได้เรียนรู้หลักมะกอศิดและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียนมีพฤติกรรมไปในทิศทางบวก และมีความพยายามท่ีจะเปล่ียนไปสู่ตามแนวทางศาสนา โดยเฉพาะด้านคุณธรมจริยธรรม เน่ืองจากผู้เรียนนับถือศาสนาอิสลาม ย่ิงทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ และศรทั ธาตอ่ หลักศาสนามากย่ิงข้ึน

101 4.3.2 บทเรยี นรู้จากวิจัย จากการศึกษาการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยมีเปา้ หมายเพ่ือศึกษาแนวทางของหลักมะ กอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะ กอศิดอชั ชะรอี ะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเพอื่ ประเมินผลการใช้เวบ็ แอพพลเิ คชั่น ตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงได้บทเรียนรู้จากการดำเนินวิจัย และได้ วิเคราะหถ์ อดบทเรียนผา่ นการวิเคราะห์ SWOT ไดผ้ ลการเรียนรู้ดังตอ่ ไปน้ี ตารางท่ี 4.12 แสดงการจัดทำ Position Matrix ) จดุ แข็งและจดุ อ่อนของวิจยั ปัจจยั ภายในทีส่ ำคัญ นำ้ หนกั การประเมิน คะแนนถว่ งน้ำหนัก (Critical success internal factors) (Weight) (Rating) (Weighted score) S1บูรณาการหลักการอิสลาม 0.3 4 1.2 S2 เผยแพรผ่ า่ นเวบ็ แอพพลเิ คชั่น 0.2 3 0.6 S3 เรียนรู้ผ่านแอนนเิ มช่นั 0.1 3 0.3 2.1 รวม 2 0.2 W1 จำนวนเนอื้ หาละเอียดมากไป 0.1 1 0.2 W2 การบูรณาการในสาระอสิ ลามศึกษา 0.2 1 0.2 W3 ครูผสู้ อนยงั ไมเ่ ข้าใจเนื้อหามะกอศดิ 0.1 0.5 รวม หมายเหตุ : การประเมนิ ตวั เลข1= จดุ อ่อนหลัก, 2 = จุดอ่อนรอง, 3 = จุดแข็งรอง, 4 = จุดแข็งหลัก

102 ตารางท่ี 4.13 แสดงการจัดทำ( Position Matrix ) โอกาสและอุปสรรค ปจั จยั ภายนอกที่สำคัญ น้ำหนัก การประเมิน คะแนนถ่วงน้ำหนัก (Weighted score) (Critical success external factors) (Weight) (Rating) 0.6 O1 สมาคมเครือข่ายครูในโรงเรยี น 0.2 3 1.2 คุณภาพอัสสลาม 0.3 1.1 O2 การเรยี นรอู้ อนไลน์ 0.3 4 0.2 0.2 O3 ทักษะการจัดการเรียนรู้ของครู 0.1 3 0.4 รวม T1 สถานการณ์ไวรัสโควดิ 2019 0.2 1 T2 รฐั บาลยุติกิจกรรมในสถานศึกษา 0.2 1 รวม หมายเหตุ : การประเมินตวั เลข 4 = โอกาสตอบสนองดี (Response is superior), 3 = โอกาส ตอบสนองสูงกว่าค่าเฉลี่ย (Response is above average), 2 = โอกาสตอบสนองเท่ากับคา่ เฉลยี่ (Response is average), 1 = การตอบสนองไม่ดี (Response is poor) จากตารางท่ี 4.4-4.5 พบว่า ปจั จัยภายในของการวเิ คราะห์ SWOT คือ จุดแข็งมีท้ังหมด 3 ข้อ และจุดอ่อนมี 3 ข้อ ซ่ึงได้นำมาคำนวณในการทำ Position Matrix โดยการให้น้ำหนัก และประเมิน โดยผลรวมของน้ำหนัก ทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน ไม่เกิน 1.00 ซึ่งค่า Position Matrix ของจุดแข็ง เท่ากับ 2.1 และจุดอ่อน เท่ากับ 0.5 สำหรับปัจจัยภายนอก ผลของการ SWOT คือโอกาส มี 3 ข้อ และอุปสรรค มี 2 ข้อ โดยใช้หลักการเดียวกันในการคำนวณได้ค่า Position Matrix ของ โอกาส เท่ากับ 1.1 และอุปสรรค เท่ากับ 0.4 ซึ่งจะนำผลการคำนวณไปกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา ต่อไป ดงั ในภาพประกอบถดั ไป

103 ภาพแสดงการจดั ทำ (Position Matrix ) โอกาสและอปุ สรรค จากภาพ พบว่า ผลจากการคำนวณ Position Matrix นำมาแสดงให้เห็นการกำหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการวิจัย ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ันตามหลัก มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ควรกำหนด ยทุ ธศาสตรเ์ ชิงรุกรับเป็นอนั ดับแรก เนอื่ งจากเสน้ กราฟมีความเบ้ของเส้นไปในทิศทางเชิงรบั มากท่สี ดุ เชิงแกไ้ ข เชิงปอ้ งกนั และเชิงรกุ ตามลำดับ

104 Internal STRENGTHS – S WEKNESSES – W Factors S1บรู ณาการหลักการอิสลาม W1 จำนวนเน้อื หาละเอียดมากไป S2 เผยแพรผ่ า่ นเวบ็ แอพพลเิ คช่นั W2 การบูรณาการในสาระอิสลามศกึ ษา S3 เรียนรผู้ า่ นแอนนเิ มชน่ั W3 ครูผสู้ อนยงั ไมเ่ ขา้ ใจเน้อื หามะกอศิด External SO (เชงิ รกุ ) WO (เชิงยทุ ธศาสตรแ์ กไ้ ข) Factors ขบั เคล่อื นเว็บแอพพลเิ คชัน่ พัฒนาทกั ษะการจดั การเรยี นรู้การบูรณา OPPORTUNITIES – O มะกอศดิ อัชชะรีอะห์ขยายผลสู่ การหลกั มะกอศดิ อชั ชะรอี ะห์กบั สาระ O1 สมาคมเครือข่ายครใู นโรงเรียน สมาคมโรงเรียนคณุ ภาพอสั สลาม อิสลามศึกษาสำหรบั ครใู นโรงเรยี น คุณภาพอสั สลาม เอกชนสอนศาสนาอสิ ลามในรูปแบบ O2 การเรยี นร้อู อนไลน์ ST (เชงิ ปอ้ งกนั ) Hybrid (Online-Offline) ผ่านสมาคม O3 ทักษะการจัดการเรยี นรขู้ องครู พัฒนากิจกรรมเสรมิ หลักสูตรโดยใช้ เครือข่ายครใู นโรงเรยี นคณุ ภาพอสั สลาม หลกั การมะกอศิดอชั ชะรีอะห์ THREATS – T WT (ยทุ ธศาสตร์เชงิ รบั ) T1 สถานการณไ์ วรสั โควิด 2019 พฒั นาครตู ้นแบบทเี่ ข้าใจหลักมะ T2 รัฐบาลยตุ กิ จิ กรรมในสถานศึกษา กอศิดอัชชะรอี ะห์ และสามารถเผยแพร่ องคค์ วามรไู้ ปยังเพือ่ นครู หลังจากที่มีการประเมินสภาพแวดล้อมโดยการวิเคราะห์ให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคแล้ว ก็จะนำมาข้อมูลท้ังหมดมาวิเคราะห์ในรูปแบบความสัมพันธ์แบบแมตริกซ์โดยใช้ ตารางท่ีเรียกว่า TOWS Matrix โดย TOWS Matrix เป็นตารางการวิเคราะห์ที่นำข้อมูลที่ได้จากการ วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนโอกาส และอุปสรรค มาวเิ คราะห์เพื่อกำหนดออกมาเป็นยทุ ธศาสตรป์ ระเภท ตา่ งๆ ดงั นี้

105 1.ยุทธศาสตรเ์ ชงิ รุก ไดม้ าจากการนำข้อมลู การประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็นจดุ แข็งและโอกาสมาพจิ ารณา รว่ มกนั เพื่อทจี่ ะนำมากำหนดเป็นยทุ ธศ์ าสตรห์ รอื กลยทุ ธใ์ นเชงิ รุก คือ ขบั เคลือ่ นเว็บแอพพลเิ คช่ันมะกอศดิ อัชชะรอี ะห์ขยายผลสู่สมาคมโรงเรยี นคุณภาพอัสสลาม 2. ยทุ ธศาสตร์เชิงแกไ้ ข ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมท่ีเป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณา รว่ มกัน เพ่ือท่ีจะนำมากำหนดเป็นยุทธ์ศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงแก้ไข ทั้งนี้เน่ืองจากองค์การมีโอกาส ทีจ่ ะนำแนวคิดหรอื วิธีใหม่ ๆ มาใชใ้ นการแก้ไขจุดอ่อนที่องค์การมีอยูไ่ ด้ คอื พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้การบรู ณาการหลักมะกอศิดอัชชะรอี ะห์กับสาระอสิ ลามศกึ ษา สำหรับครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในรูปแบบ Hybrid (Online-Offline) ผ่านสมาคม เครือขา่ ยครูในโรงเรียนคุณภาพอัสสลาม 3. ยุทธศาสตร์เชิงปอ้ งกัน ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและข้อจำกัดมาพิจารณา ร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธ์ศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงป้องกัน ทั้งน้ีเน่ืองจากองค์การมีจุด แข็ง ขณะเดียวกันองค์การก็เจอกับสภาพแวดล้อมท่ีเป็นข้อจำกัดจากภายนอกที่องค์การควบคุม ไมไ่ ด้ แต่องค์การสามารถใช้จดุ แข็งที่มีอยู่ในการป้องกันข้อจำกัดท่ีมาจากภายนอกได้ คือ พัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยใช้หลกั การมะกอศิดอชั ชะรีอะห์ 4. ยุทธศาสตร์เชงิ รบั ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและข้อจำกัดมาพิจารณา ร่วมกนั เพื่อทจ่ี ะนำมากำหนดเป็นยุทธศ์ าสตรห์ รือกลยุทธ์ในเชงิ รับ ท้ังนเี้ นื่องจากองค์การเผชิญกับท้ัง จุดอ่อนและขอ้ จำกดั ภายนอกทีอ่ งค์การไม่สามารถควบคุมได้ คือ พัฒนาครูต้นแบบท่ีเข้าใจหลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์ และสามารถเผยแพร่องค์ความรู้ไปยัง เพอื่ นครู

ตารางการบูรณาการหลกั มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮก์ ับทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 มะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์ 1.ด้านศาสนา 2.ดา้ นชวี ติ 3 1.ดา้ นศาสนา 1.หลักกอฎอ-กอฎรั 1.การใช้ชวี ิตร่วมกนั 1.ข่า 2.ด้านชีวติ 2.ถือศลี อด 2.อาหาร 2.ยา 3.ดา้ นสตปิ ญั ญา 3.การละหมาด 3.หัวรอ้ น 3.ค่า 4.ดา้ นวงศต์ ระกลู 5ค.ณุ ดาล้ นกั ทษรณพั ะยแ์สลนิ ะทกั ษะการเรยี นรใู้ น 1. ผู้เรียนมีคณุ ธรรม 2. ผ้เู รียนมีความเขา้ 3. ผ เมตตา กรุณา และมี ศตวรรษที่ 21 ใจความแตกตา่ งทาง ระเบียบวินยั วฒั นธรรม WEB APPLICATION ขั้นตอนท่ี 1 ศกึ ษาหลกั การ ขน้ั ตอนที่ 2 การกำหนดปัญหา System Development ขนั้ ตอนท่ี 4 การออกแบบ ขัน้ ตอนท่ี 5 การพฒั นา ขนั้ ตอนท่ี 7 การตดิ ตงั้ ขน้ั ตอนที่ 8 การบำรุงรกั ษา Life Cycle การต์ นู แอนนิเมช่ัน วดี โี ผลผลิต (1) นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 80 คน ไดเ้ รยี นรู้ผา่ นเว็บแอพพลเิ ค ผลลพั ธ์ (2) ส่ือแอนนิเมช่นั 15 เร่อื ง (3) วีดโี อ 3 เรอ่ื ง (4) เกมสเ์ พอ่ื การศกึ ษา ผลกระทบ ผ้เู รยี นมีความเขา้ ใจสามารถอธบิ ายหลักการมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ และสา ผู้เรยี นเป็นพลเมืองทด่ี ี และสรา้ งสันติสุขในสงั คมจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

106 3.ดา้ นสตปิ ัญญา 4.ดา้ นวงศต์ ระกูล 5.ด้านทรพั ย์สนิ าวปลอม 1.รสนิยมทางเพศ 1.การบรจิ าค าเสพตดิ 2.ซีนา 2.สุรยุ่ สุรา่ ย ายวิชาการ 3.ครอบครวั 3.การลงทุน ผเู้ รียนมที ักษะการคดิ 4. ผเู้ รยี นมที ักษะการ 5. ผู้เรียนมีทักษะทาง วิเคราะห์ แก้ไขปญั หา ทำงานเปน็ ทมี และภาวะ อาชีพ และการเรียนรู้ ผู้นำ า ขั้นตอนที่ 3 การวเิ คราะห์ ขั้นตอนที่ 6 การทดสอบ ขัน้ ตอนท่ี 9 การนำไปใช้จริงกับผูเ้ รยี น ขั้นตอนท่ี 10 การประเมิน โอ เกมส์เพือ่ การศึกษา คชน่ั ท่สี รา้ งข้ึน า 3 เกมส์ ามารถวเิ คราะหอ์ ย่างมเี หตุและผลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ

107 หลักมะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ ระดบั โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Basic ม.4 Intermediated ม.5 Advanced ม.6 การ์ตนู แอนนเิ มช่นั 1.ด้านศาสนา 1) หลกั กอฎอ-กอฎรั 6) ถอื ศีลอด 11) การละหมาด สอบ Final แอบกนิ ละหมาดอสิ ตีคอเราะห์ เน้อื หาดา้ นนเี้ กยี่ วกับการสอบปลาย เน้ือหาด้านนเ้ี กย่ี วกับการการ เน้อื หาดา้ นน้เี กยี่ วกบั การละหมาดใน ภาคเป็นการประเมนิ ผลคร้งั สุดท้าย ถือศิลอดเปน็ การยับยัง้ กาย วา ชวี ิตประจำวัน รวมทัง้ การละหมาดอิส ของภาคการศึกษาซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ใจ และใจหลกั บทบญั ญตั ทิ าง ตคิ อเราะห์ (เพ่อื การตดั สินใจ) เพ่ือใช้ ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ศาสนาเรอื่ งการถอื ศีลอดซึ่ง ประกอบการตดั สนิ ใจเรียนตอ่ ใน ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม สอดคล้องกบั ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั อุดมศึกษา สอดคล้องกบั ทักษะ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ด้าน ในศตวรรษที่ 21 ดา้ นคณุ ธรรม คณุ ธรรม คุณลกั ษณะและทกั ษะการ 1. ผ้เู รียนมีคณุ ธรรม เมตตา กรุณา และมีระเบยี บวินยั เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 2.ด้านชีวิต 2) การใช้ชวี ติ ร่วมกนั 7) อาหาร 12) หัวรอ้ น แตกตา่ ง..แต่ไมแ่ ตกแยก อาหารจานด่วน คดิ ดี ชวี ติ ดี เนอ้ื หาดา้ นชวี ิตท่ีเก่ียวกับการใช้ชีวติ เนอื้ หาด้านชีวิตทีเ่ กย่ี วกับการ เน้อื หาด้านชวี ิตทเ่ี ก่ยี วกบั ของผเู้ รยี นและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง เลือกรับประทานอาหารจาน ชวี ิตประจำวนั ของนักเรยี นตอ้ ง ตา่ งศาสนิกซึ่งศาสนาอสิ ลามได้ ดว่ นในช่วงช่วั โมงการเร่งรบี เจอเรอ่ื งราวตา่ งๆ มากมาย อธิบายไว้อย่างชดั เจนและยงั สอดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรู้ บางคร้งั สามารถจัดการได้ แต่ สอดคล้องกับทักษะการเรยี นรใู้ น ในศตวรรษที่ 21 ดา้ นความเข้า หลายครัง้ ทำใหเ้ กดิ อาการ ศตวรรษท่ี 21 ด้านความเขา้ ใจความ ใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม หงดุ หงดิ ซึ้งสอดคล้องกบั ทกั ษะ แตกตา่ งทางวัฒนธรรม เพ่ือให้ เพ่ือให้ผูเ้ รยี นมีทกั ษะชวี ติ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ดา้ น ผเู้ รยี นมีทักษะชีวติ ความเข้าใจความแตกต่างทาง วัฒนธรรม คณุ ลักษณะและทกั ษะการ 2. ผู้เรียนมีความเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม เรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 3.ดา้ นสตปิ ญั ญา 3) ข่าวปลอม 8) ยาเสพติด 13) ค่ายวชิ าการ ทายาลดน้ำหนกั บุหร่ี การเขา้ ร่วมค่าย เนอื้ หาเกีย่ วกบั การเลือกรับประทาน มงุ่ รักษาสติปญั ญา โดยไมไ่ ปยุ่ง เนื้ อห าเกี่ยวกับ การเข้าค่าย อาหารได้โดยมีความสอดคลอ้ งกับ เกีย่ วกับสิง่ เสพตดิ ท่ีจะมา วิช าก า รเป็ น อี ก กิ จ ก ร ร ม ที ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ทำลายสติปัญญาได้ โดยฝกึ ให้มี นักเรียนใฝ่ฝันท่ีจะเข้าร่วมเพราะ ดา้ นการแยกแยะ การแยกแยะระหวา่ งสงิ่ ที่ดแี ละ เป็นการเสริมแต่งความรู้สู่ร้ัว ไมด่ ี และสอดคล้องกับทกั ษะ มหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ด้านการคดิ วเิ คราะหแ์ กไ้ ข 21 ด้านการคดิ ปัญหา คุณลกั ษณะและทกั ษะการ 3. ผเู้ รียนมีทักษะการคดิ วเิ คราะห์แก้ไขปัญหา เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

108 หลักมะกอศิดอชั ชะรอี ะฮ์ ระดับ โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Basic ม.4 Intermediated ม.5 Advanced ม.6 การ์ตูนแอนนเิ มชั่น 4.ด้านวงศ์ตระกลู 4) รสนยิ มทางเพศ 9) ซีนา 14) ครอบครัว หญงิ vs หญิง รกั ในวยั เรียน ฮาลาเกาะห์ การรักษาไวซ้ ่ึงวงศ์ตระกลู เป็นสง่ิ เน้ือหาเกี่ยวกับการมีความรกั เน้ือหาเกีย่ วกบั การเรยี นรู้กบั สำคัญตอ่ ศาสนาอสิ ลามเพราะ ในวัยเรียนซ้งึ ผเู้ รยี นจะเลือก ครอบครวั เมื่อพูดคยุ และถามไถ่ สามารถที่จะเผยแพรศ่ าสนาและ ปฏบิ ตั ิใหส้ อดคล้องกบั ทกั ษะ ทุกขส์ ุข ฮาลาเกาะหส์ ามารถชว่ ย เพ่มิ พนู ญาติพ่นี ้องใหส้ บื ทอดตระกลู การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เพมิ่ ความสัมพนั ธท์ ีด่ ใี หก้ บั ตอ่ ไป โดยเนน้ ให้ผเู้ รยี นเปิดมมุ มอง ด้านภาวะผ้นู ำ ครอบครวั ซึง่ สอดคล้องกบั ทักษะ ตอ่ การแต่งงานระหว่างชายหญงิ แต่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ดา้ น การหญงิ กบั หญิงหรอื ชายกับชาย ภาวะผ้นู ำ เป็นสง่ิ ทีไ่ ม่ควรทำ อานาคตทุกคน ต้องมคี รอบครวั แลตอ้ งมภี าวะผนู้ ำ ต่อการบรหิ ารจดั การครอบครัว ซงึ่ สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรยี นรูใ้ น ศตวรรษที่ 21 ด้านภาวะผู้นำ คุณลกั ษณะและทักษะการ 4. ผ้เู รียนมีทักษะการทำงานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ ำ เรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 5.ด้านทรพั ยส์ ิน 5) การบรจิ าค 10) สุรุ่ยสรุ ่าย 15) การลงทุน ความตระหนี่ขีเ้ หนียว สมารท์ โฟน ขายของ Online เนื้อหาเกี่ยวกับการบริจาคการเรียนรู้ โลกเปลีย่ นสงั คมเปลี่ยนรสนิยม การเรยี นรูเ้ พ่อื อาชีพในอนาคต เก่ยี วกับการให้และการเปน็ ผใู้ ห้ ต่อวัตถกุ ็ยอ่ มเปล่ยี นไปด้วย เปน็ สิ่งทจ่ี ำเปน็ ต่อผู้เรียน แต่จะ มากกว่าผูร้ ับสำหรบั นกั เรยี นซึ่ง โดยเฉพาะ Smart Phone ประกอบอาชพี อยา่ งไรใหไ้ ด้รับ สอดคล้องกับทกั ษะการเรยี นร้ใู น ของ Generation แต่อสิ ลามไม่ ผลบญุ ตอนแทนทีย่ งิ่ ใหญ่ หลกั ศตวรรษท่ี 21 ด้านทกั ษะการเรียนรู้ ส่งเสรมิ การฟมุ่ เฟอื ย และ มะกอศดิ จะมวี ิธกี ารคดิ สุร่ยุ สุรา่ ยซ่ึงสอดคล้องกับ ซึง่ สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรียนรู้ ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ในศตวรรษที่ 21 ด้านอาชพี 21 ดา้ นทักษะการเรยี นรู้ วดี โี อ มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ EP1 มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ EP2 มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ EP3 วีดีโอเน้ือหาโดยรวมเป็นการแนะนำ วีดีโอเน้ือหาเป็นการแนะนำ วดี ีโอเนอื้ หาเป็นการแนะนำหลกั ห ลั กม ะ ก อศิ ด อัชชะ รีอะ ฮ์ โด ย หลักมะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ทต่ี อ้ ง มะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ท่ีสง่ เสริม ภาพรวมและที่เกี่ยวข้องกับหลัก ใชท้ กั ษะการคดิ เพ่มิ ขึน้ เพราะ การคิดข้ันสงู เพือ่ ใชใ้ นการตัดสนิ ศรัทธา สังคมพหุวัฒนธรรม การ ต้องใช้ประกอบการตัดสิน ในการเรยี นต่อหรอื ทำงาน การ เรียนรู้แบบบูรณาการ การแต่งงาน คุณคา่ ทางศาสนา การเลือก รักษาชวี ิต ความกลา้ แสดงออก และการใชเ้ งินอยา่ งคุ้มค่า การออกกำลังกาย การหลกั การยดึ มัน่ ในเพศตนเอง และการ ห่างจากสงิ่ เสพติด การเชอ่ื ฟัง ประกอบอาชีพในอนาคต ครอบครวั และการเป็นผู้ใหเ้ พ่ือ

109 หลักมะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ Basic ม.4 ระดับ Advanced ม.6 โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Intermediated ม.5 การต์ ูนแอนนิเมชั่น หวังในความเมตตาจากอลั ลอฮฺ คุณลกั ษณะและทกั ษะการ 5. ผูเ้ รียนมีทกั ษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ เรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เกมส์ Maqasid Games Saving เก็บต่อไมร่ อแล้วนะ Giving ใหต้ อ่ ไม่รอแล้วนะ Learning เรยี นต่อไมร่ อแลว้ นะ หลังจากผเู้ รยี นได้เรยี นรผู้ ่านการ์ตนู หลังจากผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน หลังจากผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน แอนนิเมชั่น และวีดโี อแล้ว ต่อไปจะ การ์ตูนแอนนิเมชั่น และวีดีโอ การ์ตูนแอนนิเมชั่น และวีดีโอ เป็นการทดสอบความรแู้ ละทักษะ แล้ว ต่อไปจะเป็นการทดสอบ แล้ว ต่อไปจะเป็นการทดสอบ ของผเู้ รยี นเกมสใ์ นรปู แบบเกมส์ ความรู้และทักษะของผู้เรียน ความรู้และทักษะของผู้เรียน การศึกษา(Educational game) เกมส์ในรูปแบบเกมส์การศึกษา เกมส์ในรูปแบบเกมส์การศึกษา (Educational game) (Educational game)

110 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะผลการวจิ ยั การศกึ ษาวิจยั การพฒั นาเวบ็ แอพพลิเคชนั่ ตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพ่ือเพมิ่ ขีดวามสามารถ ในการเรียนรขู้ องผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจยั ขอนำเสนอผลการวิจยั ตามหัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ขอ้ มลู เบือ้ งต้น 2. สรปุ ผลการวจิ ยั 3. อภปิ รายผลการวจิ ยั 4. ขอ้ เสนอแนะผลการวิจยั 5.1 ข้อมูลเบ้อื งตน้ การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดวามสามารถในการ เรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่ การประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคชั่น เพื่อพัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ันตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเพื่อประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิด อชั ชะรอี ะฮ์ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากมีการพัฒนานวัตกรรมเว็บแอพพลิเคชั่น และมีการทดลองใช้เพ่ือตรวจสอบคุณภาพ ซึ่ง มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม (Review literature) นำไปสู่การสร้างต้นฉบับ นวัตกรรม (D1) ตรวจสอบประสิทธิภาพในกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (R1) และนำไปปรับปรุงต้นฉบับ (D2) และมีการทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ขึ้น (R2) อันนำไปสู่การดำเนินการจนได้ต้นแบบ นวัตกรรมที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และแนวการปฏิบัติในการออกแบบวิจัยและพัฒนา โดยวิจัย ครั้งนี้ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาตามขั้นตอนและวิธีดำเนินการพัฒนาระบบใช้วงจรการพัฒนาระบบ SDLC (System Development Life Cycle) ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน (Kendall and Kendall, 2005) และอีก 3 ขน้ั ตอนทจี่ ะใชป้ ระกอบของผู้วิจัย ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาหลักการมะกอศิดอชั ชะรีอะฮส์ ู่การประยกุ ตใ์ ช้การพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคช่ัน เพื่อเป็นการสังเคราะห์ประเด็นที่สามารถเอาไปใช้กับผู้เรียนต่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญ ดา้ นมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์และดา้ นโปรแกรมเมอร์ จำนวน 9 คน เครื่องมือ คอื การจดั ประชุมสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น และ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการถอดบทเรยี นจากหลกั มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮ์

111 ข้ันตอนท่ี 2 การกำหนดปัญหา (problem identification) หมายถงึ เปน็ การกำหนดปัญหาและ ความต้องการของผู้ใช้แอพพลิเคชั่น กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้ประโยชน์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนี้ ผู้บริหาร สถานศกึ ษา 3 คน ครู 5 คน นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 12 คน รวม 20 คน จากโรงเรียนพัฒนาวทิ ยา จ.ยะลา โรงเรียนบำรุงอิสลาม จ.ปัตตานี และโรงเรียนนูรุดดีน จังหวัดนราธิวาส เครื่องมือ คือ การ สัมภาษณ์สะท้อนปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ต่อการใช้แอพพลิเคช่ันและทักษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ 21 และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนือ้ หา Content Analysis ขัน้ ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง การนำข้อมูลท่ีไดจ้ ากขั้นตอนที่ 1 คือ การนำผล จากการทากิจกรรมสนทนากลุ่ม และนำผลจากการสัมภาษณ์และการวิเคราะห์โครงสร้างเนื้อหาที่นำไป ออกแบบเว็บแอพพลิเคชั่น พร้อมทั้งกำหนดตัวละครประกอบเนื้อหาในแอนนิเมชั่น กลุ่มตัวอย่าง คือ โปรแกรมเมอร์ 3 คน ผู้ออกแบบเนื้อหาและจัดทำ storyboard 20 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เครื่องมือ คือ แบบวิเคราะห์แอพพลิเคชั่น และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ เนื้อหา Content Analysis ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบ (design) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนท่ี 2 มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปร่วมกันกับที่ปรึกษานักวิจัย โปรแกรมเมอร์ ช่างเทคนิคทางคอมพิวเตอร์ และเตรียม ทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะนำมาดำเนินการเขยี นโปรแกรมแอพพลิเคช่ันต่อไป โดยการออกแบบ storyboard ของเนื้อหาเชิง Animation Video และ Games และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ กลุ่มตัวอย่าง คือ โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครื่องมือ คือ การประชุม แบบแผน storyboard และแบบตรวจสอบความตรงเชงิ เนือ้ หา และการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการวิเคราะหห์ าค่าเฉล่ยี ขั้นตอนที่ 5 การพัฒนา (development) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนท่ี 3 ส่งให้ โปรแกรมเมอรด์ ำเนินการเขียนสตอรี่บอรด์ ตามรปู แบบทไ่ี ด้รว่ มกันกำหนดในขัน้ ตอนที่แลว้ เมื่อเขียนสตอ รบ่ี อรด์ เสรจ็ แลว้ ผูว้ ิจยั นาไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม หลงั จากนั้นโปรแกรมเมอร์ได้ ลงมือเขียนโปรแกรมแอพพลิเคชั่นจริง กลุ่มตัวอย่าง คือ โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครื่องมือ คือ 1) การ พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น Tool ได้แก่ Visual Studio Code, XAMMP, Composer MySQL, MySQL Workbench สำหรับภาษาที่ใช้ คือ PHP, HTML, SASS, CSS, JavaScript, Node.js อีกทั้งใช้ Framework คือ Nuxt.js, Laravel และการออกแบบ Design โดยใช้ Adobe Illustrator, Adobe Photoshop 2) การสร้างการ์ตนู แอนนเิ มชั่น โดยใช้ Adobe Flash, Adobe Animate 3) การสร้างเกมส์ โดยใช้ GDevelop5 และ 4) การตดั ตอ่ วดี ีโอ โดยใช้ Whiteboard Animation ขั้นตอนที่ 6 การทดสอบ (testing) หมายถึง การโดยนาแอพพลิเคชั่นที่ได้จากขั้นตอนท่ี 4 ไป ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอยา่ งท่ีมี เพื่อดำเนินการปรับปรงุ และพัฒนาแอพพลิเคชัน่ ให้มคี ุณภาพ กลุ่มตัวอยา่ ง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 30 คน ครู 3 คน และผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน จากโรงเรียน

112 สุขสวัสดิ์วิทยา อ.ยะหา จ.ยะลา เครื่องมือ คือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บแอพพลิเคชั่น แบบประเมิน ความเหมาะสม และการวิเคราะหข์ ้อมูล โดยการวเิ คราะหห์ าค่าเฉล่ยี และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 7 การติดตั้ง (implementation) หมายถึง การนำแอพพลิเคชั่นที่สมบูรณ์แล้วไป ติดตัง้ ใน app store เพือ่ ดำเนนิ การทดลองใช้กับกลุม่ ตัวอยา่ งจริง กลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครื่องมือ คือ Visual Studio Code, XAMMP, Composer, MySQL, MySQL Workbench Nuxt.js, Laravel และการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการวิเคราะห์หาคา่ เฉล่ีย และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ข้นั ตอนท่ี 8 การบำรุงรกั ษา (Maintenance) หมายถงึ ขน้ั การบำรุงรกั ษาแอพแอพพลิเคชนั่ ด้วย เพิ่มเติมฐานข้อมูลและการรักษาสถานภาพของเว็บแอพพลิเคชั่น กลุ่มตัวอย่าง คือ โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครื่องมือ Visual Studio Code, XAMMP, Composer และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์หา คา่ เฉล่ีย และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 9 การนำไปใช้จริงกับผู้เรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 300 คน โดยแบ่งนักเรยี นที่นับถือศาสนาอิสลาม จำนวน 280 คน ครูสอนศาสนาอิสลาม 8 คน โดยเลือก จาก 4 โรงเรียนข้างต้นโรงเรียนละ 2 คน โดยเนื้อหาในเว็บแอพพลิเคชั่นนำไปเสริมในรายวิชาอิสลาม ศกึ ษา เน้ือหาที่เก่ยี วกบั ศาสนบัญญตั ิ โดยครูสอนศาสนามีบทบาทในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอิสลามศึกษา สาระศาสนบัญญตั ิ ที่มี ชั่วโมงการเรียนการสอน แต่สำหรับโรงเรียนสามัญใช้ในสาระอิสลามศึกษาเช่นเดียวกัน แต่มีชั่วโมงการ เรียนรู้เพียงแค่ 1 คาบต่อสัปดาห์ สื่อการสอน คือ เว็บแอพพลิเคชั่น www.maqasids.com ซึ่งมีเนื้อหา เกย่ี วกับหลกั มะกอศิด 5 ด้าน ๆ ละ 5 เรื่อง รวมเปน็ 15 เร่อื ง โดยเนอื้ หาแยกเปน็ 3 ระดับ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 จำนวน 5 เรื่อง มัธยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 5 เรื่อง และมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 5 เรื่อง โดยทั้ง 15 เรื่องดังกล่าวเป็นวดี ีโอลักษณะแอนนิเมชัน่ รวมทั้งยังมีวีดีโอสรุปเนื้อหาระดับชั้นละ 1 เรื่อง ซึ่งเป็นวีดีโอ ลักษณะ Whiteboard Animation และเนื้อหาภายในสื่อมีการประเมินความรู้เรื่องมะกอศิดดิกผ่านการ เล่มเกมส์ในลักษณะ 2 D ให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์ผ่านสื่อออนไลน์ ในสาระอิสลาม ศึกษา และสามารถนำไปศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พร้อมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ได้จริงใน ชีวิตประจำวนั เครื่องมือ คือ การจัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการใช้เว็บแอพพลิเคชั่น www.maqasids.com และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยการวิเคราะห์ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 10 การประเมินผล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 300 คน และครูสอนศาสนาอิสลาม 8 คน รวมทั้งส้ิน 308 คน เครื่องมือ คือ แบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ เว็บแอพพลิเคชั่น และประเมินทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้รูปแบบการประของ เคิร์กแพทริค และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน Dependent t-test และ Content Analysis

113 5.2 สรุปผลการวิจัย 5.2.1 การศกึ ษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮส์ ู่การประยุกตใ์ ช้การพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คชน่ั ผลการศกึ ษาดงั ต่อไปนี้ 1) ความจำเป็น (สิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อความมั่นคงของผลประโยชน์ทั้งสองโลก และหาก เมอื่ ใดที่ปราศจากส่งิ เหลานีค้ วามเสยี หาย ความขดั แย้งและความหายนะจะเกิดขนึ้ สิ่งใดที่ถูกปฏิบัติหรือไม่ถูกปฏิบัติแล้วก่อให้เกิดการดำรงอยู่หรือหายไปของความจำเป็นทั้งห้า (ฎอรรู ยี าต) สิง่ น้นั คอื สือ่ ท่ีถูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมากอซิด อัฎ-ฎอรรู ียาต (เปา้ หมายด้านความจำเป็น) และ ส่อื การรักษา มี 2 มิติ 1) มติ ิทีห่ นง่ึ การปฏบิ ตั สิ งิ่ ท่ที ำให้ความจำเป็นทง้ั ห้าดำรงอยู่ และ 2) มติ ิท่ีสอง การ ยับยงั้ ห้ามปรามส่งิ ทที่ ำใหห้ รอื อาจจะทำใหค้ วามจำเปน็ ทั้งห้าหายไป 2) ความต้องการ (สิ่งที่ถูกต้องการเพื่อขจัดความยุ่งยากซึ่งโดยปกติแล้วจะก่อให้เกิดปัญหาและ ความลำบากทที่ ำให้ไมบ่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ แตท่ ว่าไมก่ ่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ประโยชนโ์ ดยทั่วไป) นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วจะเกิดความลำบาก ความคับแคบ อุปสรรค ความยุ่งยากและปัญหา สิ่งเหล่านั้นคือสื่อที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมากอซิด อัล- ฮาญยี าต (เปา้ หมายด้านความตอ้ งการ) อีบาดะห์ คือ การสกั การะพระเจา้ มูอามาละห์ คอื ธรุ ะระหวา่ งมนษุ ย์ อาดะห์ คอื ประเพณี กจิ วตั ร ญีนายะห์ คือ อาชญากรรม อุปสรรคหรือปัญหาเมื่อประสบกับการปฏิบัติสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ (ฎอรูรอต) จึงต้องมีสิ่งที่ขจัด อุปสรรคน้นั ดงั นน้ั สงิ่ ทขี่ จัดอปุ สรรคออกไปน้นั คือสิ่งท่ีถูกต้องการ 3) การเสริมแตง่ (การปฏบิ ตั ิและเสรมิ แต่งจากขนบธรรมเนียมทีด่ ีงาม (หรอื โดยท่ัวไปแล้วถูกมอง ว่าเป็นสิ่งทด่ี )ี นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วไม่เกิดความลำบาก คับแคบ ยุ่งยากและปัญหา สิ่งเหล่านั้นคือสื่อทีถ่ ูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมากอซิด อัต-ตะฮ์ซีนียาต (เป้าหมาย ด้านการเสรมิ แตง่ ) เสรมิ สำหรบั ทุกด้านของหลักมากอซดิ อบี าดะห์ = ศาสนา, มอู ามาละห์ = วงศต์ ระกลู และทรัพย์สินม อาดะห์ = ชวี ิตและสติปัญญา ญีนายะห์ = ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูล และทรัพย์สนิ (ในมิติของการยับยัง้ ห้ามปราม สิ่งท่ี ทำให้(หรือ อาจจะทำให้)ความจำเป็นทั้งห้า ในสื่อ(สิ่งปฏิบัติหรือห้ามปฏิบัติ)ของหลักมากอซิดตะห์

114 ซนี ยี าต มที ั้ง สิง่ ท่ีบังคับ(วาญิบ) หรอื สง่ เสริม(ซนุ นะฮ์) หรือ อนุโลมให้(มบู าฮ)์ หรือ รงั เกียจ(มักรูฮ์) หรือ ต้องห้าม(ฮารอม) ความดีงามในทีนี้ คือ ความดีงามในประเพณีหรือความดีงามจากมุมมองทั่วไป การเสริมแตง่ คอื การเสริมแต่งจากสิ่งท่จี ำเป็น(ฎอรูรอต)ทป่ี ราศจากอุปสรรคใด ๆ 5.2.2 การพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคชัน่ ตามหลกั มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผเู้ รียนใน ศตวรรษท่ี 21 1) การออกแบบ storyboard ของการ์ตูนแอนนิเมชั่น จำนวน 15 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 30 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ได้ร่วมออกแบบ และได้ส่งใหผ้ ูเ้ ชีย่ วชาญตรวจจำนวน 3 ทา่ น สอบความ ตรงเชิงเน้ือหา 2) การออกแบบ storyboard ของวีดีโอ จำนวน 3 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 5 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ไดร้ ่วมออกแบบ และได้สง่ ใหผ้ ู้เชี่ยวชาญตรวจจำนวน 3 ท่าน สอบความตรงเชิง เน้ือหา 3) การออกแบบ storyboard ของเกมส์ จำนวน 3 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 5 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ได้ร่วมออกแบบ และไดส้ ่งให้ผ้เู ชี่ยวชาญตรวจจำนวน 3 ท่าน สอบความตรงเชิง เน้อื หา 4) การออกแบบเว็บแอพพลิเคชั่น โดยโปรแกรมเมอร์ 2 คน นักออกแบบกราฟฟิก 2 คน นัก ออกแบบแอนนิเมชั่น 5 คน ผู้สร้างเกมส์ 1 คน ได้ร่วมออกแบบ และได้จดโดเมนเว็บไซต์ภายใต้ช่ือ www.maqasids.com โดยเน้อื หาแบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั ม.4 ม.5 และ ม.6 โดยที่ผ้เู รยี นเลอื กเข้าสู่ระบบ ได้ด้วยตนเองผ่าน Google, GitHub, Facebook, Twitter, Instagram หรือสามารถสมัครสมาชิกด้วย อเี มลและพาสเวิด เพอื่ login เขา้ ไปสู่ในเวบ็ แอพพลเิ คชั่น ดงั หน้าเว็บแอพพลเิ คชั่น 5.2.3 การประเมินผลการใชเ้ ว็บแอพพลเิ คชน่ั ตามหลักมะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ของผู้เรยี นใน ศตวรรษที่ 21 การประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยการประเมนิ ในรปู แบบของเคิรก์ แพทริก ประกอบด้วยกนั 4 ดา้ น คอื 1) ด้านปฏกิ ิริยา 2) ด้านการ เรยี นรู้ 3) ดา้ นพฤตกิ รรม และ 4) ด้านผลลัพธ์ ได้ผลการประเมนิ ดังต่อไปนี้

115 1. ดา้ นปฏกิ ริ ยิ า การประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การใชเ้ วบ็ แอพพลเิ คชั่น การประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การใช้เว็บแอพพลิเคชัน่ ของเยาวชนในพ้นื ทจ่ี ังหวัดชายแดนใต้ เรือ่ ง พัฒนาเวบ็ แอพพลิเคชั่นตามหลกั มะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์เพ่อื เพิม่ ขดี ความสามารถในการเรียนรขู้ องผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 มีความเหมาะสมมากทุก ๆ ด้าน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้หลักมะกอศิดไปบูรณา การกับสาระอิสลามศึกษาในรายวิชาศาสนบัญญัติ ในระดับมัธยมศึกษาปีที 4-6 และครูผู้สอนก็ยังใช้ แอพพลเิ คชั่นน้เี ปน็ ส่อื ประกอบการเรียนการสอนในรายวชิ าศาสนบัญญัติได้เช่นเดียวกนั 2. ดา้ นการเรยี นรู้ ประเมนิ ความร้คู วามเข้าใจและการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การประเมินการประเมินความรู้ความเข้าใจและการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อหลักหลักมะกอศิด อัชชะรีอะฮ์ พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แสดงว่าเว็บแอพพลิเคชั่นที่ได้พัฒนาขึ้นมา ทำให้ ผู้เรียนมีความรู้มากขึ้น และผู้เรียนสามารถต่อยอดความรู้ไปยังแขนงสาขาอื่น ๆ ได้ เช่น เชื่อมโยงไป รายวชิ าหลกั ศรัทธา วิชาอลั กุรอาน วิชาประวัตศิ าสตร์อิสลาม เป็นตน้ 3. ด้านพฤติกรรม การประเมินทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากการประเมินด้านพฤติกรรมต่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนเมื่อได้ใช้ แอพพลิเคชั่นแล้วทำให้ผู้เรียนเกดิ ทักษะคุณธรรมจริยธรรมท่สี อดคล้องกบั หลักการอิสลาม รวมท้ังทักษะ ทางวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันระหว่างไทยพุทธและมุสลิม อีกทั้งเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์แก้ไข ปัญหาเวลาเจอสถานการณ์ที่คับขัน รวมทั้งมีทักษะการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำทั้งในขณะอยู่ใน สถานศึกษาและขณะอยู่ท่บี า้ น และผูเ้ รียนทกั ษะทางอาชพี สามารถคา้ ขายออนไลน์ และการเรยี นรู้ได้ด้วย ตนเองโดยในเครือขา่ ยเทคโนโลยีท่ีเกดิ ขนึ้ ในยุคศตวรรษท่ี 21 4. ดา้ นผลลพั ธ์ ประเมนิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผ้ใู ช้เว็บแอพพลเิ คช่นั จากการประเมินด้านผลลัพธ์ตอ่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้เวบ็ แอพพลิเคชั่น เมื่อผู้เรียน ได้ทดลองใช้แอพพลิเคชั่น ซึ่งได้เรียนรู้หลักมะกอศิดและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนมี พฤติกรรมไปในทิศทางบวก และมีความพยายามที่จะเปลี่ยนไปสู่ตามแนวทางศาสนา โดยเฉพาะด้านคุณ ธรมจริยธรรม เนื่องจากผู้เรียนนับถือศาสนาอิสลาม ยิ่งทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและศรัทธาต่อหลัก ศาสนามากยง่ิ ขึน้ 5.3 อภปิ รายผลการวิจัย การศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์สกู่ ารประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น ได้ ศึกษาตามเจตนารมณ์พ้ืนฐาน 5 ประการในอสิ ลาม โดยช้ีให้เห็นว่าอิสลามได้กำหนดมาตรการและคำสอน ต่างๆ เพื่อเป็นหลักประกันการสร้างความมั่นคงในชีวิตมนุษย์ ทั้งในลักษณะของการก่อให้เกิด และการ ธำรงรักษา มิให้สูญหายหรือนำไปใช้ในทิศทางที่ผิด ซึ่งล้วนสอนให้เรารู้ว่าอิสลามคือศาสนาที่ธำรงไว้ซึ่ง

116 สันติภาพที่แท้จริง อีกทั้ง Asser (2008) จุดมุ่งหมายสำคัญของการกำหนดบทบัญญัติในอิสลาม คือการ ปกป้องมนุษย์ในห้าประการสำคัญ คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูล และทรัพย์สิน อิสลามได้ กำหนดบทบญั ญตั ิการปกป้อง 5 ประการไว้อย่างสมบูรณ์และครอบคลุมในมาตรการท่เี กี่ยวข้องกับการก่อ ให้กำเนดิ หรือมาตรการท่เี ก่ียวกับการผดุงรักษาเจตนารมณ์อสิ ลามทง้ั 5 ประการ (1) อสิ ลามได้ให้คุณค่า ต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ด้วยการสนองความต้องการให้มนุษย์สามารถปฏิบัติหน้าที่ในการภักดี ต่ออัลลอฮ์ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจด้วยการทำความดี ตลอดจนสร้างหลักประกันให้มนุษย์ ประสบความสันติสขุ ทีแ่ ท้จริง วตั ถปุ ระสงค์หนึง่ ของบทบัญญัติอสิ ลามเพ่ือปกป้องศาสนา ไมว่ ่าในลักษณะ ของการให้เกิดหรือการธำรงรักษาให้คงอยู่ เพื่อทำหน้าที่ชี้นำมนุษย์สู่แนวทางอันเที่ยงตรง โดยกำหนด มาตรการต่างๆ ดังนี้ (Al-Qaradhawi, Y, 2012) (2) อิสลามอนุมัติการสมรสหรือการใช้ชีวิตคู่ เนื่องจาก การสมรสเปน็ การสืบเผ่าพันธ์ุของมนษุ ย์อนั เปน็ ผแู้ ทนของอลั ลอฮ์ บนหนา้ แผน่ ดิน และการสมรสเป็นการ ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์อันจะนำมาซึ่งความรักและความสันติ อิสลามถือว่าการมี ชีวิตคู่คือส่วนหนึ่งของสัญญาณแห่งความยิ่งใหญ่ ดังที่พระองค์ตรัสมีใจความว่า “และหนึ่งจากสัญญาณ ทั้งหลายของพระองค์คือทรงสรา้ งคู่ครองใหแ้ ก่พวกเจ้าจากตวั ของพวกเจา้ เอง เพือ่ พวกเจา้ จะไดม้ คี วามสุข อยู่กับนาง และทรงให้มีความรักใคร่และความเมตตาระหว่างพวกเจ้า” (อัลกุรอาน 30:21) (3) อิสลามให้ ความสำคัญต่อการรักษาสติปัญญา เพราะปัญญาเป็นสิ่งประเสริฐที่สร้างความแตกต่างระหว่างมนุษย์กบั สิ่งถูกสร้างอื่น และปัญญาทำให้มนุษย์มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย ด้วยเหตุนี้ อิสลามจึงได้วางแนวทางในการรักษาสติปัญญาให้สมบูรณ์ ดังต่อไปนี้ (Muhammad, 2007) (4) การ ปกป้องวงศ์ตระกูล Lafortune M.D. (2013) การปกป้องวงศ์ตะกูลโดยผ่านการสมรส เพื่อรักษาเชื้อสาย ของการสืบสกุลของมนุษยชาติ จนถึงวาระสุดท้ายของโลกใบนี้ ดังแนวทางต่อไปนี้ 1. มีการกำหนด บทบัญญัติเกี่ยวกับการสมรส อิสลามได้กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการสมรสและส่งเสริมให้ใช้ชีวิตคู่ท่ี ถูกต้องตามหลักการแห่งศาสนา ทั้งนี้เพื่อปกป้องความคงอยู่ของมนุษย์ในการสร้างอารยธรรมของโลก อย่างต่อเนือ่ ง 2. กำชับให้บิดามารดาให้การอบรมบุตร ตลอดจนให้ปจั จัยยังชีพและความรักความเอน็ ดทู ่ี อบอุ่น3. ดูแลและปกป้องครอบครัวให้พ้นจากภยนั ตราย เพื่อสร้างสมาชิกใหม่ที่มจี ริยธรรมดีงาม อิสลาม ไดก้ ำหนดความสัมพันธ์ระหวา่ งสามีภรรยาบนพ้ืนฐานของความสมัครใจและยินยอม ของท้ังสองฝ่าย ให้มี การปรึกษาหารือในกิจการทุกอย่างของครอบครัวจนเกิดความรัก ความเข้าใจระหว่างคู่สามี ภรรยา 4. ควบคุมความสัมพนั ธ์ระหว่างบุรุษและสตรีให้อยู่ในขอบเขต กำหนดใหม้ กี ารลดสายตาลงต่ำต่อ เพศตรงข้ามที่สมรสได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้เกิดอารมณ์ใคร่ตามมา กำหนดให้สตรีแต่งกายด้วยเสื้อผ้าอาภรณ์ท่ี ปกปิดมิดชิดเพื่อให้พ้นจากสิ่งชั่วร้าย ห้ามมิให้ชายหญิงที่สามารถสมรสได้อยู่ปะปนกัน ยกเว้นมีบุคคลที่ หญิงไม่สามารถสมรส (มะห์ร็อม) อยู่ด้วย อิสลามยังได้ห้ามมิให้เข้าบ้านของผู้อื่นจนกว่าจะได้รับอนุญาต จากเจา้ ของหลังจากท่ใี หส้ ลามแล้ว เปน็ ต้น และ 5. หา้ มคุกคามรา่ งกายของผู้อื่น ดงั ท่อี ัลลอฮ์ ได้ทรงห้าม

117 การผิดประเวณี เหมือนกับที่พระองค์ทรงห้ามการกล่าวหาหญิงบริสุทธิ์ว่ากระทำผิดประเวณี(ก็อซฟ์) ดังที่อัลกุรอานบญั ญัติบทลงโทษของความผดิ ทัง้ สอง การพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคช่ันตามหลกั มะกอศดิ อัชชะรอี ะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้การออกแบบ storyboard ของการ์ตูนแอนนิเมชั่น จำนวน 15 เรื่อง อีกทั้งรออกแบบ storyboard ของวีดีโอ จำนวน 3 เรื่อง รวมทั้งออกแบบ storyboard ของเกมส์ จำนวน 3 และออกแบบเว็บ แอพพลิเคชั่น โดยโปรแกรมเมอร์ 2 คน นักออกแบบกราฟฟิก 2 คน นักออกแบบแอนนิเมชั่น 5 คน ผู้สร้างเกมส์ 1 คน ได้ร่วมออกแบบ และไดจ้ ดโดเมนเว็บไซต์ภายใตช้ อ่ื www.maqasids.com โดยเนอื้ หา แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ม.4 ม.5 และ ม.6 โดยที่ผู้เรียนเลือกเข้าสู่ระบบได้ด้วยตนเองผ่าน Google, GitHub, Facebook, Twitter, Instagram หรือสามารถสมัครสมาชิกด้วยอีเมลและพาสเวิด เพื่อ login เข้าไปสู่ในเว็บแอพพลิเคชั่น ดังหน้าเว็บแอพพลิเคชั่น ผลการศึกษา พบว่า เว็บแอพพลิเคชั่นมีมาตรฐาน และเมื่อใช้งานเสถียรมีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับชุดโปรแกรม AppServ (ภาณุพงศ์ ปัญญาดี, 2560) ประกอบด้วยโปรแกรมสำคัญ ได้แก่ Apache,PHP, MySQL และ phpMyAdmin ซึ่งเป็นชุดโปรแกรมท่ี สามารถจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้เป็นเซิร์ฟเวอร์ติด ตั้งบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) เพื่อพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน โดยใช้ภาษา PHP และติดต่อกับฐานข้อมูล MySQL รวมท้ัง Bootstrap (จิราวุธ วารินทร์, 2558) คือ Framework ที่ช่วยในการเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP โดย ภายใน Bootstrap ได้เตรียมชดุ สไตลช์ ีท (Cascading Style Sheet: CSS) ทช่ี ่วยปรับแตง่ หน้าจอเว็บเพจ เช่น ปุ่มตาราง หน้าต่างโต้ตอบ เพียงแค่กำหนดคลาสให้กับองค์ประกอบ (Elements) บนเว็บเพจ นอกจากนี้ภายใน Bootstrap มีไลบรารีต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับพัฒนาเว็บไซต์ เช่น มีสคริปสำหรับการ แสดงเมนู สามารถจดั เรยี งองค์ประกอบอตั โนมตั ิเม่ือขนาดหน้าจอเปลี่ยน เป็นตน้ ภาษาสคริปต์สาหรับฝั่ง เซิรฟ์ เวอร์ McGuire, C. (2018) เพ่ือให้เกิดการประมวลผลทฝี่ ั่งเซิร์ฟเวอร์ตามการร้องขอ (request) จาก ผูใ้ ช้งานโปรแกรมเวบ็ ผา่ นบราวเซอร์ เชน่ Microsoft ASP.NET, Microsoft active server pages (ASP), sun java server pages (JSP), PHP : hypertext preprocessor (PHP) เ ป ็ น ต ้ น แ ล ะ ร ะ ว ี ว ร ร ณ วงศ์พิมพ์ (2552) ได้ใช้กระบวนการตามวงจรกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Life Cycle: SDLC) และหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่าระบบสามารถจัดการ ข้อมูลการเรียนการสอนและข้อมูลนดั หมาย ได้ถกู ต้อง และน่าเชอ่ื ถือ โดยสารสนเทศท่ไี ดส้ ามารถนำไปใช้ งานได้จริง รวมทั้ง ไฉน ผลดี (2553) นำเสนอระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการโครงการโรงรียน บา้ นโนนยาง เพื่อบริหารจัดการข้อมูลโครงการ และตดิ ตามการประเมินผลโครงการของโรงเรียนบ้านโนน ยาง โดยระบบใช้โปรแกรมภาษาSQL เป็นเครื่องมือสร้างฐานข้อมูล และใช้โปรแกรมภาษา PHP ในการ ติดตอ่ ฐานขอ้ มลู และพัฒนาเวบ็ เพจ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผใู้ ช้ระบบอยู่ในระดับดี ซงึ่ สรุปไดว้ ่า ระบบมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้งานได้ อีกทั้งราชัน สมตาเตะและปิยะศักด์ิ ถีอาสนา (2558) การ

118 พัฒนาการ์ตูนแอนิมชัน 3 มติ ิ เรอ่ื งเต่านอ้ ยผู้อดทน มีคณุ ภาพอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับสุดารัตน์ วงศ์คาพา (2554) การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อรณรงค์แก้ปัญหาเด็กอ้วน ซึ่งพบว่าผล การศึกษาพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อรณรงค์แก้ปัญหาเด็กอ้วน ผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินสื่อท่ี ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน และ สอดคล้องกับปรมาภรณ์ มาเทพ (2551) การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสาหรับสอนวิชาพระพุทธศาสนา เรื่องหลักกรรม ซึ่งพบว่าผลการศึกษาคุณภาพและความน่าสนใจของสื่อพบว่านักเรียนชายและหญิง ทั้งหมดมีความเห็นสอดคล้องกัน มีความพึงพอใจสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสาหรับสอนวิชาพระพุทธศาสนา เรื่องหลักกรรม มีความน่าสนใจในระดับดี วิลัยพร ไชยสิทธิ์ (2554) ได้พัฒนาแอพพลิเคชั่นฝึกทักษะทาง คณิตศาสตร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์แทบเลต สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งผลการวิจัย พบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ณัฐณิชา เทศบุตร (2557) แอพพลิเคชั่นสามารถใช้งานได้ตรงตาม ฟังกช์ ่นั และวตั ถปุ ระสงค์ คือ การทีผ่ ้ใู ช้งานแอพพลิเคชั่น เผยแพรภ่ าษาถิน่ ของไทยให้ได้เป็นที่รู้จักและยัง กระตุ้นให้ผู้ใช้เกิดความกระตือรือร้นและสนใจที่จะทราบถึงภาษาในแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ผู้ใช้ สามารถเพิ่มค่าใหม่ที่ตนทราบไว้ภายในแอพพลิเคชั่นเป็นการส่งเสริมให้ภาษาถิ่นยังคงถูกใช้งาน ไม่ถูก ละเลยจากสังคม อีกทั้ง Michael J. D. Irvine (2013), Alexandre C. Probst (2014) และ Brittany Nicole Poydras (2013) ศกึ ษาเร่อื งการยอมรบั เทคโนโลยกี ารสื่อสารแอพพลิเคช่ัน การศกึ ษาในครั้งนี้จึง มุ่งไปที่ผลกระทบต่อการสื่อสารของเด็กออทิสติกการใช้แอพพลิเคชั่น communicate with me จะ สามารถช่วยในเรื่องของการส่ือสารของ เด็กออทิสติกในห้องเรียนได้ โดยทดลองกับนักเรียนออทิสตกิ ที่มี อายุ 7–12 ปี ที่มีการสื่อสารระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง ผลการวิจัยพบว่าแอพพลิเคชั่นสามารถ ช่วยนักเรียนออทสิ ติกมกี ารส่อื สารทีด่ ขี ้ึน การประเมินผลการใช้เว็บแอพพลเิ คช่ันตามหลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 โดยการประเมินในรูปแบบของเคิร์กแพทริก ประกอบด้วยกัน 4 ด้าน คือ 1) ด้านปฏิกิริยา 2) ด้านการ เรียนรู้ 3) ด้านพฤติกรรม และ 4) ด้านผลลัพธ์ ตามแนวคิดของโดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L. Kirkpatrick, 1975) แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา อดีตเคยเป็นประธาน ASTD (The American Society for Tanning and Development) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ การฝึกอบรม และการประเมนิ ผลการฝึกอบรมว่า “การฝึกอบรมนัน้ เป็นการช่วยเหลือบุคลากรใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในการฝึกอบรมใด ๆ ควรจะจดั ให้มกี ารประเมนิ ผลการฝึกอบรม ซง่ึ ถือเป็นสิ่งจาเป็น ที่จะช่วยให้รู้ว่า การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมมีประสิทธิผลเพียงใด การฝึกอบรมเป็นกิจกรรมปกติท่ี เกิดขึ้นในทุกองค์กร เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นมาเพื่อการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน โดยมุ่งหวังให้ผูผ้ ่านการ อบรมได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแนวทางการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการประเมินทำให้ ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษท่ี

119 21 ในการเตรียมเยาวชนให้พร้อมกบั ชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 เป็นเร่อื งสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทาง สังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21 Bellanca and Brandt (2010) ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมอย่าง ทั่วถึง สังคมจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้เยาวชนมี ทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดย ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) (Burkhardt, 2003) ส่งผล ให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรูเ้ พื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 น้ี มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ จำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนการเตรียมความ พร้อมด้านตา่ งๆ เม่อื ก่อนการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 20 ไดเ้ ปลี่ยนไป ศตวรรษที่ 21 ได้เช้ามาแทนที่ ซง่ึ มีการ เปล่ยี นแปลงอย่างมากมาย (Gardner, 2010) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคโนโลยีการ สื่อสาร Schrier (2006) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็วทั้งด้านการแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจนจาก ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสารคือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง จากเดิมสังคมไทยเป็นสังคมแบบเรียบง่าย มีวิถีชีวิตที่แตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างชนบทและในเมือง Bybee (2009) อนั เนื่องมาจากสภาพภูมิศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจ แตท่ กุ วันนีก้ ลายเป็นสังคมแหง่ การแก่งแย่ง แขง่ ขนั เน้นความสะดวกสบาย และรวดเร็ว มีการรบั ขอ้ มูลข่าวสารจากหลากหลายช่องทาง และมีการส่ง ต่อแบง่ ปนั ข้อมลู กันผ่านช่องทางท่ีหลากหลายจนกลายเปน็ สงั คมนยิ มข้อมูล สงิ่ เหล่านท้ี ำใหค้ วามแตกต่าง ระหว่างชนบทและเมืองน้อยลง ซึ่งน่าจะเป็นผลดีกลับส่งผลทางลบต่อสังคมของประเทศโดยภาพรวม (Larson & Miller, 2011) วัฒนธรรมของคนไทยเปล่ียนจากการดำรงชีวิตแบบเดิม เน้นการนำเสนอและ สร้างข้อมูลข่าวสารเพื่อแบ่งปันกันผ่านโลกออนไลน์ทั้งเฟซบุค (Facebook) ไลน์ (Line) อินสตาแกรม (Instagram) Marzano (2003) ทำให้สังคมเสมือน มีความสำคัญกับคนไทยมากกว่าสังคมที่แท้จริง คน ส่วนใหญ่ยึดติดกับการติดตามข้อมูลทางออนไลน์มากกว่าจะเสียเวลามานั่งอ่านหนังสือ สนใจฟังความรู้ หรือเลือกใช้ข้อมูลที่มีคนอื่นวิเคราะห์ สังเคราะห์มาให้แล้วมากกว่าการมานั่งวิเคราะห์ สังเคราะห์เองซึ่ง ข้อมูลเหล่านั้นมีทั้งถูกและผิด วัฒนธรรมการแบ่งปันข้อมูลผ่านทางออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ( The National Commission on Teaching and America’s Future. 2003) ทำใหเ้ กดิ การแลกเปลีย่ นข้อมูล ข่าวสารมากมายมหาศาลโดยไม่มีการไตรต่ รองหรือกลนั่ กรองข้อมลู น้ันก่อนนำไปใช้ทำให้เกิดอันตรายและ เกดิ ผลกระทบอนั ร้ายแรงต่อสังคมและผู้คนทีเ่ ก่ียวข้องตามมา จากวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลต่อวัฒนธรรมการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไปเช่นเดียวกัน ผู้เรียนยุค ใหม่ไม่ชอบเรียนในห้องเรียนที่มีครูคอยจ้ำชี้จ้ำไช ไม่ชอบวิธีการเรียนแบบเดิม ๆ ไม่ชอบนั่งฟังครูสอน เพียงอย่างเดียว (Chandra and Tangen 2018) เพราะผู้เรียนคดิ ว่าตนเองสามารถค้นควา้ หาความรู้ต่าง ๆ ได้เพียงแค่ใช้อินเตอร์เน็ตก็ไดร้ ับความรู้มากมาย แต่การได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ผูเ้ รยี น

120 ตอ้ งวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ว่าเปน็ ข้อมูลท่ีถูกต้องและเปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองอย่างแทจ้ รงิ มใิ ช่ค้นหาและทำ การคัดลอกมาใชท้ ันที แตจ่ ากเสยี งสะท้อนมากมายจากครูผู้สอน Fanning (2018) พบวา่ ผู้เรียนใช้วิธีการ ค้นหาและคัดลอกงานหรือข้อมลู จากอินเตอรเ์ น็ตมาจดั ทำรายงานส่ง ผู้เรียนใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือความบันเทิง มากกว่าการเรียนรู้ เป็นต้น จากการเปลี่ยนแปลงและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดมาจากความเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีและการสื่อสารทำให้นักการศึกษาหันมาให้ความสนใจและได้กำหนดทักษะของผู้เรียนในยุค ศตวรรษที่ 21 ที่เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร McGuire (2018) ทักษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ สามารถประเมินผลและ ประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุมีผล ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill) ผู้เรียนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีความเป็นผู้นำ เป็นผู้ตาม สามารถแสดงความคดิ เห็นและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม (Spires 2019) ทำให้งาน ของส่วนรวมประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) ผู้เรียนสามารถสื่อสารกับเพื่อน ครูผู้สอน และบุคคล อื่น ๆ ในการทำงาน ร่วมกัน การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นระหว่างกันได้ รวมถึงสามารถอธิบาย และ นำเสนอข้อมูลข่าวสารให้ผู้อื่นรับรู้โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและสื่อสารได้อย่างชัดเจน เข้าใจได้ง่าย (Idiegbeyan-ose, 2019) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้อง มีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน ในการเรียนรู้ การประยุกต์ความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึง สามารถสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ สิ่งประดษิ ฐ์ เทคนิค วธิ กี าร และ/หรอื กระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ต่อตนเองและสังคมได้ ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital Skill) Adeoye (2019), Susilo and Yanto (2019) ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความรู้เก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการค้นคว้า การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปันความรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถคัดกรองข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินข้อมูลได้อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ มีจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร Saputri and Prasetyanti (2019) ทักษะทางอาชีพและการใช้ชีวิต (Career Skill & Life Skill) ได้แก่รู้จักปรับตัวเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้งบทบาทหน้าที่ บริบท สภาพแวดล้อม และ สถานภาพท่ีไดร้ ับมคี วามยดื หยุ่นในการทำงานและการดำรงชีวิตมีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์และเป็นผู้นำมี ความเป็นตัวของตัวเองที่มีศักยภาพและความสามารถหลากหลาย สามารถทำงานได้หลายหน้าที่ และ จัดสรรแบง่ เวลาไดเ้ หมาะสมระหว่างการทำงานและการใชช้ วี ิต รวมถงึ สามารถจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ใน ท่ที ำงานและในการใชช้ วี ิตได้อย่างมีเหตุมีผล ทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มีภาวะผู้นำ และ มคี วามรบั ผดิ ชอบประพฤติปฏบิ ตั ิตนอยู่ในศลี ธรรม จรรยา และยดึ ถอื จรรยาบรรณในวิชาชีพของตนอย่าง เคร่งครดั (Ali, 2019)

121 ข้อคน้ พบจากการวจิ ัย 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม เมตตา กรุณา และมรี ะเบยี บวนิ ยั หลักกอฎอ-กอฎรั (การศรทั ธาตอ่ พระเจ้า) จากเหตุการณ์ในเนื้อหาได้ข้อเรียนรู้ว่า การสอบปลายภาคเป็นการประเมินผลครั้งสุดท้ายของ ภาคการศึกษา ผู้เรียนควรมีความตั้งใจท่ีจะทบทวนตำรา และต้องมอบหมายของอัลลอฮฺว่าตัวเองได้ตั้งใจ ทำดีที่สุดแล้ว แต่จะประสบความสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับหลักกอฎอ-กอฎัร และความพึงพอพระทัยของ พระองค์อัลลอฮฺ เพราะหากมนุษย์ถูกบังคับให้กระทำ อีกทั้งเพื่อให้มนุษย์ทุกคนมีคุณธรรมในใจ ต้อง ศรัทธาวา่ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีการเปล่ียนแปลงน้ันเป็นการกระทําของพระองค์เท่านั้น และศรัทธาถึงความดี และความชั่วที่เกิดขึ้นในโลกดุนยาดังที่พระองค์ได้กล่าวไว้ในอัลกุรอานความว่า “ผู้ใดยำเกรงต่ออัลลอฮฺ พระองค์กจ็ ะทรงหาทางออกให้แกเ่ ขา”(ซเู ราะห์ อฏั -ฏอลาก อายัตท่ี:2) หา้ มรับประทานขณะถอื ศลี อด (ความอดทน) จากเหตกุ ารณ์ในเนอื้ หาไดข้ อ้ เรยี นรวู้ ่า การถอื ศลี อดไมใ่ ช่เพียงแค่การอดอาหาร แต่เปน็ การฝกึ ให้ เรามีความอดทนต่อความหิวกระหายในตอนกลางวันและยังเป็นการลดทุกอย่างที่เป็นสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์รวมไปถึงสิง่ ที่เป็นอบายมุขตา่ ง ๆ ทั้งต่อหน้าผู้คนหรือลับหลงั ก็ตาม เพราะถึงแม้ว่าจะไม่มผี ้ใู ด เห็นการกระทำต่าง ๆ ของเราแต่อัลลอฮฺทรงเห็นเราทุกเวลาและการถือศีลอดยังฝึกให้เราเป็นผู้ที่มีความ ซ่ือสัตยต์ ่อตนเองและผู้อ่นื อีกด้วยดังที่มีหะดิษของท่านรอซลู ได้กล่าวไวว้ า่ “ผูใ้ ดถอื ศีลอดในเดือนรอมฎอน ด้วยความศรัทธาและบริสุทธิ์ใจ และมุ่งหวังผลบุญจากการถือศีลอดเขาจะได้รับการอภัยบาปของเขาท่ี ผ่านมา” ละหมาดอิสตีคอเราะห์ (การยอมรับต่อการกำหนดของพระเจ้า) จากเหตุการณ์ในเนื้อหาได้ข้อเรียนรู้ว่า การละหมาดอิสตีคอเราะห์ คือความตั้งใจหรือการ ตัดสินใจตรงกับสิ่งที่อัลเลาะฮ์ทรงเลือกให้แก่เราเมื่อเราไม่ทราบว่าจะตัดสินใจเลือกการกระทำหนึ่งว่าสิ่ง ใหนดีกว่า ส่วนการงานที่รู้ชัดเจนว่ามีเป็นสิ่งที่ดีหรือสิ่งที่ไม่ดี เช่น จากเนื้อเรื่องคือการตัดสินใจในการ เลือกเรยี นระหว่างคณะเภสชั ศาสตร์กับคณะทันตแพทย์ทำให้อานาต้องตดั สินใจและอานาได้ปรึกษาแม่ซ่ึง ก่อนที่เราจะทำการละหมาดอสิ ตีคอเราะห์สมควรที่เราจะทำการปรึกษากับผูท้ ีม่ ีความรักห่วงหวังดีกับเรา และผทู้ เ่ี ชย่ี วชาญในกจิ การน้ัน ๆ เสยี กอ่ น เม่ือเราได้ทำการปรึกษาแลว้ และเห็นถึงประโยชน์อันดีในส่ิงท่ี กระทำ ก็ให้ทำการละหมาดอิสติคอเราะฮ์ ดังที่มีหะดิษของท่านรอซูลได้กล่าวไว้ว่า“หากเมื่อคนหนึ่งคน ใดในหม่พู วกท่านตงั้ ใจทำสิง่ หนง่ึ สิ่งใดแลว้ กจ็ งรกู อู ฺ(ละหมาด)สองรอกาอัตที่ไม่ใช่ละหมาดฟรั ฎู”

122 2. ผเู้ รียนมคี วามเข้าใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม การใชช้ ีวติ ร่วมกัน จากเหตุการณ์ในเนื้อหาได้ข้อเรียนรู้ว่า การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม การใช้ชีวิต ร่วมกันระหว่างต่างศาสนิก แต่มีบางประเด็นที่ต่างกัน เนื่องจากทั่วโลกยังคงมีความเป็นพหุวัฒนธรรม เพราะประชาคมมุสลิมมิใช่กลุ่มชนทีม่ ีชาติพันธ์ุเดียว ภาษาเดียว ขนบธรรมเนียมเดียว ถึงแม้ว่าประชาคม มุสลิมจะศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้าองค์เดียว มีศาสนทูตท่านเดียวกัน มีคัมภีร์และชุมทิศ ตลอดจนการ ประกอบศาสนกิจเดียวกันก็ตาม แต่ในความเป็นเอกภาพของประชาคมมุสลิมในเรื่องดังกล่าว ก็มีความ เป็นพหุวัฒนธรรมที่หลักคำสอนของอิสลามให้การยอมรับและเปิดพื้น ที่สำหรับการคงอยู่ของพหุ วัฒนธรรมในความเป็นประชาคมมสุ ลิม แต่หากมีบางประเด็นที่ขดั แย้งกัน อิสลามส่งเสริมให้มีการโต้แยง้ ด้วยวิธีที่ดีกว่า อิสลามยึดหลักการสนทนาและเจรจาสันติวิธีนำเสนอหาทางออกด้วยวิธีการที่ดีกว่าเสมอ วิธีการดังกล่าวคือ หนทางสู่การสร้างความเข้าใจและการยอมรับอันจะนำไปสู่การประสานความร่วมมือ และจรรโลงปัญหาสังคมโลกสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน คัมภีร์อัลกุรอานระบุความว่า \"และพวกเจ้าอย่าโต้เถียง กับชาวยิว และครสิ เตียน เวน้ แตด่ ้วยวธิ กี ารทดี่ ีกว่า\" (อัลองั กะบตู :46) หัวร้อน คดิ ดี ชวี ิตดี ในชีวิตประจำวันของนักเรียนต้องเจอเรื่องราวต่าง ๆ มากมาย บางครั้งสามารถจัดการได้ แต่ หลายครั้งทำให้เกิดอาการหงุดหงิด มาติดตามกันมะกอศิดจำเป็นต้องหลีกห่างพฤติกรรมที่ร้อนรน เนื่องจากความโกรธ ถูกกำหนดให้มีขึ้นในตัวมนุษย์เพื่อเป็นกลไกสำหรับป้องกันตนเอง แต่ถ้าหากไม่ สามารถควบคุมความโกรธได้ มันก็จะกลายเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดการทำลาย ความโกรธเป็นอาการที่ แสดงออกถึงการไร้ความยับยั้งสติอารมณ์ ชั่วครู่ขณะที่มีอาการโกรธอาจจะก่อให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรงที่ไม่เหมาะสมโดยไม่ทันได้รู้สึกตัว เมื่อใดที่อาการโกรธหายไปและรู้สึกตัวอีกครั้ง ความเสียใจก็จะ เกดิ ข้นึ กบั ผทู้ ่ไี มย่ ับยง้ั ตน แสดงความกา้ วรา้ วหรือก่อความเสียหายในขณะท่ตี นมีอาการโมโหโกรธา ท่านน บีมุฮัมหมัด ได้กล่าวว่า“เมื่อเกิดความโกรธ ความโกรธนั้นจะรวบรวมความชั่วร้ายไว้ทั้งหมด” (รายงาน โดยอะหมัด) อาหารจานดว่ น การรับประทานอาหารจานด่วนของเยาวชนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าคนส่วนใหญ่นิยมรับประทาน อาหารจานด่วน หรือ Fast Food กันมากขึ้น เนื่องด้วยเหตุผลหลักๆ เลยก็คือ ไม่มีเวลา และบางคนก็ รับประทานเสียจนเป็นความเคยชิน ถึงแม้มีเวลาก็ขอเลอื กกิน Fast food เพราะเป็นรสชาตทิ ี่คุ้นเคย ถูก ปาก และไม่ต้องรอนานอีกดว้ ย แม้จะเคยเหน็ หรอื เคยได้ยนิ โทษของอาหารจานด่วนมากมายมายแต่หลาย คนก็กลับละเลยไม่สนใจ ด้วยเห็นว่าเป็นเรื่องไกลตัว การกินอาหารจานด่วนเสี่ยงต่อการเป็นโรคอ้วน แน่นอนว่าผลเสียที่เห็นได้อยา่ งชัดเจนจากการกินอาหารจานด่วนก็คอื น้ำหนักตัวเพิม่ ขึ้น เพราะในอาหาร

123 จานด่วนมักมีปริมาณไขมันสูงมาก และแทบจะไม่มีผักอยู่เลย เมื่อกินบ่อย ๆ ก็จะก่อให้เกิดโรคอ้วน และ อีกหลายๆ โรคตามมา อีกทั้งในอิสลามให้เลือกบริโภคอาหารที่ฮาลาลลันตอยยีบัน คือ อาหารที่สะอาด สดใหม่ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย ดังอัลกุรอานความว่า \"และจงบริโภคจากสิ่งท่ีอัลลอฮฺได้ทรงให้เครื่อง ยังชีพแก่สู่เจ้าซึ่งสิ่งทีอ่ นุมตั ิและทีด่ ีมีประโยชน์ และจงยำเกรงต่ออัลลอฮฺ ผู้ซึ่งพวกเจ้าศรัทธาในพระองค\"์ (อลั มาอดิ ะฮฺ : 88) 3. ผูเ้ รยี นมีทักษะการคดิ วิเคราะหแ์ กไ้ ขปัญหา ข่าวปลอมยาลดนำ้ หนกั นักเรียนเป็นเด็กฉลาด เรียนเก่ง แต่ไม่สามารถควบคุมความมีวินัยต่อการรับประทานอาหารได้ ต้องเพ่งิ ยาลดน้ำหนัก สง่ ผลกระทบต่อระบบการทำงานของรา่ งกาย แตศ่ าสนาอิสลามส่งเสริมให้ถือศิลอด ทุก ๆ สัปดาห์ ๆ ละ 2 วัน คือ วันจันทร์ และวันพฤหัสบดี เพื่อให้ร่างกายได้พักผ่อน และเป็นการเผา ผลาญไขมันในร่างกายต่อสัปดาห์ และบังคับให้มุสลิมทุกคนถือศิลอดปีละ 1 เดือน คือในเดือนรอมฎอน เพ่ือฝกึ ความอดทน และให้รา่ งกายอยูใ่ นสภาวะสมดลุ อสิ ลามจึงไมส่ ่งเสริมการทานยาลดน้ำหนกั ยาเสพตดิ ยาเสพติดและอบายมุขทั้งปวง เช่น บุหรี่ เป็นบันไดขั้นแรกของนักเรียนที่จะเข้าไปพัวพันกับ อบายมขุ ท่ีรุนแรงและรา้ ยแรง ยาเสพตดิ ประเภทต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ประเภทออกฤทธ์ิกดประสาท กระตุ้น ประสาทหรอื หลอนประสาท ล้วนแลว้ แตใ่ หโ้ ทษใหญห่ ลวงกับผูเ้ สพ อาจเป็นอาชญากรโดยไม่รู้ตัว เมื่อติด กจ็ ะหยดุ เสพไม่ได้แต่จะต้องเพิม่ ปริมาณของการเสพข้ึนเร่ือย ๆ จนกระท่งั รา่ งกายทรุดโทรมและสุดท้ายก็ ตกอยู่ในสภาพตายผ่อนส่ง อิสลามมิเพียงแต่จะประกาศอุดมการณ์สิทธิแห่งของการดำรงชีวิตนี้เท่าน้ัน หากแต่ยังประกาศพร้อมกันนั้นว่า จำเป็นที่จะต้องเอาใจใส่กับสุขภาพพลานามัย ขจัดปัดเป่าโรคภัยและ โรคระบาดทั้งหลาย ให้พ้นจากคนในสังคม มุสลิมจะต้องมีการปกป้องสังคมให้พ้นไปจากความเสียหายท่ี จะเข้ามาบ่อนทำลายสังคม เช่นเดียวกันกับพิษร้ายของยาเสพติดต่าง ๆ ที่กำลังคุกคามสังคมของเรา ซึ่ง เราควรจะร่วมมือกันต่อต้านเพื่อมิให้ลูกหลานของเราต้องถูกยาเสพติดครอบงำ และจะต้องพัฒนา บุคลิกภาพอันดีงามให้กับพวกเขาเพื่อจะใช้สร้างเกียรติภูมิและเป็นกำลังเส ริมที่สำคัญของอิสลามและ สงั คมมุสลิมในปัจจบุ ันใหม้ คี วามม่นั คงเข้มแข็งขึน้ เร่ือย ๆ ตราบนานเทา่ นาน การเขา้ ร่วมค่ายวิชาการ การเข้าค่ายวิชาการเป็นอีกกิจกรรมทีนักเรยี นใฝ่ฝันที่จะเข้ารว่ มเพราะเป็นการเสริมแต่งความร้สู ู่ ร้ัวมหาวทิ ยาลัย เพอื่ เปน็ การเตรยี มพร้อมในการสอบเข้ามหาวิทยาลยั อิสลามให้ความสำคัญและเป็นการ เสริมแต่งสติปัญญาให้มีความฉลาดมากขึ้น เนื่องจากการศึกษาในอิสลามไม่ใช่แค่การถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์หรือทักษะจากชนรุ่นหนึ่งไปยังชนอีกรุ่นหนึ่ง แต่ในอิสลามการศึกษามีความหมายที่กว้าง

124 และครอบคลุมทุกด้าน การศกึ ษาเป็นกระบวนการอบรมและบ่มเพาะสติปัญญา ร่างกายและจิตวิญญาณ เพื่อผลิตมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป้าหมายของการศึกษาในอิสลามนั้นมีมากมาย แต่เป้าหมายสูงสุดของ การศึกษาอิสลามคือการสร้างมนุษย์เพ่ือการเคารพภักดี (อิบาดะฮ์) และการเป็นผู้แทน (เคาะลีฟะฮ์) ของ พระองค์บนผืนแผ่นดิน การที่มนุษย์จะเป็นบ่าวที่เคารพภักดีต่ออัลลอฮ์และเป็นเคาะลีฟะฮ์ได้ ต้องเป็น มนุษย์ที่ศอลิห และสิ่งสำคัญที่จะทำให้มนุษย์เป็นบ่าวที่ดีของพระองค์นั้นคืออิสลาม การที่จะรู้จักและ เข้าใจอสิ ลามต้องอาศัยการศกึ ษาเทา่ นนั้ 4. ผูเ้ รียนมที กั ษะการทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ รสนยิ มทางเพศ เพื่อนกันระหว่างหญิงกับหญิงมีขอบเขตในการอยู่ร่วมกัน แม้สังคมจะเจริญทางด้านวัตถุอย่าง มากแต่กลับตกต่ำทางด้านศีลธรรมจรรยา ไม่มีศาสนาใดที่ยอมรับการเบี่ยงเบนทางเพศ ไม่มีศาสนาใดที่ ยอมรับการอยู่ร่วมกันฉันท์สามีภรรยาของเพศเดียวกัน และไม่มีศาสนาใดในโลกนี้ที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับ บุคคลที่เบี่ยงเบนทางเพศ นอกจาก ศาสนาอิสลาม อัลลอฮ์ ได้ตรัสเกี่ยวกับกลุ่มชนนี้ว่า “และจงรำลึก ถงึ ลูฏ ขณะทีเ่ ขาได้กล่าวแกป่ ระชาชาติของเขาว่า ท่านทง้ั หลายจะประกอบส่ิงชวั่ ช้านา่ รังเกียจ ซึ่งไม่มีคน ใดในหมู่ประชาชาติทัง้ หลายไดป้ ระกอบมันมาก่อนพวกทา่ นกระน้ันหรือ?” “แท้จริงพวกท่านจะสมสู่เพศ ชายด้วยตัณหาราคะอืน่ จากเพศหญิง ย่งิ กว่าพวกทา่ นยงั เปน็ พวกทีล่ ะเมิดขอบเขตด้วย\" (อลั -อะอรฺ อฟ 80- 81) การเบี่ยงเบนทางเพศไม่เป็นที่ยอมรับในอิสลาม ถ้าได้ศึกษาจากคัมภีร์อัลกุรอาน จะได้ทราบว่าการ เบ่ยี งเบนทางเพศมีมาตั้งแตส่ มยั ของนะบลี ฏู ไมใ่ ชเ่ พิ่งจะเกิดในยคุ ปัจจบุ ัน แต่จะเริม่ มาเปิดเผยมากขึ้นใน สมยั นี้ เพ่ือใหม้ กี ารยอมรับของสังคมในกลุ่มคนทสี่ มสเู่ พศเดียวกัน อัลลอฮ์ ไดท้ รงตกั เตือนและช้ีให้เห็นถึง ความผิดบาป ของผู้ที่สมสู่เพศเดียวกันนั้น มีความสกปรกโสมม ความชั่วช้า ความเลวร้าย และความโง่ เขลาอย่างยิ่ง \"และ (จงรำลึกถึง) ลูฏ เมื่อเขากล่าวแก่หมู่ชนของเขาว่า “พวกท่านกระทำการลามก ทั้ง ๆ ที่พวกท่านรเู้ ห็นอยกู่ ระนน้ั หรอื ? “แท้จริงพวกทา่ นสมสู่พวกผ้ชู ายด้วยตัณหา แทนพวกผ้หู ญิงกระนัน้ หรือ ? ยิ่งกว่านั้นพวกท่านเป็นหมู่ชนที่โง่เขลา” (อันนัมลฺ 54-55) \"เขา (ลูฎ) กล่าวว่า “แท้จริง เขาเหล่าน้ันคอื แขกของฉัน ดังนั้น พวกท่านอย่าทำให้ฉันอัปยศ\" “และจงยำเกรงอัลลอฮ์ และอย่าทำให้ฉันได้รับความ ละอาย” (อัลฮิจรฺ 68-69) รักในวัยเรียน ความรักเป็นความรู้สึกที่ทำให้เกิดความผูกพันซึ่งกันและกัน แต่รักในวัยเรียนควรปฏิบัติตน อย่างไร ความรักคือสิ่งสำคัญอย่างลึกซึ้ง ความรักคือหัวใจหลักของอิสลามจนนับว่าเป็น \"การยึดถือ ศาสนาอย่างมั่นคงที่สุด\" และ \"ความศรัทธาหาใช่อื่นใดไม่ นอกจากการมีความรักเพื่อพระผู้เป็นเจ้า และ เกลยี ดเพื่อพระผู้เป็นเจ้า\" อิบนฺ อบั บาส ไดร้ ายงานว่า ศาสนทตู แห่งอลั ลอฮฺ(ศ.) ไดก้ ลา่ วว่า \"ความศรัทธา

125 ที่เข้มแข็งที่สุดคือความจริงใจเพื่ออัลลอฮฺ การเกลียดเพื่ออัลลอฮฺ(ตะบัรรอ) การรักเพื่ออัลลอฮฺ(ตะวัลลา) และการละทิ้งเพื่ออัลลอฮฺ\" คนมักจะคิดกันว่าเราไม่ควรมีความเกลียดชังเลย คนเหล่านี้คิดเอาว่า บคุ ลิกภาพที่ดีเลิศประเสริฐศรีและ \"การมีไมตรีจิต\" คอื การถือว่ามนุษย์ทุกคนคือเพ่ือนของเรา แน่นอนว่า อสิ ลามไดส้ อนให้มสุ ลิมมีความรัก และมีความเมตตาด้วยความจริงใจต่อพวกเขา ถึงแม้วา่ พวกเขาจะไม่ได้ ศรทั ธาในอิสลาม และพระผ้เู ป็นเจา้ กต็ าม ฮาลาเกาะห์ครอบครวั การเรียนรูก้ ับครอบครวั เม่ือพูดคุยและถามไถ่ทุกขส์ ขุ ฮาลาเกาะห์สามารถช่วยเพิม่ ความสัมพนั ธ์ ท่ดี ีให้กับครอบครวั อสิ ลามส่งใหม้ ีการพบปะและพูดคยุ ในครอบครอบ ดังคำกล่าวความว่า จากทา่ นอบีวา กิด อลัลัยซีย์ เล่าว่า คร้ังหนึ่งท่านนบนี ัง่ อยู่ใน มัสยิดและมีกลุ่มคนห้อมล้อมท่าน ได้มีชายสามคนเดนิ เข้า มา มีจำนวนสอง คนท่ี เดินเข้าหาท่านนบี สว่ นอกี คนหนึ่งเดินไปทางอนื่ ผ้รู ายงานกลา่ ว ว่า สองคนนั้นได้ เข้ามาหยุดยืน ตรงหน้าท่านนบี หนึ่งในจำนวนนั้นได้ เห็นที่ว่างในหะละเกาะฮฺ เขาก็รีบไปนั่ง ที่ว่างน้ัน และอีกคนหนึ่งไปนั้ง ข้าง หลังพวกเขา ส่วนคนที่สามได้หันกลับไป เมื่อท่านนบี ได้เสร็จจากภารกิจ ท่าน นะบี ก็ได้กล่าวความว่า “ฉันจะบอกแก่พวกท่านฟัง เรื่อง ชายสามคนเอาไหม คนหนึ่งมุ่งไปหาอัลลอฮฺ เพื่อให้หาทที่พักพิงแก่เขา พระองค์ได้ให้ที่พัก พิงแก่เขา อีกคนหนึ่งรู้สึกอาย อัลลอฮฺ จึงอายเขา และอีก คนหนง่ึ น้ั อลั ลอฮฺ เบือ่ นหนจี ากเขา ” (บันทกึ โดย al- Bukhãriy 1998:66) 5. ผู้เรียนมที ักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ การบริจาค มือบนย่อมดีกว่ามือล่าง หรือผู้ให้ย่อมประเสริฐกว่าผู้รับ การให้ทำให้เกิดความรักใคร่ จากเนื้อ เรื่องผู้เรียนเดิมทีมีความตระหนีข่ ี้เหนียว เห็นคนขอบริจาคแต่ไม่ไดบ้ รจิ าค จนกระทั้งแม่ป่วยไม่สบาย จึง ไปบรจิ าค เนือ่ งจากรกั ษาด้วยการบริจาคทาน ไดบ้ ญั ญตั ิ ความวา่ “จงเยยี วยาผู้ป่วยของพวกท่านด้วยการ บรจิ าคทาน” (ฮะดีษ เศาะฮหี ์อตั ตรั ฆบี วตั ตัรฮบี :744 ฮะซัน-ลิฆอ็ ยรฮิ ี) อกี ทง้ั การบริจาค เป็นสาเหตใุ ห้เกดิ ความจำเริญและการงอกเงยในทรพั ย์สิน การใชจ้ ่ายสรุ ่ยุ สุรา่ ย โลกเปลี่ยนสังคมเปลี่ยนรสนิยมต่อวัตถุก็ย่อมเปลี่ยนไปด้วย โดยเฉพาะ Smart Phone ของ Generation แต่อิสลามไม่ส่งเสริมการฟุ่มเฟือย และสุรุ่ยสุร่าย และผู้เรียนกำลังอยู่ในวัยเรียนยังต้องขอ เงินจากครอบครัวในการใช้จ่าย ดังนั้นไม่ควรสุรุ่ยสุร่ายและตามคา่ นิคมของสังคม พระเจ้าทรงสั่งใช้ให้เรา แสวงหา แต่ก็ทรงห้ามไมใ่ ห้ใช้จ่ายอยา่ งสุรุ่ยสุรา่ ย หรือแจกจ่ายมันไปแก่ ผู้ที่โงเ่ ขลา (ใช้เงินไปในทางท่ไี ม่ ถูก) แตไ่ หแ้ จกจ่ายแกผ่ ู้ท่ียากจน ขดั สนและมคี วามตอ้ งการ ได้มีบัญญตั ใิ นอัลกรุ อาน ความว่า “จงกินและ ด่ืม และจงอย่าฟ่มุ เฟอื ย แท้จริง พระองคไ์ ม่ชอบบรรดาผู้ที่ฟมุ่ เฟือย” (อัลอะอ์รอ็ ฟ 7/31)

126 การขายของ Online การหารายได้เสริมระหว่างเรียนสามารถทำให้ง่าย และต้นทุนต่ำ การขายของออไลน์สามารถ สร้างรา้ ยไดแ้ ละแบ่งเบาภาระตอ่ ครอบครวั ได้ อสิ ลามให้ความสำคญั กับระบบเศรษฐกิจท่ีเป็นส่วนหนึ่งของ วถิ ชี ีวิตอิสลามทม่ี ีความสมบูรณ์และครอบคลมุ และกิจกรรมทางธรุ กิจต่าง ๆ ซึง่ มคี วามสำคญั อยา่ งมากใน ระบบเศรษฐกิจน้ัน อลั ลอฮฺทรงบัญญัตไิ ว้อย่างชัดเจนวา่ ทุกสรรพสิ่งท่ีพระองค์ทรงสร้างในโลกนี้ก็เพ่ือเป็น ประโยชน์และสร้างความสะดวกสบายแก่มวลมนุษย์ และเป็นที่กระทำได้ในอิสลามได้บัญญัติไว้ความว่า “และอัลลอฮฺได้อนุมตั กิ ารคา้ และหา้ มดอกเบ้ยี ” (อลั -บากอเราะฮฺ 2: 275) 5.4 ข้อเสนอแนะผลการวิจัย 5.4.1 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื นำผลการวจิ ยั ไปใช้ 1) ผูเ้ รยี นสามารถเรยี นรเู้ วบ็ แอพพลเิ คชน่ั และนำความรู้ไปเปน็ เคร่อื งมือในชวี ิตประจำวนั และใน การตัดสินใจเม่ือเจอกับสถานการณท์ ี่ต้องเลือก 2) ครอู สิ ลามศึกษาสามารถนำไปบรู ณการในสาระวชิ าศาสนบญั ญตั ิ (อลั -ฟิกห์) และอธิบาย เน้ือหามะกอศดิ อัชชะรอี ะห์เพม่ิ เติม 3) สถานศึกษาสามารถนำเว็บแอพลลเิ คช่นั ใหค้ รูและผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้ผา่ นกิจกรรมคา่ ยฤดูรอ้ น หรอื กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 4) ขับเคลอ่ื นเว็บแอพพลิเคช่ันมะกอศิดอัชชะรีอะห์ขยายผลสู่สมาคมโรงเรียนคณุ ภาพอสั สลาม 5) พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้การบูรณาการหลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์กับสาระอิสลามศึกษา สำหรับครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในรูปแบบ Hybrid (Online-Offline) ผ่านสมาคม เครือขา่ ยครใู นโรงเรียนคุณภาพอสั สลาม 6) พฒั นาครตู น้ แบบท่ีเข้าใจหลกั มะกอศดิ อัชชะรีอะห์และสามารถเผยแพร่องคค์ วามรู้ไปยังเพื่อน ครู 5.4.2 ขอ้ เสนอแนะเพื่อทำวจิ ัยครั้งต่อไป 1) การขยายผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดวามสามารถใน การเรียนรขู้ องผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนท่ีมบี รรยากาศสังคมพหุวฒั นธรรม 2) พฒั นากจิ กรรมเสริมหลกั สตู รโดยใช้หลกั การมะกอศิดอชั ชะรีอะห์ 3) พฒั นาการ์ตูนแอนิเมช่ัน 3D ประยกุ ตใ์ ชก้ ับหลกั การมะกอศดิ อชั ชะรีอะห์ 4) พฒั นาหนงั สอื เทคโนโลยีโลกเสมือนจรงิ (AR) เรื่องมะกอศดิ อัชชะรอี ะห์

127 บรรณานกุ รม ปรียนชุ ชยั กองเกยี รติ, โศรยา นฮิ ะ, & บรู ณค์ ณัส จนั ทรศิรพิ ทุ ธ. (2019). ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21ของนักศกึ ษา พยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนยี ะลา. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 6(1), 112-120. ไฉน ผลดี. (2553). ระบบสารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการโครงการโรงเรยี นบ้านโนนยาง. วิทยานพิ นธ์ วิทยาศาสตรหา บัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศการเกษตรและพัฒนาชนบท. อบุ ลราชธานี: มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธาน.ี ระววี รรณ วงศพ์ มิ พ.์ (2552). ระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการเรยี นการสอนผา่ นอินเทอร์เนต็ กรณศี กึ ษาศนู ย์ แพทยศาสตรศึกษาชน้ั คลนิ ิก โรงพยาบาลสรรพสทิ ธปิ ระสงค์. วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ. อบุ ลราชธาน:ี มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี. ราชัน สมตาเตะและปยิ ะศกั ดิ์ ถอี าสนา (2558). การพัฒนาการ์ตนู แอนเิ มชนั่ 3 มิติ เรอื่ ง เตา่ นอ้ ยผู้อดทน. การประชุม วชิ าการระดบั ชาตกิ ารจดั การเทคโนโลยีและนวตั กรรมครัง้ ที่ 1. มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคราม. Utami, S. D., Efendi, I., Dewi, I. N., Ramdani, A., & Rohyani, I. S. (2018, July). The Study of Local Wisdom of Ethnic SasakS In Development of Biology Instructional Learning Program (P3Bio) Based on 21st Century Skills. In Mathematics, Informatics, Science, and Education International Conference (MISEIC 2018). Atlantis Press. El Mawas, N., Bradford, M., Andrews, J., Pathak, P., & Muntean, C. H. (2018, June). A Case study on 21st century skills development through a computer based maths game. In EdMedia+ Innovate Learning (pp. 1160-1169). Association for the Advancement of Computing in Education (AACE). Ramachandiran, C. R., & Mahmud, M. M. (2018). Padlet: A Technology Tool for the 21st Century Students Skills Assessment. ICEAP 2018, 1(1), 101-107. Moore, A. F., Newman, D. J., Ranganathan, S., & Liu, F. (2019). Imaginative Order from Reasonable Chaos: Conformation-Driven Activity and Reactivity in Exploring Protein–Ligand Interactions. Australian Journal of Chemistry, 71(12), 917-930. Maiti, T. (2019). Internet Addiction and Online Gaming: An Emerging Epidemic of the Twenty-First Century?. In Intimacy and Developing Personal Relationships in the Virtual World (pp. 174-200). IGI Global. Ruthmann, S. A., & Dillon, S. C. (2018). Technology in the lives and schools of adolescents. Music Learning and Teaching in Infancy, Childhood, and Adolescence: An Oxford Handbook of Music Education, 2, 313. Hewett, K. J., Pletcher, B. C., & Zeng, G. (2018). The 21st-Century Classroom Gamer. Games and Culture, 1555412018762168. Aremu, A., & Adebagbo, A. (2019). Digital Games for Teaching and Learning of Mathematics in Nigeria Schools. In Globalized Curriculum Methods for Modern Mathematics Education (pp. 57-74). IGI Global.

128 Abdalla, M. K. T. M. (2019). Three Dimensional Virtual Laboratories and Simulations for Education: Classification, Criteria for Efficacy, Benefits, and Criticism. In Handbook of Research on Immersive Digital Games in Educational Environments (pp. 167-200). IGI Global. Wouters, T., Soomers, J., Smink, M., Smit, R., Plaisier, M., Houterman, S., ... & Piek, J. M. (2019). The effect of an animation video on consultation time, anxiety and satisfaction in women with abnormal cervical cytology: Animation video reduces colposcopy time. Preventive Medicine Reports. Rathore, M., & Mishra, R. R. (2018). Value Education through Indian Animation Stories and its Impact on Life Skills and Gender Equity of School going Adolescents of other Backward Classes. IJASSH. Harrington, R., & Rhine, S. (2019). Digital tools for accelerating preservice teacher effectiveness. In Pre- Service and In-Service Teacher Education: Concepts, Methodologies, Tools, and Applications (pp. 926-955). IGI Global. Bedesem, P. L., & Arner, T. (2019). Mobile Learning in and out of the K-12 Classroom. In Advanced Methodologies and Technologies in Modern Education Delivery (pp. 839-849). IGI Global. Douglass, S. L., & Shaikh, M. A. (2004). Defining Islamic Education: Differentiation and Applications. Current Issues in Comparative Education, 7(1), 5-18. Jusoh, W. N. H. W., & Jusoff, K. (2009). Using multimedia in teaching Islamic studies. Journal of Media and Communication Studies, 1(5), 086-094. Islam, S., & Islam, N. (2006). Information and communication technology (ICT) in libraries: a new dimension in librarianship. Asian journal of information technology, 5(8), 809-817. Majma’ al-Lughah al-Arabiyyah(2004). Mu’jam al- Wasit. Cairo: Maktabah al-Shuruq al-Dauliah, 4thedi. asser .(2008). Maqasid Al-Shari’ah As Philosophy of Islamic Law: A System Approach. Washington: International Institute of Islamic Thought. Al-Qaradhawi, Y.(2012). Dirasatun Fi FiqhMaqasid al-Shariah. Cairo: Dar al-Shorouk. Mohamad .A (2006) Islamic Law An Introduction Gombak: Iium Press Sya’bani A. (2015) Maqasid Al-Syari’ah Sebagai Metode Ijtihad Mataram: Institut Agama Islam Negeri Muhammad. (2007). Al-Maqasid l-Shariahwa Atharuha fi al-Fiqh al-Islami. Cairo:Darul Hadith. Lafortune M.D. (2013) International Law And Foreign Policy: A Mutual Influence Bellanca, James and Brandt, Ron. (Editors). (2010). 21st Century Skills : Rethinking how Students Learn. Bloomington : Solution Tree Press. Burkhardt, Gina and others. (2003). engage 21st Century Skills : Literacy in the digital age. Illinois : The north central regional educational laboratory and the metiri group. Educational Testing Service. (2002). Digital Transformation A Framework for ICT Literacy. Princeton, NJ : Educational Testing Service.

129 Gardner, Haward. (2010). Five Minds for the Future” 21st century skills : rethinking how students learn. (Edited by James Bellanca and Ron Brandt). Bloomington : Solution tree press. ISTE standards students. (2014). [online]. Available : www.iste.org/docs/pdfs/20-4_ISTE_standard_PDF. (2 สงิ หาคม 2557). Marzano, R.J. (2003). What works in schools : Translating research into action. Alexandria. VA : Association for Supervision and Curriculum Development. The National Commission on Teaching and America’s Future. (2003). No dream denied : A pladge4 to America’s children. Washington. DC : Author. Schrier, K. (2006, July). Using augmented reality games to teach 21st century skills. In ACM SIGGRAPH 2006 Educators program (p. 15). ACM. Bybee, R. W. (2009). The BSCS 5E instructional model and 21st century skills. Colorado Springs, CO: BSCS. National Research Council. (2013). Education for life and work: Developing transferable knowledge and skills in the 21st century. National Academies Press. Larson, L. C., & Miller, T. N. (2011). 21st century skills: Prepare students for the future. Kappa Delta Pi Record, 47(3), 121-123. Chandra, V., & Tangen, D. J. (2018). Demonstration of 21st century skills through an ICT teaching problem: Experiences of preservice teachers in a Fijian classroom. In The Globalisation of Higher Education- Developing Internationalised Education in Research and Practice (pp. 183-195). Palgrave McMillan. Fanning, G. (2018). How do I use 21st Century Skills with EAL Learners?. Language. Martin, J. P. (2018). Skills for the 21st century: Findings and policy lessons from the OECD survey of adult skills (No. 138). IZA Policy Paper. McGuire, C. (2018). Transforming Traditional Teaching Practices with 21st Century Skills in K-12 Classrooms. Short, M. N., & Keller-Bell, Y. (2019). Essential Skills for the 21st Century Workforce. In Handbook of Research on Promoting Higher-Order Skills and Global Competencies in Life and Work (pp. 134-147). IGI Global. Spires, H. A., Paul, C. M., & Kerkhoff, S. N. (2019). Digital literacy for the 21st century. In Advanced Methodologies and Technologies in Library Science, Information Management, and Scholarly Inquiry (pp. 12-21). IGI Global. Idiegbeyan-ose, J., Ilo, P., & Isiakpona, C. (2019). The 21st century library and information services for the enhancement of teacher education. In Pre-Service and In-Service Teacher Education: Concepts, Methodologies, Tools, and Applications (pp. 1899-1913). IGI Global.

130 Adeoye, B. F. (2019). Learning Styles and Cultural Differences in Online Learning Environments in the Twenty-First Century. In Advanced Online Education and Training Technologies (pp. 63-74). IGI Global. Susilo, S. V., & Yanto, A. (2019, January). MULTILITERATION PEDAGOGIC MODEL BASED ON HIGHER ORDER THINKING SKILL (HOTS) AS EFFORTS TO FACE THE 21st CENTURY EDUCATION IN EDUCATION FROM KI HADJAR DEWANTARA. In Social, Humanities, and Educational Studies (SHEs): Conference Series (Vol. 1, No. 2, pp. 390-400). Saputri, A. C., Rinanto, Y., & Prasetyanti, N. M. (2019). Improving Students' Critical Thinking Skills in Cell- Metabolism Learning Using Stimulating Higher Order Thinking Skills Model. International Journal of Instruction, 12(1). Ali, M., Marvuglia, A., Geng, Y., Robins, D., Pan, H., Song, X., ... & Sun, H. (2019). Accounting emergy-based sustainability of crops production in India and Pakistan over first decade of the 21st century. Journal of Cleaner Production, 207, 111-122.

131 ภาคผนวก ก Storyboard แอนเิ มชั่น

132 Storyboard ช่อื เร่อื ง กอฎอ-กอฎรั กล่มุ เปา้ หมาย นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาพ/ฉาก บท # กจิ วตั รประจำวนั ของ ณ โรงเรียนมะกอศิดวทิ ยา มีนกั เรียนอยู่กลุ่มหนงึ่ ทเี่ รยี นวิชาภาษาองั กฤษกับครวู ี นักเรยี น นกั เรียนหอ้ งน้เี ปน็ เดก็ เรียนดี มคี วามตั้งใจเรียนกนั ทุกคน ทุ่มเทกบั การเรียนตลอด มา ทุกๆเย็นนักเรยี นจะรว่ มกันติว(ทบทวนบทเรยี น)ด้วยกัน พร้อมๆกบั การออก กำลังกาย และละหมาดญะมาอะห์พร้อมเพรียงกันเปน็ กจิ วตั ร 1 เดือนผา่ นไป..........กิจกรรมของนักเรียนกย็ ังคงเหมือนเดิม 3 เดอื นผา่ นไป................. 1 สปั ดาห์ก่อนสอบของเทอม 1 ................. ภาพ/ฉาก บท # ณ หอ้ งเรียนท่ถี ่ายจาก ด้านหลังของห้องเรยี นเวลาบ่าย บรรยากาศในห้องเรยี นคาบสุดท้ายของการเรยี นการสอนคุณครูวีช้ีแจงให้นกั เรียน สาม นักเรียนบางคนแสดง เตรยี มตวั อ่านหนังสือก่อนจะมกี ารสอบปลายภาคภายในสปั ดาห์หนา้ ท่ีจะมาถงึ อาการจดจ่อกบั สิง่ ท่คี รูพดู แต่ ครวู :ี “นักเรยี นทกุ คนเตรยี มตัวอา่ นหนังสอื ทบทวนบทเรยี นด้วยนะครับ” บางคนได้แสดงอาการเบ่ือ นกั เรียน : “ค่ะ/ครับ” หน่ายออกมา ภาพ/ฉาก บท #ภาพหอพักสงู ประมาณหา้ ช้ัน หลังจากเลิกเรียน อาซด๊ี รีบกลับหอพักเพื่อไปเตรยี มตัววางแผนอ่านหนงั สอื ทจ่ี ะ ณ ในหอของอาซ๊ีด อาซี๊ดแสดง สอบ สหี นา้ เครง่ เครียดนัง่ อยูท่ ่ีโต๊ะ อาซด๊ี : “สอบครั้งน้ี ฉันจะต้องทำใหไ้ ด้คะแนนสูงๆ ฉันจะต้องเรมิ่ ทบทวนหนงั สือ ทำงานท่มี ีหนังสอื กองเป็นชั้นๆ ตั้งแตต่ อนนี้ ฮึบ!”

133 ภาพ/ฉาก บท # (ณ หอของรียาด) รียาดที่มีสี ในขณะเดียวกนั นน้ั รญี าด กลับหอพักเตรยี มตัวละหมาดอศั รฺ และไปออกกำลัง หน้ายิม้ แย้มทักทายเพ่ือนในหอ กายกับเพอื่ นๆจนถงึ เวลาละหมาดมฆั รบิ เขาก็เตรียมตวั ละหมาด อา่ นอลั กุรอาน และฮัมเพลงเบาๆในคณะท่ี และหมาดอีชาอฺ หลงั จากน้ันเขาจึงเตรียมตัววางแผนอา่ นหนงั สือ กำลังเปลีย่ นเส้อื เพือ่ ทจ่ี ะไป อาบนำ้ ละหมาดเสรจ็ เรียบรอ้ ย ภาพ/ฉาก บท # อาซดี๊ ไปไหนมาไหนจะถือ หลังจากวนั นั้น กจิ วตั รของท้ังสองก็เปลย่ี นไปอาซี๊ดเอาแตเ่ ก็บตวั มุ่งแต่อ่านหนังสือ หนังสอื ไปทุกที่ แม้กระทง่ั ตอน อยตู่ ลอดเวลา ส่วนรีญาดเขามีวนิ ัยต่อตวั เอง ในการแบ่งเวลาอ่านหนงั สอื ละหมาด รับประทานอาหาร ตอนทีง่ ่วง ตรงตอ่ เวลา ออกกำลังกายและยงั แบง่ เวลาไปตวิ หนังสอื กับเพื่อนอีกดว้ ย แต่กย็ ังฝนื ตัวเองไม่ให้หลับโดย วันหนึ่ง รญี าดได้ชวนอาซดี๊ ไปตวิ พร้อมกบั เพ่ือนๆ แอบดม่ื กาแฟในปริมาณเกินกับ รญี าด: “อาซดี๊ ไปตวิ หนงั สอื ด้วยกันไหม?” ตัวเอง อาซด๊ี : “ไม่เป็นไร เราสะดวกอา่ นคนเดียวมากกว่าอ่ะ” # รยี าดมตี ารางแบ่งเวลาชดั เจน รญี าด: “ถา้ เราไปติวกนั หลายๆคน เราว่าจะเข้าใจมากกว่านะ เพราะวา่ เราจะได้ ตอนไหนท่ีตัวเองต้องอ่าน แลกเปล่ยี นความร้กู ันไง” หนังสือ ติวกับเพ่ือนๆ เลน่ กิน อาซี๊ด : “ เราอยากใช้เวลาสว่ นตัวในการอา่ นหนังสือ สำหรับเรา เราวา่ ตวิ คนเดียว ออกกำลังกาย และการเข้าเฝา้ สงบกวา่ เขา้ ใจกว่า” พระผเู้ ป็นเจา้ รีญาด: “งนั้ ไม่เป็นไร เราไปก่อนนะ” อาซดี๊ : “โอเค”

134 ภาพ/ฉาก บท #อาซ๊ีดท่ีกำลังง่วงกับการอา่ น คืนสดุ ทา้ ยก่อนสอบเวลา 03:30น. หนังสอื ในแสงสลัวๆ ทมี่ ีเพียง อาซี๊ดยงั คงอ่านหนังสอื ยงั ไม่หยดุ จนกระท่ังถงึ เวลาละหมาดซุบฮี ในขณะท่ีรีญาด โคมไฟท่โี ตะ๊ ทำงานของตัวเองท่ี ต่นื ละหมาดตะฮัจญุด ขอดอู าอฺต่ออลั ลอฮฺ และทบทวนหนงั สือจนถึงเวลา เปิดอยู่ และมีการฝืนตวั เอง ละหมาดซุบฮี ไมใ่ หห้ ลับโดยดม่ื กาแฟไปสอง แกว้ # รียาดอา่ นหนังสอื กอ่ นนอน เมอ่ื ถึงเวลาทสี่ มควรก็เข้านอน และตน่ื อีกครั้งตอน 03:00 น. ภาพ/ฉาก บท # ภาพบรรยากาศนักเรยี นมา ณ วันสอบทกุ คนในห้องสอบเตรียมตวั ทำข้อสอบอยา่ งมุ่งม่ันรวมไปถึงรญี าดทำ เรียนตอนเชา้ มีภาพนักเรยี น ข้อสอบได้อย่างสบายๆ ไมก่ ดดันตัวเองในทางกลับกนั อาซด๊ี เริ่มกดดันตัวเองและ บางกลุ่มนง่ั รวมกลุม่ อ่านหนงั สือ ร้สู กึ ว่าตวั เองงว่ งและเหนอ่ื ยล้า เขาพยายามทำขอ้ สอบให้เสร็จทนั เวลา สักพักกม็ ี ใตต้ ้นไม้ ใตอ้ าคาร ท่สี นามและ เสยี ง \"กริ๊ง กรง๊ิ งงงง\" หมดเวลาทำข้อสอบ ทีร่ ะเบียงของห้องสอบอย่าง หลังจากนัน้ อาซี๊ด เดินออกจากห้องสอบด้วยความอ่อนเพลีย ขะมักเขมน้ รญี าดเหน็ ดังน้ันจึงเดนิ มาถามอาซ๊ดี ว่า # จากนน้ั ฉายภาพเสียงเตือน รญี าด: เป็นยงั ไงบ้างอาซ๊ีด ? เขา้ ห้องสอบ นักเรียนมีการเดิน อาซี๊ด : ก็ทำได้อยู่นะแต่ร้สู กึ ว่าไมเ่ ต็มที่พอ แล้วนายละ่ ? อยา่ งเปน็ ระเบียบเข้าห้องเรียน รยี าด: อลั ฮัมดลู ิลาฮ ฉนั ร้สู ึกภูมิใจแลว้ กบั ความพยายามของฉัน # ภาพในห้องสอบ นักเรยี นทุก คนก้มหนา้ ก้มตาทำข้อสอบของ ตวั เอง โดยมคี รูคุมสอบหนา้ ดุที่ เดนิ วนรอบหอ้ ง # เมือ่ หมดเวลา นักเรียนทยอย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook