Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะกอศิด

มะกอศิด

Published by ISMAIL RAOB, 2020-11-25 09:31:56

Description: 1..รายงานฉบับสมบูรณ์RDG6240036

Search

Read the Text Version

40 Design Adobe Illustrator, Adobe Photoshop 2) การสร้างการต์ นู แอนนเิ มชั่น โดยใช้ Adobe Flash, Adobe Animate 3) การสร้างเกมส์ โดยใช้ GDevelop5 4) การตดั ต่อวดี ีโอ โดยใช้ Whiteboard Animation ขั้นตอนท่ี 6 การทดสอบ (testing) หมายถึง การโดยนำแอพพลิเคชั่นที่ได้จากขั้นตอนท่ี 4 ไปทดลองใชก้ ับกลมุ่ ตัวอย่างที่มี เพื่อดำเนนิ การปรบั ปรงุ และพฒั นาแอพพลเิ คชั่นใหม้ ีคณุ ภาพ

41 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 30 คน ครู 3 คน และผู้บริหาร สถานศึกษา 1 คน จากโรงเรียนสขุ สวสั ดว์ิ ิทยา อ.ยะหา จ.ยะลา เครื่องมือ คือ การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ว็บแอพพลเิ คชัน่ แบบประเมนิ ความเหมาะสม การวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยการวเิ คราะห์หาคา่ เฉล่ีย และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

42 ขนั้ ตอนท่ี 7 การตดิ ตัง้ (implementation) หมายถงึ การนำแอพพลิเคชั่นทสี่ มบูรณ์แล้วไป ตดิ ตง้ั ใน app store เพอ่ื ดำเนินการทดลองใชก้ ับกลมุ่ ตัวอยา่ งจรงิ กลมุ่ ตัวอยา่ ง คอื โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครือ่ งมอื คอื Visual Studio Code, XAMMP, Composer MySQL, MySQL Workbench Nuxt.js, Laravel การวิเคราะหข์ ้อมูล โดยการวิเคราะหห์ าค่าเฉลีย่ และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน ข้นั ตอนที่ 8 การบำรุงรกั ษา (Maintenance) หมายถึง ข้ันการบำรงุ รกั ษาแอพ แอพพลิเคชั่นดว้ ยเพ่มิ เตมิ ฐานขอ้ มลู และการรักษาสถานภาพของเว็บแอพพลเิ คช่นั กลุม่ ตวั อยา่ ง คอื โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครอื่ งมอื Visual Studio Code, XAMMP, Composer MySQL, MySQL Workbench Nuxt.js, Laravel การวิเคราะหข์ ้อมลู โดยการวเิ คราะหห์ าคา่ เฉล่ีย และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ขน้ั ตอนท่ี 9 การนำไปใชจ้ รงิ กับผู้เรียน ดังน้ี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายและครูจำนวน 128 คน โดยแบ่งนักเรียน จำนวน 128 คน ดงั น้ี โรงเรียน ระดบั ช้นั รวม ม.4 ม.5 ม.6 ครู โรงเรยี นอลั อียะ๊ วทิ ยา จ.นราธวิ าส 15 10 15 2 42 โรงเรียนร่งุ โรจน์วิทยา จ.สงขลา 15 15 15 3 48 โรงเรียนอิสลามประชาสงเคราะห์มลู นธิ ิ จ.ปตั ตานี 10 15 10 3 38 40 40 40 8 128 รวม ครสู อนศาสนาอิสลาม 8 คน โดยเลอื กจาก 3 โรงเรียนข้างต้นโรงเรยี นละ 2-3 คน โดยเนอ้ื หา ในเว็บแอพพลเิ คชน่ั นำไปเสริมในรายวชิ าอสิ ลามศกึ ษา เนอื้ หาทเ่ี กย่ี วกับศาสนบญั ญัติ

43 โดยครูสอนศาสนามีบทบาทในการจดั การเรียนรู้ในรายวิชาอิสลามศึกษา สาระศาสนบัญญัติ ทม่ี ชี วั่ โมงการเรยี นการสอน แต่สำหรับโรงเรียนสามัญใช้ในสาระอสิ ลามศกึ ษาเชน่ เดยี วกัน แตม่ ชี ั่วโมง การเรียนรู้เพียงแค่ 1 คาบตอ่ สัปดาห์ สือ่ การสอน คอื เวบ็ แอพพลเิ คช่นั www.maqasids.com ซึ่งมีเนื้อหาเก่ยี วกบั หลักมะกอศิด 5 ด้าน ๆ ละ 5 เรื่อง รวมเป็น 15 เรื่อง โดยเนื้อหาแยกเป็น 3 ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 5 เรื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 เรื่อง และมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 5 เรื่อง โดยทั้ง 15 เรื่อง ดังกล่าวเป็นวีดีโอลักษณะแอนนิเมชั่น รวมทั้งยังมีวีดีโอสรุปเนื้อหาระดับชั้นละ 1 เรื่อง ซึ่งเป็นวีดีโอ ลักษณะ Whiteboard Animation และเนื้อหาภายในสื่อมีการประเมินความรู้เรื่องมะกอศิดดิกผ่าน การเล่มเกมส์ในลกั ษณะ 2 D ให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์ผ่านสื่อออนไลน์ ในสาระอิสลามศึกษา และ สามารถนำไปศกึ ษาเรียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง พรอ้ มท้งั สามารถนำไปประยกุ ต์ไดจ้ ริงในชีวิตประจำวนั เคร่อื งมอื คอื การจดั อบรมเชิงปฏิบัติการการใชเ้ วบ็ แอพพลเิ คช่นั www.maqasids.com การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการวิเคราะห์ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ขนั้ ตอนท่ี 10 การประเมนิ ผล กลุ่มตวั อย่าง คือ นักเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายจำนวน 120 คน และครสู อนศาสนาอิสลาม 8 คน รวมทง้ั ส้นิ 128 คน เครอื่ งมือ คอื แบบประเมินความพึงพอใจตอ่ การใชเ้ ว็บแอพพลเิ คชน่ั และประเมินทักษะการ เรยี นรขู้ องผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้รปู แบบการประของเคริ ์กแพทริค

44 1) แบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ การใช้เวบ็ แอพพลิเคชั่น ระดับความพึงพอใจ คำถาม 5 4 3 2 1 1. แบบตวั อกั ษรแอพมีความเหมาะสมและง่ายต่อการอา่ น 2. แอพมีความสะดวกในการค้นหาขอ้ มูล 3. การจดั วางองค์ประกอบแต่ละสว่ นในหนา้ จอมีความ เหมาะสม 4. ขนาดของตัวอกั ษรมีความเหมาะสมกับหน้าจอ 5. สีของตัวอักษรและพ้นื หลังเหมาะสม 6. เนือ้ หาแอนเิ มชนั่ มีความเหมาะสม 7. ท่านไดค้ วามรู้จากการดแู อนเิ มช่นั 8. เน้อื หาวดี ีโอมคี วามเขา้ ใจง่าย 9. เนือ้ หาเกมส์มีความเหมาะสมกับวยั ผู้เรยี น 10. เกมสม์ คี วามสนุกและได้ความรู้

45 2) แบบทดสอบความเข้าใจหลกั มะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ 1. นยิ ามของหลักมะกอศดิ ศดิ อชั ชะรีอะฮ์ คือ 5. ประโยชน์ท่ีต้องรักษาตามหลักมะกอศิด ขอ้ ใด? แบ่งออกเป็นกดี่ า้ น ก. การดูแลเอาใจใส่โดยพระเจ้าท่มี ีตอ่ ก. 3 ดา้ น มนุษย์เพื่อรกั ษาประโยชนค์ วามม่ันคงของ ข. 4 ดา้ น มนษุ ย์ ค. 5 ดา้ น ง. 6 ดา้ น ข. การดแู ลเอาใจใส่โดยมนุษย์ทีม่ ีต่อพระ 6. การรักษาศาสนาจัดอยู่ในเป้าหมายข้อใด เจา้ เพอ่ื รักษาประโยชน์ความมั่นคง ของหลักมะกอศดิ ? ก. เปา้ หมายด้านความจำเปน็ ค. การดแู ลเอาใจใสโ่ ดยพระเจา้ ท่มี ีต่อดุนยา ข. เป้าหมายด้านการเสรมิ แต่ง ง. การดแู ลสงิ่ ถกู สร้างโดยพระเจา้ ค. เปา้ หมายด้านความตอ้ งการ 2. หลักมะกอศิดศิดอัชชะรีอะฮ์แบ่งออกเป็นก่ี ง. เปา้ หมายด้านความส่งเสรมิ มติ ิ ? 7. การรักษาศาสนาจัดอยู่ในเปา้ หมายข้อใด ก. 5 มติ ิ ของหลกั มะกอศดิ ? ข. 6 มิติ ก. เป้าหมายดา้ นความจำเป็น ค. 7 มติ ิ ข. เปา้ หมายด้านการเสรมิ แตง่ ง. 8 มติ ิ ค. เป้าหมายดา้ นความต้องการ 3. หลกั มะกอศดิ ศิดอชั ชะรีอะฮแ์ บง่ เป้าหมาย ง. เป้าหมายด้านความส่งเสริม หลกั ออกเปน็ กี่เป้าหมาย ? 8. การศึกษาหาความรู้ท่ีมปี ระโยชน์ทง้ั โลกน้ี ก. 2 เป้าหมาย และโลกหน้าคือหลักมะกอศิดทตี่ อ้ งรักษาด้าน ข. 3 เปา้ หมาย ใด ? ค. 4 เป้าหมาย ก. ดา้ นศาสนา ง. 5 เป้าหมาย ข. ดา้ นชีวติ 4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่จัดอยู่ในเป้าหมายตามหลัก ค. ดา้ นสติปัญญา หลกั มะกอศดิ ศิดอัชชะรีอะฮ์ ? ง. ดา้ นวงศ์ตระกลู ก. เป้าหมายดา้ นความจำเปน็ 9. การแต่งงานระหว่างเพศเดียวกันจัดอยู่ใน ข. เปา้ หมายดา้ นการเสรมิ แต่ง เป้าหมายด้านใดของหลักมะกอศดิ ? ค. เปา้ หมายด้านความตอ้ งการ ก. เปา้ หมายดา้ นความจำเป็นท่จี ะต้องปฏิบัติ ง. เป้าหมายด้านความส่งเสริม ข. เปา้ หมายดา้ นความจำเป็นท่จี ะต้องละทิ้ง ค. เป้าหมายด้านการเสรมิ แตง่ ง. เปา้ หมายด้านความความต้องการ

10. สื่อการรักษาสติปัญญาตามหลักมะกอศิด 43 แบ่งออกเป็นก่ีดา้ น 15. ประเภทของเปา้ หมายหลักของการ ก. 2 ดา้ น บัญญัติหลกั มะกอศดิ แบ่งออกเปน็ กปี่ ระเภท ? ข. 4 ดา้ น ค. 6 ดา้ น ก. 2 ประเภท ง. 8 ดา้ น ข. 4 ประเภท 11. ความหมายของวงศ์ตระกูลตามหลักมะ ค. 6 ประเภท กศดิ คือข้อใด ? ง. 8 ประเภท ก. การขยายวงศ์ตระกูลและการกำเนิดเพ่อื 16. ประเภทหลกั ของการบญั ญตั ิหลกั มะ พัฒนาโลก กอศิดมิติของเวลาแบ่งออกเป็นก่ีประเภท ? ข. การสบื ทอดทายาท ก. 2 ประเภท ค. การรกั ษาวงศ์ตระกูลไว้ด้วยการแต่งงาน ข. 4 ประเภท ตามหลกั อสิ ลาม ค. 6 ประเภท ง. ถูกทุกขอ้ ง. 8 ประเภท 12. การจ่ายซากาตจัดอยู่ในเป้าหมายข้อใด 17. เป้าหมาย(หลกั มากอซดิ )ในมติ ิความ ของหลกั มะกอศิด ? เกยี่ วข้องต่อประชาชาตโิ ดยรวมและปจั เจกชน ก. เปา้ หมายดา้ นความจำเปน็ แบ่งออกเปน็ กีป่ ระเภท ? ข. เปา้ หมายดา้ นการเสริมแต่ง ก. 3 ประเภท ค. เป้าหมายดา้ นความตอ้ งการ ข. 4 ประเภท ง. เป้าหมายด้านความสง่ เสริม ค. 5 ประเภท 13. การรักษาชีวิตตามหลักมะกอศิดควร ง. 6 ประเภท ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ? 18. เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ในมติ ิความ ก. รับประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ ชัดเจนและความคลุมเครือแบ่งออกเปน็ กี่ ข. สวมเสือ้ ผ้าท่ีสะอาดและสุภาพ ประเภท ? ค. หลกี ห่างจากสงิ่ ทเ่ี ปน็ อันตรายต่อชีวติ ก. 3 ประเภท ง. ถกู ทกุ ขอ้ ข. 4 ประเภท 14. เป้าหมายหลักของการบัญญัติหลักมะ ค. 5 ประเภท กอศดิ คอื ขอ้ ใด ? ง. 6 ประเภท ก. กำหนดบทบญั ญัติ คำสงั่ ใชแ้ ละคำสั่ง 19. เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ท่ีคลุมเครือมาก ห้ามของพระองค์ คอื ข้อใด ? ข. กำหนดบทบญั ญตั ิ คำส่ังใช้พระองค์ ก. การรบั ประทานยาเสพติด ค. กำหนดบทบญั ญตั ิ คำส่ังหา้ มพระองค์ ข. ถอื เปน็ โมฆะ ง. ถกู ทกุ ขอ้ ค. ส่ิงเหลา่ นั้นจะถกู ปฏเิ สธ ง. ถูกทุกข้อ

20. การใช้จา่ ยอยา่ งฟมุ่ เฟือยจัดอยใู่ นหลกั มะ 44 กอศิดดา้ นใด ? ข. ดา้ นความจำเป็นทต่ี ้องหลีกเลีย่ ง ก. ดา้ นความจำเปน็ ท่ตี ้องปฏิบตั ิ ค. ดา้ นความต้องการ ง. ถูกทุกข้อ 3) คำถามเกมส์ plickers คำส่ัง ใหท้ ำเคร่ืองหมาย √ หนา้ ข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย × หน้าข้อความที่ผดิ 1…………นิยามของหลักมะกอศดิ ศิดอชั ชะรีอะฮ์ คอื การดแู ลเอาใจใส่โดยพระเจ้าท่ีมตี อ่ มนุษย์เพื่อ รักษาประโยชน์ความมั่นคงของมนุษย์ 2…………การศกึ ษาและการสอนความรทู้ ี่มปี ระโยชน์อยู่ในหลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ ด้านการรักษาสตปิ ัญญา 3…………การรกั ษาชวี ติ ตามหลกั มะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์คอื การแต่งงาน 4…….…..การรักษาวงศต์ ระกูลตามหลกั มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์คอื การแต่งงาน 5…………การชว่ ยเหลือพอ่ แม่ ทำงานหารายได้ อยู่ในหลักมะกอศดิ อชั ชะรอี ะฮ์ ดา้ นการรักษาชีวิต 6…………การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ อยใู่ นหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์ ดา้ นการรักษาสตปิ ัญญา 7…………การจา่ ยซากาต อยู่ในหลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ ด้านการรกั ษาทรพั ย์สนิ 8…………หลักมะกอศิดศดิ อชั ชะรีอะฮ์แบ่งออกเปน็ 5 มติ ิ 9…………การรกั ษาศาสนาจัดอย่ใู นเปา้ หมายด้านความสง่ เสริมของหลกั มะกอศิด 10……….ประโยชนท์ ่ีตอ้ งรักษาตามหลักมะกอศิดแบ่งออกเป็น 4 ดา้ น 11.……...เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )ท่คี ลุมเครือมากถือเปน็ โมฆะ 12.………หลกั มะกอศิดศดิ อชั ชะรอี ะฮแ์ บ่งเป้าหมายหลักออกเปน็ 2 เปา้ หมาย 13……….เป้าหมายดา้ นความส่งเสริมคือเปา้ หมายตามหลักหลกั มะกอศดิ ศดิ อชั ชะรีอะฮ์ 14.………สื่อการรักษาสตปิ ญั ญาตามหลักมะกอศดิ แบง่ ออกเปน็ 2 ดา้ น 15……….ความหมายของวงศ์ตระกูลตามหลักมะกศิดคือการขยายวงศต์ ระกลู และการกำเนดิ เพื่อ พฒั นาโลก 16……….การจา่ ยซากาตจัดอยู่ในเป้าหมายด้านความต้องการ 17……….การทำลายทรัพยส์ ินของผู้อ่ืนอยูใ่ นหลักมะกอศดิ อัชชะรอี ะฮ์ด้านการเสริมแต่ง 18.………การใช้จา่ ยอย่างฟุ่มเฟือยจดั อยูใ่ นหลกั มะกอศดิ ดา้ นความจำเป็นทตี่ ้องปฏิบตั ิ 19……….การรักษาศาสนาจัดอยู่ในเป้าหมายดา้ นความตอ้ งการของหลักมะกอศิด 20……….หลกั ของการบญั ญัติหลกั มะกอศดิ คือคำสั่งใช้และคำสั่งหา้ มของพระองค์ การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการวเิ คราะห์ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน Dependent t-test และ Content Analysis

กรอบการประเมินทกั ษะการเรีย วัตถปุ ระสงคข์ อง ประเด็นทศ่ี กึ ษา ตัวบง่ ชี้ การประเมิน ความเหมาะสมของเน้ือหา ความน่าสน ของเกมส์ วีดโี อ และการต์ ูนแอนนิเมชั่น รูปแบบการประของเคิรก์ แพทรคิ ด้านปฏิกริ ยิ า ความพงึ พอใจต่อการใช้ เวบ็ แอพพลิเคชนั่ ด้านการเรียนรู้ ความรู้ความเข้าใจและ ความรูค้ วามเขา้ ใจหลกั มะกอศิดอชั ชะร ด้านพฤตกิ รรม การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง พฤติกรรมของผู้ใชเ้ ว็บ ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ด้านผลลัพธ์ แอพพลิเคชน่ั หลังจาก 1. ทกั ษะคณุ ธรรมจริยธรรม การเขา้ ค่าย 2. ทักษะทางวัฒนธรรม 3. ทกั ษะการคิดวิเคราะหแ์ กไ้ ขปญั หา ประโยชน์ ท่เี กดิ ขนึ้ ต่อ 4. ทกั ษะการทำงานเปน็ ทีม และภาวะผ ผใู้ ชเ้ วบ็ แอพพลเิ คช่นั 5. ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของผู้ใช้เว็บ แอพพลเิ คชนั่

45 ยนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 แหล่งข้อมลู เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ การวิเคราะห์ข้อมูล รวบรวมข้อมลู นใจ -ผู้ใช้เวบ็ แอพพลิเคชัน่ -แบบประเมิน -ร้อยละ -ค่าเฉลี่ย น -ครู ความพงึ พอใจ -คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน Dependent t-test รอี ะฮ์ ผู้ใช้เว็บแอพพลเิ คช่ัน -แบบทดสอบวัดความรู้ ผู้ใชเ้ ว็บแอพพลเิ คชัน่ -แบบประเมินสถานการณ์ -ค่าเฉลีย่ -แบบสัมภาษณ์ -คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน -Content Analysis ผู้นำ บ -ผู้ใชเ้ วบ็ แอพพลิเคช่ัน -แบบสอบถามตอ่ ผลลัพธ์ -คา่ เฉลี่ย-คา่ เบ่ยี งเบน -ครู ที่เกดิ ขน้ึ มาตรฐาน-Content -แบบสัมภาษณ์ Analysis

46 บทที่ 4 ผลการวิจัย การศึกษาวิจัย การพฒั นาเวบ็ แอพพลเิ คช่นั ตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพ่ือเพ่ิมขีดวามสามารถ ในการเรียนรู้ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 ผ้วู ิจัยขอนำเสนอผลการวิจัยตามหวั ขอ้ ดังตอ่ ไปนี้ 4.1 การศกึ ษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สกู่ ารประยุกตใ์ ช้การพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คช่นั 4.2 การพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คชน่ั ตามหลกั มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮส์ ู่การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 4.3 การประเมนิ ผลการใช้เวบ็ แอพพลิเคชั่นตามหลกั มะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์ของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

47 4.1 การศกึ ษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สูก่ ารประยกุ ต์ใชก้ ารพัฒนาเว็บแอพพลเิ คช่นั การศึกษาแนวของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อนำไปกำหนดเป็นเน้ือหา 5 ด้าน และใช้ส่อื ออนไลน์ผสมระหว่างแอนนิเมช่นั และเกมส์ โดยมีผลการศึกษาดงั นี้ 4.1.1 การเสวนาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บ แอพพลเิ คชน่ั ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การศึกษาครั้งใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมในการระดมความ คิดเห็นจากผู้เชียวชาญ เพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ เมื่อวันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2562 ณ ดบี ูดรี ีสอร์ท จ.ปตั ตานี โดยมีผู้เช่ียวชาญเขา้ รว่ มดงั นี้ ๑) นายฮารูณ ราโอบ ๒) นายมูฮัมหมดั อาเก็ม ๓) นายตอริก ฮายบี ลิ ัง ๔) นายมะฟายซู เจ๊ะแว ๕) นายอิสมาอีล ราโอบ ๖) นายซลุ กอณนัยน์ เบญ็ ยา ๗) นายมามดั ฮาซวู ัน อูมา ๘) นายมุสลิม ดเี ยาะ ๙) นายยทุ ธพงศ์ คล่องแคลว่ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญที่มาร่วมระดมความคิดเห็น คือ นายฮารูณ ราโอบ นายมูฮัมหมัด อาเก็ม และ นายตอริก ฮายีบิลัง เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญด้านความรู้ของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ ในขณะที่ นายมะฟายซู เจ๊ะแว เปน็ ผู้มีความเชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชนั่ ในการการศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่นผู้วิจัยดำเนินการศึกษาข้อมูล โดยจัดกิจกรรมศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ โดยให้ผู้เช่ียวชาญแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่เกี่ยวข้องที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้น โดยถอดบทเรียนของหลัก มะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ หลงั จากน้ันให้ผ้เู ช่ียวชาญทุกคนร่วมกันวเิ คราะห์ เพือ่ เลอื กข้อคิดเห็นแต่ละประเด็น มาสรปุ เป็นประเด็นรวบยอด

48 ภาพท่ี 4.1 กจิ กรรมศกึ ษาการศึกษาแนวทางของหลกั มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บ แอพพลิเคช่ัน

49 ภาพที่ 4.2 กิจกรรมศึกษาการศึกษาแนวทางของหลกั มะกอศิดอัชชะรีอะฮส์ ่กู ารประยุกตใ์ ช้การพัฒนาเว็บ แอพพลิเคช่ัน (ตอ่ )

50 จากการศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์สู่การประยุกตใ์ ช้การพฒั นาเว็บแอพพลิเคช่ัน แล้วผู้วิจัยจะนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์เพื่อกำหนดออกมาเป็นประเภทต่างๆของหลักมะกอศิด อัชชะรีอะฮ์ ประเภทของหลกั มะกอศดิ อชั ชะรอี ะฮ์ ภาพท่ี 4.3 ประเภทของหลักมะกอศิดอชั ชะรอี ะฮฺ และไดส้ งั เคราะหเ์ อกสารเพิ่มเติมต่อบทบัญญตั ิมะกอศดิ อชั ชะรอี ะฮฺ ดังน้ี

51 มะกอซดิ ชารีอะ (เป้าหมายของบทบัญญัติอิสลาม) 1. คำนยิ าม คอื ความหมายและปรชั ญาหรอื อื่น ๆท่ถี กู ดแู ลเอาใจใส่โดยพระเจา้ ในการวางหลักการท้ังโดยรวม และเฉพาะจดุ ประสงคเ์ พ่ือรกั ษาความม่นั คงในประโยชนข์ องมนุษย์ 2. มิติตา่ ง ๆ มะกอซดิ ชารอี ะในมิติต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 7 มติ ิ คือ มติ ทิ ี่ 1 คือ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซดิ ) ในมติ ิประโยชน์ท่ีจะต้องรกั ษา มิติที่ 2 คือ ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซดิ ) ในมติ สิ ถานะของเป้าหมาย มิติท่ี 3 คือ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซดิ ) ในมติ ิความครอบคลุม มติ ทิ ี่ 4 คือ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซิด) ในมติ แิ หล่งอ้างองิ และที่มา มิตทิ ี่ 5 คือ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซดิ ) ในมิตเิ วลาทีไ่ ดร้ ับผล มติ ิที่ 6 คือ ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด) ในมิตคิ วามชัดเจนและความคลมุ เครือ มิติที่ 7 คือ ประเภทเปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ ) ในมิติความเกี่ยวขอ้ งต่อประชาชาตโิ ดยรวม และปจั เจกชน 3. ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด) ในมิติประโยชนท์ จี่ ะตอ้ งรักษา เปา้ หมายแหง่ บทบญั ญตั ิในมิติประโยชน์ทจ่ี ะต้องรักษาหรือระดบั สถานะของประโยชน์แบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 1. เป้าหมาย(หลกั มากอซิด) ด้านความจำเปน็ 2. เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ ) ด้านความตอ้ งการ 3. เปา้ หมาย(หลักมากอซิด) ด้านการเสรมิ แต่ง เป้าหมาย (หลักมากอซดิ ) ด้านความจำเปน็ 1) คำนยิ ามของความจำเปน็ คือ ประโยชน์ทป่ี ระกอบไปด้วยการรกั ษาซึ่งเป้าหมายใดเป้าหมายหน่งึ จากเป้าหมายทัง้ ห้า คือ รกั ษาศาสนา รักษาชีวติ รกั ษาสติปญั ญา รกั ษาวงศ์ตระกลู และรักษาทรพั ย์สิน อชั ชาตีบไี ด้ให้คำนิยามว่า (ส่ิงทจ่ี ำเป็นในการรักษาประโยชนข์ องศาสนาและของโลก ซ่งึ หากมัน บกพร่องแน่นอนประโยชนใ์ นโลกจะไม่ม่ันคงยงิ่ ไปกว่าน้นั จะทำให้เกิดความเสยี หาย ความขดั แยง้ ความ พนิ าศในชวี ติ น้ี และในโลกหน้าจะไม่ได้รับความสำเรจ็ ความจำเริญ และจะขาดทุนอย่างมหาศาล

52 2) หลกั ฐานวา่ ดว้ ยหลักชารีอะฮใฺ นการรักษาความจำเป็นทั้ง 5 1. ผลสำรวจจากหลกั ฐานตา่ ง ๆ ของบทบัญญตั ิท้ังหมดซึ่งได้บ่งช้ีใหร้ กั ษาความจำเปน็ ทั้งหา้ 2. หลักฐานทลี่ ะเอียดจากอัลกรุ อานและอลั ฮาดษิ อัลลอฮ์ ทรงตรัสว่า (( จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่าท่านทั้งหลายจงมากันเถิด ฉันจะอ่านให้ฟังสิ่งท่ี พระเจ้าของพวกท่านไดห้ ้ามไว้แก่พวกท่านคือ พวกเจา้ อยา่ ให้ส่ิงหนึ่งส่ิงใดเป็นภาคีกับพระองค์ และจงทำ ดีต่อผู้บังเกิดเกล้าท้ังสองจริง ๆ และอย่าฆ่าลูกของพวกเจ้า เนื่องจากความจนเราเป็นผู้ให้ปัจจัยยังชีพแก่ พวกเจ้า และแก่พวกเขา และจงอย่าเข้าใกล้บรรดาสิ่งชั่วช้า ทั้งที่เปิดเผยและที่ปกปิด และอย่าฆ่าชีวิต ที่อลั ลอฮท์ รงห้ามไว้ นอกจากดว้ ยสิทธอิ นั ชอบธรรมเท่านัน้ นัน่ แหละท่ีพระองคไ์ ด้ทรงสง่ั เสยี มันไว้แก่พวก เจา้ เพอ่ื ว่าพวกเจา้ จะใช้ปญั ญา(151)และจงอย่าเข้าใกล้ทรพั ย์สมบตั ขิ องเดก็ กำพร้า นอกจากด้วยวิถีทางท่ี ดียิ่ง จนกว่าเขาจะบรรลุวยั ฉกรรจ์ และจงใหค้ รบเต็มซง่ึ เคร่ืองตวงและเครอื่ งช่ังดว้ ยความเท่ยี งตรง เราจะ ไม่บังคับชีวิตนั้นมีความสามารถเท่านั้นและเมื่อพวกเจ้าพูด ก็จงยุติธรรม และแม้ว่าเขา จะเป็นญาติที่ ใกล้ชิดก็ตาม และต่อสัญญาของอัลลอฮ์นั้นก็จงปฏิบัติตามให้ครบถ้วย นั่นแหละที่พระองค์ได้ทรงสั่งเสีย มันไวแ้ กพ่ วกเจ้า เพ่อื วา่ พวกเจา้ จะได้รำลึก(152)และแท้จรงิ น้ีคือทางของขา้ อนั เท่ียงตรงพวกเจ้าจงปฏิบัติ ตามมันเถิด และอย่าปฏิบัติตามหลาย ๆ ทาง เพราะมันจะทำให้พวกเจ้าแยกออกไปจากทางของพระองค์ นนั่ แหละท่ีพระองค์ไดส้ ่งั เสยี มนั ไว้แก่พวกเจ้า เพ่อื วา่ พวกเจา้ จะยำเกรง(153) )) ดังนน้ั การรักษาความจำเป็นแบ่งออกเป็น 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1. รักษาศาสนา 2. รักษาชวี ติ 3. รักษาสตปิ ญั ญา 4. รกั ษาวงศ์ตระกูล 5. รักษาทรัพยส์ นิ 1. เป้าหมายของการรักษาศาสนา แทจ้ รงิ สิ่งสำคญั ทส่ี ดุ ของหลกั มากอซิด คือ การรักษาศาสนาซ่งึ เป็นหวั ใจหลกั ของหลักของมากอ ซิดทงั้ หมดและจิตวิญญาณของมนั และสงิ่ อ่นื ๆนนั้ เป็นเพยี งกิง่ กา้ นสาขาทขี่ าดมันไม่ได้ประดจุ ดง่ั กิ่งก้านที่ ตอ้ งการลำต้น ซึ่งจะอยุ่ไม่ได้ด้วยปราศจากลำตน้ ประเด็นสำคัญของการรักษาศาสนา 1. ความหมายของศาสนา 2. สื่อของการรักษาศาสนา 3. ความสมั พนั ธ์ของการรกั ษาศาสนากบั หลักมากอซดิ อนื่ ๆ

53 1) ความหมายของศาสนา คือ ศาสนาท่ีถกู ต้องที่ถูกประทานลงมาจากพระเจา้ แหง่ สากลโลกท่ีปราศจากการอตุ ริผิดเพ้ียน ซึ่งไม่ใช่ศาสนาทั่วไปและท่ีถูกประทานลงมายงั นบีมูฮมั หมัด (ซ.ล) คอื ศาสนาอสิ ลามทีบ่ ริสุทธิ์ ดงั น้นั ศาสนาคือศูนย์รวมหลักความเชอ่ื และหลกั พนื้ ฐานของอบิ าดะและกฎตา่ งที่อัลลอฮ์ ( ซ.บ) ไดท้ รงบญั ญตั ิ เพอ่ื จักระบบความสมั พนั ธ์ระหว่างมนษุ ย์กับพระเจ้าและระหวา่ งมนษุ ย์ 2) สื่อของการรกั ษาศาสนา อัลลอฮ์ได้ทรงบัญญัตสิ ื่อตา่ ง ๆ ทีท่ ำให้การรกั ษาศาสนาน้ันสมบรู ณ์ และการรักษาศาสนาแบ่ง ออกเป็น 2 ดา้ น 1. ด้านทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ิ คอื การรกั ษาโครงสรา้ งหลกั ของศาสนา เช่น 1.1 จำเปน็ ท่ีจะศรัทธาต่อหลักศรัทธาตามแนวทางของชาวสลัฟ 1.2 ปฏบิ ตั ติ ่อหลักรูก่นอสิ ลาม 1.3 ใช้หลักการฮูกม่ อสิ ลามเผยแผ่สอู่ ิสลาม 2. ดา้ นทีห่ ้ามปฏบิ ตั ิ คอื การตอ่ ตา้ นความเสียหายท่จี ะเกดิ ขึน้ หรอื อาจจะเกิดขึ้นตต่อศาสนา เช่น 2.1 ตอ่ สู้ต่อการอุตริและการต้งั ภาคี 2.2 ต่อตา้ นทุกสิง่ ที่ขัดแยง้ ของศาสนาจากคพูดหรอื การกระทำ 2.3 ห้ามใหว้ ินจิ ฉยั (ฟตั วา) ที่ผิดเพ้ียนและเปลย่ี นแปลงฮูกม่ 2.4 ความสัมพันธ์ของการรักษาศาสนากับหลักมากอซดิ อนื่ ๆ แท้จริงศาสนานั้นคือพ้ืนฐานของหลักมากอซดิ ทั้งหมด เมื่อใดที่เรอื่ งศาสนาเสียหายเรื่องของโลกก็ จะเสยี หายทนั ที เกณฑ์การประเมินทีด่ ีและเกณฑ์กำหนดทมี่ ีความยตุ ิธรรมจะหายไปเช่นกนั และมนุษยก์ ็จะตาม อารมณ์ใฝ่ต่ำของตนเอง ด่ังหลกั ฐานในอลั กรุ อาน อัลลอฮ์ (ซ.บ) ทรงตรัสว่า ((และหากว่าความจริงน้ันสอดคลอ้ งอารมณ์ ใฝ่ตำ่ ของพวกเขาแลว้ ช้นั ฟา้ ทง้ั หลาย และแผน่ ดนิ และส่ิงที่อยู่ในนัน้ ต้องเสยี หายอยา่ งแนน่ อน แตท่ ว่าเรา ได้นำข้อเตือนสตขิ องพวกเขา (คอื อลั กุรอาน) มาให้พวกเขาแล้ว แตพ่ วกเขาเปน็ ผหู้ นั หลงั ให้กบั ข้อ เตือนสติของพวกเขา )

54 เปา้ หมายของการรักษาชีวิต ชารีอะห์อิสลามนั้นให้ความสำคัญต่อชีวิตอย่างสูง จึงได้มีบทบัญญัติว่าด้วยสิ่งที่จะนำมาซ่ึง ประโยชน์แก่ชีวิตและปกป้องความชัว่ ร้ายแก่ชีวติ โดยท่ีมกี ารรักษาและปกป้องอยา่ งสูงสุด ปกป้องต่อการ ทำร้ายชีวิตเพราะว่าการนำชีวิตไปเสี่ยงต่อความอันตรายและความหายนะนั้นเป็นเหตุให้ไม่ส ามารถ สกั การะต่ออัลลอฮ์ (ซ.บ)ได้ ประเด็นสำคัญของการรักษาชวี ติ 1. ความหมายของชวี ิต 2. สือ่ การรกั ษาชวี ติ 1. ความหมายของชีวติ คือ ชวี ติ ที่ถูกรักษาโดยอสิ ลามหรือจา่ ยภาษีหรือสงบหรือสนธสิ ัญญา 2. สื่อการรักษาชวี ติ อัลลอฮ์ได้ทรงบญั ญตั สิ ่อื ต่าง ๆ ทท่ี ำให้การรักษาชีวติ นนั้ สมบูรณ์ และการรักษาชีวิตแบ่งออกเปน็ 2 ดา้ น ก- ด้านทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ิ คือ การรกั ษาโครงสร้างหลกั ของชวี ิต เชน่ 1. จำเป็นต้องรบั ประทานอาหาร เคร่อื งดื่ม ใสเ่ ครอ่ื งน่งุ ห่ม และอ่ืนๆทจี่ ำเปน็ ต่อการดำรงชีวิ 2. สามารถกระทำสิง่ ทต่ี อ้ งหา้ มเม่อื อยู่ในสภาพท่จี ำเป็น 3. สรา้ งความสัมพนั ธ์ต่อเพ่ือนมนษุ ย์ในระดับทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงชวี ติ ข- ด้านทห่ี ้ามปฏบิ ตั ิ คือ การต่อตา้ นความเสยี หายทจ่ี ะเกิดขน้ึ หรอื อาจจะเกิดขน้ึ ต่อชวี ิต เช่น 1. ห้ามนำพาชวี ติ ไปสู่ความหายนะ 2. ไมอ่ นุญาตต่อสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายตอ่ ตวั เองหรอื เป็นสาเหตุทก่ี อ่ อันตรายต่อผ้อู นื่ 3. ไมอ่ นุญาตต่อสง่ิ ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดการออ่ นแอของรา่ งการหรือปว่ ย 4. หา้ มฆา่ ชวี ิตโดยไร้สิทธิ 5. ไมอ่ นุญาตให้ทำร้ายชวี ติ 6. ป้องกนั สิ่งทีอ่ าจจะนำไปสู่การเขน่ ฆ่า เป้าหมายของการรักษาสตปิ ัญญา สตปิ ัญญา คอื ความดีงามและความโปรดปราณทย่ี ิง่ ใหญ่ท่ีอัลลอฮ์ได้โปรดปราณใหแ้ ก่มนุษยแ์ ละ ทรงประทานความโดดเดน่ ด้านสติปัญญาใหแ้ กม่ นุษยเ์ พื่อให้แตกต่างจากสตั ว์ ดังนน้ั เม่ือใดกต็ ามท่มี นุษย์ ไร้สตปิ ัญญากจ็ ะเปรียบกบั สัตว์เดรัจฉานทีถ่ ูกชักจูงไปสคู่ วามหายนะโดยไมร่ ู้สึกตัว การงานและประโยชน์ ตา่ งๆกเ็ สียหาย

55 ประเด็นสำคัญของการรักษาสตปิ ัญญา 1. ความหมายของสตปิ ญั ญา 2. ส่ือการรักษาสตปิ ัญญา 1.ความหมายของสติปัญญา คือ ความรู้ถงึ คุณลกั ษณะของสิง่ ตา่ ง ๆในดา้ นดแี ละไม่ดี ในด้านความสมบูรณ์หรือความบกพร่อง 2. สื่อการรกั ษาสติปัญญา อลั ลอฮ์ไดท้ รงบญั ญัติสื่อตา่ ง ๆทท่ี ำให้การรักษาสตปิ ัญญาน้ันสมบูรณ์ และการรักษาสตปิ ัญญา แบ่งออกเปน็ 2 ด้าน ก- ด้านท่ีจะต้องปฏบิ ตั ิ คือ การรกั ษาโครงสรา้ งหลกั ของสตปิ ัญญา เช่น 1. การศกึ ษาและการสอนความรู้ที่มีประโยชนท์ จี่ ะนำมาซ่ึงประโยชน์ทางดา้ นศาสนาและทางโลก 2. ฝึกฝนสตปิ ัญญาให้เป็นจติ วญิ ญาณอสิ ระในด้านการเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ การปฏบิ ัติตาม หลกั ฐาน 3. พฒั นาสตปิ ญั ญาทง้ั ทางด้านวตั ถแุ ละด้านจติ วิญญาณ ด้านวตั ถุ คอื การรับประทานอาหารท่ดี ีสร้างความแขง็ แกร่งต่อร่างกายสร้างความปราดเปร่ืองต่อ สมอง ดา้ นจิตวญิ ญาณ คือ การเน้นยำ้ ในเรอ่ื งการศึกษาหาความรู้ 4. ฝึกฝนสติปัญญาให้เกิดการอนุมานที่มผี ลลพั ธ์ทีด่ ีและสามารถรับรู้ถงึ ความจริงผ่านส่อื ดงั ต่อไปนี้ 1. วางหลักสูตรทีถ่ กู ต้องสำหรับสตปิ ัญญาเพ่ือให้เกดิ ความมั่นใจ อาทเิ ชน่ ทำให้ชดั เจน ก่อนท่ีจะเช่ือ 2. เชิญชวนสกู่ ารใครค่ รวญกฎเกณฑข์ องธรรมชาตเิ พอ่ื เข้าใจมัน และวเิ คราะหส์ ง่ิ ทอ่ี ยู่ใน ธรรมชาติอย่างละเอยี ด และเชิญชวนสูก่ ารค้นคว้าและทดสอบอยา่ งละเอียดเพอื่ ใหเ้ กดิ ความมั่นใจ ข- ดา้ นที่หา้ มปฏิบัติ คือ การต่อต้านความเสียหายทจี่ ะเกดิ ขึ้นหรืออาจจะเกิดขึน้ ต่อสตปิ ญั ญา เชน่ 1. ห้ามสง่ิ ต่างๆที่ทำลายสตปิ ัญญาซงึ่ แบ่งออกเป็น 2 สว่ น 1. สงิ่ ทท่ี ำลายแบบภายนอก คือ ส่งิ ที่นำไปสกู่ ารทำลายสติปัญญา อาทิเชน่ สุรา ยาเสพติด สิ่งมึนเมาต่างๆ และอนื่ ๆ 2. สง่ิ ท่ีทำลายแบบภายใน คือ สิ่งท่ีเกดิ ข้ึนในสติปัญญาจากความคิดในทางลบในเรื่อง ศาสนา สังคม การเมือง และอน่ื ๆ จากกิจกรรมของชวี ติ ดังนน้ั สิง่ เหล่านี้ คอื สิง่ ท่ี ทำลายสตปิ ญั ญาในรปู แบบท่ีมนุษยป์ ิดกัน้ สติปัญญาของตนเองจากความคิดที่ดี

56 2. การบญั ญัติบทลงโทษทรี่ นุ แรงต่อการเสพของมึนเมาเพื่อความอนั ตรายของมนั และผลของมนั ทร่ี ุนแรง ทที่ ำร้ายบุคคลและสังคม เปา้ หมายของการรกั ษาวงศ์ตระกูล การรกั ษาวงศ์ตระกูลคือสว่ นหนึ่งของพ้ืนฐานหลกั ของชวี ิตและเปน็ สาเหตุหนึ่งของการดูแลรักษา โลก และเกดิ ความเขม้ แขง็ ของประชาชาติ และด้วยกับการรกั ษาวงศต์ ระกลู นั้นเปน็ ที่น่านับถือของคนรอบ ข้างมีฐานะสงู ส่ง ซ่งึ สามารถปกปอ้ งรักษาศาสนา ชวี ติ เกียรติยศและทรพั ย์สิน ประเด็นสำคัญของการรกั ษาวงศต์ ระกูล 1. ความหมายของวงศ์ตระกูล 2. ส่อื การรกั ษาวงศต์ ระกลู 1. ความหมายของวงศต์ ระกลู การขยายวงศต์ ระกูลและการกำเนิดเพื่อพฒั นาโลก 2. สอ่ื การรกั ษาวงศ์ตระกลู อัลลอฮไดท้ รงบัญญตั ิส่ือต่าง ๆทที่ ำให้การรักษาวงศต์ ระกูลนั้นสมบรู ณ์ และการรักษาวงศ์ ตระกลู แบง่ ออกเป็น 2 ดา้ น ก- ดา้ นทจ่ี ะต้องปฏิบตั ิ คือ การรกั ษาโครงสรา้ งหลกั ของวงศ์ตระกลู เชน่ 1. รณรงค์สง่ เสริมให้มกี ารแตง่ งาน 2. รณรงค์สง่ เสรมให้แตง่ งานกนั คนทม่ี ีลูกหลายคน 3. เปดิ โอกาสใหแ้ ต่งงานเกนิ กว่าหนึง่ คน ข- ดา้ นท่ีหา้ มปฏบิ ตั ิ คือ การต่อต้านความเสยี หายท่ีจะเกดิ ข้นึ หรอื อาจจะเกิดข้นึ ต่อวงศต์ ระกลู เช่น 1. ห้ามทำผดิ ประเวณี และกำหนดบทลงโทษผู้ท่ที ำผิด 2. หา้ มสอื่ ท่จี ะก่อให้เกิดการทำผิดประเวณี เช่น การอยกู่ ันตามลำพงั กบั เพศตรงขา้ ม โออ้ วดสัต สว่ นท่สี วยงาม มองดว้ ยอารมณ์ตนั หา สมั ผสั และใกลช้ ิดกับเพศตรงขา้ ม 3. ห้ามปฏิเสธการแตง่ งาน 4. ห้ามปรกั ปรำผอู้ ่นื วา่ ทำผดิ ประเวณี และมีการลงโทษสำหรบั ผู้ปรักปรำ 5. หา้ มทำแท้งและทำหมันยกเวน้ เม่อื อยู่ในสภาพทจ่ี ำเปน็ (ดอรรู ียะ)

57 เปา้ หมายของการรักษาทรพั ย์สิน ทรพั ยส์ ิน คือสว่ นหนึง่ จากสงิ่ ทจ่ี ำเปน็ (ดอรูรียาต)ที่ไมส่ ามารถรับประโยชนใ์ นโลกนไี้ ด้ยกเว้นด้วย กับทรัพยส์ ิน เปน็ สว่ นประกอบของชวี ิต ประโยชน์ในโลกนเ้ี กดิ ขนึ้ ด้วยทรัพย์สนิ และมนุษย์น้นั ตอ้ งการ ทรพั ย์สินเพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเองท้ังทางโลกและทางศาสนา ประเด็นสำคัญของการรักษาทรัพย์สนิ 1. ความหมายของทรัพยส์ ิน 2. สือ่ การรักษาทรัพย์สนิ 1. ความหมายของทรัพยส์ นิ คือ ทุก ๆสงิ ท่ีมนุษยไ์ ดร้ ับมาครอบครองจากวตั ถุ ธนาบัตร และอ่ืน ๆ 2. ส่อื การรกั ษาทรัพยส์ นิ อัลลอฮ์ไดท้ รงบัญญัติส่ือตา่ ง ๆทท่ี ำให้การรักษาทรัพยส์ ินนน้ั สมบรู ณ์ และการรักษาทรัพยส์ ิน แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ก- ดา้ นทจี่ ะต้องปฏิบัติ คือ การรกั ษาโครงสรา้ งหลกั ของทรัพย์สนิ เชน่ 1. รณรงค์ใหท้ ำงาน 2. หลกั พ้ืนฐานในด้านธุรกรรมทางการเงนิ หรือธรุ กิจ คอื การอนมุ ตั ยิ กเวน้ ส่ิงทมี่ หี ลกั ฐานบ่งช้ี ถงึ การหา้ ม ข-ดา้ นทห่ี า้ มปฏิบตั ิ คือ การต่อตา้ นความเสยี หายท่จี ะเกดิ ขึ้นหรืออาจจะเกิดข้นึ ต่อทรพั ย์สิน เชน่ 1. ไม่อนุญาตให้ทำลายทรัพยส์ นิ 2. ไม่อนุญาตใหท้ ิ้งทรัพยส์ นิ 3. ไม่อนุญาตให้ขโมย 4. ไมอ่ นุญาตให้ฟ่มุ เฟือย 5. ประกันความเสย่ี งของหนีส้ ินพร้อมกบั มีพยานยนื ยนั เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ด้านความต้องการ(ฮายียาต) 1. คำนยิ ามของความต้องการ(ฮายยี าต) คอื สง่ิ ท่ีถูกต้องการเพื่อความสะดวกและปฏเิ สธคความคับแคบที่จะนำไปสู่ความลำบากทจี่ ะทำ ใหไ้ ม่ไดร้ บั สง่ิ ทต่ี ้องการหากสิ่งนไ้ี ม่ได้ถูกให้ความสำคญั แน่นอนมนุษย์จะพบกบั ความลำบากแต่กไ็ ม่ถงึ ขน้ั ท่ี จะสรา้ งเสยี หายที่อาจจะกระทบตอ่ ประโยชน์โดยรวม ดงั นนั้ ความลำบากในบทบญั ญัติชารีอะหจ์ ะถูกขจัดออกท้งั ในดา้ นอบิ าดะห์ ด้านประเพณี ด้าน ธุรกรรมและดา้ นอาชญากรรมดังตวั อย่างต่อไปน้ี

58 1. อบิ าดะห์ บางครง้ั ความยากลำบากท่ีไม่บอ่ ยครัง้ นั้นเกดิ ข้นึ ในเร่อื งอิบาดะห์ดงั นั้นไดม้ ีบทบญั ญตั ิของการ อนโุ ลมเพ่ือขจดั ความยากลำบากน้ัน อาทิเช่น การอนุโลมต่อให้ปว่ ยและคนเดินทางในการไมถ่ ือศีลอดใน เดอื นรอมาฎอนด่ังท่อี ลั ลอฮ์(ซ.บ) ไดต้ รัสไว้ว่า ((ผูใ้ ดในพวกเจา้ ป่วยหรืออยใู่ นการเดนิ ทางก็ให้ถอื ใชใ้ นวันอ่นื ) และเช่นเดยี วกนั การการ ละหมาดย่อของผเู้ ดินทางดัง่ ท่ีอลั ลอฮ์(ซ.บ) ได้ตรสั ไว้ว่า (และเม่ือพวกเจา้ เดินทางไปในผนื แผน่ ดนิ ก็ไมม่ ี บาปใด ๆ แก่พวกเจา้ ในการท่ีพวกเจา้ จะลดลงจากการละหมาด หากพวกเจา้ กลัววา่ บรรดาผปู้ ฏิเสธ ศรัทธาจะข่มเหงรงั แกพวกเจา้ ) 2. ประเพณี อลั ลอฮ์(ซ.บ) ได้ทรงบัญญัติและอนุญาตใหแ้ ก่มนษุ ยส์ ง่ิ ท่ีดีและฮาลาลต่างๆหลากหลายชนดิ เพ่ือ ขจดั ความยากลำบาก เช่น ด้านอาหาร เครื่องดมื่ เส้ือผา้ ท่ีอย่อู าศยั ยานพาหนะ และอน่ื ทุกๆอย่างที่กล่าวข้างต้นอยู่ในระดบั ตอ้ งการ(ฮายยี าต) แตท่ ว่าการกนิ การด่ืม และอนื่ ๆนั้นมสี ามระดบั สงิ่ ทจี่ ำเปน็ อย่างยงิ่ อยู่ในระดับท่ีจำเปน็ (ดอรูรยี าต) นอกเหนือกว่านนั้ หากมีความลำบากเมื่อทิ้ง มนั อยู่ในระดับความต้องการ(ฮายียาต) และหากท้ิงมนั แลว้ ไม่เกิดความยากลำบากใดๆก็อยู่ในระดับเสรมิ แต่ง(ตะฮซีนียาต) 3. ธุรกรรม มนษุ ยไ์ มพ่ น้ จากความต้องการทจี่ ะทำธรุ กรรมระหว่างกนั เพราะมันเปน็ เรื่องสังคมและความ มนั่ คงของชีวติ เชน่ • อลั -อิญาเราะห์(การเชา่ ) • อสั -สะลัม(การซ้อื ขายล่วงหน้า) • อลั -มดู อรอบะห์(การลงทุนร่วม) 4. อาชญากรรม จากตัวอยา่ งของการกขจัดความลำบากในเรื่องของอาชญากรรม การบงั คับจ่ายคา่ ชดใช้ความผิดใหก้ ับญาติ(ผชู้ าย)ของผกู้ ระทำความผดิ (ฆ่าผู้อ่ืนโดยไมไ่ ด้เจตนา) ในกรณที ี่ไม่ไดม้ เี จตนาฆ่า เนื่องดว้ ยความยากลำบากจะประสบแกผ่ ูก้ ระทำความผดิ โดยไม่เจตนาหากเขา ตอ้ งรบั ผดิ ชอบค่าชดใช้ดว้ ยตวั คนเดียว 2. วตั ถุประสงค์ของหลกั มากอซิดต้องการ(ฮายียาต) 1. ขจัดความยากลำบากของมนุษย์ 2. ปกป้องรักษาหลักความจำเป็น(ดอรูรยี าต) 3. ช่วยเสริมหลกั ความจำเปน็ (ดอรูรยี าต)

59 เป้าหมาย(หลกั มากอซิด)ดา้ นการเสรมิ แต่ง (ตะฮ์ซนี ียาต) 1. คำนิยามของการเสริมแต่ง (ตะฮ์ซีนียาต) คอื ส่ิงทีย่ งั ไม่ถึงระดับความจำเป็น(ดอรรู ยี าต)และไม่ถึงระดับความต้องการ(ฮายยี าต)แต่ทวา่ อยู่ ในระดับเสรมิ แตง่ ประดบั ประดาและสะดวกง่ายดายเพ่ือความพเิ ศษเพม่ิ เตมิ และรักษาความสวยงามของ รูปแบบให้ดีท่สี ุด ตวั อย่างเชน่ การขจัดสิง่ สกปรก การประดับประดาความสวยงาม การปกปดิ เอารรัต(สัดส่วนท่ี ต้องหา้ มโดยอสิ ลาม) มารยาทการกนิ การดื่ม ห่างไกลจากอาหารและเครอ่ื งดื่มท่ีสกปรกและหา้ มขายสงิ่ สกปรก 2. ความสำคญั ของการเสรมิ แตง่ (ตะฮ์ซนี ียาต) 2.1 แทจ้ ริงด้วยกับการเสริมแต่ง(ตะฮ์ซีนียาต)บงั เกิดความสวยงามและความสมบูรณ์ของ ประชาชาติ เกิดความดงี ามของชนรุน่ หลงั และความสวยงามของระบบของประชาชาติ 2.2 แทจ้ รงิ หลกั การเสริมแตง่ (ตะฮ์ซีนียาต)ชว่ ยเสริมหลักความตอ้ ง(ฮายยี าต)และหลักความ จำเป็น(ดอรูรยี าต) 2.3 แท้จรงิ จาการบกพร่องในด้านการเสริมแต่ง(ตะฮ์ซีนียาต)ทำใหเ้ กดิ การบกพร่องทางด้านความ ตอ้ งการ(ฮายยี าต)อยา่ งใดอย่างหหน่งึ ส่วนท่ีทำให้สมบูรณ์(มกู ัมมีลาต) 1. คำนยิ ามของส่วนทีท่ ำให้สมบูรณ์ คอื สงิ่ ทมี่ าเตมิ เต็มใหส้ มบูรณ์แก่เปา้ หมายหรือปรัชญา(หลักมากอซดิ )ในด้านความจำเป็น(ดอรูรี ยาต) ดา้ นความต้องการ(ฮายียาต) และดา้ นการเสริมแต่ง(ตะฮ์ซนี ียาต)ใหด้ ีทส่ี ุดและสมบูรณ์ท่ีสุด 2. ประเภทของส่วนท่ที ำให้สมบูรณ์ สว่ นทท่ี ำใหส้ มบูรณ์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ส่วนท่ีทำใหส้ มบรู ณ์ในด้านความจำเป็น(ดอรูรียาต) 2. สว่ นทีท่ ำให้สมบรู ณใ์ นด้านความตอ้ งการ(ฮายยี าต) 3. สว่ นท่ที ำใหส้ มบูรณ์ในด้านการเสริมแตง่ (ตะฮ์ซีนียาต)

60 สว่ นที่ทำให้สมบูรณใ์ นดา้ นความจำเปน็ (ดอรูรียาต) คือ ส่ิงทเ่ี ติมเตม็ เป้าหมายของความจำเปน็ (หลักมากอซดิ ดอรูรียาต) ตวั อยา่ ง 1. หา้ มทำในส่งิ ท่ีเป็นอุตริกรรมและมีโทษสำหรบั ผกู้ ระทำ เพราะเป้าหมายหลัก(หลกั มากอซิด)คอื การรกั ษาศาสนา 2. ห้ามจำนวนน้อยจากของมึนเมา เพราะเปา้ หมายหลัก(หลักมากอซิด)คอื การรักษาสติปญั ญา ส่วนทีท่ ำให้สมบรู ณ์ในด้านความตอ้ งการ(ฮายียาต) คอื สิ่งท่เี ติมเต็มเป้าหมายของความต้องการ(หลักมากอซดิ ฮายยี าต) ตวั อย่าง 1. กำหนดความเหมาะสมและสินสอดตามประเพณีพ้นื เมืองในการแต่งงานกบั ผูห้ ญงิ ท่อี ายุยงั น้อย 2. การมสี ทิ ธเิ์ ลอื ก(ซื้อหรือยกเลิก)ในการซ้อื ขาย สว่ นท่ีทำให้สมบรู ณ์ในดา้ นการเสริมแต่ง(ตะฮ์ซีนยี าต) คือ สง่ิ ท่ีเติมเตม็ เป้าหมายของการเสรมิ แตง่ (หลักมากอซดิ ตะฮ์ซนี ียาต) ตวั อย่าง 1. ซนุ นะตา่ ง ๆของการอาบน้ำละหมาด เชน่ การเริ่มจากด้านขวาก่อนด้านซ้าย และการล้างอยา่ ง สามครัง้ และประกอบดว้ ย 3 หนา้ ท่ขี องสว่ นท่ที ำใหส้ มบูรณ์(มูกัมมลี าต) 1.1 ปกปอ้ งจากสิ่งท่นี ำไปสคู่ วามบกพร่องต่อปรชั ญาหรือเปา้ หมายของความจำเปน็ (ดอรรู ียาต) ความตอ้ งการ(ฮายียาต)และการเสริมแต่ง 1.2 ระบุเปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )รองท่ีนอกเหนือจากเป้าหมาย(หลกั มากอซิด)หลัก 1.3 สร้างความสวยงามให้แก่รปู แบบของส่ิงทถ่ี ูกทำให้สมบรู ณ(์ หลักมากอซิก) ประเภทของเปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )ในมติ ิสถานะของเปา้ หมาย ประเภทเปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )ในมติ ิสถานะของเป้าหมายแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท 1. เป้าหมาย(หลกั มากอซดิ )หลัก 2. เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)รอง เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )หลัก 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)หลัก คือ เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ท่ถี กู ประสงคแ์ ต่แรกหรือจุดประสงคแ์ รก

61 อัชชาฏบี ยี ์ได้กล่าวถึงส่งิ ทเ่ี ป็นไปได้ทจ่ี ะถูกนับว่าเปน็ กฎจากคำนยิ ามของเป้าหมาย(หลกั มากอ ซดิ )แรกทเี่ ขาไดใ้ ห้คำนยิ ามไว้ เขาไดก้ ลา่ วว่า(คือส่ิงท่ีไม่มสี ่วนให้กบั มนุษย์และมันคอื ความจำเป็น(ดอรู รยี าตที่ถกู ยอมรบั ในทุกศาสนา) ดงั นั้นจากคำนยิ ามของชาฏีบีย์ได้ใหค้ วามชดั เจนว่าแทจ้ รงิ ความหมายของเป้าหมาย(หลักมากอซดิ )แรกคอื เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ทน่ี ำไปสกู่ ารรกั ษาความจำเปน็ (ดอรรู ียาต) แทจ้ ริงแลว้ เมอ่ื พระเจา้ ไดส้ ่งั ใช้อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งดงั นัน้ เป้าหมายคือการเกิดผลสำเร็จจากส่งิ ทีส่ ่งั ส่ิงท่ที ำใหส้ ิง่ ที่ถกู สงั่ มบรู ณแ์ ละผลทเ่ี กิดข้นึ จากส่งิ ท่ีถูกสัง่ หรือผลผลติ จากสิง่ ทถ่ี ูกส่งั ทงั้ หมดคอื เป้าหมาย เช่นกนั เชน่ พระเจา้ สั่งใหล้ ะหมาด ดังนน้ั เปา้ หมายคือจากการละหมาด การอาบน้ำละหมาดเกิดขึ้นอยา่ ง สมบรู ณ์ และได้รับผลท่สี มั พนั ธก์ บั ละหมาดอย่างการถ่อมตนต่อออัลลอฮ์ การยอมจำนนและการหา้ ม ปรามจากความชั่ว เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )รอง 1. คำนยิ ามของเปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )รอง คอื เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ท่ตี ามเป้าหมาย(หลักมากอซิด)หลกั โดยท่ีเปา้ หมายรองนัน้ จะบรรลุ เพอื่ ทำใหเ้ ปา้ หมายหลักชัดเจนยง่ิ ข้นึ หรือบรรลุพร้อมกับเป้าหมายหลักหรอื หลังจากเปา้ หมายหลัก อชั ชาฏีบยี ไ์ ด้กลา่ วถึงสิ่งทส่ี ามารถยึดถือใหเ้ ป็นกฎสำหรับเป้าหมาย(หลักมากอซดิ )รอง โดยทเี่ ขา ไดก้ ล่าวว่า(เปา้ หมายที่เอาใจใส่ในสว่ นของมนุษย์) ตัวอย่าง ก- จากคำสั่งใช้หรือความต้องการของบทบญั ญัติ เชน่ 1. การละหมาด โดยมเี ปา้ หมายเพ่ือบรรลุองคป์ ระกอบหลักของการละหมาด หรอื เปา้ หมาย เพ่ือได้รบั ผลตอบแทน ข- จากจดุ ประสงคข์ องมนุษย์ 1. การแต่งงาน โดยบางครง้ั ผู้ชายแตง่ งานกบั ผหู้ ญิงเพราะความงามหรือทรพั ยส์ นิ หรือชาติ ตระกูลของนาง 2. ประเภทของเปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )รองและกฎแต่ละประเภท ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซิด)รองในดา้ นความกระชบั ตอ่ เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)หลัก แบง่ เปน็ 3 ประเภท 1. ประเภททีเ่ พม่ิ ความชดั เจน ความม่นั คง ความสัมพันธ์ ความมนั่ ใจและความหลงใหลต่อ เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)หลัก

62 - กฎของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)น้ี ถูกต้อง 2. ประเภทท่ีลบลา้ งเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)หลัก - กฎของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)น้ี ไมเ่ ปน็ ทีอ่ นุญาตเน่อื งจากมเี ป้าหมายท่ตี รงกันข้ามกับ เป้าหมายของผทู้ รงบญั ญัติ 3. ประเภทที่ไม่เพิม่ ความชัดเจนและความสัมพันธแ์ ต่ทวา่ ไม่ได้ลบล้างเปา้ หมาย(หลกั มากอซิด) หลกั - กฎของประเภทนี้ไมช่ ดั เจนระหวา่ งสองประเภททีไ่ ด้กลา่ วข้างต้น อาจจะจัดอยู่ในประเภทท่ีสอง เน่อื งจากไมเ่ พม่ิ ความชดั เจนต่อเปา้ หมายหลัก และอาจจะจัดอย่ใู นประเภททหี่ น่งึ เน่ืองจากไม่ได้ มคี วามตรงกนั ข้ามกับเปา้ หมายของผู้ทรงบัญญัติ ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ในมิตคิ วามครอบคลุม ประเภทของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ในมิตคิ วามครอบคลมุ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )ทวั่ ไป 2. เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )เฉพาะ 3. เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )บางสว่ น เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ท่ัวไป 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ท่วั ไป คอื เปา้ หมายและจดุ ประสงค์ต่าง ๆทบ่ี ทบญั ญัตชิ ารีอะห์ถูกกำหนดขน้ึ เพ่ือรกั ษาเป้าหมายและ จุดประสงคใ์ นทกุ ๆดา้ นหรือส่วนใหญ่ ตวั อย่าง 1- การกราบไว้อลั ลอฮ์ 2- การรักษาหลักความจำเป็นท้ังหา้ 3- เกบ็ เกย่ี วประโยชน์และปัดปอ้ งความเสียหาย 4- ความงา่ ยดายและการขจดั ความยากลำบาก 5- ความยตุ ิธรรม

63 เป้าหมาย(หลักมากอซิด)เฉพาะ 1. คำนยิ ามของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)เฉพาะ คอื ปา้ หมาย วัตถุประสงค์และความหมายทเี่ ฉพาะหมวดใดหมวดหนง่ึ หรอื หลาย ๆหมวดท่ี ใกล้เคียงกนั หรอื บางด้านจากบทบญั ญัติ ดงั กลา่ วน้นั เช่นเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ดา้ นอบี าดะหท์ ง้ั หมด เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ดา้ นมูอา มาลาต เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ดา้ นญีนาญาต เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ของหมวดใดหมวดหนึง่ ของ บทบัญญัติเช่น เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ทเี่ กย่ี วกบั หมวดความสะอาดท้งั หมดหรือหมวดการซอื้ ขาย ตัวอย่างสำหรบั เป้าหมาย(หลักมากอซิด)เฉพาะ 1. เป้าหมาย(หลกั มากอซิด)ดา้ นอีบาดะห์ คือ การนอบน้อมต่ออัลลอฮ์และการจำนนต่อพระองค์ 2. เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ดา้ นมอู ามาลาต คือ การไดร้ บั ผลประโยชน์ของมนุษยจ์ ากการทำ ธุรกรรมระหว่างกัน 3. เป้าหมาย(หลกั มากอซดิ )ดา้ นญนี าญาตและฮูดดู คือ การปรบั ทศั นคติและการตกั เตือนแก่อาชญา กรจากการไปก่ออาชญากรรม และเตอื นผู้อนื่ จากผู้ท่ีต้องการปฏิบตั เิ ย่ียงอาชญากร เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )บางส่วน 1. คำนิยามเป้าหมาย(หลักมากอซิด)บางส่วน คอื เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ท่เี กย่ี วกับหัวข้อหนง่ึ เทา่ นั้น ดงั กลา่ วนน้ั เชน่ เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ของหัวข้อเฉพาะเร่ืองการอาบน้ำละหมาดหรือการ ละหมาดหรือการซื้อขายหรืออน่ื ๆ ตวั อยา่ ง 1. เป้าหมาย(หลกั มากอซดิ )ของผู้ทรงบัญญัติในเรื่องการตะยัมมมุ คือ ใหค้ วามสะดวกแก่มนษุ ย์ ประเภทของเปา้ หมาย (หลักมากอซิด )ในมติ ิแหลง่ อ้างอิงและท่ีมา ประเภทของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ในมิตนิ ้ี แบง่ เป็น 2 ประเภท 1. เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ของผทู้ รงบัญญตั ิ 2. เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ของมนษุ ย์ เป้าหมาย (หลักมากอซิด) ของผู้ทรงบญั ญัติ 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ของผู้ทรงบัญญตั ิ คอื เปา้ หมายและจุดประสงค์ทอี่ ัลลอฮท์ รงประสงค์ใหเ้ กิดข้ึนจากการกำหนดบทบัญญัติ คำสง่ั ใช้ และคำสง่ั หา้ มของพระองค์

64 2. ประเภทของเปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ของผู้ทรงบญั ญตั ิ อัชชาฏีบีย์ไดแ้ บ่งเป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ของผูท้ รงบัญญัตไิ ว้ 4 ประเภท 1. เป้าประสงค์ของผู้ทรงบญั ญัติจากการกำหนดบทบญั ญัติแต่แรกเร่มิ เพ่ือใหค้ วามสำคัญต่อประโยชน์ของ มนุษย์ทง้ั สองโลก ดังกลา่ วนน้ั แทจ้ รงิ ข้อบังคบั จากบทบัญญัติน้ันเป้าประสงค์เพ่ือรักษาประโยชนข์ องมนษุ ย์ และประโยชนท์ ่ี กล่าวในประเภทนี้มสี ถานะสามระดับคือ ความจำเปน็ ความต้องการและการเสรมิ แตง่ 2. เป้าประสงค์ของผู้ทรงบัญญตั ิจากการกำหนดบทบญั ญัติเพ่ือทำความเขา้ ใจ ดังกลา่ วน้นั แท้จรงิ การเข้าใจบทบญั ญตั นิ ั้นต้องมาจากการเขา้ ใจหลกั และสำนวนของภาษาอาหรบั 3. เป้าประสงค์ของผู้ทรงบัญญตั ิจากการกำหนดบทบัญญตั ิเพื่อบงั คับใชใ้ ห้เหมาะสมกบั จดุ ประสงค์ของ บทบญั ญัติ ดังกลา่ วนัน้ แท้จริงผู้ทรงบัญญตั จิ ะไม่บังคบั ใช้มนษุ ย์ในส่งิ ทเี่ กนิ ความสามารถ 4. เปา้ ประสงค์ของผู้ทรงบัญญตั ิจากการกำหนดบทบญั ญตั เิ พ่ือใหม้ นุษยร์ ่วมปฏิบัติตามบทบญั ญัติ ดังกล่าวน้ัน มนุษยจ์ ะได้ออกห่างจากอารมณใ์ ฝ่ต่ำ และจะเปน็ บา่ วของพระองค์อยา่ งเสรภี าพและยอมรับ เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ของมนุษย์ 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ของมนุษย์ คือ เป้าหมายท่ีมนุษยป์ ระสงคใ์ นวถิ ชี วี ติ ทั้งด้านความเชอ่ื คำพูดและการกระทำ ดังนน้ั เป้าหมายของมนุษย์น้ีเปน็ วัตถุประสงค์ที่แยกระหวา่ งเจตจำนงที่ถูกต้องกับไม่ถกู ต้อง ระหว่างอีบา ดะหก์ ับขนบประเพณีและระหวา่ งบรสิ ุทธ์ติ ่ออลั ลอฮ์กับโอ้อวดและช่อื เสยี ง ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ในมิตเิ วลาที่ได้รบั ผล ประเภทของเปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ในมิตนิ ้ี แบง่ เปน็ 2 ประเภท 1. เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ทีบ่ รรลุในโลกหนา้ 2. เปา้ หมาย(หลกั มากอซดิ )ทีบ่ รรลุในโลกนี้ เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ที่บรรลใุ นโลกหน้า 1. คำนิยามของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ทีบ่ รรลุในโลกหน้า คือ สง่ิ ท่ีทำให้ไดร้ ับผลประโยชนท์ ีส่ ัมพนั ธต์ ่อโลกหน้าเป็นประการแรก ดังกว่าวน้นั ก็ไม่ได้ปฏิเสธ จากการได้รับประโยชน์ในโลกนี้ เช่นการรู้จักซึ่งกันและกันในเทศกาลฮัจย์ การยับยั้งความชั่วและสิ่งเลว ทรามจากการละหมาด ความรักและการชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกนั จากการใหซ้ ากาต

65 เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ทบี่ รรลใุ นโลกนี้ 1. คำนยิ ามของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ท่ีบรรลใุ นโลกนี้ คอื สง่ิ ที่ทำให้ได้รับผลประโยชนท์ ่เี กิดข้นึ ในโลกนี้ หรือปกป้องจากความช่วั รา้ ยในโลกน้ี เปา้ หมาย ที่บรรลุในโลกนี้ซึง่ ได้กลา่ วไว้ในประเภทที่หนึ่ง ก็คือการรูจ้ ักซึ่งกันและกันในเทศกาลฮัจย์ การยับยั้งความ ชวั่ และสิ่งเลวทรามจากการละหมาด ความรักและการช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั จากการใหซ้ ากาตและอน่ื ๆ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซิด)ในมิติความชดั เจนและความคลุมเครือ ประเภทของเป้าหมาย(หลกั มากอซิด)ในมิตคิ วามชดั เจนและความคลุมเครือแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ท่ชี ดั เจน 2. เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ที่คลุมเครือน้อย 3. เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ทีค่ ลุมเครอื มาก เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ทช่ี ดั เจน 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซดิ )ทชี่ ัดเจน คือ เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ทม่ี หี ลกั ฐานรองรับจำนวนมากจากหลักฐานแห่งบทบญั ญัติชารอี ะห์ ตัวอย่าง เช่น ความงาน การขจัดความยากลำบาก มีความยุตธิ รรม หลกั ความจำเป็นทัง้ ห้า เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ทคี่ ลุมเครอื น้อย 1. คำนยิ ามของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ที่คลุมเครือนอ้ ย คือ เป้าหมายทอี่ ยู่ในระดับทไี่ ม่ถงึ ข้นั ชัดเจนและแนน่ อน และหลากหลายมุมมอง ตัวอยา่ ง เชน่ เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด)ของการหา้ มไวนจ์ ำนวนน้อยท่ียังคลุมเครอื จากการมึนเมาที่ทำลาย สติปัญญา เป้าหมาย(หลักมากอซิด)ท่ีคลุมเครอื มาก 1. คำนิยามของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ทีค่ ลุมเครือมาก คอื เป้าหมายท่มี โนขนึ้ ว่ามสี ิง่ ท่ีดีและประโยชนห์ รอื ขจดั ส่งิ ไม่ดีและส่ิงช่ัวร้าย แตเ่ มื่อคิดอยา่ ง ละเอียดปรากฎว่าความจรงิ ไม่เปน็ เชน่ น้นั ประเภทน้ีถูกปฏเิ สธและเป็นโมฆะ ตัวอยา่ ง การรับประทานยาเสพตดิ เพราะประโยชน์ที่ผสมอยู่ในโทษ

66 ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ในมติ คิ วามเก่ียวข้องต่อประชาชาติโดยรวมและปัจเจกชน ประเภทของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ในมิตนิ ี้ แบง่ เปน็ 3 ประเภท 1. เป้าหมาย(หลกั มากอซดิ )ทง้ั หมด 2. เป้าหมาย(หลักมากอซิด)สว่ นใหญ่ 3. เป้าหมาย(หลักมากอซดิ )เฉพาะหรอื ปัจเจกชน เปา้ หมาย(หลกั มากอซิด) ท้ังหมด 1. คำนยิ ามของปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )ท้ังหมด คอื เป้าหมายทเี่ ก่ยี วข้องกบั มนุษย์ท้งั ปวง และประโยชน์จะกลบั คนื สู่ประชาชาตโิ ดยรวม ตวั อย่าง เชน่ รกั ษาอลั กรุ อานและอัซ-ซุนนะมิใหผ้ ิดเพ้ียนเปลี่ยนแปลงสับเปล่ียน สร้างความยตุ ธิ รรม และ สร้างคุณธรรมจริยธรรมทีด่ ี เปา้ หมาย(หลักมากอซิด)ส่วนใหญ่ 2. คำนิยามของเป้าหมาย(หลักมากอซิด)ส่วนใหญ่ คือ เป้าหมายทีม่ ีความเก่ยี วข้องกบั มนุษย์สว่ นใหญ่และป้องกนั มนษย์จากความช่ัว ตวั อย่าง เชน่ การประกันการผลติ การออมทรัพยไ์ ว้ในสถาบันการเงนิ อิสลาม และการรักษาผู้ปว่ ยใน โรงพยาบาลและคลนิ กิ เปา้ หมาย(หลักมากอซดิ )เฉพาะหรอื ปจั เจกชน 3. คำนยิ ามของเปา้ หมาย(หลักมากอซิด)เฉพาะหรือปัจเจกชน คือ เป้าหมายทีก่ ลับไปยังบคุ คลเฉพาะ ตัวอยา่ ง - ประโยชน์จากการตัสสนิ ต่อการยกเลิกการเป็นสามภี รรยาของคู่ครองที่หายสาบสูญ - ประโยชน์จากการตัดสินต่อการหมดอิดดะห(์ เวลาของการรอคอย)ของผ้หู ญิงท่ปี ระจำเดอื นไมม่ า หลายเดือน 4.1.2 การถอดบทเรียนหลกั มะกอศดิ อชั ชะรอี ะฮ์ ประโยชน์ทีจ่ ะต้องรักษา 1. ความจำเป็น (สิ่งทจ่ี ำเป็นอยา่ งย่ิงเพื่อความมัน่ คงของผลประโยชนท์ ั้งสองโลก และหาก เมอ่ื ใดทป่ี ราศจากสง่ิ เหลาน้ีความเสียหาย ความขดั แยง้ และความหายนะจะเกิดข้ึน)

67 ตารางที่ 4.1 สื่อดา้ นต่าง ๆ ของหลักมากอซดิ ดา้ นความจำเปน็ หลกั มากอศิด ส่ิงปฏบิ ตั ิหรือห้ามปฏบิ ตั ิ/ (ส่ิงทจี่ ำเป็น/ฏอรรู อต) การรักษาศาสนา (พ้นื ฐานหลักของ • ละหมาด(วายิบ) จา่ ยซากาต ศรทั ธาต่อออัลลอฮ์ และอน่ื ๆ อากดี ะ • ห้ามทำอุตรกิ รรม หา้ มตงั้ ภาคี และอน่ื ๆ อีบาดะ) การรักษาชีวิต • รบั ประทานอาหาร เครื่องดืม่ ใสเ่ ครอื่ งนงุ่ ห่มในระดับท่จี ำเป็น ในการดำรงอยู่ของชวี ิต และอื่น ๆ • หา้ มสง่ิ ทกี่ ่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อตัวเองหรือเปน็ สาเหตุท่กี ่อ อันตรายต่อผูอ้ ่นื ห้ามทำรา้ ยชวี ิต และอน่ื ๆ การรกั ษาสตปิ ัญญา • ศกึ ษาและสอนความรทู้ ่ีมีประโยชน์ ฝกึ ฝนสติปัญญา และอื่น ๆ • ห้ามสิ่งต่าง ๆที่ทำลายสติปญั ญา เช่น สรุ า ยาเสพตดิ สง่ิ มนึ เมา ต่าง ๆ ความคิดในทางลบในเร่อื งต่าง ๆ และอน่ื ๆ การรักษาวงศ์ตระกูล • แต่งงาน และอน่ื ๆ • ห้ามผิดประเวณี และอ่นื ๆ การรกั ษาทรพั ยส์ นิ • ทำงานหารายได้ และอนื่ ๆ • ห้ามทำลายทรัพย์สนิ ห้ามขโมย หา้ มฟ่มุ เฟือย และอื่น ๆ ข้อสรุปคือ สิ่งใดที่ถูกปฏิบัติหรือไม่ถูกปฏิบัติแล้วก่อให้เกิดการดำรงอยู่หรือหายไปของความ จำเป็นท้งั ห้า (ฎอรรู ียาต) สิ่งนนั้ คือส่อื ท่ีถกู จัดอย่ใู นกลุ่มหลักมากอซดิ อัฎ-ฎอรรู ียาต (เปา้ หมายด้านความ จำเป็น) และสื่อการรักษา มี 2 มิติ 1) มิติที่หนึ่ง การปฏิบัติสิ่งที่ทำให้ความจำเป็นทั้งห้าดำรงอยู่ และ 2) มิตทิ ส่ี อง การยับย้ังห้ามปรามสิง่ ท่ีทำให้หรอื อาจจะทำใหค้ วามจำเป็นทัง้ หา้ หายไป 2. ความต้องการ (สิ่งที่ถูกต้องการเพื่อขจัดความยุ่งยากซึ่งโดยปกติแล้วจะก่อให้เกิดปัญหาและ ความลำบากทที่ ำใหไ้ มบ่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ แต่ทว่าไม่ก่อให้เกดิ ความเสยี หายต่อประโยชนโ์ ดยทัว่ ไป)

68 ตารางที่ 4.2 ส่ือดา้ นตา่ ง ๆ ของหลักมากอซิดด้านความตอ้ งการ หลักมากอศิด ด้านต่าง ๆ สอื่ /ปฏิบัติหรือหา้ มปฏิบตั ิ/(สิง่ ท่ตี ้องการ/ฮาญาต) ความง่ายดาย อบี าดะห์ การน่ังละหมาดของผู้ปว่ ย การยอ่ ละหมาดของผู้ สะดวกและขจัด เดินทาง และอน่ื ๆ ความยุ่งยาก ความ มูอามาละห์ การซื้อขายโดยจ่ายล่วงหนา้ รับของทีหลงั การลงทนุ ร่วม คบั แคบ อปุ สรรค การหยา่ และอื่น ๆ ปัญหา/(และอื่น ๆ) อาดะห์ การล่าสตั ว์ การใช้ยานพาหะนะเมื่อเดนิ ทาง และอ่ืน ๆ ญนี ายะห์ การแบ่งค่าชดใชค้ วามผิดให้กับญาต(ิ ผูช้ าย)ของผ้กู ระทำ ความผดิ (ฆา่ ผู้อืน่ โดยไม่ได้เจตนา)และอ่นื ๆ ข้อสรุปคือ นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วจะเกิด ความลำบาก ความคบั แคบ อุปสรรค ความยุ่งยากและปัญหา สงิ่ เหลา่ นั้นคอื ส่ือทีถ่ ูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมา กอซดิ อัล-ฮาญียาต (เป้าหมายดา้ นความตอ้ งการ) อีบาดะห์ คอื การสักการะพระเจ้า มูอามาละห์ คอื ธรุ ะระหวา่ งมนษุ ย์ อาดะห์ คอื ประเพณี กจิ วัตร ญนี ายะห์ คอื อาชญากรรม อุปสรรคหรือปัญหาเมื่อประสบกับการปฏิบัติสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ (ฎอรูรอต) จึงต้องมีสิ่งที่ขจัด อปุ สรรคน้ัน ดงั น้ันส่งิ ท่ีขจัดอุปสรรคออกไปนน้ั คือสงิ่ ทถี่ ูกต้องการ 3. การเสริมแตง่ (การปฏบิ ตั ิและเสรมิ แต่งจากขนบธรรมเนยี มทด่ี ีงาม (หรือโดยท่วั ไปแลว้ ถูกมอง วา่ เปน็ สง่ิ ที่ด)ี

69 ตารางท่ี 4.3 สอื่ ดา้ นต่าง ๆ ของหลักมากอซิดดา้ นการเสริมแต่ง หลกั มากอซิด ด้านต่าง ๆ ส่ือ/ปฏบิ ตั หิ รือหา้ มปฏิบตั ิ/(สิง่ ทดี่ ีงามหรือเสรมิ แตง่ / ตะฮ์ซีนาต) อบี าดะห์ การปิดเอาเราะห์ การอาบน้ำละหมาด การตะยัมมมุ การ ความดีงาม การเสรมิ ละหมาดซุนนะตา่ ง ๆ การบริจาค การขจดั สง่ิ สกปก การห้าม แต่ง/(และอืน่ ๆ) รับประทานด้วยเมือซ้าย และอ่ืน ๆ มอู ามาละห์ การเลือกงานทด่ี ี การเลอื กคุณลักษณะที่ดขี องคูครอง การ หา้ มขายส่ิงสกปก การหา้ มผหู้ ญิงเป็นผ้พู ากษา การห้าม ผูห้ ญิงแตง่ งานดว้ ยตนเอง การห้ามขายตัดราคา อาดะห์ การอาบนำ้ การรบั ประทานอาหารหลากหลายชนดิ มารยาท การกินและดื่ม การห้ามรับประทานในสง่ิ ท่ไี มม่ ีประโยชน์ การห้ามฟุม่ เฟือยในสิ่งของบริโภคและสิ่งของเครื่องใช้ ญีนายะห์ การหา้ มบิดพลว้ิ การหา้ มฉ้อโกง ข้อสรุป คือ นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วไม่เกิด ความลำบาก คับแคบ ยุ่งยากและปัญหา สิ่งเหล่านั้นคือสื่อที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมากอซิด อัต -ตะฮ์ซีนี ยาต (เปา้ หมายดา้ นการเสรมิ แต่ง) เสรมิ สำหรบั ทุกด้านของหลกั มากอซิด อีบาดะห์ = ศาสนา, มูอามาละห์ = วงศต์ ระกลู และทรัพย์สนิ ม อาดะห์ = ชีวติ และสติปญั ญา ญีนายะห์ = ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูล และทรัพย์สิน (ในมิติของการยับยั้งหา้ มปราม สิ่งท่ี ทำให้(หรือ อาจจะทำให้)ความจำเป็นทั้งห้า ในสื่อ(สิ่งปฏิบัติหรือห้ามปฏิบัติ)ของหลักมากอซิดตะห์ ซนี ยี าต มีทงั้ ส่ิงที่บังคบั (วาญิบ) หรือ ส่งเสรมิ (ซนุ นะฮ์) หรอื อนุโลมให(้ มูบาฮ์) หรือ รังเกียจ(มักรูฮ์) หรือ ต้องห้าม(ฮารอม) ความดีงามในทีนี้ คือ ความดีงามในประเพณีหรือความดีงามจากมุมมองทั่วไป การเสริมแต่ง คือ การเสริมแตง่ จากสิ่งทจ่ี ำเป็น(ฎอรูรอต)ทปี่ ราศจากอุปสรรคใด ๆ

70 ตารางที่ 4.4 หลักมะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ใน 5 ดา้ น ศาสนา ชีวติ สติปัญญา วงศต์ ระกูล ทรัพยส์ นิ 4: -หลักกอฎอ- - การใชช้ วี ิต - ข่าวปลอม - รสนยิ มทางเพศ - การบริจาค C: หญิง vs หญงิ C: ความตระหนขี่ ้ี กอฎรั ร่วมกัน C: ทานยาลดนำ้ หนกั 1. ความจำเปน็ เหนียว 1. ความต้องการ C: สอบไฟนอล C: แตกต่างแตไ่ ม่ 1. ความจำเปน็ - ซีนา C: รักในวยั เรยี น - สรุ ยุ่ สุรา่ ย 1. ความจำเป็น แตกแยก 1. ความจำเป็น C: สมาร์ทโฟน - ครอบครัว 1. ความจำเป็น 3. การเสรมิ แตง่ C: ระบบฮาลากอฮ. - การลงทนุ 3. การเสรมิ แต่ง C: ขายของออนไลน์ 5: -ถอื ศลี อด - อาหาร - ยาเสพติด 1. ความต้องการ C: แอบกิน C: อาหารจานดว่ น C: บุหร่ี 1. ความจำเปน็ 1. ความจำเป็น 1. ความจำเปน็ 6: -ละหมาด - หัวร้อน - คา่ ยวิชาการ C: ละหมาดอสิ ตีคอ C: คดิ ดี ชีวิตดี C: การเข้ารว่ มค่าย เราะห์ 1. ความจำเปน็ 3. การเสรมิ แตง่ 1. ความจำเป็น *หมายเหตุ C = content ของแอนเิ มชน่ั ของแต่ละเรอ่ื ง

71 4.2 การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮส์ กู่ ารเรียนรู้ของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 4.2.1 การออกแบบ Storyboard 1) การออกแบบ storyboard ของการ์ตูนแอนนิเมชั่น จำนวน 15 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 30 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ไดร้ ่วมออกแบบ และได้ส่งให้ผู้เช่ียวชาญตรวจจำนวน 3 ท่าน สอบความ ตรงเชิงเน้ือหา ไดผ้ ลดังตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 4.5 ตารางค่าความตรงเชงิ เนื้อหาของ storyboard แอนิเมชั่น เรอื่ งท่ี ผูเ้ ชย่ี วชาญคนที่ ผ้เู ช่ยี วชาญคนท่ี ผูเ้ ชีย่ วชาญคนที่ IOC 123 1.00 0.67 1 +1 +1 +1 1.00 1.00 2 +1 0 +1 1.00 1.00 3 +1 +1 +1 0.67 1.00 4 +1 +1 +1 1.00 1.00 5 +1 +1 +1 0.67 1.00 6 +1 +1 +1 1.00 0.67 7 +1 +1 0 1.00 8 +1 +1 +1 9 +1 +1 +1 10 +1 0 +1 11 0 +1 +1 12 +1 +1 +1 13 +1 +1 +1 14 +1 0 +1 15 +1 +1 +1 จาก storyboard ของการ์ตูนแอนนิเมชั่น 15 เรื่อง ผู้เชี่ยวชาญให้ผ่านทั้ง 15 เรื่อง และได้ปรับ ตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ยี วชาญ ดังภาคผนวก ก. (หน้า 131)

72 ผลการประเมนิ โดยนักเรียนและครู ไดน้ ำเนือ้ หาท้ัง 15 เรื่อง ไปทดลองใช้กบั นกั เรยี นมธั ยมศึกษา ปีที่ 4-6 จำนวน 30 คน ครู 3 คน และผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน จากโรงเรียนสุขสวัสดิ์วิทยา อ.ยะหา จ.ยะลา ไดท้ ดลองใชแ้ อพพลิเคชน่ั ได้ข้อเสนอแนะดังน้ี 1) น้ำเสยี งในเนอื้ หาแอนนิเมช่ันตัวละครครวู ี มีนำ้ เสยี งเบาเกนิ ไป ควรปรบั อัดเสยี งใหม่ 2) ตัวละครอาซี๊ด และอานาไม่เคลื่อนไหว ควรปรับให้มีการเคลื่อนไหว และมีการขยับปาก ในขณะเวลาพดู ทำให้นกั เรียนสามารถแยกแยะตัวละครไดถ้ กู ต้อง 3) ตัวละครใสเ่ สื้อผา้ ชดุ เดมิ ทำใหน้ ักเรียนไมค่ อ่ ยสนใจ ควรปรับใหม้ กี ารเปลย่ี นสีของเส้ือผ้าขณะ ตวั ละครกลบั บา้ น หรือไมไ่ ดอ้ ย่ใู นรัว้ โรงเรยี น 4) ความยาวของเนื้อหา ซึง่ บางเร่อื งมีความยาวเกนิ 10 นาที ทำใหน้ กั เรียนไม่มสี มาธิในกาจดจ่อ ควรลดเนอ้ื หาไมเ่ กนิ 5 นาทตี อ่ เรื่อง 5) ภาพประกอบพนื้ หลังสสี ันดไู มส่ ดใจ และสีจืด ควรปรับให้มีสีสนั สดใจ และนา่ ดงึ ดดู

73 สอ่ื การ์ตูนแอนนิเมชน่ั สำหรับระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ด้านศาสนา (สอบ Final) การสอบปลายภาคเป็นการประเมินผลครั้งสุดท้ายของภาคการศึกษา นักเรียนจะต้องตั้งใจทำ ข้อสอบหรอื ไม่ มาติดตามพรอ้ มกันเลย ด้านชีวติ (แตกต่างแต่ไม่แตกแยก) การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างต่างศาสนิก แต่มีบางประเด็นที่ต่างกัน มาติดตามกันว่านักเรียนจะ ปฏิบตั ิตอ่ ต่างศาสนิกอยา่ งไร ด้านสติปัญญา (ทานยาลดนำ้ หนัก) นักเรียนเป็นเด็กฉลาด เรียนเก่ง แต่ไม่สามารถควบคุมความมีวินัยต่อการรับประทานอาหารได้ ต้องเพ่งิ ยาลดน้ำหนัก ศาสนาอิสลามสง่ เสริมใหก้ ระทำหรือไม่ ดา้ นวงศ์ตระกลู (หญงิ vs หญงิ ) เพ่อื นกันระหวา่ งหญงิ กับหญิงมีขอบเขตในการอยู่รว่ มกันอยา่ งไร มะกอศิดมีทางออก ดา้ นทรพั ยส์ ิน (ความตระหน่ีข้ีเหนยี ว) มือบนย่อมดีกว่ามือล่าง หรือผู้ให้ย่อมประเสริฐกว่าผู้รับ การให้ทำให้เกิดความรักใคร่เพิ่มพูนขึน้ จริงหรือไม่

74 สอ่ื การต์ ูนแอนนเิ มชน่ั สำหรับระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ดา้ นศาสนา (แอบกิน) การถือศิลอดเป็นการยับยั้งกาย วาใจ และใจ เมื่อนักเรียนแอบกินขณะถือศิลอด จะกระทำได้ หรือไมด่ ้านชวี ติ ดา้ นชีวติ (อาหารจานด่วน) การรับประทานอาหารจานด่วนในช่วงชัว่ โมงการเร่งรบี ผลกระทบที่เกิดขึน้ มอี ะไรบ้างมาติดตาม กัน ดา้ นสติปัญญา (บหุ ร่ี) บุหรี่ถือว่าเป็นต้นเหตุของโรคภัยร้ายแรงหลายชนิด และส่งผลต่อสมองของนักเรียนจริงหรือไม่ ดา้ นวงศต์ ระกลู (รักในวัยเรียน) ความรักเป็นความรู้สึกที่ทำให้เกิดความผูกพันซึ่งกันและกัน แต่รักในวัยเรียนควรปฏิบัติตน อยา่ งไร ดา้ นทรัพยส์ ิน (ความตระหนข่ี เี้ หนยี ว) มือบนย่อมดีกว่ามือล่าง หรือผู้ให้ย่อมประเสริฐกว่าผู้รับ การให้ทำให้เกิดความรักใคร่เพิ่มพูนขึ้น จริงหรือไม่

75 สอ่ื การต์ ูนแอนนิเมชนั่ สำหรับระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ดา้ นศาสนา (ละหมาดอสิ ตีคอเราะห์) นักเรียนเจอสถานการณ์คับขัน ต้องเลือกระหว่างสอบปลายภาคและงานอีกอย่างหนึ่ง และต้อง ตดั สนิ ใจ แตไ่ ม่มีหลักการต่อการตัดสนิ ใจดังกลา่ ว มะกอศดิ เป็นทางออกในการตดั สินใจให้ ดา้ นชวี ติ (คดิ ดี ชวี ิตดี) ในชีวิตประจำวันของนักเรียนต้องเจอเรื่องราวต่าง ๆ มากมาย บางครั้งสามารถจัดการได้ แต่ หลายคร้ังทำใหเ้ กดิ อาการหงุดหงิด มาติดตามกันมะกอศิด มที างออกอย่างไร ด้านสตปิ ญั ญา (การเข้ารว่ มคา่ ย) การเข้าค่ายวิชาการเปน็ อกี กิจกรรมทีนักเรียนใฝ่ฝันทีจ่ ะเข้าร่วมเพราะเป็นการเสริมแต่งความร้สู ู่ รัว้ มหาวิทยาลัย ด้านวงศต์ ระกูล (ระบบฮาลาเกาะห์) การเรียนรู้กับครอบครวั เมื่อพูดคุยและถามไถ่ทุกข์สขุ ฮาลาเกาะห์สามารถช่วยเพิ่มความสัมพนั ธ์ ท่ีดใี ห้กับครอบครวั ด้านทรพั ยส์ ิน (ขายของ Online) การหารายได้เสริมระหว่างเรียนสามารถทำให้งา่ ย และต้นทุนต่ำ การขายของออไลน์สามารถทำ ได้จริงหรอื ไม่

76 2) การออกแบบ storyboard ของวีดีโอ จำนวน 3 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 5 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ไดร้ ่วมออกแบบ และไดส้ ง่ ใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญตรวจจำนวน 3 ท่าน สอบความตรงเชิง เนอ้ื หา ไดผ้ ลดังต่อไปน้ี ตารางที่ 4.6 ตารางคา่ ความตรงเชิงเนอื้ หาของ storyboard วีดีโอ ผู้เชีย่ วชาญคนที่ IOC เรื่องที่ ผู้เชยี่ วชาญคนท่ี ผเู้ ชี่ยวชาญคนที่ 3 12 +1 1.00 1 +1 +1 +1 0.67 2 +1 0 +1 1.00 3 +1 +1 จาก storyboard ของวีดีโอ จำนวน 3 เรื่อง ผู้เชี่ยวชาญให้ผ่านทั้ง 3 เรื่อง และได้ปรับตาม ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ดังภาคผนวก ข. (หนา้ 210) ผลการประเมนิ โดยนกั เรียนและครู มขี ้อเสอนแนะดังนี้ 1) นักเรียนประทับใจและชอบการทำ whiteboard animation เพราะสรุปเป็น mind mapping นกั เรยี นเข้าใจเนอ้ื สรปุ ไดง้ า่ ยขนึ้ 2) ภาพประกอบของ whiteboard animation ใช้สีโทนมืด ควรปรับใช้โทนสีสดใด เช่น สีเขียว หรอื สีฟา้ 3) การนำเสนอรวดเร็วไป ควรปรับลดเวลาใหล้ า่ ชา้ กว่าเดมิ 2 วนิ าที

77 สอื่ วดี โี อสรปุ สำหรบั ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6

78 3) การออกแบบ storyboard ของเกมส์ จำนวน 3 เรื่อง โดยครูอิสลามศึกษา 5 คน และโปรแกรมเมอร์ 3 คน ไดร้ ่วมออกแบบ และไดส้ ง่ ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญตรวจจำนวน 3 ทา่ น สอบความตรงเชิง เนอ้ื หา ไดผ้ ลดังต่อไปน้ี ตารางที่ 4.7 ตารางค่าความตรงเชงิ เนอ้ื หาของ storyboard เกมส์ ผู้เช่ียวชาญคนท่ี IOC เรื่องท่ี ผเู้ ชี่ยวชาญคนที่ ผเู้ ช่ยี วชาญคนที่ 3 12 +1 1.00 1 +1 +1 +1 1.00 2 +1 +1 +1 1.00 3 +1 +1 จาก storyboard ของเกมส์ จำนวน 3 เรื่อง ผู้เชี่ยวชาญให้ผ่านทั้ง 3 เรื่อง และได้ปรับตาม ข้อเสนอแนะของเชีย่ วชาญ ดังภาคผนวก ค. (หนา้ 224) ผลการประเมนิ โดยนักเรียนและครู มขี อ้ เสอนแนะดังน้ี 1) ไม่มีเสยี งตวั ละครขณะเลน่ เกมส์ ควรมีเสยี งดนตรปี ระกอบ 2) ควรแบง่ มติ ิและด่านของเกมส์ออกเป็น 5 ดา้ นตามหลักมะกอศดิ อัชชะรีอะห์

79 สอื่ เกมสป์ ระเมนิ ความรู้ดว้ ยตนเองสำหรบั ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6

80 4) การออกแบบเว็บแอพพลิเคชั่น โดยโปรแกรมเมอร์ 2 คน นักออกแบบกราฟฟิก 2 คน นัก ออกแบบแอนนิเมชั่น 5 คน ผู้สร้างเกมส์ 1 คน ได้ร่วมออกแบบ และได้จดโดเมนเว็บไซต์ภายใต้ชื่อ www.maqasids.com โดยเนื้อหาแบ่งออกเปน็ 3 ระดบั ม.4 ม.5 และ ม.6 โดยทผ่ี ู้เรยี นเลือกเข้าสู่ระบบ ได้ด้วยตนเองผ่าน Google, GitHub, Facebook, Twitter, Instagram หรือสามารถสมัครสมาชิกด้วย อีเมลและพาสเวดิ เพ่ือ login เขา้ ไปสู่ในเว็บแอพพลเิ คชัน่ ดังหนา้ เว็บแอพพลเิ คช่นั ดังนี้ หนา้ Home

81 หน้าเนื้อหา 3 ระดับ

82 หน้า Login ผา่ น Google, GitHub, Facebook, Twitter, Instagram

83 ระบบลงทะเบียนผ่านอีเมล ผลการประเมนิ โดยนกั เรียนและครู มีขอ้ เสอนแนะดังนี้ 1) ขอ้ ความใช้อักษรได้สวยงาม นา่ ดึงดดู และชวนเรียนรู้เพ่ิมเตมิ ในเน้ือหา 2) ตดั ระบบล๊อกอินบางตัวที่ไมใ่ ช่ เชน่ twitter และ 3) หลงั จากได้เรยี นรเู้ น้อื หามะกอศิดท้งั 5 ด้าน ได้รบั เกยี รตบิ ตั ร นักเรยี นพงึ พอใจอย่างมาก 4) ควรเพมิ่ ตารางเวลาละหมาดในเว็บแอพพลเิ คชนั่ 5) การประมวลผลขอ้ มูลรวมเร็ว และทันใจ

84 4.3 การประเมนิ การใช้เวบ็ แอพพลเิ คชน่ั ตามหลักมะกอศดิ อัชชะรอี ะฮ์ของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 4.3.1 ผลการประเมินในรปู แบบของเคริ ์กแพทริก การประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วยกัน 4 ด้าน คือ 1) ด้านปฏิกิริยา 2) ด้านการเรียนรู้ 3) ด้านพฤติกรรม และ 4) ด้านผลลัพธ์ ไดผ้ ลการประเมนิ ดังต่อไปนี้ 1. ดา้ นปฏิกริ ิยา การประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการใชเ้ วบ็ แอพพลเิ คชน่ั ผลการประเมินดงั นี้ การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและครู จำนวน 128 คน ผ่าน Google form https://forms.gle/cF1wZQSmoRUnW8bu8 โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นข้อมูล ทั่วไป และตอนท่ี 2 เปน็ แบบประเมินความพงึ พอใจ

85 การประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนและครจู าก 3 โรงเรียน คอื 1) โรงเรียนอัลอยี ๊ะวทิ ยา อ.ยง่ี อ จ. นราธวิ าส ในวันท่ี 12 มนี าคม พ.ศ. 2563 โดยมีนักเรยี น เขา้ รว่ มจำนวน 40 คน และครจู ำนวน 2 คน 2) โรงเรียนรุง่ โรจน์วิทยา อ.จะนะ จ.สงขลา ในวนั ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมนี กั เรียน เข้ารว่ มจำนวน 45 คน และครูจำนวน 3 คน 3) โรงเรียนอิสลามประชาสงเคราะห์มูลนิธิ ต.พิเทน อ.ทุ่งยางแดง จ.ปัตตานี ในวันท่ี 16 มนี าคม พ.ศ. 2563 โดยมีนักเรียนเขา้ ร่วมจำนวน 35 คน และครจู ำนวน 3 คน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook