Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มะกอศิด

มะกอศิด

Published by ISMAIL RAOB, 2020-11-25 09:31:56

Description: 1..รายงานฉบับสมบูรณ์RDG6240036

Search

Read the Text Version

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการพฒั นาเว็บแอพพลเิ คช่นั ตามหลกั มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮเ์ พ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 โดย ดร. อสิ มาอลี ราโอบ และคณะ สงิ หาคม 2563

สญั ญาเลขท่ี RDG6240036 รายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์ โครงการการพฒั นาเวบ็ แอพพลิเคช่นั ตามหลกั มะกอศิดอัชชะรีอะฮเ์ พอื่ เพิม่ ขีดความสามารถในการเรยี นรู้ ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 คณะผ้วู จิ ัย 1. ดร. อิสมาอลี ราโอบ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี 2. นายซลุ กอรนยั น์ เบญ็ ยา มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี 3. นายมะฟายซู เจะ๊ แวะ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี 4. นายฮารณู ราโอบ วิทยาลยั ชุมชนสตลู สนับสนนุ โดยสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) (ความเห็นในรายงานนี้เปน็ ของผูว้ จิ ัย สกสว. ไมจ่ ำเป็นต้องเห็นดว้ ยเสมอไป)

ก บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร การพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคชั่นตามหลกั มะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์เพอ่ื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการเรยี นรู้ ของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 ดร.อิสมาอลี ราโอบ และคณะ การศึกษาวจิ ยั เรอ่ื ง การพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คชน่ั ตามหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮเ์ พื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการเรยี นรู้ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มวี ัตถปุ ระสงค 1) เพือ่ ศกึ ษาแนวทางของหลัก มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮ์สู่การประยุกต์ใชก้ ารพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น 2) เพอื่ พฒั นาเว็บแอพพลิเคช่ันตาม หลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 3) เพื่อประเมินผลการใช้เว็บ แอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยศึกษาจากหลักมะ กอศิดอัชชะรีอะฮ์ รวมถึงรูปแบบการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความ ถูกต้องของเนื้อหาหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์และความเหมาะสมของเนื้อหาของเว็บแอพพลิเคชั่น ได้ ผลการวจิ ัยดงั น้ี 1. การศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่น ซึ่งประกอบด้วย 2 ประการ คือ หลักความจำเป็น หลักความต้องการ และหลักการ เสรมิ แต่ง ความจำเป็น (สิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งเพื่อความมั่นคงของผลประโยชน์ทั้งสองโลก และหาก เมื่อใดที่ปราศจากสิ่งเหลานี้ความเสียหาย ความขัดแย้งและความหายนะจะเกิดขึ้น สิ่งใดที่ถูกปฏิบัติ หรอื ไมถ่ กู ปฏบิ ัติแล้วกอ่ ให้เกิดการดำรงอย่หู รือหายไปของความจำเป็นทั้งห้า (ฎอรรู ยี าต) สง่ิ นน้ั คือส่ือ ทถี่ ูกจัดอยู่ในกลุ่มหลกั มากอซิด อฎั -ฎอรูรียาต (เปา้ หมายด้านความจำเป็น) และส่ือการรกั ษา มี 2 มติ ิ 1) มิตทิ ี่หนึ่ง การปฏิบัตสิ ิ่งทีท่ ำให้ความจำเปน็ ท้ังหา้ ดำรงอยู่ และ 2) มติ ิทส่ี อง การยบั ยัง้ ห้ามปรามสิ่ง ท่ที ำให้หรอื อาจจะทำใหค้ วามจำเปน็ ท้ังห้าหายไป ความต้องการ (สิ่งที่ถูกต้องการเพื่อขจัดความยุ่งยากซึ่งโดยปกติแล้วจะก่อให้เกิดปัญหา และความลำบากที่ทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ แต่ทว่าไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์ โดยทั่วไป) นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วจะเกิดความ ลำบาก ความคับแคบ อุปสรรค ความยุ่งยากและปัญหา สิ่งเหล่านั้นคือสื่อที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมา กอซิด อัล-ฮาญียาต (เปา้ หมายด้านความต้องการ) อีบาดะห์ คือ การสักการะพระเจ้า มูอามาละห์ คือ ธรุ ะระหว่างมนุษย์ อาดะห์ คือ ประเพณี กจิ วตั ร ญนี ายะห์ คือ อาชญากรรม อปุ สรรคหรือปัญหาเม่ือ ประสบกับการปฏิบัติสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ (ฎอรูรอต) จึงต้องมีสิ่งที่ขจัดอุปสรรคนั้น ดังนั้นสิ่งที่ขจัด อปุ สรรคออกไปนัน้ คือสง่ิ ทถี่ กู ต้องการ การเสริมแต่ง คือ การปฏิบตั ิและเสริมแต่งจากขนบธรรมเนียมที่ดีงาม หรือโดยท่ัวไปแล้ว ถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ดี นอกจากหลักมากอซิดฎอรูรียาต (ทั้งห้า) เมื่อไรที่ปราศจากสิ่งหนึ่งสิ่งใดแล้วไม่

ข เกิดความลำบาก คับแคบ ยุ่งยากและปัญหา สิ่งเหล่านั้นคือสื่อที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มหลักมากอซิด อัต - ตะฮซ์ นี ยี าต (เป้าหมายด้านการเสริมแตง่ ) เสริมสำหรบั ทกุ ด้านของหลักมากอซิด อีบาดะห์ = ศาสนา, มูอามาละห์ = วงศ์ตระกูลและทรัพย์สินม อาดะห์ = ชีวิตและสติปัญญาญีนายะห์ = ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูล และทรัพย์สิน (ในมิติของการยับยั้งห้ามปรามสิ่งที่ ทำให้(หรือ อาจจะทำให้) ความจำเป็นทั้งห้า ในสือ่ (ส่งิ ปฏิบัติหรือหา้ มปฏิบัติ)ของหลักมากอซิดตะห์ซนี ียาต มีท้ัง ส่ิงท่ีบังคับ(วา ญบิ ) หรอื ส่งเสรมิ (ซนุ นะฮ)์ หรอื อนโุ ลมให(้ มูบาฮ)์ หรอื รังเกียจ(มักรฮู )์ หรือ ต้องห้าม(ฮารอม) ความ ดีงามในทีนี้ คือ ความดีงามในประเพณีหรือความดีงามจากมุมมองทั่วไป การเสริมแต่ง คือ การเสริม แต่งจากส่ิงท่ีจำเปน็ (ฎอรรู อต)ทีป่ ราศจากอปุ สรรคใด ๆ 2. การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 ได้ออกแบบ storyboard ของการ์ตูนแอนนิเมชั่น จำนวน 15 เรื่อง storyboard ของ วีดีโอ จำนวน 3 เรอื่ ง storyboard ของเกมส์ จำนวน 3 เรื่อง และได้จดโดเมนเว็บไซต์ภายใต้ชื่อ www.maqasids.com โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ม.4 ม.5 และ ม.6 โดยที่ผู้เรียนเลือกเข้าสู่ระบบได้ด้วยตนเองผ่าน Google, GitHub, Facebook, Twitter, Instagram หรือสามารถสมัครสมาชิกด้วยอีเมลและพาส เวิด เพ่อื login เข้าไปสู่ในเวบ็ แอพพลเิ คชนั่ ดงั หนา้ เวบ็ แอพพลิเคชั่น 3. การประเมนิ ผลการใชเ้ ว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ของผูเ้ รยี นใน ศตวรรษท่ี 21 ในรูปแบบของเคริ ์กแพทรกิ ประกอบด้วยกัน 4 ด้าน คอื 1) ดา้ นปฏิกิริยา 2) ดา้ นการ เรยี นรู้ 3) ดา้ นพฤตกิ รรม และ 4) ดา้ นผลลัพธ์ ไดผ้ ลการประเมินดงั ต่อไปน้ี -ด้านปฏิกิริยา การประเมินความพึงพอใจต่อการใช้เว็บแอพพลิเคชั่น การประเมินความ พึงพอใจต่อการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นของเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ เรื่อง พัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 มีความเหมาะสมมากทุก ๆ ด้าน ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้หลักมะกอศิดไป บรู ณาการกับสาระอสิ ลามศึกษาในรายวชิ าศาสนบัญญัติ ในระดับมธั ยมศึกษาปีที 4-6 และครูผู้สอนก็ ยงั ใชแ้ อพพลิเคชน่ั นีเ้ ปน็ ส่ือประกอบการเรยี นการสอนในรายวิชาศาสนบัญญัตไิ ด้เชน่ เดียวกนั -ด้านการเรียนรู้ ประเมินความรู้ความเข้าใจและการเรียนรู้ด้วยตนเอง การประเมินการ ประเมินความรู้ความเข้าใจและการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อหลักหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ พบว่าผู้เรียน ส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แสดงว่าเว็บแอพพลิเคชั่นที่ได้พัฒนาขึ้นมา ทำให้ผู้เรียนมีความรู้มากขึ้น และผู้เรียนสามารถต่อยอดความรู้ไปยังแขนงสาขาอื่น ๆ ได้ เช่น เชื่อมโยงไปรายวิชาหลักศรัทธา วชิ าอัลกรุ อาน วิชาประวตั ิศาสตร์อสิ ลาม เป็นต้น -ด้านพฤติกรรม การประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากการประเมินด้าน พฤตกิ รรมตอ่ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รียนเมือ่ ได้ใชแ้ อพพลิเคชน่ั แลว้ ทำให้ผู้เรียนเกิด ทักษะคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม รวมทั้งทักษะทางวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ ร่วมกนั ระหว่างไทยพุทธและมุสลิม อีกท้ังเกิดทักษะการคิดวิเคราะหแ์ ก้ไขปัญหาเวลาเจอสถานการณ์

ค ที่คับขัน รวมทั้งมีทักษะการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำทั้งในขณะอยู่ในสถานศึกษาและขณะอยู่ท่ี บ้าน และผู้เรยี นทักษะทางอาชีพสามารถคา้ ขายออนไลน์ และการเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเองโดยในเครอื ข่าย เทคโนโลยที เ่ี กดิ ขน้ึ ในยคุ ศตวรรษที่ 21 -ด้านผลลัพธ์ ประเมินการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้เว็บแอพพลิเคชั่น จากการ ประเมินด้านผลลัพธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้เว็บแอพพลิเคชั่น เมื่อผู้เรียนได้ทดลองใช้ แอพพลิเคชั่น ซึ่งได้เรียนรู้หลักมะกอศิดและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนมีพฤติกรรมไป ในทิศทางบวก และมีความพยายามที่จะเปลี่ยนไปสู่ตามแนวทางศาสนา โดยเฉพาะด้านคุณธรม จริยธรรม เนื่องจากผู้เรียนนับถือศาสนาอิสลาม ยิ่งทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและศรัทธาต่อหลัก ศาสนามากยิ่งขนึ้ ข้อเสนอแนะผลการวจิ ัย ขอ้ เสนอแนะเพ่ือนำผลการวิจัยไปใช้ 1) ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เว็บแอพพลิเคชั่นและนำความรู้ไปเป็นเครื่องมือในชีวิตประจำวัน และในการตดั สินใจเม่อื เจอกับสถานการณท์ ี่ต้องเลือก 2) ครูอิสลามศึกษาสามารถนำไปบูรณการในสาระวิชาศาสนบัญญัติ (อัล-ฟิกห์) และอธิบาย เนอ้ื หามะกอศดิ อชั ชะรอี ะห์เพ่มิ เตมิ 3) สถานศึกษาสามารถนำเว็บแอพลลิเคชั่นให้ครูและผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมค่ายฤดู รอ้ น หรอื กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 4) ขับเคลื่อนเว็บแอพพลิเคชั่นมะกอศิดอัชชะรีอะห์ขยายผลสู่สมาคมโรงเรียนคุณภาพอัส สลาม 5) พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้การบูรณาการหลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์กับสาระอิสลาม ศึกษาสำหรับครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในรูปแบบ Hybrid (Online-Offline) ผ่าน สมาคมเครอื ข่ายครูในโรงเรียนคณุ ภาพอัสสลาม 6) พัฒนาครูต้นแบบที่เข้าใจหลักมะกอศิดอัชชะรีอะห์และสามารถเผยแพร่องค์ความรู้ไปยัง เพ่อื นครู ขอ้ เสนอแนะเพอื่ ทำวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป 1) การขยายผลการใช้เว็บแอพพลิเคชน่ั ตามหลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์เพือ่ เพ่ิมขีดวามสามารถ ในการเรียนรูข้ องผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรยี นท่ีมบี รรยากาศสังคมพหวุ ัฒนธรรม 2) พัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยใช้หลกั การมะกอศดิ อัชชะรอี ะห์ 3) พฒั นาการต์ นู แอนเิ มชนั่ 3D ประยกุ ต์ใชก้ ับหลกั การมะกอศิดอัชชะรีอะห์ 4) พัฒนาหนังสือเทคโนโลยีโลกเสมือนจรงิ (AR) เร่ืองมะกอศิดอัชชะรอี ะห์

ง บทคดั ย่อ การวิจัยการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิด อัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น เพื่อพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลัก มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเพื่อประเมินผลการใช้เว็บ แอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ดำเนินการวิจัยและพัฒนา ตามขั้นตอนและวิธีดำเนนิ การพัฒนาระบบใช้วงจรการพัฒนาระบบ SDLC (System Development Life Cycle) ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน และอีก 3 ขั้นตอนที่จะใช้ประกอบของผู้วิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนและครู จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ storyboard ของเนื้อหาเชิง Animation Video และ Games เวบ็ แอพพลิเคช่นั Tool ท่ีใชใ้ นการพฒั นาเว็บแอพพลิเคชั่น ผลการศึกษา พบว่า การศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การ พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น ได้ศึกษาตามเจตนารมณ์พื้นฐาน 5 ประการในอิสลาม คือ 1) ด้านศาสนา 2) ด้านชีวิต 3) ด้านสติปัญญา 4) ด้านทรัพย์สิน และ 5) ด้านวงศ์คระกูล อีกทั้งการพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้ผู้เรยี นมี พฤติกรรมไปในทิศทางบวก และมีความพยายามทีจ่ ะเปลี่ยนไปสู่ตามแนวทางศาสนา โดยเฉพาะด้าน คุณธรมจริยธรรม เนื่องจากผู้เรียนนับถือศาสนาอิสลาม ยิ่งทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและศรัทธาต่อ หลักศาสนามากยิ่งขึ้น และมีเครื่องมือในการตัดสินใจเมื่อประสบกับปัญหาต่าง ๆ ที่เข้ามาในชีวิตทั้ง ในขณะอยู่โรงเรียน หรืออยู่ที่บ้าน หลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สามารถให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด แยกแยะไดต้ ามทักษะในศตวรรษท่ี 21 อกี ทง้ั ผ้ปู กครองมีความภาคภูมิใจที่บุตรหลานเปน็ เด็กดี และมี กระบวนการตัดสนิ ใจทถ่ี ูกต้องตามหลกั การศาสนาอสิ ลาม

จ ABSTRACT Maqasid al-Shariah (MS) is a term that refers to the preservation of order, achievement of benefit and prevention of harm or corruption. This research was aimed to study the way of MS to apply web application development, to develop web applications based on the MS, and to assess the use of web applications in accordance with the MS of students in the 21st century. Moreover, System Development Life Cycle: SDLC included planning, systems analysis and requirements, systems design, development, integration and testing, implementation, and operations and maintenance. Likewise, three steps were developed by researchers in used. The sample were 128 students and teacher in Islamic private schools in southernmost Thailand. The instruments were included story of animation, video, and games as well as Visual Studio Code, XAMMP, Composer, MySQL, MySQL Workbench used to develop the web application. The findings found that the way of MS based on five basic needs to protect by Shariah/Islam included Ad Deen, Al Nafs, Al Aqal, Al Mal, and Al Nasab. Furthermore, the development web applications based on the MS were 1 5 animation cartoons, three videos, three whiteboard animation, and three games. Additionally, the assessment the use of web applications was used Kirkpatrick model is probably the best-known model for analyzing and evaluating. The four levels are reaction, learning, behavior, and result. It can be affected to students behave in a positive direction and also there is an attempt to change to religious principles especially in the aspect of ethics. Because of learners are Muslim Increasing the students' understanding and faith in religious principles. Moreover, it is a tool to make decisions when encountering various problems that come to life, both while in school and stay at home. MS can provide students with thinking skills and classified according to skills in the 21st century. Additionally, the parents are proud that their children are good children and have a decision process that is in accordance with Islamic principles.

ฉ สารบญั บทสรปุ ผู้บริหาร ก บทคดั ย่อ ง Abstract จ สารบญั ฉ สารบญั ตาราง ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 ท่ีมาและความสำคญั ของการวจิ ยั 3 1.2 คำถามในการวจิ ัย 4 1.3 วัตถุประสงค์ 4 1.4 นิยามศัพทป์ ฏบิ ตั ิการ 5 1.5 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้อง 6 2.1 เว็บแอพพลิเคชน่ั 8 2.2 หลักมะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ 15 2.3 ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 18 2.4 รูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ 21 2.5 รปู แบบประเมนิ ผลของของเคริกแพทรคิ (Kirkpatrick) 26 2.6 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 30 บทที่ 3 ระเบียบวิธวี ิจัย 46 บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 47 4.1 การศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ 71 สกู่ ารประยุกต์ใช้การพฒั นาเว็บแอพพลเิ คช่นั 4.2 การพัฒนาเวบ็ แอพพลเิ คช่นั ตามหลกั มะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ 84 สกู่ ารเรียนรู้ของผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21 4.3 การประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชนั่ ตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ ของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

ช 110 110 สารบญั (ต่อ) 113 115 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะผลการวจิ ัย 126 5.1 ข้อมูลเบ้ืองต้น 127 5.2 สรุปผลการวจิ ยั 131 5.3 อภปิ รายผลการวจิ ยั 210 5.4 ขอ้ เสนอแนะผลการวิจยั 224 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ก. Storyboard ของ Animation ภาคผนวก ข. Storyboard ของ วดี ีโอ ภาคผนวก ค. Storyboard ของ เกมส์

ซ หน้า 27 สารบัญตาราง 67 ตารางท่ี 68 ตารางที่ 2.1 หลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์โดยมีเนื้อหาในรูปแบบการ์ตูนแอนนิเมชนั่ 69 ระดับมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 70 ตารางที่ 4.1 ส่อื ด้านต่าง ๆ ของหลกั มากอซิดดา้ นความจำเป็น 71 ตารางที่ 4.2 สือ่ ด้านต่าง ๆ ของหลกั มากอซิดด้านความตอ้ งการ 76 ตารางที่ 4.3 ส่ือด้านตา่ ง ๆ ของหลักมากอซดิ ดา้ นการเสริมแต่ง 78 ตารางท่ี 4.4 หลกั มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮใ์ น 5 ด้าน 89 ตารางที่ 4.5 ตารางค่าความตรงเชงิ เนือ้ หาของ storyboard แอนเิ มช่ัน 90 ตารางที่ 4.6 ตารางคา่ ความตรงเชงิ เนอ้ื หาของ storyboard วีดโี อ 91 ตารางที่ 4.7 ตารางคา่ ความตรงเชิงเนอ้ื หาของ storyboard เกมส์ ตารางท่ี 4.8 แสดงข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผ้ตู อบแบบสอบถาม 93 ตารางท่ี 4.9 แสดงขอ้ มลู การประเมนิ กิจกรรมทดลองใช้เว็บแอพพลเิ คชัน่ ตารางท่ี 4.10 แสดงข้อมูลการประเมินกิจกรรมทดลองใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตาม 101 ระดับ 102 ตารางท่ี 4.11 แสดงข้อมูลการประเมินความรู้ความเข้าใจและการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ตารางที่ 4.12 แสดงการจดั ทำ Position Matrix ( จุดแขง็ และจุดอ่อนของวิจยั ตารางท่ี 4.13 แสดงการจดั ทำ( Position Matrix ( โอกาสและอปุ สรรค

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ท่ีมาและความสำคัญของการวิจัย เปา้ หมายหลักของการพัฒนาการศกึ ษาของประเทศไทย คอื การพัฒนาผ้เู รยี นให้เป็นบุคคลที่ มี คุณภาพ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การ สร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553) การที่จะพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม วัตถุประสงค์ดงั กล่าวตอ้ งอาศัยครูผูส้ อนทีม่ ีทักษะในการจัดการเรยี นรู้ มีเจต คติต่อวิชาชีพครูที่ดี มีแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์สูง โดยเฉพาะในยุคศตวรรษท่ี 21 เป็นทักษะแห่งอนาคต ใหม่ที่ครูควรมีทักษะและคุณลักษณะท่ี รองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนว ใหม่ ในอันที่จะพัฒนาผู้เรียนที่เยาวชนในยุคใหม่ได้ อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน สอดคล้องหลักการจัด การศึกษาตาม มาตรา 22 ที่ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการ จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ ในปัจจุบันทีม่ ีการแข่งขันทางสังคมค่อนข้างสูง ทำให้ต้องมีการปรับตัวและเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทำงาน และเตรียมพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในสภาพแวดล้อมทาง สังคมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย ตามกระแสกับการปรับเปลีย่ นทางสังคมทีเ่ กิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคแห่งความเป็นโลกาภิวัตน์ (The Globalization) และยุคแห่งความรู้ ที่ได้เกิดวิวัฒนาการ ความก้าวหน้าในทุก ๆ มติ เิ ป็นไปอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง สง่ ผลตอ่ การทางานและวถิ ีการดำรงชีพของ สังคมอย่างทั่วถึง จึงเป็นสิ่งจำเป็นและท้าทายในการเสริมสร้างองค์ความรู้ (Content Knowledge) ทักษะเฉพาะทาง (Specific Skills) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Expertise) และสมรรถนะของการ รูเ้ ทา่ ทนั (Literacy) ให้กบั นกั เรียนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ปัจจุบันโลกแห่งการศึกษาได้ก้าวหน้าและพัฒนาขึน้ เร่ือย ๆ รูปแบบการเรยี นร้กู ็ต้องปรับปรุง ไปเรื่อย ๆ เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย โดยเด็กนักเรียนจะมีการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ และท้าทาย มองเหน็ ปัญหาเปน็ โจทย์ใหน้ ักเรียนได้เรียนรวู้ ธิ ีการแก้ไข ซ่งึ ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 คือ 3R 8C ความสำคัญของทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ทักษะและความรู้มีความจา เป็นต่อการเป็นพลเมืองของสังคม การดารงชีวิตอย่างมีความสุข และความสามารถในการทำงาน ใน ศตวรรษที่ 21 นั้นมีความต้องการทักษะที่เพิ่มขึ้นมากมายและมากกว่าศตวรรษที่ 20 เดิมทักษะ 4C นั้นประกอบด้วย 1) การคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creativity) 2) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) 3) การสื่อสาร (Communication) 4) การทางานเป็นทีม (Collaboration) ทักษะเหล่านี้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมากกว่าเก่า เพราะความเจริญทางเทคโนโลยี มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว

2 กลายเปน็ โลกยุคดิจติ อล ทาใหม้ ีความตอ้ งการทักษะทสี่ ูงขน้ึ หรอื มากยง่ิ ขน้ึ และยังตอ้ งมีทักษะใหม่ที่ จำเป็นในศตวรรษใหม่ เพราะโลกในศตวรรษที่ 21 แคบลง การติดต่อสื่อสารง่ายขึ้น ดังนั้นก็ต้องมีใช้ ทักษะด้านสารสนเทศและการสื่อสาร ความหลากหลายของชนชาติ ความหลากหลายของวัฒนธรรม ทาให้ต้องมีทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ในการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ สำหรับนักเรียนคือ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies ” ICT) ซึ่งมีผลทาให้กระทบต่อการดำรงชีวิต การทำงาน เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ วัฒนธรรม มีการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษใหม่ เศรษฐกจิ มกี ารพึ่งพาอาศัยในระดับโลกท่ี เพม่ิ มากข้ึน และกระบวนการเรยี นรู้เปลย่ี นไป แต่ในปัจจุบันความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือต้นเหตุพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของความเหลือ่ ม ล้ำในวงกว้าง ไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ครอบครัวที่รวยกว่ามีโอกาสเข้าถึง โอกาสทางการศึกษาที่ดีกว่า ไปอยู่โรงเรียนที่ดีกว่า อยู่ในสังคมที่ดีกว่า เข้าถึงเทคโนโลยีการเรียนรู้ที่ ดีกว่า รวมถึงมีโอกาสเรียนกวดวิชากับติวเตอร์ที่มีชื่อเสียงมากกว่า ขณะที่เด็กฐานะดี 20% แรกของ ประเทศสามารถเข้าถึงการศึกษาที่ครบวงจรได้ดีมาก กลับกันเด็กไทยอีก 80% ยังขาดโอกาสเป็น อยา่ งมาก แหลง่ เรียนรใู้ นปัจจุบันมีมากมาย ท่จี ะเช่ือผเู้ รยี นได้พัฒนาศักยภาพตนเอง แต่แหล่งเรียนรู้ ทางด้านอิสลามศึกษาในประเทศสว่ นใหญ่มักอยใู่ น รปู แบบหนงั สือแบบเรียน หนงั สอื วชิ าการ ยังขาด แอพพลิเคชั่นที่เน้นทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการเรียนและการทำงานกำลังจะ กลายเป็นสิ่งเดียวกัน รวมทั้งการเรียนจะเป็น module ไม่เป็นรายวชิ า และเน้นสมรรถนะและทกั ษะ มากกว่าความรู้ สื่อการเรียนรู้แบบใหม่จึงตอบโจทยก์ ารเรียนรู้ด้วยตนเอง เพราะการเรียนรู้จะไม่เป็น ทางการอกี ตอ่ ไป สามารถเรียนนอกเรียนทีไ่ หนกไ็ ดท้ ุกที่ ทุกเวลา หลังจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทางภาครัฐก็มีความกังวลกับ จำนวนนักเรียนในโรงเรียนของรัฐและเอกชนที่มีจำนวนน้อย คุณภาพการศึกษาก็ลดลงเช่นกัน ซุลกอรนัยน์ เบ็ญยา (2558) ได้สะท้อนปัญหาด้านการใช้สื่อการเรียนการสอน ห้องสมุดยังขาดแคลน หนังสือเรียนอิสลามศึกษาเพื่อเป็นสื่อในการศึกษาค้นคว้า เนื่องจากต่างก็ยอมรับว่างบประมาณที่จะ จดั สรรสื่อการสอนและสื่ออ่ืน ๆ ท่ีทนั สมัยเพื่อให้ผ้เู รยี นได้ใชป้ ระกอบการเรียน และเสริมความรู้นอก เหนื่อในหลักสูตรกำหนดไม่เพียงพอ ส่วนประเด็นที่เห็นต่างคอื หนังสือแบบเรียนมีไม่เพียงพอและไม่ ครอบคลุมเนื้อหาสาระทุกรายวิชา ดังนั้นการจัดการเรียนรู้อิสลามศึกษา ยังไม่สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของผู้ได้ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 อีกทั้งทา่ มกลางความวุ่นวายทเี่ กิดขึ้นในจังหวัดชายแดนใต้ ทำใหผ้ ู้เรยี นบางรายตกเป็นเหยอื่ ของเหตุการณ์ หากผเู้ รยี นมที กั ษะการคิด แยกแยะ และคดิ อยา่ งเป็น เหตุ และผล ก็สามารถทำให้ผู้ใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล หลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ เป็นอีกหนึ่งหลักการที่ จะสามารถเพิ่มขีดความสามารถทางการคิดให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะ 5 ด้าน คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา ทรัพย์สิน และวงศ์ตระกูล ซึ่งเป็นระบบนิเวศของการใช้ชีวิต หากผู้เรียนได้นำหลักมะ กอศิดอัชชะรีอะฮ์มาประยุกตใช้กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะทำให้เรียนมี พัฒนาการและมศี กั ยภาพสมวัย

3 เพื่อความน่าสนใจและการเข้าถึงของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น เว็บแอพพลิเคชั่น คือ อีกหนึ่งสื่อการ สอนที่กำลังเป็นที่นิยม เนื่องจากเข้าถึงได้ง่าย และรองรับสมาร์ทโฟนทั้ง ios และ android และ เพ่อื ให้ส่อื การสอนมีความโดดเดน่ ราชัน สมตาเตะและปิยะศกั ด์ิ ถีอาสนา (2558) ไดพ้ ัฒนาการ์ตูนแอ นิมชัน 3 มิติ เรื่องเต่าน้อยผู้อดทน ทำให้นักเรียนมีเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับสุดา รัตน์ วงศ์คาพา (2554) พัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อรณรงค์แก้ปัญหาเด็กอ้วน ทำให้ นกั เรียนมคี วามตระหนักต่อการบรโิ ภค และสามารถยบั ย้ังให้นกั เรียนเลือกบริโภคอาหารท่ีมปี ระโยชน์ และสอดคล้องกับปรมาภรณ์ มาเทพ (2551) พัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับสอนวิชา พระพุทธศาสนา เรื่องหลักธรรม ผลการศึกษาคุณภาพและความน่าสนใจของสื่อพบว่านักเรียนชาย และหญิงทัง้ หมดมคี วามเห็นสอดคล้องกนั มคี วามพงึ พอใจส่ือการ์ตนู มลั ติมเี ดียสาหรบั สอนวิชา ดังน้ัน สื่อการสอนในลักษณะแอนนเิ มช่ันไดร้ ับการตอบรับจากนกั เรียนเป็นอยา่ งดี สง่ ผลใหน้ ักเรียนสามารถ เรยี นร้ผู ่านในรายสาระ และสามารถเรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเอง ดังนั้น การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ 5 ด้าน คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา ทรัพย์สิน และวงศ์ตระกูล ที่สอดคล้องกับยุคศตวรรษที่ 21 โดยสื่อเป็นลักษณะ Animation, Whiteboard Animation, และ เกมส์ 1.2 คำถามในการวิจยั 1) การศึกษาหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเข้าใจแก่นแท้ สารัตถะ และเป้าหมายความ เป็นมนุษย์ และตะหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างศาสนา ชีวิต สติปัญญา ทรัพย์สิน และวงศ์ตระกูล มี แนวทางสู่การประยกุ ต์ใช้พฒั นาเว็บแอพพลเิ คช่นั เพื่อการปกปอ้ งรักษาได้อยา่ งไร 2) การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21 ให้มมี าตรฐานและเหมาะสมตอ่ ผเู้ รยี นสามารถทำอย่างไรได้บา้ ง 3) การประเมินผลการใชเ้ วบ็ แอพพลเิ คชน่ั และทักษะการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน เพ่อื เพ่มิ ความ สนใจต่อการเรียนรู้และให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั ใด 1.3 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชนั่ 2) เพื่อพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การเรียนรู้ของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 3) เพื่อประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ของผู้เรียนใน ศตวรรษท่ี 21

4 1.4 นิยามศพั ท์ปฏิบตั ิการ 1) เว็บแอพพลิเคชั่น คือ แอพพลิเคชั่นที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อเป็น Browser (เบราเซอร์) สำหรับการใช้งาน Webpage (เว็บเพจ) ต่าง ๆ ซึ่งถูกปรับแต่งให้แสดงผลแต่ส่วนที่จำเป็น เพื่อเป็น การลดทรัพยากรในการประมวลผล ของตัวเครือ่ งสมารท์ โฟน หรือ แท็บเล็ต ทำให้โหลดหนา้ เว็บไซต์ ได้เรว็ ข้นึ อีกทง้ั ผู้ใช้งานยงั สามารถใชง้ านผ่าน Internet (อนิ เทอรเ์ น็ต)และ Intranet (อินทราเนต็ ) ใน ความเรว็ ต่ำได้ และสามารถโหลดใช้ในสมารท์ โฟนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2) มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ คือ เจตนารมณ์พื้นฐาน 5 ประการในอิสลาม คือ ศาสนา ชีวิต สตปิ ัญญา วงศ์ตระกลู และทรพั ย์สิน โดยชีใ้ หเ้ ห็นวา่ อิสลามได้กำหนดมาตรการและคำสอนตา่ งๆ เพ่ือ เป็นหลักประกันการสร้างความมั่นคงในชีวิตมนุษย์ ทั้งในลักษณะของการก่อให้เกิด และการธำรง รักษา 3) การเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะของผู้เรียนเมื่อได้เรียนรู้ด้วยเว็บ แอพพลิเคชั่น ทำให้ผู้เรียนมี 1) มีคุณธรรม เมตตา กรุณา และมีระเบียบวินัย 2) มีความเข้าใจความ แตกต่างทางวัฒนธรรม 3) มีทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 4) มีทักษะการทำงานเป็นทีม และภาวะผูน้ ำ และ 5) มีทักษะทางอาชพี และการเรียนรู้ 4) รูปแบบการประเมินของเคิร์กแพทริค หมายถึง รูปแบบการประเมินที่ใช้ในการพัฒนา ทกั ษะการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 ประกอบดว้ ย 4 ด้าน คอื 4.1) การประเมินด้านปฏิกิริยา หมายถึง การประเมินความเหมาะสมของเนื้อหา ความ น่าสนใจของเกมส์ วีดีโอ และการ์ตูนแอนิเมชั่นของเว็บแอพพลิเคชั่น โดยใช้แบบประเมินความพึง พอใจ 4.2) การประเมินด้านการเรียนรู้ หมายถึง การประเมินผู้ใช้เว็บแอพพลิเคชั่นด้านความรู้ ความเขา้ ใจหลกั มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮ์ โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ความรู้ 4.3) การประเมินดา้ นพฤติกรรมทีเ่ ปล่ียนไป หมายถึง การประเมินว่าผู้เข้าอบรมมีทักษะการ เรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ใน 5 ด้าน คอื 1) ทกั ษะคุณธรรมจริยธรรม 2) ทกั ษะทางวฒั นธรรม 3) ทักษะ การคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา 4) ทักษะการทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ และ 5) ทักษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้ โดยใช้แบบประเมินสถานการณ์ และแบบสมั ภาษณ์ 4.4) การประเมนิ ผลลัพธ์ที่เกิดขน้ึ หมายถงึ การประเมินผลท่เี กิดข้ึนต่อผู้ใชเ้ ว็บแอพพลิเคช่ัน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ใช้เว็บแอพพลิเคชั่น โดยใช้แบบสอบถามต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น และ แบบสัมภาษณ์ 1.5 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั ผลผลติ 1) นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 300 คน ได้เรยี นรูผ้ ่านเว็บแอพพลิเคชน่ั ที่สรา้ งขึ้น 2) ส่อื แอนนเิ มชน่ั 15 เรอ่ื ง

5 3) วีดโี อ 3 เรอื่ ง 4) เกมสเ์ พอื่ การศึกษา 3 เกมส์ ผลลพั ธ์ ผเู้ รยี นมคี วามเขา้ ใจสามารถอธบิ ายหลักการมะกอศิดอัชชะรอี ะฮ์ และสามารถวเิ คราะห์อย่าง มเี หตุและผลต่อสถานการณ์ตา่ ง ๆ ผลกระทบ ผูเ้ รียนเปน็ พลเมอื งทด่ี ี และสร้างสนั ติสุขในสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้ การตพี มิ พ์ 1) ประชุมวิชาการระดับชาติ 3 เรื่อง 2) บทความในวารสารวชิ าการระดับชาติ ในฐานขอ้ มลู TCI 1 เรอ่ื ง

6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการ เรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนำเสนอ ตามลำดบั 2.1 เวบ็ แอพพลิเคชั่น 2.2 หลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ 2.3 ผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 2.4 รูปแบบของการพฒั นาหลักสตู รของไทเลอร์ 2.5 รูปแบบประเมินผลของของเคริกแพทริค 2.6 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 2.1 เวบ็ แอพพลเิ คชั่น แอพพลิเคชั่นกำลังมีบทบาทมากต่อการเรียนรู้ทางอิสลามศึกษาของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนมีความสนใจต่อเนื้อหาที่อยู่ในโลกออนไลน์ และต้องเป็นเนื้อหาที่ไม่ใช่ข้อความอย่างเดียว ดังนั้น การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน่ จึงควรใช้การต์ ูนแอนนิเมชัน่ วีดีโอ และเกมส์ เพื่อเพิ่มความสนใจ และเป็นแรงจูงใจต่อผู้เรียนได้มากขึ้น ในขณะที่การเรียนรู้อิสลามที่ไม่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ ก็อาจทำให้เสียเวลาเปล่าต่อการเรียนรู้ หลักการมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ เป็นอีกหลักการหนึ่งที่ช่วยสร้างความเข้าใจ และความสามารถของการคิดอย่างเป็นเหตุและผล ซึ่ง ประกอบดว้ ย 5 ดา้ น คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา ทรพั ย์สนิ และวงศ์ตระกูล เอกวิทย์ สิทธิวา (2558) ได้นิยามไว้ว่า คือ การพัฒนาระบบงานบนเว็บ หรือแอพพลิเคชั่นท่ี เข้าถึงด้วยเว็บเบราว์เซอร์ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต เว็บ แอพพลิเคชั่นเป็นที่นิยมเนื่องจากความสามารถในการอัพเดท และดูแล โดยไม่แจกจ่ายและติดตั้ง ซอฟต์แวร์บนเครื่องผู้ใช้ อีกทั้ง PCMAG Encyclopedia (2011), เอไอ คอมพิวเตอร์ ( 2554) ได้ แสดงตัวอย่างเว็บแอพพลิเคชั่นได้แก่ เว็บเมล์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การประมูลออนไลน์ กระดานสนทนา บล็อก วิกิ และเว็บการเรียนรู้ทั่วๆ ไป ดังนั้น เว็บแอพพลิเคชั่นกำลังเป็นที่นิยม เนอ่ื งจากเข้าถงึ ได้งา่ ย และรองรับสมารท์ โฟนท้งั ios และ android การพัฒนาเวบ็ แอพพลิเคชัน่ ชุดโปรแกรม AppServ ภาณุพงศ์ ปัญญาดี (2560) ประกอบด้วยโปรแกรมสำคัญ ได้แก่ Apache,PHP, MySQL และ phpMyAdmin ซ่ึงเปน็ ชดุ โปรแกรมทีส่ ามารถจำลองเคร่ืองคอมพวิ เตอร์

7 ส่วนบุคคลให้เป็นเซิร์ฟเวอร์ติดตั้งบนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) เพื่อพัฒนาเว็บแอปพลิเค ชัน โดยใช้ภาษา PHP และติดต่อกบั ฐานข้อมลู MySQL รวมทั้ง Bootstrap (จิราวุธ วารินทร์, 2558) คือ Framework ทชี่ ว่ ยในการเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP โดยภายใน Bootstrap ได้เตรียมชดุ สไตล์ ชีท (Cascading Style Sheet: CSS) ที่ช่วยปรับแต่งหน้าจอเว็บเพจ เช่น ปุ่มตาราง หน้าต่างโต้ตอบ เพียงแค่กำหนดคลาสให้กับองค์ประกอบ (Elements) บนเว็บเพจ นอกจากนี้ภายใน Bootstrap มี ไลบรารีต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับพัฒนาเว็บไซต์ เช่น มีสคริปสำหรับการแสดงเมนู สามารถจัดเรียง องค์ประกอบอัตโนมัติเมื่อขนาดหน้าจอเปลี่ยน เป็นต้น ภาษาสคริปต์สาหรับฝั่งเซิร์ฟเวอร์ McGuire, C. (2018) เพอื่ ให้เกิดการประมวลผลที่ฝั่งเซริ ์ฟเวอรต์ ามการร้องขอ (request) จากผู้ใชง้ านโปรแกรม เว็บผ่านบราวเซอร์ เช่น Microsoft ASP.NET, Microsoft active server pages (ASP), sun java server pages (JSP), PHP : hypertext preprocessor (PHP) เ ป ็ น ต ้ น แ ล ะ ร ะ ว ี ว ร ร ณ วงศ์พิมพ์ (2552) ได้ใช้กระบวนการตามวงจรกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Life Cycle: SDLC) และหลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า ระบบสามารถจัดการข้อมูลการเรียนการสอนและข้อมูลนัดหมาย ได้ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ โดย สารสนเทศที่ได้สามารถนำไปใช้งานได้จริง รวมทั้ง ไฉน ผลดี (2553) นำเสนอระบบสารสนเทศเพื่อ การบริหารจัดการโครงการโรงรียนบ้านโนนยาง เพื่อบริหารจัดการข้อมูลโครงการ และติดตามการ ประเมินผลโครงการของโรงเรียนบ้านโนนยาง โดยระบบใช้โปรแกรมภาษาSQL เป็นเครื่องมือสร้าง ฐานข้อมูล และใช้โปรแกรมภาษา PHP ในการติดต่อฐานข้อมูลและพัฒนาเว็บเพจ ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผูใ้ ช้ระบบอยู่ในระดบั ดี ซึง่ สรปุ ได้ว่า ระบบมปี ระสิทธภิ าพ สามารถนำไปใชง้ านได้ แอนเิ มชน่ั ราชัน สมตาเตะและปิยะศักด์ิ ถีอาสนา (2558) ได้พัฒนาการ์ตูนแอนิมชัน 3 มิติ เรื่องเต่า น้อยผู้อดทน มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับสุดารัตน์ วงศ์คาพา (2554) ในการพัฒนา ส่อื การ์ตูนแอนเิ มชน่ั 2 มิติ เพ่ือรณรงคแ์ ก้ปัญหาเด็กอ้วน ซึ่งพบว่าผลการศึกษาพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิ เมช่นั 2 มิติ เพอื่ รณรงคแ์ กป้ ญั หาเด็กอ้วน ผ้เู ชย่ี วชาญได้ประเมนิ สื่อที่ผวู้ จิ ัยไดพ้ ัฒนาข้ึนโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน และสอดคล้องกับปรมาภรณ์ มาเทพ (2551) ได้พัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสาหรับสอนวิชาพระพุทธศาสนา เรื่องหลักธรรม ซึ่งพบว่าผล การศกึ ษาคณุ ภาพและความน่าสนใจของส่ือต่อนักเรียนชายและหญงิ ท้ังหมดมีความเห็นสอดคล้องกัน มคี วามพึงพอใจส่ือการ์ตนู มลั ติมเี ดีย สำหรับสอนวชิ าพระพทุ ธศาสนา เรอ่ื งหลักกรรม มคี วามนา่ สนใจ ในระดับดี วิลัยพร ไชยสิทธิ์ (2554) ได้พัฒนาแอพพลิเคชั่นฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์บนเครื่อง คอมพิวเตอร์แทบเลต สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ซึ่งผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมี พัฒนาการที่ดีขึ้น ณัฐณิชา เทศบุตร (2557) สร้างแอพพลิเคชั่นให้สามารถใช้งานได้ตรงตามฟังก์ช่ัน และวัตถุประสงค์ที่ส่งเสริมให้ผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่น เผยแพร่ภาษาถิ่นของไทยให้ได้เป็นที่รู้จักและยัง กระตุ้นให้ผู้ใช้เกิดความกระตือรือร้นและสนใจที่จะทราบถึงภาษาในแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ผู้ใช้

8 สามารถเพ่มิ คา่ ใหม่ทตี่ นทราบไว้ภายในแอพพลิเคชั่นเป็นการส่งเสรมิ ให้ภาษาถน่ิ ยงั คงถูกใช้งาน ไม่ถูก ละเลยจากสงั คม อกี ท้งั Michael J. D. Irvine (2013), Alexandre C. Probst (2014) และ Brittany Nicole Poydras (2013) ศกึ ษาเรอื่ งการยอมรบั เทคโนโลยีการสื่อสารแอพพลิเคชนั่ การศึกษาในคร้ัง นีจ้ งึ มุ่งไปท่ผี ลกระทบต่อการส่ือสารของเด็กออทสิ ติก การใช้แอพพลเิ คช่ัน communicate with me จะสามารถช่วยในเรื่องของการสื่อสารของ เด็กออทิสติกในห้องเรียนได้ โดยทดลองกับนักเรียนออทิ สติกที่มีอายุ 7–12 ปี ที่มีการสื่อสารระหว่างครู นักเรียนและผู้ปกครอง ผลการวิจัยพบว่า แอพพลิเคช่ันสามารถช่วยนกั เรยี นออทสิ ตกิ มีการสื่อสารท่ดี ขี น้ึ จากการศึกษาทำให้ผู้ได้เลือกใช้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น โดยเนื้อหานำเสนอในรูปแบบ การต์ นู แอนเิ มชั่น วีดีโอ และการประเมินการความรทู้ ่ีได้รับจากการเรยี นรโู้ ดยใชเ้ กมส์ 2.2 หลักมะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ Majma’ al-Lughah al-Arabiyyah (2004) เจตนารมณ์พื้นฐาน 5 ประการในอิสลาม โดย ชี้ให้เห็นว่าอิสลามได้กำหนดมาตรการและคำสอนต่างๆ เพื่อเป็นหลักประกันการสร้างความมั่นคงใน ชีวิตมนุษย์ ทั้งในลักษณะของการก่อให้เกิด และการธำรงรักษา มิให้สูญหายหรือนำไปใช้ในทิศทางท่ี ผิด ซึ่งล้วนสอนให้เรารู้ว่าอิสลามคือศาสนาที่ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพที่แท้จริง อีกทั้ง Asser (2008) จุดมุ่งหมายสำคัญของการกำหนดบทบัญญัตใิ นอิสลาม คือการปกป้องมนุษย์ในห้าประการสำคัญ คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูล และทรัพย์สิน อิสลามได้กำหนดบทบัญญัติการปกป้อง 5 ประการไว้อย่างสมบูรณ์และครอบคลุมในมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการก่อให้กำเนิด หรือมาตรการท่ี เก่ียวกบั การผดงุ รักษาเจตนารมณ์อสิ ลามท้งั 5 ประการ ใหส้ ามารถคงอย่กู บั ชวี ิตมนุษย์สบื ไป การปกปอ้ งศาสนา อิสลามได้ให้คุณค่าต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ด้วยการสนองความต้องการให้มนุษย์สามารถ ปฏบิ ตั ิหน้าทใ่ี นการภักดีต่ออลั ลอฮ์ และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของจิตใจดว้ ยการทำความดี ตลอดจน สร้างหลักประกันให้มนษุ ย์ประสบความสันติสุขที่แท้จริง วัตถุประสงค์หน่ึงของบทบัญญัติอิสลามเพอื่ ปกป้องศาสนา ไม่ว่าในลักษณะของการให้เกิดหรือการธำรงรกั ษาให้คงอยู่ เพื่อทำหน้าที่ชี้นำมนุษยส์ ู่ แนวทางอันเทยี่ งตรง โดยกำหนดมาตรการตา่ งๆ ดงั นี้ (Al-Qaradhawi, Y, 2012) ก. มาตรการปกป้องศาสนาในลักษณะของการให้เกดิ มีดังต่อไปนี้ 1. เสริมความเข้มแข็งของหลักการศรัทธาต่ออัลลอฮ์ ศาสนทูตของพระองค์ บรรดาคัมภีร์ เทวทูต (มลาอิกะฮ์) วันปรโลก(อะคีเราะฮ์)และการกำหนดสภาวการณ์(เกาะดัร) ดังที่อัลลอฮ์ ตรัสมี ใจความวา่

9 “โอ้ผู้ศรัทธาทั้งหลาย จงศรัทธาต่ออัลลอฮ์และเราะซูลของพระองค์เถิด และคัมภีร์ที่พระองค์ได้ ประทานลงมาแก่เราะซูลของพระองค์ และคัมภีร์ท่ีพระองค์ได้ประทานลงมากอ่ นนั้น และผู้ใดปฏเิ สธ ศรัทธาต่ออัลลอฮ์ มลาอิกะฮ์ บรรดาคัมภีร์ บรรดาเราะซูล และวันปรโลกแล้วไซร้ แน่นอนเขาได้หลง ทางไปแล้วอยา่ งไกล” (อลั กุรอาน 4 :136) 2. ความศรทั ธาเหล่าน้ตี ้องอยู่บนพนื้ ฐานของสตปิ ัญญาและการใช้เหตุผลทางวิชาการ เนอ่ื งจากการเชญิ ชวนสู่อิสลามต้องอาศยั หลักการใครค่ รวญและการไตร่ตรอง ดงั ท่ีอัลลอฮ์ ตรัสมี ใจความว่า “และพวกเขามิได้ใคร่ครวญในอำนาจท้ังหลายแห่งบรรดาชนั้ ฟา้ และแผ่นดนิ และส่งิ ใดส่งิ หน่งึ ที่อัลลอฮไ์ ด้ทรงบังเกดิ ข้ึนดอกหรือ” (อลั กรุ อาน 7:185) 3. การทำการภักดีสักการะ (อิบาดะฮ์) ต่อพระผู้เป็นเจ้า เช่น การละหมาด การจ่ายซะกาต การถือศีลอด และการประกอบพธิ ีหัจญ์ ซึ่งอบิ าดะฮ์เหล่าน้ีมีเคล็ดลับและจุดมุ่งหมายท่ีสูงส่ง ที่สำคัญ ที่สุดคือเปิดโอกาสให้มนุษย์สร้างความสัมพันธ์กับพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งเป็นปัจจัยในการเสริมสร้างความ ศรัทธาที่เข้มแข็ง ดังที่ท่านนะบีมุฮัมมัด ได้กล่าวในหะดีษกุดซีย์ความว่า “ไม่มีการกระทำใดๆ ที่บ่าว ของฉันได้กระทำไว้ ทส่ี ร้างความพึงพอใจแก่ฉนั มากกวา่ การที่เขาได้ปฏบิ ตั ใิ นส่ิงท่ฉี ันบงั คับให้กระทำ” 4. อสิ ลามกำหนดใหม้ ุสลิมทำการเชญิ ชวนสู่หนทางของอัลลอฮ์ ตลอดจน ปกป้องดูแลผู้ที่ทำ หน้าที่ดังกล่าว ดังที่อัลลอฮ์ตรัสมีใจความว่า “และจงให้มีขึ้นจากพวกเจ้า ซึ่งกลุ่มหนึ่งที่เชิญชวนสู่ ความดี สั่งใช้ให้กระทำสิ่งที่ชอบและห้ามปรามมิให้กระทำสิ่งมิชอบ และชนเหล่านี้แหละคือผู้ได้รับ ความสำเร็จ” (อัลกรุ อาน 3:104) ข. มาตรการปกป้องศาสนาให้ดำรงอยู่ หมายถึง อิสลามได้กำหนดมาตรการและแนวทางสำหรับการปกป้องศาสนาจากการทำลาย และการกำจดั อุปสรรคขวากหนาม เพื่อการดำรงอยู่ของศาสนา (Mohamad .A, 2006) ส่วนหนึ่งของแนวทางปกป้องมดี ังต่อไปนี้ 1. อิสลามรับรองให้มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา เพราะอิสลามมิได้บังคับให้ผู้ใดนับถือ ศาสนา และยอมรับการอยู่ร่วมกันระหว่างต่างศาสนิก และอนุญาตให้มีการปฏิบัติตามศาสนบัญญัติ ของแต่ละศาสนาอยา่ งอสิ ระ ตามท่ไี ดป้ รากฏในประวัติศาสตรก์ ารปกครองในอิสลาม 2. อิสลามบัญญัติให้มีการต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮ์ (ญิฮาด) เพื่อความมั่นคงของศาสนา อสิ ลาม ปกป้องการรกุ ราน และพทิ กั ษร์ กั ษาเสรภี าพในความเชอื่ ดงั ทีอ่ ัลลอฮ์ตรัสมีใจความว่า “และพวกเจ้าจงต่อส้ใู นหนทางของอลั ลอฮต์ ่อบรรดาผ้ทู ี่ทำสงครามพวกเจ้า และจงอย่ากระทำท่ีเกิน เลย แท้จรงิ อลั ลอฮไ์ ม่ทรงชอบการกระทำที่เกนิ เลย” (อัลกุรอาน 2: 190) 3. อสิ ลามกำชบั ให้มุสลมิ ยึดหลักคำสอนอย่างเคร่งครดั ตลอดจนปฏบิ ัติตามหลักคำสอนอย่าง ครบถว้ นสมบรู ณ์ เพ่ือทำใหจ้ ิตใจสะอาด และจะส่งผลตอ่ การมีพฤติกรรมที่ดีในชีวิตประจำวนั ดังท่ีอัล

10 กุรอานได้รวมบรรดาผู้ศรัทธากับบรรดาผู้กระทำความดีอยู่เสมอเพื่อเป็นบทเรียนว่า การศรัทธากับ การกระทำความดีเป็นส่ิงท่คี วบคกู่ นั ไมส่ ามารถแยกออกจากกันได้ 4. อิสลามกำหนดบทลงโทษฐานพ้นจากศาสนา (ริดดะฮ์) เพื่อให้เกิดความจริงจังในการนับ ถอื เพราะตอ้ งมีการนบั ถอื อย่างสมบรู ณแ์ บบ อสิ ลามมไิ ดบ้ ังคบั ใหผ้ ู้ใดนับถอื อสิ ลาม แต่เมื่อนับถอื แล้ว เปน็ หน้าทีท่ ตี่ อ้ งปฏิบตั ติ ามกฏกติกาอยา่ งเคร่งครัด หากผู้ใดพน้ จากศาสนาหลงั จากนน้ั หมายความว่า เขาได้สร้างความปั่นป่วนทางความคิด และสร้างความวุ่นวายแก่สงั คม ดังนั้น บทลงโทษความผิดฐาน พ้นจากศาสนามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความจริงจังในการนับถือศาสนา อันเป็นการให้เกียรติแก่ ศาสนา 5. อสิ ลามได้สรา้ งกำแพงเพ่ือเปน็ เกราะกำบงั และเสริมความเข้มเเขง็ ของสังคม ดว้ ยการทำอิ บาดะฮ์ เช่นการละหมาดรวมกัน (ญะมาอะฮ์) การถือศีลอด การจ่ายซะกาต เป็นต้น เพื่อเสริมสร้าง จติ ใจทมี่ ั่นคงของคนในสังคม การปกป้องชวี ติ สิ่งจำเป็นอีกประการหนึ่งสำหรับมนุษย์คือการมีชีวิต อิสลามได้วางแนวทางในการป้องกัน คณุ คา่ แห่งชีวิตไวด้ ังนี้ ก. มาตรการปกปอ้ งชีวิตดา้ นการใหก้ ำเนิด อิสลามอนุมัติการสมรสหรือการใช้ชีวิตคู่ เนื่องจากการสมรสเป็นการสืบเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ อันเป็นผู้แทนของอัลลอฮ์ บนหน้าแผ่นดิน และการสมรสเป็นการตอบสนองความต้องการขัน้ พื้นฐาน ของมนุษย์อันจะนำมาซึ่งความรักและความสันติ อิสลามถือว่าการมีชีวิตคู่คือส่วนหนึ่งของสัญญาณ แห่งความยิ่งใหญ่ ดงั ทพี่ ระองค์ตรัสมใี จความวา่ “และหนง่ึ จากสญั ญาณทง้ั หลายของพระองค์คือทรงสรา้ งคู่ครองให้แก่พวกเจ้าจากตวั ของพวกเจ้าเอง เพื่อพวกเจ้าจะได้มีความสุขอยู่กับนาง และทรงให้มีความรักใคร่และความเมตตาระหว่างพวก เจา้ ” (อลั กรุ อาน 30:21) ข. มาตรการปกปอ้ งชีวิตให้สามารถคงอยู่ Sya’bani A. (2015) 1. สิ่งจำเป็นสำหรบั มนุษย์ คือการมีชีวิตอย่างต่อเนื่องและการอยู่รอดบนโลกนี้ ซึ่งต้องอาศัย ปัจจัยยงั ชีพไม่วา่ จะเป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องแต่งกายและทีอ่ ยู่อาศยั อิสลามถือว่าผู้ใดทีล่ ะเลย ในการแสวงหาปัจจยั 4 เพอื่ ประกนั การอยรู่ อดของชีวิตแลว้ เขาได้กระทำความผดิ อยา่ งใหญ่หลวง 2. รัฐอิสลามจำต้องสร้างหลักประกัน ความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยแก่ ประชาชน และกิจการภายในประเทศ ตลอดจนผดุงไว้ซึ่งความยุติธรรม และการให้สิทธิและเสรีภาพ ตา่ งๆแก่ผใู้ ต้ปกครองเพ่ือบำบัดทุกข์ บำรงุ สุขแกป่ ระชาชน 3. อิสลามได้กำหนดมาตรการปกป้องรักษาเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ การ เคารพสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การประกอบอาชีพ การเลือกถิ่นที่อยู่อาศัย และสิทธิ

11 อื่นๆที่มนุษย์พึงได้ แม้กระทั่งหลังจากมนุษย์ได้สิน้ ชีวิตแล้ว ฉะนั้นการทำลายและสร้างความเสียหาย ต่อเกยี รติและชอื่ เสียงของมนุษย์ เชน่ การใส่รา้ ยปา้ ยสีวา่ ผิดประเวณี การด่าทอ การดูถูกเหยียดหยาม การทรมานร่างกายและจิตใจ หรือแม้กระทั่งการทำร้ายศพ ล้วนแล้วเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และเป็นส่งิ ตอ้ งหา้ มในอิสลามท่ีมบี ทบัญญตั อิ ยา่ งชัดเจน 4. อิสลามได้ผอ่ นปรนในการปฏบิ ตั ิศาสนกิจเน่อื งจากความจำเปน็ หรือความยากลำบากและ เกินความสามารถของบุคคลที่จะกระทำได้ เช่น การผ่อนปรนละศีลอดในตอนกลางวันของเดือน รอมฎอน เนื่องจากการเจ็บปว่ ย เดนิ ทาง หรอื สตรมี ีครรภ์ และการผ่อนปรนในศาสนบัญญัติอ่ืนๆ เพ่ือ มิให้มุสลิมเกิดความยุ่งยากในการประกอบพิธีทางศาสนา และไม่ก่ออันตรายต่อชีวิตเนื่องจากกา ร ปฏิบตั ิศาสนกิจ 5. อิสลามได้ห้ามการฆาตกรรม ทั้งการฆ่าตัวเองหรือผู้อื่น เพราะเป็นอาชญากรรมที่สร้าง ความเสียหายต่อมวลมนุษยชาติทั้งมวล อิสลามถือว่าการฆ่าชีวิตหนึ่งที่บริสุทธิ์ เปรียบเสมือนการฆ่า ชีวิตมนุษย์ทั้งโลก หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งการฆ่าชีวิตหนึ่งที่บริสุทธิ์ ไม่ต่างไปจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ น่ันเอง ท้งั น้อี ิสลามถอื ว่าไม่มีผ้ใู ดมีสทิ ธ์ทิ ำลายชวี ติ ของใครคนหนึ่งเว้นแต่ผู้ท่ีประทานชีวติ เขาเทา่ น้นั 6. อิสลามได้กำหนดบทลงโทษประหารชีวิต (กิศอศ) สำหรับผู้กระทำผิดฐานฆ่าคนตายโดย เจตนา และกำหนดให้มีการจ่ายค่าชีวิต(ดิยัต) และค่าสินไหมทดแทน (กัฟฟาเราะฮ์) สำหรับผู้กระทำ ผิดฐานฆา่ คนตายโดยไม่เจตนาหรือโดยพลาดพล้งั 7. อิสลามกำหนดให้ประกาศสงคราม เพื่อปกป้องชีวิตผู้บริสุทธิ์และผู้อ่อนแอ จากการล่วง ละเมดิ และรุกรานของฝา่ ยศตั รู 8. อิสลามสอนให้มุสลิมต้องให้ความช่วยเหลือและปกป้องเพื่อนมนุษย์ที่ถูกอธรรม อย่างสุด ความสามารถ 9. อิสลามสอนให้มสุ ลมิ รูจ้ ักปกปอ้ งตนเองให้พ้นจากการถูกอธรรมโดยฝา่ ยศตั รู การปกป้องสตปิ ัญญา อิสลามให้ความสำคัญต่อการรักษาสติปัญญา เพราะปัญญาเป็นสิ่งประเสริฐที่สร้างความ แตกตา่ งระหว่างมนุษย์กับสงิ่ ถูกสรา้ งอนื่ และปญั ญาทำให้มนุษยม์ ีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีการงานท่ี ได้รับมอบหมาย ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงได้วางแนวทางในการรักษาสติปัญญาให้สมบูรณ์ ดังต่อไปนี้ (Muhammad, 2007) 1. อิสลามห้ามส่ิงต่างๆที่ส่งผลต่อการทำลายความสมบูรณ์ของสติปัญญามนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการ ห้ามสิ่งมึนเมา สิ่งเสพติด หรือสิ่งที่ทำให้สมองเกิดความบกพร่อง และไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ให้ สมบรู ณ์ได้

12 2. อิสลามกำหนดบทลงโทษท่เี ด็ดขาดสำหรับผู้ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องกับสิ่งมนึ เมาหรือส่ิงเสพติดอย่าง ครบวงจรตั้งแต่ ผู้ผลิตจำหน่าย ผู้สนับสนุน ผู้ซื้อผู้ขาย เจ้าของกิจการ พนักงาน ล้วนได้รับ ผลตอบแทนอย่างเทา่ เทียมกนั 3. อิสลามอบรมสัง่ สอนและสรา้ งจิตสำนึกให้มนุษย์มีสตปิ ัญญาที่สมบูรณ์ เข้าใจสัจธรรม คิดและ ปฏบิ ตั ิในส่ิงที่ดีและถกู ตอ้ ง 4. อิสลามเรียกร้องให้มนุษย์สร้างความสมบูรณ์แก่สติปัญญา ทั้งทางด้านกายภาพและ ชวี ภาพ ในดา้ นกายภาพไดส้ ั่งให้มนุษย์รบั ประทานอาหารท่ีมีคุณค่าเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ส่งผลต่อ การพัฒนาสติปัญญา อิสลามถือว่าไม่สมควรสำหรับผู้พิพากษาที่จะทำการตัดสินคดีในขณะที่ตนหิว โหย ด้วยเหตุนี้จึงส่งเสริมให้ผู้พิพากษารับประทานอาหารก่อนจะทำการพิจารณาพิพากษาคดี เพ่ือ ขจดั อปุ สรรคและปญั หาในการพจิ ารณาตดั สินคดี ส่วนการสร้างความสมบูรณ์แก่สติปัญญาด้านชีวภาพนั้นคือการให้ความรู้และความศรัทธา ดงั น้นั เป็นสง่ิ จำเปน็ สำหรบั มสุ ลมิ ท้ังชายและหญงิ ที่จะต้องแสวงหาความรจู้ นวาระสดุ ทา้ ยของชีวิต 5. อิสลามได้ยกฐานะของสติปัญญาด้วยการให้เกียรติต่อผู้มีปัญญาที่ดีเลิศ ดังที่อัลลอฮ์ตรัสมี ใจความว่า “จงกล่าวเถิด(มูฮัมมัด) บรรดาผู้รู้และบรรดาผู้ไม่รู้จะเท่าเทียมกันหรือ แท้จริงบรรดาผู้มีสติปัญญา เทา่ นน้ั ทจ่ี ะใคร่ครวญ” (อลั กุรอาน 39:9) 6. อิสลามสอนให้มนุษย์ปลดปล่อยสติปัญญาจากการถูกครอบงำทางความคิดที่ผิดเพี้ยน งมงาย และไม่ถูกต้อง ดังนั้นอิสลามจึงห้ามมนุษย์ไม่ให้เกี่ยวขอ้ งกับไสยศาสตร์ การทำนายพยากรณ์ หรือสิ่ง งมงายอน่ื ๆ และถอื ว่าผทู้ ่มี คี วามเชอื่ ในส่ิงงมงาย เป็นผู้กระทำบาปอนั ใหญ่หลวง 7. อสิ ลามได้ฝกึ ฝนสติปญั ญาเพ่อื ให้เกดิ ผลและรับรูถ้ ึงสจั ธรรมผ่านกระบวนการสองประการ 7.1 การเอาหลักการที่ถูกต้อง มาคดิ ไตรต่ รองและ ใคร่ครวญเพ่อื ให้เกิดความเช่ือม่นั ในสจั ธรรม 7.2 การเชิญชวนให้พิจารณาไตร่ตรองถึงการสร้างสรรพสิง่ ต่างๆ ของอลั ลอฮ์เพ่ือใหเ้ กิดความมั่นใจใน ความย่งิ ใหญข่ องอัลลอฮ์ 8. อสิ ลามได้สง่ั ใหพ้ ิจารณาไตร่ตรองในความบรสิ ทุ ธแิ์ หง่ บทบัญญตั ิและวิทยปัญญา ดังทีอ่ ัลลอฮ์ ตรัสมีใจความวา่ “พวกเขาไม่พิจารณาดูอัลกุรอานบ้างหรือ และหากอัลกุรอานมาจากผู้อื่นทีไ่ ม่ใช่อัลลอฮ์แล้ว แน่นอน พวกเขาจะพบวา่ ในนนั้ มคี วามขัดแยง้ กันมากมาย” (อลั กุรอาน 4:82) 9. อิสลามสั่งให้มนุษย์ใช้สติปัญญาในการไตร่ตรองถึงลักษณะกายภาพของจักวาลและใช้เป็น ประโยชน์ในการสรา้ งอารยธรรมอนั สงู ส่ง 10. อิสลามได้เปิดโอกาสให้มนุษย์ใช้สติปัญญาในการวินิจฉัยปัญหาทางศาสนาที่มิได้มีตัว บทบญั ญัตไิ ว้เปน็ ทีช่ ัดแจ้งในกรณตี ่อไปน้ี 10.1 การวนิ จิ ฉัยคน้ หาเกี่ยวกับความมงุ่ หมายหรอื เจตนารมณข์ องบทบัญญตั ิน้นั ๆ

13 10.2 การวินิจฉัยปัญญาร่วมสมยั ทางศาสนา เพื่อให้ครอบคลุมและสามารถบังคับใชไ้ ด้ในทกุ ยคุ ทุกสมัยโดยผ่านวธิ ีการเทยี บเคยี งตัวบท การคำนึงผลประโยชน์สาธารณะเป็นสำคญั การปกป้องวงศต์ ระกูล Lafortune M.D. (2013) การปกป้องวงศ์ตะกูลโดยผ่านการสมรส เพื่อรักษาเชื้อสายของ การสบื สกุลของมนุษยชาติ จนถึงวาระสุดทา้ ยของโลกใบนี้ ดงั แนวทางตอ่ ไปนี้ 1. มกี ารกำหนดบทบัญญตั เิ กยี่ วกบั การสมรส อิสลามไดก้ ำหนดบทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การสมรส และส่งเสริมให้ใช้ชีวิตคู่ที่ถูกต้องตามหลักการแห่งศาสนา ทั้งนี้เพื่อปกป้องความคงอยู่ของมนุษย์ใน การสร้างอารยธรรมของโลกอย่างต่อเนอื่ ง 2. กำชับให้บิดามารดาให้การอบรมบุตร ตลอดจนให้ปัจจัยยังชีพและความรักความเอ็นดูที่ อบอนุ่ 3. ดูแลและปกป้องครอบครัวให้พ้นจากภยันตราย เพื่อสร้างสมาชิกใหม่ที่มีจริยธรรมดี งาม อสิ ลามไดก้ ำหนดความสัมพันธร์ ะหว่างสามภี รรยาบนพนื้ ฐานของความสมคั รใจและยนิ ยอม ของ ทง้ั สองฝ่าย ใหม้ ีการปรกึ ษาหารือในกิจการทุกอยา่ งของครอบครัวจนเกิดความรกั ความเข้าใจระหว่าง คู่สามีภรรยา 4. ควบคมุ ความสมั พันธร์ ะหว่างบุรุษและสตรใี ห้อยู่ในขอบเขต กำหนดให้มีการลดสายตาลง ต่ำต่อเพศตรงข้ามที่สมรสได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้เกิดอารมณ์ใคร่ตามมา กำหนดให้สตรีแต่งกายด้วยเสื้อผ้า อาภรณ์ที่ปกปิดมิดชิดเพื่อให้พ้นจากสิ่งชั่วร้าย ห้ามมิให้ชายหญิงที่สามารถสมรสได้อยู่ปะปนกัน ยกเว้นมีบุคคลที่หญิงไม่สามารถสมรส (มะห์ร็อม) อยู่ด้วย อิสลามยังได้ห้ามมิให้เข้าบ้านของผู้อ่ืน จนกว่าจะไดร้ บั อนญุ าตจากเจ้าของหลังจากท่ีให้สลามแล้ว เป็นตน้ 5. ห้ามคุกคามร่างกายของผู้อื่น ดังที่อัลลอฮ์ ได้ทรงห้ามการผิดประเวณี เหมือนกับที่ พระองค์ทรงห้ามการกล่าวหาหญิงบริสุทธิ์ว่ากระทำผิดประเวณี(ก็อซฟ์) ดังที่อัลกุรอานบัญญัติ บทลงโทษของความผิดท้งั สอง ดงั มีใจความว่า “หญิงผิดประเวณีและชายผิดประเวณี พวกเจ้าจงโบยแต่ละคนในสองคนนั้นคนละหนึ่งร้อยที และ อยา่ ให้ความสงสารยบั ยง้ั การกระทำของพวกเจา้ ตอ่ คนทงั้ สองน้นั ในบัญญัตขิ องอลั ลอฮเ์ ป็นอนั ขาด” (อัลกรุ อาน 24: 2) “และบรรดาผกู้ ลา่ วหาบรรดาหญิงบริสุทธิว์ ่ากระทำผิดประเวณี แล้วพวกเขามิไดน้ ำพยานส่คี นมา พวกเจ้าจงโบยพวกเขาแปดสิบที และพวกเจ้าอย่ารับการเป็นพยานของพวกเขาเปน็ อันขาด” (อลั กุ รอาน24:4 )

14 การปกป้องทรพั ยส์ นิ อิสลามถือว่าทรัพย์สินเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ ดังนั้นการปกป้องทรัพย์สินจึงเป็นส่ิง สำคญั ดังแนวทางตอ่ ไปน้ี 1. ส่งเสริมให้หาปจั จัยยังชีพเพือ่ ชวี ิตประจำวัน อิสลามถือว่าการประกอบอาชพี สุจริตเป็น อิ บาดะฮ์ ตอ่ พระผเู้ ปน็ เจ้าหากมกี ารตงั้ ใจท่บี ริสทุ ธ์ิเพ่ือพระองค์ ดังท่ีอลั กุรอานบัญญัติ มีใจความวา่ “พระองค์คือผู้ทรงทำแผ่นดินนี้ให้ราบเรียบสำหรับพวกเจ้า ดังนั้นจงสัญจรไปตามขอบเขตของมัน และจงบรโิ ภคจากปจั จัยยังชีพของพระองค”์ (อลั กุรอาน 67: 15) 2. อสิ ลามได้ให้ความสำคญั แกก่ ารประกอบอาชีพ ดังท่ที ่านนะบมี ุฮมั มัดกลา่ วไว้ความวา่ “ไม่มีผู้ใดที่รับประทานอาหารที่ประเสริฐมากกว่าการที่เป็นผลงานของเขาเอง แท้จริงนะบีดาวูด รบั ประทานอาหารที่เป็นผลจากการท่ีทา่ นได้กระทำดว้ ยตนเอง” เปน็ หนา้ ทข่ี องรัฐท่ตี ้องหางานแก่ผทู้ ี่ยังไม่มงี านทำ และจ่ายคา่ ตอบแทนแก่พวกเขาอย่างเป็น ธรรม ดังทท่ี ่านนะบีมุฮมั มัด กล่าวความวา่ “จงจา่ ยคา่ จ้างตามสิทธทิ ี่ลกู จ้างพงึ ไดร้ ับ กอ่ นทีเ่ หง่ือจากการทำงานของเขาจะแห้ง” 3. อิสลามอนมุ ตั ิใหก้ ่อนิตสิ ัมพนั ธ์ทยี่ ุติธรรมแก่คสู่ ญั ญา และไม่คกุ คามสิทธขิ องผู้อื่น ดังกรณี การอนุมัติการซื้อขาย การเช่า การจำนองจำนำ การรวมหุ้นและนิติสัมพันธ์อื่น โดยมีเงื่อนไขว่าไม่ สร้างความเดอื ดร้อนแก่ผู้อ่นื และเป็นไปอยา่ งบริสุทธยิ์ ุตธิ รรม สำหรับมาตรการในการรกั ษาทรพั ย์สินใหด้ ำรงคงอยู่ มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. อิสลามกำชับให้มสุ ลิมใช้ทรัพยส์ ินเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม ห้ามมิให้กอบโกยทรัพย์สนิ ที่ ขัดกับหลักการศาสนา และสร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น เช่น การก่อนิติกรรมที่มีดอกเบี้ย อัลกุรอาน บัญญตั มิ ใี จความดงั น้ี “อลั ลอฮท์ รงอนญุ าตการซ้อื ขาย แต่ทรงหา้ มดอกเบ้ยี ” (อลั กุรอาน 2:275) “จงอย่ากนิ ทรพั ย์สนิ ระหว่างพวกเจ้าโดยไมช่ อบธรรม” (อลั กุรอาน 2:188) 2. ห้ามลิดรอนสิทธิในทรัพย์สินของผู้อื่นด้วยการกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดฐานลัก ทรพั ย์ โกง หรอื ปล้นทรัพย์ ดังทอี่ ลั กุรอานบัญญัติมใี จความว่า “และขโมยชายและขโมยหญงิ น้ันจงตดั มอื ของเขาท้ังสอง” (อลั กรุ อาน 5: 38) 3. ห้ามแจกจ่ายทรัพย์สินไปในหนทางที่ไม่อนุมัติ แต่ส่งเสริมให้ใช้จ่ายทรัพย์สินในหนของ ความดี หลักการของระบบเศรษฐกิจอิสลาม ถือว่าทรัพย์สินทุกอย่างเป็นของอัลลอฮ์ มนุษย์นั้นเป็น ผูแ้ ทนของพระองคใ์ นการใชจ้ ่ายทรัพย์สนิ ในหนทางหรือกิจการทีเ่ ปน็ ความดี 4. กำหนดบทบญั ญตั ิในการรักษาทรัพย์สินของ ผเู้ ยาว์ หรอื ผู้ไรค้ วามสามารถ จนกว่าบุคคล เหล่าน้จี ะมีความสามารถ เชน่ รกั ษาทรพั ย์สินของผเู้ ยาวจ์ นกว่าพวกเขาจะบรรลุนติ ภิ าวะ

15 5. วางระบบการเงินบนพื้นฐานของความพึงพอใจและเป็นธรรม โดยกำหนดว่านิติกรรม สัญญาจะไม่มีผลตราบใดที่คู่สัญญายังไม่มีความพึงพอใจและนิติกรรมนั้นไม่ก่อให้เกิดความเป็นธรรม แก่คสู่ ัญญาท้ังสองฝา่ ย ดงั ที่อลั กุรอานบัญญตั ิมีใจความว่า “ผู้ศรัทธาทั้งหลาย จงอย่ากินทรัพย์ของพวกเจ้าในระหว่างพวกเจ้าโดยมิชอบ นอกจากมันจะเป็น การคา้ ขายทเ่ี กิดจากความพอใจในหมพู่ วกเจ้า” (อลั กรุ อาน 4: 29) 6. เชิญชวนมนุษย์ให้มีการพัฒนาทรัพย์สินจนเกิดดอกผลงอกเงยขึ้นในสังคม ด้วยเหตุน้ี อิสลามจึงส่งเสริมให้มีการลงทุน เพื่อให้ทรัพย์สินเกิดการหมุนเวียน อิสลามสั่งห้ามมิให้มีการกักตุน สินค้าหรือสะสมเงินทองโดยเปล่าประโยชน์ ทั้งนี้เพื่อให้ทรัพย์สมบัติสามารถสร้างความสงบสุขใน สังคมอยา่ งแท้จรงิ ดงั นน้ั จากเนอ้ื หาทง้ั หมดจะเห็นไดว้ ่าจดุ มงุ่ หมายของบทบญั ญัติอิสลามเพ่ือปกป้องมนุษย์ใน ห้าด้าน คือ ศาสนา ชีวิต สติปัญญา วงศ์ตระกูลและทรัพย์สิน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการดำรงชีวิตท่ี สมบูรณ์และมั่นคง สังคมที่เข้มแข็งและมั่นคงจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อผู้คนในสังคมสามารถปฏิบัติตาม บทบัญญัติอย่างเคร่งครัด และในกรณีที่จุดมุ่งหมายที่กล่าวมาบางส่วนหรือประการหนึ่งประการใด ไม่ได้รับการสนองตอบ สิ่งที่จะเกิดขึ้นคือความระส่ำระสายในสังคมอันจะเป็นตัวบั่นทอนความมั่นคง ของมนษุ ยใ์ นทสี่ ดุ ดังนั้นการวจิ ัยคร้ังนจี้ ะนำหลักมะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ ท้งั 5 ดา้ น มาจัดเนอื้ หาเปน็ 3 ระดับ ดังนี้ หลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์ Basic ม.4 บทเรยี น Advanced ม.6 1) หลักกอฎอ-กอฎรั Intermediated ม.5 11) การละหมาด 1.ดา้ นศาสนา 2) การใชช้ ีวิตรว่ มกัน 6) ถอื ศลี อด 12) หวั รอ้ น 2.ดา้ นชวี ิต 3) ขา่ วปลอม 7) อาหาร 13) ค่ายวิชาการ 3.ดา้ นสตปิ ัญญา 4) รสนยิ มทางเพศ 8) ยาเสพตดิ 14) ครอบครัว 4.ด้านวงศ์ตระกูล 5) การบรจิ าค 9) ซีนา 15) การลงทุน 5.ด้านทรพั ยส์ นิ 10) สุรุ่ยสุรา่ ย 2.3 ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ก า ร ส อ น ใ น ศ ต ว ร ร ษ ท ี ่ 21 (P21’s Framework for 21stCentury Learning) Ramachandiran and Mahmud (2018)ทีไ่ ดก้ ำหนดทักษะการเรยี นร้ใู น 3 ทกั ษะ ได้แก่ ทกั ษะชวี ติ และการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะข้อมูลการสื่อสารสนเทศและเทคโนโลยี โดยผู้เรียนจะต้องอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น (Reading, (W) Riting (A) Rithmetics: 3Rs) Pearson Education,Inc. (2009) ได้ให้ความหมายของทักษะในศตวรรษที่ 21 ไว้ว่า ทักษะใน

16 ศตวรรษที่ 21 หมายถงึ ความสามารถพเิ ศษทเี่ ด็กจะต้องพัฒนาเพ่ือให้สามารถเตรยี มตัวสำหรับความ ท้าทายในการทำงานและการดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 อีกทั้ง ภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills,2011) เสนอว่าทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่สำคัญที่ นักเรียนพึงมีเพื่อให้ประสบความสำเร็จในการเรียน การทำงาน และการดำรงชีวิต (วิจารณ์ พานิช, 2555) ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตั้งแต่ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัยและตลอดชีวิต เพื่อเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็ว รนุ แรง พลกิ ผัน และคาดไมถ่ งึ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และวามสามารถท่ีบุคคล พึงมีเพื่อเตรียมตัวสาหรับการดารงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ความท้าทายของสภาวะการ เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ในศตวรรษที่ 21 (วภิ าวี ศริ ลิ ักษณ,์ 2557) วิภาวี ศิริลักษณ์ (2557: 15) ได้ให้ความหมายของทักษะในศตวรรษท่ี 21 ไว้ว่า เป็น ความสามารถและทกั ษะทส่ี าคญั ทีบ่ ุคคลพงึ มีเพ่ือเตรยี มตัวสาหรับการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ที่ทกุ คนจะตอ้ งเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ประสบความสำเร็จในการเรียน การทางาน และการดารงชวี ิต ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมเยาวชนให้พร้อมกับชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 เป็นเรื่องสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21 Bellanca and Brandt (2010) ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง สังคมจึงต้องมีความ ตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้เยาวชนมีทักษะสำหรับการ ออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) (Burkhardt, 2003) ส่งผลให้มี การเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ จำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียม ความพร้อมด้านต่างๆ เมื่อก่อนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 20 ได้เปลี่ยนไป ศตวรรษที่ 21 ได้เช้ามา แทนท่ี ซง่ึ มีการเปล่ยี นแปลงอย่างมากมาย (Gardner, 2010) ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการสอ่ื สาร Schrier (2006) ทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็วทั้งด้านการแพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจนจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการ สื่อสารคือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง จากเดิมสังคมไทยเป็นสังคมแบบ เรียบง่าย มีวิถีชีวิตที่แตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างชนบทและในเมือง Bybee (2009) อันเนื่องมาจาก สภาพภูมิศาสตร์และเศรษฐกิจ แต่ทุกวันนี้กลายเป็นสังคมแห่งการแก่งแย่งแข่งขัน เน้นความ สะดวกสบาย และรวดเร็ว มีการรับข้อมูลข่าวสารจากหลากหลายช่องทาง และมีการส่งต่อแบ่งปัน ข้อมูลกันผ่านช่องทางที่หลากหลายจนกลายเป็นสังคมนิยมข้อมูล สิ่งเหล่านี้ทำให้ความแตกต่าง ระหว่างชนบทและเมืองน้อยลง ซึ่งน่าจะเป็นผลดีกลับสง่ ผลทางลบต่อสังคมของประเทศโดยภาพรวม (Larson & Miller, 2011) วัฒนธรรมของคนไทยเปลี่ยนจากการดำรงชีวิตแบบเดิม เน้นการนำเสนอ และสร้างข้อมูลข่าวสารเพื่อแบ่งปันกันผ่านโลกออนไลน์ทั้งเฟซบุค (Facebook) ไลน์ (Line) อินสตา

17 แกรม (Instagram) Marzano (2003) ทำให้สังคมเสมือน มีความสำคัญกับคนไทยมากกว่าสังคมที่ แท้จริง คนส่วนใหญ่ยึดติดกับการติดตามข้อมูลทางออนไลน์มากกว่าจะเสียเวลามานั่งอ่านหนังสือ สนใจฟงั ความรู้ หรือเลือกใชข้ ้อมลู ท่มี คี นอื่นวเิ คราะห์ สังเคราะห์มาให้แล้วมากกวา่ การมานง่ั วิเคราะห์ สังเคราะห์เองซึ่งข้อมูลเหล่านั้นมีทั้งถูกและผิด วัฒนธรรมการแบ่งปันข้อมูลผ่านทางออนไลน์ใน รปู แบบตา่ ง ๆ (The National Commission on Teaching and America’s Future. 2003) ทำให้ เกิดการแลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสารมากมายมหาศาลโดยไม่มีการไตร่ตรองหรือกลั่นกรองข้อมูลนั้นก่อน นำไปใชท้ ำใหเ้ กดิ อันตรายและเกิดผลกระทบอันรา้ ยแรงต่อสงั คมและผคู้ นที่เกย่ี วข้องตามมา จากวฒั นธรรมท่เี ปลี่ยนแปลงไปสง่ ผลต่อวัฒนธรรมการเรียนการสอนกเ็ ปล่ียนไปเช่นเดียวกัน ผู้เรียนยุคใหม่ไมช่ อบเรียนในห้องเรียนท่ีมีครูคอยจ้ำช้ีจ้ำไช ไม่ชอบวิธกี ารเรยี นแบบเดิม ๆ ไม่ชอบน่ัง ฟงั ครูสอนเพียงอย่างเดียว (Chandra and Tangen 2018) เพราะผเู้ รียนคิดว่าตนเองสามารถค้นคว้า หาความรู้ต่าง ๆ ได้เพียงแค่ใช้อินเตอร์เน็ตก็ได้รับความรู้มากมาย แต่การได้มาซึ่งข้อมูลเหล่าน้ัน จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ว่าเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง อย่างแท้จริง มิใช่ค้นหาและทำการคัดลอกมาใช้ทันที แต่จากเสียงสะท้อนมากมายจากครูผู้สอน Fanning (2018) พบว่าผู้เรียนใช้วิธีการค้นหาและคัดลอกงานหรือข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตมาจัดทำ รายงานสง่ ผู้เรยี นใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อความบนั เทงิ มากกว่าการเรยี นรู้ เปน็ ต้น จากการเปล่ยี นแปลงและ ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดมาจากความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและการสื่อสารทำให้นกั การศึกษาหันมา ให้ความสนใจและได้กำหนดทักษะของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 ที่เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร McGuire (2018) ทักษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ สามารถประเมินผลและประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ ต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุมีผล ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill) ผู้เรียนสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีความเป็นผู้นำ เป็นผู้ตาม สามารถแสดงความคิดเห็นและยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม (Spires 2019) ทำให้งานของส่วนรวมประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) ผู้เรียนสามารถสื่อสารกับเพื่อน ครูผู้สอน และบุคคล อื่น ๆ ในการทำงานร่วมกัน การสื่อสารเพ่ือ แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นระหว่างกันได้ รวมถึงสามารถอธิบาย และนำเสนอข้อมูล ข่าวสารให้ผู้อื่นรับรู้โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและสื่อสารได้อย่างชัดเจน เข้าใจได้ง่าย (Idiegbeyan-ose, 2019) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความคิด สร้างสรรค์ในการทำงาน ในการเรียนรู้ การประยุกต์ความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึงสามารถ สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ เทคนิค วิธีการ และ/หรือกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคมได้ ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital Skill) Adeoye (2019), Susilo and Yanto (2019) ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า การ เรียนรู้ การแลกเปลี่ยน และการแบ่งปันความรู้ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถคัดกรอง

18 ข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินข้อมูลได้อย่างเหมาะสม สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Saputri and Prasetyanti (2019) ทักษะทางอาชีพและการ ใช้ชีวิต (Career Skill & Life Skill) ได้แก่รู้จักปรับตัวเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้งบทบาทหน้าที่ บรบิ ท สภาพแวดล้อม และสถานภาพทีไ่ ด้รับมคี วามยดื หยุ่นในการทำงานและการดำรงชีวิตมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นผู้นำมีความเป็นตัวของตัวเองที่มีศักยภาพและความสามารถหลากหลาย สามารถทำงานได้หลายหน้าท่ี และจัดสรรแบ่งเวลาได้เหมาะสมระหว่างการทำงานและการใช้ชีวิต รวมถึงสามารถจดั การกับปัญหาต่าง ๆ ในทีท่ ำงานและในการใชช้ วี ิตได้อย่างมเี หตุมีผล ทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะผู้นำ และมีความรับผิดชอบประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม จรรยา และยึดถอื จรรยาบรรณในวชิ าชีพของตนอย่างเครง่ ครดั (Ali, 2019) สำหรับการวิจัยครั้งนีผ้ ู้วิจัยได้กำหนดให้ผู้เรียนมีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จำนวน 5 ด้านคือ 1) ผู้เรียนมีคุณธรรม เมตตา กรุณา และมีระเบียบวินัย 2) ผู้เรียนมีความเข้าใจความแตกต่าง ทางวัฒนธรรม 3) ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา 4) ผู้เรียนมีทักษะการทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ 5) ผู้เรียนมที ักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ 2.4 รูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ (Ralph w. Tyler) แนวคดิ ทีใ่ ชป้ ระกอบการออกแบบเนื้อหา 5 ด้านตามหลักมะกอศดิ อชั ชะรอี ะห์ โดยใช้แนวคดิ เก่ยี วกบั รปู แบบของกระบวนการสรา้ งหรอื พัฒนาหลกั สูตรของไทยนัน้ ยังมนี อ้ ยมากส่วนมากจะเปน็ รูปแบบตามแนวคิดของตา่ งประเทศในท่นี จ้ี ะเสนอเฉพาะรูปแบบการพฒั นาหลักสตู รของไทเลอร์ ไทเลอร์ (Tyler, 1949)ได้เสนอแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ หลักการและเหตุผลในการสร้างหลักสูตรว่าในการจัดทำหลักสตู รและการสอนนั้นจะต้องตอบคำถาม พนื้ ฐาน 4 ประการคือ 1. จุดประสงค์ของโรงเรียนคืออะไรหรือมีความมุ่งหมายทางการศึกษาอะไรบ้างที่ โรงเรียนควรแสวงหา 2. จะกำหนดประสบการณ์ทางการศึกษาอะไรที่ตอบสนองจุดประสงค์หรือช่วยให้ บรรลุจุดประสงค์ทก่ี ำหนดไว้ 3. จะจัดประสบการณท์ างการศกึ ษาอย่างไรจงึ จะทำให้การสอนมปี ระสิทธิภาพ 4. จะประเมินประสิทธิผลของประสบการณ์ในการเรียนอย่างไรจึงจะตัดสินได้ว่า บรรลุจดุ ประสงคท์ กี่ ำหนดไว้ จากพื้นฐานทั้ง 4 ข้อชี้ให้เห็นว่าการสร้างหรือการพัฒนาหลักสูตรต้องคำนึงถึงการ กำหนดจุดมุ่งหมายการกำหนดประสบการณ์ทางการศึกษาการจัดประสบการณ์ทางการศึกษาให้ ผู้เรียนและการประเมินสัมฤทธิ์ผลของหลักสูตรซึ่งขั้นตอนแรกจะเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดเพราะ

19 ขั้นตอนต่อมาจะมีลักษณะที่ต่อเนื่องสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล (หรรษานิลวิเชียร , 2547) รปู แบบของการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอรเ์ ริ่มจาก) Tyler, 1949) 1. การกำหนดจุดมุ่งหมายก่อนที่จะกำหนดจุดมุ่งหมายอย่างกว้างๆนั้นจะต้องอาศัย ข้อมูลจากแหล่งต่างๆเช่นแห่งแรกคือเกี่ยวกับผู้เรียนซึ่งเกี่ยวข้องกับความต้องการความสนใจและ ความสามารถรวมถึงคุณลักษณะที่ประเทศชาติต้องการในด้านผู้เรียนนี้ไทเลอร์เช่ือว่าการวิเคราะห์ท้ัง แนวกว้างและแนวลึกเก่ียวกับผเู้ รียนเป็นส่งิ ท่ีนกั พัฒนาหลักสูตรต้องคำนงึ ถึงการสำรวจความต้องการ และความจำเปน็ ของผู้เรียนเป็นสิ่งสำคัญในการกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนต้องการเรยี นรวมท้ังจะต้องพิจารณา ความสามารถของผเู้ รียนควบคู่กันไปดว้ ย แหล่งต่อมาคือสังคมได้แก่คา่ นิยมของคนในสังคมความเช่ือและแนวปฏิบัติในการดำเนนิ ชีวิตในสังคมโครงสร้างที่สำคัญทางสังคมและความมุ่งหวังทางสังคมเป็นต้นในด้านสังคมนั้นไทเลอร์ เชื่อว่ากระบวนการนำไปใช้ในชีวิตจัดว่าเป็นศูนย์กลางของการเรียนทั้งหมดดังนั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี จะตอ้ งเข้าใจสภาพแวดล้อมการทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนการนำสังคมชมุ ชนเข้ามาเปน็ ห้องปฏิบัติการขนาด ใหญเ่ พอื่ ให้นกั เรยี นศึกษาเกี่ยวกบั ชุมชนและสังคมจะทำให้ผเู้ รยี นสามารถค้นหาวธิ ใี นการแก้ไขปัญหา ได้ดว้ ยการกระทำของตนเอง และแหล่งที่สามคือแหล่งข้อมูลด้านเนื้อหาวิชาหรือเนื้อหาสาระซึ่งได้จากคำแนะนำของ ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาการต่างหรือจากผลการวิจัยที่สรุปให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรการ จัดการเรียนการสอนแล้วนำมาประมวลเข้าด้วยกันจะเป็นจุดมุ่งหมายอย่างกว้างๆของหลักสูตรหรือ จดุ ประสงคช์ ว่ั คราว จากนั้นจุดประสงค์ชั่วคราวจะได้รับการกลั่นกรองจากข้อมูลด้านปรัชญาการศึกษา ปรัชญาสังคมและจิตวิทยาการเรยี นรู้ซึ่งจะเป็นขั้นทีต่ ัดทอนจุดประสงค์ที่คิดวา่ ไม่จำเป็นออกจึงทำให้ จุดประสงค์ที่เหลือมีความชัดเจนยิ่งขึ้นโดยเน้นเป้าหมายประชาธิปไตยคือให้ตระหนักถึงความสำคญั ของคนทุกคนในฐานะมนุษย์โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติสัญชาติสถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจการมี โอกาสเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมของสังคมยอมรับบุคลิกภาพที่หลากหลายของคนและมีความเชื่อใน ศักยภาพทางสติปัญญาที่จะใช้จดั การแก้ปัญหามากกวา่ ขน้ึ อยู่กบั ผมู้ อี ำนาจหรือกลุ่มอำนาจ ดังนั้นคณะทำงานพัฒนาหลักสูตรจะต้องทบทวนจุดประสงคอ์ ย่างละเอียดรอบคอบและ รับฟังความคิดเห็นของครูทุกคนในโรงเรียนโดยครูจำต้องทำความเข้าใจหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมซึ่งมีความสำคัญต่อการแยกแยะและอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคนอันเนื่องมาจาก กระบวนการเรียนรวู้ ่าเกิดขึ้นได้อยา่ งไรภายใต้สถานการณ์ใดและต้องใช้กลไกลอะไรจุดประสงค์ที่ได้น้ี จะเป็นจุดประสงค์ทแ่ี ทจ้ ริงในการพัฒนาหลักสูตรจากนั้นจึงเลือกและจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือ ประสบการทางการศึกษาสำหรับผู้เรยี นเพ่อื ให้บรรลุจดุ ประสงค์ท่กี ำหนดไว้

20 2 . การเลอื กและจดั ประสบการณ์การเรียนรกู้ ารเลือกและการจัดประสบการณ์การเรียน ที่คาดหวังจะให้ผู้เรียนมีประสบการณ์อย่างไรกิจกรรมที่จัดทั้งในการเรียนการสอนและส่วนเสริม หลักสูตรนัน้ มอี ะไรท้ังนีก้ ็เพ่ือที่จะใหก้ ระบวนการเรยี นการสอนดำเนนิ ไปเพื่อตอบสนองจุดมุ่งหมายที่ กำหนดไว้ไทเลอรไ์ ดเ้ สนอเกณฑ์ในการพจิ ารณาเลอื กประสบการณ์การเรียนรู้ไวด้ ังน(้ี Tyler, 1949) 1) ผู้เรียนควรมีโอกาสฝึกพฤตกิ รรมและเรยี นร้เู นื้อหาตามท่ีกำหนดไวใ้ นจุดประสงค์ 2) จัดกรรมและประสบการณ์นั้นควรจะทำให้ผู้เรียนพึงพอใจที่จะปฏิบัติตามพฤติ กรรมทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ในจุดประสงค์ 3) กจิ กรรมและประสบการณ์นัน้ ควรจะอยใู่ นขอบข่ายความพอในท่พี ึงปฏิบตั ิได้ 4) กิจกรรมและประสบการณ์หลายๆด้านของการเรียนรู้อาจนำไปสู่จุดประสงค์ท่ี กำหนดไวเ้ พยี งขอ้ เดยี ว 5) ในทำนองเดียวกันกิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้เพียงหนึ่งอย่างอาจ ตอบสนองจดุ ประสงค์หลายๆข้อได้ และไทเลอร์ได้เน้นเกี่ยวกับการพิจารณาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ว่าต้องคำนึงถึง ความสัมพนั ธใ์ นด้านเวลาตอ่ เวลาและเน้ือหาตอ่ เนอ้ื หาเรยี กวา่ เปน็ ความสัมพนั ธแ์ บบแนวต้ัง(Vertical) กบั แนวนอน(Horizontal)ซึ่งมเี กณฑ์ในการจดั ดังน้ี 1) ความต่อเน่ืองContinuity หมายถงึ ความสมั พันธ์ในแนวตัง้ ของสว่ นประกอบ หลกั ของตัวหลักสตู รจากระดบั หนึ่งไปยงั อีกระดบั หนึง่ ทีส่ ูงข้นึ ไป 2) การจัดชว่ งลำดับ Sequenceหมายถึงความสมั พันธ์แนวตงั้ ของส่วนประกอบ หลักของตัวหลกั สตู รจากสิ่งท่เี กดิ ขน้ึ ก่อนไปสู่สิ่งทีเ่ กิดขึ้นหลังหรอื จากสง่ิ ท่ีมีความง่ายไปสู่ส่ิงท่มี ีความ ยากดังนั้นการจดั กิจกรรมและประสบการณใ์ ห้มีการเรยี งลำดับกอ่ นหลงั กเ็ พื่อให้ได้เรียนเนื้อหาทีล่ ึกซึ่ง ยง่ิ ขึ้น 3) บรู ณาการ Integration หมายถึงความสมั พันธใ์ นแนวนอนขององค์ประกอบ ของหลักสูตรจากหัวข้อเนื้อหาหนึ่งไปยังอีกหัวข้อเนื้อหาหนึ่งของราวิชาหรือจากรายวิชาหนึ่งไปยัง รายวิชาอื่นๆที่มีความเกี่ยวข้องกันการจัดประสบการณ์จึงควรเป็นลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนเพิ่มพูน ความคดิ เหน็ และได้แสดงพฤติกรรมท่สี อดคล้องกันเนื้อหาท่ีได้เรยี นเป็นการเพม่ิ ความสามารถท้ังหมด ของผู้เรียนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกันออกไปประสบการณ์การเรียนรู้จึง เป็นแบบแผนของการปฏิสัมพันธ์) interaction (ระหว่างผู้เรียนกับสถานการณ์แวดลอ้ ม 3 . การประเมินผลเป็นกระบวนการที่จะตรวจสอบว่าการจัดการเรียนการสอนได้บรรลุ จุดประสงค์ตามที่กำหนดไว้หรือไม่ควรที่จะมีการปรับแก้ในส่วนใดบ้างนั้นสิ่งที่ต้องพิจารณามี ดังตอ่ ไปน้ี)Tyler, 1949) 1)กำหนดจดุ ประสงค์ทจ่ี ะวัดและพฤติกรรมทคี่ าดหวัง 2) วัดและวิเคราะหส์ ถานการณท์ ่จี ะทำให้เกิดพฤติกรรมเหล่านัน้

21 3) ศกึ ษาสำรวจขอ้ มลู เพื่อสร้างเคร่อื งมือท่ีจะวัดพฤติกรรมเหล่านัน้ อยา่ งเหมาะสม 4) ตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมือโดยใชเ้ กณฑ์ในการพจิ ารณาดงั น้ี 1) ความเป็นปรนยั (Objectivity) 2) ความเชอ่ื มั่น (Reliability) 3) ความเท่ยี งตรง(Validity) 4. การพิจารณาผลการประเมินให้เป็นประโยชน์เพื่ออธิบายผลการเรียนรู้เป็น รายบุคคลหรือรายกลมุ่ และการอธิบายถึงสว่ นดีของหลักสตู รหรือส่วนทีต่ ้องไดร้ บั การปรับแก้เพื่อท่ีจะ เป็นประโยชน์ต่อการปรบั ปรุงหลักสูตรให้มคี ณุ ภาพยงิ่ ข้นึ แนวคิดของการพฒั นาหลกั สูตร ไทเลอรใ์ ห้คำแนะนำวา่ ในการกำหนดวัตถปุ ระสงคท์ ั่วไปของ หลักสูตรหรือเนื้อหาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ทำได้ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ประกอบดว้ ย 1. ข้อมูลผู้เรียน ซึ่งศึกษาแต่ละระดับชั้นของผู้เรียน โดยใช้ประยุกต์ใช้กับเว็บแอพ พลิชนั่ 3 ระดับ คือ มธั ยมศกึ ษาปี 4 มัธยมศึกษาปี 5 และมธั ยมศึกษาปี 4 2. ข้อมูลสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ ศึกษาบริบทและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ ซึ่งใน จังหวัดชายแดนใต้ จงึ ใช้แนวคดิ ของมะกอศิดอัชชะรีอะห์ 3. ข้อมูลเนื้อหาสาระวิชา เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดของมะกอศิดอัชชะรีอะห์ได้ แบ่งเน้ือหาออกเป็น 5 ด้าน คือ ด้านศาสนา ชีวิต สติปญั ญา วงศต์ ระกลู และทรัพย์สิน 2.5 รปู แบบประเมินผลของของเครกิ แพทรคิ (Kirkpatrick) รปู แบบการประเมิน เป็นกรอบหรือแนวความคิดทสี่ ำคัญที่แสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการหรอื รายการประเมิน ซึ่งมีความแตกต่างกนั ขึน้ อยู่กบั ข้อตกลงเบ้ืองตน้ ซึง่ นักวชิ าการทางด้านการ ประเมนิ ได้เสนอกรอบความคิดให้นกั ประเมนิ ไดเ้ ลอื กใช้มอี ยหู่ ลายรูปแบบ โดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L. Kirkpatrick, 1975) แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ส ห ร ั ฐ อ เ ม ร ิ ก า อ ด ี ต เ ค ย เ ป ็ น ป ร ะ ธ า น ASTD (The American Society for Tanning and Development) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ การฝึกอบรมและการประเมินผลการฝึกอบรมว่า “การ ฝึกอบรมนั้นเป็นการช่วยเหลือบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการฝึกอบรม ใด ๆ ควรจะจดั ใหม้ กี ารประเมินผลการฝึกอบรม ซ่งึ ถอื เปน็ ส่ิงจาเปน็ ท่ีจะชว่ ยให้รู้ว่า การจัดโปรแกรม การฝึกอบรมมีประสิทธิผลเพียงใด การฝึกอบรมเปน็ กิจกรรมปกติท่ีเกิดขึ้นในทกุ องค์กร เป็นกิจกรรม ที่จัดขึ้นมาเพื่อการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน โดยมุ่งหวังให้ผู้ผ่านการอบรมได้มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแนวทางการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเคิร์กแพทริค เห็นว่าการประเมินผลการ ฝึกอบรมจะทำใหไ้ ดค้ วามรอู้ ยา่ งนอ้ ย 3 ประการ คือ 1. การฝกึ อบรมนัน้ ไดใ้ ห้อะไร หรือเกิดประโยชน์ต่อหนว่ ยงานในลักษณะใดบา้ ง

22 2. ควรยุติโครงการชั่วคราวก่อน หรอื ควรดำเนนิ การตอ่ ไปเรอื่ ย ๆ 3. ควรปรับปรุงหรอื พฒั นาโปรแกรมฝกึ อบรมในส่วนใดบ้างอย่างไร แนวทางการประเมนิ ในการประเมินผลโครงการฝึกอบรม เคิร์กแพทริค เสนอว่า ควรดำเนินการประเมินใน 4 ลกั ษณะ คือ 1. ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Evaluation) เป็นการตรวจสอบความรู้สึก หรือ ความพอใจของผ้เู ข้ารบั การอบรม 2. ประเมินผลการเรียนรู้ (Learning Evaluation) เป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ โดยควร ตรวจสอบใหค้ รอบคลมุ ทั้งดา้ นความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และเจตคติ (Attitude) 3. ประเมินพฤติกรรมท่ีเปลยี่ นไปหลังการอบรม (Behavior Evaluation) เป็นการตรวจสอบ ว่าผู้ผ่านการอบรมไดป้ รบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมเป็นไปตามความคาดหวังของโครงการหรอื ไม่ 4. ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นต่อหน่วยงาน (Results Evaluation) เป็นการตรวจสอบว่า ผล จากการอบรมได้เกิดผลดีต่อองค์กร หรือเกิดผลกระทบต่อองค์กรในลักษณะใดบ้าง คุณภาพของ องคก์ รดีขึ้น หรอื มคี ณุ ภาพข้ึนหรือไม่ รายละเอียดแนวทางการดำเนินการประเมนิ แต่ละรายการเปน็ ดงั น้ี 1. ข้ันประเมนิ ปฏกิ ริ ิยาตอบสนอง (Reaction) การประเมินในขั้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะให้รู้ว่าผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรมนั้นมีความรู้สึกอย่างไร ต่อการฝึกอบรม เช่น ผู้เข้ารับการอบรมพอใจหรือไม่ต่อสิ่งที่ได้รับจากการฝึกอบรม และมากน้อย เพียงใด การประเมินปฏิกริ ยิ าตอบสนองนน้ั เราต้องการไดร้ บั ข้อมูลทีเ่ ปน็ ปฏิกริ ยิ าตอบสนองของผู้เข้า รบั การฝึกอบรม ทมี่ คี วามหมาย และความเปน็ จริง เพราะข้อมูลเหลา่ นี้จะเป็นตัวบ่งช้ีประสิทธิผลของ การฝึกอบรมอันแรก เคิร์กแพทริค กล่าวว่า มีอยู่บ่อยครั้งที่ผู้บริหารตัดสินใจให้ล้มเลิกโปรแกรม ฝึกอบรมนั้นเสีย หรือไม่ก็ตัดสินใจให้ดำเนินการฝึกอบรมนั้นต่อไป โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการ ประเมินปฏกิ ริ ิยาตอบสนองเป็นพนื้ ฐาน วธิ กี ารท่จี ะชว่ ยให้ไดร้ ับข้อมลู เกย่ี วกับปฏิกิริยาตอบสนองที่มี ความหมาย/และตรงตามความจรงิ จากผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ได้แก่ 1) กำหนดให้แน่นอนชัดเจนลงไปว่า ต้องการได้รับข้อมูลอะไร เช่น ปฏิกิริยาตอบสนองของ เนอื้ หาหลักสูตรการฝึกอบรม วิทยากร สถานทีก่ ารฝึกอบรม ระยะเวลาที่ใช้ในการฝกึ อบรม ฯลฯ 2) วางรปู แบบของเครือ่ งมอื หรอื แบบสอบถามทจ่ี ะใช้เกบ็ ขอ้ มลู 3) ข้อคาถามที่ใช้ ควรเป็นชนิดทเี่ ม่อื ได้รบั ข้อมลู หรือได้คาตอบแล้ว สามารถนามาแปลงเป็น ตวั เลขแจกแจงความถี่ และวเิ คราะห์ในเชงิ ปรมิ าณได้ ไม่ควรใช้คาถามประเภทปลายเปิด

23 4) กระตุ้นให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เขียนแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในข้อคา ถามต่าง ๆ 5) เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงปฏิกริ ิยาตอบสนองผ่านแบบสอบถามตามความเป็นจริง ไมค่ วรให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมเขียนช่ือตนเองลงไปในแบบสอบถามอน่ึง ในการแจกแจงแบบสอบถาม เพื่อประเมินปฏิกิริยาตอบสนองน้ี ผู้ประเมินต้องแน่ใจว่าได้ให้เวลาผู้เข้ารับการฝึกอบรมอย่างเพียง พอที่จะให้คาตอบครบทุกข้อ และควรแจกก่อนผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะออกไปจากห้องฝึกอบรมเมื่อ สน้ิ สดุ โปรแกรม พึงหลกี เลีย่ งการปลอ่ ยใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรมเอาแบบสอบถามติดตัวออกไป และส่ง คนื กลบั มาในภายหลัง 2. ขนั้ ประเมนิ การเรียนรู้ (Learning) การประเมินผลในขั้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะให้รู้ว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ และ ทกั ษะอะไรบา้ ง และมเี จตคติอะไรบา้ งทเ่ี ปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ ทง้ั นี้เพราะความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ ล้วนแต่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานสำคัญ ที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางานของผู้ เข้ารับการฝึกอบรมในโอกาสต่อไป เคิร์กแพทริค ได้ให้ข้อเสนอแนะสาหรับการประเมินในขั้นการ เรียนรเู้ อาไว้ ดังน้ี 1) ตอ้ งวดั ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตขิ องผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมท้งั กอ่ นและหลังการฝึกอบรม 2) วิเคราะห์ท้ังคะแนนรายข้อ และคะแนนรวมโดยเปรียบเทียบกนั ระหว่างกอ่ นและหลังการ ฝกึ อบรม 3) ถ้าเป็นไปได้ควรใช้กลุ่มควบคมุ ซึ่งเป็นกลุม่ ของผู้ที่ไม่ได้รับการฝึกอบรม แล้วเปรียบเทียบ คะแนนความรู้ ทักษะ และเจตคติของกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง ซึ่งเป็นกลุ่มของผู้เข้ารับการ ฝกึ อบรมวา่ แตกต่างกนั หรือไม่อย่างไรสาหรับเคร่อื งมือทใี่ ชว้ ัดความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ เคิร์กแพทริค ไดก้ ลา่ วว่ามอี ยู่ 2 วธิ ี คอื 3.1) ใช้แบบสอบวัดความรู้ ทักษะ และเจตคติเป็นแบบสอบวัดมาตรฐาน ผู้ประเมินควร สั่งซื้อ หรอื เลอื กใชเ้ ฉพาะแบบสอบวดั ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ต่ี รงกบั โปรแกรมการฝกึ อบรม 3.2) สร้างแบบสอบวัดขึ้นเอง แบบสอบวัดความรู้ ทักษะ และเจตคติที่จะสร้างขึ้นเองนี้จะ ใหม้ รี ูปแบบอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ หรือหลายอย่าง หรือทกุ อย่างตอ่ ไปน้ีกไ็ ด้ - แบบ “ถกู ” หรือ “ผดิ ” - แบบ “เห็นดว้ ย” หรอื “ไม่เหน็ ด้วย” ซึง่ อาจเป็นมาตราสว่ นประมาณค่า 4 หรอื 5 หรือ 6 สเกล กไ็ ด้ - แบบเลือกคาตอบที่เหน็ วา่ ถกู ตอ้ งทสี่ ดุ - แบบเติมคา / ขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ ง

24 3. ขั้นประเมนิ พฤติกรรมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปหลังการอบรม (Behavior) การประเมินผลในขั้นนี้มีวัตถุประสงค์จะให้รู้ว่าเมื่อได้รับการฝึกอบรมไปแล้ว ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมได้มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการทางานไปในทิศทางที่พึงประสงคห์ รอื ไม่ การประเมินผล ในขั้นนี้นับว่ายาก และใช้เวลามากกว่าการประเมินผลในสองขั้นแรก เพราะต้องออกไปติดตามการ ประเมินผลในสถานที่ทางานจริงๆ ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งจะมีคาถามอยู่หลายข้อ ที่ผู้ประเมิน จะต้องตอบให้ได้เสียก่อน เช่น ควรจะออกไปประเมินเมื่อไร (1 เดือน หรือ 3 เดือน หรือ ครึ่งปี หรือ 1 ปี ภายหลังการฝึกอบรม) จะเก็บข้อมูลจากใครถึงจะเชื่อถือได้มากที่สุด (จากผู้บังคับบัญชา จาก เพอ่ื นร่วมงาน จากผใู้ ต้บงั คับบัญชา หรอื จากผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเอง) 1) ควรจะวัดพฤตกิ รรมการทางานของผู้เขา้ รับการฝึกอบรมท้ังก่อนและหลังการฝกึ อบรม 2) ระยะเวลาระหว่างการฝึกอบรมกับการประเมินผลหลังการฝึกอบรมนั้นควรจะให้ห่างกัน พอสมควร เพื่อให้แน่ใจว่าการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทางานได้เกิดขึ้นจริงๆ ทางที่ดีควรจะ ประเมินหลายๆ ครั้ง เป็นระยะๆ เชน่ ประเมินทกุ 3 เดือน เปน็ ตน้ 3) ควรจะได้เก็บข้อมูลจากหลายๆ แหลง่ เชน่ จากผ้บู งั คับบัญชา จากเพ่อื นรว่ มงาน และจาก กลมุ่ ผู้ผ่านการอบรม เคริ ์กแพทรคิ เหน็ วา่ การประเมนิ ผลในขั้นการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการทางาน ตามข้อที่เสนอมานั้น จะนาไปใช้จริงๆ ต้องใช้เวลา และอาศัยความชำนาญของผู้ประเมินเป็นอย่าง มาก เขาจึงได้เสนอให้ทากับโปรแกรมฝึกขนาดใหญ่ และกับโปรแกรมที่จาเป็นต้องจัดหลายๆ ครั้ง ต่อไปในอนาคตเทา่ น้ัน สว่ นโปรแกรมการฝกึ อบรมขนาดเล็กท่วั ไป เขาได้เสนอให้ใช้วธิ กี ารงา่ ยๆ ดงั น้ี - กำหนดวา่ มีพฤติกรรมการทางานอะไรบ้างท่ีคาดหวังจะใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลง - เตรยี มคาถามทจี่ ะใช้สาหรบั การสมั ภาษณ์ - ทำการสัมภาษณ์บุคคลหลายๆ กลุ่ม ภายหลังการฝึกอบรมสักระยะหนึ่งเพื่อให้รู้ว่า พฤตกิ รรมทีค่ าดหวงั เอาไวเ้ หล่านน้ั เกดิ การเปล่ียนแปลงจริงๆ หรอื ไม่ - ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์ ควรจะนามาแปลงเป็นตัวเลข ทาการวเิ คราะห์ในเชงิ ปรมิ าณ อนึ่ง ถ้าการสัมภาษณ์ผู้ใต้บังคับบัญชาของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ควรจะต้องแน่ใจว่าผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม จะไม่มีอิทธิพลต่อการตอบ หรือสัมภาษณข์ องผู้ใต้บงั คบั บญั ชา 4. ข้นั ประเมินผลทเ่ี กดิ ข้ึนต่อหน่วยงาน (Results) การประเมินผลในข้ันนี้มีวตั ถุประสงค์จะให้รู้ว่าในทีส่ ุดแล้ว การฝึกอบรมได้ก่อใหเ้ กิดผลดีตอ่ หน่วยงานอย่างไรบ้าง ซึ่งนับเป็นการประเมินผลที่ยากที่สุด เพราะในความเป็นจริงนั้นมีตัวแปรอื่นๆ อีกมากมายนอกเหนือการฝึกอบรมที่มีผลกระทบต่อหน่วยงาน และตัวแปร “เหล่านั้น” บางทีก็ยาก ตอ่ การควบคมุ ฉะน้ันอะไรกต็ ามที่เกิดแกห่ น่วยงานในทางท่ดี จี ึงสรปุ ไดย้ ากว่าเปน็ ผลมาจากโปรแกรม การฝกึ อบรม เคิร์กแพทริค ได้ให้ข้อเสนอแนะในการประเมินผลในขั้นน้ไี ว้ดังน้ี

25 1) ควรจะจัดสภาวการณ์หรือเงื่อนไขต่าง ๆ ก่อนการฝึกอบรมเอาไว้แล้วนำไปเปรียบเทียบ กบั สภาวการณภ์ ายหลงั การฝกึ อบรม โดยใช้ข้อมูลทีส่ ังเกตได้ หรือสอบวัดได้ 2) พยายามหาทางควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ซง่ึ คาดว่านา่ จะมีอทิ ธิพลต่อการเปล่ียนแปลงในผลที่ ต้องการใหเ้ กดิ แกห่ นว่ ยงาน วิธหี น่ึงท่พี อจะทำได้คือ การใช้กลุม่ ควบคมุ กับกลมุ่ ตวั อย่าง รูปแบบการประเมินในการวิจัยครั้งนี้กลุ่มแผนงานและประเมินผล ได้ใช้กรอบการประเมิน ของ KIRKPATRICK’S เน้นจุดมุ่งหมาย เพื่อประเมินผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัช ชะรีอะฮ์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยดูว่าผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมให้สามารถบรรลุ จุดมุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้หรอื ไม่ ประกอบกับเพื่อที่จะทำให้ทราบว่าโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ มีข้อดี และข้อบกพร่องอย่างไร ซึ่งจะทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้บริหาร สามารถนำผลการประเมินที่ได้ ไปใช้ ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดทำ โครงการทั้งในปัจจุบันและการปรับปรุงโครงการที่จะจัดขึ้นใน อนาคตต่อไป ผลการสังเคราะหแ์ นวคิดและหลักการจากการทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้องนำไปสู่ การกำหนดกรอบแนวคดิ ในการวิจัยไดด้ ังนี้

2.6 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 1.ด้านศาสนา 2.ด้านชวี ิต 3 มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ 1.หลกั กอฎอ-กอฎัร 1.การใช้ชีวติ รว่ มกัน 1.ขา่ 1.ด้านศาสนา 2.ถอื ศลี อด 2.อาหาร 2.ยา 2.ดา้ นชีวติ 3.การละหมาด 3.หัวรอ้ น 3.ค่า 3.ด้านสติปัญญา 4.ดา้ นวงศ์ตระกลู 1. ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม 2. ผู้เรยี นมีความเขา้ 3. ผ เมตตา กรุณา และมี ใจความแตกตา่ งทาง คณุ ลักษณะและทกั ษะการ 5.ดา้เรนียทนรรพั ู้ในย์สศินตวรรษท่ี 21 ระเบียบวินยั วัฒนธรรม WEB APPLICATION ขน้ั ตอนที่ 1 ศึกษาหลกั การ ขน้ั ตอนที่ 2 การกำหน System Development ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบ ขั้นตอนท่ี 5 การพัฒนา ขนั้ ตอนท่ี 7 การตดิ ตง้ั ขั้นตอนที่ 8 การบำรงุ รกั Life Cycle การต์ นู แอนนิเมช่ัน วดี ีโ ผลผลติ ผลลพั ธ์ (1) นักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 80 คน ได้เรียนรผู้ า่ นเว็บแ ผลกระทบ (2) สอ่ื แอนนิเมชัน่ 15 เรอ่ื ง (3) วีดโี อ 3 เร่อื ง (4) เกมสเ์ พอื่ กา ผู้เรยี นมีความเข้าใจสามารถอธิบายหลกั การมะกอศดิ อัชชะรอี ผู้เรยี นเปน็ พลเมอื งท่ดี ี และสรา้ งสนั ตสิ ขุ ในสงั คมจงั หวดั ชายแด

26 3.ด้านสติปญั ญา 4.ด้านวงศ์ตระกูล 5.ด้านทรพั ย์สิน าวปลอม 1.รสนิยมทางเพศ 1.การบรจิ าค าเสพตดิ 2.ซีนา 2.สรุ ยุ่ สรุ ่าย ายวชิ าการ 3.ครอบครวั 3.การลงทุน ผเู้ รยี นมที ักษะการ 4. ผู้เรียนมีทกั ษะการ 5. ผ้เู รียนมีทกั ษะทาง คิดวิเคราะห์ ทำงานเปน็ ทมี และ อาชพี และการเรยี นรู้ แก้ไขปญั หา ภาวะผนู้ ำ นดปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ า ข้นั ตอนท่ี 6 การทดสอบ กษา ข้นั ตอนที่ 9 การนำไปใชจ้ ริงกับผเู้ รียน ขั้นตอนที่ 10 การประเมนิ โอ เกมส์เพ่อื การศกึ ษา แอพพลเิ คช่ันทส่ี รา้ งขน้ึ ารศึกษา 3 เกมส์ อะฮ์ และสามารถวเิ คราะห์อย่างมเี หตุและผลตอ่ สถานการณต์ ่าง ๆ ดนภาคใต้

27 การบูรณาการระหว่างหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์โดยมีเนื้อหาในรูปแบบการ์ตูนแอนนิเมชั่น วีดีโอ และเกมส์ เพื่อการศึกษา กับ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีทั้งหมด 3 ระดับ แต่ละระดับจะมี 5 โมดูล รวมเนื้อหา บทเรียนแอนิเมชั่นทั้งหมด 15 โมดูล อีกทั้งจะมีวีดีโอประกอบแต่ละระดับ ๆ ละ 1 วีดีโอ และมีเกมส์เพื่อการศึกษา สำหรบั ทดสอบระดับๆ 1 เกมส์ ดงั รายละเอยี ดขา้ งล่าง ตารางท่ี 2.1 หลกั มะกอศิดอชั ชะรอี ะฮ์โดยมเี น้ือหาในรปู แบบการ์ตนู แอนนเิ มชน่ั ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 หลกั มะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ Basic ม.4 ระดับ Advanced ม.6 โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Intermediated ม.5 การต์ นู แอนนิเมชนั่ 1.ดา้ นศาสนา 1) หลกั กอฎอ-กอฎัร 6) ถอื ศีลอด 11) การละหมาด สอบ Final แอบกนิ ละหมาดอสิ ตีคอเราะห์ เน้อื หาดา้ นนเ้ี กยี่ วกบั การสอบปลาย เน้ือหาด้านนเี้ กยี่ วกับการการ เน้ือหาดา้ นนี้เกย่ี วกบั การ ภาคเปน็ การประเมนิ ผลคร้ังสดุ ท้าย ถือศลิ อดเปน็ การยบั ยงั้ กาย วา ละหมาดในชีวติ ประจำวัน ของภาคการศกึ ษาซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ใจ และใจหลกั บทบญั ญตั ิทาง รวมทัง้ การละหมาดอสิ ตคิ อ ทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ศาสนาเรอื่ งการถอื ศีลอดซึ่ง เราะห์ (เพ่ือการตดั สินใจ) เพื่อใช้ ด้านคุณธรรมจริยธรรม สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรยี นรู้ ประกอบการตัดสินใจเรียนต่อใน ในศตวรรษท่ี 21 ด้านคุณธรรม ระดบั อุดมศึกษา สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ดา้ นคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะและทกั ษะการ 1. ผเู้ รียนมีคุณธรรม เมตตา กรุณา และมรี ะเบยี บวินยั เรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 2.ด้านชวี ติ 2) การใชช้ วี ิตรว่ มกัน 7) อาหาร 12) หวั ร้อน แตกตา่ ง..แตไ่ ม่แตกแยก อาหารจานดว่ น คิดดี ชวี ติ ดี เนื้อหาดา้ นชวี ติ ทเี่ ก่ยี วกบั การใช้ชีวิต เน้ือหาดา้ นชีวิตที่เก่ยี วกับการ เนือ้ หาดา้ นชวี ิตทีเ่ ก่ียวกับ ของผเู้ รยี นและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง เลือกรบั ประทานอาหารจาน ชวี ติ ประจำวนั ของนักเรยี นต้อง ตา่ งศาสนกิ ซ่ึงศาสนาอิสลามได้ ดว่ นในช่วงชว่ั โมงการเร่งรีบ เจอเรอ่ื งราวตา่ งๆ มากมาย อธบิ ายไว้อยา่ งชดั เจนและยงั สอดคลอ้ งกับทกั ษะการเรยี นรู้ บางครงั้ สามารถจัดการได้ แต่ สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรยี นรู้ใน ในศตวรรษที่ 21 ด้านความเข้า หลายคร้ังทำให้เกดิ อาการ ศตวรรษท่ี 21 ด้านความเขา้ ใจความ ใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม หงุดหงดิ ซึ้งสอดคล้องกับทกั ษะ แตกตา่ งทางวัฒนธรรม เพอื่ ให้ เพือ่ ให้ผเู้ รียนมีทักษะชวี ิต การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ด้าน ผเู้ รยี นมีทักษะชีวิต ความเขา้ ใจความแตกตา่ งทาง วฒั นธรรม คุณลกั ษณะและทักษะการ 2. ผ้เู รียนมีความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม เรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 3.ด้านสติปญั ญา 3) ขา่ วปลอม 8) ยาเสพตดิ 13) ค่ายวิชาการ ทายาลดนำ้ หนกั บุหรี่ การเข้ารว่ มค่าย เน้อื หาเก่ียวกับการเลือกรบั ประทาน มงุ่ รกั ษาสติปญั ญา โดยไมไ่ ปยุง่ เนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าค่าย อาหารไดโ้ ดยมีความสอดคล้องกับ เกี่ยวกับสิ่งเสพติดทจ่ี ะมา วิชาการเป็นอีกกิจกรรมที ทำลายสตปิ ัญญาได้ โดยฝกึ ให้มี นักเรียนใฝ่ฝันทีจ่ ะเข้ารว่ มเพราะ

28 หลักมะกอศดิ อัชชะรอี ะฮ์ ระดบั โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Basic ม.4 Intermediated ม.5 Advanced ม.6 การต์ นู แอนนเิ มชัน่ ทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 การแยกแยะระหว่างสง่ิ ท่ีดีและ เป็นการเสริมแต่งความรู้สู่รั้ว ดา้ นการแยกแยะ ไม่ดี และสอดคล้องกับทักษะ มหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ด้านการคดิ วเิ คราะห์แกไ้ ข ดา้ นการคดิ ปญั หา คณุ ลกั ษณะและทกั ษะการ 3. ผ้เู รียนมีทักษะการคดิ วเิ คราะหแ์ กไ้ ขปญั หา เรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 4.ดา้ นวงศต์ ระกลู 4) รสนยิ มทางเพศ 9) ซีนา 14) ครอบครัว หญิง vs หญิง รักในวยั เรยี น ฮาลาเกาะห์ การรกั ษาไวซ้ ึ่งวงศต์ ระกลู เปน็ สงิ่ เนื้อหาเกย่ี วกับการมีความรัก เน้ือหาเกยี่ วกบั การเรยี นรู้กับ สำคญั ต่อศาสนาอสิ ลามเพราะ ในวัยเรยี นซ้งึ ผเู้ รยี นจะเลือก ครอบครัวเม่ือพูดคุยและถามไถ่ สามารถทจี่ ะเผยแพรศ่ าสนาและ ปฏบิ ัตใิ หส้ อดคลอ้ งกบั ทักษะ ทกุ ขส์ ุข ฮาลาเกาะหส์ ามารถชว่ ย เพม่ิ พูนญาติพี่นอ้ งให้สบื ทอดตระกูล การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 เพิ่มความสัมพันธ์ทด่ี ีใหก้ ับ ต่อไป โดยเน้นให้ผเู้ รยี นเปิดมุมมอง ด้านภาวะผ้นู ำ ครอบครัวซง่ึ สอดคลอ้ งกับทกั ษะ ตอ่ การแต่งงานระหวา่ งชายหญงิ แต่ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ด้าน การหญิงกับหญงิ หรอื ชายกบั ชาย ภาวะผู้นำ เป็นสงิ่ ท่ีไม่ควรทำ อานาคตทุกคน ต้องมคี รอบครวั แลตอ้ งมภี าวะผูน้ ำ ตอ่ การบริหารจดั การครอบครัว ซง่ึ สอดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 ด้านภาวะผูน้ ำ คณุ ลกั ษณะและทักษะการ 4. ผู้เรียนมที ักษะการทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ เรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 5.ด้านทรพั ย์สนิ 5) การบริจาค 10) สรุ ุ่ยสุรา่ ย 15) การลงทนุ ความตระหนี่ขีเ้ หนียว สมาร์ทโฟน ขายของ Online เนื้อหาเก่ยี วกบั การบริจาคการเรยี นรู้ โลกเปล่ยี นสังคมเปล่ียนรสนยิ ม การเรยี นรเู้ พ่อื อาชีพในอนาคต เกีย่ วกบั การใหแ้ ละการเปน็ ผใู้ ห้ ต่อวัตถกุ ย็ อ่ มเปลย่ี นไปดว้ ย เป็นสิง่ ที่จำเปน็ ตอ่ ผู้เรยี น แต่จะ มากกวา่ ผู้รบั สำหรบั นกั เรียนซึ่ง โดยเฉพาะ Smart Phone ประกอบอาชพี อยา่ งไรใหไ้ ด้รับ สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรยี นรู้ใน ของ Generation แตอ่ สิ ลามไม่ ผลบญุ ตอนแทนทย่ี ิ่งใหญ่ หลัก ศตวรรษที่ 21 ดา้ นทกั ษะการเรยี นรู้ ส่งเสริมการฟมุ่ เฟอื ย และ มะกอศิดจะมวี ิธกี ารคดิ สรุ ่ยุ สุรา่ ยซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรียนรู้ ทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ ในศตวรรษท่ี 21 ดา้ นอาชีพ 21 ด้านทกั ษะการเรียนรู้

29 หลกั มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ ระดับ โดยมีเนื้อหาในรูปแบบ Basic ม.4 Intermediated ม.5 Advanced ม.6 การต์ นู แอนนเิ มชนั่ วดี ีโอ มะกอศดิ อัชชะรีอะฮ์ EP1 มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ EP2 มะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ EP3 วีดีโอเนื้อหาโดยรวมเป็นการแนะนำ วีดีโอเนอ้ื หาเปน็ การแนะนำ วีดโี อเนื้อหาเป็นการแนะนำหลกั หลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ โดย หลกั มะกอศดิ อชั ชะรีอะฮ์ทต่ี อ้ ง มะกอศดิ อัชชะรอี ะฮ์ทส่ี ง่ เสรมิ ภาพรวมและที่เกี่ยวข้องกับหลัก ใช้ทกั ษะการคดิ เพิม่ ขึ้น เพราะ การคิดขน้ั สูง เพื่อใช้ในการตัดสิน ศรัทธา สังคมพหุวัฒนธรรม การ ต้องใช้ประกอบการตดั สิน ในการเรยี นตอ่ หรือทำงาน การ เรียนรู้แบบบูรณาการ การแต่งงาน คุณคา่ ทางศาสนา การเลือก รักษาชวี ติ ความกล้าแสดงออก และการใชเ้ งนิ อย่างค้มุ คา่ การออกกำลังกาย การหลัก การยึดมน่ั ในเพศตนเอง และการ ห่างจากสงิ่ เสพติด การเช่อื ฟัง ประกอบอาชพี ในอนาคต ครอบครวั และการเปน็ ผู้ใหเ้ พือ่ หวังในความเมตตาจากอลั ลอฮฺ คณุ ลักษณะและทักษะการ 5. ผู้เรียนมีทกั ษะทางอาชีพ และการเรียนรู้ เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 Saving เกบ็ ตอ่ ไม่รอแล้วนะ Giving ใหต้ อ่ ไม่รอแล้วนะ Learning เรยี นตอ่ ไม่รอแล้วนะ เกมส์ Maqasid Games หลังจากผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ ่านการ์ตนู แอนนเิ มชน่ั และวีดโี อแลว้ ตอ่ ไปจะ เป็นการทดสอบความรู้และทักษะ หลังจากผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน หลังจากผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน ของผเู้ รยี นเกมสใ์ นรูปแบบเกมส์ การศกึ ษา(Educational game) การ์ตูนแอนนิเมชั่น และวีดีโอ การ์ตูนแอนนิเมชั่น และวีดีโอ แล้ว ต่อไปจะเป็นการทดสอบ แล้ว ต่อไปจะเป็นการทดสอบ ความรู้และทักษะของผู้เรียน ความรู้และทักษะของผู้เรียน เกมส์ในรูปแบบเกมส์การศกึ ษา เกมส์ในรูปแบบเกมส์การศึกษา (Educational game) (Educational game)

30 บทท่ี 3 ระเบียบวิธีวจิ ัย การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นตามหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการ เรยี นรขู้ องผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 เปน็ วิจยั ลักษณะวจิ ยั และพัฒนา (Research and Development) เนื่องจากมีการพัฒนานวัตกรรมเว็บแอพพลิเคชั่น และมีการทดลองใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งมี การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม (Review literature) นำไปสู่การสร้างต้นฉบับ นวัตกรรม (D1) ตรวจสอบประสิทธิภาพในกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (R1) และนำไปปรับปรุงต้นฉบับ (D2) และมีการทดลองใช้ในกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ขึ้น (R2) อันนำไปสู่การดำเนินการจนได้ ตน้ แบบนวตั กรรมที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด และแนวการปฏิบัตใิ นการออกแบบวิจัยและพัฒนา โดยวิจัยครั้งน้ีได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาตามขั้นตอนและวิธีดำเนินการพัฒนาระบบใช้วงจรการ พัฒนาระบบ SDLC (System Development Life Cycle) ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน (Kendall and Kendall, 2005) และอกี 3 ข้ันตอนทีจ่ ะใชป้ ระกอบของผ้วู ิจัย ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาหลักการมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่การประยุกต์ใช้การพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่น เพื่อเป็นการสังเคราะห์ประเด็นที่สามารถเอาไปใช้กับผู้เรียนต่อการเรียนรู้ ผู้วิจัยใช้ การศึกษาครั้งใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมในการระดมความคิดเหน็ จากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อศึกษา แนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์ เมื่อวันที่ 28 - 29 มิถุนายน 2562 ณ ดีบูดีรีสอร์ท จ.ปัตตานี โดยในวนั ท่ี 28 ผู้วิจัยได้ถอดบทเรียนเนือ้ หาของหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์จากผูเ้ ชี่ยวชาญและในวนั ท่ี 29 ผวู้ ิจัยไดอ้ อกแบบเว็บแอพพลิเคชั่นร่วมกับผู้เชย่ี วชาญด้านโปรแกรมเมอร์ โดยมผี เู้ ช่ยี วชาญเข้ารว่ ม ดงั น้ี กลมุ่ ตวั อย่าง คือ ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์และดา้ นโปรแกรมเมอร์ จำนวน 7 คน ประกอบไปด้วยดงั นี้ 1) ผู้เชี่ยวชาญทีส่ ำเร็จการศกึ ษาจากประเทศซาอดุ ิอาระเบีย 3 คน ดังนี้ 1.1 นายฮารณู ราโอบ จบการการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายอิสลามจาก Islamic University of Madinah, ประเทศซาอดุ ิอาระเบีย จบการการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาลัยราชภฏั สงขลา ประสบการทำงานชว่ ยเหลอื สงั คมและเผยแพร่ความรู้ มากกวา่ 10 ปี 1.2 นายตอริก ฮายีบิลัง จบการการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายอิสลามจาก Islamic University of Madinah, ประเทศซาอุดอิ าระเบีย

31 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขากฎหมายอิสลามจาก Islamic University of Madinah, ประเทศซาอดุ อิ าระเบยี 1.3 นายมฮู ัมหมดั อาเกม็ ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายอิสลามและประสบการใช้ชีวิตในประเทศ ซาอุดิอาระเบียระยะเวลา 5 ปี 2) ผู้เชย่ี วชาญดา้ นโปรแกรมเมอร์ 3 คน 2.1 นายมะฟายซู เจ๊ะแว อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี 2.2 นายศราวุธ รักชาติ ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบเว็บแอพพลิเคช่ัน มากกวา่ 10 เวบ็ 2.3 นายซาอดี หัตถล์ ะเอยี ด 2.4 นายวรชติ มะเยง็ ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานเกมส์และแอนิเมชั่น 2D มามากกว่า 15 ผลงาน 3) ผู้เช่ยี วชาญทีส่ ำเร็จการศึกษาในประเทศไทย 3.1 นายซุลกอณนัยน์ เบญ็ ยา จบการการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขากฎหมายอิสลาม คณะอิสลาม ศกึ ษาและนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั ฟาฏอนี เครื่องมือ คือ การจัดประชุมสนทนากลุ่มเพื่อศึกษาแนวทางของหลักมะกอศิดอัชชะรีอะฮ์สู่ การประยกุ ต์ใช้การพฒั นาเว็บแอพพลเิ คชน่ั การวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยการถอดบทเรยี นจากหลกั มะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์

32 หลังจากท่ไี ด้ศกึ ษาบทเรียนของหลักมะกอศิดอชั ชะรีอะฮ์ นำไปสู่การพัฒนาเว็บแอพพลิเคช่ัน ดังนี้ ข้นั ตอนที่ 2 การกำหนดปัญหา (problem identification) หมายถึง เป็นการกำหนดปญั หา และ ความต้องการของผใู้ ชแ้ อพพลเิ คช่ัน กลุ่มตัวอยา่ ง คือ ผใู้ ชป้ ระโยชน์ ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี ดงั นี้ ครู 8 คน นักเรียนมัธยมศึกษาตอน ปลาย 30 คน รวม 38 คน จากโรงเรียนอัลอีย๊ะวิทยา จ.นราธิวาส โรงเรียนรุ่งโรจน์วิทยา จ.สงขลา และโรงเรียนอิสลามประชาสงเคราะห์มูลนิธิ จ.ปตั ตานี เครื่องมือ คือ การสัมภาษณ์สะท้อนปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ต่อการใช้ แอพพลิเคชั่นและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งได้ปัญหาที่มาจากในห้องเรียนและนอก ห้องเรยี น โดยปญั หาท่สี อดคล้องกบั หลกั มะกอศดิ 5 ดา้ น คือ ด้านศาสนา ชีวติ สตปิ ญั ญา วงศต์ ระกลู และทรพั ยส์ นิ การวเิ คราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ เน้ือหา Content Analysis ขั้นตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 คือ การ นำผลจากการทากิจกรรมสนทนากลุ่ม และนำผลจากการสมั ภาษณ์และการวเิ คราะห์โครงสร้างเนื้อหา ท่ีนำไปออกแบบเวบ็ แอพพลิเคชน่ั พรอ้ มทงั้ กำหนดตวั ละครประกอบเนอื้ หาในแอนนิเมช่นั กลมุ่ ตวั อย่าง คอื โปรแกรมเมอร์ 3 คน ผอู้ อกแบบเนื้อหาและจัดทำ storyboard 20 คน ซง่ึ เป็นนกั ศึกษาช้ันปีท่ี 4 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ซึ่งนักศกึ ษากลุ่มดังกล่าวเคยผ่านการ อบรมจากการประกวด หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มาตรฐาน EPUB 3 ครั้งที่ 3 ในโครงการพัฒนา ศักยภาพด้านการอ่านสำหรับนักเรียนพิการด้วยการพัฒนาหนังสือที่ทุกคนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ จดั โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ เคร่อื งมือ คอื แบบวเิ คราะหแ์ อพพลิเคชนั่ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยก ารวิเคราะห์ข้อมลู เชิงเน้อื หา Content Analysis ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบ (design) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนท่ี 2 มา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และสรปุ รว่ มกันกบั ท่ีปรึกษานกั วิจยั โปรแกรมเมอร์ ช่างเทคนิคทางคอมพิวเตอร์ และเตรยี มทรพั ยากรต่าง ๆ ทจี่ ะนำมาดำเนินการเขียนโปรแกรมแอพพลิเคชัน่ ต่อไป โดยการออกแบบ storyboard ของเนื้อหาเชงิ Animation Video และ Games และให้ผ้เู ชย่ี วชาญตรวจสอบ

33 การออกแบบเวบ็ แอพพลเิ คชน่ั

34

35

36

37

38 กลุ่มตวั อย่าง คอื โปรแกรมเมอร์ 3 คน เคร่อื งมือ คอื การประชุม แบบแผน storyboard และแบบตรวจสอบความตรงเชงิ เนอื้ หา การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการวิเคราะห์หาคา่ เฉลีย่ ขน้ั ตอนที่ 5 การพฒั นา (development) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จากขน้ั ตอนท่ี 3 สง่ ให้ โปรแกรมเมอร์ดำเนินการเขียนสตอร่ีบอร์ดตามรูปแบบท่ีได้ร่วมกันกำหนดในขั้นตอนท่ีแล้ว เมื่อเขียน สตอรี่บอร์ดเสร็จแล้วผู้วิจัยนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม หลังจากน้ัน โปรแกรมเมอร์ได้ลงมือเขียนโปรแกรมแอพพลิเคชั่นจริง โดยได้พัฒนาเว็บแอพลิเคชั่นบน https://office.maqasids.com/

39 กลมุ่ ตวั อย่าง คอื โปรแกรมเมอร์ 3 คน เครือ่ งมอื คือ 1) การพฒั นาเว็บแอพพลเิ คชั่น Tool Visual Studio Code, XAMMP, Composer MySQL, MySQL Workbench ภาษา PHP, HTML, SASS, CSS, JavaScript, Node.js Framework Nuxt.js, Laravel


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook